/58_newsletter%20May12

Page 1

จดหมายขาว

เพือ่ การเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการ จัดการและการเตือนภัย

ปที่ 2 ฉบับที่ 13 เดือนพฤษภาคม 2555

I ISO 16817 มาตรฐานการออกแบบสิ่งแวดลอมภายในอาคาร รางมาตรฐานฝมือแรงงานไทย 11 กลุมอุตสาหกรรม - เตรียมความพรอมสู AEC RAPEX Alert : Annual Report 2011 ISSN 2228-9925


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูด า นมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย

มาตรฐานและกฎระเบียบทางการคายังคงทวีความ สําคัญขึน้ เรือ่ ยๆ ในสภาวะทีโ่ ลกมีการเปลีย่ นแปลง สภาพแวดลอมภายนอกอยูอ ยางตอเนือ่ ง หนวย งานที่เกี่ยวของกับการกําหนดมาตรฐานและกฎ ระเบียบตางๆ จึงใหความสําคัญอยางตอเนื่องใน การพัฒนามาตรฐานใหมๆ เพื่อเปนแนวปฏิบัติ แกผเู กีย่ วของเพือ่ เตรียมรับมือกับผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนได จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐานฉบับ นี้ จึงไดนําเสนอเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของ มาตรฐาน กฎระเบียบ หรือเกณฑปฏิบัติตางๆ ไดแก มาตรฐานการออกแบบสิ่งแวดลอมภายใน อาคาร (ISO 16817) รางมาตรฐานฝมือแรงงาน ไทย และ RAPEX Alert : Annual Report 2011 ทายนีข้ อขอบคุณสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ที่สนับสนุนการจัดทําจดหมายขาวเพื่อการเตือน ภัยดานมาตรฐานมา ณ ที่นี้ กอง บก.

ISO 16817

มาตรฐานการออกแบบ สิ่งแวดลอมภายใน อาคาร

ISO 16817:2012, Building environment design – Indoor environment – Design process for visual environment เปนมาตรฐาน ที่สรางขึ้นมาเพื่อการพัฒนาสภาพแวดลอมภายใน อาคาร (รวมถึงที่อยูอาศัย และโรงงาน) ที่ลํ้าสมัยที่ สงผลดีตอสุขภาพและความปลอดภัยของผูใชงาน และมีประสิทธิภาพตอการอยูอาศัยและผูใชงาน

ปที่ 2 ฉบับที่ 13 เดือนพฤษภาคม 2555

Management System Certification Institute (Thailand): MASCI 1025, 2nd 11th 18th Floor, Yakult Building, Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok 10400, Thailand Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1708

www.masci.or.th

ประยุ ก ต ใ ช ใ นกระบวนการทํ า งานด า นการ ออกแบบที่มีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ประเด็นดานสิง่ แวดลอมยังคงเปนประเด็น ที่ ISO ยังใหความสําคัญมาอยางตอเนือ่ ง โดย ในระยะหลัง ISO มีการพัฒนามาตรฐานใหมๆ ในรายสาขาหรื อ เฉพาะทาง และยั ง ผนวก ประเด็นในเรือ่ งของสิง่ แวดลอมเขาไปดวย เพือ่ มุงไปสูการดําเนินงานเพื่อสภาพแวดลอมที่ ยั่งยืน ซึ่ง ISO 16817 นี้ เปนมาตรฐานที่ผู เกี่ ย วข อ งกั บ อุ ต สาหกรรมออกแบบและ กอสรางอาคารสามารถนําไปประยุกตใชได ซึ่ง น า จะทํ า ให เ กิ ด การคิ ด ค น ออกแบบ หรื อ กอสรางอาคารรูปแบบใหมๆ และเปนการสราง นวัตกรรมไดอีกดวย

