Final Design Project:
PROFILE
คำนำ
RESEARCH
บรรจุภัณฑ์ประเภทขวดแก้ว
ขวดแก้วเป็นภาชนะบรรจุที�เก่าแก่ชนิดหนึ�ง มีการใช้กัน เมื�อประมาณ �,��� ปี มาแล้ว โดยชาวตูนิเซียและอียิปต์ได้ค้นพบวิธีการทำแก้วจึงเกิดอุตสาหกรรมผลิตแก้ว ขึ�นในประเทศทั�งสอง และได้แพร่หลายไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป สำหรับประเทศไทยอุตสาหกรรมผลิตแก้วได้เริ�มขึ�นในปี พ.ศ. ���� โดยองค์การ แก้ว ซึ�งทำการผลิตภาชนะบรรจุแก้วเพื�อทดสอบการนำเข้าสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิต เครื�องดื�มเภสัชภัณฑ์เครื�องสำอางและอาหารอื�นๆปัจจุบันได้มีการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีใหม่ๆรวมทัง� เครือ� งจักรอัตโนมัตชิ ว่ ยในการผลิต เพือ� ให้ได้แก้วทีม� คี ณ ุ ภาพสูง วัตถุดิบที�ใช้ ในการผลิตแก้ว �. ทราย มีชื�อทางวิทยาศาสตร์ว่า “ซิลิกา” จะต้องมีปริมาณของ SiO� อย่างน้อย ��.�% และมีปริมาณของ Fe�O� น้อยกว่า �.��% �. โซดาแอช คือ Na�CO� ในธรรมชาติอยู่ในรูปของ Na�CO� , NaHCO�, �H�O �. หินปูน คือ CaO �. หินฟันม้า เป็นสารที�ประกอบด้วย SiO� และยังมีปริมาณ AI�O� ถึงเกือบ ��% �. หินโดโลไมต์ เป็นสารที�ประกอบด้วย CaO และ MgO �. เศษแก้ว เป็นวัตถุดิบที�ช่วยประหยัดพลังงานในการหลอม นอกจากนี�ยังมีวัตถุดิบอื�นๆซึ�งช่วยในการหลอมการปรับแต่งสีของขวดแก้วรวมทั�ง ปรับแต่งคุณสมบัติด้วย 1
Research
HCRAESER กรรมวิธีในการผลิต นำวัตถุดิบทั�งหมดผสมเข้าด้วยกันปริมาณของวัตถุดิบแต่ละชนิดมีการแปรผัน ได้ในอัตราส่วนต่างๆกัน เพื�อให้ได้แก้วที�มีคุณสมบัติเด่นตามที�ต้องการ โดยทั�วไปทราย และโซดาแอช เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก้วจากนั�นหลอมวัตถุทั�งหมดให้เป็น เนื�อเดียวกันในเตาหลอม ซึ�งมีอุณหภูมิถึง �,��� เซลเซียส แล้วนำไปขึ�นรูปเป็นขวด หรือภาชนะ แบบอื�นๆตามต้องการ
คุณสมบัติของขวดแก้ว ขวดแก้วมีคุณสมบัติที�ดีเด่นหลายประการ คือ �. มีความเป็นกลางและไม่ทำปฏิกิริยาใดๆ กับผลิตภัณฑ์ที�บรรจุอยู่ภายในเพื�อให้ผู้บริโภค ได้รับความปลอดภัยสูง �. มีความใส สามารถมองเห็นของที�บรรจุอยู่ภายในได้ ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริโภค �. เมื�อเปิดแล้วสามารถปิดกลับเพื�อใช้ใหม่ได้ นอกจากนั�น ขวดแก้วยังสามารถใช้หมุนเวียนได้ มีความคงรูปเมื�อวางเรียงซ้อน จึงให้ความสะดวกในการขนส่ง มีความคงทนถาวรไม่เสื�อมสภาพ ตลอดอายุของผลิตภัณฑ์ ทนความร้อนได้สูงมาก