เนื้อหา ประวัติความเป็นมาของภาษา Visual Basic ภาษา BASIC ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmouth ในเบื้องต้นพวกเขามีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาภาษา Basic ขึ้น เพื่อใช้ในการสอนแนวในการ เขียนโปรแกรม โดยเน้นที่รูปแบบง่าย ๆ เพื่อสะดวกในการใช้งาน ในปี 1970 Microsoftได้เริ่มผลิตตัวแปร ภาษา Basic ใน Rom ขึ้น เช่น Chip Radio Sheek TRS-80 เป็นต้น ต่อมาได้พัฒนาเป็น GWBasic ซึ่ง เป็น Interpreter ภาษาที่ใช้กับ MS-Dos และในปี 1982 Microsoft QuickBaic ได้รับการพัฒนาขั้นโดยเพิ่ม ความสามารถในการรันโปรแกรมให้เป็น Executed Program รวมทั้งทาให้ Basicมีความเป็น "Structured Programming" มากขึ้น โดยการตัด Line Number ทิ้งไป เพื่อลบข้อกล่าวหาว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มี โครงสร้างในลัก าษณะSpaghetti Code มาใช้รุปแบบของ Subprogram และ User Defined รวมทั้งการใช้ Structured Data Type และการพัฒนาการใช้งานด้านกราฟฟิกให้มีการใช้งานในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีการ ใช้เสียงประกอบได้เหมือนกับภาษาคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่น Turbo C และ Turbo Pascal เป็นต้น Visual Basicเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในการนามาใช้งานพัฒนาโปรแกรมบน ระบบ Windows เนื่องจาก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีในลักษณะ Visualizeนั่นก็คือจะสะดวกในการหยิบ เครื่องไม้เครื่องมือที่โปรแกรมได้จัด เตรียมไว้ให้สาหรับออกแบบหน้าจอและสิ่งต่าง ๆ สาหรับในการเขียน โปรแกรมให้เรียบร้อย ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนเวลาจะออกแบบหน้าจอก็ยังคงต้องมานั่งเขียน Source Code ให้ลาบาก Visual Basicเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้งาน ที่ใช้ได้ตั้งแต่ระดับต้น เพื่อใช้สร้าง โปรแกรมง่าย ๆ บน Windows หรือโปรแกรมเมอร์ระดับกลาง ที่จะเรียกใช้ฟังชั่นต่าง ๆได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอร์ระดับมืออาชีพ ที่จะพัฒนาโปรแกรมในระดับสูง โดยการใช้ Object Linking and Embedding (OLE) และ Application Programming Interface (API) ของระบบ windows มาประกอบการเขียนโปรแกรม Visual Basic ทาอะไรได้บ้าง เป็นเครื่องมือที่ใช้สร้างโปรแกรมต่างๆ เช่น - โปรแกรมที่รันบนระบบปฏิบัติการ windows เช่น โปรแกรมคานวณเลข - โปรแกรมฐานข้อมูล เช่น Microsoft access , Microsoft SQL server - คอมโพแน้นต์ทางด้าน Active X - โปรแกรมที่รันบนอินเตอร์เน็ต
ส่วนประกอบของ Visual Basic โดยทั่วไป เราจะใช้ Project Standard . EXE ซึ่งเป็นการเขียนโปรแกรมที่รันบนวินโดวส์ Project คือ กลุ่มของ File ที่เราจะนามารวมกันเพื่อสร้างโปรแกรม รายระเอียดของส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ
Menu bar Tool bar Tool box Project explorer Properties window Form
หลักในการเขียนโปรแกรมใน Visual Basic ได้แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนหลัก คือ
การออกแบบหน้าจอของโปรแกรม เป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ เรียกว่า ยูสเซอร์อินเตอร์เฟส : user interface การเขียนโปรแกรม เป็นการกาหนดคุณสมบัติของคอนโทรล บนฟอร์มให้เหมาะสม และเขียนคาสั่ง ตอบสนองอีเว็นต์
