จดหมายขาว
เพือ่ การเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการ จัดการและการเตือนภัย
ปที่ 2 ฉบับที่ 10 เดือนกุมภาพันธ 2555
ECHA ประกาศ “Concern List” (SVHC) เพิ่มเติม ISO&WaterStandard BS 8900 Standard Warning ISSN 2228-9925
“Concern List” (SVHC)
M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D
จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูด า นมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย
กอง บก. ขอกลาวสวัสดีทา นผูอ า น “จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน” สําหรบบทความทีน่ า สนใจ ประจําเดือนกุมภาพันธ 2555 ทีมงาน Intelligence Unit ไดทําสรุปสาระสําคัญของ ECHA ประกาศ “Concern List” (SVHC) เพิ่มเติม และบทวิเคราะห เรื่อง ISO & Water Standard รวมถึง Standard Warning เกีย่ วกับรานคาปลีกในแคลิฟอรเนียยกเลิก ขายเครื่องประดับที่มีแคดเมียมเกิน 0.03% ตั้งแต 1 มกราคม 2555 และขาวประชาสัมพันธกิจกรรมงาน เปดตัวโครงการสงเสริมมาตรฐานความปลอดภัยใน โซอปุ ทานของผูป ระกอบการอุตสาหกรรมจากผูก อ การ ราย ภัยพิบัติหรือโจรกรรม ISO 28000:2007 สุดทายนี้ ขอขอบคุณสํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ที่ ใหการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการโครงการสราง ระบบขอมูลและองคความรู ดานมาตรฐานระบบการ จัดการ และการเตือนภัย หรือ Intelligence Unit
ปที่ 2 ฉบับที่ 10 เดือนกุมภาพันธ 2555
Management System Certification Institute (Thailand): MASCI 1025, 2nd 11 th 18th Floor, Yakult Building, Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok 10400, Thailand Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1703, 617-1727- 9
www.masci.or.th
กอง บก.
ECHA ประกาศ “Concern List” (SVHC)
PAGE 2
เพิ่มเติม
REACH Directive Update: European Chemicals Agency (ECHA) ประกาศรายการ สารเคมีที่มีการนําไปใชในอุตสาหกรรมพลาสติก (Plastic Sector) ไดแก • 2,2’-Dichloro-4,4’-Methylenedianiline: Polymer & Resin curing agent • N,N-dimethylacetamide: ใชใน การผลิต Polyimide films • 2-Methoxyaniline: Color Polymers • 4-(1,1,3,3-Tetramethylbutyl) Phenol: ใชในการเตรียม Polymer และผลิตภัณฑยาง • Technical MDA: เปน Hardener สําหรับ Epoxy Resins • Bis(2-Methoxyethyl) Phthalate: เปน Plasticiser ใน Polymeric Materials ผลกระทบและแนวทางการดําเนินการของผู ประกอบการไทย: สําหรับสารเคมีตามรายการประกาศ EU list of Substances of Potentially Very High Concern (SVHC) เพิ่มเติม 6 รายการดัง กลาวนัน้ มีผลบังคับตัง้ แตเดือนกุมภาพันธ 2012 นี้ ผูป ระกอบการตองตรวจสอบสารเคมีของตนเอง
