newsletter%20July12-rev1

Page 1

จดหมายขาว

เพือ่ การเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐาน ระบบการจัดการและการเตือนภัย

ปที่ 2 ฉบับที่ 15 เดือนกรกฎาคม 2555

I London 2012 กับความยั่งยืน Sustainable Supply Chain REACH – จํากัดการใช DMF เริ่ม มีนาคม 2013 ISSN 2228-9925


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูด า นมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย

สืบเนื่องจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยาง รวดเร็วของประเทศกําลังพัฒนา กอปรกับจํานวน ประชากรของโลกทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทําใหความตองการ ใชพลังงานสูงขึ้นตามไปดวย ในขณะที่แหลงผลิต พลังงานไมไดเพิ่มขึ้นตามไปดวย ซึ่งอาจสงผล กระทบตอการเกิดวิกฤตดานพลังงานได ดวยเหตุ นี้มาตรฐานที่เกี่ยวของกับการจัดการพลังงาน จึงไดรับการพัฒนาและเริ่มมีการนําไปประยุกต ใช แ พร ห ลายมากขึ้ น เพื่ อ เป น แนวทางในการ จัดการ และใชประโยชนจากแหลงพลังงานใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐานฉบับ นี้ จึงไดนาํ เสนอเกีย่ วกับ London 2012 กับความ ยั่งยืน และ Sustainable Supply Chain รวม ถึง กฎระเบียบ REACH - จํากัดการใช DMF ซึ่ง จะเริ่ม มีการบังคับใชในมีนาคม 2556 ทายนีข้ อขอบคุณสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ที่สนับสนุนการจัดทําจดหมายขาวเพื่อการเตือน ภัยดานมาตรฐานมา ณ ที่นี้ กอง บก.

London 2012 กับความยั่งยืน “ความยั่งยืน” (Sustainability) คงเปนคําที่ หลายๆ คนคงจะคุนเคย เพราะในหลายๆ วงการ และหลายองคกรมีการนําประเด็นดานความยัง่ ยืน มาตั้งเปนเปาหมายหนึ่งที่ตองดําเนินการดวยวิธี การและแนวทางที่แตกตางกันไป

ไมเวนแมแตการจัด Olympic และ Paralympic 2012 หรือ London Game 2012 ซึ่งมีการกําหนด เปาหมายทีจ่ ะเปนการแขงโอลิมปกและพาราลิมปกที่ ยัง่ ยืนอยางแทจริงเปนครัง้ แรกของโลก โดยกําหนด เปาหมายและความรับผิดชอบที่ตองดําเนินการ คือ 1) สนามกีฬา : ตองมีสนามกีฬาที่เสร็จสมบูรณทัน เวลา ภายใตงบประมาณ และมีมาตรฐานความยัง่ ยืน สูง 2) การจัดการคารบอน : London Game 2012 ถือวาเปนโอลิมปกและพาราลิมปกแรกที่มีการวัด คารบอนฟุตปริ้นตลอดระเวลาการการแขงขัน 3) การคมนาคมที่ยั่งยืน : มีความมุงมั่นที่จะเปนงาน แขงกีฬาที่มีการใหบริการการเดินทางสาธารณะ 100% โดยสนับสนุนใหประชาชนมีสุขภาพดี และได มีโอกาสชืน่ ชมกับสภาพแวดลอมของลอนดอน ดาน การเดินทางโดยการเดินเทาและการขี่จักรยาน 4) วิสยั ทัศนดา นอาหาร : London 2012 จะเปนการ ใหบริการอาหารที่ใหญที่สุดในโลก โดยตองอยูภาย ใตแนวคิดหลัก 5 ดาน คือ ปลอดภัยและถูกสุข อนามัย มีความหลากหลายและสมดุล แหลงทีม่ าของ อาหารและหวงโซอุปทาน การจัดการสิ่งแวดลอมการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และขยะตองมี นอยที่สุด และทักษะและการศึกษาของผูใหบริการ