การออกแบบหน้าจอของโปรแกรมด้วยคอนโทรล คอนโทรล (Control) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบคอนโทรลที่เป็นพื้นฐาน เท็กบ็อกซ์ text box ใช้รับข้อมูลจากผู้ใช้ เลเบล (Label) ใช้แสดงข้อมูลบางอย่างแก่ผู้ใช้ ปุ่มคาสั่ง (Command button) ให้ผู้ใช้คลิกเมาส์เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์ทางานบางอย่าง คุณสมบัติ (Properties) คือ ลักษณะต่างๆ ของคอนโทรลที่ถูกนามาวางบนฟอร์ม ที่เราสามารถกาหนดได้ เช่น ข้อความที่ปรากฏบนคอนโทรล , รูปแบบฟอนต์
เท็กบ็อกซ์ text box มีคุณสมบัติ text ที่ใช้กาหนดข้อความที่จะแสดง เลเบล (Label) มีคุณสมบัติ Caption ที่ใช้กาหนดข้อความที่จะแสดง ปุ่มคาสั่ง (Command button) มีคุณสมบัติ caption ที่ใช้กาหนดข้อความที่จะแสดง
ภาษาคอมพิวเตอร์ (COMPUTER PROGRAMMING LANGUAGES) มนุษย์ทุกวันนี้สื่อสารกันด้วยภาษาที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความเป็นมาและสภาพแวดล้อใของแต่ละชาติ ภาษาที่นิยมใช้สื่อสารกันในปัจจุบันนี้ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาเยอรมัน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน และอื่น ๆ การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการสื่อสารของมนุษย์ กล่าวคือมีภาษาที่แตกต่าง กันจานวนมากที่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ เช่น ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาปาสคาล (PASCAL) ภาษาโคบอล (COBOL) ถึง แม้ว่ า คอมพิ ว เตอร์ จ ะรั บ คาสั่ ง จากภาษาคอมพิ ว เตอร์ ที่มี โ ครงสร้ างแตกต่ า งกัน ได้ แต่ เ นื่ องจาก คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นการรับคาสั่งในการทางานคอมพิวเตอร์จะรับเป็นสัญญาณไฟฟ้า ที่เรียกว่า "ภาษาเครื่อง" หรือ 1 machine language นั่นเอง ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีจานวนหลายร้อยภาษา แต่ละภาษาก็มีคุณลักษณะโครงสร้าง และกฎเกณฑ์ของตนเอง บางภาษาถูกพัฒนาขึ้นให้ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์บางประเภท ในขณะที่บาง ภาษาถูกพัฒนาให้สามารถทางานเฉพาะอย่าง เช่น ทางวิทยาศาสตร์หรือธุรกิจ สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (American National Standards Institute หรือ ANSI) ได้กาหนดมาตรฐานของภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งภาษาที่เขียนขึ้นโดยใช้มาตรฐาน ของ ANSI จะสามารถทางาน ได้กับตอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันได้ ในลักษณะเดียวกันกับการทางานของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ UNIX ภาษาคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปแล้วสามารถจาแนกได้เป็น 5 ประเภทดังนี้คือ ภาษาเครื่อง (machine languages) ภาษาแอสแซมบลี (assembly languages) ภาษาระดั บ สู ง หรื อ ภาษาในยุ ค ที่ ส าม (thirdgeneration languages) ภาษาระดั บ สู ง มากหรื อ ภาษาในยุ ค ที่ สี่ (fourth- generation languages) และ ภาษาธรรมชาติ (natural languages) โดยภาษาเครื่องและภาษาแอสแซมบลี จะเรียกว่าเป็นภาษาระดับต่า ( low-level languages) ภาษาเครื่อง (machine languages) ภาษาเครื่องเป็นภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวที่สามารถสื่อสารได้กับคอมพิวเตอร์โดยตรง ซึ่งใน บางครั้งก็เรียกกันว่าภาษาในยุคที่หนึ่ง คาสั่งในภาษาเครื่องจะเป็นชุดคาสั่งที่ประกอบด้วยตัวเลขของเลขฐานสอง (binary