และป้องกันการซึมผ่านของก๊าซและไอน้ำได้อย่างไรก็ตามขวด แก้วก็มีข้อเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ�งมีน้ำหนักมากและแตกง่าย ดังนั�นการปรับปรุงคุณภาพ ของขวดแก้วจึงมีความจำเป็น โดยใช้เทคโนโลยีเพื�อให้ได้แก้วที�มีความแข็งแรงเพิ�มขึ�น ผิวบางลงและน้ำหนักเบากว่าเดิม ทั�งยังเป็นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติอีกด้วย Research
2
RESEARCH
ฝาปิดขวดแก้ว
คุณสมบัติ �. ฝาปิดต้องเข้ากันได้กับตัวสินค้าและบรรจุภัณฑ์กล่าวคือ ไม่เกิดปฏิกิริยาใดๆกับผลิตภัณฑ์ที�บรรจุและภาชนะบรรจุ ในระหว่างการเก็บรักษาและขนส่ง �. ฝาปิดจะต้องป้องกันสินค้าจากความเสียหาย ที�เกิดจากปัจจัยภายนอกต่างๆได้และจะต้อง ปิดผนึกได้อย่างสมบูรณ์อยู่ตลอดเวลาจนกว่า ผลิตภัณฑ์ จะถูกบริโภค �. ฝาปิดจะต้องสะดวกต่อการใช้งาน ง่ายต่อการปิดเปิดใหม่ จนกว่าจะใช้ผลิตภัณฑ์หมด �. ในบางกรณีจำเป็นต้องใช้ฝาชนิดที�ไม่สามารถเปิดได้โดยปราศจากร่องรอยว่าได้ถูกเปิด แล้ว (tamper evident) �. ผลิตภัณฑ์บางชนิด เช่น สารเคมี ยา ต้องเลือกใช้ฝาปิดประเภทที�เปิดปิดไม่ได้
ชนิดของฝา
ฝาปิดสามารถแบ่งตามลักษณะการปิดผนึกเป็น � แบบคือ �. ปิดผนึกแบบธรรมดา (norma lseals) ฝาทุกชนิดที�ไม่ต้องทนสุญญากาศ และแรงดัน ระหว่างการใช้งาน จัดอยู่ในประเภทปิดผนึกธรรมดา ฝาเหล่านี�ได้แก่ �.� ฝาเกลียวต่อเนื�อง (continuous thread, CT) ฝาจะถูกขึ�นเกลียว หรือทำลอนก่อน เมื�อปิด ผนึกจึงจะหมุนเกลียวของฝาลงบนภาชนะบรรจุซึ�งเกลียวของฝาจะเข้ากันได้กับเกลียวที� ปากขวดพอดี ทำให้เกิดการ ผนึกแน่น ผลิตจากพลาสติกหรือโลหะใช้ปิดภาชนะบรรจุทั�ว ไป เช่น ฝาปิดขวดกาแฟ น้ำพริกเผา เครื�อง ปรุงรสต่างๆ ยาเม็ด เป็นต้น
3
Research
HCRAESER �.� ฝาแมกซี (maxi) เป็นฝาโลหะที�ได้รับการออกแบบให้สะดวกแก่ผู้ใช้เป็นฝาที�มีวงแหวน และร่องลึกบนฝาทำให้ฉีกฝาขวด ออกได้ง่าย ผลิตจากแผ่นเหล็กทินฟรีและอะลูมิเนียม เช่น ฝาปิดขวดน้ำดื�ม เป็นต้น
�. ปิดผนึกแบบสุญญากาศ (vacuum seals) เป็นฝาที�มีการออกแบบให้ผนึกแน่นเมื�อมี สุญญากาศในช่องว่างด้านบนของบรรจุภัณฑ์ ในระหว่างกระบวนการฆ่าเชื�อหรือปิดผนึก เนื�องจากสุญญากาศจำเป็นต่อการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ฝาประเภท นี�ได้แก่ �.� ฝาลัก (lugcap) มีหลักการเช่นเดียวกับฝาเกลียวต่อเนื�องแต่มีรอยนูนในแนวระนาบ หรื อ แนวเฉลี ย งเป็ น ชุ ดโดยมี ส ่ ว นยื � น ของฝาขวดหรื อ เขี � ย วล็ อ กกั บ รอยนู น ของคอขวด ผลิตจากแผ่นเหล็กเคลือบดีบุก ใช้ปิดขวดแก้วบรรจุอาหารเช่น ผลไม้บรรจุขวดแก้ว แยมซอสมะเขือเทศ เป็นต้น
