44ปี ส.อ.ท. นำอุตสาหกรรม สู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

Page 1


“QUALITY FOR LIFE” COBRA brand Tire & Tube

www.BKF.co.th

Aluminum & Zinc Die Casting

Plastic Injection Molding

Tel 66 2 805.9000 Fax 66 2 420.1818 email info@bkf.co.th chayo@bkf.co.th 73 Mu 7, Suanluang, Kratumban Samutsakhon 74110, Thailand 13˚ 40’ 35.44” N. 100˚ 19’ 35.65” E.

Bangkok Metropolis Motor Co., Ltd. Banko Industry Co., Ltd.




สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

1


อาเศียรวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๘๔ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ บังคมบรมนาถเจ้า มหาราชเถกิงนาม พระดุจอวตารราม ยงยิ่งพระเกียรติก้อง ปวงประชาภักดิ์เนื่องน้อม เชิญทวยเทพทุกสถาน สรรพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ดาล ทวยราษฎร์จงรักล้วน พระทรงบารเมศล�ำ้ ราชกิจเกริกสมัย กันดารถิ่นแดนใด วิริยะพระเกริกกล้า ขจรพระบารเมศแจ้ง สว่างชีพชนไพบูลย์ ผดุงสุขดับทุกข์สูญ พระกรุณาผ่านเผ้า สักการไตรรัตน์เอื้อ จตุพิธพรมงคล เกษมสุขยิ่งยืนชนม์ ภัยพยาธิประลาตไร้

จอมสยาม โลกซ้อง รอนราพณ์ เกริกหล้าเลอสรวง ภูบาล ทั่วถ้วน ดลสุข เกษมแฮ กราบเบื้องบาทบงสุ์ ลือไกล ก่องหล้า เยือนเยี่ยม พสกแฮ ปกเกล้าทวยนิกร จ�ำรูญ หล้าแล ปกเกล้า ดุจประทีป ชีพแฮ เอกอ้างใดปาน อิทธิผล แด่ไท้ สัมฤทธิ์ ประสงค์แล เลิศล�้ำจ�ำเริญ

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ และสมาชิก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ ประพันธ์)


บทความเทิดพระเกียรติ

พระอัจฉริยมหาราชบรมนาถของปวงชน

ในโอกาสมหามงคลวันพระบรมราชสมภพ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เวี ย นมาบรรจบ ครบ 7 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2554 เป็นเวลาหกสิบห้าปีนับแต่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จเถลิงถวัลย์สริ ริ าชสมบัติ เมือ่ วันที่ 9 มิถนุ ายน พุทธศักราช 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็นพระมหากษัตริยอ์ งค์แรกในโลก ที่องค์การสหประชาชาติทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเกียรติยศ ด้านการ พัฒนา (The first UNDP Human Development Lifetime Award) เพือ่ เฉลิมพระเกียรติและส�ำนึกถึงการทีพ่ ระองค์ได้ทรงด�ำเนินโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริจ�ำนวนมากประมาณถึง 4,000 โครงการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของอาณาประชาราษฎร์ ตลอดจนทรงน�ำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศไทย โครงการดังกล่าว แยกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ การเกษตร สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข ส่งเสริมอาชีพ พัฒนาแหล่งน�้ำ คมนาคมสื่อสาร และสวัสดิการสังคม พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระปรี ช าสามารถและมี พระอัจฉริยภาพในศาสตร์ต่างๆ อย่างหลากหลาย ทรงใช้หลักในการ พัฒนาทีเ่ ป็นเหตุเป็นผล ทรงค�ำนึงถึงความรวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ทรงประยุ ก ต์ ใ ช้ ศ าสตร์ แ ขนงต่ า งๆ เป็ น แนวทางอย่ า งเหมาะสม ในการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลและพั ฒ นาประเทศ เพื่ อ ขจั ด ทุ ก ข์ ผดุงสุขของพสกนิกรของพระองค์ โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้ความรูท้ าง วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีต่างๆ ดังจะเห็นได้จาก พระราชกรณียกิจต่างๆ ที่ทรงบ�ำเพ็ญเพื่อประโยชน์สุขของอาณา ประชาราษฎร์ ต ลอดระยะเวลายาวนานกว่ า 65 ปี นั บ แต่ เ สด็ จ เถลิงถวัลย์ราชสมบัติตราบจนปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดประกายการน�ำปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม มาแล้ว กว่า 20 ปี ได้พระราชทานแนวทางลดปัญหา และลดทุนการน�ำเข้า วัตถุดบิ และชิน้ ส่วนต่างๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทาน แนวปฏิ บั ติ ที่ มุ ่ ง เน้ น ความพอเพี ย งของทุ ก ฝ่ า ย ไม่ ขั ด แย้ ง ระบบ ความคิด หรือหลักการท�ำธุรกิจในระบบเสรีนิยม การด�ำเนินการตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่เน้นที่ก�ำไรสูงสุด แต่เน้นผลประโยชน์ ตอบแทนต่อสังคมในระยะยาว ซึง่ จะก่อให้เกิดสันติสขุ ในสังคมได้อย่าง แท้จริงและยั่งยืน อันนับเป็นมูลค่ามหาศาลไม่อาจคิดค�ำนวณเป็น ตัวเลขได้ แม้ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ การค้า การลงทุนระหว่าง ประเทศ มีกรอบและเงื่อนไขมาก การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ต้องดู ตามศั ก ยภาพที่ ป ระเทศมี แต่ เ น้ น การสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ในตั ว ไม่ ล งทุ น เกิ น ตั ว โดยประมาท และไม่ โ ลภมุ ่ ง แต่ ก� ำ ไรมากเกิ น ไป เมื่ออุตสาหกรรมแข็งแรงพอ ก็จะสามารถเข้าสู่การแข่งขันในแบบ ที่สร้างสรรค์ ผู้ลงทุนใช้ประโยชน์จากกระแสโลกาภิวัตน์อย่างชาญ ฉลาด รูเ้ ท่าทัน สามารถเลือกรับเฉพาะสิง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม ในระยะยาว ภาคอุตสาหกรรมได้น�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ กับการด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมหลายด้าน โดยยึดหลักพึ่งพาตนเอง ผลิตสินค้า วัตถุดิบ เทคโนโลยีเอง ค�ำนึงถึงสิ่งที่มีอยู่ในประเทศก่อน เช่ น อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ เครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม อาหาร เน้ น การผลิ ต ด้ า น การเกษตรอย่างต่อเนื่อง หลายโรงงานเป็น SMEs เป็นอุตสาหกรรม

ขนาดกลางและขนาดเล็ก ส่วนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ต้องพึ่งพา สินค้าวัตถุดบิ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศเพือ่ น�ำมาผลิตสินค้า ก็ได้ ริเริม่ วิจยั ค้นคิดประดิษฐ์และสร้างสรรค์เทคโนโลยีในการผลิตขึน้ ใช้เอง ในประเทศอย่างต่อเนื่อง สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ในฐานะองค์ ก รกลาง ศูนย์รวมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยทั่วประเทศ ประกอบด้วย สมาชิก กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ 40 กลุ่มอุตสาหกรรม และสภา อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด 74 จั ง หวั ด มี ค วามจงรั ก ภั ก ดี แ ละส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ ขอน้อมเกล้าฯ เทิ ด พระเกี ย รติ คุ ณ และด� ำ เนิ น การโดยเจริ ญ รอยตามเบื้ อ ง พระยุคลบาท สืบทอดพระราชด�ำริ เช่น ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน คิดค้น พัฒนา และใช้พลังงานทดแทน เพื่อลดพลังงานเชื้อเพลิง ธรรมชาติ และอนุรักษ์ธรรมชาติไว้ให้ด�ำรงคงอยู่คู่โลกตลอดไป สภาอุตสาหกรรมฯ ได้ดำ� เนินกิจกรรมทีเ่ ป็นการสนองพระราชด�ำริ ด้านพลังงาน โดยก่อตั้งสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม ตั้งแต่ พุทธศักราช 2542 เพื่อให้บริการด้านการบริหารจัดการระบบพลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ การก่อตั้งกลุ่มอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์ม กลุ่ม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ประกอบด้วย ผู้ประกอบการธุรกิจ พลังงานทดแทน 5 สาขา คือ พลังงานแสงอาทิตย์ เชื้อเพลิงชีวภาพ พลังงานชีวมวล พลังงานก๊าซชีวภาพ และพลังงานลม น�ำ้ ไฮโดรเจน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในการส่งเสริมและพัฒนาพลังงานทดแทน ทั้งในเรื่องการพัฒนา แหล่งพลังงานทดแทนของประเทศให้เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและ ยั่งยืน รวมทั้งใช้เป็นเวทีกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่ เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจ ตลอดจนการมีส่วนร่วมในด้านการ วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้ใช้ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ได้ร่วมมือกับภาครัฐในการวางนโยบายและ ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนของประเทศให้มีประสิทธิภาพ สามารถ รองรับความต้องการใช้พลังงานของภาคธุรกิจ และยกระดับขีดความ สามารถของผู้ประกอบการไทยในการผลิตพลังงานทดแทนให้พร้อม แข่งขันในเวทีการค้าโลกได้ต่อไป ข้าพระพุทธเจ้า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผูป้ ระกอบการ อุ ต สาหกรรมทั้ ง ปวง ต่ า งปลื้ ม ปิ ติ แ ละภาคภู มิ ใ จ ที่ ไ ด้ เ ป็ น พสกนิกรของ พระอัจฉริยมหาราชบรมนาถของปวงชน ขอตั้งจิต พร้ อ มน้ อ มอธิ ษ ฐาน ขออานุ ภ าพแห่ ง คุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย และ สรรพสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ นสากล ตลอดจนพระบรมเดชานุ ภ าพแห่ ง พระสยามเทวาธิราช และสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ทุกพระองค์ โปรดอภิบาลบันดาลดลให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงพระเจริญ พระชนมพรรษายิ่งยืนนาน ทรงพระเกษมส�ำราญ พระเกียรติคุณแผ่ไพศาล ทรงสถิตสถาพร ในมไหศู ร ย์ สิ ริ ร าชสมบั ติ พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ เป็นฉัตรแก้วร่มเกล้า ปวงข้าพระพุทธเจ้า และเหล่าพสกนิกรตราบจิรัฐิติกาล เทอญ

นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย


ปี ส.อ.ท. 4 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ส า ร บั ญ Content รู้จักสภาอุตสาหกรรม ฯ

สารจากประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จุดก�ำเนิด..เกิดเป็นความภูมิใจ บทบาทและผลงานเด่นตลอด 44 ปีของการด�ำเนินงาน

9 13 43 49

Executive Talk

ประธาน ส.อ.ท. กับการบริหารงานอุตสาหกรรม

ยุทธศาสตร์การบริหาร โครงสร้างคณะกรรมการบริหาร ส.อ.ท. (วาระปี 2553-2555) โครงสร้างส�ำนักงานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย INDUSTRY CLUBS : 40 กลุ่มอุตสาหกรรม PROVINCIAL CHAPTERS : 74 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด

• ภาคเหนือ 16 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด • ภาคตะวันออก 9 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด • ภาคกลาง 16 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด • ภาคใต้ 14 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หมายเลขติดต่อฝ่าย/สถาบันภายใน ส.อ.ท.

67 73 90 91 95 113 114 119 125 128 133 137

บทความพิเศษ ทิศทางเศรษฐกิจโลก/แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในอีก 10 ปี ข้างหน้า ทิศทางอุตสาหกรรมในอนาคต

145 157

รวมทุกสาระส�ำคัญที่นักอุตสาหกรรมควรรู้ 1. เรื่องทั่วไป : เรียนรู้ก่อนเริ่มต้นธุรกิจ

181

• การเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มต้นธุรกิจ, ค�ำแนะน�ำการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม,

ขั้นตอนการขออนุญาตตั้งโรงงานใหม่, ขั้นตอนการขอต่อใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน • สิทธิประโยชน์ทางภาษีส�ำหรับ SMEs, การลดอัตราภาษี, ตารางสรุปการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล • ดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม เครื่องมือส�ำคัญที่ต้องรู้ • เศรษฐกิจสร้างสรรค์...ศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจอนาคต • บาร์โค้ดระบบมาตรฐานสากล GS1 และก้าวทันเทคโนโลยี RFID • F.T.I. E-Market Place ตลาดกลางออนไลน์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

5


ส า ร บั ญ Content 2. การพัฒนาเทคโนโลยี และทรัพยากรมนุษย์

205

• สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ, การจัดท�ำมาตรฐานฝีมือแรงงาน, การจัดท�ำข้อมูล

ความต้องการก�ำลังคนภาคอุตสาหกรรม, การส�ำรวจค่าจ้างและสวัสดิการ • การพัฒนามาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการท�ำงาน (MS-QWL) • การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย • เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในภาคอุตสาหกรรม (ยุคปัจจุบัน) • แหล่งสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • iTAP โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย

3. เตรียมพร้อมก่อนเข้าสู่…AEC 2015 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

219

4. ความส�ำคัญด้านสิ่งแวดล้อม และตัวอย่างกรณีศึกษา

237

• ท�ำความรู้จัก..ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • โลจิสติกส์ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 10 ขั้นตอน...การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในการกระจายสินค้าและขนส่ง • กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง (GMS) โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย • กรอบความร่วมมือ IMT-GT กับช่องทางเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน

• การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ • สถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่าย ในพื้นที่มาบตาพุด • การจัดการวัสดุรีไซเคิลที่ยั่งยืน • สาระน่ารู้เกี่ยวกับน�้ำภาคอุตสาหกรรม

5. รวมกฎหมาย กฎระเบียบ และ พ.ร.บ. ต่างๆ

253

• มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • การเตรียมตัวของผู้ประกอบการตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 • พ.ร.บ. วัตถุอันตราย • หลักเกณฑ์การน�ำเข้า-ส่งออก ส�ำหรับวัตถุอันตราย ยุทธภัณฑ์ (ประเภทสารเคมี) • สาระเกี่ยวกับ REACH (กฎหมายของสหภาพยุโรปว่าด้วยการจดทะเบียน การประเมิน การอนุญาต

และการจ�ำกัดการใช้สารเคมี) • อัตราอากรน�ำเข้าของไทยภายใต้กรอบต่างๆ • ความรู้ว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้าและข้อก�ำหนด, ของต้องห้ามและของต้องจ�ำกัดตามกฎหมายศุลกากร

บทสรุปภาคภาษาอังกฤษ (Executive Summary) Useful Information ข้อมูลติดต่อหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ใบสมัครสมาชิกสภาอุตสาหกรรมฯ สิทธิและประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิก ส.อ.ท.

ปี ส.อ.ท. 6 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

273 286 294 295


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

7


ปี ส.อ.ท. 8 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สารจาก

ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นองค์กรภาคเอกชน ทีม่ พี นั ธกิจส�ำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาผูป้ ระกอบการและ ภาคอุตสาหกรรมไทยให้เติบโตอย่างยัง่ ยืน โดยท�ำหน้าทีใ่ นการ ร่วมผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของชาติ รวมทั้ง ประสานนโยบายและการด�ำเนินการระหว่างภาคเอกชนกับ ภาครัฐ เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศในด้านต่างๆ ตลอดระยะเวลา 44 ปี นับจากการก่อตั้ง ผลการด�ำเนิน งานทีผ่ า่ นมาของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้รบั ความ ส�ำเร็จเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เพราะได้รับการสนับสนุน จากสมาชิกและได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากภาครัฐ โดย การเข้ า ร่ ว มน� ำ เสนอและแนะแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา เศรษฐกิจและความเดือดร้อนจากการประกอบอุตสาหกรรม รวมทั้งการเป็นตัวแทนภาคเอกชนในการประสานและด�ำเนิน การร่วมกับภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลักดันให้ ได้รบั การแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม สภาอุตสาหกรรมฯ จึงนับเป็น สถาบันเอกชนที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาให้เกิดความเจริญ ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชาติ ซึ่งก็ต้องขอ ชมเชยคณะกรรมการทัง้ ในอดีตและปัจจุบนั ทีไ่ ด้แสดงผลงาน

ให้ปรากฏแก่สมาชิกทีร่ วมตัวกันเป็นหนึง่ เดียว สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยจึงคงอยู่และท�ำหน้าที่เป็นจุดศูนย์รวมของ สมาชิกมาจนถึงทุกวันนี้ ในโอกาสนี้ ผมรู ้ สึ ก ยิ น ดี ที่ ส ภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยได้ เ ติ บ โตอย่ า งมั่ น คงและก้ า วเข้ า สู ่ ป ี ที่ 44 ขอขอบคุ ณ ผู ้ ที่ ไ ด้ เ สี ย สละและสนั บ สนุ น กิ จ กรรมของสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยมาเป็นอย่างดี ผมขอยืนยันใน เจตนารมณ์ที่ชัดเจนของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยใน การปฏิบตั ภิ ารกิจเพือ่ ท�ำหน้าทีใ่ นการเป็นสถาบันทางเศรษฐกิจ และเป็นแกนกลางเสริมสร้างความเข้มแข็ง รวมถึงผลิตภาพ อุตสาหกรรมไทยให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล เพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของไทยให้ยั่งยืน ตลอดไป

นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

9


ปี ส.อ.ท. 10 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

11


Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´¡ÒÃŧâ¦É³Ò ËÃ×͵Դµ‹Í¢ÍÃѺÇÒÃÊÒÃä´Œ·Õè ½†Ò»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÊÀÒÍصÊÒË¡ÃÃÁáË‹§»ÃÐà·Èä·Â â·ÃÈѾ· 0 2345 1012-17 www.facebook.com/F.T.IPublicRelations ปี ส.อ.ท. 12 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


คณะกรรมการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

(วาระปี 2553 - 2555)

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

13


Honorary Chairmen

The Federation of Thai Industries

Mr. Thawee Bunyaket (Deceased)

Pol. Gen. Praman Adireksarn (Deceased)

Dr. Thaworn Phornprapha (Deceased)

Mr. Pong Sarasin

1967-1969

1980-1981

Mr. Paron Israsena Na Ayudhaya

1986-1989

Mr. Tawee Butsuntorn (Deceased)

1998-2002

ปี ส.อ.ท. 14 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

1970-1975, 1978-1979

1982-1985

Mr. Anand Panyarachun

1990-1991

Mr. Praphad Phodhivorakhun

2002-2006

Mr. Bancherd Cholvicharn (Deceased)

1976-1977

Mr. Chumsai Hasdin (Deceased)

1985

Dr. Chokchai Aksaranan

1991-1998

Mr. Santi Vilassakdanont

2006-2010


Executive Board

The Federation of Thai Industries

Mr. Santi Vilassakdanont Chairman of the Advisory board for the Executive Board

Mr. Payungsak Chartsutipol Chairman

Mr. Bodin Asavanich Senior Vice Chairman

Mr. Sompong Nakornsri Senior Vice Chairman

Mr. Suchart Visuwan Senior Vice Chairman

Mr. Sumida Buranasiri Senior Vice Chairman

Mr. Chainoi Puankosoom Vice Chairman

Mr. Chen Namchaisiri Vice Chairman

Mr. Chernporn Tengamnuay Vice Chairman

Mr. Kitti Tangjitrmaneesakda Vice Chairman

Mr. Manapol Poosomboon Vice Chairman

Mr. Mangkorn Dhanasarnsilp Vice Chairman

Mr. Nikorn Susiriwattananont Vice Chairman

Mr. Somnuk Nacasaksevee Vice Chairman

Mr. Sompong Tancharoenphol Vice Chairman

Mr. Supant Mongkolsuthree Vice Chairman

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

15


Executive Board

The Federation of Thai Industries

Mr. Suparat Sirisuwanangkura Vice Chairman

Dr. Tanit Sorat Vice Chairman

Mr. Thaveekit Jaturajarernkul Vice Chairman

Mr. Thawee Piyapatana Vice Chairman

Mr. Veerasak Kositpaisal Vice Chairman

Mr. Visit Limprana Vice Chairman

Mr. Vallop Vitanakorn Vice Chairman

Mr. Wasin Teyateeti Vice Chairman

Mr. Visit Limlurcha Treasurer

Mr. Thamrong Tritiprasert Registrar

Mr. Sommat Khunset Secretary General

Mr. Amnart Nantaharn Deputy Secretary General

Mr. Arin Jira Deputy Secretary General

Mr. Boonharn Ou-Udomying Deputy Secretary General

Mr. Chanchai Jindasataporn Deputy Secretary General

Mr. Chatchai Meemarayath Deputy Secretary General

ปี ส.อ.ท. 16 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Executive Board

The Federation of Thai Industries

Dr. Chayo Trangadisaikul Deputy Secretary General

Mrs. Darat Vibhatakalasa Deputy Secretary General

Mr. Ekaporn Kosakanchit Deputy Secretary General

Mr. Isares Ratanadilok Na Phuket Deputy Secretary General

Mr. Khajohnsak Mahakunnawan Deputy Secretary General

Mr. Korrakod Padungjitt Deputy Secretary General

Mr. Kriengkrai Thiennukul Deputy Secretary General

Mr. Nophadol Siwabutr Deputy Secretary General

Mr. Pairat Tangkaseranee Deputy Secretary General

Mr. Panitarn Pavarolavidya Deputy Secretary General

Mr. Pathom Suthathikulchai Deputy Secretary General

Mr. Pipope Chokvathana Deputy Secretary General

Dr. Piyanuch Malakul Na Ayuthya Deputy Secretary General

Mr. Prapas Euanontat Deputy Secretary General

Mr. Prayong Hirunyawanich Deputy Secretary General

Mr. Sakchai Unchittikul Deputy Secretary General

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

17


Executive Board

The Federation of Thai Industries

Mr. Saknarong Saengsangapong Deputy Secretary General

Dr. Singh Tangcharoenchaichana Deputy Secretary General

Mr. Somchai Urkasamsin Deputy Secretary General

Mr. Sompong Pholcharoenchit Deputy Secretary General

Mr. Sukij Kongpiyacharn Deputy Secretary General

Mrs. Sunee Sathatinan Deputy Secretary General

Mr. Surin Korapintanont Deputy Secretary General

Mr. Thanarak Phongphatra Deputy Secretary General

Mr. Thavorn Chalassathien Deputy Secretary General

Mr. Thawatchai Hengprasert Deputy Secretary General

Mr. Yuthapong Jeeraprapapong Deputy Secretary General

Mr. Siwat Vilassakdanont Assistant Treasurer

Mr. Preecha Rungsrithanapaisal Assistant Registrar

Updated as of 15 October 2011

ปี ส.อ.ท. 18 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mrs. Achana Limpaitoon Member of the Board

Mr. Adhipoom Kamthornvorarin Member of the Board

Mr. Aditheb Bisalbutr Member of the Board

Mr. Akajet Apikajornsin Member of the Board

Mr. Akkharaphon Wisipat Member of the Board

Mr. Amnart Yasothorn Member of the Board

Mr. Amornphan Poolsawad Member of the Board

Dr. Amporn Jitapunkul Member of the Board

Mr. Anen Aung-aphinant Member of the Board

Mr. Anukul Tamprasirt Member of the Board

Mr. Anurak Thienthong Member of the Board

Mr. Apichat Wisuthseriwong Member of the Board

Mr. Apichit Prasoprat Member of the Board

Mr. Apinan Srisamanuwat Member of the Board

Mr. Apiphop Phungchanchaikul Member of the Board

Mr. Arkhom Raektang Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

19


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Arnont Khamtanod Member of the Board

Mr. Asi Thansathit Member of the Board

Mr. Bandid Pongsarojanavit Member of the Board

Mr. Banja Junhasavasdikul Member of the Board

Mrs. Benjamas Somboon Member of the Board

Mr. Boonkij Jitngamplang Member of the Board

Mr. Boonpeng Santiwattanatam Member of the Board

Mrs. Boonsom Nuchniyom Member of the Board

Mr. Boonying Koosawad Member of the Board

Mr. Busarin Vanaswas Member of the Board

Mr. Chaitpong Chaicanarakkul Member of the Board

Mr. Chaiyong Pongsuthimanus Member of the Board

Mr. Chaiyos Sincharoenkul Member of the Board

Mr. Chaiyuth Saneetantikul Member of the Board

Mr. Chalerm Pornrutchakit Member of the Board

Mr. Chanchai Lertsaksereekun Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 20 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Chanudom Rakphetmanii Member of the Board

Mr. Chanwit Chanjaranwit Member of the Board

Mr. Charn Chanthavornsawat Member of the Board

Mr. Charoenchai Yamkhaekhai Member of the Board

Dr. Charunya Phichitkul Member of the Board

Mr. Chatchai Piyasombatkul Member of the Board

Mr. Chatchai Archawapongpanich Member of the Board

Mr. Chavalit Nimlaor Member of the Board

Mr. Chaveng Chao Member of the Board

Ms. Chintana Chinpinklyo Member of the Board

Mrs. Chitta Chaisiriphan Member of the Board

Mr. Choocheep Auekarn Member of the Board

Mrs. Chosita Jaruchotrattanasakul Member of the Board

Mr. Chuchai Khonsur Member of the Board

Mr. Chusak Yongvongphaiboon Member of the Board

Mr. David Chiu Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

21


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Decha Koopthavonrerk Member of the Board

