/%E0%B8%88%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0

Page 1




Standard Warning กฎหมายฉบับแกไขดังกลาว กลาวคือ กฎหมายของรัฐอิลลิ นอยส กำหนดปริมาณของสารตะกั�วตกคางไมเกิน 40 ppm • ผูผลิตฯ ตองติดแสดงฉลาก Tracking Label บนสินคาเพื่อเปน ขอมูลในกรณ�ที่มีการเรียกคืนสินคา (Recall) • ผูผลิตฯ ตองแสดงเอกสารรับรอง (Certification) วาสินคา “ของเลน” ที่นำเขาเพื่อจำหนายยังประเทศสหรัฐอเมริกา ไดผาน การทดสอบจากหองปฏิบัติการที่ไดรับการรับรองจาก CPSC

ที่มา: http://www.flickr.com/photos/All rights reserved by HolmesBartonHolmes

ผลกระทบ: ผูผลิต ผูนำเขา ผูขายสินคาอุปโภค “ของเลน” ที่ไม ปฏิบัติใหสอดคลองตามกฎหมายฉบับแกไขดังกลาวน�้ ตองระวาง โทษปรับระหวาง 5,000 - 100,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 151,650 - 303,300 บาท ตอความผิด 1 ครั้ง (อัตราแลกเปลี่ยน 1 เหรียญสหรัฐฯ = 30.33 บาท ณ วันที่ 4 มกราคม) และหากมีการ กระทำความผิดซ้ำบอยครั้ง มีโทษปรับสูงสุด 15 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือจำคุกไมเกิน 5 ป

1 มกราคม 2554 มีผลบังคับแลว

USA Safety Toy

กรรมาธิการดานความปลอดภัยสินคาอุปโภค หรือ Consumer Product Safety Commission (CPSC) ประเทศสหรัฐอเมริกา แกไข กฎหมายควบคุมความปลอดภัยสินคา “ของเลน” โดยกำหนดใหสินคา ของเลนที่วางจำหนายตองมีองคประกอบของสารตะกั�ว (Lead: Pb) ตกคางในของเลนไมเกิน 300 ppm (0.03% โดยน้ำหนัก) จากเดิมที่ กำหนดไวที่ 600 ppm ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 และกฎหมายได เพิ � ม ระดั บ ความเข ม งวดในการควบคุ ม ปริ ม าณสารตะกั � ว ตกค า ง โดย หลังจากวันที่ 14 สิงหาคม 2554 “ของเลน” ตองมีระดับความเขมขน ไมเกิน 100 ppm หรือ ไมเกิน 0.01% โดยน้ำหนัก

แหลงขอมูลอางอิง: www.cpsc.gov: คณะกรรมาธิการดานความปลอดภัย สินคาอุปโภค ประเทศสหรัฐอเมริกา

การเตรียมความพรอมของผูประกอบการไทย

• ผูผลิต ผูนำเขา ผูขายสินคาอุปโภค “ของเลน” รวมถึงสินคาของใชของ เด็ก และสินคาที่ออกแบบและตั้งใจใหเด็กอายุต่ำกวา 12 ปใชนั้น ตอง ปฏิบัติตามกฎหมายใหมน�้ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 เปนตนไป แต ทั้งน�้ หากผูประกอบการไทยสงสินคา “ของเลน” ไปจำหนายในรัฐอิลลิ นอยสนั้น ตองปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐฯ ที่มีความเขมงวดมากกวา 4 • จดหมายขาว

ที่มา : http://www.flickr.com/photos/All rights reserved by ~NR~


เจอกันแน่นอนเร็วๆ นี้...