นอกเหนือจากขอกําหนดดานความสะดวกสบายของ ระดับแสงทีเ่ หมาะสมของการออกแบบแลว มาตรฐาน นี้ยังระบุถึงขอบขายในการพิจารณาคาของตัววัด ตางๆ (พารามิเตอร) ที่มีผลตอคุณภาพของสภาพ แวดลอมภายในอาคารดวย โดย ISO 16817 จะชวย ใหทมี ออกแบบมีกระบวนการทีท่ าํ ใหมนั่ ใจไดวา มีการ ออกแบบที่เปนไปตามความตองการทั้งในดานของ ความสะดวกสบายในการใช ง าน การใช แ สงและ พลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และความยัง่ ยืนของอาคาร ที่มา: www.iso.org ผู  ที่ เ กี่ ย วข อ งทั้ ง นั ก ออกแบบ นั ก ตกแต ง ภายใน วิศวกร ผูก อ สราง หนวยงานภาครัฐ และสถาบันการ ศึกษาสามารถศึกษามาตรฐานนี้เพื่อทําใหทราบถึง เครื่ อ งมื อ ที่ เ ป น ประโยชน ต  อ การทํ า งานจากการ

PAGE 2


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

รางมาตรฐานฝมอื แรงงาน ไทย 11 กลุม อุตสาหกรรม – เตรียมความพรอมสู AEC

พนั ก งานเตรี ย มวั ต ถุ ดิ บ สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรม เฟอรนเิ จอรไม พนักงานผลิตชิน้ สวนเฟอรนเิ จอร ไมจริงดวยเครือ่ งจักรอัตโนมัติ พนักงานประกอบ เฟอรนเิ จอรไมจริง และชางทําสีเฟอรนเิ จอรไมจริง - กลุมอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่อง ทําความเย็น ประกอบดวย ชางเชื่อมระบบทอใน อุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งทําความ เย็น ชางเทคนิคเครือ่ งปรับอากาศขนาดใหญ ชาง เทคนิคหองเย็นขนาดเล็ก และพนักงานประกอบ เครื่องปรับอากาศ - กลุม อุตสาหกรรมเหล็ก ประกอบดวย พนักงาน หลอมเหล็กเตาอารคไฟฟา พนักงานปรุงแตงนํ้า เหล็กในเตาปรุงนํ้าเหล็ก พนักงานหลอเหล็ก และ พนักงานควบคุมการอบเหล็ก โครงสรางสําคัญของรางมาตรฐานเหลานี้ ประกอบ ดวย คําจํากัดความของสาขาอาชีพ กรอบการ รับรองทักษะหรือหลักเกณฑในการประเมินใน แตละสายงาน ที่แบงเปน 4 ระดับ ขอกําหนดทาง วิชาการทีใ่ ชเปนเกณฑในการวัดฝมอื ในแตละระดับ และอัตราคาจางขั้นตํ่าของสายงานแตละระดับ