ปที่ 2 ฉบับที่ 15 เดือนกรกฎาคม 2555

Management System Certification Institute (Thailand): MASCI 1025, 2nd 11th 18th Floor, Yakult Building, Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok 10400, Thailand Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1708

www.masci.or.th

5) การจัดการขยะ : มีความมุงมั่นที่จะเปนการ แขงขันกีฬาที่ไมมีขยะในการฝงกลบเลย (zero-waste-to-landfill) โดยเชิ ญ ชวนให ประชาชนทิ้งขยะบรรจุภัณฑอาหารและเครื่อง ดื่ม แยกถังตามความสามารถในการรีไซเคิล ของบรรจุภัณฑนั้นๆ 6) การดําเนินการตามมาตรฐานที่เกี่ยวของ : The London Organising Committee of the Olympic and Paralympic Games (LOCOG) ซึ่งเปนองคกรที่ทําหนาที่ดูแลการ แขงขันทัง้ หมด เปนองคกรคณะกรรมการแรก ที่ไดรับการรับรอง BS 8901 Specification for a Sustainability Management Systems for Events ที่แสดงใหเห็นถึงความ สามารถในการจัดงานอยางยั่งยืนในทุกพื้นที่ แกผูมีสวนไดเสียทุกคน นอกจาก London 2012 ที่มีเปาหมายดาน ความยั่งยืนแลว ทาง FIFA ที่เปนผูจัดงาน 2014 World Cup ในประเทศบราซิล ก็มีการ กําหนดงบประมาณเพือ่ ดําเนินงานอยางยัง่ ยืน ถึง $20 ลาน ในดานการสรางสนามกีฬาสีเขียว การจัดการของเสีย การสนับสนุนชุมชน การ ลดและชดเชยคารบอน การใชพลังงานทดแทน การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศและการพัฒนาขีด ความสามารถ จะเห็นไดวา ประเด็นดานความยัง่ ยืนไมไดจาํ กัด อยูแคในแวดวงอุตสาหกรรมอีกตอไป แตมี การขยายตัวไปยังภาคสวนตางๆ และประชาชน มากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ทุกคนก็สามารถเปนสวนหนึง่ ในการสรางความยัง่ ยืนใหเกิดขึน้ บนโลกในนีไ้ ด ที่มา: www.london2012.com

PAGE 2


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

Sustainable Supply Chain

Foods Limited บริษัทผูสงมอบมันฝรั่งจาก อเมริกาเหนือ • การรวมมือกับผูสงมอบของ Fresh Start Bakeries Europe เพื่อลด carbon footprint ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการปลูกขาวสาลีซึ่งเปน วัตถุดิบหลักขององคกร • การลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล ดวยการผลิต ไฟฟาจากพลังนํ้าแทน และแบงปนไฟฟาที่ผลิต ไดใหแกชุมชนรอบขางของ Grupo Melo ในลา ตินอเมริกา การประกวดในดานการปฏิบตั ทิ ดี่ ดี า นความยัง่ ยืน ของผูสงมอบนี้สรางใหผูสงมอบเห็นความสําคัญ และสงเสริมใหเกิดการพัฒนาวิธีการ แนวปฏิบัติ ดานความยั่งยืนในตลอดหวงโซอุปทาน เพื่อเปา หมายสุดทาย คือ สรางใหเกิดสิ่งดีๆ ตอทุกคน บนโลกใบนี้ ที่มา: http://www.aboutmcdonalds.com