Mr. Dej Pathanasethpong Member of the Board

Mr. Ekkasith Skulruangsri Member of the Board

Mr. Foong Sooksereesarp Member of the Board

Mr. Greeganit Chokchainarong Member of the Board

Mrs. Hataya Achananuphap Member of the Board

Mr. Isara Vongkusolkit Member of the Board

Mr. Jirabool Vittayasing Member of the Board

Mr. Jirawat Tangkijngamwong Member of the Board

Mr. Jittikun Chiempitayanuvat Member of the Board

Mr. Juan Dharmsuriya Member of the Board

Mr. Juntorn Tayangkanant Member of the Board

Mr. Kamchai Rangsiyanant Member of the Board

Mr. Kamol Surangsuriyakul Member of the Board

Mr. Kamon Wattanakanin Member of the Board

Mrs. Kanit Muangkrachang Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 22 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Kashem Yaemvathithong Member of the Board

Mr. Keerin Chutumstid Member of the Board

Mrs. Ketmanee Lertkitcha Member of the Board

Mr. Khomsan Laosillapacharoen Member of the Board

Mr. Kitsana Iamvongnatee Member of the Board

Mr. Kittithape Jiarapan Member of the Board

Mr. Kornkrit Jurangkool Member of the Board

Mrs. Kornpak Meesitita Member of the Board

Mr. Kosit Rintranurak Member of the Board

Mr. Kovit Thareratanavibool Member of the Board

Mr. Kovit Prasitdumrong Member of the Board

Mr. Kreetha Thienlikit Member of the Board

Mr. Kriengkrai Veraritiphan Member of the Board

Mr. Kriengsak Tankitcharoen Member of the Board

Mr. Krisada Chavananand Member of the Board

Mr. Krisda Butcharoen Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

23


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Kulpong Panchan Member of the Board

Mr. Kwanphat Churvanit Member of the Board

Mr. Mahabir Koder Member of the Board

Mr. Maleerach Patel Member of the Board

Mr. Manit Jongjitvetchkul Member of the Board

Mr. Manit Kaweerat Member of the Board

Dr. Mathee Olarnsakul Member of the Board

Mr. Mingpant Chayavichitsilp Member of the Board

Mr. Mongkolchai Duangsangthong Member of the Board

Mr. Mongkolphan Siripanya Member of the Board

Mr. Montree Lairungruang Member of the Board

Mr. Mungkorn Hunkittiwechakun Member of the Board

Mr. Nakah Thawichawatt Member of the Board

Mr. Nam Cholsaipan Member of the Board

Mrs. Nantana Chakrapeesirisuk Member of the Board

Mr. Nantawatchai Wongchanachai Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 24 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Nanthachit Thavaraputta Member of the Board

Mr. Nanthaphat Thanadolthanakiat Member of the Board

Ms. Nanunorn Narasedthawat Member of the Board

Dr. Nilsuwan Leelarasamee Member of the Board

Mr. Nimit Ngamyingpaisan Member of the Board

Mr. Ninnart Chaithirapinyo Member of the Board

Mr. Noppadon Tonjaluensukjit Member of the Board

Mrs. Noppharat Sukchai Member of the Board

Mr. Numchai Ekpatanaparnich Member of the Board

Mr. Olarn Uyakul Member of the Board

Mr. Ong-arj Pongkijworasin Member of the Board

Mr. Ongart Kittikhunchai Member of the Board

Ms. Orapin Sermpraphasilp Member of the Board

Mrs. Ornanong Suwannakarn Member of the Board

Mr. Paiboon Leechitcham Member of the Board

Mr. Paiboon Ponsuwanna Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

25


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Dr. Pailin Chuchottaworn Member of the Board

Mr. Pairoj Kiattikomol Member of the Board

Mr. Paisan Kittitonsombut Member of the Board

Mr. Pakorn Vissananusitt Member of the Board

Prof. Dr. Pakorn Adulbhan Member of the Board

Mr. Panya Yimpong Member of the Board

Ms. Paphavee Suthavivat Member of the Board

Mr. Paradorn Chulajata Member of the Board

Mr. Parphan Siriviriyakul Member of the Board

Mr. Pasakorn Wongchanachai Member of the Board

Mr. Patanasak Hoontrakul Member of the Board

Mrs. Patcharin Posirisuk Member of the Board

Mr. Patikarn Mahuttanaraks Member of the Board

Mr. Payao Kruntong Member of the Board

Mr. Peera Pechpanich Member of the Board

Mr. Peerapong Sirakarnbandit Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 26 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Ms. Petcharat Eksangkul Member of the Board

Mr. Phagorn Wangsirabat Member of the Board

Mr. Phairat Ueshooyos Member of the Board

Mr. Phaisal Vejpongsa Member of the Board

Mr. Phichai Tinsuntisook Member of the Board

Mr. Phichet Leelaruansang Member of the Board

Mr. Phongsa Sanjai-Ngam Member of the Board

Mr. Phongsak Assakul Member of the Board

Mr. Photsawee Ananthanit Member of the Board

Mr. Pichet Saengnisakorn Member of the Board

Mr. Pichit Burapavong Member of the Board

Mr. Pilan Dhammongkol Member of the Board

Mr. Phaibool Poocharoen Member of the Board

Mr. Phanlop Thanomsaptawee Member of the Board

Mr. Phairach Choothamkhajorn Member of the Board

Mr. Phaskorn Buranawit Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

27


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Ms. Pimnara Jiranithitnon Member of the Board

Mr. Pipat Lerksahakul Member of the Board

Mr. Pitak Pruittisarikorn Member of the Board

Mr. Plengsakdi Prakaspesat Member of the Board

Dr. Pojjanee Paniangvait Member of the Board

Mr. Pongdej Sriwachirapradit Member of the Board

Mr. Pongnarin Wanasuwankul Member of the Board

Mr. Pongsak Chutichowakul Member of the Board

Mr. Pongsak Vacharanukulkiet Member of the Board

Dr. Pongsak Kerdvongbundit Member of the Board

Mr. Por Anavil Member of the Board

Mr. Pornchai Rattanachaikanont Member of the Board

Mrs. Pornpimol Kaewsri-Ngam Member of the Board

Mr. Porntep Saksujarit Member of the Board

Mrs. Pradit Thamduangsri Member of the Board

Mr. Prakuad Tansopon Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 28 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Pramote Techasupatkul Member of the Board

Mrs. Pranee Kuruvelukorn Member of the Board

Mr. Pranontha Titavunno Member of the Board

Mr. Prasert Wongmalasith Member of the Board

Mr. Prasert Bunsumpun Member of the Board

Mr. Prasit Chansitthichok Member of the Board

Mr. Prasong Sanprach Member of the Board

Mr. Pravit Prakitsri Member of the Board

Mr. Prayote Attatorn Member of the Board

Mr. Preecha Trinetkamol Member of the Board

Mrs. Preeya Sibunruang Member of the Board

Mr. Presert Thammanoonkul Member of the Board

Mr. Punchai Kigcharayothin Member of the Board

Mr. Ratchawut Kritsin Member of the Board

Mr. Rujatit Suchato Member of the Board

Mr. Rungsri Luengvarinkul Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

29


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Sakchai Sriyuttakrai Member of the Board

Mr. Saknapat Sukwattanalap Member of the Board

Mr. Sankrit Cheawchan Member of the Board

Mr. Sarawut Sa-Nguanpao Member of the Board

Mr. Saroj Ratnavadi Member of the Board

Mrs. Saruda Shinawatra Member of the Board

Mrs. Sawan Tan Member of the Board

Mr. Sayan Chanvipaswongse Member of the Board

Mrs. Shounjitt Charoen-ngam Member of the Board

Mr. Singha Pongsutt Member of the Board

Mr. Sira Srisukri Member of the Board

Mrs. Sirikanya Nampitch Member of the Board

Mr. Sitthisak Muangsin Member of the Board

Mr. Sittipong Jaimsripong Member of the Board

Mr. Sombat Atiset Member of the Board

Mr. Sombat Kiatsuranon Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 30 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Sombat Premprabha Member of the Board

Dr. Sombat Teekasap Member of the Board

Mr. Sombat Puthavolvong Member of the Board

Mr. Somboon Poonthunya Member of the Board

Mr. Somboon Juasathirattana Member of the Board

Mr. Somchai Ovuthitham Member of the Board

Mr. Somchai Chittaprakorb Member of the Board

Mr. Somchai Kunakornporamat Member of the Board

Mr. Somphong Puangveing Member of the Board

Mr. Somphop Thirasan Member of the Board

Mr. Sompol Termpitayavej Member of the Board

Mr. Somsak Srisuponvanit Member of the Board

Mr. Somsak Sribua-rawd Member of the Board

Mr. Somsak Borrisuttanakul Member of the Board

Mr. Somsit Moonsatan Member of the Board

Mr. Somwong U-domsittigun Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

31


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Songsaeng Laohajeeraphan Member of the Board

Dr. Songwoot Graipaspong Member of the Board

Mr. Suchart Chantaranakaracha Member of the Board

Mr. Suchat Taechanuruk Member of the Board

Ms. Sunisa Kwanbunbumphen Member of the Board

Mr. Supachai Suthipongschai Member of the Board

Mr. Supadej Chirasavinuprapand Member of the Board

Mrs. Suphavadee Choksakulnimit Member of the Board

Mr. Suphot Siritanachot Member of the Board

Ms. Supiwan Tansamai Member of the Board

Mr. Supoj Wangpreedalertkul Member of the Board

Ms. Supranee Siriarphanont Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 32 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

Mrs. Sriprapha Sumruatruamphol Member of the Board

Mr. Suebpong Ketnute Member of the Board

Mr. Subpachai Lovanit Member of the Board

Ms. Sunanta Taschan Member of the Board


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Suraaut Narongrit Member of the Board

Mr. Surachai Sothivorakul Member of the Board

Mr. Surachit Wongkanghae Member of the Board

Mr. Suraphong Prasert Member of the Board

Mr. Surapon Vongvadhanaroj Member of the Board

Mr. Suraporn Simakulthorn Member of the Board

Mr. Surasak Limwilaikul Member of the Board

Mr. Surat Koonvatanapong Member of the Board

Mr. Suriya Khomsuwan Member of the Board

Mr. Sutad Pipattanachaiyapong Member of the Board

Mr. Sutin Pornchaisuree Member of the Board

Mr. Suvit Toraninpanich Member of the Board

Mr. Suwan Sukaprasirt Member of the Board

Mr. Suwit Wongworakul Member of the Board

Mr. Swai Chaichanakol Member of the Board

Mrs. Swanpisa Jongpermwattanapol Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

33


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Thanathorn Juangroongruangkit Member of the Board

Mr. Tanatat Chawaldit Member of the Board

Mr. Teerachai Sakolbancherd Member of the Board

Mr. Teerapol Yaemchaya Member of the Board

Mr. Thanee Puttipanpluck Member of the Board

Acting Sub Lt. Thanet Sorat Member of the Board

Mr. Thanun Ounkomol Member of the Board

Mr. Thapana Sirivadhanabhakdi Member of the Board

Mr. Thavorn Kanokvaleewong Member of the Board

Mrs. Thongsamutr Lekekarat Member of the Board

Mr. Thosapol Tantiwong Member of the Board

Mr. Udom Phatcharaphanawee Member of the Board

Mr. Uthai Damrongthum Member of the Board

Mr. Vanchai Chittamanonkul Member of the Board

Mrs. Vanich Panpipat Member of the Board

Mr. Varut Chakatis Member of the Board

ปี ส.อ.ท. 34 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Veera Chencharoenvong Member of the Board

Mr. Veera Akaraputhiporn Member of the Board

Mr. Veerayuth Sookhawatako Member of the Board

Mr. Verachai Kunavichayanont Member of the Board

Mr. Vichit Tantianunanont Member of the Board

Mr. Viroj Pipatchaisiri Member of the Board

Mr. Visoot Chitsuthipakron Member of the Board

Mr. Vissanu Sunprugksin Member of the Board

Mr. Vitavas Vataniyobol Member of the Board

Mr. Vitid Lowthammatus Member of the Board

Mr. Vorrapot Saengtaweesin Member of the Board

Mr. Wanthana Jaroennawarat Member of the Board

Mr. Watin Nookua Member of the Board

Mr. Wattana Reungpanyawattana Member of the Board

Mr. Weerasak Lervisit Member of the Board

Mr. Wichien Cherdchutrakuntong Member of the Board

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

35


Members of the Board The Federation of Thai Industries

Mr. Winai Rungrittidetch Member of the Board

Mr. Wirote Rotewatanachai Member of the Board

Mr. Withee Supithak Member of the Board

Mr. Withool Kamolnarumeth Member of the Board

Mr. Yongkiat Kitaphanich Member of the Board

Mr. Yongsin Yuwathanont Member of the Board

Mr. Yusin Jintapakorn Member of the Board

Mr. Yuthsanti Siripongsin Member of the Board

Mr. Yutthana Chaisri Member of the Board

Updated as of 15 October 2011

ปี ส.อ.ท. 36 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

37


ปี ส.อ.ท. 38 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

39

www.exim.go.th


ปี ส.อ.ท. 40 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

41


ปี ส.อ.ท. 42 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


จุดก�ำเนิด...เกิดเป็นความภูมิใจ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

43


จุดก�ำเนิด...เกิดเป็นความภูมิใจ

44 ปี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บุกเบิกเปิดโลกอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2510 สมาคมอุตสาหกรรมไทย เกิดขึน้ และถือเป็น ครัง้ แรก ทีม่ กี ารรับรององค์กรเอกชนภาคอุตสาหกรรมอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย ภายใต้ พ.ร.บ.สมาคมการค้า 2509 ด้วยการรวมตัว ของนักอุตสาหกรรม 28 ท่าน โดยมี ฯพณฯ อดีตนายกรัฐมนตรี คุณทวี บุญยเกตุ เป็นนายกสมาคมอุตสาหกรรมไทยคนแรก ส�ำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารสารสิน ถนนสีลม โดยการสนับสนุนของ ท่ า นประธานกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ คุ ณ พงส์ สารสิ น ซึ่ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง อุปนายกสมาคม ในขณะนั้น ปี พ.ศ. 2514 ย้ายส�ำนักงานเข้ามาอยู่ที่อาคารสุริโยทัย ถนน พหลโยธิ น ด้ ว ยความช่ ว ยเหลื อ ของคุ ณ พงษ์ ส วั ส ดิ์ สุ ริ โ ยทั ย เลขาธิการสมาคม ในวาระนั้น ปี พ.ศ. 2517 สมาคมอุตสาหกรรมไทย มีการรณรงค์หา สมาชิกเพิม่ มากขึน้ ท�ำให้ตอ้ งมีการจัดแบ่งความรับผิดชอบในการ ควบคุมดูแลและจัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมสมาชิกในรูปแบบ ต่างๆ จึงเริ่มมีการรวมกลุ่มสมาชิกอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ตั้ง เป็น สาขาอุตสาหกรรม (ปัจจุบันเรียกว่า กลุ่มอุตสาหกรรม) โดยเริม่ จัดตัง้ สาขาอุตสาหกรรมอาหาร เป็นสาขาแรก และภายใน ระยะเวลา 5 ปี สามารถรวมกลุ่มได้เป็น 14 สาขาอุตสาหกรรม โดยอิงการจัดแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม (Aggroupation) ตามระบบ

ปี ส.อ.ท. 44 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ของหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN-CCI) ประกอบ ด้วย สาขาอุตสาหกรรมตามล�ำดับดังนี้ อาหาร ผูป้ ระกอบยานยนต์ ผู้ผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ เยื่อและกระดาษ ปูนซิเมนต์ เคมี ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ยาง เหล็ก แก้วและกระจก อลูมิเนียม เซรามิก เฟอร์นิเจอร์ เครื่องปรับอากาศ ปี พ.ศ. 2523 ย้ายส�ำนักงานเข้ามาอยู่ที่ตึกใหม่บนถนน สามเสน ตรงข้ามหอสมุดแห่งชาติ เยื้องท่าวาสุกรี เป็นส�ำนักงาน ของตนเอง โดยบรรดาสมาชิกฯ ได้บริจาคเงินจ�ำนวน 3,092,296.80 บาท ก่อสร้างอาคารส�ำนักงานถาวรเป็นหลังแรกของสมาคมบน พื้นที่ของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ด้วยความ อนุเคราะห์ของคุณประกายเพชร อินทุโศภณ อดีตกรรมการสมาคม และ เลขานุการรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงพาณิชย์ นาวาอากาศ ตรีปุณมี ปุณศรี อดีตกรรมการสมาคม จึงเปลี่ยนจากสภาพเดิม ที่ตกอยู่ในสภาพเร่ร่อน กลายเป็นหน่วยงานที่มีหลักแหล่งที่ตั้ง สมาคมแน่ชัด เป็นที่น่าเชื่อถือในการติดต่อประสานงาน ปี พ.ศ. 2523 สมาคมอุตสาหกรรมไทย ให้บริการสมาชิก ไม่ทนั เพราะขาดบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ ไม่สามารถจ่าย เงินเดือนสูงให้พนักงานที่มีความรู้ได้ สถานภาพของสมาคมฯ จึง ไม่มั่นคง ท่านประธานกิตติมศักดิ์ คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการสมาคมในยุคนั้น จึงได้จัดโครงสร้าง ระบบบริหารงาน และบริหารบุคคลใหม่ ปรับเงินเดือนพนักงานให้ เทียบเท่าหรือใกล้เคียงภาคเอกชน จัดระบบสวัสดิการทัง้ หมด เพือ่ ให้ได้คนเก่งและดี มีคุณภาพและรักองค์กร เข้ามาท�ำงาน และ สามารถดูแลคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะนั้น สมาคมฯ ถูกจัด ให้อยูใ่ นกลุม่ นายจ้างชัน้ กลาง เพราะไม่คอ่ ยมีเงิน แต่การจ่ายเงิน เดือนจะต้องพิจารณาเรือ่ งใหญ่ 2 เรือ่ งคือ ต้องได้คนเก่ง และ ต้อง ดี เข้ามาท�ำงาน องค์กรจึงจะดี คนจึงเป็นสมบัติอันมีค่าที่สุดของ องค์กร ปี พ.ศ. 2525 สมาคมอุตสาหกรรมไทย ได้แสดงบทบาทใน เรือ่ งทีอ่ ตุ สาหกรรมมีความเดือดร้อน ท�ำให้รฐั บาลเห็นว่า สมาคมฯ ท�ำเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม และสมาชิกให้การยอมรับ ท่านประธาน กิตติมศักดิ์ คุณพงส์ สารสิน นายกสมาคมอุตสาหกรรมไทย ในขณะนั้น ได้มีการจัดตั้งกองทุน Endowment Fund ขึ้น เพื่อน�ำ


ดอกผลจากเงินกองทุนมาใช้จ่ายในการด�ำเนินงานของสมาคมฯ โดยไม่ต้องขอบริจาคจากสมาชิกเป็นครั้งๆ ซึ่งสมาชิกได้ให้ความ ร่วมมือสมทบเงินเข้ากองทุนในขัน้ ต้น 10 ล้านบาท ท�ำให้สมาคมฯ สามารถด�ำเนินงานตามวัตถุประสงค์ได้คล่องตัวขึ้น และกองทุน นี้ได้พัฒนาเป็น มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรม จนถึงทุกวันนี้ ปี พ.ศ. 2526 สมาคมอุตสาหกรรมไทย ยังมีสมาชิกกระจาย อยู่ในจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ จึงได้ริเริ่มรวมตัวกันขึ้นเป็นกลุ่ม ท้องที่จังหวัด (ปัจจุบันเรียกว่า สภาอุตสาหกรรมจังหวัด) เพื่อ ประสานกับภาครัฐบาลและภาคเอกชนอื่นๆ ในระดับท้องถิ่น เริ่มต้น 3 จังหวัด คือ เชียงใหม่ ขอนแก่น และสงขลา และต่อมา สมาคมฯ ได้ผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมในภูมภิ าคในรูปแบบต่าง ๆ ตามโครงการ Strengthening of Rural Business Association โดยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ และ องค์กรเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (The United States Agency for International Development, USAID) ด�ำเนินโครงการร่วม Rural Industries and Employment เพื่อพัฒนาและส่งเสริม ประสิทธิภาพการด�ำเนินการของสมาคมฯ ในส่วนภูมิภาคให้เกิด ประสิทธิภาพมากขึน้ ซึง่ เป็นการสร้างความน่าเชือ่ ถือและยอมรับ ได้ขององค์กรในการด�ำเนินงานกับภาคต่างประเทศอีกด้วย ปี พ.ศ. 2530 การด�ำเนินงานของสมาคมอุตสาหกรรมไทย ยังขาดกฎหมายรองรับอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับการพัฒนา เศรษฐกิจ กลุ่มนักอุตสาหกรรมจึงเห็นควรที่จะยกฐานะ สมาคม อุตสาหกรรมไทย ขึ้นเป็น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่ อ ให้ มี ก ฎหมายรองรั บ การท� ำ งานเหมื อ นสภาหอการค้ า แห่งประเทศไทย จึงได้มีการร่างกฎหมายขึ้น โดยการสนับสนุน ของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และได้ผา่ น การอนุมัติของรัฐสภาไปได้อย่างยากเย็นแสนเข็ญ จนประกาศ ให้มี พระราชบัญญัตสิ ภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2530 ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2530 ปี พ.ศ. 2537 ย้ายส�ำนักงานเข้ามาอยูท่ โี่ ซน C ชัน้ 4 ศูนย์การ ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ถนนรัชดาภิเษก

รางวัลแห่งความภูมิใจ ปี พ.ศ. 2522 สมาคมอุตสาหกรรมไทย ได้รับการ ยกย่ อ งคั ด เลื อ กจากสมาคม Gold Mercury International ให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ระดั บ โลก Gold Mercury International Award ณ เมืองไคโร ประเทศ อียิปต์ ซึ่งเป็นรางวัลส�ำหรับองค์กรด้านอุตสาหกรรมที่ มีการพัฒนา และประสานงานกับนานาชาติอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยท่านประธานกิตติมศักดิ์ คุณชุมสาย หัสดิน ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการสมาคมฯ ในขณะ นั้น เป็นผู้เดินทางไปรับมอบ ปี พ.ศ. 2523 สมาคมอุตสาหกรรมไทย ได้ริเริ่ม จัดท�ำสารคดีรายสัปดาห์ทางโทรทัศน์ ให้ความรู้เกี่ยว กับการผลิตสินค้าไทย เพือ่ ส่งเสริมผูผ้ ลิตสินค้าไทยให้ เป็นที่รู้จัก เผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ ชื่อ รายการ ภูมิใจ-ไทยท�ำ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ของสินค้า อุตสาหกรรมไทย ท�ำให้ ส.อ.ท. ในฐานะผู้สร้างสารคดี รายการนี้เป็นที่รู้จักในสังคม และได้รับรางวัลเมขลา ประเภทส่งเสริมอาชีพดีเด่นในปี 2529 นอกจาก นั้น ยังริเริ่มจัดงานแสดงสินค้า โดยให้ผู้ผลิตน�ำสินค้า ของนักอุตสาหกรรมไทยมาแสดงและจ�ำหน่ายแก่ ประชาชนโดยตรงพร้อมๆ กันหลายๆ ประเภท โดยจัด ขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2523 ที่สนามกีฬาหัวหมาก นับเป็น สื่อและกิจกรรมที่ท�ำให้อุตสาหกรรมไทยได้สื่อตัวเอง ให้เป็นที่รู้จักในสังคมมากขึ้น ปี พ.ศ. 2542 ด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาองค์กร ให้มรี ะบบ และประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้ปรับปรุงระบบการ บริหารงานให้มีคุณภาพโดยน�ำระบบ ISO 9000 เข้า มาใช้และได้รับการรับรองระบบมาตรฐาน ISO 9002 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอ เอส โอ ในปี พ.ศ. 2542 และเป็นองค์กรกลางภาคเอกชนองค์กรแรกทีไ่ ด้ รับการรับรองดังกล่าว ปี พ.ศ. 2551 ได้รบั รางวัล โครงการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารดีเด่นแห่งปี (Project of the Year) ในงาน Thailand ICT Excellence Awards 2008 โดยโครงการศูนย์ข้อมูลอุตสาหกรรมไทย ของ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รับรางวัล 2 สาขาคือ Thai Software Innovation Project และ Innovation Project