รางมาตรฐานฝมอื แรงงานไทย 11 กลุม อุตสาหกรรม - กลุมอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส – เตรียมความพรอมสู AEC ประกอบดวย พนักงานประกอบอุปกรณไฟฟาแสง สวาง พนักงานประกอบมอเตอรสําหรับเครื่องใช สํานักงานรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ ไฟฟา ชางเทคนิคบํารุงรักษาเครือ่ งจักรกลสําหรับ กรมพัฒนาฝมอื แรงงาน อยูร ะหวางการจัดทําราง อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และชาง มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ จํานวน 11 กลุม เทคนิคระบบรักษาความปลอดภัย อุตสาหกรรม (44 สาขางาน) โดยมีวัตถุประสงค เพื่อจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานที่สอดคลองกับ - กลุม อุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ ประกอบ ความตองการของอุตสาหกรรม สงเสริมการนํา ดวย ชางเทคนิคเขียนแบบเครือ่ งกล ชางเชือ่ มทัก มาตรฐานไปใชในการวัดระดับความสามารถของ สําหรับอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ ชาง บุคลากร ยกระดับฝมอื แรงงาน และใชเปนมาตรฐาน เทคนิคระบบสงกําลัง และชางเทคนิคระบบไฮโดรลิก แหงชาติในการดําเนินงานภายใตกรอบขอตกลง - กลุม อุตสาหกรรมรองเทา ประกอบดวย พนักงาน ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ตัดวาดรองเทา พนักงานอัดพื้นรองเทา ชางเย็บ กลุม อุตสาหกรรมและสาขางานทีม่ กี ารจัดทํา ไดแก รองเทา และพนักงานประกอบรองเทา (เย็บ) - กลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลรถยนต ประกอบดวย ชางกลึงสําหรับอุตสาหกรรมผลิต ชิ้ น ส ว นยานยนต ช า งเชื่ อ มมิ ก -แม็ ก สํ า หรั บ อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต ชางเทคนิคบํารุง รักษาเครือ่ งจักรกลอุตสาหกรรมผลิตชิน้ สวนยาน ยนต และชางเทคนิคเครื่องกลึงอัตโนมัติสําหรับ อุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต - กลุมอุตสาหกรรมยานยนต ประกอบดวย ชาง เทคนิคพนสีตวั ถังสําหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต ชางเทคนิคพนซีลเลอรตวั ถังสําหรับอุตสาหกรรม ผลิตรถยนต พนักงานประกันคุณภาพผลิตภัณฑ ยานยนต (ขัน้ สุดทาย) และชางเทคนิคเชือ่ มสปอต ตัวถังสําหรับสําหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต

หากรางกฎหมายนีผ้ า นการพิจารณาและประกาศ ใช จะสงผลใหผูประกอบการในอุตสาหกรรมที่ เกีย่ วของจะตองเรงพัฒนาบุคลากรทีม่ อี ยูใ หมคี วาม สามารถและผานการทดสอบตามเกณฑทก่ี าํ หนด สวนบุคลากรที่ตองการเขาสูภาคอุตสาหกรรม หรือตองการไดรับคาจางตามอัตราขั้นตํ่าที่ระบุ ไวในมาตรฐานก็จะตองพัฒนาตนเองและผานการ รับรอง ทัง้ นี้ ในดานของผูป ระกอบการอาจมีตน ทุน ในการพัฒนาบุคลากรสูงขึน้ แตกจ็ ะทําใหสามารถ พิจารณาคาตอบแทนทีเ่ หมาะสมในแตละสาขาอาชีพ และระดับความสามารถของแตละบุคคล

- กลุมอุตสาหกรรมพลาสติก ประกอบดวย ชาง เทคนิคเครื่องฉีดพลาสติก ชางเทคนิคเครื่องเปา อนึ่ง ผูประกอบการ นักวิชาการ และบุคลากรใน ถุงพลาสติก ชางเทคนิคเครื่องเปาภาชนะกลวง ภาคอุตสาหกรรม จึงควรใหความสําคัญตอการ และชางเทคนิคการซอมเครื่องเปาถุงพลาสติก มีสว นรวมในการพัฒนามาตรฐานฝมอื แรงงานดัง กลาว โดยสามารถสอบถามและขอขอมูลเพิม่ เติม - กลุมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ไดที่ สํานักงานรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหง ประกอบดวย ชางเจียระไนพลอย ชางหลอเครื่อง ชาติ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน หรือ สถาบันเสริม ประดับ ชางตกแตงเครือ่ งประดับ และชางฝงอัญมณี สรางขีดความสามารถมนุษย สภาอุตสาหกรรม บนเครื่องประดับ แหงประเทศไทย - กลุมอุตสาหกรรมแมพิมพ ประกอบดวย ชาง ที่มา: การสัมมนาประชาพิจารณ “ทํามาตรฐาน เทคนิคเครื่องกัดอัตโนมัติ ชางเทคนิคเครื่องอีดี ฝมือแรงงาน..มีแตไดกับได” 28 พ.ค. 55 ณ ไบ เอ็ม ชางเทคนิคเครื่องไวรคัทอีดีเอ็ม และชางขัด เทค บางนา เงาแมพิมพ - กลุมอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร ประกอบดวย

