newsletter%20May%2013

Page 1

จดหมายขาว

เพือ่ การเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการ จัดการและการเตือนภัย

ปที่ 3 ฉบับที่ 22 เดือนพฤษภาคม 2556 ISSN 2228-9925

กฎระเบียบจํากัดการปลอย CO2 ของรถยนต โดยสารของ EU Responsibility Care Product Safety Code คูมู่ อื การรายงานดานความยัง่ ยืนของสหรัฐฯ สําหรับฟารมโคนมและผูผลิตแปรรูป UK ประกาศใหป 2013 เปน “ปแหงความรวม มือดานนํ้าสากล ”


จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน

จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูด า นมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย

กอง บก. ขอกลาวสวัสดีทานผูอาน “จดหมายขาว เพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน” สําหรบบทความ ที่ น  า สนใจประจํ า เดื อ นพฤษภาคม 2556 ที ม งาน Intelligence Unit ไดสรุปบทความกฎระเบียบจํากัด การปลอย Co2 ของรถยนตโดยสารของ EU และ บทวิเคราะห Responsibility Care Product Safety Code รวมถึง Standard Warning คูม อื การรายงาน ดานความยัง่ ยืนของสหรัฐฯ สําหรับฟารมโคนมและผู ผลิตแปรรูป และ UK ประกาศใหป 2013 เปน“ปแหง ความรวมมือดานนํ้าสากล”

ปที่ 3 ฉบับที่ 22 เดือนพฤษภาคม 2556

Management System Certification Institute (Thailand): MASCI 1025, 2nd 11th 18th Floor, Yakult Building, Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok 10400, Thailand Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1708

www.masci.or.th

สุดทายนี้ ขอขอบคุณสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ทีใ่ หการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการโครงการสราง ระบบขอมูลและองคความรู ดานมาตรฐานระบบการ จัดการ และการเตือนภัย หรือ Intelligence Unit กอง บก.

กฎระเบียบจํากัด การปลอย CO2 ของรถยนต โดยสารของ EU

Regulation (EC) No 443/2009 of 23 April 2009 : Setting emission performance standards for new passenger cars as part of the Community’s integrated approach to reduce CO2 emissions from light-duty vehicles คือ กฎระเบียบของ EU วาดวยการจํากัด ปริมาณการปลอย CO2 ของรถยนตนงั่ สวนบุคคล

ทีเ่ รียกวา ‘มาตรฐาน EU 6’ เริม่ มีผลปรับใชสาํ หรับ รถยนตขนาดใหญรุนใหม เชน รถบรรทุก รถบัส โดย ในสวนทีเ่ ริม่ มีผลปรับใชแลวของกฎระเบียบ มี ใจความสําคัญเกีย่ วกับเปาหมายการลดการปลอย กาซไนโตรเจนออกไซด (NOx) ใหไดรอยละ 80 และลดการปลอยฝุนละอองใหไดรอยละ 66 เมื่อ เทียบกับระดับการปลอยในป 2551 (ค.ศ. 2008)

ในเดือนเมษายน ทีผ่ า นมา คณะกรรมาธิการยุโรป ไดมกี ารประชุมและกําหนดเปาหมายตามกฎระเบียบ ดังกลาว โดยกําหนดปริมาณการปลอย CO2 ของ รถยนตนงั่ สวนบุคคลตองไมเกิน 130 กรัมตอการ วิ่ง 1 กิโลเมตร ในป 2015 โดยใหเริ่มดําเนินการ ตัง้ แตป 2012 และมีเปาหมายใหเหลือ 95 กรัมตอ กิโลเมตร ภายในป 2020 ซึ่งเปาหมายของแตละ บริษัทจะแตกตางกันโดยขึ้นอยูกับนํ้าหนักเฉลี่ย ของรถยนต โดยใชปริมาณของผูผลิตใดที่สูงสุด เปนคาฐานในการกําหนดเปาหมาย

ขอกําหนดตางๆ ก็จะมีผลปรับใชกับรถยนตใหม ทุกคัน (ไมวาจะรุนใหมหรือเกาก็ตาม) ตั้งแตวัน ที่ 31 ธ.ค. 2556 นี้ ดังนั้น รถยนตที่จะจําหนาย ใน EU จะตองมีการพัฒนาเพื่อใหเกิดนวัตกรรม ที่ชวยใหมีการปลอย CO2 หรือกาซเรือนกระจก ตางๆ ใหไดในปริมาณที่กําหนด ซึ่งนาจะมีผลตอ ผูผ ลิตในอุตสาหกรรมรถยนตทงั้ หวงโซอทุ าน ซึง่ ผูประกอบการไทยที่เปนผูผลิตชิ้นสวนยานยนต อาจไดรบั ผลกระทบจากมาตรการนีไ้ มมากก็นอ ย