digits หรือ bits) ที่ใช้เลข 0 และ 1 เป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาณไฟฟ้าปิดและเปิดตามลาดับ และเนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสาร เข้าใจกับภาษาเครื่อ งได้โดยตรง ดังนั้น โปรแกรมภาษาเครื่องจึงไม่จาเป็นต้องมีตัวแปลภาษา ข้อเสี ยของ โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาเครื่องคือ โปรแกรมจะสามารถทางานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้พัฒนา โปรแกรมนั้ น เท่านั้ น (machine - dependent) และข้ อเสี ยอี กประการหนึ่ง ก็คือผู้ เ ขียนโปรแกรมจะรู้ สึ ก ยุ่งยากและเบื่อหน่าย ตลอดจนต้องใช้เวลามากในการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาเครื่อง
ภาษาแอสแซมบลี (assembly languages) เนื่ อ งมาจากภาษาเครื่ อ งยากแก่ ก ารเขี ย นโปรแกรม ภาษาในยุ ค ที่ ส อง ( second-generation language) ที่เรียกว่า ภาษาแอสแซมบลี จึงได้ถูกพัฒนาขึ้น ภาษาแอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (symbolic programming language) จะใช้รหัสและสัญลักษณ์แทน 0 และ 1 ในการเขียนโปรแกรม ภาษาแอสแซมบลี มีข้อดีหลายประการเมื่อเทียบกับภาษาที่เขียนด้วยภาษาเครรื่อง ตัวอย่างเช่น ภาษา แอสแซมบลีจะใช้ตัวย่อที่มีความหมาย หรือในบางครั้งเรียกว่านีมอนิก (mnemonics) ในคาสั่งเพื่อเขียนโปแก รม เช่น ใช้ A แทนการบวก ใช้ C แทนการเปรียบเทียบ ใช้ M แทนการคูณ เป็นต้น ข้อดีอีกประการหนึ่งก็คือ ภาษาแอสแซมบลี ส ามารถเรี ย นรู้ ได้ง่ายและเร็ว กว่าการเขียนโปรแกรมด้ว ยภาษาเครื่อง (เลข 0 และ 1) นอกจากนี้ผู้เขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลียังสามารถกาหนดชื่อที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจาเป็นค่าใน ภาษาอังกฤษ (แทนที่จะเป็นเลขที่ตาแหน่งในหน่วยความจา) ตัวอย่างเช่น โปรแกรมเมอร์สามารถใช้ PRICE แทนตาแหน่งที่อยู่ของ unit price ซึง่ เดิมจะเก็บเป็นตัวเลข เช่น 11001011 เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสแซมบลี จาเป็นจะต้องทาการแปลด้วยโปรแกรมแปลภาษาที่เรียกว่า แอสแซมบลี (assembler) โดยแอสแซมเบลอจะทาหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับ (source program) ที่เขียน ด้วยภาษาแอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ภาษาระดับสูง (high-level languages ) หรือภาษายุคที่สาม (third-generation languages) เนื่องมาจากภาษาเครื่องและภาษาแอสแซมบลียังมีข้อจากัดในการนาไปพัฒนาโปรแกรม ดังนั้นจึงได้มร การพัฒนาภาษาระดับสูง (high-level languages ) ขึ้น ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้และการ นาไปประยุกต์ใช้งาน นอกจากนี้โปรแกรมภาษาที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงยังสามารถทางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิด กันได้ด้วย (ไม่ผูกติดกับฮาร์ดแวร์) ภาษาในยุคที่สาม (third-generation languages หรือ 3GL) หรือภาษา โพรซีเยอร์ (procedural languages) เป็นชุดคาสั่งที่มีลักษณะเหมือนคาในภาษาอังกฤษ เช่น ใช้คาสั่ง add เพื่ อ สั่ ง ให้ ค อมพิ ว เตอร์ บ วก และใช้ ค าสั่ ง print เพื่ อ สั่ ง ให้ พิ ม พ์ นอกจากนี้ ค าสั่ ง ในภาษายุ ค ที่ ส ามยั ง ใช้ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น * แทนการคูณ ,+ แทนการบวก เป็นต้นเช่นเดียวกับภาษาแอสแซมบลี โปแก