จดหมายขาว
เพือ่ การเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการ จัดการและการเตือนภัย
ปที่ 3 ฉบับที่ 18 เดือนมกราคม 2556
Think.Eat.Save.Reduce your Foodprint EV Everywhere Grand Challenge Blueprint EU timber regulation (EUTR) มอก.9999 เลมที่ 1 - 2556 ISSN 2228-9925
จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน
จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูด า นมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย
กอง บก. ขอกล า วสวั ส ดี ท า นผู อ า น “จดหมาย ข า วเพื่ อ การเตื อ นภั ย ด า นมาตรฐาน” สํ า หร บ บทความที่นาสนใจประจําเดือนมกราคม 2556 ทีม งาน Intelligence Unit ไดสรุปบทความ Think. Eat. Save. Reduce Your Foodprint และ บทวิเคราะห EV Everywhere Grand Challenge Blueprint รวมถึง Standard Warning เกี่ยวกับ EU timber regulation (EUTR) ที่มีผลบังคับใช 3 มีนาคม 2556 และขาวความเคลื่อนไหวของมาตรฐาน แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม สุดทายนี้ ขอขอบคุณสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ทีใ่ หการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการโครงการสราง ระบบขอมูลและองคความรู ดานมาตรฐานระบบการ จัดการ และการเตือนภัย หรือ Intelligence Unit กอง บก.
Think. Eat. Save. Reduce your Foodprint
PAGE 2
The UN Environment Programme (UNEP), The Food and Agriculture Organisation (FAO), และหนวยงานระดับชาติ เชน The UK’s WRAP เปดตัวแคมเปญเพื่อลดปริมาณ ภูเขาขยะอาหาร 1.3 ลานตันในแตละป แคมเปญนี้มีชื่อวา Think. Eat. Save. Reduce Your Foodprint ซึ่งสนับสนุนในการ เปนประตูสูขอมูลแบบออนไลน โดยจะชวยในการ เผยแพรกรณีตัวอยางที่เปนเลิศในการลดขยะ อาหารแกผูบริโภค ผูคาปลีก และเกษตรกร และ ชวยใหหนวยงานภาครัฐ และ NGOs ในการแบง ปนคําแนะนําที่มีประสิทธิภาพเกี่ยวกับแคมเปญ และการดําเนินการ แคมเปญนีจ้ ะชวยหาหนทางในการสนับสนุน แนวทางการดํ า เนิ น การที่ แ ตกต า งในประเทศ อุตสาหกรรมและประเทศกําลังพัฒนา ซึ่งเปนตน เหตุที่กอใหเกิดขยะอาหารที่แตกตางกันมาก ตัวอยางสาเหตุเบื้องตนของขยะอาหารใน ประเทศกําลังพัฒนา คือ มีเทคนิคการเก็บเกีย่ วที่ ประสิทธิภาพตํา่ ขาดการสนับสนุนดานการขนสง และโครงสรางพืน้ ฐานสําหรับการจัดเก็บสินคา ซึง่ สรุปไดวา 95% ของขยะอาหารในภูมภิ าคนีเ้ กิดจาก
ปที่ 3 ฉบับที่ 18 เดือนมกราคม 2556
Management System Certification Institute (Thailand): MASCI 1025, 2nd 11th 18th Floor, Yakult Building, Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok 10400, Thailand Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1708
www.masci.or.th
กระบวนการเริ่มตนในหวงโซอุปทาน ในทางตรงกันขาม ในประเทศอุตสาหกรรม พบวา ขยะอาหารมาจากผูบริโภคซึ่งทิ้งอาหารที่ ยังกินได ซึ่งขอมูลจาก FAO ระบุวา ปริมาณขยะ อาหารจากผูบริโภคในยุโรปและอเมริการเหนือ มี ปริมาณ 95-115 กิโลกรัมตอคน ในแตละป สวน กลุมประเทศที่ตั้งอยูทางตอนใตของทะเลทราย ซาฮาราในทวีปแอฟริกา เอเชียใตและเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตมีปริมาณเพียง 6-11 กิโลกรัม ทั้งนี้ เว็บไซตของ Think. Eat. Save. Reduce Your Foodprint จะมีการใหบริการขอมูล