วาเปนสารเคมีทมี่ กี ารนําไปใชในกระบวนการผลิตเปน สินคา หรือมีการจําหนาย หรือมีการนําเขาไปยัง EU หรือไม เนือ่ งจากสารเคมีในกลุม รายการ SVHC นัน้ ทาง EU จัดเปนสารเคมีประเภททีม่ ผี ลกระทบรุนแรง ตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของมนุษย และสําหรับผูผลิต/ผูนําเขาสารเคมีที่ตองจด ทะเบียน (Chemical Registration) ที่มีปริมาณ การผลิตหรือการนําเขาปริมาณมากกวา 100 ตัน/ ป ตองเรงดําเนินการจดทะเบียนใหเรียบรอยกอนวัน ที่จะมีผลบังคับใชในวันที่ 31 พฤษภาคม 2013 ซึ่ง ทาง ECHA จะจัดใหมีกิจกรรม Workshop เพื่อ การเตรียมความพรอมดานการจัดทําแฟมเอกสาร ขอมูลสารเคมีสาํ หรับการยืน่ จดทะเบียน ในรูปแบบ Webinars และการฝกอบรมประจําป 2012 ซึ่งผู ประกอบการไทยที่สนใจสามารถติดตามไดในเวป ไซตทางการของ ECHA ที่มา: Plastics & Rubber Weekly (30-01-2555): http://www.prw.com
จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น
ISO Water
&
การจัดการบริการและวิกฤตการณ (Service management and crises) ซึง่ มีมาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วของ เชน •
Standard •
การจั ด การกิ จ กรรมการบริ ก ารนํ้ า ดื่ ม และระบบบําบัดนํ้า ซึ่งมีมาตรฐานหลัก 3 มาตรฐาน คือ ISO 24510:2007, ISO 24511:2007 และ ISO 24512:2007 ที่ เปนแนวทางในการประเมิน ปรับปรุง และ การจัดการกิจกรรมการบริการนํา้ ดืม่ และ ระบบบําบัดนํ้า และอยูระหวางการพัฒนา 1 มาตรฐาน คือ ISO/CD 11830 Crisis management of water utilities ภาย ใต ISO/TC 224 การจัดการภายใตสถานการณวิกฤติ ซึ่ง มีเอกสาร คือ แนวทางการจัดการการให บริการนํา้ ดืม่ ภายใตวกิ ฤติ (Guidelines for the management of drinking water utilities under crisis conditions)
โครงสรางพืน้ ฐาน (Infrastructure) มาตรฐานที่เกี่ยวของแบงไดดังนี้ • การชลประทาน (ใช ใ นภาคการเกษตร 70%) ซึง่ มาตรฐานในกลุม นีเ้ ปนการวัดผล การดําเนินงาน วัตถุดิบ การทดสอบ การ ตีความขอมูลและการรายงาน เพือ่ สนับสนุน การชลประทานที่มีประสิทธิภาพ รวมถึง มาตรฐานการใชนาํ้ ทีไ่ ดรบั การบําบัดสําหรับ การชลประทาน เชน ISO/NP 16075 ทีค่ าด วาจะประกาศใชภายในป 2013 • การวัดการไหลของนํา้ และมาตรวัดนํา้ และ มาตรฐานทอและวาลว ซึง่ มาตรฐานเหลานี้ จะชวยในการอนุรักษนํ้าได จะเห็นไดวา องคกรระดับสากลนีไ้ ดใหความสําคัญ กับการบริหารจัดการนํา้ การอนุรกั ษ และแหลงนํา้ โดยพัฒนามาตรฐานและจัดทําเอกสารวิชาการตางๆ ขึน้ เพือ่ ใหผทู เี่ กีย่ วของไดนาํ ไปใชงาน อันจะนําไปสู เปาหมายรวมกัน ซึง่ ผูป ระกอบการและหนวยงาน ทีก่ าํ กับดูแลเรือ่ งนํา้ ของไทยสามารถศึกษาและนํา มาตรฐานทีเ่ กีย่ วของไปประยุกตใชกบั องคกรและ กิจกรรมของตนเองได โดยเฉพาะมาตรฐาน Water footprint ซึง่ นาจะมีการนํามาใชอยางกวางขวางใน อนาคต เพราะสามารถนําไปใชไดกบั ทุกหนวยงาน ทุกกิจกรรม และทุกคนที่มีการใชนํ้า