รมภาษาในยุคที่สามที่ถูกเขียนขึ้นหรือที่เรียกว่าโปรแกรมต้นฉบับ (source code) จาเป็นจะต้องมีตัวแปล ภาษาเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องซึ่งเป้นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ โดยโปรแกรมแปลภาษาที่กล่าวถึงจะจาแนก เป็น 2 ประเภทคือ คอมไพเลอร์ (compiler) และอินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter) ซึ่งได้อธิบายมาแล้วในช่วง ต้นของบทที่ 3 นี้ ตัวอย่างภาษาในยุคที่สาม ได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล และภาษาฟอร์เท รน
การใช้ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming Language) นั กเขีย นโปรแกรมบางคนคิดว่ าการเขี ยนโปรแกรมขนาดใหญ่ นั้น บางครั้ง ก็เ ป็นงานที่ห นัก และ เสียเวลามาก จึงได้พยายามคิดหาวิธีที่จะทาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถเขียนได้อย่าวรวดเร็ว ทาให้ เกิดเทคนิ ค การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรือ OOP เพื่อช่ว ยลดความ ยุ่งยากของการเขียนโปรแกรม Object-Oriented Programming ต่างจากการเขียนโปรแกรมโดยทั่ว ๆ ไป โดยการเขียนโปรแกรม ตามปกตินั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะพิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรมเหล่านั้น แต่เทคนิคของ OOP จะมองเป็น วัตถุ (object) เช่น กล่องโต้ตอบ (dialog box) หรือไอคอนบนจอภาพ เป็นต้น โดยออบเจ็คใด ออบเจ็คหนึ่งจะทางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผู้ใช้ต้องการทางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้ในโปรแกรมที่ ต้องการได้ทันที โปรแกรมเดลไฟ หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุได้รับการพัฒนามาเป็นเวลานานแล้ว โดยภาษาเริ่มแรกคือ Simula-67 ได้รับการพัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 1967 และต่อมาก็มีภาษา smalltalk ซึ่งเป็นภาษาเชิงวัตถุเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ หลักการของ OOP ยังได้รับการนไปเสริมเข้ากับภาษาโปรแกรมในยุคที่ 3 คือ C จนเกิดเป็นภาษาใหม่คือ C++ รวมทั้งยังมีการเสริมเข้ากับ การโปรแกรมแบบภาพ (visual programming) ทาให้ เกิด Visual Basic ซึ่งมี รากฐานมาจาก BASIC และ Delphi ซึ่งมีรากฐานมาจาก Pascal นอกจากนี้ ในปัจจุบันจะมีภาษาที่ใช้หลักการ โปรแกรมเชิงวัตถุตัวใหม่ล่าสุดซึ่งกาลั งมาแรงและมีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมสูงคู่กันอินเตอร์เน็ต นั่นคือ ภาษา JAVA ภาษาที่ออกแบบมาสาหรับ OOP การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่มี การติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟฟิก (Graphical User Interface หรือ GUI) เช่น Microsoft Windows และ World Wide Web จะสามารถทาได้ง่าย รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายไม่ มากนัก ด้วยเครื่องมือในการพัฒนาที่ใช้หลักการของ OOP ซึ่งในปัจจุบันจะมีเครื่องมือประเภทนี้ที่ได้รับความ นิยมอย่างมากอยู่ 2 ภาษา คือ Visual Basic และ JAVA Visual Basic ภาษา Visual Basic พัฒ นาโดย Prof. Kemeny และ Kurtz ที่เมื อง Dartmouth ในปีค.ศ. 1960 โดยมีจุดประสงค์สาหรับใช้สอนในห้องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ขึ้นในยุคแรก ๆ จะมีหน่วยความจาไม่เพียงพอที่จะทางานกับโปรแกรมภาษาอื่น เช่น FORTRAN และ COBOL เพราะขนาด ของตัวแปรภาษาซึ่งต้องใช้หน่วยความจาสูงมาก แต่เครื่ องเหล่านั้นสามารถใช้ภาษา BASIC ได้ เพราะภาษา BASIC ใช้ตัวแปลภาษาที่มีขนาดเล็ก และตัวแปลภาษานั้นไม่ต้องเก็บอยู่ในหน่วยความจาทั้งหมดก็สามารถ ทางานได้ เป็นเหตุให้ภาษา BASIC ได้รับความนิยมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