หรือเคล็ดลับที่ชวยใหผูบริโภคและผูคาปลีกลด ปริมาณขยะอาหารรวมถึงคําแนะนํา เพื่อใหเขาใจ เกี่ยวกับวันหมดอายุของอาหาร การซื้ออาหารที่ ดูไมคอยสวยแทนที่จะปลอยใหเนาเสีย และการ ตรวจสอบเพื่อใหมั่นใจวาพื้นที่ที่กอใหเกิดขยะใน หวงโซอุปทานไดรับการแกไขแลว จากแคมเปญดังกลาวจะทําใหผูคาปลีกและ เกษตรกรถูกกดดันจากผูบริโภคและหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อดําเนินการลดระดับของขยะอาหาร ซึ่งกฎระเบียบที่เขมงวดมากขึ้นของภาครัฐก็นา จะชวยแกไขปญหานี้ไดเชนกัน ที่มา: http://www.businessgreen.com/ bg/news/2238052/un-cooks-up-thinkeat-save-global-food-waste-campaign
จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน
EV
Everywhere Grand challenge Blueprint
EV Everywhere Grand Challenge เปนนโยบาย ทีป่ ระกาศโดยประธานาธิบดี Obama ในการผลิต รถใชไฟฟา (Electric Vehicles: EV) หรือเรียก วารถเสียบปลั๊ก (Plug-in electric vehicles :PEVs) ที่ราคาไมแพงและสะดวกสบายสําหรับ ครอบครัวคนอเมริกัน ในป 2022 สหรัฐฯ ถือเปนตลาดสําคัญสําหรับรถ EV และ ในปจจุบนั มีการผลิต PEVs บางประเภททีม่ คี วาม ทันสมัย โดยยอดขาย PEVs สูงขึน้ ถึง 3 เทา หรือ มากกวา 50,000 คัน ในป 2012 จากนโยบายดังกลาว U.S. Department of Energy (DOE) ทีม่ หี นาทีใ่ นการดูแลดานพลังงาน จึงไดจดั ทําเอกสาร EV Everywhere -- Grand Challenge Blueprint ขึน้ ซึง่ เปรียบเสมือนแผน กลยุทธในการพัฒนาและสงเสริมใหมรี ถใชไฟฟา อยางแพรหลายในสหรัฐฯ โดยสาระสําคัญของ Blueprint คือ แนวทางการดําเนินงานเชิงเทคนิค และการใชงาน EV สําหรับ DOE ในอีก 5 ปขา งหนา
PAGE 3
ทีต่ อ งมีการวิจยั และพัฒนา คือ แบตเตอรีม่ อเตอร ไฟฟา อิเล็กทรอนิกสกาํ ลัง (Power Electronic) วั ส ดุ นํ้ า หนั ก เบาและโครงสร า งยานยนต และ เทคโนโลยีการชารจไฟเร็ว - Batteries : การพัฒนาแบตเตอรี่ใหมีราคาที่ เหมาะสม ใชงานไดนาน และทนทาน - Electric Drive Systems: การพัฒนาระบบ การขับเคลือ่ นไฟฟา โดยมีกลยุทธในการวิจยั และ พัฒนา ครอบคลุมในดานมอเตอรไฟฟา พลังงาน ไฟฟา ระบบขับเคลือ่ น การชารจแบบ on-board - Vehicle Lightweighting: การพัฒนารถทีม่ ี นํ้าหนักเบา โดยลดนํ้าหนักของโครงรถยนต ลด ขนาดและราคาของแบตเตอรี่ - Efficient Climate Control Technologies: การพัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมความชื้นที่มี ประสิทธิภาพ โดยการวิจยั และพัฒนาในดานการ จัดการพลังงานและลดการใชพลังงาน อุปกรณ HVAC ทีท่ นั สมัย อุปกรณทจี่ าํ เปนในหองโดยสาร - Charging Infrastructure : สิ่งอํานวยความ สะดวกสําหรับการชารจไฟ ซึ่งหากตองการใหมี สถานีบริการทีค่ รอบคลุม ใชระยะเวลานอยลง และ มีความสะดวก ซึง่ ตองคํานึงถึงพืน้ ทีใ่ นการพักรอ ของผูชารจ การพัฒนาหลักเกณฑและมาตรฐาน สําหรับการชารจ การอนุญาตสําหรับสถานีให บริการ สัญลักษณของสถานีใหบริการ ระบบการ จายแบบผสมผสาน (Grid Integration) - Education & Policy: การใหความรูแ กผบู ริโภค และนโยบายของหนวยงานภาครัฐ ซึง่ มีผลตอการ เติบโตของตลาด PEV จากความเคลื่อนไหวของสหรัฐฯ ซึ่งเปนตลาด บริโภคและผลิตรถยนตรายใหญของโลก แสดง ใหเห็นถึงความมุงมั่นในการผลักดันใหตลาดรถ ใชไฟฟาขยายตัว เพือ่ ตอบสนองตอการรักษาสิง่ แวดลอมและการใชงานทีย่ งั คงมีประสิทธิภาพและ ตอบสนองตอความตองการของผูบริโภค ทําให ผูผลิตและผูใหบริการในโซอุปทานจะตองปรับตัว เพื่อกาวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เพื่อ ใหสามารถดําเนินธุรกิจไดอยางยั่งยืน