PAGE 3

ขั้นตอนตอไปในการดําเนินงานของกรมพัฒนา ฝมือแรงงาน คือ การกําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่า ของสาขางานและวิธกี ารทดสอบฝมอื แรงงาน และ อยูร ะหวางการรางกฎหมายควบคุมสาขาอาชีพที่ ตองมีใบประกอบวิชาชีพ


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

RAPEX Alert: Annual Report 2011 โดย

Intellige nce Te am

ระบบ RAPEX ALERT (The Community Rapid Information System for Non-food Products): เปนระบบการสือ่ สารขอมูลสารสนเทศ ในรูปแบบของการตรวจติดตามตลาด (Market Surveillance) สําหรับการแลกเปลีย่ นขอมูลสินคา ในกลุม ทีม่ ใิ ชอาหารทีว่ างจําหนายในสหภาพยุโรป รวมถึงประเทศในกลุม เขตเศรษฐกิจสหภาพยุโรป (EEA) ตลอดจนเปนการใหขอ มูลความเสีย่ งทีม่ นี ยั สําคัญของสินคาในดานสุขภาพและความปลอดภัย เพื่อประกอบการตัดสินใจซื้อสินคาแกผูอุปโภค บริโภค และเพื่อใหผูอุปโภคบริโภคสามารถมั่นใจ ไดถึงความปลอดภัยของสินคานั้นๆ สําหรับป 2011 ที่ผานมานั้น สินคาที่ถูกตรวจ สอบพบวามีความเสี่ยงและถูกระบุวาเปนสินคา อันตราย (Dangerous Products) มีจํานวนทั้ง สิ้น 1,803 รายการ โดยลดลงจากป 2010 คิด เปนรอยละ 20 (ป 2010 มีสินคาที่ถูกจัดวาเปน สินคาอันตรายจํานวน 2,244 รายการ) เนื่องจาก มีหลายปจจัยเขามาเกี่ยวของ อาทิ ความรวมมือ ระหวางประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปในการจําแนก ประเภทของสินคาอันตราย มีการระบุรายละเอียด ของความเสี่ยง/ความเปนอันตรายที่ชัดเจนเพิ่ม มากขึ้น มีการควบคุมงบประมาณและทรัพยากร ในการตรวจติดตามอยางเปนระบบ และมีการ ลดขั้นตอนการดําเนินการใหมีความกระชับและ

PAGE 4

รวดเร็วมากขึ้น รวมถึง มีการนําวิธีการประเมิน ความเสี่ยง (Risk Assessment) เขามาใช เพื่อ ชี้บงความเสี่ยง/ความเปนอันตราย ทําใหมีความ ชัดเจนของการจัดระดับความเสี่ยง (Level of Risk) ตัง้ แตขนั้ ตอนแรกของการตรวจสอบสินคา รวมถึงความเขมงวดของประเทศสมาชิกและกลุม EEA ในการตรวจสอบ และระงับการวางจําหนาย ในกรณีทตี่ รวจสอบพบวาเปนสินคาทีม่ คี วามเสีย่ ง หรือเปนอันตรายตอผูอุปโภคบริโภค สงผลใหผู ผลิตและผูนําเขามีการดําเนินการที่เปนไปตามขอ กําหนดกฎระเบียบมากขึ้น ในป 2011 สินคาที่ตรวจสอบพบวามีความเสี่ยง มากทีส่ ดุ อันดับ 1 ไดแก สินคาประเภทเสือ้ ผา สิง่ ทอ และแฟชัน่ (Cloting, textiles and fashion items) คิดเปนรอยละ 27 รองลงมา คือ ของเลน เด็ก (Toys) รอยละ 21 ทัง้ นี้ สินคาทัง้ สองประเภท ดังกลาว สวนใหญมกั ถูกตรวจสอบพบวามีความ เปนอันตราย หรือมีความสารเคมีอนั ตรายเปนองค ประกอบ หรืออาจเกิดการบีบรัดระหวางการใชงานได (Injuries, chemical risks and strangulation) โดยเปนสินคาทีถ่ กู ผลิตขึน้ ในประเทศจีนมากทีส่ ดุ คิดเปนรอยละ 54 ซึ่งลดลงจากป 2010 (รอยละ 58) เนื่องจากสหภาพยุโรปไดมีการทําขอตกลง ดานความรวมมือในการตรวจสอบสินคากับหนวย งานตางๆ ที่เกี่ยวของของประเทศจีนเพิ่มมากขึ้น