ทีม่ า: http://www.theicct.org/blogs/staff/ นอกจากนั้ น ยั ง มี REGULATION (EC) No eu-vote-cars-co2 595/2009 of 18 June 2009 ซึ่งเปนกฎระเบียบ เกีย่ วกับการปลอยกาซจากรถยนตขนาดใหญ หรือ

PAGE 2


จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน

Reponsibility Care Product Safety Code กลุมผูประกอบการเคมีภัณฑ เชน BASF, Dow, DuPont, Honeywell และสมาชิกของ The American Chemistry Council (ACC) รวม 11 แหง ใหคํามั่นสัญญาในการดําเนินการที่ เป น แบบอย า งที่ เ ป น เลิ ศ ในการประเมิ น และ ปรั บ ปรุ ง ผลการดํ า เนิ น งานด า นผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ปลอดภัย การให คํ า มั่ น สั ญ ญานี้ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของ Responsible Care Product Safety Code ของ ACC ซึ่งกลาวถึงขอกําหนดที่นอกเหนือไป จากการจัดการความปลอดภัยของสารเคมีทใี่ ชใน การผลิตสินคาบริโภคที่ใชประจําวัน ซึ่งถือเปน มาตรการบังคับและจะมีการทวนสอบโดยผูตรวจ อิสระ ขอกําหนดของ The Product Safety Code ระบุใหตองการใหบริษัทตอง • จัดการความปลอดภัยในผลิตภัณฑ เริ่มตั้งแตการเริ่มนํามาใช การนํากลับมาใชใหม การรีไซเคิล และการกําจัด • ดําเนินการวิเคราะหทางวิทยาศาสตร ในผลิตภัณฑดวยการพิจารณาอยางใกลชิดใน

PAGE 3

การดําเนินงานภายใตโครงการ “Responsible Care” สมาชิก ACC ตองการใหมีการ รายงานผลการดํ า เนิ น งานประจํ า ป ด  า นสิ่ ง แวดลอม สุขภาพ ความปลอดภัย และความมัน่ คง ปลอดภั ย ซึ่ ง ข อ มู ล เหล า นั้ น จะถู ก เผยแพร ใ น เว็บไซตและอนุญาตใหประชาชนทั่วไปเห็นขอมูล ของแตละบริษัทและเปรียบเทียบขอมูลกับบริษัท อื่นๆ ได นอกจากนัน้ ACC ยังพัฒนา Responsible Care Process Safety Code ใหม เพื่อขยาย การดําเนินการที่ปลอดภัยตลอดกระบวนการ ผลิตเคมีภัณฑ โดยบริษัทจะระบุและจัดลําดับ ความอันตรายและความเสี่ยงของกระบวนการ ของบริษัท รวมถึงสนับสนุนระบบในการจัดการ การบรรเทา และแบงปนขอมูลเกีย่ วกับความเสีย่ ง เหล า นี้ ซึ่ ง ขํ้ า กํ า หนดนี้ เ ป น ภาคบั ง คั บ สํ า หรั บ สมาชิก ACC เชนกัน โครงการดังกลาวถือเปนการแสดงความ รวมมือและความมุง มัน่ ของบริษทั ชัน้ นําทีใ่ หความ สํ า คั ญ กั บ แนวทางในการดํ า เนิ น งานอย า ง ปลอดภัยแกผบู ริโภคและสิง่ แวดลอม โดยมีจดุ มุง หมายเพื่อสรางความยั่งยืนตอไปในอนาคต

เรือ่ งของการใชงานโดยผูบ ริโภคทุกคน โดยเฉพาะ เด็ก • จัดเตรียมและใหขอมูลสาธารณะดาน ความปลอดภัยของผลิตภัณฑที่เขาถึงได • แบงปนขอมูลไปในหวงโซอุปทานเพื่อ ใหมีการใชผลิตภัณฑอยางปลอดภัย • ประเมินขอมูลใหมๆ ทีอ่ าจมีผลกระทบ ตอความปลอดภัยของผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง • ใช ม าตรการแก ไ ขหากพบว า มี ก าร ปฏิบัติที่ไมเหมาะสมที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑ สมาชิ ก ที่ เ ข า ร ว มโครงการทั้ ง หมดจะเริ่ ม ดําเนินการในปนี้ และแบงการดําเนินงานเปนระ ยะๆ โดยคาดวาเมือ่ สิน้ ป 2016 จะสามารถดําเนิน การตามเปาหมายไดครบทั้ง 11 บริษัท การใหคํามั่นสัญญาเปรียบเสมือนตราสัญ ที่มา: http://www.environmentalลักลักษณการครบรอบ 25 ป ของ ACC ภายใต โครงการ “Responsible Care” โดยแผนงาน leader.com/2013/05/07/basf-dupontริเริม่ ของอุตสาหกรรมในดานสิง่ แวดลอม สุขภาพ other-chemical-manufacturers-pledgeความปลอดภัย และความมั่นคงและปลอดภัย มุง product-safety/ ไปที่ประเด็นดานความปลอดภัยและความยังยืน ของการจัดการสารเคมี


จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน

Standard Warning คูมือการรายงาน ดานความยั่งยืน ของสหรัฐฯ สําหรับฟารมโคนม และผูผลิตแปรรูป

โดย

PAGE 4

Intellige nce Te am

The Innovation Center for US Dairy เผยแพรแนวทางที่จะชวยเหลือบริษัทที่ผลิตผลิตภัณฑนม และฟารม เพือ่ การวัดผลและรายงานดานความยัง่ ยืน ไดแก The Stewardship and Sustainability Guide for US Dairy (Draft version 1.2, May 2013) ซึ่งระบุตัวชี้วัดสําหรับการประเมินผลของ ผลิตภัณฑจากนมทีย่ งั่ ยืนและการสือ่ สาร โดยตัวชีว้ ดั อยูบ นพืน้ ฐานของการศึกษาการประเมินวัฏจักร ชีวิตผลิตภัณฑของ The Innovation Center และจากประสบการณของสมาชิก รวมถึงสถาบันการ ศึกษา องคกรภาครัฐ องคกรที่ไมใชภาครัฐ วัตถุประสงคของคูมือนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาอยางยั่งยืน และเพื่อสนับสนุนและใหเกิด ความตระหนักถึงความเปนผูนําในการพัฒนาอยางยั่งยืนในอุตสาหกรรมฟารมโคนม ผูผลิตแปรรูป และบริษัทอื่นๆ ในโซอุปทาน รวมถึงจะชวยเสริมสรางความสัมพันธกับผูมีสวนไดสวนเสียดวยการ สื่อสารและการรายงานผล โครงสรางของคูมือ ประกอบดวย • สภาความยั่งยืนและบทบาทหนาที่ • หลักการของคูมือ • ขอมูลทั่วไปและตัวชี้วัดของฟารมโคนมและผูผลิตแปรรูป • บริบทและลักษณะการจัดการของฟารมโคนมและผูผลิตแปรรูป เชน ที่ตั้งทางภูมิศาสตร ขนาด ซึ่ง ใชในการประเมินผลการดําเนินงานดานความยั่งยืน • รายละเอียดดัชนีและตัวชี้วัดชวงเวลาของการพัฒนา และตัวชี้วัดในแตละชวงเวลา โดย Phase 1 ป 2013 ตัวชี้วัดของฟารมโคนม ประกอบดวย พลังงาน กาซเรือนกระจก และการดูแลสัตว สวนตัวชี้ วัดของผูผลิตแปรรูป ประกอบดวย พลังงาน กาซเรือนกระจก นํ้า การจัดการแรงงาน และการมีสวน รวมของชุมชน ทั้งนี้ ตัวชี้วัดที่ระบุในคูมือนี้อยูบนพื้นฐานของจากตัวชี้วัดของ Global Reporting Initiative’s


จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน

Sustainability Reporting Guidelines, Version 3.1 (G3.1) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ GRI’s Reporting Framework ซึ่งเปนแนวทางการรายงานดานความยั่งยืนที่ใชกันทั่วโลก แตในสวนของตัว ชี้วัดของผูผลิตแปรรูปนั้นก็ไดมีการปรับใหเหมาะสมกับธุรกิจ และตัวชี้วัดบางตัวก็สามารถใชอางอิง แทนตัวชี้วัดของ GRI ได จะเห็นไดวา หลายๆ หนวยงานและหลายอุตสาหกรรมใหความสําคัญกับการพัฒนาอยางยั่งยืน และ ผลักดันใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม และสือ่ สารไปยังผูม สี ว นไดเสียและสาธารณะ เพือ่ ใหเกิดการรับรู และการยอมรับ รวมทัง้ ยังสามารถกระตุน ใหภาคสวนตางๆ เกิดความตืน่ ตัวและเกิดความรวมมือในการ ผลักดันใหเกิดความยั่งยืนในรูปแบบตางๆ ซึ่งจะสงผลดีตอโลก สภาพแวดลอม และมนุษยเราทุกคน

ตัวอยางตัวชี้วัดของฟารมโคนม

ตัวอยางตัวชี้วัดของผูผลิตแปรรูปดานที่เกี่ยวกับโลก ที่มา: - http://www.environmentalleader.com/2013/05/17/dairy-industry-launchessustainability-reporting-guide/ - The Stewardship and Sustainability Guide for US Dairy (Draft version 1.2, May 2013)