เปาหมายทางเทคนิคที่ DOE ตองดําเนินการ ครอบคลุมใน 4 ประเด็น คือ การวิจัยและพัฒนา แบตเตอรี่ การวิจยั และพัฒนาระบบการขับเคลือ่ น ไฟฟา (electric drive system) ยานพาหนะ/ วัสดุนํ้าหนักเบาเทคโนโลยีควบคุมอุณหภูมิและ ความชื้นชั้นสูง (advanced climate control) นอกจากนั้นยังมีเปาหมายที่ตั้งไวเฉพาะเจาะจง ไดแก การลดราคาแบตเตอรี่ลงจาก $500/kWh เปน $125/kWh, ลดนํ้าหนักของวัสดุลง 30% และลดราคาระบบการขับเคลื่อนไฟฟาจาก $30/ kW เปน $8/kW องคประกอบที่สําคัญตอการบรรลุเปาหมาย EV Everywhere Challenge ประกอบดวย - EV Everywhere R&D Strategy : กลยุทธ การวิจัยและพัฒนา ของ EV Everywhere คือ ที่มา: EV Everywhere -- Grand Challenge การสรางความรวมมือระหวางผูมีสวนไดเสียทั่ว Blueprint, U.S. Department of Energy ทั้งอุตสาหกรรมเพื่อใหเกิดการสรางนวัตกรรม - Technical Targets : ขอบขายของเทคโนโลยี
จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน
Standard Warning EU Timber regulation (EUTR) มีผลบังคับใช 3 มี.ค.56 โดย
PAGE 4
Intellige nce Te am
สหภาพยุโรปไดมีการออกกฎระเบียบ EU Timber Regulation (EUTR) หรือกฎระเบียบ วาดวยการหามการจําหนายไมและผลิตภัณฑ ไมที่ผิดกฎหมายในตลาดอียู จะมีผลบังคับใชใน วันที่ 3 มีนาคม 2556 นี้ หลักการสําคัญภายใตกฎระเบียบ EUTR ไดแก 1) การจัดทําระบบ due diligence โดยผู ประกอบการของอียูที่จําหนายไมและผลิตภัณฑ ไมในอียู (EU operators) เพื่อตรวจสอบวาไม และผลิตภัณฑไมที่นําเขามาจําหนายนั้นมาจาก แหลงที่ถูกกฎหมาย 2) การหามการจําหนายไม ที่ผิดกฎหมายในตลาดอียู 3) การสรางระบบที่ สามารถตรวจสอบยอนกลับ โดยผูดําเนินการ คาในตลาดอียู (traders) เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับ แหลงที่มาและความถูกตองตามกฎหมายของไม และผลิตภัณฑไม โดยตองไดรับขอมูลดังกลาว จากบริษัท suppliers ที่ตนซื้อสินคามาและมี ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทที่ตนขายสินคาดังกลาวตอ ไป เพื่อไปวางจําหนายตอในตลาดอียู 4) ประเทศ สมาชิกอียมู หี นาทีต่ รวจสอบการดําเนินการตามขอ กําหนดของกฎระเบียบ EUTR ของ operators และ traders ในอียู โดยแตละประเทศสมาชิกอียู จะกําหนดบทลงโทษของตนเอง (สถานะ ณ เดือน กรกฎาคม 2555 - ประเทศสมาชิกอียูยังไมได กําหนดบทลงโทษ)
กลุมผูที่ไดรับผลกระทบจาก EUTR ไดแก ผูประกอบการ ผูคา หรือผูสง ออกไม/ผลิตภัณฑ ไมเกือบทุกชนิดของไทยที่สงออกมายังอียูไดรับ ผลกระทบ ไมวาจะเปนเฟอรนิเจอรไม กรอบรูป ไม ชิ้นสวนที่ทําจากไม หรือผลิตภัณฑที่ทําจากไม เกือบทุกประเภท รวมทั้ง ไมและผลิตภัณฑไมที่ได มาจากปาปลูกเพือ่ การพาณิชย เชน ไมยางพารา ผลิตภัณฑทที่ าํ จากเศษไมอดั (wood in chips or particles) ผลิตภัณฑทที่ าํ จากขีเ้ ลือ่ ยและเศษไม (sawdust and wood waste) ไมวา จะอัดออกมา ในรูปแบบใดก็ตาม รวมไปถึงไม MDF (mediumdensity fibreboard) ไม particle board ไม ลามิเนต (laminated wood) และกระดาษและ เยื่อกระดาษ รวมถึงไมและผลิตภัณฑไมที่ไดมา จากปาปลูกเพื่อการพาณิชย เชน ไมยางพารา (ดูรายละเอียดไดในภาคผนวกของกฎระเบียบ) อยางไรก็ดี กฎระเบียบดังกลาวมีขอยกเวน กับสินคาบางประเภท ไดแก 1) ไมหรือผลิตภัณฑ ไมทหี่ มดอายุและจะตองถูกกําจัดทิง้ ในลักษณะขยะ (waste) และผลิตภัณฑประเภทรีไซเคิล (recycled products) 2) วัสดุประเภทบรรจุภณ ั ฑทใี่ ชเพือ่ การ รอง หุม หรือแบกรับนํา้ หนักของสินคาเพือ่ วางขาย 3) สินคาทีท่ าํ จากไมไผ (bamboo) และสินคาทีท่ าํ จากหวาย (rattan) อยางไรก็ดี ผลิตภัณฑประเภท พื้นไมที่ทําจากไมไผ (bamboo flooring) ไมได
จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน
รับการยกเวน 4) สินคาอื่นๆ ที่ไมไดกําหนดไวในกฎระเบียบ อาทิ ผลิตภัณฑของเลนไม เครื่องดนตรี ที่ทําจากไม 5) สินคาประเภทหัตถกรรม และอาจไดรับการปรับแกเพื่อรวมสินคาไมประเภทอื่นๆ ได แมกฎระเบียบ EUTR จะไมไดกําหนดภาระหนาที่ของภาครัฐหรือผูประกอบการจากประเทศที่ สามที่สงออกไม/ผลิตภัณฑไมมายังอียูไวโดยตรงในตัวบทกฎหมาย แตผลกระทบตอผูผลิตและผูสง ออกจากประเทศที่สามในเชิงปฏิบัตินั้นชัดเจน เนื่องจากกฎระเบียบดังกลาวไดกําหนดภาระความรับ ผิดชอบใหผูประกอบการใน ยุโรปวา จะตองมีระบบรับรองความถูกตองของไมและผลิตภัณฑไมนั้นๆ ทั้งหวงโซ (supply chain) ซึ่งก็หมายถึงผลกระทบและความรับผิดชอบของผูประกอบการไทยที่ เกี่ยวของดวยอยางหลีกเลี่ยงไมได กลาวคือ ผูนําเขายุโรปอาจรองขอใหผูผลิต/ผูสงออกของไทยเตรียมและสามารถแสดงเอกสาร รับรองความถูกตองตามกฎหมายของไมทใี่ ชในการผลิตผลิตภัณฑไมทสี่ ง ออกมายังอียไู ดวา ไมไดมาจาก แหลงทีผ่ ดิ กฎหมาย ซึง่ รวมถึงไมนาํ เขามาจากประเทศทีส่ ามอืน่ ๆ ทีผ่ ผู ลิตไทยนําเขามาเพือ่ ใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิต ก็ตองมีเอกสารรับรองความถูกตองตามกฎหมายจากประเทศแหลงกําเนิดไมน้นั ๆ ดวย สําหรับความกาวหนาในการเตรียมความพรอมของไทย คือ อยูระหวางการพิจารณาแนวทาง โดยกรมปาไมและผูมีสวนไดเสีย ในการหามาตรการทางออกที่เหมาะสมที่สุด ไมวาจะเปนการเลือกที่ จะเจรจาขอตกลงความเปนหุนสวนดวยความสมัครใจ (Voluntary Partnership AgreementsVPAs) ในกรอบแผนปฏิบัติการการบังคับใชกฎหมายปาไม ธรรมาภิบาล และการคา (Forest Law Enforcement, Governance and trade : FLEGT) กับอียู เพื่อใหไดใบอนุญาต FLEGT ซึ่งเปน เอกสารรับรองสถานะความถูกตองตามกฎหมายของไมและผลิตภัณฑไมนนั้ ๆ ทีจ่ ะทําใหไมและผลิตภัณฑ ไมบางประเภทไดรับการยกเวนจากขั้นตอนการพิสูจนสถานะที่จะมีขึ้นตามกฎระเบียบ EU Timber Regulation ดังกลาว หรือทางเลือกอืน่ ๆ อาทิ การใชระบบของประเทศไทยเองทีส่ ามารถรับรองความ ถูกตองตามกฎหมายของไม หรือการจัดระบบ due diligence โดยภาคเอกชน แมวาตามหลักการแลว หลังมีนาคม 2556 หากไทยไมมีใบอนุญาต FLEGT ที่จะไดรับจากการ เจรจา VPAs ไมและผลิตภัณฑไมจากไทยก็จะยังสามารถเขาไปยังตลาดอียูได แตจะตองปฏิบัติตาม กฎระเบียบของ EU Timber Regulation อยางไรก็ตาม ไมและผลิตภัณฑไมดังกลาวอาจถูกเรียก ตรวจสอบจากอียู และหากพบวาไมและผลิตภัณฑไมทผี่ ดิ กฎหมาย ผูป ระกอบการทีน่ าํ เขาของอียจู ะถูก ดําเนินคดีทางกฎหมาย ซึง่ เหตุผลดังกลาวอาจทําใหผนู าํ เขาของอียมู คี วามลังเลหรือตัดสินใจไมเลือก ซื้อสินคาจากประเทศไทย เนื่องจากมีความเสี่ยงและความไมแนนอนในการดําเนินธุรกิจ ทั้งนี้ The British Standards Institution (BSI) and World Wildlife Fund (WWF) และ UK Global Forest & Trade Network (GFTN) ไดรวมกันจัดทํา PAS 