Research
4
RESEARCH �.� ฝากดหมุน (presson twistoff) เป็นฝาผลิตจากแผ่นเหล็กเคลือบดีบุกและอะลูมิเนียม เกลียวของฝาจะเกิดขึ�นเพื�อผนึกฝา โดยเครื�องจักรใช้ปิดขวดแก้วบรรจุน้ำผลไม้และอาหาร เด็กที�นำเข้าจากต่างประเทศ “(รูปเดียวฝาลัก)” �. ปิดผนึกแบบทนความดัน (pressure seals) เป็นฝาที�ออกแบบให้ทนแรงดันภายใน บรรจุภัณฑ์ เช่น ความดันของน้ำอัดลมและเบียร์ ใช้ปิดขวดแก้วและขวดเพท (PET) ได้แก่ �.� ฝาเกลียวกันปลอม (pilfer–proofcap) ผลิตจากอะลูมิเนียมและพลาสติก ใช้ปิดขวด แก้วเช่น ขวดเหล้า ขวดเครื�องดื�มบำรุงกำลัง ขวดน้ำอัดลมขนาดบรรจุตั�งแต่ ��� ลูกบาศก์ เซนติเมตรขึ�นไป หรือขวดแก้วบรรจุน้ำอัดลมใช้ครั�งเดียว (onewaybottle) เป็นต้นฝา ประเภทนี � เ มื � อ หมุ น เกลี ย วเปิ ด ขวดในครั � ง แรกเกลี ย วจะขาดออกจากกั น ทำให้ เ ห็ น ร่ อ ง รอยหากมีการเปิดก่อนถึงมือผู้ซื�อ
�.� ฝาจีบ (crowncap) ผลิตจากแผ่นเหล็กเคลือบดีบุก และแผ่นเหล็กทินฟรีมีลักษณะ เด่นคือตรงส่วนที�รัดคอขวดจะมีลอนส่วนนี�จะครอบปิดปากขวดพอดีใช้ปิดขวดแก้วบรรจุ เครื�องดื�ม เช่น น้ำอัดลม เบียร์ โซดา เป็นต้น �.� ฝาแมกซี (maxicap) ชนิดทนความดันมักทำด้วยแผ่นเหล็กทินฟรีใช้ปิดขวดแก้ว บรรจุเครื�องดื�มเช่น เบียร์ โซดา เป็นต้น นอกจากนี�ยังมีฝาปิดแบบอื�นๆอีกได้แก่จุกคอร์ก ปิดขวดไวน์และแชมเปญ ฝากด เป็นต้น
5
Research
แนวทางการแสดงฉลากอาหาร
HCRAESER
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที� ���) พ.ศ.���� เรื�องฉลากกำหนดให้อาหารดัง ต่อไปนี�ต้องมีฉลาก กลุ่ม � อาหารควบคุมเฉพาะ กลุ่ม � อาหารที�กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน กลุ่ม � อาหารที�ต้องมีฉลาก กลุ่ม � อาหารทั�วไป (อาหารอื�นนอกจากอาหารกลุ่ม �-�) และได้กำหนดแนวทางในการแสดงฉลากอาหารดังนี� �. การแสดงฉลากอาหารทีจ� ำหน่ายโดยตรงต่อผูบ้ ริโภคของอาหารกลุม่ �, กลุม่ � และกลุม่ � ต้องแสดงข้อความเป็นภาษาไทยจะมีภาษาต่างประเทศด้วยก็ได้ และต้องแสดงรายละเอียดดัง ต่อไปนี� เว้นแต่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะยกเว้นให้ไม่ต้องระบุข้อความหนึ�ง ข้อความใดในฉลากของอาหารแต่ละชนิด �.� ชื�ออาหาร ชื�ออาหารภาษาไทยต้องมีข้อความต่อเนื�องกันในแนวนอนขนาดของตัว อักษรใกล้เคียงกัน สีเดียวกัน ถ้าแสดงบรรทัดเดียวได้ไม่หมดก็แยกเป็นหลายบรรทัดก็ได้และ ชือ� อาหารภาษาไทยจะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าชือ� อาหารภาษาต่างประเทศ �.