PAGE 5


จดหมายขาวเพื่อการเตือนภัยดานมาตรฐาน

UK ประกาศ

ใหป 2013 เปน “ปแหงความ รวมมือดานนํ้า สากล” “นํา้ ” เปนทรัพยากรทีม่ คี วามสําคัญตอสิง่ มี ชีวติ บนโลก แตในชวยทศวรรษทีผ่ า นมาโลกของเรา ตองเผชิญกับปญหาและความทาทายในการบริหาร จัดการนํา้ ในหลายรูปแบบ ซึง่ ในการประชุม “The World Economic Forum’s Global Risks 2013” ผูเ ชีย่ วชาญทีร่ ว มประชุมไดใหคะแนนเรือ่ ง วิกฤติการดานนํ้าเปนหนึ่งในปญหารายแรงที่สุด ของโลก ซึ่งหากประเมินในมุมของความนาจะเปน (Likelihood) การขาดแคลนนํา้ จัดเปนความเสีย่ ง อันดับที่ 4 ทีม่ ผี ลตอความมัน่ คงและปลอดภัยของ โลก สวนผลกระทบ (Impact) จัดอยูใ นอันดับที่ 2

PAGE 6

ปญหาเรือ่ งนํา้ ถือเปนเรือ่ งสําคัญ โดย United Nations UN ประกาศใหป 2013 เปน “ปแหงความ รวมมือดานนํ้าสากล” (International Year of Water Cooperation) โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ให เกิดความตระหนักใหมากขึ้น ทั้งในดานศักยภาพ ของความรวมมือที่เพิ่มขึ้น และการจัดการนํ้า เนื่องจากความตองการที่เพิ่มขึ้นในดานการเขา ถึง การจัดสรร และการใหบริการ วันนํ้าโลก (World Water Day) กําหนดให เปนวันที่ 22 มีนาคม ของทุกป โดยในแตละปกจ็ ะมี หัวขอ (Theme) แลวัตถุประสงคทแี่ ตกตางกันไป ในการสนับสนุนการดําเนินงานดานนํา้ UN ได จัดทําโครงการ/กลุม งานเพือ่ สนับสนุนการบริหาร จัดการดานนํ้าอยาเปนรูปธรรม เชน • The World Water Assessment Programme (WWAP) เปนโครงการเพือ่ รวบรวม และสังเคราะหขอ มูลจากสมาชิกและผูม สี ว นไดเสีย ที่สําคัญ NGO มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยตางๆ เพือ่ นําเสนอเปนรายงานทีจ่ ะนําไปใชประโยชนตอ ไป • The UN-Water Decade Programme on Capacity Development (UNW-DPC) เป น โครงการที่ จั ด ทํ า เพื่ อ เสริ ม สร า งกิ จ กรรม ความรวมมือขององคกรตางๆ เพื่อใหบรรลุตาม เปาหมาย “The millennium development goals (MDGs)” และเปาหมายอื่นๆที่เกี่ยวของ • The UN-Water Decade Programme on Advocacy and Communication (UNW-

DPAC) เปนโครงการเพือ่ เตรียมขอมูลทีใ่ ช ในการ ปรับปรุงความสามารถในการเขาถึงผูร บั สารทีแ่ ตก ตางกันและพัฒนาแนวทางการสื่อสารที่แสดงให เห็นถึงประโยชนของการบริหารจัดการนํา้ สําหรับ ลดความยากจนและการสนับสนุนการดําเนินงาน ตามนโยบายการจัดการนํ้าที่มีประสิทธิภาพ จากขอมูลสถิตขิ อง UN แสดงใหเห็นถึงแนว โนมความตองการการใชนาํ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะใน เขตเมืองทีม่ กี ารขยายตัวและจํานวนผูอ าศัยเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดย 1 ใน 4 ของประชากรในเขตเมือง ทัว่ โลกจะไมสามารถเขาถึงการบริโภคนําทีส่ ะอาด ได นอกจากนัน้ ยังมีปจ จัยดานแหลงนํา้ สะอาดจะลด ลง ปญหาดานการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ ปญหา การขาดแคลนนํ้าในภาคเกษตรกรรม เปนตน ซึ่ง ปจจัยตางๆ เหลานีจ้ ะสงตอสภาพแวดลอมและการ ใชชวี ติ ของมนุษยและสิง่ มีชวี ติ บนโลกนี้ ดังนัน้ ทุก คนจึงจําเปนตองตระหนัก ใหความสําคัญ และรวม มือกันปองกันและแกไขวิกฤติการทีจ่ ะเกิดขึน้ เพือ่ นําไปสูความยั่งยืนของโลกตอไป ที่มา: - http://www.environmentalleader. com/2013/05/13/un-declares-2013international-year-of-water-cooperation/ - http://www.unwater.org/watercooperation2013.html


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.