ทรัพยากรนํ้าซึ่งเปนทรัพยากรที่มีความสําคัญ คุณภาพและการอนุรักษ (Quality ตอการดํารงชีวิตและตองมีการบํารุงรักษาใหคง and conservation) มาตรฐานทีเ่ กีย่ วของ อยูอยางยั่งยืน ซึ่ง United Nation (UN) ได แบงไดดังนี้ กําหนดเปนเปาหมายสําคัญใน UN Millennium • มาตรฐานการคํานวณ Water footprint Development Goals (MDGs) ซึง่ เปนหัวใจสําคัญ ไดแก ISO/CD 14046 ซึ่งชวยสงเสริม ของแผนปฏิบตั กิ ารดานนํา้ หรือ UN Decade of ประสิทธิภาพการวัดผลและการจัดการ Action Water for life 2005-2015 ทรัพยากรนํ้า และชวยใหองคกรตั้งคา เปรียบเทียบการใชนํ้าทั่วโลกได ทัง้ นี้ องคการระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน • มาตรฐานคุณภาพนํ้าที่มีมากกวา 260 (International Organization for Standardiมาตรฐาน ประกอบดวย คําศัพททั่วไป zation : ISO) ไดมีการพัฒนามาตรฐานดานนํ้า วิธีการสุมตัวอยางนํ้าและการทํารายงาน กวา 550 มาตรฐาน เพื่อใหเปนเครื่องมือที่ชวยใน แนวทางการติดตามในการตรวจสอบสถานะ การจัดการนํา้ ทีใ่ ชรว มกันอยางเทาเทียมและยัง่ ยืน ของแบคทีเรีย และความบริสทุ ธิข์ องนํา้ ซึง่ มี เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายของ UN มาตรฐานทีอ่ ยูร ะหวางการพัฒนา ประมาณ 50 มาตรฐาน ภายใตคณะกรรมการวิชาการ ISO มีการจัดตัง้ คณะกรรมการวิชาการเพือ่ พัฒนา ISO/TC 147 มาตรฐานและจัดทําเอกสารความรูด า นการบริหาร • การวัดและการจัดการนํา้ บาดาล ทีม่ มี ากกวา จัดการนํ้า โดยแบงเปน 3 กลุม ไดแก 70 มาตรฐาน ซึ่งมีมาตรฐานที่อยูระหวาง การพัฒนาประมาณ 10 มาตรฐาน ภาย ใตคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 113 ที่มา: www.iso.org กุมภาพันธ 2555
PAGE 3
จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น
Standard Warning รานคาปลีกในแคลิฟอรเนีย ยกเลิกขายเครื่องประดับ ที่มีแคดเมียมเกิน 0.03% ตั้งแต 1 มกราคม 2555 โดย
PAGE 4
Intellige nce Te am
มาตรฐาน ASTM F2923-11 วาดวยมาตรฐาน รานคาปลีกในแคลิฟอรเนีย ยกเลิกขาย เครื่องประดับที่มีแคดเมียมเกิน 0.03% ตั้งแต 1 ความปลอดภัยเครื่องประดับสําหรับเด็ก วิธีการ ทดสอบและการจํากัดปริมาณแคดเมียมในสินคา มกราคม 2555 เครือ่ งประดับสําหรับเด็กทีท่ าํ จากโลหะ โดยปรับใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2555 รานคาปลีก จากขอกําหนดของ The US Consumer Product ของสหรัฐอเมริกา 26 บริษัท เชน Target Corp. Safety Commission (CPSC) วัตถุประสงคเพือ่ และ Gap Inc. ยกเลิกการจําหนายเครื่องประดับ ลดความเสีย่ งจากอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ กับเด็ก มี ทีม่ แี คดเมียมผสมเกิน 0.03% ของนํา้ หนักสินคา สาระสําคัญ ดังนี้ ในรัฐแคลิฟอรเนีย เพื่อใหสอดรับกับกฎหมาย • มาตรฐานใหมครอบคลุมอันตรายทีอ่ าจเกิด California Proposition 65 ทีค่ วบคุมปริมาณสาร ขึ้นจากเครื่องประดับสําหรับเด็ก แมเหล็ก แบตเตอรี่ นิกเกิล ตะกัว่ จากสีและทีอ่ ยูใ นพืน้ พิษในผลิตภัณฑ และมาตรฐาน ASTM F2923-11 ผิว รวมทัง้ โลหะหนักอืน่ ๆ ทีใ่ ชเคลือบพืน้ ผิว โดยในป 2010 รัฐบาลของแคลิฟอรเนียฟอง • เครื่องประดับสําหรับเด็ก หมายถึง เครื่อง ประดับที่ออกแบบหรือตั้งใจผลิตเพื่อใหใช รองผูค า ปลีกและผูส ง มอบ (หรือผูผ ลิต) กวา 20 ราย กับเด็กอายุตํ่ากวาหรือ เทากับ 12 ป เชน โดยกลาวหาวาทําใหผบู ริโภคสัมผัสกับแคดเมียมใน Fine and Fashion Jewelry แตไมรวม เครือ่ งประดับในระดับทีส่ งู โดยปราศจากฉลากเตือน ตามกฎหมายของแคลิฟอรเนีย ซึง่ รัฐแคลิฟอรเนีย เครื่องประดับที่ใชกับตุกตาเด็กเลนกระเปา ถือเปนตลาดขนาดใหญทสี่ ามารถผลักดันมาตรฐาน เข็มขัด และรองเทา ASTM F2923-11 ทีเ่ ปนมาตรฐานแบบสมัครใจและ • ขอกําหนดเกี่ยวกับสารเคมี ไดรับการยอมรับจากภาคอุตสาหกรรม ไปสูการ • ตะกั่วในพื้นผิว : ใหมีตะกั่วไดไมเกิน เปนมาตรฐานระดับประเทศได แมวา ยังไมเปนการ 100 ppm. ทั้งนี้ ไมรวมตะกั่วในสิ่งทอ บังคับใชในรัฐอืน่ แตกม็ คี วามเคลือ่ นไหวในอีก 5 รัฐ ไม โลหะมีคา หินมีคา วัสดุที่มีแหลง ซึ่งมีการพิจารณาและผานการเห็นชอบกฎหมาย กําเนิดจากพืชหรือสัตว ซึง่ สอดคลอง การจํากัดปริมาณแคดเมียมในเครือ่ งประดับแลว กับกฎหมาย Consumer Product แตกาํ หนดขอบขายใชกบั เครือ่ งประดับสําหรับเด็ก Safety Improvement Act (CPSIA) ซึง่ เปนผูท มี่ คี วามเสีย่ งในการไดรบั สารพิษเทานัน้
จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น
•
•
สารละลายโลหะหนักทีใ่ ชเคลือบพืน้ ผิว : กําหนดปริมาณสูงสุดของสารละลายโลหะหนัก ดังนี้ Soluble Heavy Metal
Maximum Levels : ppm
Antimony Chromium Arsenic Mercury Barium Selenium Cadmium
60 60 25 60 1,000 500 75
แคดเมียมในวัสดุพนื้ ผิวทีเ่ ปนโลหะและพลาสติก: เครือ่ งประดับสําหรับเด็กทีม่ สี ว นประกอบ ของโลหะและพลาสติก/โพลิเมอรจะตองทดสอบปริมาณสารแคดเมียมที่ migrate ออก มา ทั้งนี้ หากมีนอยกวา 300 ppm. ไมตองทดสอบ กรณีที่มีสวนประกอบมากกวา 300 ppm. ตองทดสอบการ migrate หรือ การละลายดังนี้ • สวนประกอบขนาดเล็ก วัสดุ มาตรฐานการทดสอบ Migratable or soluble limit พลาสติก EN 71:3 ไมเกิน 75 ppm. โลหะ CPSC-CH-E 1004-11 ไมเกิน 200 µg •
•
สวนประกอบที่ไมใชชิ้นสวนขนาดเล็กและอาจจะเอาเขาปากได จะตองทดสอบ การ extract ของแคดเมียมตามมาตรฐาน CPSC Standard Operating Procedure for Measuring Lead in Children’s Metal Jewelry, February 3,2005, Section II แคดเมียมที่ถูกสกัดออกมาจะตองไมเกิน 18 µg
•
นิกเกิลในวัสดุทเี่ ปนโลหะ : ใชวธิ ที ดสอบการ migrate ของนิกเกิล ตามมาตรฐาน BS EN 1811: 1999 ; EN 12472 ดังนี้ Children jewelry Migratable nickel limit สวนประกอบที่นําเขาไปในหูหรือรางกายที่มีการเจาะ ไมเกิน 0.2 µg/cm2/week เครื่องประดับอื่น ๆ ที่สัมผัสโดยตรงทางผิวหนัง ไมเกิน 0.5 µg/cm2/week
•
Liquid Filled Jewelry เชน การทําความสะอาดเครือ่ งสําอาง แปงพอกหนา แปงผง เจล และแปงที่ใชในเครื่องประดับสําหรับเด็ก (ไมรวมวัสดุที่ใชในทางศิลปะ) : การทดสอบความ เปนอันตรายและทดสอบจุลินทรียใหเปนไปตามขอกําหนดตามมาตรฐาน ASTM F963