• ประธานกิตติมศักดิ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

45


ปี ส.อ.ท. 46 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

47


ปี ส.อ.ท. 48 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


บทบาทและผลงานเด่น

ตลอด 44 ปี ของการด�ำเนินงาน

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

49


พัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ปี พ.ศ. 2511 ช่วงนั้น คนไทยไม่นิยมสินค้าอุตสาหกรรมที่ ผลิตภายในประเทศ เพราะเกรงจะมีคณ ุ ภาพไม่ดเี หมือนผลิตจาก ต่างประเทศ สมาคมอุตสาหกรรมไทย จึงร่วมกับ สมาคมนิยมไทย ร่วมมือช่วยกันรณรงค์ให้คนไทยรวมตัวใช้สินค้าที่ผลิตภายใน ประเทศไทย ต่อต้านการทุ่มตลาดจากต่างประเทศ เป็นที่แพร่ หลายของค�ำว่า Made in Thailand ปี พ.ศ. 2523 ท่านประธานกิตติมศักดิ์ คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการสมาคมในยุคนั้น ได้เข้ามา พัฒนาเปลีย่ นแปลงโฉมอุตสาหกรรมไทย เพือ่ ให้สอดคล้องกับการ เปลีย่ นนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการพัฒนา อุตสาหกรรมทดแทนการน�ำเข้า Import Substitution เพือ่ ประหยัด เงินตราต่างประเทศ ให้พฒ ั นาเป็นอุตสาหกรรมทีส่ ่งออกเป็นส่วน ใหญ่ Export Oriented เพือ่ น�ำเงินตราเข้าประเทศมากขึน้ ในขณะ เดียวกันกรรมการของสมาคมฯ ก็เริ่มเปลี่ยนแปลงจาก เถ้าแก่ มา เป็น นักบริหารมืออาชีพ ที่มีความเข้าใจด้านอุตสาหกรรมอย่าง เป็ น ระบบ โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมมี คุ ณ ภาพและ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของการค้าระดับโลกมากขึ้น

ปี ส.อ.ท. 50 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ปี พ.ศ. 2524 ตลอดเวลาที่ได้จัดตั้งสมาคมอุตสาหกรรมไทย สมาคมฯ ได้ส่งตัวแทนเข้าร่วมในคณะกรรมการเศรษฐกิจของ รัฐบาล และได้มีโอกาสในการเสนอความคิดเห็นและข้อมูลที่เป็น ประโยชน์จากภาคเอกชน เพือ่ ใช้ในการก�ำหนดนโยบายของรัฐบาล ในวาระที่ คุ ณ ถาวร พรประภา ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกสมาคม อุตสาหกรรมไทย ได้นำ� เสนอความคิดในการจัดตั้ง กรอ. ขึ้น และ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี ในสมัยนั้นก็สนับสนุน แนวคิดนี้ จึงได้ตั้ง คณะกรรมการร่วมภาครัฐบาลและเอกชน (กรอ.) เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาเศรษฐกิ จ ขึ้ น ในปี 2524 สมาคม อุตสาหกรรมไทย เป็นหนึง่ ในสามองค์กรเอกชนทีไ่ ด้เข้าร่วมอยูใ่ น องค์ประกอบของคณะดังกล่าว และถือเป็น “ภาคเอกชน” ของ ประเทศ จึงถือเป็นความภูมใิ จของสมาคมอุตสาหกรรมไทย ทีเ่ ป็น ผู้ริเริ่มเสนอให้รัฐบาลตั้ง กรอ. เป็นผลส� ำเร็จ และสร้างความ เชื่ อ มั่ น ในการผนึ ก ก� ำ ลั ง ของภาครั ฐ ที่ เ ชื่ อ มกั บ ภาคเอกชนได้ อย่างสนิท และมีการติดตามแก้ปญ ั หาและอุปสรรคในการพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศอย่างใกล้ชิดและได้ผล


ปี พ.ศ. 2541 ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เมื่อปี 2540 ส่วนหนึ่งมาจากนักธุรกิจไทย ท�ำธุรกิจโดยขาด จรรยาบรรณ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในวาระที่คุณทวี บุ ต รสุ น ทร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประธานสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย จึงได้ร่าง จรรยาบรรณนักอุตสาหกรรม ขึ้น เพื่อใช้ เป็นแนวทางการท�ำธุรกิจโดยโปร่งใส เป็นธรรม ให้สมาชิกได้ยดึ ถือ ปฏิบตั ิ และผลักดันให้เกิดธรรมาภิบาลในการท�ำธุรกิจ เป็นการ สร้างความยอมรับนับถือของประชาชน ในการสร้างมาตรฐานของ ศีลธรรม จรรยา ของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทย

ในวาระคุณประพัฒน์ โพธิวรคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รเิ ริม่ จัดท�ำ ดัชนีความเชือ่ มัน่ ภาค อุตสาหกรรม ขึน้ เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง และ สัญญาณเตือนภัย ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม รวมทั้ง ดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนวัฏจักรธุรกิจ เพื่อให้ ผู ้ ป ระกอบการสามารถน� ำ ไปใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการก� ำ หนด นโยบายและวางแผนธุรกิจ โดยมีการส�ำรวจและเผยแพร่เป็น ประจ�ำทุกเดือน ปี พ.ศ. 2550 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้อนุมัติ จัดตัง้ สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรม การผลิต (SMI) ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ผู้ประกอบการ SMI ภาคการผลิต ให้มีศักยภาพในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ริเริ่มจัดท�ำ ศูนย์ข้อมูลอุตสาหกรรมไทย เพื่อเป็นศูนย์รวม ข้อมูลส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม ใช้ประกอบการตัดสินใจทางด้าน ต่าง ๆ โดยเริ่มที่ข้อมูล 4 อุตสาหกรรมต้นแบบประกอบด้วย กลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ ยานยนต์ กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ และกลุ่ม อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร โดยจะรวบรวมข้อมูลจาก อุตสาหกรรมต้น น�้ ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ ข้อมูล พิกัดภาษี ศุลกากร ข้อมูล FTA, WTO เป็นต้น ริเริ่มจัดท�ำโครงการ E-Marketplace เพื่อตอบสนองความ ต้องการของผู้ซื้อ-ผู้ขาย สินค้าและบริการ ทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ โดยใช้รหัสมาตรฐานสากล UNSPSC/HS Code เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการเลือกซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมทั้ง เพิ่ ม โอกาสและศั ก ยภาพทางการตลาด ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้น จั ด ท� ำ โครงการมาตรฐาน เพื่ อ ยกระดั บ ความสามารถ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย และการพัฒนามาตรฐานวิศวกรรม ซอฟต์แวร์ (ISO 12207-TQS / ISO 29110-VSE)

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

51


ก้าวไกลสู่สากล ปี 2523 ASEAN-Chamber of Commerce (ASEAN-CCI) ได้เริ่มต้นขึ้น และ สมาคมอุตสาหกรรมไทย ได้เข้าร่วมและได้รับ เลือกเป็น ประธาน ASEAN-CCI ในปี 2525 โดยคุณอานันท์ ปันยารชุน อุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมไทย รับหน้าที่ประธาน ASEAN-CCI เป็นเวลา 2 ปี มีการพิจารณาเสนอแนะจุดหมาย ปลายทางของ ASEAN ควรมีการจัดตั้ง เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) จึงถือเป็นจุดเริ่มต้นของ AFTA ซึ่งมีผลผลักดันให้รัฐบาล อาเซียนก�ำหนดมาตรการ และกฎเกณฑ์ต่างๆ เพื่อเร่งรัดให้เกิด เขตการค้าเสรีของอาเซียนชัดเจนมากขึ้น มาจนบรรลุผลมีการจัด ตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน หรือ ASEAN Free Trade Area, AFTA ขึ้นในปี พ.ศ. 2534 อันเป็นจุดหมายปลายทางของอาเซียนใน ปัจจุบัน จึงนับเป็นช่วงเวลาส�ำคัญที่สมาคมอุตสาหกรรมไทย ได้ แสดงบทบาทในกลุ่มประเทศอาเซียน ท� ำหน้าที่ประสานงาน เลขาธิการอาเซียน-ซีซไี อ ระหว่างภาคเอกชนของอาเซียน ได้เข้าไป มีบทบาทผลักดันให้เกิดความชัดเจนในการพัฒนาเศรษฐกิจของ อาเซี ย น และในสมั ย ต่ อ มาที่ ป ระธาน ส.อ.ท. ในวาระของ ดร.โชคชัย อักษรนันท์ ได้เป็นประธานอาเซียน-ซีซไี อ อีกวาระหนึง่ ในปี 2534-2536 ก็ได้มีการเสนอและผลักดันให้ อาเซียน-ซีซีไอ มี การจัดตั้งส�ำนักเลขาธิการอาเซียน-ซีซีไอถาวรขึ้น เพื่อติดตาม และดูแลเรื่องต่างๆ ของอาเซียน-ซีซีไอ อย่างมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง

ปี ส.อ.ท. 52 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

มอบโล่เกียรติคุณอดีตประธาน ASEAN-CCI

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นเจ้าภาพจัดประชุมสภา หอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียนครัง้ ที่ 65 (ASEAN-CCI) ณ โรงแรมคอนราด โอกาสนี้ Mr.Freddy Lam Fong Loy ประธานสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียนสิงคโปร์ เป็น ประธานมอบโล่เกียรติคุณแด่นายอานันท์ ปันยารชุน อดีต ประธานสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน วาระปี ค.ศ. 1981-1983 และดร.โชคชัย อักษรนันท์ อดีตประธานสภา หอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน วาระปี ค.ศ.1991-1994 โดยมี นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยในวาระนั้น ร่วมแสดงความยินดี

การเข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคเอกชนระดับประเทศ ก่อให้เกิด โครงการความร่วมมือ ในการพัฒ นาอุตสาหกรรมด้านต่า งๆ มากมาย โดยเฉพาะการช่วยเหลือด้านสิทธิประโยชน์ทางการค้า ภาษีอากร และการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี เช่น โครงการ ASEAN Industrial Co-operation Scheme (AICO) และโครงการ Brand to Brand Complementation ผลงานและภาพลักษณ์ของ ส.อ.ท. ในอดีต จึงแผ่กระจายให้ทั้งอาเซียน ได้รับทราบ เป็นส่วนของการ เสริมภาพลักษณ์ของนักอุตสาหกรรมไทยไปสู่ระดับโลก รั บ ผิ ด ชอบท� ำ หน้ า ที่ ป ระธานสภาธุ ร กิ จ ชายแดนภาคใต้ IMT-GT (Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle) ซึง่ เริม่ ด�ำเนินการตัง้ แต่ปี 2536 เพือ่ ประสานงาน แก้ไขปัญหาและ อุปสรรคทีภ่ าคเอกชนได้รบั ผลกระทบใน 6 สาขา คือ อุตสาหกรรม เกษตรและสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาล ท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การค้าการลงทุน การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและคมนาคม


เป็นผลต่อการส่งออก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ส่งเสริมให้สมาชิกผู้ส่ง ออกที่มีประวัติดีเด่น น่าเชื่อถือ ได้รับการจัดระดับเป็นผู้ส่งออก พิเศษต่อกรมศุลกากร เพื่อให้ได้รับสิทธิพิเศษทางด้านพิธีการ ส่งออก ปี พ.ศ. 2536 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รับ แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหารของ EAN-INTERNATIONAL ให้ เ ป็ น นายทะเบี ย นรหั ส แท่ ง ในประเทศไทย เมื่ อ วั น ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2536 โดยจัดตั้งสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย เป็น ผูบ้ ริหารงาน เพือ่ สนับสนุนส่งเสริมให้มกี ารใช้สญ ั ลักษณ์รหัสแท่ง และการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามระบบของ EAN เพื่อ พัฒนาการบริหารและการบริการธุรกิจของไทยให้มีมาตรฐาน สากล สามารถบริหารงานส่งออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วย ลดต้นทุนให้สามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก โดยรับโอน สมาชิกจากนายทะเบียนเดิมจ�ำนวน 124 ราย และพัฒนามาเป็น สถาบันรหัสสากล ในปัจจุบัน จัดตั้ง ศูนย์สาธิตและศึกษาการจัดการซัพพลายเชน (EPC/ RFID Center) เป็นศูนย์แห่งแรกและแห่งเดียวในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ที่สาธิตกระบวนการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์และ ซัพพลายเชน โดยใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ดมาตรฐานสากล การแลก เปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) และ Electronics Product Code / Radio Frequency Identification (EPC/RFID)

ปี พ.ศ. 2551 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้พจิ ารณา เห็นว่า ประเทศไทยได้น�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี มาใช้งานอย่าง แพร่หลายในภาคอุตสาหกรรม เพราะผูป้ ระกอบการเริม่ เข้าใจและ ยอมรับว่า RFID ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนได้จริง ดังนั้น เพื่อส่งเสริมความต้องการของผู้ประกอบการภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมไทย จึงจัดตั้ง สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทาง เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย ขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์กลาง การพัฒนาองค์ความรู้ และให้ค�ำปรึกษาด้านเทคโนโลยีอาร์เอฟ ไอดี (Radio Frequency Identification : RFID) จัดตัง้ ศูนย์ทดสอบและสาธิตการใช้งานอุปกรณ์อาร์เอฟไอดี (RFID Testbed) เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดการตืน่ ตัว ในวงการเทคโนโลยี อาร์เอฟไอดีในประเทศไทยอย่างเป็นระบบ และยังช่วยเหลือ ผู้ประกอบการในการพัฒนาอุปกรณ์ ชิ้นส่วน และซอฟท์แวร์ เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี อ าร์ เ อฟไอดี โดยมี พิ ธี เ ปิ ด เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ 19 มิถุนายน 2552

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

53


รับผิดชอบสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ปี พ.ศ. 2517 เกิดวิกฤตการณ์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าของ ประเทศ สมาคมอุตสาหกรรมไทย ในยุคที่คุณถาวร พรประภา เป็นนายกสมาคมฯ ได้ช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยก�ำหนดให้ท�ำ เคอร์ฟวิ เพือ่ ประหยัดพลังงานและน�ำ้ มัน โดยขอความร่วมมือจาก สมาชิกผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม ให้หยุดการใช้ไฟฟ้า ตอน 18.00-22.00 น. เพื่อเอาไฟฟ้าให้ประชาชนใช้ และหลัง 22.00 น. หมดช่วงเคอร์ฟิวแล้วอุตสาหกรรมจึงใช้ไฟฟ้าได้ตาม ปกติ ท�ำให้มีกระแสไฟฟ้าใช้อย่างพอเพียง แสดงให้เห็นความ ร่วมมือจากภาคเอกชนเพื่อประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งเป็น แนวคิดในการแก้ไขปัญหาของคุณพารณฯ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการสมาคมในขณะนั้น ปี พ.ศ. 2525 การประหยัดพลังงานเป็นเรื่องที่ส มาคม อุตสาหกรรมไทยตระหนักอยู่ตลอดมา ด้วยเห็นว่าพลังงานเป็น ปัจจัยส�ำคัญของการผลิตที่ภาคอุตสาหกรรมต้องค�ำนึงถึงและ เอาใจใส่รับผิดชอบ คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการ สมาคมฯ จึงได้รเิ ริม่ โครงการศูนย์อนุรกั ษ์พลังงานแห่งประเทศไทย ขึ้น และจัดตั้งส�ำเร็จในปี 2525 มีวัตถุประสงค์เพื่อการประหยัด พลังงาน ลดปัญหาการใช้พลังงานของประเทศ จนกระทัง่ ปี 2540 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้จัดตั้ง สถาบันพลังงาน เพื่ อ อุ ต สาหกรรม ขึ้น เพื่อดูแลในเรื่องการจัดการพลังงาน ส�ำหรับอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2533 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รับการ สนั บ สนุ น จากองค์ ก รเพื่ อ การพั ฒ นาระหว่ า งประเทศแห่ ง สหรัฐอเมริกา (The United States Agency for International Development, USAID) ด�ำเนินโครงการการจัดการสิ่งแวดล้อม

ปี ส.อ.ท. 54 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

อุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2533 เพื่อรณรงค์ให้ภาค อุ ต สาหกรรมไทย เกิ ด ความตื่ น ตั ว และตระหนั ก ต่ อ ปั ญ หา สิง่ แวดล้อม ซึง่ ได้รบั ความสนใจและการสนับสนุนจากหน่วยงาน ต่ า งๆ มากขึ้ น ในเดื อ นกั น ยายน 2538 สภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย จึงได้จดั ตัง้ ส�ำนักงานสิง่ แวดล้อมอุตสาหกรรม ขึน้ เพือ่ สนับสนุนการจัดการสิง่ แวดล้อมอุตสาหกรรม ให้เป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง จนเป็นสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม ในปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2548 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้อนุมัติ ให้จัดตั้ง สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่ง แวดล้อม ขึ้น เพื่อวางแผน ประสานงาน และด�ำเนินการให้ ปริมาณบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วในกองขยะทั่วประเทศลดลง ด้วยวิธี ที่ปลอดภัยและเหมาะสม เพื่อไม่ให้เป็นมลภาวะกับสิ่งแวดล้อม และลดภาระในการก�ำจัดให้กับองค์กรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเพื่อ พัฒนาส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์อย่างครบวงจร


แก้ปัญหาการประกอบอุตสาหกรรม การปรับปรุงระบบภาษีของไทยที่มีความซับซ้อน ขัดต่อการ พัฒนาการของอุตสาหกรรม ที่อยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการ เปลี่ยนแปลง ที่อุตสาหกรรมไทยมีความต้องการในเรื่องการส่ง เสริมการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมากขึน้ สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย จึงเสนอต่อรัฐบาลในเรื่องของการ Rebate ภาษี การ ขอลดภาษีสินค้าน�ำเข้า รวมทั้งการปรับระบบการคืนอากรตาม มาตรา 19 ทวิ โดยจัดระดับผู้นำ� เข้าสินค้า และเมื่อกระทรวงการ คลังได้ด�ำเนินการปฏิรูปโครงสร้างพิกัดอัตราภาษีศุลกากร เมื่อ เดื อ นมกราคม 2538 ซึ่ ง มี ผ ลกระทบต่ อ ผู ้ ป ระกอบการ สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ร่วมด�ำเนินการศึกษาผลกระทบ และเสนอแนะแนวทางแก้ไข เพื่อผลักดันให้มีการด�ำเนินการทาง ด้านภาษีทเี่ ป็นธรรมแก่ทกุ ฝ่าย นอกจากนีย้ งั ได้ทำ� การศึกษาหลัก เกณฑ์ แนวทางในการแก้ปัญหาอันเกิดจากการปรับโครงสร้าง ภาษีศลุ กากรและนโยบายภาษีอนื่ ๆ ของรัฐบาล รวมทัง้ ผลกระทบ ที่เกิดจากการปรับปรุงและแก้ไขกฎหมายภาษี เพื่อก�ำหนดเป็น จุดยืนของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมไทย ให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหา ภาษีเป็นอย่างมาก ได้เสนอให้ขยายฐานภาษีให้กว้างขึน้ และปรับ อัตราภาษีให้เหมาะสม เพื่อเพิ่มปริมาณผู้เสียภาษีเพิ่มขึ้น ท�ำให้ รัฐมีรายได้เพิ่มขึ้นโดยไม่กระทบกระเทือนผู้เสียภาษีเดิม รวมทั้ง มีการปรึกษากับกระทรวงการคลังเพื่อน�ำระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) มาใช้ ช่ ว งวิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ปี 2540 สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ได้มบี ทบาทส�ำคัญในการแก้ปญ ั หาหนีเ้ สีย NPL โดย ประสานงานกับภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อปรับ โครงสร้างหนี้ นอกจากนัน้ ยังมีการผลักดันการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือสมาชิก เกีย่ วกับปัญหาพิกดั และอัตราศุลกากร มาโดยตลอดจนถึงปัจจุบนั ผลักดันการแก้ไขปัญหากรณีการน�ำเข้าสารเคมี SULFUR CAS No. 7704-34-9 ออกจากบั ญ ชี ร ายชื่ อ ควบคุ ม วั ต ถุ อั น ตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ผลักดันให้มีการยกเลิกภาษีสรรพสามิตเครื่องปรับอากาศ ชนิดขนาดไม่เกิน 72,000 บีทียู/ชั่วโมง เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบ การอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศภายในประเทศ ซึ่งกระทรวง การคลังได้ออกประกาศและมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ 4 กันยายน 2552 เป็นต้นไป ผลักดันนโยบายการยกเว้นอากรขาออกสินค้าหนังดิบ และ ไม้ ย างพาราแปรรู ป เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระกอบการค้ า หนั ง ดิ บ โค กระบือ และกลุ่ม อุตสาหกรรมโรงเลื่อยและโรงอบไม้ ซึ่ง กระทรวงการคลังได้ออกประกาศยกเลิกภาษีขาออกและมีผล บังคับใช้ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2552 เป็นต้นไป นอกจากนี้ ยั ง ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาเกี่ ย วกั บ ด้ า นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ โดยจัดหาซอฟต์แวร์ทดแทนทีท่ ำ� งานได้ใกล้เคียงกับ ซอฟต์แวร์ต้นฉบับ ในราคาที่เหมาะสมกับผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดเล็ก เพือ่ แก้ปญ ั หาลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์ให้กบั สมาชิก ที่เดือดร้อน เช่น โปรแกรม GStarCAD เพื่อทดแทนโปรแกรม AutoCAD

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

55


น�ำประเทศเข้าสู่ “เศรษฐกิจฐานความรู้” ปี พ.ศ. 2535 ได้มีการจัดตั้ง สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ สิรินธร เป็นความร่วมมือของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่วมกับ สมาพันธ์องค์กรเศรษฐกิจแห่งประเทศญีป่ นุ่ (KEIDANREN) และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเริ่มจากการก่อตั้ง โครงการ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ เพื่อผลิต วิศวกรที่มีคุณภาพ ให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศ โดยจัดสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอุตสาหการ และ วิศวกรรมเครื่องกล ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 สภามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้อนุมัติให้จัดตั้งเป็นสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ โดยมีระบบบริหารงานของตนเองทีเ่ ป็นอิสระจากระเบียบราชการ จนได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อสถาบันว่า “สถาบัน เทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร” ในปี พ.ศ. 2539 และด้วยการ สนับสนุนและสานต่อของ ท่านผูห้ ญิงนิรมล สุรยิ สัตย์ บริษทั โตชิบา ประเทศไทย จ�ำกัด ได้มอบที่ดินจ�ำนวน 5.6 ไร่ พร้อมอาคาร ส�ำนักงานที่สวนอุตสาหกรรมบางกะดีให้สถาบันใช้ทำ� การ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2542 มุ่งพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐาน แรงงาน โดยการพัฒนาส่งเสริมความรู้ ความช�ำนาญแก่บุคลากร แรงงาน ช่างฝีมอื ให้มมี าตรฐานเทียบเท่าต่างประเทศ โดยร่วมมือ กับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ด�ำเนินโครงการดังนี้

โครงการพิเศษหลักสูตรเร่งด่วนการสอนด้านวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ให้กับพนักงานบริษัทสมาชิก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีจ่ บการศึกษาระดับ ปวส. เข้า ศึกษาต่อระดับวิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (วศ.บ.) และอุตสาหกรรม ศาสตร์ (อส.บ.) ในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเทเวศร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ธนบุรี และเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง

โครงการบั ณ ฑิ ต วิ ศ วกรรมศาสตร์ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดยสถานประกอบการเป็นผู้พิจารณาให้ทุนแก่ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ทขี่ าดแคลนทุนทรัพย์ และผูส้ ำ� เร็จ การศึกษาจะได้ท�ำงานในสถานประกอบการที่ให้ทุน โครงการสหกิจศึกษา ร่วมกับมหาวิทยาลัยสุรนารี โดยน�ำ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 3-4 มาฝึกงานที่สถาน ประกอบการเป็ น เวลา 4 เดื อ น ซึ่ ง ระยะยาวกว่ า ระยะเวลา การฝึกงานทั่วไป และเมื่อเรียนจบจะได้ท�ำงานทันที ปี ส.อ.ท. 56 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ปี พ.ศ. 2545 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ร่วมมือ กับกระทรวงแรงงาน ในการพัฒนาคนในจังหวัดต่าง ๆ เพือ่ ให้เกิด การผลิตบุคลากรสอดคล้องกับความต้องการภาคอุตสาหกรรม จึง ได้จัดตั้ง สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ ขึ้น เพื่อ รองรับการปฏิรูปการศึกษาโดยตรง และเพื่อส่งเสริมขีดความ สามารถให้กับบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2546 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตระหนักถึง ความส�ำคัญในการยกระดับสมรรถนะของก�ำลังคนในทุกสาขา อาชีพ ที่ต้องพัฒนาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก จึงได้น�ำ เสนอให้มีการจัดตั้ง สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพไทย ต่อรัฐบาล เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2546 และคณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบให้ ด�ำเนินโครงการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพไทย เมื่อวันที่ 26 ตุ ล าคม 2547 ตามข้ อ เสนอของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพือ่ พัฒนา มาตรฐานและคุณภาพแรงงานอย่างเป็นระบบ ตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และบัดนี้ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 ได้ก�ำหนดเป็นกฎหมายแล้ว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2554 เป็นต้นไป เพื่อเป็นหน่วยงานกลาง ท�ำหน้าที่ ก�ำหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ตาม ระบบสากล และให้การรับรองหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่รับรองความ สามารถของบุคคล (Accreditation Body : AB)