� เลขสารบบอาหาร ในเครื�องหมายด้วยตัวเลขที�มีสีตัดกับสีพื�นของกรอบและมีขนาด ไม่เล็กกว่า � มิลลิเมตร สีของกรอบตัดกับสีพื�นของฉลาก �.� ชื�อและที�ตั�งของผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุ เพื�อจำหน่าย แล้วแต่กรณี โดยมีคำว่า "ผลิตโดย"หรือ"ผลิต-แบ่งบรรจุโดย"กำกับสำหรับอาหารที�ผลิตภายในประเทศอาจแสดง สำนักงานใหญ่ของผู้ผลิตหรือของผู้แบ่งบรรจุก็ได้ ในกรณีที�เป็นอาหารนำเข้าให้แสดงชื�อ และที�ตั�งของผู้นำเข้าและประเทศผู้ผลิตด้วย �.� ปริมาณสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก ถ้าเป็นอาหารผงหรือแห้งหรือก้อนให้ แสดงน้ำหนักสุทธิถ้าอาหารเป็นของเหลวให้แสดงเป็นปริมาตรสุทธิในกรณีที�เป็นอาหารใน ภาชนะบรรจุที�ปิดสนิท ถ้าแยกเนื�ออาหารออกจากน้ำได้ให้แสดงน้ำหนักเนื�ออาหารด้วย �.� ส่วนประกอบที�สำคัญเป็นร้อยละของน้ำหนักโดยประมาณ โดยแสดงจากปริมาณ มากไปหาน้อย กรณีที�เป็นอาหารที�ต้องเจือจางหรือทำละลายก่อนบริโภคให้แสดงส่วนประกอบทีส� ำคัญของอาหารเมือ� เจือจางหรือทำละลายตามวิธปี รุงเมือ� รับประทานตามทีแ� จ้งไว้ในฉลาก Research
6
RESEARCH �.� ข้อความว่า "ใช้วัตถุกันเสีย" ถ้ามีการใช้ �.� ข้อความว่า "เจือสีธรรมชาติ" หรือ "เจือสีสังเคราะห์" แล้วแต่กรณีที�มีการใช้ �.� ข้อความว่า "…..เป็นวัตถุปรุงแต่งรสอาหาร" (ความที�เว้นไว้ให้ระบุชนิดของวัตถุปรุง แต่งทีใ� ช้) เช่นกรณีทเ�ี ป็นโมโนโซเดียมกลูตาเมทให้แสดงข้อความว่า "ใช้โมโนโซเดียมกลูตา เมทเป็นวัตถุปรุงแต่งรสอาหาร" �.� ข้อความว่า "ใช้…..เป็นวัตถุที�ให้ความหวานแทนน้ำตาล" (ความที�เว้นไว้ให้ระบุชนิด ของวัตถุทใ�ี ห้ความหวานแทนน้ำตาลทีใ� ช้)ด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า � มิลลิเมตรสีของตัว อักษรตัดกับสีพน�ื ของฉลากเช่น กรณีทเ�ี ป็นแอสปาร์แตมให้แสดงข้อความว่า "ใช้แอสปาร์แตม เป็นวัตถุให้ความหวานแทนน้ำตาล" �.�� ข้อความว่า "แต่งกลิ�นธรรมชาติ", "แต่งกลิ�นเลียนธรรมชาติ", "แต่งกลิ�นสังเคราะห์" "แต่งรสธรรมชาติ" หรือ "แต่งรสเลียนธรรมชาติ" แล้วแต่กรณีถ้ามีการใช้ �.�� แสดงวันเดือนปีที�ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อน โดยมีคำว่า "ผลิต" หรือ "หมดอายุ" หรือ "ควรบริโภคก่อน" กำกับ แล้วแต่กรณีดังต่อไปนี� ก.อาหารที�เก็บได้ไม่เกิน��วันให้แสดงวันเดือนปีที�ผลิตหรือหมดอายุหรือควร บริโภคก่อน ข.อาหารที�เก็บได้เกิน��วันให้แสดงเดือนปีที�ผลิตหรือวันเดือนปีที�หมดอายุหรือ วันเดือนปีที�ควรบริโภคก่อน ค.