Sustianable Supply Chain

• การดูแลสิ่งแวดลอม (Environment) โดย คํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในตลอดวงจร หวงโซอุปทานของการผลิตผลิตภัณฑชนิดหนึ่งๆ ชีวติ ของผลิตภัณฑตงั้ แต การคัดสรรแหลงวัตถุดบิ ประกอบดวยองคกรธุรกิจขนาดใหญ ขนาดกลาง การออกแบบผลิตภัณฑ การผลิต และการสงมอบ และขนาดเล็กจํานวนมาก ตัง้ แตตน นํา้ (Upstream) จนถึงปลายนํ้า (Downstream) องคกรธุรกิจ • ผลลัพธทางเศรษฐกิจ (Economics) ตองสง หนึง่ ๆ จึงสามารถเปนไดทงั้ ผูซ อื้ และผูข ายในหวง มอบอาหารในราคาที่เหมาะสม โดยสรางใหเกิด โซอปุ ทาน สําหรับบริษทั หรือองคกรทีด่ าํ เนินธุรกิจ การคาที่เปนธรรม การจํากัดการแพรกระจาย โดยคํานึงถึงผลกระทบทีม่ ตี อ สังคมและสิง่ แวดลอม ของโรคทางการเกษตร และไมสรางใหเกิดผลกระ (Social and Environment Impacts) ดวยการ ทบเชิงลบตอชุมชนทีเ่ กิดจากการดําเนินกิจกรรม จัดการหวงโซอุปทานแบบยั่งยืน (Sustainable ของผูสงมอบ Supply Chain) นั้น บริษัทหรือองคกรจึงควรให ความสําคัญกับการจัดหาวัตถุดบิ หรือทรัพยากร ในป 2012 แมคโดนัลดไดประกาศรายชือ่ ผูส ง มอบ ที่ใชในธุรกิจจากแหลงที่มีการผลิตอยางยั่งยืน ทีม่ กี ารจัดการอยางยัง่ ยืนจากทัว่ โลกทัง้ หมด 172 รายที่มีการสงแนวปฏิบัติที่ดีดานความยั่งยืนเขา แมคโดนัลด (McDonald) เปนองคกรตัวอยาง ประกวดมากกวา 400 รายการ ซึ่งการตัดสินจะ หนึง่ ทีด่ าํ เนินกลยุทธการจัดการหวงโซอปุ ทานอยาง พิจารณาจากผลลัพธที่เกิดขึ้นจากการดําเนิน ยัง่ ยืนรวมกับผูส ง มอบ โดยประกาศวิสยั ทัศนดา น โครงการที่สามารถวัดผลสําเร็จไดชัดเจน หรือ การจัดการหวงโซอปุ ทานไวอยางชัดเจนวา “องคกร สิ่งที่เปนนวัตกรรม โดยสะทอนถึงความสามารถ จะจัดหาอาหารและบรรจุภณ ั ฑจากแหลงการผลิต ในการสงมอบวัตถุดิบ และผลิตภัณฑที่ปลอดภัย อยางยั่งยืน” ซึ่งมุงเนนใน 3 ประเด็นหลัก ไดแก และมีความยั่งยืน • ความมีจริยธรรม (Ethics) โดยผูสงมอบตอง ใหความสําคัญตอความปลอดภัยของพนักงาน และการสงเสริมใหพนักงานมีสุขภาพที่ดี รวม ถึงการดูแลสัตวอยางมีมนุษยธรรม และใหไดรับ สวัสดิภาพที่ดี

PAGE 3

ภาพจาก http://www.aboutmcdonalds. com - เกี่ยวกับ McDonald – • มีราน McDonald จํานวนมากกวา 33,500 รานทั่วโลก • ในจํานวนดังกลาวมีถึง 80% ที่ซื้อ แฟรนไชส ไปบริหารเอง

• ใหบริการคนทั่วโลกถึง 68 ลานคน ใน 119 ตั ว อย า งโครงการที่ ไ ด รั บ การคั ด เลื อ กทั้ ง สิ้ น ประเทศในแตละวัน 51 รายการ เชน • มีพนักงานทั้งหมด 1.7 ลานคน • การจัดการที่ดีในการลดการใชยาฆาแมลง ปุย เคมี และนํา้ สําหรับการปลูกมันฝรัง่ ของ McCain