ผลักดันให้ภาครัฐลดอัตราเงินสมทบประกันสังคมในภาวะ วิกฤตเศรษฐกิจปี 2552 เพื่อช่วยเหลือนายจ้างและผู้ประกันตน โดยภาครัฐก�ำหนดให้ลดอัตราเงินสมทบของนายจ้างและผูป้ ระกัน ตนจากเดิมในอัตราฝ่ายละร้อยละ 5 เป็นอัตราฝ่ายละร้อยละ 3 มีผลใช้บังคับตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2552 – 31 ธันวาคม 2552 ปี พ.ศ. 2553 สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ ได้ ส�ำรวจความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมหลัก 6 อุตสาหกรรม ประกอบด้ ว ย อุ ต สาหกรรมชิ้ น ส่ ว นและอะไหล่ ย านยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศฯ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและ โลหะการ และ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อจัดท�ำ ข้อมูลความต้องการก�ำลังคนภาคอุตสาหกรรม ให้ทราบถึงทิศทาง ความต้องการแรงงานของอุตสาหกรรม และให้ภาครัฐ ภาคการ ศึกษาน�ำไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการผลิตและพัฒนาก�ำลัง คน ให้ภาคอุตสาหกรรมมีกำ� ลังคนใช้อย่างเพียงพอ ตรงสาขา และ สอดคล้องกับความต้องการต่อไป

ปี พ.ศ. 2551 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้จดั ท�ำฐาน ข้อมูลความต้องการแรงงานของสมาชิก ส.อ.ท. เพื่อเป็นศูนย์รวม ข้อมูลความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ให้บริการผ่าน www.ftijob.com เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานภาค อุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2551 เพื่ อ พั ฒ นาเสริ ม สร้ า งองค์ ค วามรู ้ ด ้ า น โลจิ ส ติ ก ส์ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ สวนสุ นั น ทา จั ด ท� ำ โครงการ หลั ก สู ต ร ปริญญาโทการจัดการ โลจิสติกส์เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อผลิตและ พัฒนาก�ำลังคนด้านโลจิสติกส์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

57


เชิดชูเกียรติภูมินักอุตสาหกรรมไทย ด้วยบทบาทและการด�ำเนินงานของ ส.อ.ท. สู่เป้าหมายส�ำคัญที่เป็น ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม ทั้งด้านต่างประเทศ การพัฒนาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม พลังงาน การศึกษา แรงงาน ส่งผลให้เกียรติภูมิของ อุตสาหกรรมไทย เป็นที่ประจักษ์ในสังคมโลก แสดงให้เห็นภาวะผู้น�ำของนัก อุตสาหกรรมไทย ไม่ว่าจะเป็น นายกสมาคมอุตสาหกรรมไทย ประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ กรรมการหลายท่าน ทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจ จากประชาชนคนไทย ให้เข้าไปร่วมบริหารประเทศในต�ำแหน่งทีม่ เี กียรติสงู เช่น นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี วุฒิสมาชิก ดังนี้ นายกรัฐมนตรี ได้แก่

นายทวี บุณยเกตุ นายอานันท์ ปันยารชุน

รองนายกรัฐมนตรี ได้แก่

พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร นายพงส์ สารสิน

รัฐมนตรี ได้แก่

นายสะพรั่ง เทพหัสดิน ณ อยุธยา นายประกายเพชร อินทุโศภณ นายชาญ มนูธรรม นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี

วุฒิสมาชิก ได้แก่

นายเปล่งศักดิ์ ประกาศเภสัช นายชุมสาย หัสดิน นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ดร.โชคชัย อักษรนันท์ ท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์

บทสรุป ด้วยหลักการที่สมาคมอุตสาหกรรมไทย ได้ก�ำหนดขึ้นตั้งแต่ แรกเริม่ ยังคงใช้มาจนกระทัง่ ยกฐานะเป็นสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จนถึงปัจจุบัน ด้วยความร่วมมือร่วมใจของสมาชิก โดยไม่หวังเพียงจะเป็น ผูร้ บั อย่างเดียว แต่คำ� นึงถึงประโยชน์สว่ นรวมเป็นส�ำคัญ ด้วยพลังแห่งความ สามั ค คี จึ ง เสริ ม สร้ า งให้ อุ ต สาหกรรมไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยในวันนี้ เกิดความมั่นคง แข็งแกร่งขึ้น จากสมาชิกเริ่มแรกไม่ถึง 30 ราย ได้ขยายเติบโตจนมีสมาชิกกว่า 7,000 รายในปัจจุบัน สิรยาภา บูรณพิเชษฐ์

ปี ส.อ.ท. 58 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

เรียบเรียง


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

59


ก้าวผ่านปีที่ 44 สู่ปีที่ 45 ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ปี 2554 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ดำ� เนินภารกิจ อย่ า งมุ ่ ง มั่ น มาครบ 44 ปี เป็ น ปี ที่ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ต้องรับผิดชอบต่อการพัฒนา และแก้ไขปัญหา การประกอบอุ ต สาหกรรมภายในประเทศอย่ า งหนั ก หน่ ว ง เนื่องจากเป็นปีที่ประเทศไทยประสบภัยพิบัติมหาอุทกภัย ท�ำให้ ประชาชนและผู้ประกอบการ ได้รับความเดือดร้อนเป็นวงกว้าง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้ดำ� เนินการเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประกอบการที่ประสบความเดือดร้อนจากมหาอุทกภัย ดังนี้ ร่วมกับโครงการคลินิกอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 5. การจัดท�ำ “คู่มือ ฟื้นฟู SMEs หลังน�้ำท่วม” เพื่อแจกแก่ อุตสาหกรรมและผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากมหาอุทกภัย ในการนี้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้น�ำเสนอมาตรการ ป้องกัน บรรเทา และ ฟื้นฟู ต่อรัฐบาล คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน ดังนี้ 1. มาตรการป้องกันพืน้ ทีช่ มุ ชน พืน้ ทีเ่ มือง นิคมอุตสาหกรรม 2. มาตรการป้องกันทรัพย์สินของผู้ประสบภัยจากมิจฉาชีพ 3. มาตรการผ่อนปรนการช�ำระเงินต้นและดอกเบีย้ เพือ่ ไม่ให้ ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบฯ ต้องเป็น NPL 1. การประชุมหารือเพื่อน�ำเสนอมาตรการป้องกัน เยียวยา ฟื้นฟู และสร้างความเชื่อมั่นส�ำหรับการลงทุนในอนาคต ร่วมกับ รองนายกรัฐมนตรี นายกิตติรตั น์ ณ ระนอง กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง กระทรวงแรงงาน ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ศูนย์ปฏิบัติการ ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมประกอบธุรกิจประกันภัย สมาคมประกันวินาศภัย พรรคประชาธิปัตย์ และคณะมูลนิธิ ฉือจี้ไต้หวันในประเทศไทย 2. โครงการ Demand-Supply Matching เพื่อประสานงาน จับคู่ความต้องการความช่วยเหลือ และ ความพร้อมที่จะให้ความ ช่วยเหลือ ของผู้ประกอบการฯ เป็นกรณีพิเศษ 3. ลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเร่งรัดช่วยเหลือฟื้นฟูเครื่องจักรและอุปกรณ์ ให้สามารถ กลับสู่การผลิตปกติโดยเร็ว 4. ลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับ 6 สถาบันการศึกษา ประกอบด้วย สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีไทยญีป่ นุ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 สถาบัน และ ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อฟื้นฟูผู้ประกอบการ SMEs ปี ส.อ.ท. 60 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

4. ขยายเวลาขอสิทธิ BOI เป็นกรณีพิเศษส�ำหรับผู้ประกอบ การที่ได้รับผลกระทบฯ 5. จัดตั้งศูนย์ประสานงานฟื้นฟูแบบบูรณาการภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมในแต่ละนิคม/พื้นที่ 6. จัดตั้งกองทุนฟื้นฟูอุตสาหกรรมหลังน�้ำท่วม (Soft Loan) 7. ช่วยเหลือและผลักดันให้โรงงานได้รับเงินสินไหมทดแทน โดยเร็ว 8. ยกเว้นการส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นระยะ เวลา 1 ปี โดยลูกจ้างคงได้รับสิทธิประโยชน์เหมือนเดิม 9. ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในนิคมอุตสาหกรรมควบคู่กับ การลดระดับน�้ำ และวางแผนป้องกันระยะยาว


10. ผ่อนผันระเบียบการน�ำเข้าเครื่องจักร วัตถุดิบ ตลอดจน ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจากต่างประเทศ 11. ช่วยเหลือโรงงานที่ได้รับ BOI และได้รับผลกระทบจาก อุทกภัย ในการน�ำเข้าเครื่องจักรมาทดแทนเครื่องจักรเก่าที่ได้รับ ความเสียหาย 12. ช่วยเหลือโรงงานที่ได้รับ BOI สามารถเคลื่อนย้าย เครื่องจักรออกนอกพื้นที่ได้เป็นการชั่วคราวโดยไม่ต้องประกาศ ล่วงหน้าหรือได้รับอนุญาตจาก BOI 13. ยกเว้นภาษีน�ำเข้าสินค้าและปรับปรุงขั้นตอนการน�ำเข้า เครื่องจักรและชิ้นส่วนให้สะดวกขึ้น

2. โครงการ “ห้องสมุดสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย” มอบแด่โรงเรียนขาดแคลน โดยเริ่มด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปี 2554 รวม 5 โรงเรียน ใน 5 จังหวัด : สุพรรณบุรี ชลบุรี นครปฐม นครสวรรค์ จันทบุรี 3. กิจกรรมช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิประเทศญี่ปุ่น โดย เชิญชวนสมาชิกร่วมบริจาคเงิน จัดกิจกรรม “สภาอุตสาหกรรมฯ รวมใจ ช่อง 3 ช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิญี่ปุ่น” จัดท�ำเสื้อ “Japan will rise again” จ�ำหน่าย สรุปยอดเงินบริจาคทั้งสิ้น 2,000,000 บาท

14. ชะลอหรือเลื่อนการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต�ำ่ 300 บาท ออก ไปเป็นปี 2556 15. ขอให้พจิ ารณาน�ำเงินกองทุนประกันสังคม มาจ่ายชดเชย ให้แก่ลูกจ้างในช่วงที่ปิดกิจการชั่วคราว โดยไม่มีการเลิกจ้าง 16. เสนอให้มกี ารลดหย่อนอัตราภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ยส�ำหรับงาน รับเหมาช่วงต่อ จากร้อยละ 3 เป็น ร้อยละ 0.5 นอกจากความช่วยเหลือต่อผูป้ ระกอบการ สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ยังตระหนักในเรื่องชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน จึงได้จัดท�ำโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วย เหลือและบรรเทาความเดือดร้อน แก่ประชาชนในชุมชนต่าง ๆ ดังนี้ 1. การให้ความช่วยเหลือในเบือ้ งต้นต่อผูป้ ระสบมหาอุทกภัย โดยเชิญชวนสมาชิกร่วมบริจาค ได้ยอดเงินทัง้ สิน้ 1,650,000 บาท และลงพืน้ ทีม่ อบเรือ ถุงยังชีพ อาหารกล่อง แก่ผปู้ ระสบภัยในพืน้ ที่ จังหวัด ชัยนาท อ่างทอง ลพบุรี อุทัยธานี พระนครศรีอยุธยา นนทบุรี และปทุมธานี รวมทั้งลงพื้นที่ฟื้นฟูหลังน�้ำลดในจังหวัด นครสวรรค์ สิงห์บุรี และนนทบุรี

4. โครงการ “บ้ า นปลาเฉลิ ม พระเกี ย รติ ” เพื่ อ เป็ น การ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในวโรกาสทรง เจริญพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา โดยร่วมกับหน่วยงานภาคี จัดท�ำโครงการสร้างและวางปะการังเทียมน�ำร่องในจังหวัดปัตตานี 2 แห่งในอ�ำเภอหนองจิก และยะหริ่ง 5. โครงการ “84 พรรษา 84 ล้านกิโลกรัม ร่วมใจรีไซเคิลเพื่อ พ่อ” เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา และโครงการจัดการบรรจุภัณฑ์ ขยะบรรจุภณ ั ฑ์และขยะมูลฝอย ในหมูบ่ า้ นจัดสรร ชุมชน เทศบาล สถาบันอุดมศึกษา โรงเรียน และส�ำนักงานต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง 6. เข้าร่วมใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและ สร้างอนาคตประเทศ (กยอ.). และ คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อ วางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ (กยน.) ในการแก้ปญ ั หา ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้งานช่วยเหลือเยียวยา ฟื้นฟู ป้องกันและเฝ้าติดตาม ด�ำเนินไปด้วยดี น�ำประโยชน์สุขและการ พัฒนาที่ยั่งยืนมาสู่ประเทศและเศรษฐกิจของชาติต่อไป สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

61


ปี ส.อ.ท. 62 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

63


ปี ส.อ.ท. 64 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


กลมุ่บรษิทั วูด้เวอรค์

ดาํเนินธุรกิจเก่ียวกบัไมย้างพาราแปรรูปและช้ ินสว่นเฟอรน์ิเจอร ์  ผลติช้ ินสว่นเฟอรน์ิเจอร ์ บรษิทั วูด้เวอรค์ ไซโตะ จาํกดั

 แปรรูปไมย้างพารา อดัน้ าํ ยาและอบแหง้ ประกอบดว้ย บรษิทั วูด้เวอรค์ ครเีอชน่ั จาํกดั บรษิทั วูด้เวอรค์ ยไูนเตด็ จาํกดั บรษิทั วูด้เวอรค์ แอดวานซ ์ จาํกดั บรษิทั วูด้เวอรค์ องัสุธน จาํกดั บรษิทั วูด้เวอรค์ บี.พี. จาํกดั บรษิทั วูด้เวอรค์ ควอลติ้ ี จาํกดั

 สาํนกังานขาย บรษิทั วูด้เวอรค์กรุป๊ จาํกดั

“Think of best think of WOODWORK”

สาํนกังานตง้ั อยเู่ ลขท่ี ��� ม.� ต.หนองชา้งแลน่ อ.หว้ยยอด จ.ตรงั ����� โทรศพัท ์ ���-������-�� โทรสาร ���-������

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

65


ปี ส.อ.ท. 66 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ประธาน ส.อ.ท.

กับการบริหารงานอุตสาหกรรม

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

67


สัมภาษณ์พิเศษ นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในโอกาสนี้ทางทีมงานได้รับโอกาสในการเข้าสัมภาษณ์พิเศษ นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับบทบาทของภาคอุตสาหกรรมไทย ต่อระบบเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศของประเทศไทย ซึ่งท่านได้ให้ข้อคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี ้ • ภาคอุตสาหกรรมมีความส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของ ประเทศอย่างไรบ้าง ในอดีตที่ผ่านมา เมื่อครั้งที่ประเทศไทยยังไม่มีแผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ ตอนนั้นอัตราการเติบโตของ GDP มีเพียงแค่ 6.8% เท่านั้น ต่อมาจึงได้นำ� แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 1 มาใช้ในปี พ.ศ. 2504 เมื่อพิจารณาถึงการเติบโตของอุตสาหกรรมก็จะ สามารถแบ่งยุคของการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ออกเป็น 3 ช่วง ด้วยกัน คือ • ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 1-5 (2504-2529) จะมุง่ เน้นการส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน การลงทุนต่างชาติ เน้นการ ส่งออก ท�ำให้อตั ราการเติบโตของ GDP เท่ากับ 9.1% สูงกว่าก่อน มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 6-7 หรือ ช่วงก่อนวิกฤต เศรษฐกิจและย้ายฐานการผลิตมายังไทย (2530-2539) เนือ่ งจาก ไทยมีคา่ จ้างแรงงานทีต่ ำ�่ ท�ำให้ไทยกลายเป็นจุดหมายปลายทาง ของการย้ายฐานการผลิต • แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8-10 หรือช่วงหลังวิกฤต เศรษฐกิ จ (ปี 2540-ปั จ จุ บั น ) รั ฐ ใช้ น โยบายปรั บ โครงสร้ า ง อุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะกับ SMEs รวมทั้งสร้างกลไกรองรับการค้าเสรีที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นการผลิตภาคอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมีความ ส�ำคัญทัง้ ในแง่การสร้างรายได้ในรูปของเงินตราต่างประเทศให้กบั ประเทศ อันน�ำมาซึ่งความมั่นคงทางการเงินของประเทศ และยัง มีความส�ำคัญในแง่การสร้างงาน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับประเทศ น�ำมาซึ่งความอยู่ดีกินดีของประชาชนในชาติ เมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศในภูมภิ าค ประเทศไทยกลายเป็น ประเทศผู้ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่ส�ำคัญของโลกจนอยู่ใน อันดับ Top Twenty ในหลายๆ ประเภทสินค้า เช่น เครื่องใช้ อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ แผงวงจรไฟฟ้า อุปกรณ์สื่อสาร สิ่งทอ และเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป

ปี ส.อ.ท. 68 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

• ในกระแสการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเศรษฐกิจโลก ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงใดที่มีผลต่อภาคอุตสาหกรรม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นมีหลากหลาย ปัจจัย ในทีน่ ผี้ มขอกล่าวถึงแต่ปจั จัยทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจน นัน่ ก็คอื - ราคาน�้ำมัน/อัตราเงินเฟ้อสูง/อัตราดอกเบี้ยนโยบาย จะส่ง ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นวงกว้าง โดยจะกระทบต่อความ เชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภคและนักลงทุน ต้นทุนการผลิตเพิม่ ขึน้ ซึง่ จะน�ำ ไปสู่การชะลอการลงทุน - ค่าเงินผันผวน การไหลเข้าและออกของเงินทุนเคลื่อนย้าย ซึ่งเกิดจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศหลักชะลอตัว ท�ำให้การ เคลื่อนย้ายเงินมาสู่ประเทศก�ำลังพัฒนามีมากขึ้น โดยเฉพาะใน ภูมิภาคเอเชีย มีผลท�ำให้ค่าเงินในภูมิภาค รวมถึง ค่าเงินบาท ของไทยแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องท�ำให้ความได้เปรียบในการ ส่งออกลดลง


- การขาดแคลนแรงงานในบางอุตสาหกรรม นับเป็นอุปสรรค ทีส่ ำ� คัญอีกประการหนึง่ ต่อการขยายตัวของอุตสาหกรรม เนือ่ งจาก การขาดแคลนแรงงานจะท�ำให้สูญเสียโอกาสในการแข่งขันและ ยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำ� ให้ต้นทุนการผลิตและเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น - การเพิ่มขึ้นของฐานรายได้ของผู้บริโภคฐานรากและระบบ เศรษฐกิจโดยรวม เช่น การปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการ การปรับ ค่าจ้างขั้นต�่ำ - มาตรการการกระตุน้ เศรษฐกิจจากภาครัฐ ซึง่ มีงบประมาณ ในการด�ำเนินโครงการทีจ่ ะกระตุน้ เศรษฐกิจในภาพรวมให้ดขี นึ้ ได้ อาทิ โครงการประชาวิวฒ ั น์ หรือมาตรการกระตุน้ การปล่อยสินเชือ่ จากสถาบันการเงิน เป็นต้น • ปัจจัยภายในประเทศทีจ่ ะส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมมีอะไร บ้าง ส�ำหรับปัจจัยภายในประเทศที่ส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมมี อยู่ด้วยกัน 3 ประการ คือ - การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ ในช่วงที่ผ่านมาภาค อุตสาหกรรมเป็นแหล่งสร้างงานหลักและสร้างรายได้จากการส่ง ออกให้ประเทศ แต่ภาคอุตสาหกรรมบางสาขาก็เริ่มสูญเสียขีด ความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศที่มีแรงงานและต้นทุน วัตถุดิบต�่ำกว่า - ประเทศไทยจะเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมากขึ้น แนวโน้ม ดั ง กล่ า วจะส่ ง ผลกระทบต่ อ ปั ญ หาการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะในภาคเกษตรและภาคบริการ ปัจจุบนั เริม่ มีแรงงานจาก ประเทศเพือ่ นบ้านเข้ามาท�ำงานในประเทศไทยจ�ำนวนมาก เราจึง ต้องเตรียมการรองรับกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยการ สร้างระบบสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีการออมที่พอเพียงหลังเกษียณ การให้มบี ริการสาธารณสุขทีด่ ี และการสร้างโอกาสให้ผสู้ งู อายุได้ ท�ำงานหรือท�ำประโยชน์แก่สังคมได้มากขึ้น - การเปลี่ยนแปลงความเป็นเมืองมากขึ้น ประเทศไทยจะมี ประชากรเมืองเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนประชากรเมืองจะเพิ่มขึ้น ขณะ ที่ประชากรในชนบทจะลดลง เราจึงต้องมีการวางแผนล่วงหน้า และบริหารจัดการการขยายตัวของเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่ มี ประสิทธิภาพ และมีความยั่งยืน • ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยในระยะ 20 ปี ข้าง หน้าควรเป็นอย่างไร ในอีก 20 ปีข้างหน้าการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย นั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ที่มีความไม่แน่นอนสูง ดังนั้น จึงต้อง พิ จ ารณาปั จ จั ย หลั ก ๆ ที่ จ ะมี ผ ลกระทบต่ อ ประเทศ ทั้ ง ด้ า น เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม โดยหามาตรการทีเ่ หมาะสม เพื่อสร้างโอกาสและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประเทศภายใต้สภาวะ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ได้แก่ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ “เศรษฐกิจสีเขียว” การสร้างฐานปัจจัยการผลิตให้เข้มแข็ง พัฒนา ความร่ ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น วางแผนเรื่ อ งการอพยพ โยกย้ายแรงงาน และทรัพยากรระหว่างประเทศ การเชื่อมโยงกัน

ของภาคการผลิตระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานและโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ เ ชื่ อ มโยง ให้ มี คุณภาพ และเพียงพอต่อการตอบสนอง เป็นต้น • การยกระดับศักยภาพของผูป้ ระกอบการให้มคี วามเข้มแข็ง และยั่งยืน ควรจะด�ำเนินการอย่างไร การด�ำเนินการของผูป้ ระกอบการเพือ่ จะให้เกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืนนั้น มีอยู่ 2 ประการด้วยกันคือ การบริหารจัดการ (Management) ซึง่ ผูป้ ระกอบการเองควรมีการจัดการบริหารงาน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่น น�ำระบบ Lean มาใช้ใน อุตสาหกรรมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ซึง่ ระบบ Lean คือการ ออกแบบและการจัดการกระบวนการ ระบบ ทรัพยากรและ มาตรการต่างๆ อย่างเหมาะสม ท�ำให้สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในครัง้ แรกทีด่ ำ� เนินการ โดยพยายามให้ เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด (Minimum Waste) หรือมีส่วนเกินที่ ไม่ จ� ำ เป็ น น้ อ ยที่ สุ ด หรื อ ใช้ Productivity คื อ การปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิตเพือ่ ให้ผลผลิตมีปริมาณหรือมีมลู ค่าเพิม่ สูง ขึ้ น โดยค� ำ นึ ง ถึ ง การใช้ ค วามก้ า วหน้ า ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีในการปรับปรุงคุณภาพ อีกประการคือ การสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) การหันมาให้ ความส�ำคัญต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ไม่ว่าจะ เป็นกระแสของพฤติกรรมการบริโภคทีเ่ ปลีย่ นไปทีม่ กี ารเน้นความ เป็นปัจเจกบุคคลมากขึ้น รวมถึงการผลิตสินค้าที่ต้องมีความ รวดเร็วเพิม่ ขึน้ นอกจากนีย้ งั ต้องเข้าใจการค้าในปัจจุบนั ว่าเป็นไป ในทิศทางที่เสรีมากขึ้น ท�ำให้บทบาทของการค้าระหว่างประเทศ มีมากขึน้ ซึง่ หมายความว่าการค้าระหว่างประเทศจะมีบทบาทต่อ เศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้น ในท้ายที่สุด ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ ฝากถึงผู้ประกอบการทุกท่านในการเตรียมความพร้อมและยก ระดั บ ศั ก ยภาพของตน ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมไทยในการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถและศั ก ยภาพ ทางการแข่งขันในระดับนานาชาติ อันน�ำไปสูก่ ารพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมให้มีความสมดุล เป็นฐานรากในการพัฒนาประเทศไป สู่ความยั่งยืนต่อไป สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

69


ปี ส.อ.ท. 70 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

71


ปี ส.อ.ท. 72 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ยุทธศาสตร์การบริหาร

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

73


ยุทธศาสตร์การบริหารงานของนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อให้อุตสาหกรรมของประเทศไทยเจริญก้าวหน้าได้อย่างบูรณาการ ในฐานะประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์การบริหารงานเป็น 6 ยุทธศาสตร์หลัก ดังต่อไปนี้