อาหารที�สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกำหนดให้แสดงวันเดือนปีที� หมดอายุ เช่น นมเปรี�ยว นมพาสเจอร์ไรส์ ขนมปัง ผลิตภัณฑ์นมพาสเจอร์ไรส์ �.�� คำแนะนำในการเก็บรักษา (ถ้ามี) �.�� วิธีปรุงเพื�อรับประทาน (ถ้ามี) �.��วิ ธ ี ก ารใช้ แ ละข้ อ ความที � จ ำเป็ น สำหรั บ อาหารที � ม ุ ่ ง หมายจะใช้ ก ั บ ทารกหรื อ เด็ ก อ่อน หรือบุคคลกลุ่มใดใช้โดยเฉพาะ
7
Research
HCRAESER
�.�� ข้อความที�สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยากำหนด (สำหรับอาหารกลุ่ม � อย่างน้อยต้องแสดงข้อความ �. ชื�ออาหาร �. ชื�อและที�ตั�งของผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุเพื�อจำหน่ายแล้วแต่กรณี โดยมีคำว่า "ผลิตโดย" หรือ "ผลิต-แบ่งบรรจุโดย" กำกับ สำหรับอาหารที�ผลิตภายในประเทศอาจแสดงสำนักงาน ใหญ่ของผูผ้ ลิตหรือของผูแ้ บ่งบรรจุกไ็ ด้ ในกรณีทเ�ี ป็นอาหารนำเข้าให้แสดงประเทศผูผ้ ลิตด้วย �. ปริมาณสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก �. วันเดือนปีที�ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อน โดยมีคำว่า "ผลิต" หรือ "หมดอายุ" หรือ "ควรบริโภคก่อน" กำกับ) �. การแสดงฉลากที�มิได้จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค แต่จำหน่ายให้กับผู้ปรุงหรือผู้จำ หน่ายอาหารให้แสดงเหมือนกับฉลากที�จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคเว้นแต่กรณีมีคู่มือหรือ เอกสารประกอบที�แสดงรายละเอียดเกี�ยวกับส่วนประกอบของอาหาร คำแนะนำในการเก็บ รักษา วิธีปรุงเพื�อรับประทาน วิธีการใช้ และข้อความที�จำเป็นสำหรับอาหารที�มุ่งหมายจะ ใช้กับทารกหรือเด็กอ่อนหรือบุคคลกลุ่ม ใดใช้เฉพาะการใช้วตั ถุกนั เสีย วัตถุให้ความหวานแทนน้ำตาล เจือสีแต่งกลิน� การใช้วตั ถุปรุงแต่ง รสอาหารอยูแ่ ล้วจะแสดงฉลากเพียงชือ� อาหารชือ� และทีต� ง�ั ผูผ้ ลิตหรือผูแ้ บ่งบรรจุปริมาณสุทธิ เลขสารบบอาหาร และวันเดือนปีที�ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อนก็ได้ �. การแสดงฉลากอาหารที�ไม่ได้จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค แต่นำมาจำหน่ายเพื�อเป็น วัตถุดิบของโรงงานต้องมีข้อความภาษาไทย เว้นแต่อาหารที�นำเข้าอาจแสดงข้อความเป็น ภาษาอังกฤษก็ได้ อย่างน้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี� �.� ชื�อและประเภทหรือชนิดของอาหาร �.� เลขสารบบอาหาร �.� ปริมาณสุทธิเป็นระบบเมตริก �.� ชื�อผู้ผลิตสำหรับอาหารที�ผลิตในประเทศชื�อ และที�ตั�งของผู้นำเข้าและประเทศผู้ ผลิต สำหรับอาหารนำเข้า แล้วแต่กรณี