2021:2012 Exercising due diligence in establishing the legal origin of timber and timber products – Guide to Regulation (EU) No 995/2010 ซึ่งเปนเอกสารแนวทางในการปฏิบัติสําหรับภาคอุตสาหกรรม เพื่อใหสอดคลองตาม EU Timber Regulation สาระสําคัญของ PAS 2021:2012 ประกอบดวย • การวิเคราะหผลกระทบของกฎระเบียบตอองคกรและภาระหนาที่ที่ตองปฏิบัติ • ความรูเกี่ยวกับระบบ Due diligence • การประเมินและบรรเทาความเสี่ยง (เปนองคประกอบสําคัญของ ระบบ Due diligence) • วิธีการปฏิบัติที่ดีเพื่อนําไปสูการดําเนินงานที่เหนือกวา ผูที่สนใจ สามารถดาวนโหลด PAS 2021:2012 และ Regulation (EU) No 995/2010 ไดที่ http://shop.bsigroup.com/forms/PASs/PAS-2021/ และ http://eur-lex.europa.eu/ JOHtml.do?uri=OJ:L:2010:295:SOM:EN:HTML ที่มา: คณะผูแทนไทยประจําสหภาพยุโรป (www.mfa.go.th, http://news.thaieurope.net/ content/view/3986/224/) และ http://shop.bsigroup.com
PAGE 5
จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน
“มอก.9999 เล่ม 1 - 2556”
่ วาม แนวทางเพือ ่ มุง่ สูค สมดุล มัน ่ คง ยัง่ ยืน และ มีความสุข
คือ มีการพัฒนาทีส่ มดุลทัง้ ในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม มีความมัน่ คง เติบโตไดอยางยัง่ ยืน และมีความสุข พรอมรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดลอมทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งความไม แนนอน ในดานตางๆ มาตรฐานดังกลาวจัดทําโดยคณะกรรมการ วิชาการ คณะที่ 1045 มาตรฐานแนวปฏิบัติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ มีนายสุเมธ ตันติเวชกุล เปนที่ปรึกษา นายวิฑูรย สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปนประธานกรรมการ มีกรรมการจากหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคอุตสาหกรรม และ
ภาคการศึกษา โดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม และสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ รวมเปนกรรมการ และฝายเลขานุการ ซึง่ รัฐมนตรี วาการกระทรวงอุตสาหกรรมไดออกประกาศกําหนด มาตรฐานในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2556 และสถานะปจจุบันอยู ระหวางรอลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ ไมใช มาตรฐานระบบการจัดการ และไมมจี ดุ มุง หมายให นําไปใชเพือ่ การรับรอง โดยสามารถสรุปภาพรวม ของมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม ไดดงั รูปภาพ
ดวยความเขาใจวาเศรษฐกิจพอเพียงเปน เรือ่ งของเกษตรกรรมและชนบท ไกลตัวของสังคม เมือง ทําใหการประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรมไม เปนทีแ่ พรหลาย ดังนัน้ กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม แนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม (มอก.9999 เลม 1-2556) เพื่อใหภาคอุตสาหกรรมมีความ เขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ มีแนวคิดเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยทีอ่ งคกร ตางๆ สามารถกําหนดวิธกี ารปฏิบตั ไิ ดดว ยตนเอง ซึง่ จะเปนการสงเสริมใหเกิดผลลัพธทพ ี่ งึ ประสงค
ภาพรวมมาตรฐานแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม ที่มา : สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
PAGE 6