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยในแนวทางการสร้างคุณค่าด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมอย่างครบวงจรและสามารถต่อยอดเชิงพาณิชย์ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ภาคอุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่มุ่งเน้นด้านทุนและแรงงาน เป็นหลัก โดยใช้วธิ กี ารลดต้นทุนด้วยวัตถุดบิ และแรงงานราคาถูก ผลที่ตามมาคือ ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ไทยในตลาดโลกอยูใ่ นระดับทีค่ อ่ นข้างต�ำ่ การทีจ่ ะก้าวเข้าสูส่ งั คม ฐานความรู้นั้น ต้องมุ่งเน้นการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานในการรองรับเทคโนโลยีชั้นสูงที่จะได้รับถ่ายทอดจากต่าง ประเทศควบคูไ่ ปกับการคิดค้นและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ คิดขึน้ มาได้เองภายในประเทศ ซึง่ ในยุทธศาสตร์ที่ 1 นีจ้ ะประกอบ ไปด้วย - สนับสนุนการกระจายงานวิจยั นวัตกรรมสูภ่ าคอุตสาหกรรม ทั่ ว ประเทศ (โครงการคู ป องนวั ต กรรมส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม) - ทบทวนการพัฒนานโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ และสิทธิ ประโยชน์ตา่ งๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั เพือ่ สร้างแรง จูงใจในการท�ำ R&D - ส่งเสริมสนับสนุนในการเพิม่ ศักยภาพของ SMEs ให้มคี วาม สามารถในการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ดว้ ยตนเองอย่าง ต่อเนื่องและระยะยาว - ส่งเสริมการเชือ่ มโยงและต่อยอดผลวิจยั และพัฒนาระหว่าง อุตสาหกรรม สถาบันการศึกษาและหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ และท�ำให้ SMEs สามารถเข้าถึง Innovation

ปี ส.อ.ท. 74 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


การด�ำเนินงานของยุทธศาสตร์นี้มีโครงการ ดังนี้ โครงการพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ที่สอด รับกับความต้องการของตลาดใหม่ (Furniture Design) เพื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs ในสาขาเฟอร์นิเจอร์ได้รับทราบ ทิศทางและแนวโน้มความต้องการของตลาดแต่ละกลุม่ เป้าหมาย ทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงตามภาวการณ์ ตลอดจนเป็นการพัฒนาและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติที่ท�ำให้ผู้ ประกอบการ SMEs มีแนวคิดที่น�ำไปสู่การออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยมีผู้ประกอบการที่ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วม โครงการจ�ำนวน 41 บริษทั 45 ผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้ คาดว่าเมือ่ เสร็จสิน้ โครงการจะสามารถสร้างมูลค่าในเชิงพาณิชย์ได้ไม่น้อยกว่า 15 ล้านบาท

โครงการพัฒนาการออกแบบอุตสาหกรรมอัญมณี และ เครื่องประดับไทย เพื่อยกระดับความรู้ ทักษะแรงงานใหม่ และทักษะแรงงาน เดิ ม ที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ มี ค วามสามารถ เพื่ อ รองรั บ และทั น ต่ อ ความ เปลี่ยนแปลงและเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐาน และความ สามารถในการสร้ า งความแตกต่ า งของผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยน� ำ เทคโนโลยี ม าพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เ กิ ด ความแตกต่ า ง และ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ซึ่งได้ด� ำเนิน การสอน เกีย่ วกับการออกแบบเครือ่ งประดับด้วยมือ และการออกแบบด้วย คอมพิวเตอร์และการสร้างต้นแบบ จ�ำนวน 3 ครั้งๆ ละ 20 ราย รวมทั้ ง จั ด ท� ำ Workshop นั ก ออกแบบมื อ อาชี พ ไทยโดยมี นักออกแบบเครื่องประดับที่มีชื่อเสียงเป็นวิทยากร และจัดอบรม ซึ่ ง คาดว่ า เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การด� ำ เนิ น โครงการจะสามารถสร้ า ง นักออกแบบจ�ำนวน 43 คน

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

75


ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน โดยสภาอุตสาหกรรมฯ ได้จัดท�ำกลยุทธ์ในการด�ำเนินการ ดังนี้ 1. สนับสนุนอุตสาหกรรมให้มกี ารปรับปรุงประสิทธิภาพ โรงงานและระบบบริหารจัดการเพือ่ ลดมลภาวะและอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง (Process Efficiency) ด้วย การส่งเสริมให้อุตสาหกรรมปรับปรุงกระบวนการผลิตและระบบ โลจิสติกส์ เพือ่ ลดการใช้ทรัพยากรและมลภาวะ ผลักดันการจัดท�ำ VOC inventory และติดตั้งอุปกรณ์ลด VOC จากแหล่งก�ำเนิด อย่างต่อเนือ่ ง และจัดตัง้ คณะท�ำงานพิจารณาความเหมาะสมและ ประสิทธิภาพของมาตรการและแผนการบริหารจัดการสารอินทรีย์ ระเหยง่าย (VOCs ) ของผู้ประกอบการในพื้นที่มาบตาพุด และ ท�ำงานร่วมกับ 36 โครงการที่เกี่ยวข้องกับสาร VOCs 3 ชนิด และ จัดท�ำแผนการปรับลดและควบคุมสาร VOCs ระหว่างปี 25542556 เป็นต้น 2. ร่วมมือกับภาครัฐในการแก้ไขปัญหาผังเมือง รวมถึง Protection Strip และ Buffer Zone เพื่อให้เกิดดุลยภาพ ระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรมและความเป็นอยู่ที่ดีของ สั ง คม โดยสภาอุตสาหกรรมฯ ได้สนับสนุนและผลักดันให้ผู้ ประกอบการจัดท�ำ Protection strip รวม 10.4 กม. (แล้วเสร็จเมื่อ เดือน พฤษภาคม 2554) พร้อมทั้งร่วมมือกับภาครัฐ ท้องถิ่น และ ส่วนกลางในการจัดท�ำผังเมืองรวมมาบตาพุดอย่างบูรณาการ น�ำ แนวคิดในการจัด Cluster อุตสาหกรรม โลจิสติกส์และการบริหาร จัดการของเสียมาใช้ประกอบการจัดท�ำผังเมืองในระยะต่อไป 3. สนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมร่วมกันจัดท�ำโครงการ ช่วยเหลือชุมชนในรูปแบบต่างๆ อย่างจริงจัง (CSR & Social Enterprise) โดยจะขอยกตัวอย่างที่ได้ดำ� เนินการแล้ว ดังนี้ - สนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมจัดท�ำโครงการช่วยเหลือและ สนับสนุนชุมชนรอบโรงงาน เช่น คลินิกปันน�้ำใจ หน่วยแพทย์ เคลือ่ นที่ กองทุนเพือ่ ชุมชน สร้างอาคารเรียน ให้ทนุ การศึกษา ฯลฯ - ร่วมด�ำเนินโครงการจัดตั้งธนาคารวัสดุรีไซเคิลชุมชน 400 ชุมชน โครงการจัดตัง้ ศูนย์วสั ดุรไี ซเคิลของกลุม่ อาชีพซาเล้ง 8 ศูนย์ - ร่วมด�ำเนินโครงการ 84 พรรษา 84 ล้านกิโลกรัมร่วมใจ รีไซเคิลเพื่อพ่อ - สร้างเครือข่ายรีไซเคิลทั่วประเทศ - สนับสนุนให้อุตสาหกรรมเข้าร่วมโครงการ CSR-DIW 4. สนับสนุนการมีสว่ นร่วมของชุมชนและองค์กรพัฒนา เอกชนในการแก้ไขปัญหาและตรวจสอบสภาวะสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จดังนี้คือ - ร่วมเป็นผู้แทนในคณะกรรมการ 4 ฝ่าย - ร่วมกับ ทส., อก., ศธ., วท., สมาคมนักวิชาชีพไทยในอเมริกา และแคนาดา ตกลงความร่ ว มมื อ กั น แก้ ป ั ญ หาวิ ก ฤติด้านสิ่ง แวดล้อมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์และความรูจ้ าก ต่างประเทศมาสนับสนุน ปี ส.อ.ท. 76 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

- ประสานงานชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนและผูป้ ระกอบการ เพื่อร่วมกันก�ำหนดแนวทางในการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม - สนับสนุนให้อตุ สาหกรรมด�ำเนินงานเกีย่ วกับโครงการทีอ่ าจ ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงตามแนวทางที่คณะกรรมการ 4 ฝ่ายก�ำหนด และผลักดันให้ 76 โครงการจัดท�ำ EHIA ตามที่ได้ ยืนยันกับประชาชน - สนับสนุนการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการตรวจสอบดูแลสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง - สนับสนุนการด�ำเนินงานศูนย์เพือ่ นชุมชน เพือ่ ร่วมมือกันแก้ ปัญหากรณีฉุกเฉิน รับฟังความเดือดร้อนและช่วยเหลือชุมชนได้ อย่างรวดเร็ว - สนับสนุนให้เกิดธุรกิจเพื่อสังคม 5. ร่วมมือกับภาครัฐผลักดันให้เกิดเมืองอุตสาหกรรมเชิง นิเวศน์ (Eco Industrial Town) อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งได้ด�ำเนิน การในหลายโครงการ อาทิเช่น รณรงค์และเผยแพร่แนวคิดเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องน�ำไปปฏิบัติให้เกิด ขึน้ จริง, ร่วมกับภาครัฐจัดท�ำข้อก�ำหนดของ Eco Industrial Town, ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ METI-KANSAI และ JETRO, ร่วมมือกับ กนอ. เพื่อพัฒนาไปสู่ Eco Industrial Estate, สนับสนุนและให้ความรูแ้ ก่อตุ สาหกรรมในการประยุกต์ใช้หลัการ Reduce-Reuse-Recycle เพือ่ ให้เกิด Eco Factory ทัง้ ในและนอก นิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น


ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการด�ำเนินธุรกิจในรูปแบบคลัสเตอร์และซัพพลายเชน ซึ่งจะน�ำไปสู่ความเข้มแข็ง ของภาคอุตสาหกรรม โดยการสร้ า ง Competitive Advantage ให้ กั บ ภาค อุตสาหกรรม และการใช้กลไกจากสถาบันอุตสาหกรรมเฉพาะทาง ข้อดีของการรวมกลุ่มเป็นคลัสเตอร์ 1. แบ่งปัน Order / ทรัพยากร / ความรู้ 2. Quick Response 3. การซื้อวัตถุดิบ Derivative / การพึ่งพาวัตถุดิบ 4. ประโยชน์จากการเจรจาต่อรอง ปัจจุบนั ยุทธศาสตร์ที่ 3 มีโครงการทีด่ ำ� เนินการอยู่ 4 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม อุตสาหกรรมไม้ยางพาราในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าว ไทย (Industrial Cluster Development) - กสอ. เพือ่ ส่งเสริมและ พัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมไม้ยางพาราง (Cluster) รวมไปถึงมีการก�ำหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิ การในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไม้ ยางพาราได้อย่างชัดเจน ในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุง

2. โครงการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม อุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าว ไทย (Industrial Cluster Development) - กสอ. เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาให้เกิดการรวมกลุม่ อุตสาหกรรมไม้ยางพารา (Cluster) รวม ไปถึงมีการก�ำหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ ในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปาล์ม น�ำ้ มันได้อย่างชัดเจน ในพืน้ ทีก่ ลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย ได้แก่ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุง ทั้งนี้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันในเขตพื้นที่ภาคใต้ฝั่ง อ่าวไทย สามารถด�ำเนินการพัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมได้ ด้ ว ยตั ว เองอย่ า งมั่ น คง และต่ อ เนื่ อ งต่ อ ไปตามแนวทางของ คลัสเตอร์ไม่น้อยกว่า 20 บริษัท รวมทั้งภาครัฐ และผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ ฝั่งอ่าวไทย มีแผนยุทธศาสตร์ทสี่ ามารถน�ำไปเป็นข้อมูลเพือ่ ก�ำหนดทิศทางการ ด�ำเนินงานต่อไป

3. โครงการพั ฒ นาการรวมกลุ ่ ม เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ย วิ ส าหกิ จ อุ ต สาหกรรมเฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ม้ แ ละเครื่ อ งเรื อ นฯ (สศอ.) เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสมาชิกในกลุ่มคลัสเตอร์ เพื่ อ การเชื่ อ มโยงถ่ า ยโอนแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบ แบบ One-Stop Information Center และจัดท�ำโครงการแผนที่ เครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster Mapping) ก�ำหนดปัจจัยสูค่ วามส�ำเร็จ ของการท�ำคลัสเตอร์เพื่อเกิดการเกื้อกูลกันในแต่ละส่วนเชื่อมโยง ของห่วงโซ่มูลค่า โดยมีวิสาหกิจเข้าร่วมกิจกรรม 30 องค์กร ซึ่ง คาดว่าเมือ่ เสร็จสิน้ โครงการผูเ้ ข้าร่วมโครงการจะสามารถมีมลู ค่า การส่งออกสูงขึ้น และลดต้นทุนวัตถุดิบต่อปีได้ประมาณ 5-10% ในแต่ละบรษัท

4. โครงการขยายผลการยกระดั บ ความสามารถ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยและสร้างกลุ่มผู้ประกอบการ คุณภาพ - สศอ. เพื่อยกระดับมาตรฐานวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ส�ำหรับ SME ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และเพื่อพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ และผูป้ ระเมิน ทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ให้สามารถด�ำเนินการ ตามเกณฑ์มาตรฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ซึ่งคาดว่าเมื่อ เสร็จสิน้ โครงการบริษทั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะผ่านการตรวจประเมิน ระบบไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจ�ำนวนบริษัทที่เข้าร่วมโครงการ ตามแนวทางการตรวจประเมิน ISO-29110 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

77


ยุทธศาสตร์ที่ 4 มาตรการเชิงรุกส�ำหรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และการเตรียมความพร้อมส�ำหรับเขตการค้าเสรี (FTA) โดยได้ดำ� เนินการดังนี้ • การส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ด้ า นต่ า งประเทศเพื่ อ สนับสนุนการเข้าสู่ AEC ด้วยการผลักดันให้เกิด ASEAN Single Window (ASW) ส่งเสริมความสัมพันธ์กบั ประเทศสมาชิกอาเซียน อย่างใกล้ชิด เพื่อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ และผลักดันให้ AEC เป็นวาระแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน

• การปรับตัวและพัฒนาอุตสาหกรรมเพือ่ เข้าสู่ AEC ด้วย การผลักดันให้มกี ารก�ำหนดมาตรฐานสินค้าส�ำหรับผูป้ ระกอบการ ภายในประเทศควบคู่กับการก�ำหนดมาตรฐานเพื่อป้องกันสินค้า ที่ไม่ได้มาตรฐานที่มีการน�ำเข้าจากต่างประเทศ พร้อมทั้งเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าและบริการ และเตรียมความพร้อม เพื่อการปรับตัวเข้าสู่ AEC (AEC Alert) • การเคลื่อนย้ายแรงงาน จะผลักดันภาษาอังกฤษให้เป็น ภาษาทางการภาษาที่ 2 ของประเทศ เพื่อให้แรงงานมีฝีมือได้ พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษและมีการก�ำหนดหลักสูตรภาษา อังกฤษให้กับสถาบันอาชีวะศึกษา และผลักดันการผลิตบุคลากร วิชาชีพบริการ 7 สาขา เพื่อรองรับการเข้าสู่ตลาดอาเซียน • การพัฒนาโลจิสติกส์ โดยการผลักดันให้มกี ารพัฒนาระบบ การขนส่งอย่างเป็นรูปธรรม

ปี ส.อ.ท. 78 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

• ด้านการส่งเสริมการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน ให้การสนับสนุนให้มีการศึกษา/วิจัย ข้อมูลเชิงลึกของประเทศ สมาชิกอาเซียน พร้อมทัง้ มอบสิทธิประโยชน์แก่ผปู้ ระกอบการทีม่ ี การลงทุนในต่างประเทศ โครงการที่ด�ำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์นี้ ได้แก่ โครงการ เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิต เพือ่ รองรับ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งเป็นโครงการที่สร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ภาคการผลิตตลอดจนจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร์เพือ่ รองรับการแข่งขันในการเข้าสู่ AEC ให้แก่ 30 กลุ่มอุตสาหกรรม และ 5 ภูมิภาค โดยมีการจัดสัมมนาเผยแพร่ ความรู้ด้าน AEC ให้กับผู้ประกอบการไปแล้ว 360 ราย เมื่อเดือน มีนาคม 2554 และได้จัดท�ำ Focus Group Discussion เพื่อ จัดท�ำกลยุทธ์เชิงรุก และเชิงรับในการเข้าสู่ AEC ให้กับกลุ่ม อุตสาหกรรม 30 กลุ่ม 10 คลัสเตอร์ และ 10 จังหวัด ใน 5 ภูมิภาค ซึง่ คาดว่าเมือ่ เสร็จสิน้ โครงการจะสามารถสร้างกลยุทธ์เชิงรุก และ เชิงรับในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสนับสนุนปัจจัยให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งมี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนโลจิสติกส์ ด้านกฎหมายและภาษี และการเตรียมจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์แห่งชาติปี 2555-2559 โดยจะมีโครงการต่างๆ ดังนี้

- โครงการศูนย์ให้ค�ำปรึกษาผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs Clinic) เพื่อเป็นศูนย์ในการช่วยแก้ปัญหาเบื้องต้นให้กับผู้ประกอบ การ SMEs จ�ำนวน 1,000 กิจการ และแก้ปัญหาเชิงลึก จ�ำนวน 50 กิจการในด้านต่างๆ และยังเป็นศูนย์รวบรวมผู้เชี่ยวชาญที่ให้ ค�ำปรึกษาด้านต่างๆ ในการพบปะแลกเปลีย่ นข้อมูลความรูท้ มี่ อี ยู่ ให้ทันสมัย ซึ่งจะท�ำให้สามารถแก้ปัญหาให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ได้อย่างทันเหตุการณ์ โดยผ่านโครงการย่อยจ�ำนวน 4 โครงการ ได้แก่ โครงการให้ค�ำปรึกษาเชิงลึกเพื่อมุ่งสู่ Lean Enterprise / โครงการให้ค�ำปรึกษาเชิงลึกขจัดความสูญเสีย 7 ประการ / โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ด้ ว ย E-Business และโครงการให้ ค� ำ ปรึ ก ษาเชิ ง ลึ ก โครงการ Internal Logistic Improvement ซึ่งคาดว่าเมื่อเสร็จสิ้น โครงการจะมีศูนย์ให้ปรึกษา SMEs Clinic ของสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย - โครงการยกระดับขีดความสามารถของผูป้ ระกอบการ SMEs ภาคอุตสาหกรรม (SMI) ปีที่ 2 เป็นโครงการความร่วมมือเพือ่ มุง่ เน้นการเสริมสร้างศักยภาพ การด�ำเนินธุรกิจให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกของสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 อาทิ โครงการ Cluster Workshop / โครงการยกระดับทักษะความสามารถของ ผู้ประกอบการผ่านกิจกรรมสัมมนาส�ำหรับผู้ประกอบการ SMI /

โครงการบริการทางการเงินครบวงจรเป็นพิเศษแก่สมาชิก SMI / ความร่วมมือทางวิชาการ โครงการ ECR Thailand เป็นแนวคิดที่น�ำเอาแนวทางของการบริหารโลจิสติกส์และ ซัพพลายเชนมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภค และค้าปลีกค้าส่ง และเน้นสร้างความร่วมมือระหว่างคูค่ า้ และการ บริหารความต้องการของลูกค้า โดยมีคณะท�ำงานย่อย 5 โครงการ ดังนี้ - โครงการ Green Transport เป็นการริเริ่มระบบลดรถเที่ยว เปล่าแห่งชาติ สร้างความร่วมมือและลดการวิ่งรถเที่ยวเปล่าเพื่อ ลดการปล่อยมลพิษสู่อากาศ ทั้งนี้จะเป็นการลดต้นทุนการขนส่ง ได้เป็นอย่างดี - โครงการ On Shelf Availability สืบเนื่องจากปัญหาสินค้า ขาดบนชัน้ เรียงสินค้ายังคงเป็นปัญหาใหญ่สำ� หรับผูค้ า้ ผูป้ ระกอบ การ - โครงการ Shrinkage เป็นโครงการที่ป้องกันความเสียหาย ของสินค้าที่วางขาย จากเดิมขายน้อยเสียน้อย ขายมาก เสียมาก และได้เริม่ มีการจัดท�ำแผนโดยยุทธศาสตร์ ยึดการเปลีย่ นจาก Sell Less / Lose Less เป็น Sell More / Lose Less (ขายน้อยมีการ สูญเสียหรือเสียหายน้อย - ขายมากขึ้นแต่เสียหายน้อยเท่าเดิม) ซึ่งขณะนี้โครงการก�ำลังระดมสมองของคณะท�ำงาน และหา แนวทางในการแก้ไขปัญหา - โครงการ Returnable Packaging เพื่อการน�ำหีบห่อ หรือ บรรจุภณ ั ฑ์กลับมาใช้ใหม่ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและสร้างความ สะดวกยิ่งขึ้นในการจัดการ ลดมลพิษจากการน�ำหีบห่อเดิมมาใช้ - โครงการ Pallet Height เพือ่ สร้างมาตรฐานในการใช้ pallet หรือไม้รองสินค้า เพื่อการจัดเก็บ การขนส่งและการจัดวาง ทาง โครงการ Pallet Height จึงค�ำนึงถึงความส�ำคัญและมุ่งจัดท�ำโดย เจาะจงไปทีก่ ารใช้รองสินค้าทีม่ คี วามสูงต่างกัน ความหลากหลาย ของสินค้าหรือแม้กระทั่งความจ�ำกัดของยานพาหนะ ขณะนี้ทาง โครงการได้เริ่มวางแผนการจัดท�ำเบื้องต้นแล้ว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

79


ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่ความยั่งยืนของอุตสาหกรรม โดยจะเป็ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาทั้ ง ในระดั บ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรในภาค อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ร่วมด้วยการจัดท�ำตัวเลขคาดการณ์ ความต้องการแรงงานภาคอุตสาหกรรม (การจัดตัง้ ศูนย์คลังสมอง นักอุตสาหกรรม) ในยุทธศาสตร์นไี้ ด้เกิดโครงการเพิม่ ทักษะแรงงาน (Human Skill) และประสิ ท ธิ ภ าพบุ ค ลากรนั ก ออกแบบ Leather Fashion ขึ้น เพื่อเป็นการยกระดับศักยภาพของบุคลากรจากการ ใช้แรงงานเพียงอย่างเดียวเป็น Knowledge Worker และเพิ่ม ประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยีจากผู้ตามแฟชั่น เป็นผู้น�ำแฟชั่น สินค้าหนังและผลิตภัณฑ์หนังของโรงงาน SMEs ให้เป็นผูน้ ำ� แฟชัน่ ได้ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการดังกล่าวจะมีบุคลากรที่มีความสามารถ ด้านการออกแบบสูงขึ้น และสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีการ พัฒนาทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการทางการตลาดได้ ทั้งหมดนี้ คือ 6 ยุทธศาสตร์ ที่ดำ� เนินการภายใต้การน�ำของ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จะเห็นได้ว่าแต่ละ ยุทธศาสตร์มจี ดุ เด่นในแต่ละด้านทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ ทุกยุทธศาสตร์ มีความส�ำคัญอย่างมาก และครอบคลุมทุกด้านของการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ การด�ำเนินงานถือว่ามีความคืบหน้าไปมากในหลาย โครงการและยังคงเดินหน้าสานต่อโครงการอย่างต่อเนื่อง ด้วย ความร่วมมืออย่างเต็มก�ำลังจากคณะกรรมการ สมาชิก หน่วยงาน ภายใน หน่วยงานภายนอกทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อเดินไปสู่ จุดหมายเดียวกัน นัน่ คือ การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ให้เจริญก้าวหน้าได้อย่างบูรณาการ นอกจากนีท้ า่ นประธานสภาอุตสาหกรรมฯ ยังได้ให้สมั ภาษณ์ ถึงมุมมองในการก้าวสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ว่าสภาอุตสาหกรรมฯ ได้มีการเตรียมพร้อมรับมือด้วยการน� ำ ยุทธศาสตร์ที่ 4 คือ เรื่องการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ AEC มาใช้ อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งจะด�ำเนินการใน 5 ด้าน ดังนี้

ปี ส.อ.ท. 80 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

1. การส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ด้ า นต่ า งประเทศเพื่ อ สนับสนุนการเข้าสู่ AEC โดยการด�ำเนินการของหน่วยงานต่างๆ อาทิ กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงการต่างประเทศ ผ่านทาง กลไกต่างๆ เช่น การประชุมของภาครัฐในกรอบอาเซียน การ ประชุมสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจอาเซียนและการประชุมหารือและ แลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนของประเทศ สมาชิกอาเซียน เป็นต้น 2. การปรับตัวและการพัฒนาอุตสาหกรรมเพือ่ เข้าสู่ AEC จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ของสินค้า เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ดังนั้น จึงต้อง เร่งผลักดันการก�ำหนดมาตรฐานสินค้าอาเซียนควบคู่กับการ ก�ำหนดมาตรฐานบังคับส�ำหรับสินค้าน�ำเข้าเพือ่ ป้องกันการน�ำเข้า สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานจากต่างประเทศ 3. การเตรียมความพร้อมด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงานใน AEC ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรโดย มีการพัฒนาฝีมอื แรงงานให้อยูใ่ นระดับสากล (ด�ำเนินการโดยกรม พัฒนาฝีมือแรงงาน) และเร่งแก้ปัญหาความอ่อนด้อยด้านภาษา อังกฤษ (ผ่านกระทรวงศึกษาธิการ) ดังนั้น จึงควรมีการผลักดันให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการภาษาที่ 2 ของประเทศ


4. การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ แม้ประเทศไทยจะได้เปรียบ ด้านภูมิศาสตร์ในการเป็นศูนย์กลางของอาเซียน แต่ต้นทุนทาง โลจิสติกส์กลับเป็นส่วนบัน่ ทอนความน่าสนใจของประเทศอันเนือ่ ง มาจากการขาดความเชื่อมโยงระหว่างประเทศไทยกับประเทศ เพื่อนบ้าน จึงต้องการผลักดันให้กระทรวงคมนาคมเร่งพัฒนา ระบบการขนส่งที่เชื่อมโยงอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการใช้ประโยชน์ จากประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงประโยชน์จากการกระจายสินค้า ชายแดน การท่องเที่ยว และการขนส่งหลายรูปแบบ 5. การส่งเสริมการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน เพือ่ สร้างหรือรักษาความได้เปรียบในการแข่งขันด้านต้นทุนการผลิต แรงงาน วัตถุดิบ หรือต้นทุนโลจิสติกส์ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ ใช้แรงงานเข้มข้น ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการประสานความร่วมมือ ระหว่างสภาอุตสาหกรรมฯ กับหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ในการ ศึกษาวิจัยข้อมูลเชิงลึกด้านกฎหมายและกฎระเบียบทางการค้า และการลงทุน วัฒนธรรมทางธุรกิจ จุดติดต่อของแต่ละประเทศ สมาชิกอาเซียน และในภาวะทีป่ ระเทศมีนโยบายการเปิดเสรีทางการค้า กับประเทศต่างๆ ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของผู้ ประกอบการไทย ภาคอุตสาหกรรมก็ควรมีการปรับตัวเพื่อ รับมือกับการเปิดเสรีทางการค้าในด้านต่างๆ เช่น • การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ทั้งในด้านแรงงาน เทคโนโลยี รวมทั้ ง การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการผลิ ต ให้ สอดคล้องกับความต้องการในตลาดโลก เพือ่ ทีจ่ ะสามารถแข่งขัน ได้

• การเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นสาธารณู ป โภคและระบบ โลจิสติกส์เพื่อรองรับการลงทุนจากต่างประเทศ • หาตลาดส่งออก ปรับปรุงการผลิตให้สามารถปฏิบัติตาม กฎถิ่นก�ำเนิดสินค้าของอาเซียนได้ รวมถึงการบริหารจัดการ การ จัดหาวัตถุดิบราคาถูกและมีคุณภาพดีในภูมิภาค • ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายการผลิต (Production Network) เพื่อให้สามารถสร้าง Economy of Scale เพื่อให้สามารถแข่งขัน ได้ในระดับโลก • เน้นการผลิต Green productivity ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ ไทยมีศักยภาพและเชื่อมโยงกับภาคเกษตรและภาคบริการ ให้ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่าโดยใช้เทคโนโลยีและ ภูมปิ ญ ั ญาไทยมาผสมผสาน เพือ่ ผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ลักษณะเฉพาะ ตัว มีการออกแบบและนวัตกรรมของตนเอง

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

81


และเมือ่ ถามถึงทิศทางการก้าวเดินของอุตสาหกรรมไทย ท่ามกลางกระแสสิง่ แวดล้อมและการแข่งขันทีร่ นุ แรงมากขึน้ ท่านประธานสภาอุตสาหกรรมฯ ได้แสดงความคิดเห็นว่า “การก้าวเดินและขยายตัวของอุตสาหกรรมยังคงมีความจ�ำเป็น และส�ำ คั ญ ส� ำหรั บการพั ฒนาเศรษฐกิ จ ของประเทศ แต่ต้อง เป็นการก้าวเดินที่อุตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกันกับชุมชนได้ อย่างยัง่ ยืน โดยให้ความส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อม สุขภาพอนามัยและ คุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนและสังคม ควบคู่ไปกับการเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีเป้าหมายหลักในการส่ง เสริมและพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ขนึ้ อย่างเป็นรูปธรรม และมีดุลยภาพ โดยสามารถลดและควบคุมมลภาวะได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน) ไม่ก่อ ให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยูข่ องชุมชน และมีสว่ น ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น” ทั้งนี้จากปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะ กระแสสิ่งแวดล้อมที่ทุกภาคส่วนหันมาให้ความส�ำคัญท�ำให้ทุก ประเทศมีความมุ่งมั่นในการลดมลภาวะอย่างจริงจัง พัฒนา เศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรมไปสู ่ เ ศรษฐกิ จ คาร์ บ อนต�่ ำ (Low carbon society) กอปรกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทยและความกังวลของสังคมที่ให้ความส�ำคัญทั้งการ ดูแลสิ่งแวดล้อม สุขภาพของชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติอย่าง จริงจัง ล้วนเป็นแรงผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการประกอบธุรกิจให้อยู่

ปี ส.อ.ท. 82 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ร่วมกับสังคมได้อย่างยัง่ ยืน โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เอง ก็มีกลยุทธ์การด�ำเนินงานเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมสู่ความ ยั่งยืน อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างปกติสุข ดังนี้ 1. สนับสนุนให้อุตสาหกรรมปรับปรุงประสิทธิภาพโรงงาน และระบบบริหารจัดการเพื่อลดมลภาวะและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง (Process Efficiency) 2. ร่วมมือกับภาครัฐในการแก้ไขปัญหาผังเมือง รวมถึง Protection Strip และ Buffer Zone เพื่อให้เกิดดุลยภาพระหว่าง การพัฒนาอุตสาหกรรมและความเป็นอยู่ที่ดีของสังคม 3. สนับสนุน ให้ภ าคอุตสาหกรรมร่วมกัน จัดท�ำโครงการ ส่งเสริมและช่วยเหลือชุมชนในรูปแบบต่างๆ อย่างจริงจัง (CSR & Social Enterprise) 4. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรพัฒนา เอกชนในการแก้ไขปัญหาและตรวจสอบสภาวะสิง่ แวดล้อมอย่าง ต่อเนื่อง 5. ร่วมมือกับภาครัฐ และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการผลักดัน ให้เกิดเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) อย่าง เป็นรูปธรรม ส่ ว นแนวคิ ด เรื่ อ ง “อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศน์ ภ ายใต้ ยุทธศาสตร์ของสภาอุตสาหกรรมฯ” นัน้ สภาอุตสาหกรรมฯ จะ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด Eco-Industrial Town เพื่ อ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับทิศทางและแนวโน้มด้านการค้ากับ สิ่ ง แวดล้ อ ม และการให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ สุ ข ภาพอนามั ย และ คุณภาพชีวิตชุมชนของประเทศไทยและของโลก และพัฒนาขีด


ความสามารถในการแข่งขันโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ทรัพยากรและพลังงานในการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการขนส่ง (Logistics) พร้อมทัง้ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมการผลิตพลังงานหมุนเวียนของประเทศ และการ จัดการของเสียอุตสาหกรรมเพื่อผลิตพลังงาน (Low Carbon Society) โดยมีรปู แบบการเริม่ ต้นพัฒนาตัง้ แต่การส่งเสริมให้ภาค อุตสาหกรรมมีระบบการบริหารจัดการที่ดีภายในโรงงาน (EcoFactory) ขยายผลสู่นิคมอุตสาหกรรม (Eco-Industrial Estate) และเชื่ อ มโยงการพั ฒ นากั บ สั ง คมโดยรอบสู ่ ก ารเป็ น เมื อ ง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ (Eco-Industrial Town) โดยความร่วมมือ ในการพัฒนาจากทุกภาคสังคมอื่นๆ ควบคู่ไปพร้อมกัน ซึ่งการ ด�ำเนินการดังกล่าว สภาอุตสาหกรรมฯ ได้กำ� หนดแนวทางดังนี้

1. ควบคุมมลพิษให้ได้มาตรฐานตามกฎหมาย 2. การใช้พลังงานสะอาด และน�ำไปสู่ Low carbon society 3. การจัดการขยะอุตสาหกรรม โดยยึดหลัก Zero landfill 4. การจัดการน�้ำใช้ และน�้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ 5. การจัดสร้างแนวป้องกัน (Protection Strip) 6. การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต : Eco Efficiency, Process Efficiency 7. การปรับปรุงระบบคมนาคมขนส่ง 8. การสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ สังคม โดยเน้นการใช้วตั ถุดบิ หรือ ผลิตภัณฑ์ของท้องถิ่น

นอกจากก�ำหนดยุทธศาสตร์การบริหารงานแล้ว ประธานสภา อุตสาหกรรมฯ ยังเน้นย�ำ้ ถึงบทบาทของสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ในการสร้างความเข้มแข็งให้กบั ภาคอุตสาหกรรม ว่า “สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในฐานะตัวแทนภาค อุตสาหกรรม ท�ำหน้าที่ประสานงานระหว่างภาคเอกชนและภาค รัฐบาลโดยเป็นแกนกลาง ประสานให้เกิดความร่วมมือทีจ่ ะส่งเสริม การแลกเปลี่ยนข้อมูลและร่วมพัฒนาธุรกิจ การค้า การลงทุน ตลอดจนปกป้ อ งสิ ท ธิ และความยุ ติ ธ รรมที่ ส มาชิ ก และภาค อุตสาหกรรมพึงได้รับอย่างเต็มภาคภูมิทั้งในระดับประเทศ และ ระดับสากล ตลอดจนรัฐบาลได้วางใจให้มีผู้แทน ส.อ.ท. ในคณะ อนุกรรมการ และคณะท�ำงานต่างๆ ในหน่วยงานราชการ จึงนับ เป็นบทบาทส�ำคัญในการเข้าไปมีส่วนร่วมดูแล ส่งเสริมสนับสนุน และวางแผน รวมทัง้ น�ำเสนอปัญหาและแนวทางแก้ไขทีส่ อดคล้อง เหมาะสมต่อภาครัฐบาล อันจะน�ำไปสู่การก�ำหนดนโยบาย หรือ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบวิธีการปฏิบัติต่างๆ ให้มี ประสิ ท ธิ ภ าพ และเอื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม และเศรษฐกิจโดยรวมทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งทั้งหมดนี้ คือ การสร้างความเข้มแข็งให้กบั ภาคอุตสาหกรรม อันจะส่งผลให้เกิด ความเจริญก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืน”

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

83


ปี ส.อ.ท. 84 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

85


ปี ส.อ.ท. 86 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

87


ปี ส.อ.ท. 88 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

89


ผังโครงสร างการบร�หารสภาอุตสาหกรรมแห งประเทศไทย คณะกรรมการ ส.อ.ท. ประธานที่ปร�กษาคณะกรรมการบร�หาร นายสันติ ว�ลาสศักดานนท

คณะกรรมการตรวจสอบ นายว�ชิต ตันติอนุนานนท คณะกรรมการบร�หาร ส.อ.ท. ประธาน ส.อ.ท. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล

กฎหมายและภาษี รองประธาน-กิตติ รองเลขาธิการ-นภดล

เขตพัฒนาพ�เศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต และรายได รองประธาน-ทว� รองเลขาธิการ ธนารักษ /ดารัตน

ประชาสัมพันธ และกิจกรรม

พ�ธีการต างประเทศ

แรงงาน

รองประธาน-วศิน รองเลขาธิการ-เกร�ยงไกร

รองประธานอาวุโส-สุมิดา รองเลขาธิการ-อร�นทร

รองประธาน-ทว�กิจ รองเลขาธิการ-เอกพร

องค กร ระหว างประเทศ

อุตสาหกรรมและ สถาบันน้ำ

รองประธานอาวุโส บดินทร อัศวาณิชย รองประธาน สมนึก/นิกร/วัลลภ รองเลขาธิการ ฉัตรชัย/ปฐม/ศักดิ์ชัย/ สุร�นทร /สุณี/สมชาย

เศรษฐกิจและ โลจ�สติกส

ส งเสร�มการค าและการลงทุน สถาบันรหัสสากล และสถาบัน RFID

สภาอุตสาหกรรม จังหวัด

รองประธาน-ธนิต รองเลขาธิการ-กรกฎ/ ธวัชชัย/ปณิธาน

รองประธาน-มังกร รองเลขาธิการ-พ�ภพ

รองประธานอาวุโส-สุชาติ รองเลขาธิการ-อำนาจ/ ประภาส/สมปอง/ ยุทธพงศ /ดร.สิงห

รองประธาน-เจน รองประธาน รองเลขาธิการ-บุญหาญ ว�ศิษฎ ลิ�มประนะ รองเลขาธิการ-ดร.ป ยะนุช /ประยงค /สุกิจ/อิศเรศ

รองประธาน-ศุภรัตน รองเลขาธิการ-พ�ภพ

สถาบันพลังงาน เพ�่ออุตสาหกรรม

ว�สาหกิจขนาดกลาง สถาบันว�จัยและพัฒนา สถาบันและขนาดย อม เพ�่ออุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการผลิต

สถาบันสิ�งแวดล อม อุตสาหกรรม

สถาบันการจัดการบรรจ�ภัณฑ สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และร�ไซเคิลเพ�่อสิ�งแวดล อม เพ�่ออุตสาหกรรม

รองประธาน-สมพงษ (ตัน) รองประธาน-สุพันธุ รองประธาน-ว�รศักดิ์ รองเลขาธิการ-ขจรศักดิ์ รองเลขาธิการ-ศักดิ์ณรงค รองเลขาธิการ-ธนารักษ

รองประธาน-เชิญพร รองเลขาธิการ-ดร.ชโย

รองประธาน-มานะผล รองเลขาธิการ-อิศเรศ

สถาบันเสร�มสร างข�ด ความสามารถมนุษย

เลขาธิการ

เหรัญญิก

ทะเบียน

รองประธานอาวุโส-สมพงศ รองเลขาธิการ-ถาวร

เลขาธิการ-สมมาต รองเลขาธิการ ขจรศักดิ์/ชาญชัย

ว�ชาการ

รองประธาน-ชายน อย รองเลขาธิการ-ไพรัตน

เหรัญญิก-ว�ศิษฐ ลิ�มลือชา นายทะเบียน-ธำรง ผู ช วยเหรัญญิก-ศิวัตม ผู ช วยนายทะเบียน-ปร�ชา

ข้อมูล ณ 19 พฤษภาคม 2554 ปี ส.อ.ท. 90 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ผังโครงสร างสำนักงานสภาอุตสาหกรรมแห งประเทศไทย ผู อำนวยการใหญ ที่ปร�กษาสำนักงาน ส.อ.ท. รองผู อำนวยการใหญ

ฝ ายตรวจสอบและงานระบบ

ฝ ายบัญชีและการเง�น

สถาบันรหัสสากล

สถาบัน การจัดการบรรจ�ภัณฑ และร�ไซเคิลเพ�่อสิ�งแวดล อม

สำนักเลขาธิการ

ฝ ายทรัพยากรมนุษย

ฝ ายระบบข อมูล และสารสนเทศ

สถาบันสิ�งแวดล อม อุตสาหกรรม

สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เพ�่ออุตสาหกรรม

ประจำผู อำนวยการใหญ

ฝ ายกฎหมาย

ฝ ายส งเสร�ม และสนับสนุนอุตสาหกรรม

สถาบันพลังงาน เพ�่ออุตสาหกรรม

สถาบันว�สาหกิจขนาดกลาง และขนาดย อม อุตสาหกรรมการผลิต

สำนักผู อำนวยการใหญ

ฝ ายเศรษฐกิจและโลจ�สติกส

ฝ ายกิจการสภาจังหวัด และงานทะเบียน

สถาบันเสร�มสร าง ข�ดความสามารถมนุษย

สถาบันน้ำเพ�่อความยั่งยืน

ฝ ายองค กรระหว างประเทศ

สำนักว�ชาการ

สถาบันว�จัย และพัฒนาเพ�่ออุตสาหกรรม

สถาบันส งเสร�มความเป นเลิศ ทางเทคโนโลยีอาร เอฟไอดี แห งประเทศไทย

ฝ ายประชาสัมพันธ

ฝ ายส งเสร�มการค า และการลงทุน

ข้อมูล ณ 9 กุมภาพันธ์ 2554 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

91


ปี ส.อ.ท. 92 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

93


ปี ส.อ.ท. 94 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


INDUSTRY CLUBS 40 กลุ่มอุตสาหกรรม

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

95


1. กลุ่มอุตสาหกรรม ก๊าซ

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2521 15 บริษัท นายมีชัย อมรรัตนบงกช mechaia@bigth.com 0-2345-1168 0-2345-1281-83 aranyar@off.fti.or.th www.fti.or.th

2. กลุ่มอุตสาหกรรม การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

24 กุมภาพันธ์ 2546 49 บริษัท นายปฏิการ มหัทธนารักษ์ md@recycleengineering.com 0-2345-1000, 0-2345-1162 0-2345-1281-3 satawant@off.fti.or.th www.fti-en.org

3. กลุ่มอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์กระดาษ

4. กลุ่มอุตสาหกรรม แกรนิตและหินอ่อน

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 96 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

21 กุมภาพันธ์ 2537 9 บริษัท นายชาญ จันถาวรสวัสดิ์ sahaheng@hotmail.com 0-2345-1179 0-2345-1187 kitiyak@off.fti.or.th www.fti.or.th

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2528 105 บริษัท นายพรชัย รัตนชัยกานนท์ tangbmw2000@yahoo.com 0-2345-1165 0-2345-1187 kanjaneen@off.fti.or.th www.fti.or.th


5. กลุ่มอุตสาหกรรม แก้วและกระจก

6. กลุ่มอุตสาหกรรม เคมี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2521 19 บริษัท นายสมชัย โอวุฒิธรรม somchai@legthai.com 0-2345-1178 0-2345-1281-3 kotchawanl@off.fti.or.th www.fti.or.th

2520 154 บริษัท นายเชวง จาว chaveng.chao@bayer.com 0-2345-1168 0-2345-1281-83 aranyar@off.fti.or.th www.fti.or.th

7. กลุ่มอุตสาหกรรม เครื่องจักรกลการเกษตร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2523 79 บริษัท นายกมล สุรังค์สุริยกุล kamolsu@gmail.com 0-2345-1161 0-2345-1281-3 vipadaa@off.fti.or.th www.fti.or.th

8. กลุ่มอุตสาหกรรม เครื่องจักรกลและโลหะการ

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2527 84 บริษัท นายอเนน อึ้งอภินันท์ anen@asiaaccess.net.th 0-2345-1161 0-2345-1281-3 vipadaa@off.fti.or.th www.fti.or.th

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

97


9. กลุ่มอุตสาหกรรม เครื่องนุ่งห่ม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

24 พฤษภาคม 2535 71 บริษัท นายสุกิจ คงปิยาจารย์ sukij@hongseng.com 0-2345-1171 0-2345-1281-3 jariyak@off.fti.or.th www.fti.or.th

10. กลุ่มอุตสาหกรรม เครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็น

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

สิงหาคม 2522 78 บริษัท นายไพรัตน์ เอื้อชูยศ uechooyos@gmail.com 0-2345-1170, 0-2345-1003 0-2345-1281-3, 0-2345-1003, 0-2345-1268 airconclub@off.fti.or.th www.fti.or.th

11. กลุ่มอุตสาหกรรม ชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์

12. กลุ่มอุตสาหกรรม เซรามิก

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 98 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2510 56 บริษัท นายโกวิท ธารีรัตนาวิบูลย์ kovit@asianinsulators.com 0-2345-1165, 0-2218-5558 0-2345-1187, 0-2218-5561 kanjaneen@off.fti.or.th, chanitnan@gmail.com www.fti.or.th

2519 189 บริษัท นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ yongkiat.k@somboon.co.th 0-2345-1163 0-2345-1281-3 chaliewk@off.fti.or.th www.fti.or.th


13. กลุ่มอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

18 พฤษภาคม 2550 65 บริษัท นายศักดิ์ณรงค์ แสงสง่าพงศ์ saknarng@pccth.com 0-2345-1168 0-2345-1281-3 aranyar@off.fti.or.th www.fti.or.th

14. กลุ่มอุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

30 มกราคม 2550 18 บริษัท นายทศพล ตันติวงษ์ company@swi.co.th 0-2345-1168 0-2345-1281-3 aranyar@off.fti.or.th www.fti.or.th

15. กลุ่มอุตสาหกรรม น�ำ้ ตาล

ก่อตั้ง จ�ำนวน ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

4 กุมภาพันธ์ 2547 24 บริษัท นายอิสระ ว่องกุศลกิจ isarav@mitrphol.com 0-2656-8488 ต่อ 455 0-2656-8486 tsmc2001@sugarmill.thmail.com www.fti.or.th, www.Thaisugarmillers.com

16. กลุ่มอุตสาหกรรม น�้ำมันปาล์ม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

3 พฤษภาคม 2554 28 บริษัท นายกฤษดา ชวนะนันท์ krisada@vcbgroup.com 02-345-1173 02-345-1187 fti.somruk@gmail.com www.fti.or.th

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

99


17. กลุ่มอุตสาหกรรม ปูนซิเมนต์

18. กลุ่มอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

1 มิถุนายน 2520 9 บริษัท นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล pramotet@scg.co.th 0-2229-4979, 0-2345-1272 0-2229-4980 rattanun@thaicma.or.th www.thaicma.or.th

16 กันยายน 2545 32 บริษัท นายอดิเทพ พิศาลบุตร์ ab.aditheb@pttchemgroup.com 0-2345-1005 0-2654-5005 somchai.ftipc@gmail.com, nawarat.ftipc@gmail.com www.fti.or.th

19. กลุ่มอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยาง

20. กลุ่มอุตสาหกรรม ผู้ผลิตไฟฟ้า

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 100 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

21 พฤศจิกายน 2548 15 บริษัท นายสุวิทย์ ลิ้มวัฒนะกูร suvitl@bkkcogen.com 0-2710-3424 0-2710-3425 appp@loxinfo.co.th www.fti.or.th

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

กันยายน 2520 85 บริษัท ดร.ชโย ตรังอดิศัยกุล chayo@bkf.co.th 0-2345-1163 0-2345-1281-3 chaliewk@off.fti.or.th www.fti.or.th


21. กลุ่มอุตสาหกรรม พลาสติก

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2525 160 บริษัท นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล veerasak.k@pttchemgroup.com 0-2345-1006 0-2229-4654 info@ftiplastic.com, jatupornj@yahoo.co.th www.ftiplastic.com

22. กลุ่มอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

13 ตุลาคม 2548 53 บริษัท รศ.ดร.สมบัติ ทีฆทรัพย์ teekasap_s@yahoo.com 0-2345-1162 0-2345-1281-3 satawant@off.fti.or.th www.fti.or.th

23. กลุ่มอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2521 114 บริษัท นายวีระชัย คุณาวิชยานนท์ verachai@kunakij.com, kunakij@hotmail.com 0-2345-1269-70, 0-2345-1000 ต่อ 1269-70 0-2345-1281-3 somphecty@off.fti.or.th, narinthorna@gmail.com www.thaifurnitureclub.or.th

24. กลุ่มอุตสาหกรรม ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

พฤษภาคม 2510 179 บริษัท นายศุภชัย สุทธิพงษ์ชัย supachai.s@fec-corp.com 0-2326-1784 0-2326-0632 ftieeaic@gmail.com kotchawanl@off.fti.or.th www.fti.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

101


25. กลุ่มอุตสาหกรรม ไม้อัด ไม้บางและวัสดุแผ่น

26. กลุ่มอุตสาหกรรม ยา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2530 25 บริษัท นายสมบัติ อติเศรษฐ์ finance@katathani.com 0-2345-1275 0-2345-1268 wiroatk@off.fti.or.th, somphecty@off.fti.or.th www.fti.or.th

2524 39 บริษัท นายบุศรินทร์ วนาสวัสดิ ์ atlantic@atlanticlab.com 0-2345-1167 0-2345-1281-3 siripornh@off.fti.or.th www.fti.or.th

27. กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2519 43 บริษัท นายศุภรัตน์ ศิริสุวรรณางกูร suparats@tec.tmap-em.toyota-asia.com 0-2676-6222 ต่อ 6108, 0-2345-1274 0-2676-5888, 0-2345-1268 yuphin.boonsirichan@daimler.com, preeyapornm@off.fti.or.th, aicthai@gmail.com www.aic.or.th

28. กลุ่มอุตสาหกรรม เยื่อและกระดาษ ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 102 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

2519 24 บริษัท นายภาสกร บูรณะวิทย์ phaskorb@scg.co.th 0-2586-4504, 0-2586-4511 0-2586-2999, 0-2586-4512 kanungnc@scg.co.th, chantimn@scg.co.th www.fti.or.th


29. กลุ่มอุตสาหกรรม รองเท้า

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

31 กรกฎาคม 2530 38 บริษัท นายธ�ำรง ธิติประเสริฐ thamrong.t@pan-group.com 0-2345-1163 0-2345-1281-3 chaliewk@off.fti.or.th www.fti.or.th