Research
8
RESEARCH
�. การแสดงฉลากของอาหารที�ผลิตเพื�อส่งออก จะแสดงข้อความเป็นภาษาใดก็ได้แต่อย่าง น้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี�
�.� ประเทศผู้ผลิต �.� เลขสารบบอาหาร (ถ้ามี) การแสดงฉลากจะต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื�องฉลาก ทั�งนี�หากประกาศกระทรวงสาธารณสุขของอาหารควบคุมเฉพาะนั�น ๆ มีการกำหนดรายละเอียดการแสดงฉลากเพิ�มเติมจากประกาศฯว่าด้วยเรื�องฉลาก ผู้ขออนุญาตจะต้องแสดงฉลากให้มีรายละเอียดตามที�กำหนดไว้ในประกาศฯของอาหาร โดยเฉพาะด้วย การแสดงข้อความในฉลากตามข้อ � รายละเอียดเกี�ยวกับข้อความที�สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยากำหนดยกเว้นให้ไม่ต้องแสดง และข้อความที�สำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยากำหนดให้แสดงไว้ที�ฉลากของอาหารแต่ละชนิดดังนี� �. สูตรส่วนประกอบของอาหาร �.�อาหารที�ได้รับยกเว้นให้แสดงเฉพาะส่วนประกอบของอาหารโดยไม่ต้องแจ้งปริมาณ เป็นร้อยละของน้ำหนัก ได้แก่ ฟรุตคอกเทล ฟรุตสลัด �.� อาหารที�มิได้จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคที�ต้องแจ้งส่วนประกอบของอาหารโดย ไม่ต้องแจ้งปริมาณเป็นร้อยละของน้ำหนัก ได้แก่ วัตถุเจือปนอาหาร, สีผสมอาหาร, วัตถุปรุงแต่งรสอาหารชนิดผสม �.� อาหารที�ได้รับการยกเว้นให้ไม่ต้องแสดงส่วนประกอบของอาหาร �.�.� น้ำแข็ง �.�.� น้ำบริโภค �.�.� อาหารที�มีส่วนประกอบเพียงอย่างเดียว โดยไม่รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร �.�.� โซดา �.�.� เครื�องดื�มน้ำนมถั�วเหลืองที�แสดงฉลากโดยพิมพ์พ่นทับบนภาชนะที�เป็นแก้ว �.�.�เครื�องดื�มอัดก๊าซที�สูตรมีน้ำตาลและflavorเพื�อใช้แต่งกลิ�นและสีที�แสดงฉลากแบบ shrink wrap และแบบพิมพ์ พ่น ประทับ 9
Research
HCRAESER
�.� อาหารที�มีเนื�อที�ของฉลากทั�งแผ่นน้อย กว่า �� ตารางเซนติเมตรให้แสดงส่วนประกอบ ของอาหารไว้ที�หีบห่อได้โดยไม่ต้องแสดงที�ฉลาก �.� อาหารที�ต้องแสดงส่วนประกอบเมื�อเจือจางหรือ ทำละลายตามวิธีปรุงเพื�อรับประทานตามที�แจ้งไว้บนฉลาก ได้แก่ เครื�องดื�มชนิดเข้มข้นหรือชนิดแห้ง �. การแสดงวันเดือนปีที�ผลิต หรือหมดอายุ หรือควรบริโภคก่อน �.�อาหารที�ได้รับการยกเว้นไม่ต้องแสดงวันเดือนปีที�ผลิตหรือหมดอายุหรือควรบริโภค ก่อน ได้แก่ �.�.�เครื�องดื�มน้ำนมถั�วเหลืองที�แสดงฉลากโดยวิธีพิมพ์พ่นทับบนภาชนะบรรจุแก้ว �.�.� เครื�องดื�มอัดก๊าซที�สูตรมีน้ำตาลและflavorเพื�อใช้แต่งกลิ�นและสีที�แสดง ฉลากแบบ shrink wrap และแบบพิมพ์ พ่น ประทับ �.�.� น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที�ปิดสนิท �.�.� โซดา �.�.� ไอศกรีม �.�.� น้ำแข็ง