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

REACH

จํากัดการใช DMF เริ่ม มีนาคม 2013 โดย

Intellige nce Te am

REGULATIONS – Commission Regulation Standard Warning System ของกฎระเบียบนี้ คือ (EU) No 412/2012 of 15 May 2012 amending Annex XVII to Regulation (EC) No 1907/2006 of the European Parliament and of the Council on the Registration, Evaluation, Authorisation and Restriction of Chemicals (REACH) สาระสํ า คั ญ ของกฎระเบี ย บฉบั บ นี้ คื อ การ ประกาศหามใชสารเคมีเพิ่มเติมเปนรายการที่ 61: Dimethylfumarate (DMF), CAS No 624-49-7, EC 210-849-0 โดยหามใชคาความ เขมขนมากกวา 0.1 mg/kg สําหรับการผลิตหรือ ใชเปนสวนประกอบหนึง่ ในการผลิตเพือ่ เปนสินคา และสําหรับสินคา (Articles) ที่มีคาความเขมขน ของสาร DMF มากกวา 0.1 mg/kg จะถูกหาม วางจําหนายในตลาด

การวิเคราะหมุมมองผลกระทบของกฎระเบียบที่ จะสงผลตอผูประกอบการไทย • สาขาอุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบ ไดแก: อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไม อุตสาหกรรมสิ่งทอ และเครื่องนุมหม และอุตสาหกรรมเครื่องหนัง ที่ มีการสงสินคาเขาไปยังสหภาพยุโรป

ทั้งนี้ กฎระเบียบ REGULATIONS – Com- • การวิ เ คราะห ผ ลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ mission Regulation (EU) No 412/2012 พิจารณาจากปจจัยตางๆ ทางธุรกิจและผูอ ปุ โภค เกี่ยวกับสินคาที่มีสาร DMF เปนองคประกอบใน บริโภค มีรายละเอียดดังตาราง สินคาฉบับดังกลาวนี้ จะเริ่มมีผลบังคับใชในวันที่ 15 มีนาคม 2013

PAGE 4


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

มุมมองผลกระทบ การวิเคราะห 1.การเสียโอกาสทางธุรกิจ กฎระเบียบจะเริ่มมีผลบังคับใชวันที่ 15 มีนาคม 2013 ดังนั้น องคกร จึงมีระยะเวลาการปรับตัวและเตรียมความพรอมสําหรับกระบวนการ ผลิตสินคาอีกประมาณ 9 เดือน (นับจากกลางเดือนมิถุนายน 2012) 2. การดําเนินธุรกิจอยาง องคกรจําเปนตองปรับปรุงกระบวนการผลิตและกําหนดวิธกี ารตรวจ ตอเนื่อง สอบสินคา โดยตองควบคุมคาความเขมขนของสาร DMF ในสินคา (Articles) ไมใหมีคามากกวา 0.1 mg/kg ตามที่กฎระเบียบกําหนด ถาสินคามีคาความเขมขนเกินที่กําหนด จะสงผลใหสินคาถูกระงับ การวางตลาด 3.ขอบเขตของผลกระ องคกรหรือบริษทั ทีเ่ ปนผูผ ลิตสินคาสามารถดําเนินการปรับปรุงแกไข ทบที่มีตอธุรกิจ ใหมีความสอดคลองตามกฎระเบียบได 4. ภาพลักษณและชือ่ เสียง หากองคกรปฏิบัติไมสอดคลองตามกฎระเบียบ จะถูกระงับการวาง จําหนายสินคาในตลาดโดยหนวยงานภาครัฐของกลุมประเทศ EU และเขตเศรษฐกิจ EEA และสินคาดังกลาว จะถูกดําเนินการสงกลับ คืนยังประเทศผูสงออก ผู  บ ริ โ ภคขั้ น สุ ด ท า ย จากขอมูลของกลุมควบคุมวัตถุอันตราย สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาระบุไววา สาร DMF เปนสารในกลุม Biocide เมื่อ (ขอมูลเสริม) สัมผัสถูกผิวหนังของผูบริโภค อาจกอใหเกิดการแพ ซึ่งรักษายาก แมสัมผัสกับสาร DMF ในปริมาณนอย ทั้งนี้ มีรายงานผลการตัดสินของศาลสูงประเทศอังกฤษ ซึ่งไดสั่งให จายเงินชดเชยแกผูไดรับความเสียหายจากสาร DMF ที่อยูในโซฟา ที่ผลิตจากประเทศจีนจํานวน 1,650 คน เปนจํานวนเงิน 20 ลาน ปอนด เนื่องจาก เกิดปฏิกิริยาแพอยางรุนแรงทางผิวหนังและ ดวงตา รวมถึงปญหาตอระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน หรือ ปญหาสุขภาพอื่นๆ ที่มา: Fact Sheet No. 1/55, 15 มีนาคม 2555, กลุมควบคุมวัตถุ อันตราย สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย อย. หมายเหตุ บทวิเคราะหนี้เปนสวนหนึ่งในกิจกรรมการศึกษาและพัฒนาระบบการเตือนภัยดาน มาตรฐานระบบการจัดการและกฎระเบียบเชิงเทคนิคของประเทศคูคา ซึ่งอยูระหวางการดําเนินงาน ทัง้ นี้ หากตองการขอมูลเพิม่ เติมหรือเสนอแนะความคิดเห็น สามารถติดตอไดทแี่ ผนกการมาตรฐาน ฝายหนวยตรวจ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ โทร. 0-2617-1727 ตอ 202, 215 แฟกซ 0-2171708 อีเมล: narumol@masci.or.th, suvimon@masci.or.th