30. กลุ่มอุตสาหกรรม โรงกลั่นน�้ำมันปิโตรเลียม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

10 ตุลาคม 2540 7 บริษัท ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร pailin.c@pttplc.com 0-2537-3959-60 0-2537-3987 padoonp@sprc.co.th www.fti.or.th

31. กลุ่มอุตสาหกรรม โรงเลื่อยและโรงอบไม้

32. กลุ่มอุตสาหกรรม สิ่งทอ

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

10 พฤศจิกายน 2549 45 บริษัท นายวีระ เจนเจริญวงศ์ paradome2004@hotmail.com 0-2345-1164, 0-7444-6220 0-2345-1281-3 parunwan@gmail.com, somphecty@off.fti.or.th www.fti.or.th

21 กันยายน 2532 76 บริษัท นายสมศักดิ์ ศรีสภรวาณิชย์ somsak@srptextile.com 0-2345-1171 0-2345-1281-3 jariyak@off.fti.or.th www.fti.or.th

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

103


33. กลุ่มอุตสาหกรรม สมุนไพร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

20 สิงหาคม 2550 73 บริษัท นายชวน ธรรมสุริยะ jdsuriya@gmail.com 0-2345-1000 ต่อ 1178 0-2345-1281-3 kotchawanl@off.fti.or.th www.fti.or.th

34. กลุ่มอุตสาหกรรม หนังและผลิตภัณฑ์หนัง ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2525 38 บริษัท นายธวัฒน์ จิว david@albedo.com, david_albedo@hotmail.com 0-2345-1171 0-2345-1281-3 jariyak@off.fti.or.th www.fti.or.th

35. กลุ่มอุตสาหกรรม เหล็ก ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

36. กลุ่มอุตสาหกรรม หลังคาและอุปกรณ์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 104 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

21 มกราคม 2543 15 บริษัท นายสมชาย คุณากรปรมัตถ์ somchaku@scg.co.th 0-2586-5081-2 0-2586-5017 prapunsakt@off.fti.or.th www.fti.or.th

2520 108 บริษัท นายนิกร สุศิริวัฒนนนท์ 0-2345-1000 ต่อ 1169 0-2345-1281-3 onumam@off.fti.or.th, steelindustryclubfti@gmail.com www.fti.or.th


37. กลุ่มอุตสาหกรรม หัตถอุตสาหกรรม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

30 มกราคม 2547 63 บริษัท นางกรภัคร์ มีสิทธิตา info@fasttechno.com 0-2731-0292 0-2187-0712 vipadaa@off.fti.or.th www.fti.or.th

38. กลุ่มอุตสาหกรรม อลูมิเนียม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2510 24 บริษัท นายศุภชัย หล่อวณิชย์ alucon@ksc.th.com 0-2345-1165 0-2345-1187 kanjaneen@off.fti.or.th www.fti.or.th

39. กลุ่มอุตสาหกรรม อาหาร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

2517 229 บริษัท นายวิศิษฎ์ ลิ้มประนะ visit@nguansoon.com 0-2345-1167 0-2345-1281-3 Siripornh@off.fti.or.th www.foodfti.com

40. กลุ่มอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับ ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธานกลุ่ม อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล กลุ่ม เว็บไซต์

27 มิถุนายน 2544 44 บริษัท ดร.สมพล เติมพิทยาเวช sompol@tetdesignth.com 0-2267-5233-6 0-2235-3040 gembaby@csloxinfo.com, gemclub@csloxinfo.com www.fti.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

105


ปี ส.อ.ท. 106 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

107


ปี ส.อ.ท. 108 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

109


DITECTOR of Trade & Investment Promotion Department Manunchaya Fueangfukhachorn manunchayaf@off.fti.or.th , manunchayaf@gmail.com Tel. ��� ���-���� BM Membership (Activities & Privileges) / BM Click / BM Website Aekachai Khamphaengdee aekachaikh@off.fti.or.th Tel. ��� ���-����

Modern Trade Corporate with SMEs Suppliers Wassana Kaewkongphan wassanak@off.fti.or.th Tel. ��� ���-����

Thai-Foreign Business Council Udom Tantitongta udomt@off.fti.or.th Tel. ��� ���-���� Kanittha Sopakdee kanitthas@off.fti.or.th Tel. ��� ���-����

Seminar & Training / Open House Network Activity Gann Keerakachinda gannke@off.fti.or.th Tel. ��� ���-���� Phornphot Chuankid phornphotc@off.fti.or.th Tel. ��� ���-���� Narathip Saithong narathips@off.fti.or.th Tel. ��� ���-����

Inter-Business Matching / Exhibition & Booth Udom Tantitongta udomt@off.fti.or.th Tel. ��� ���-���� Trade Mark Registration in ASEAN Countries Service Kanittha Sopakdee kanitthas@off.fti.or.th Tel. ��� ���-����

BOI Formula Consideration Waraporn Konggrud warapornk@off.fti.or.th Tel. ��� ���-���� Fax: ��� ���-����

Join our Activities, Please Contact: Business Matching Unit Trade & Investment Promotion Department The Federation of Thai Industries (F.T.I.) Queen Sirikit National Convention Center, Zone C, 4th floor, 60 New Ratchadapisek Road, Khlongtoey, Bangkok 10110 Call Center: 662 345-1116, 662 345-1132, 668 1836-9920 Fax:

662 345-1119, 662 345-1281 - 3

E-mail:

inv@off.fti.or.th, bmatchingfti@gmail.com, manunchayaf@off.fti.or.th

URL:

http://www.fti.or.th, http://www.ftimatching.com

หน่วยงานจับคูธ ่ รุ กิจ ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน ปี ส.อ.ท. 110 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

111


ปี ส.อ.ท. 112 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


74 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด PROVINCIAL CHAPTERS

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

113


ภาคเหนือ

ปี ส.อ.ท. 114 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


1. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดก�ำแพงเพชร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

21 กันยายน 2538 34 บริษัท นายนพดล ตัญเจริญสุขจิต tansomsak@yahoo.com 0-5571-3050, 0-5571-2633 0-5571-3050, 0-5573-8536 off_kamphaengphet@fti.thaimail.com www.ftiprovince.or.th

2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

21 พฤศจิกายน 2539 55 บริษัท นายเกรียงไกร วีระฤทธิพันธ์ kveerar@gmail.com 0-5371-5399 0-5374-4339 fticr_cr@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

19 ธันวาคม 2526 93 บริษัท นายองอาจ กิตติคุณชัย assistant@sunsweetthai.com 0-5330-4346-7 0-5324-6353 ftichiangmai@gmail.com www.chiangmaiindustry.org

4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

5 มีนาคม 2539 135 บริษัท นายชัยยุทธ เสณีตันติกุล chaiyuth118@yahoo.com 0-5554-2381, 0-5554-2555 0-5554-2927 fti-tak@hotmail.com www.ftiprovince.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

115


5. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

24 กรกฎาคม 2540 63 บริษัท นายวิสูตร จิตสุทธิภากร visootc@hotmail.com 0-5633-4715 0-5633-4385 nakornsawan_fti@hotmail.com www.ftiprovince.or.th, www.cpu.ac.th

6. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดน่าน

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

3 สิงหาคม 2543 44 บริษัท นายเดชา สงค์ประเสริฐ srimuangnan@ymail.com 0-5460-0012 0-5460-0012 ftinan@gmail.com www.ftinan.or.th

7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพะเยา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

8. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพิจิตร

ปี ส.อ.ท. 116 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

22 กันยายน 2538 11 บริษัท นายบรรจง ตั้งจิตรวัฒนากูล - 0-5661-3114 0-5661-3114 chamber_2549@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

18 กันยายน 2542 20 บริษัท นางนันทนา จักรภีร์ศิริสุข c_nantana@yahoo.com 0-5448-0042 0-5443-1170 fti_phayao@hotmail.com www.ftiprovince.or.th


9. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

23 กรกฎาคม 2545 44 บริษัท นายสุรจิต วงศ์กังแห ing_ing_w@hotmail.com 0-5521-6966 0-5521-6966 bio_zi@hotmail.com www.phitsanulok-fti.org

10. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบูรณ์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

31 มกราคม 2543 30 บริษัท นายไพศาล กิตติธรสมบัติ paisan_72@hotmail.com 0-5674-8758 0-5674-8759 sa@brianet.com www.ftiprovince.or.th

11. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดแพร่

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

26 มกราคม 2539 39 บริษัท นายพัลลภ ถนอมทรัพย์ทวี pikun2514@hotmail.com 0-5464-9731 ต่อ 105 , 0-5452-3233 0-5452-2220, 0-5452-3233 phrae-preeda@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

12. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดล�ำปาง

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

16 กรกฎาคม 2534 74 บริษัท นายอธิภูมิ ก�ำธรวรรินทร์ Adhipoom@hotmail.com 0-5426-5079 0-5426-5080 ftilampang@hotmail.com www.ftiprovince.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

117


13. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดล�ำพูน

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

19 ตุลาคม 2538 36 บริษัท นายยุทธนา ชัยศรี yutthana@sus.co.th 0-5355-2271 0-5355-2272 fti_lamphun@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

14. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสุโขทัย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

12 กรกฎาคม 2547 30 บริษัท นายอานนท์ ข�ำโตนด - 0-5561-1110 0-5561-3532 - www.ftiprovince.or.th

15. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุตรดิตถ์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

16. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุทัยธานี

ปี ส.อ.ท. 118 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

22 พฤศจิกายน 2548 30 บริษัท นายสราวุธ สงวนเผ่า sarawut.tutor@yahoo.com 0-5652-4490-1 0-5652-4492 - www.ftiprovince.or.th

26 กุมภาพันธ์ 2540 39 บริษัท นายนันทพัทธ์ ธนดลธนาเกียรติ tnanthaphat@yahoo.com 0-5540-3083 0-5540-3083 c_cherd1974@hotmail.com www.ftiprovince.or.th


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

119


1. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

29 มกราคม 2547 36 บริษัท นายนิมิตร งามยิ่งไพศาล nimitnana@gmail.com 0-4382-1162 0-4382-1162 fti.kalasin@gmail.com www.ftiprovince.or.th

2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

1 มีนาคม 2527 57 บริษัท นายวิฑูรย์ กมลนฤเมธ withool@fti.or.th 0-4322-7832 0-4322-7833 ftikkn_@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชัยภูมิ

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครพนม

ปี ส.อ.ท. 120 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

3 สิงหาคม 2547 21 บริษัท นายดุสิต วงค์พนิตกฤต 0-4252-1188 0-4252-1188 ixtabz@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

10 มกราคม 2539 35 บริษัท นางโชษิตา จารุโชติรัตนสกุล chosita.ja@hotmail.com 0-4481-2795 0-4483-7128 www.ftiprovince.or.th


5. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

26 กรกฎาคม 2533 135 บริษัท นายสมศักดิ์ ศรีบัวรอด ssribuarawd@yahoo.com 0-4426-7117-8 0-4423-0970 fti_korat@yahoo.co.th www.ftiprovince.or.th

6. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดบุรีรัมย์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

17 ธันวาคม 2539 48 บริษัท นายสุรศักดิ์ ลิ่มวิไลกุล surasakl199@gmail.com 0-4461-7483 0-4461-7483 fti_buriram@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดมหาสารคาม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

4 สิงหาคม 2546 52 บริษัท นายสมพงษ์ พวงเวียง sompong@ftimk.com 0-4377-7690 0-4377-7690 mail.ftimk.net www.ftimk.com

8. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดมุกดาหาร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

28 มกราคม 2547 16 บริษัท นายจันทร ตยางคนนท์ juntornt@thaimail.com 0-4261-5454 0-4261-5454 ftimuk@hotmail.com www.ftiprovince.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

121


9. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

27 มกราคม 2547 41 บริษัท นายขวัญพัฒน์ เชื้อวณิชย์ 0-4571-5233 0-4571-5233 off_yasothon@fti.thaimail.com www.ftiprovince.or.th

10. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดร้อยเอ็ด

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

3 พฤศจิกายน 2543 24 บริษัท นายเชษฐ์พงศ์ ชัยคณารักษ์กูล teera_pong@windowslive.com 0-4352-4072-4 0-4351-1150 - www.ftiprovince.or.th

11. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเลย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

12. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดศรีสะเกษ

ปี ส.อ.ท. 122 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

22 พฤศจิกายน 2550 37 บริษัท นายเกรียงศักดิ์ ตันกิจเจริญ 0-4286-1463 0-4286-1463 syam_loei@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

23 ธันวาคม 2545 41 บริษัท นายธนชัย แซ่จึง thanachai-concrete@hotmail.com 0-4568-2141 0-4568-2144 office@ftisk.com www.ftisk.com


13. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนคร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

3 พฤศจิกายน 2546 47 บริษัท นายชนุดม รักเพชรมณี 08-6455-0775 0-4271-4713 - www.ftiprovince.or.th

14. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสุรินทร์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

21 มกราคม 2538 30 บริษัท นายสุรัตน์ คูณวัฒนาพงษ์ 0-4451-1128 0-4451-2166 - www.ftiprovince.or.th

15. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดหนองคาย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

8 สิงหาคม 2539 23 บริษัท นายกฤษฎา บุตรเจริญ Kwi@krisadagroup.com 0-4241-3951 0-4241-3951 ftink@hotmail.com www.ftink.com

16. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดหนองบัวล�ำภู

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

23 พฤศจิกายน 2550 21 บริษัท นายวิทวัส วทานิโยบล vvataniyobol@hotmail.com 0-4236-0978 0-4236-0978 nbfti@yahoo.co.th, nongbua_news@hotmail.com www.ftiprovince.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

123


17. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

25 พฤษภาคม 2532 39 บริษัท นายพรเทพ ศักดิ์สุจริต umtmd@udonmastertech.co.th 0-4224-6498, 0-4222-1511 0-4224-6498 off_udontn@fti.thaimail.com www.ftiprovince.or.th, www.ftiudon.com

18. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุบลราชธานี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

18 พฤศจิกายน 2538 24 บริษัท นายโกวิท ประสิทธิ์ด�ำรง kowitbt@hotmail.com 0-4531-2300 0-4531-2300 fti_ubon@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

19. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอ�ำนาจเจริญ

ปี ส.อ.ท. 124 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

20 กันยายน 2548 33 บริษัท นายสมพร สีหาวงษ์ jaw_amnat@hotmail.com 0-4545-1447 0-4545-1774 fti.amnat@hotmail.com www.ftiprovince.or.th


ภาคตะวันออก

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

125


1. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดจันทบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

18 มิถุนายน 2541 37 บริษัท นายโฆษิต รินทรานุรักษ์ honwins@gmail.com 0-3931-2851 0-3930-2786 fti_chanthaburi@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

7 ธันวาคม 2532 76 บริษัท นางสาวอรพินท์ เสริมประภาศิลป์ orapin@spsthai.com 0-3881-4419 0-3881-4409 info@fti-ccs.com, thip_pawan@hotmail.com www.fti-ccs.com

3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดตราด

ปี ส.อ.ท. 126 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

16 สิงหาคม 2539 26 บริษัท นายพิพัฒน์ ฤกษ์สหกุล tratmunkong@hotmail.com 0-3951-2362 0-3951-2362 walla_kai_jum@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

14 พฤศจิกายน 2533 112 บริษัท นายประโยชน์ อรรถธร pt_prayotetractors@yahoo.co.th 0-3828-8507 0-3828-8508 ftichonburi@gmail.com www.ftichonburi.org, www.facebook.com/ftichonburi


5. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครนายก

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

2 กุมภาพันธ์ 2548 35 บริษัท นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ thanathorn@thaisummit.co.th 0-3730-7999 ต่อ 233 0-3730-7902 voranai@thaisummit.co.th www.ftiprovince.or.th

6. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุร ี

25 ตุลาคม 2536 35 บริษัท นางสาวสุพิวัน ทันสมัย supiwan@hitachigst.com 0-3727-0500 ต่อ 613128 0-3720-8179 peeraya.bur@hitachigst.com www.ftiprovince.or.th

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

1 กรกฎาคม 2531 106 บริษัท นายสหัสชัย พาณิชย์พงศ์ sahaschai.p@irpc.co.th 0-3861-9016 0-3880-7647 warinee_ftiry@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

8. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสระแก้ว

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

21 กุมภาพันธ์ 2548 32 บริษัท นายอนุรักษ์ เทียนทอง 0-3722-5217-20 ต่อ 112, 131 0-3726-1344 1patmook@gmail.com www.ftiprovince.or.th

9. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

30 พฤษภาคม 2528 262 บริษัท นายรังษี เหลืองวารินกุล rungsril@gmail.com 0-2702-5771-2 0-2702-5773 off.prakan51@gmail.com www.fti-samutprakan.com สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

127


ภาคกลาง

ปี ส.อ.ท. 128 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


1. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท.จังหวัด เว็บไซต์

16 มีนาคม 2537 41 บริษัท นายสมภพ ธีระสานต์ s_thirasan@yahoo.com 0-3454-2634-7 ต่อ 124 0-3454-2638, 0-3464-1401 sr_kanburi@yahoo.co.th www.ftiprovince.or.th

2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชัยนาท

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

20 กุมภาพันธ์ 2546 46 บริษัท นายมนตรี ไหลรุ่งเรือง montreetao@yahoo.com 0-5647-6767 0-5647-6768 ftichainat@yahoo.com, off_chainat@fti.thaimail.com www.ftiprovince.or.th

3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

2 เมษายน 2540 71 บริษัท นายกรีติ์กนิษฐ์ โชคชัยณรงค์ ftinpgreg@gmail.com 0-3421-0288 0-3421-0289 ftinpt.mg@gmail.com www.ftinakornpathom.or.th

4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนนทบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

16 มกราคม 2540 85 บริษัท นางเบญจมาศ สมบูรณ์ benjamas2000@hotmail.com 0-2580-0320 0-2580-0321 pom_viriya@yahoo.com www. ftinonthaburi.com สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

129


5. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดปทุมธานี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

30 สิงหาคม 2528 85 บริษัท นายมานะผล ภู่สมบุญ manapol_thaiflooring@hotmail.com 0-2501-2284 0-2501-2284 spaying_2523@yahoo.com www.ftipathumthani.com

6. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

30 พฤษภาคม 2539 43 บริษัท นายพันธุ์ชัย กิจชระโยธิน tom@kccdeveloper.com 0-3261-1030, 0-3261-1580 0-3255-0472 Udomrat_ples@hotmail.com www.prachupkhirikhan.fti.com

7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

8. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์ ปี ส.อ.ท. 130 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

19 กันยายน 2538 46 บริษัท นางบุญสม นุชนิยม cm_petburi@fti.thaimail.com 0-3241-4128 0-3241-5040 fti_petchburi@hotmail.com, sapaphbori@hotmail.co.th www.ftiprovince.or.th

23 พฤษภาคม 2538 76 บริษัท นายพากร วังศิราบัตร thot-wang@hotmail.com 0-3534-5966 0-3534-5967 fti_ayutya@yahoo.co.th www.ftiayutthaya.org


9. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

10 มกราคม 2538 82 บริษัท นางจินตนา ชิ้นปิ่นเกลียว chintana@thaicoconut.com 0-3232-5767 0-3231-5048 k-nuant@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

10. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลพบุร ี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

24 พฤศจิกายน 2538 71 บริษัท นายปรีชา ตรีเนตรกมล preecha_taico@hotmail.com 0-3663-7732 0-3663-7732 fti_lop@hotmail.com www.fti.or.th, www.ftiprovince.or.th

11. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสงคราม

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

16 พฤศจิกายน 2547 35 บริษัท นายก�ำชัย รังสิยานันต์ supaut@yahoo.com 0-3471-2867 0-3471-2867 - www.ftiprovince.or.th

12. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาคร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

22 กุมภาพันธ์ 2537 73 บริษัท นายอภิชิต ประสพรัตน์ Apichit-p@hotmail.com 0-3487-0923 0-3487-0923 off_sakhon@windowslive.com www.fti.or.th, www.ftiprovince.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

131


13. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสระบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

20 กันยายน 2533 62 บริษัท นายศิระ ศรีศุกรี siras@scg.co.th 0-3621-2940, 0-3631-3728 0-3621-2940 off_sarabu@fti.thaimail.com www.fti.or.th, www.ftiprovince.or.th

14. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสิงห์บุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

29 พฤษภาคม 2544 41 บริษัท นายอาคม แรกตั้ง od_raektang@yahoo.co.th, fotising@yahoo.co.th 0-3681-2668 0-3681-2670 channarong@hbct.co.th www.fti.or.th, www.ftiprovince.or.th

15. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสุพรรณบุรี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

16. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดอ่างทอง

ปี ส.อ.ท. 132 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

10 มกราคม 2547 39 บริษัท นายมังกร หุ่นกิตติเวชกุล bank2367@hotmail.com 0-3561-6197 0-3561-6196 www.ftiprovince.or.th

23 พฤษภาคม 2544 38 บริษัท นางพรพิมล แก้วศรีงาม pornpimol@ekachai.co.th 0-3555-5658 0-3555-5658 fti_suphan@yahoo.com www.ftiprovince.or.th


ภาคใต้

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

133


1. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดกระบี่

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

3 มีนาคม 2538 32 บริษัท นางสาวัน ตัน sawan_cdm@hotmail.com 0-7560-0266 0-7560-0267 fti_krabi@yahoo.co.th www.ftiprovince.or.th

2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชุมพร

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

20 กุมภาพันธ์ 2541 29 บริษัท นายศักดิ์ชัย ศรียุทธไกร Chumphonsp@gmail.com 0-7751-2361 0-7751-2362 fti_chumphon@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดตรัง

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 134 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

5 กันยายน 2541 31 บริษัท นายวิถี สุพิทักษ์ withee@woodworkgroup.co.th 0-7521-7230 0-7521-7230 off_trang@fti.thaimail.com parunwan@gmail.com www.ftiprovince.or.th

16 กันยายน 2538 51 บริษัท นางวานิช พันธุ์พิพัฒน์ choosak.prasang@hotmail.com 0-7535-7083, 0-7531-2040 0-7531-2040 off_konsri@hotmail.com, ao-kosol@hotmail.com www.ftiprovince.or.th


5. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

13 มิถุนายน 2543 14 บริษัท นายพงศ์ศักดิ์ ชุติเชาวน์กุล c.pongsak@hotmail.com 0-7353-2028 0-7353-2028 nutum@Live.com www.ftiprovince.or.th

6. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดปัตตานี

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

7 มิถุนายน 2539 49 บริษัท นายวรุต ชคทิศ warutcub8@hotmail.com 0-7331-1481 0-7341-4293 sapa_pattani@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพังงา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

17 สิงหาคม 2549 39 บริษัท นายพีระ เพชรพาณิชย์ Peera@sepworldwide.co.th 0-7644-0561 0-7644-0562 khunnuch_19@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

8. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพัทลุง

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

14 พฤษภาคม 2550 54 บริษัท นายปรีชา อภัยยานุกร psuppy@hotmail.com 0-7462-1761 0-7462-1761 fti.pv.phatthalung@gmail.com, puipek2554@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

9. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

15 ธันวาคม 2538 47 บริษัท นางอรอนงค์ สุวัณณาคาร orn_phuket@hotmail.com 0-7624-0556 0-7624-0362 ftipk_chapter@yahoo.com www.ftiprovince.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

135


10. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดยะลา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

24 กันยายน 2542 32 บริษัท นายยู่สิน จินตภากร 0-7324-3613 0-7324-3615 sawja@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

11. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดระนอง

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

20 กันยายน 2540 30 บริษัท นายกฤษณะ เอี่ยมวงศ์นที kikli.ock@hotmail.com 0-7782-4689, 0-7781-3766 0-7782-4689 ben_ruhchoo@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

12. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

22 ตุลาคม 2527 81 บริษัท นายไชยยศ สินเจริญกุล chaiyos@sritranggroup.com 0-7421-1902, 0-7421-3141 0-7421-1903 ftisk@loxinfo.co.th, ftisk@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

13. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสตูล

ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

9 พฤศจิกายน 2550 41 บริษัท นายมานิตย์ กวีรัชต์ sinpakdi@hotmail.com 0-7477-2188, 08-1599-0415 0-7477-2188 kra_jeab18@hotmail.com www.ftiprovince.or.th

14. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ก่อตั้ง จ�ำนวนสมาชิก ประธาน อีเมล ประธาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ส.อ.ท. จังหวัด เว็บไซต์

ปี ส.อ.ท. 136 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

16 มีนาคม 2533 37 บริษัท นายพงศ์นรินทร์ วนสุวรรณกุล pongnarin_fti@hotmail.com 0-7722-3167 0-7722-3168 fti_surat1@yahool.co.uk, chu_fti@hotmail.com www.ftiprovince.or.th


ติดต่อส�ำนักงานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0 2345 1000 โทรสาร 0 2345 1296-9 www.fti.or.th