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

กฎระเบียบใหมที่บังคับใชตั้งแตป 2011 ที่มีประเด็นเกี่ยวกับ “ความเสี่ยงของสินคา” (Developments relating to specific products and risks) ไดแก • Decision 2006/502/EC – Reduced Ignition Propensity (RIP) of Cigarettes: สาระ สําคัญกลาวคือ บุหรีต่ อ งสามารถดับไดโดยตัวของมันเอง ทัง้ นี้ คณะกรรมาธิการยุโรปไดเลือ่ นเวลา การบังคับใชออกไปอีก 12 เดือน โดยจะเริม่ มีผลบังคับใชตงั้ แตวนั ที่ 11 พฤษภาคม 2013 นอกจากนี้ การทดสอบเชิงเทคนิคตองเปนไปตามมาตรฐาน EN13869:2002 Lighters – Child-resistance for lighters – Safety requirements and test methods ที่มีการเปลี่ยนแปลง (Revision) รายละเอียดของคาพารามิเตอรและวิธีการที่ใชทดสอบ • Dimethyl fumarate (DMF, CAS. No. 624 49-7): นับตั้งแตเกิดเหตุการณที่มีชาวยุโรป แพสาร DMF บริเวณผิวหนังอยางรุนแรง (Severe skin lesions) สงผลให EU ประกาศยกเลิก การใชสาร DMF ในสินคาอุปโภคบริโภค (Consumer products) ภายใตกฎหมาย REACH นั้น ทางคณะกรรมาธิการยุโรปไดเสนอใหประเทศสมาชิก EU เลื่อนระยะเวลาของการบังคับหามใชสาร DMF ออกไปชั่วคราวอีก 1 ป (อางอิงตาม Commission Decision 2012/48/EU, ประกาศเมื่อ วันที่ 26 มกราคม 2012) ทั้งนี้ คาดการณวาการหามใชสาร DMF จะเริ่มมีผลบังคับใชจริงตั้งแตวัน ที่ 15 มีนาคม 2013 หรือจนกวาจะมีการประกาศบังคับใชภาคผนวก 17 (Annex 17) ของกฎหมาย REACH (Regulation EC 1907/2006) ซึง่ เปนระเบียบหามใชสาร DMF เปนการถาวร จะมีผลบังคับใช • มาตรฐานความปลอดภัย CENELEC ฉบับใหม (European Safety Standard) เกี่ยวกับระดับ เสียงที่ปลอดภัยของเครื่องเลนเพลงสวนบุคคล (Personal Music Player) จะมีผลบังคับใชจริง ตั้งแตวันที่ 24 มกราคม 2013 • การเปลี่ยนแปลงนิยามของ Laser Products ที่เกี่ยวของกับการใชงานของผูอุปโภคบริโภค เชน Laser Pointers เปนตน เนือ่ งจากสินคาในกลุม ดังกลาว สามารถกอใหเกิดอันตรายแกผใู ชงานไดหาก มีการนําไปใชงานผิดวิธี (Misuse) ดังนัน้ เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัยแกผใู ชงาน หนวยงานมาตรฐาน ยุโรป หรือ CENELEC จึงไดมีการประกาศมาตรฐาน EN 60825-1 (2007) ที่มีการเปลี่ยนแปลง สาระสําคัญบางประเด็นใหม เพือ่ ใหครอบคลุมสินคาประเภท Laser ทัง้ หมดทีอ่ าจกอใหเกิดอันตราย ที่มา : - European Commission: Keeping European Consumers Safe – 2011 Annual Report on the operation of the Rapid Alert System for non-food dangerous products RAPEX - EUROPA – Consumer Affairs – Safety – Rapid Alert System for non-food dangerous products (RAPEX): http://ec.europa.eu/consumers/safety/rapex/index_en.htm - กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย, สรุปความเคลื่อนไหวมาตรการทางการคาของตาง ประเทศ : www.dft.go.th