PAGE 5


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

News & Activities

ขอเชิ ญ เข า ร ว มงานสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการเพื่ อ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร เตรี ย มความพร อ มและแจ ง เตื อ นภั ย แก ผู  “Decarbonization: Sustainability Trends ประกอบการ and Practices” สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ไดมอบหมายภารกิจให สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สถาบันฯ) ดําเนินโครงการสรางระบบขอมูลและองคความรู ดานมาตรฐานระบบการจัดการ และการเตือนภัย ปงบประมาณ 2555 นั้น สถาบันฯ จึงไดกําหนด จัดสัมมนาเชิงวิชาการเพือ่ เตรียมความพรอมและ แจงเตือนภัยแกผูประกอบการ ในวันศุกรที่ 7 กันยายน 2555 ณ หองสรอยทอง (อาคารใหม) โรงแรมโกลเดน ซิตี้ จังหวัดระยอง รายละเอียดดัง สิ่งที่สงมาดวย 1 - 2

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ไดมอบหมายภารกิจให สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สถาบันฯ) ดําเนินโครงการสรางระบบขอมูลและองคความรู ดานมาตรฐานระบบการจัดการ และการเตือนภัย ปงบประมาณ 2555 นั้น สถาบันฯ จึงไดกําหนด จัดการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “Decarbonization: Sustainability Trends and Practices” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อถายทอด ความรูดานการจัดการกาซเรือนกระจกใหแกผู ประกอบการ ในวันที่ 16-17 สิงหาคม 2555 ณ สถาบันฯ จึงขอเรียนเชิญทานเขารวมในการ หองดุสิตา : วรบุรี อโยธยา คอนเวนชั่น รีสอรท สัมมนาดังกลาว โดยโปรดสงแบบตอบรับตามสิ่ง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ที่สงมาดวย 3 มายังโทรสารหมายเลข 0-2617สถาบันฯ จึงขอเรียนเชิญทานหรือผูแ ทนเขา 1708 หรือทางอีเมล attapon@masci.or.th รวมในการฝกอบรมดังกลาว (หนวยงานละ 2 ภายในวันพุธที่ 5 กันยายน 2555 ทาน) โดยไมเสียคาใชจาย และโปรดสงใบสมัคร เขารวมอบรมมายังโทรสารหมายเลข 0-26171708 หรือทางอีเมล attapon@masci.or.th ภายในวันอังคารที่ 14 สิงหาคม 2555 ดวยจัก ขอบพระคุณยิ่ง (ขอสงวนสิทธิ์แกผูที่สงใบสมัคร กอน และมีคุณสมบัติตามที่กําหนด)

PAGE 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.