Standard Movement

กฎหมายควบคุมสารเคมีของ

ญี่ปุ่น

แหลงขอมูลอางอิง: 1. กฎหมายควบคุมสารเคมีของประเทศญี่ปุน ฉบับใหม: ณภัทร คุณาจิตพิมล: AIDA Co., Ltd 2. www.meti.go.jp/english/: Ministry of Economy, Trade and Industry ประเทศญี่ปุน

ทำความรูจักกฎหมายสารเคมีของญี่ปุนสักนิด: ประเทศญี่ปุนมีกฎหมายที่เกี่ยวของ กับสารเคมีหลายฉบับ โดยแตละฉบับมีวัตถุประสงคในการควบคุมแตกตางกัน อาทิ • กฎหมายควบคุมสารเคมี • กฎหมายความปลอดภัยโรงงานและสุขอนามัย • กฎหมายควบคุมสารเคมีที่เปนพิษ • และอื่นๆ สำหรับบทความน�้ขอกลาวถึง “กฎหมายควบคุมสารเคมี หรือ Chemical Substances Control Law (CSCL)” ซึ�งประกาศใชตั้งแตป ค.ศ. 1973 และมีการแกไขมาแลว 2 ครั้ง โดย ฉบับที่ยังคงมีผลบังคับใชเปนของป ค.ศ. 2003 ความเคลื่อนไหวลาสุด: กฎหมายควบคุมสารเคมี CSCL น�้ อยูระหวางการแกไข รายละเอียดของขอกำหนดเพื่อสงเสริมความปลอดภัยและปองกันความเปนอันตรายของสาร เคมีที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอสุขอนามัยของประชาชน และสิ�งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้น อีกทั้งเพื่อใหสอดคลองกับขอตกลงวาดวยการควบคุมสารเคมีระดับสากล (Strategic Approach to International Chemicals Management: SAICM) โดยคาดวาจะประกาศกฎหมาย ฉบับแกไขอยางเปนทางการในเดือนเมษายน ค.ศ. 2011 ที่จะถึงน�้ การเตรียมความพรอมของผูประกอบการไทย: ผูผลิตและผูสงออกสารเคมีไปยังประเทศ ญี่ปุนควรศึกษารายละเอียดขอมูลสารเคมี จัดเตรียมขอมูลใหพรอมและปรึกษาลูกคาทางประเทศ ญี่ปุนเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายควบคุมสารเคมี CSCL ฉบับแกไขน�้ ผลกระทบ: เน��องจากกฎหมายควบคุมสารเคมี CSCL ฉบับแกไข ใหความสำคัญใน เรื่องการบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management) ของสารเคมี และจะมีผลบังคับใชกับ สารเคมีทุกชนิด ทั้ง Existing Chemicals และ New Chemicals (ซึ�งแตกตางจากกฎหมาย ฉบับป ค.ศ. 2003 ที่ควบคุมเฉพาะ New Chemicals และ Existing Chemicals ที่จัดวาเปน สารตกคางยาวนานในสิ�งแวดลอม สะสมไดในสิ�งมีชีวิต และเปนพิษ (Persistent, Bioaccumulative and Toxic: PBT) ซึ�งมีประมาณ 1,500 รายการเทานั้น) ทั้งน�้ ผูผลิตและผูสงออก สารเคมีไปยังประเทศญี่ปุนตองเตรียมขอมูลสำคัญสารเคมีของตนเองใหพรอม ซึ�งไดแก • ชื่อสารเคมีในระบบ IUPAC, CAS No. และ MITI No. (ดูรายละเอียดเพิ�มเติมใน หัวขอ Japanese Existing and New Chemical Substances List ของ Ministry of Economy, Trade and Industry: www.meti.go.jp/english/) • ขอมูลปริมาณการผลิตหรือการนำเขาสารเคมีประจำป โดยเริ�มตั้งแตป ค.ศ. 2011 • ขอมูลทางวิทยาศาสตรของสารเคมีที่ผลิตสงออกไปยังญี่ปุน • ตรวจสอบบัญชีสารเคมีที่ตองประเมิน (Priority Assessment Chemicals Substances: PACS) และทำการประเมินความเสี่ยงของสารเคมีใน PACS 5 • จดหมายขาว


6 • จดหมายขาว


7 • จดหมายขาว



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.