จะได้รั บ การพัฒ นาสู งขึ้น ในเรื่ องของความเร็ว และหน่ว ยความจาเท่าใดก็ตาม แต่ภ าษา Visual Basic จะ แตกต่างจากภาษา BASIC โดยสิ้นเชิง ทั้งในแง่ของหน่วยความจาที่ต้องการ และวิธีการพัฒนาโปรแกรม โปรแกรมวิชวลเบสิค ภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดยบริษัท Microsoft มีจุดประสงค์ในการใช้เป็น เครื่องมือพัฒนาโปรแกรมที่มีการติดต่อับผู้ใช้เป็นแบบกราฟฟิก โดยจะมีเครื่องมื่อต่าง ๆ ที่ช่วยในการพัฒนา โปรแกรมอย่างรวดเร็ว หรือที่นิยมเรียกว่า RAD (Repid Application Development) ปัจจุบันนี้มีผู้ใช้งาน ภาษา Visual Basic เป็นจานวนมาก โดยภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบให้ทางานบนระบบวินโดว์ เวอร์ชั่นต่าง ๆ จากไมโครซอฟต์ เช่น Visual Basic 3 ทางานบนระบบวินโดว์ 3.11 ส่วน Visual Basic 4 และ 5 ทางานบนระบบวินโดว์ 95 เป็นต้น JAVA ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปัจจุบัน คงจะไม่มีภาษาไหนที่เทียบได้รับภาษาจาวาซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้น โดยบริษัทซันไมโครซิสเตมส์ ในปี 1991 โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเล็คทรอนิกส์สาหรับผู้บริโภคที่ ง่ายต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่า ไม่มีข้อผิดพลาด และสามารถใช้กับเครื่องใด ๆ ก็ได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็ได้กลายเป็น ข้อดีของจาวาที่เหนื่อกว่าภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นด้วยจาวาสามารถนาไปใช้ กับเครื่องต่าง ๆ โดยไม่ต้องทาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ทาให้ไม่จากัดอยู่กับเครื่องหรือโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง แม้ว่าการใช้งานจาวาในช่วงแรกจะจากัดอยู่กับ World Wide Web (WWW) และ Internet แต่ในปัจจุบันได้ มีการนาจาวาไปประยุ กต์ใช้กับงานด้านซอฟต์แวร์ต่าง ๆ อย่างมากมาย ตั้งแต่ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility) ไปจนกระทั่งซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น โปรแกรมชุดจากบริษัท Corel ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมหลัก ๆ คือ โปรแกรมเวิร์โปรเซสซิ่ง สเปรดซีต พรีเซนเตชั่น ที่เขียนขึ้นด้วยจาวาทั้งหมด จาวายังสามารถนาไปใช้เป็นภาษาสาหรับอุปกรณ์แบบฝังต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ และอุปกรณ์ขนาดมือ ถือแบบต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้งยังได้รับความนิยมนาไปใช้กับอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเข้าสู่อินเตอร์เน็ตโดยไม่ต้องใช้ คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้แล้ว จาวายังเป็นภาษาที่ถูกใช้งานในคอมพิวเตอร์แบบเอ็นซี (NC) ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ แบบใหม่ล่าสุด ที่เน้นการทางานเป็นเครือข่ายว่า แอพเพลต (applet) ที่ต้องการใช้งานขณะนั้นมาจากเครื่อง แม่ ทาให้การติดต่อสื่อสารสารผ่านเครือข่ายใช้ช่องทางการสื่อสารน้อยกว่าการดึงมาทั้งโปรแกรมเป็นอย่างมาก