Mechanical Requirement : ตองทดสอบความเปนอันตรายโดยใชมาตรฐาน ASTM F963 Toy Safety Standard เชน อันตรายจากแมเหล็กทีอ่ าจหลุดออกมาจากสินคาและเด็กอาจกลืน เขาสูรางกาย ตางหูที่ใชแมเหล็กแนบติดผิว การทดสอบการบีบรัดของสรอยคอ เครื่องประดับ สําหรับเด็กที่มีแบตเตอรี่ ฯลฯ เปนตน
ที่ผานมาสหรัฐฯ มีการตรวจสอบและ ยกเลิกการจําหนายเครือ่ งประดับหลายรายการ ทีม่ ปี ริมาณแคดเมียมและสารพิษอันตรายผสม อยูใ นผลิตภัณฑสงู เกินทีก่ ฎหมายกําหนด และ สงผลตอการตรวจสอบและสกัดสินคาที่เปน ไปตามระเบียบทีน่ าํ เขาจากตางประเทศ ดังนัน้ ผูป ระกอบการไทยทีม่ กี ารผลิตเครือ่ งประดับหรือ สวนประกอบของเครือ่ งประดับทีน่ าํ เขาสหรัฐฯ ทั้งทางตรงและทางออมที่มีการใชแคดเมียม เปนสวนผสมจึงตองใหความสําคัญกับ การ ออกแบบผลิตภัณฑ ปริมาณการใช และการ ทดสอบ ทีส่ อดคลองกับกฎหมายและมาตรฐาน ตาง ๆ เพือ่ ปองกับการถูกปฏิเสธสินคาทีจ่ ะสราง ความเสียหายทั้งรายไดและชื่อเสียง
ที่มา: www.washingtonpost.com และกรมการคาตางประเทศ PAGE 5
จ ด ห ม า ย ข า ว เ พื่ อ ก า ร เ ตื อ น ภั ย ด า น ม า ต ร ฐ า น
เชิญชวนเขารวมงานเปดตัว
โครงการสงเสริมมาตรฐาน ความปลอดภัยในโซอุปทาน ของผูประกอบการอุตสาหกรรม จากผูกอการราย ภัยพิบัติ หรือโจรกรรม
ISO 28000 : 2007
กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร จะจัดสัมมนาเปดตัวโครงการ (Kick off) โครงการ สงเสริมมาตรฐานความปลอดภัยในโซอปุ ทานของ ผูป ระกอบการอุตสาหกรรมจากผูก อ การราย ภัย พิบัติ หรือโจรกรรม ในวันที่ 2 เมษายน 2555 เวลา 9:00 – 12:00 น. ณ หองธาราเทพฮอล อาคารธาราเทพฮอล โรงแรมเจาพระยาปารค ถ.รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ เพื่อแนะนําโครงการ และใหความรูพ นื้ ฐานเกีย่ วกับมาตรฐานระบบการ จัดการดานการรักษาความปลอดภัยในโซอปุ ทาน (ISO 28000 : 2007)
กลุมเปาหมาย •
•
PAGE 6
สถานประกอบการกลุมอุตสาหกรรม เปาหมาย ไดแก ปโตรเคมี พลาสติก ยา เฟอรนเิ จอร และอุตสาหกรรมเพือ่ การสงออกอื่นๆ หนวยงานภาครัฐ องคกรภาคเอกชน และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
ประโยชนที่จะไดรับ สถานประกอบการสามารถรับประกันความ ปลอดภัยใหกับโซอุปทาน ปองกันทรัพยากร และ ปองกันความเสี่ยงและผลกระทบที่มีแนวโนมจะ เกิดขึน้ ใหสามารถบริหารความตอเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Management) ไดอยาง มีประสิทธิภาพ โดยไมเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น
รายละเอียดเพิม่ เติมสามารถเขาดูไดที่ http://logistics.dpim.go.th/webdatas/ Download2555/G6.pdf สําหรับทานที่สนใจกรุณาสงแบบตอบรับ กลับมา ทางอีเมล tadchapong@masci.or.th; usasiri@masci.or.th; suvimon@masci.or.th
หรือทางแฟกซ 0-2617-1708 ภายใน วันที่ 28 มีนาคม 2555 หรือสอบถามขอมูล เพิ่มเติมที่คุณทัชชะพงศ, อุษาศิริ, สุวิมล โทร 0-2617-1727 ตอ 207,212,215