PAGE 5


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

News & Activities งานเปดตัวระบบฐานขอมูล Industrial Intelli- กําหนดการ งานเปดตัว “Industrial Intelligence Unit” วันพฤหัสบดี ที่ 26 กรกฏาคม gence Unit 2555 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ศูนยนทิ รรศการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ได และการประชุมไบเทค บางนา กําหนดจัดงานเปดตัวระบบฐานขอมูล Indus- 09.00 - 10.00 น. trial Intelligence Unit (IIU) โดยมีวตั ถุประสงค • ลงทะเบียน พรอมรับประทาน Coffee Break เพือ่ สรางความตระหนักและเห็นความสําคัญของ • เยี่ยมชมบูธแตละภาคอุตสาหกรรม พรอม ระบบฐานข อ มู ล อุ ต สาหกรรมเชิ ง ลึ ก และ ความรูในแตละบูธ ที่จัดแสดง ประชาสัมพันธใหผูเขามาใชระบบฐานขอมูล IIU • ร ว มสนุ ก กั บ เกมและกิ จ กรรม แต ล ะภาค อุตสาหกรรม ที่ออกบูธ มากขึน้ โดยมีกลุม เปาหมายไดแก ผูป ระกอบการ • เปด Presentation แนะนํา IU รวม และ IU นักวิชาการ หนวยงานราชการ และผูที่สนใจ แตละสาขา ประมาณ 400 คน จากกลุมอุตสาหกรรมและ 10.10 – 10.20 น. หนวยงานตางๆ อาทิเชน กลุม อุตสาหกรรมสิง่ ทอ กล า วรายงานโดย ผู  อํ า นวยการสํ า นั ก งาน และเครือ่ งนุง หม อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา เศรษฐกิจอุตสาหกรรม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฟ ฟ  า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส  10.20 – 10.55 น. เศษ“การพัฒนาอุตสาหกรรมทีย่ งั่ ยืน” อุ ต สาหกรรมยานยนต อุ ต สาหกรรมอาหาร ปาฐกถาพิ โดย หม อ มราชวงศ พ งษ ส วั ส ดิ์ สวั ส ดิ วั ต น สถาบั น รั บ รองมาตรฐานไอเอสโอ สถาบั น รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ปโตรเลียมแหงประเทศไทย กระทรวงการคลัง 10.55 – 11.20 น. กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ พิ ธี เ ป ด ตั ว IU อย า งเป น ทางการ พร อ มกั บ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ผูบริหาร ซึ่งกําหนดจัดขึ้นในวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ณ กระทรวงอุตสาหกรรม และผูอ าํ นวยการสถาบันฯ ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดย ตางๆ ถายภาพรวมกัน มี รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวงอุ ต สาหกรรมเป น 11.20 – 12.00 น. งานเสวนาหัวขอ “ชี้นําและเตือนภัยอุตสาหกรรม ประธานในพิธีเปด ไทยภายใต AEC : ขอมูลเชิงลึกสําคัญตอการ แขงขันอยางไร” โดย - คุณวิกรม กรมดิษฐ - ดร.คณิต แสงสุวรรณ - นายโสภณ ผลประสิทธิ์ 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

PAGE 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.