Research
10
RESEARCH
ตัวอย่างฉลากอาหาร (กรณีที�จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค)
บูบู เงาะในน้ำเชื�อม ตราสามเหลี�ยม Boo Boo Rambutan in Syrup Triangle Brand น้ำหนักสุทธิ ��� กรัม น้ำหนักเนื�อ ��� กรัม เดือนปีที�ผลิตดูที�ฝากระป๋อง ส่วนประกอบที�สำคัญโดยประมาณ เงาะ ……% น้ำเชื�อม ……% xx-x-xxxxx-y-yyyy ผลิตโดย บริษัท สามเหลี�ยม จำกัด เลขที� � ถ.จันทอุดม อ.บ้านค่าย จ.ระยอง �. ฉลากพื�นสี ………. ตัวอักษรสี ………. รูปภาพสี ………. (แจ้งสีตามความเป็นจริง) �. ขอรับรองว่าชือ� อาหารภาษาไทยใช้อกั ษรสีเดียวกัน ขนาดใกล้เคียงกัน ไม่เล็กกว่า � มิลลิเมตร และไม่เล็กกว่าชื�ออาหารภาษาต่างประเทศ �. ขอรับรองว่าจะแจ้งเดือนปีที�ผลิตจริง โดยมีคำว่ า“ผลิต” กำกั บ(หรืออาจแจ้งวันเดือนปีที� หมดอายุจริง โดยมีคำว่า "หมดอายุ" กำกับก็ได้) �. การแสดงเลขสารบบอาหารให้แสดงเลขทะเบียนที�อนุญาตด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า xx-x-xxxxx-y-yyyy � มิลลิเมตร ในกรอบ โดยสีของกรอบตัดกับสีพน�ื ของฉลาก และสีพื�นภายในกรอบเป็นสีขาว �. ขอรับรองว่า คำว่า “ตรา” มีขนาดไม่เล็กกว่าครึ�งหนึ�งของชื�อตรา ลงชื�อ กล้า เก่งกาจ (นายกล้า เก่งกาจ) 11
Research
ตัวอย่างฉลากอาหาร (กรณีที�จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค)
HCRAESER
น้ำหวานกลิ�นส้ม สูตรส่วนประกอบที�สำคัญโดยประมาณ : น้ำ …% น้ำตาล ….% เจือสีและแต่งกลิ�นสังเคราะห์ ใช้วัตถุกันเสีย
xx-x-xxxxx-y-yyyy ผลิตโดย ร้านศิริธาร เลขที� � ถ.สามเสน แขวงสามเสน เขตดุสิต กทม. ปริมาตรสุทธิ ��� ซม.� ควรบริโภคก่อน …………. �. ฉลากพื�นสี ………. ตัวอักษรสี ………. รูปภาพสี ………. (แจ้งสีตามความเป็นจริง) �. ขอรับรองว่าชื�ออาหารภาษาไทยใช้อักษรสีเดียวกัน ขนาดใกล้เคียงกัน ไม่เล็กกว่า � มิลลิเมตร และไม่เล็กกว่าชื�ออาหารภาษาต่างประเทศ �. ขอรับรองว่าจะแจ้ง วันเดือนปีที�หมดอายุจริง โดยมีคำว่า "ควรบริโภคก่อน" กำกับ �. การแสดงเลขสารบบอาหารให้แสดงเลขทะเบียนที�อนุญาตด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็ก กว่า � มิลลิเมตร ในกรอบ ลงชื�อ ............................................. (............................................)
Research
12
RESEARCH
ตัวอย่างฉลากอาหาร (กรณีที�ไม่ได้จำหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคแต่จำหน่ายให้กับโรงงานอุตสาหกรรม) Citric Acid (Food Additive)
xx-x-xxxxx-y-yyyy Net weight : �� Kgs. A.B.C. Ltd. Milton Keynes United Kingdom นำเข้าโดย บริษัท สตาร์ฟู้ด จำกัด ��/� ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ตัวอย่างฉลากอาหาร (กรณีอาหารทั�วไป) วุ้นเส้น ตราใบไม้ xx-x-xxxxx-y-yyyy
ผลิตโดย บริษัท ดีดี จำกัด เลขที� � ม.� ต.แก่งเสี�ยน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี น้ำหนักสุทธิ ��� กรัม ผลิต ก.ค.�� ** ที�มาของข้อมูล: แนวทางการแสดงฉลากอาหาร กระทรวงสาธารณสุข 13
Research
สมมุติฐาน (ส�:R�) LOGO Design
LABEL Design
รูปที่ 1 background label
รูปที่ 2 Detial label
Resume
14
รูปที่ 3 Outline label view
รูปที่ 4 Artwork label
PACKAGING
รูปที่ 1 ดานบนขวด 15
Research
รูปที่ 2 ดานใตขวด
สมมุติฐาน (ส�:R�)
รูปที่ 3 ดานหนาและดานหลังของขวด
รูปที่ 4 Isometric View
PACKAGING Design
รูปที่ 1 ฝาขวดพรอมสติกเกอร
รูปที่ 2 ดานหนาของขวดบรรจุภัณฑ Resume
16
รูปที่ 3 ดานหลังของบรรจุภัณฑ
รูปที่ 5 รูปบรรจุภัณฑที่เสร็จเรียบรอย
การทำงานในขั�นตอน Resume เป็นชั�นตอนการสร้างสรรค์ โลโก้ และฉลาก รวมถึงตัวบรรจุภัณฑ์ ที � จ ะนำมาใช้ ก ั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ค รี ม ข้ า วโพดซึ � ง การทำงานทั � ง หมดนั � น ไม่ ว ่ า จะเป็ น การออกแบบฉลากสิ น ค้ า โลโก้ของผลิตภัณฑ์ จะใช้โปรแกรม Illustrator และ โปรแกรม Photoshop เป็นหลัก ส่วนในการขึ�นรูปตัว Packaging นั�น จะใช้โปรแกรม Google SketchUp เป็นตัวช่วยในการขึ�นรูป เพราะตัวโปรแกรม สามารถทำ ให้เห็นทุกด้านของตัว Packaging ในรูปแบบ � มิติ ทำให้เราเห็นทุกมุมมองว่า Packaging จะออกมาใบรูป แบบใด ตัวฉลากจะพอดีกับตัว Packeging หรือไม่
17
Research
ขั้นตอน Result สรุปการออกแบบทั้งหมด(ส3:R3)
RESULT
เป็นขั�นตอนสุดท้ายของการทำงานทั�งหมดนั�นคือ การสรุปการทำงานทั�งหมดออกมาเป็นผลงานจริงทั�ง ฉลาก โลโก้รวมถึงตัวผลิตภัณฑ์ ในโครงการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ข้าวโพดหวาน
RESULT
18
RESULT
19
RESULT