ฝ่าย/สถาบัน

หมายเลขภายใน

ส�ำนักผู้อ�ำนวยการใหญ่

1083, 1090, 1018, 1086

ฝ่ายประชาสัมพันธ์

1016, 1017 ,1012 ,1014 ,1051

ฝ่ายระบบข้อมูลและสารสนเทศ

1069, 1071, 1104, 1070, 1068

ส�ำนักเลขาธิการ

ฝ่ายเศรษฐกิจและโลจิสติกส์

ส�ำนักวิชาการ

1149, 1150, 1102 1147, 1148, 1010, 1151, 1128 1023, 1112, 1114, 1113

ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

1077, 1078, 1079, 1073

ฝ่ายบัญชีและการเงิน

1039, 1044, 1045, 1047, 1043

ฝ่ายกฎหมาย

1055, 1057, 1158, 1159, 1131

ฝ่ายตรวจสอบและงานระบบ

1062, 1061

ฝ่ายองค์กรระหว่างประเทศ

1133, 1142, 1145, 1290, 1137

ฝ่ายกิจการสภาจังหวัดและงานทะเบียน

1027, 1029, 1031, 1036, 1032

ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม

1179, 1166, 1167, 1169, 1172

ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน

1117, 1120, 1125, 1132, 1152

สถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand)

1185, 1191, 1193, 1200, 1201

สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม

1262, 1265, 1273, 1261, 1156

สถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่ออุตสาหกรรม

1236, 1241, 1239, 1238, 1237

สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์

1224, 1228, 1230, 1222, 1227

สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม

1249, 1248, 1247, 1250, 1245

สถาบันน�้ำเพื่อความยั่งยืน

สถาบันเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม (ICTI)

สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทางเทคโนโลยี RFID

1040, 1050, 1089 1052, 1053 1211, 1213, 1231, 1242

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม (TIPMSE)

0 2272 1552-3, 0 2618 8251-2

สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI)

1244, 1059, 1121, 1024, 1243 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

137


ปี ส.อ.ท. 138 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

139


ปี ส.อ.ท. 140 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

141


ปี ส.อ.ท. 142 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

143


ปี ส.อ.ท. 144 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ทิศทางเศรษฐกิจโลก/

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

145


ทิศทางเศรษฐกิจโลกในอีก 10 ปีข้างหน้า เอเชียผงาดครองเศรษฐกิจโลก ทศวรรษทีผ่ า่ นมาอเมริกายังคงทรงอิทธิพลทางการเมืองและ ยังคงมีอทิ ธิพลใน UN ในการจัดการด้านความมัน่ คง เวทีเศรษฐกิจ โลกสหรั ฐ ก็ ยั ง สามารถมี บ ทบาทต่ อ ไปถึ ง แม้ ว ่ า อ� ำ นาจทาง เศรษฐกิจของสหรัฐจะแผ่วลง แต่การบริหารจัดการเศรษฐกิจโลก กลไกส�ำคัญ คือ G8, G20, IMF และ World Bank ซึ่งกลไกเหล่า นี้ อเมริกายังคงครอบง�ำอยู่ทั้งหมด การผงาดขึ้นมาของมหาอ�ำนาจใหม่ทางเศรษฐกิจอย่างจีน และอินเดีย ท�ำให้เศรษฐกิจโลกที่อิงกับภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐ เริ่มเปลี่ยนไป จีนมีความมุ่งหมายที่จะขึ้นเทียบชั้นกับอเมริกา ประกอบกับมีความได้เปรียบในการบริหารจัดการประเทศให้เป็น หนึ่งเดียว ต้นทุนแรงงานอุตสาหกรรมที่ต�่ำกว่าประเทศอื่นๆ แต่ กลับมีอ�ำนาจในการบริโภคมากเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากจ�ำนวน ประชากรที่ มี ม ากเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลก ท� ำ ให้ เ กิ ด ขั้ ว ทาง เศรษฐกิจของโลกแยกออกเป็น 2 ขั้วอย่างชัดเจน ในปัจจุบันวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่ก�ำลังเกิดขึ้นท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะเอเชีย ถือว่าเป็นจุด เปลี่ยนที่ส�ำคัญ ที่ท�ำให้แต่ละประเทศได้มีการปรับโครงสร้างทาง เศรษฐกิจให้มีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น และเป็นการกระตุ้นให้ เห็นว่าอ�ำนาจทางเศรษฐกิจและการเงินเป็นปัจจัยทีส่ ะท้อนให้เห็น การเจริญเติบโตของญี่ปุ่น ความมั่งคั่งรุ่งเรืองของจีน การเจริญ เติบโตของไทยและประเทศอืน่ ๆ รวมถึงกลุม่ ประเทศเกิดใหม่อย่าง เวียดนาม และอินเดีย ทีมนักเศรษฐศาสตร์จาก “สแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด” (สแตน ชาร์ต) ธนาคารใหญ่ชั้นน�ำของอังกฤษ ได้น�ำเสนอแนวคิดกับ คาดการณ์เศรษฐกิจโลกในอนาคตไว้วา่ “ทศวรรษหน้าขัว้ อ�ำนาจ เศรษฐกิจโลก ก�ำลังโยกจากตะวันตกไปหาตะวันออก” แรงขับเคลือ่ น ส� ำ คั ญ จากการปรั บ ตั ว ของจี น กั บ อิ น เดี ย ไปสู ่ ค วามเป็ น ชาติ อุตสาหกรรม และจากการขยายเมืองใหญ่ในสองประเทศยักษ์ของ เอเชีย

ทศวรรษหน้าทศวรรษแห่งการแย่งชิง จ�ำนวนประชากรของโลกจะเพิม่ ปริมาณขึน้ อย่างมากและส่ง ผลให้มคี วามต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากขึน้ โดยเฉพาะการ แย่งชิง น�ำ้ น�ำ้ มัน และอาหาร ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานจะ มีปริมาณลดลงไม่เพียงพอต่อการบริโภค ในทศวรรษหน้าผู้น�ำ เศรษฐกิจจะเปลี่ยนโฉมหน้าจากภาคอุตสาหกรรมหนักเป็นกลุ่ม ประเทศทีม่ อี ตุ สาหกรรมพืน้ ฐานทางการเกษตรแทน ความขัดแย้ง ที่เกิดในระบบเศรษฐกิจจะกลายเป็นความขัดแย้งในปัญหาการ แย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะน�ำ้ ที่เป็นทรัพยากรพื้นฐาน ของโลกจนถึงขั้นที่อาจน�ำไปสู่สงครามได้ ปี ส.อ.ท. 146 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

รายงานประจ�ำปีวา่ ด้วยความไม่มนั่ คงด้านอาหาร จัดท�ำโดย 3 หน่วยงาน คือ องค์การด้านอาหารและเกษตร (FAO) โครงการ อาหารโลก (WFP) และกองทุนพัฒนาการเกษตรแห่งสหประชาชาติ ระบุว่าโลกก�ำลังจะต้องเผชิญกับราคาอาหารผันผวนหนัก ในช่วง 2-3 ปีขา้ งหน้า เนือ่ งจากความต้องการด้านอาหารพุง่ ขึน้ ประชากร โลกเพิ่ ม ขึ้ น และปริ ม าณการใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพทะยานขึ้ น ประกอบกับความต้องการด้านอาหารในเขตเศรษฐกิจที่เติบโต อย่างรวดเร็วจะเพิ่มขึ้นสูงเป็นประวัติการณ์

มังกรผงาด..ไทยรับลูก จีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจแบบพึ่งพาภายในประเทศใน สัดส่วนที่สูงกว่าการพึ่งพาการค้าระหว่างประเทศ และในการที่ ระบบเศรษฐกิจของจีนขยายตัวและเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว จีน มีเป้าหมายที่จะก้าวไปสู่การเป็นผู้น�ำในการสร้างเทคโนโลยีที่มี ความพร้อมและมีศักยภาพทั้งในภาคการผลิต การค้า และการ ตลาด ประกอบกับรัฐบาลจีนได้ให้ความส�ำคัญ และความใส่ใจ นโยบายการสร้างความรูค้ วามเข้าใจและการเพิม่ ขีดความสามารถ ซึ่งการก้าวขึ้นมาเป็นมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจของจีน ในระบบ เศรษฐกิจโลกย่อมส่งผลกระทบไม่มากก็นอ้ ยต่อประเทศต่างๆ โดย เฉพาะประเทศไทย “ประเทศไทยต้องมองไกล 10-15 ปีข้างหน้า แนวนโยบาย ทางเศรษฐกิจต้องสอดคล้องกับขั้วอ�ำนาจเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยน ไป ซึ่งจะท�ำให้ประเทศไทยสามารถเพิ่มขีดการแข่งขันภายใต้ การน�ำของจีนกับอินเดียที่จะโตในอีก 10 ปีข้างหน้า” ประเทศไทยมีขอ้ ได้เปรียบในเรือ่ งของท�ำเลทีต่ งั้ ทีอ่ ยูใ่ จกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอยู่ใจกลางของแหลมอินโดจีนหรือ อินโดไชน่า จึงจ�ำเป็นที่ไทยต้องเดินหน้าสร้างความเข้มแข็งความ ร่วมมือในเอเชีย และต้องผูกติดกับจีน เพราะจีนก�ำลังมีบทบาท มากขึ้น ซึ่งอีก 10 ปีข้างหน้าเชื่อว่าเงินหยวนจะมีบทบาทมากใน เอเชีย และถ้าไทยมีเป้าหมายสร้างการเติบโตชัดเจน การขับเคลือ่ น


ประเทศให้ เ ปลี่ ย นแปลงจากภายใน เปลี่ ย นจากการพึ่ ง พา อุตสาหกรรมไปเป็นประเทศมีภาคการเกษตรกับภาคบริการทีส่ ร้าง มูลค่าเพิม่ ประเทศไทยก็จะสามารถยืนผงาดในฐานะผูผ้ ลิตอาหาร ทีเ่ ป็นปากท้องของคนทัง้ โลก และเป็นผูม้ อี ทิ ธิพลต่อการขับเคลือ่ น ทางเศรษฐกิจโลกของเอเชียอีกด้วย อย่างไรก็ดีวิกฤตน�้ำท่วมครั้งใหญ่ที่ประเทศไทยเผชิญอยู่ได้ ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของโลก ไม่เพียงในแง่มุมของ อุตสาหกรรมที่ไทยเป็นฐานการผลิตที่ส�ำคัญของสินค้าชิ้นส่วน

อะไหล่ยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งผลกระทบกับการผลิต สินค้าอิเล็กทรอนิกส์และยานยนต์ในวงกว้าง อีกมุมมองหนึ่ง ของปัญหาการขาดแคลนอาหาร น�ำ้ ดื่มที่สะอาด ระบบการขนส่ง มวลชน กลับเป็นจุดทีล่ ดความเชือ่ มัน่ ของต่างชาติตอ่ การเป็นฐาน การผลิตอาหารเพือ่ เลีย้ งปากท้องของประชากรทัง้ โลก ลูท่ างทีไ่ ทย จะก้าวขึ้นเป็นมหาอ�ำนาจในฐานะผู้ผลิตอาหารรายใหญ่ของโลก ย่อมสั่นคลอนไปด้วย และนี่คือภารกิจหนักที่ภาครัฐและเอกชน ต้องร่วมมือกันเพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นกลับคืนมา

มูลค่าการส่งออกสูงสุด 5 อันดับแรกของไทย

ล�ำดับ สินค้า Y2010 Y2009 1 เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 365,078,354,325 340,585,363,777 2 วงจรรวมและไมโครแอสเซมบลี 240,447,763,098 194,268,042,501 3 ทองค�ำ รวมทั้งทองค�ำชุบด้วยแพลทินัม 169,252,402,470 206,908,955,903 ยังไม่ขึ้นรูป/กึ่งส�ำเร็จรูป/เป็นผง 4 เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ 88,933,641,396 77,986,078,930 รวมทั้งส่วนประกอบท�ำด้วยโลหะมีค่า 5 ส่วนประกอบและอุปกรณ์เครื่องจักร 77,817,514,808 77,986,078,930

มูลค่าส่งออก(บาท) Y2008 406,115,979,991 257,784,014,339 91,328,748,552 88,972,583,187 87,815,543,435

มูลค่าสินค้าเกษตรส่งออกที่สำ� คัญ พ.ศ. 2552-2553

รายการสินค้า 1. ยางธรรมชาติ 2. ข้าวและผลิตภัณฑ์ 3. ปลาและผลิตภัณฑ์ 4. กุ้งและผลิตภัณฑ์ 5. มันส�ำปะหลังและผลิตภัณฑ์ 6. น�้ำตาลและผลิตภัณฑ์ 7. ผลไม้และผลิตภัณฑ์ 8. ไก่แปรรูป 9. ไม้และผลิตภัณฑ์ 10. ผักและผลิตภัณฑ์ สินค้าเกษตรกรรมอื่นๆ สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ สินค้าส่งออกทั้งหมด

2552 146,264 183,422 97,585 94,149 51,641 68,748 60,757 47,456 41,549 19,483 177,609 988,663 5,196,970

2552 (ม.ค.) 10,282 12,228 7,280 5,329 2,153 3,304 4,172 4,229 2,267 1,184 12,602 65,032 359,896

2553 (ม.ค.) อัตราการเพิม่ /ลด(%) 22,067 114.61 15,800 29.21 7,704 5.83 6,764 26.92 5,915 174.78 5,008 51.56 4,462 6.93 3,648 -13.74 3,641 60.61 1,563 32.10 14,243 13.02 90,816 39.65 453,418 25.99

ประเทศที่ไทยส่งออก 10 อันดับ สูงสุด ประเทศ 1. สาธารณรัฐประชาชนจีน 2. ญี่ปุ่น 3. สหรัฐอเมริกา 4. มาเลเซีย 5. อินโดนีเซีย 6. ฟิลิปปินส์ 7. เวียดนาม 8. สาธารณรัฐเกาหลี 9. สหราชอาณาจักร 10. ฮ่องกง ประเทศอื่นๆ

2552 116,724 137,889 125,192 53,359 26,204 15,156 22,587 21,687 31,382 22,019 416,463

2552 (ม.ค.) 5,113 11,437 8,938 3,176 1,149 981 1,476 1,793 2,333 1,605 27,028

2553 (ม.ค.) อัตรการเพิม่ /ลด (%) 13,337 160.83 12,214 6.79 10,227 14.41 6,021 89.57 3,037 164.31 2,530 158.00 2,505 69.69 2,473 37.87 2,209 -5.35 1,979 23.27 34,284 26.85

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของ กรมศุลกากร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

147


เศรษฐกิจไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า กระแสโลกาภิวัตน์ ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจโลกมีความเชื่อมโยง เข้าด้วยกัน ขณะเดียวกันศูนย์กลางเศรษฐกิจโลกได้เคลื่อนผ่านมา อยูท่ ปี่ ระเทศแถบเอเชียมากขึน้ เศรษฐกิจจีนและอินเดียยังคงมีแนว โน้มที่จะขยายตัวในระดับสูงและสามารถเป็นมหาอ�ำนาจทาง เศรษฐกิจโลกในอนาคต ท�ำให้เศรษฐกิจเอเชียขยายตัวอย่างรวดเร็ว และอาจกล่าวได้ว่าเศรษฐกิจในแถบเอเชียจะเป็นตัวจักรส�ำคัญ ต่อเศรษฐกิจโลก ขณะเดียวกันการมุง่ สูก่ ารเป็น ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งเป็นการรวม กลุ ่ ม ทางเศรษฐกิ จ 10 ชาติ ส มาชิ ก อาเซี ย น (ไทย มาเลเซี ย อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ บรูไน กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม) ภายในปี 2558 จะท�ำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ การ ลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี การเดินทางในอาเซียน มีความสะดวกและเสรีมากยิ่งขึ้น มีนัยต่อการเป็นจุดเปลี่ยนของ ประเทศไทย ที่มีผลต่อทิศทางการพัฒนาประเทศ ตลอดจนการ ปรับตัวอย่างไรภายใต้ภาวะแวดล้อมใหม่ ก่อนอื่นต้องหันกลับมา พิจารณาความพร้อม และขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย เพื่อจะได้ปรับปรุงและพัฒนา สร้างโอกาสให้กับเศรษฐกิจไทยใน อนาคต จากการจั ด อั น ดั บ ความสามารถในการแข่ ง ขั น โดย International Institute for Management Development (IMD) พบว่า อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2011 จาก 59 ประเทศ อยู่ในอันดับที่ 27 ซึ่งขยับลดลงจากปี 2010 ซึ่งอยู่ อันดับที่ 26 (จ�ำนวน 58 ประเทศ) โดยปัจจัยองค์ประกอบด้าน ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ (Economic Performance) ปี 2011 ปรับ

ปี ส.อ.ท. 148 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ตั ว ลดลงมาอยู ่ ที่ อั น ดั บ 10 จากอั น ดั บ 6 ในปี 2010 ด้ า น ประสิทธิภาพของภาครัฐ (Government Efficiency) ปรับตัวลดลง มาอยู่ที่อันดับ 23 จากอันดับ 18 ในปี 2010 ด้านประสิทธิภาพของ ภาคเอกชน (Business Efficiency) ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 19 จาก อันดับ 20 ในปี 2010 และด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่อันดับ 47 จากอันดับ 46 ในปี 2010 แม้ว่า ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยจะทรงตัวเมื่อเปรียบ เทียบกับประเทศคู่แข่งหลายๆ ประเทศ เช่น ประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ เป็นต้น แต่การทรงตัวนี้ก็ยังคงอยู่ใน ระดับที่ต�่ำกว่าคู่แข่งหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง จีน และมาเลเซีย ทีค่ วามสามารถในหลายๆ ด้านอยูใ่ นระดับ ที่สูงกว่าประเทศไทย โดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้ เมื่อ พิจารณาขีดความสามารถของไทยในแต่ละด้านในช่วง 7 ปีที่ผ่าน มา พบว่าประเทศไทยมีจุดด้อยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีระดับ ต�่ำมาตลอด 7 ปีที่ผ่านมา ดั ง นั้ น ประเทศไทยจึ ง ควรเร่ ง พั ฒ นาความสามารถด้ า น โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งได้แก่ สาธารณูปโภคพื้นฐาน โครงสร้างพื้น ฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สุขภาพและสิง่ แวดล้อม การ ศึ ก ษา และที่ ส� ำ คั ญ คื อ การให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ปั ญ หาความ แตกแยกของสังคม เสถียรภาพทางการเมือง ความโปร่งใส และ การแทรกแซงของการเมือง น่าจะมีผลต่อความสามารถในการ แข่งขันของไทยในอนาคต


ความสามารถในการแข่งขันของไทยเปรียบเทียบกับประเทศในอาเซียน พิจารณาจากอันดับปัจจัยหลักของไทยเปรียบเทียบ กับประเทศต่างๆ ในอาเซียนพบว่า อันดับของไทย ดีกว่า อันดับของอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ในทุกๆ ด้าน ใน ขณะที่อันดับของสิงคโปร์และมาเลเซียอยู่ในอันดับที่ ดีกว่าไทย และเมือ่ พิจารณาถึงปัจจัยทัง้ 4 ด้าน คือ ด้าน ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ ด้านประสิทธิภาพของภาคเอกชน และด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย มีอันดับที่ ทิง้ ห่างประเทศไทยไปมาก ดังนัน้ การให้ความส�ำคัญกับ เกณฑ์ตัวชี้วัดทั้ง 4 ด้าน โดยเฉพาะด้านโครงสร้าง พืน้ ฐาน น่าจะท�ำให้ความสามารถในการแข่งขันของไทย ขยับขึ้นได้ในอนาคต

อันดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ปี 2011 ในเอเชีย

37

41

32 26 19

27

22

16

1

3

ฮองกง จีน สิงคโปร มาเลเซีย ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2011

เกาหลี

ญี่ปุน

ไทย

อินเดีย

อินโดน�เซีย ฟลิปปนส สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

149


ทิศทางเศรษฐกิจไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า มี ปัจจัยต่างๆ ทั้งที่พอมองเห็นแนวโน้มอยู่บ้าง และปัจจัยที่มีความ ไม่แน่นอนสูง ดังนัน้ จึงต้องพิจารณาปัจจัยหลักๆ ทีจ่ ะมีผลกระทบ ต่อประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม และหา มาตรการที่เหมาะสม เพื่อสร้างโอกาส และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ ประเทศภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง

• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะเป็นตัวแปรส�ำคัญ ของเศรษฐกิจไทย

• โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ มีการพัฒนาเครือข่ายโครงสร้างพืน้ ฐานและโลจิสติกส์ทเี่ ชือ่ ม

โยงและมีคุณภาพ เพื่อรองรับภาคการผลิตและบริการให้มีความ เข้มแข็งและแข่งขันได้ โดยมีสว่ นส�ำคัญในการเสริมสร้างผลิตภาพ การผลิต ตลอดจนเชื่อมโยงการค้าระหว่างประเทศ และในระดับ อนุภูมิภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้พลังงานในภาค ขนส่งให้มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

การรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจจะท�ำให้เกิดการเคลือ่ น ย้ายการลงทุน และแรงงานได้สะดวกมากขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่ม ศักยภาพการค้า และการลงทุนในระดับภูมิภาค ประเทศไทยใน ฐานะหนึ่งในสมาชิกอาเซียน ต้องสร้างความพร้อมในการรับมือ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ เพื่อปรับตัวให้มีศักยภาพรองรับกับโอกาส ใหม่ทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันไทยยังต้องพึ่งพาการส่งออก โดย สัดส่วนการส่งออกจะอยู่ในเอเชียเป็นส�ำคัญ ในอนาคตเชื่อว่า ขนาดของเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย จะมีขนาดทีใ่ หญ่ขนึ้ ใกล้เคียง กับเศรษฐกิจของยุโรปและสหรัฐอเมริกา ท�ำให้ไทยมีโอกาสที่จะ เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุนและการขนส่งเชื่อมโยงเศรษฐกิจ ของเอเชีย

• ประเทศไทยจะเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ

• ภาคการผลิตที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่าง ภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ โดยทีภ่ าคเกษตรยังคงเป็นฐานการผลิตทีส่ ำ� คัญทีจ่ ะเชือ่ มโยง ในการสร้างมูลค่าในภาคอุตสาหกรรมและบริการ นอกจากนีม้ กี าร ปรั บ ฐานการผลิ ต โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมไปสู ่ ภ าคบริ ก ารใน สัดส่วนที่สูงขึ้น เป็นฐานด้านการค้า และการลงทุนของภูมิภาค ขณะที่ในช่วงที่ผ่านมาภาคอุตสาหกรรมเป็นแหล่งสร้างงานหลัก และสร้างรายได้จากการส่งออกให้ประเทศ แต่ภาคอุตสาหกรรม บางสาขาก็ เ ริ่ ม สู ญ เสี ย ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ให้ กั บ ประเทศทีม่ แี รงงานและต้นทุนวัตถุดบิ ต�ำ่ กว่า นอกจากนัน้ อุตสาห กรรมใหญ่ๆ ยังเป็นอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีหรือการ ลงทุนจากต่างประเทศเป็นหลัก เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ และ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ปี ส.อ.ท. 150 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

การที่ประชากรไทยในอนาคตมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ จน อิ่มตัวแล้วลดลงนั้น เป็นผลเนื่องมาจากภาวะเจริญพันธุ์ที่ลด ต�่ำลงและคนไทยมีชีวิตยืนยาวขึ้น ลักษณะเช่นนี้ท�ำให้โครงสร้าง อายุของประชากรเปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจน หากดูที่ จ�ำนวนประชากร เด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี ในช่วงปี พ.ศ. 2548 – 2578 จะมีจ�ำนวนลดลงจาก 14 ล้าน (ร้อยละ 23 ของประชากรทั้งหมด) เหลือ 9 ล้านคนเศษ (ร้อยละ 14) ส่วนประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15 – 59 ปี) นั้นมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย กล่าวคือในช่วง พ.ศ. 2548 – 2558 จ�ำนวนจะเพิ่มขึ้นจาก 41 ล้าน เป็น 43 ล้านคน (ทีม่ า : ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ และ ปราโมทย์ ประสาทกุล สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล) อย่างไรก็ตาม ภาวะ สังคมผู้สูงอายุในต่างประเทศเป็นโอกาสของประเทศไทยในการ ให้ บ ริ ก ารการแพทย์ แ ละสุ ข ภาพ การบริ ก ารที่ พั ก ส� ำ หรั บ นั ก ท่องเที่ยวที่อยู่เป็นระยะยาว ซึ่งในอนาคตปัญหาการขาดแคลน แรงงานมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น


• คนไทยที่มีความรู้ความสามารถจะไปท�ำงานใน ต่างประเทศ เนื่ อ งด้ ว ยมี ร ายได้ ที่ สู ง ขึ้ น อย่ า งไรก็ ต ามหากจะได้ รั บ

ประโยชน์จากโอกาสดังกล่าวแล้ว ยังต้องมีความรู้ความสามารถ ในด้านภาษาต่างประเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อ สื่อสารร่วมกับผู้อื่นได้ และยังต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย ของคนที่ร่วมงานด้วย ดังนั้น จึงเป็นภารกิจในการเตรียมความ พร้อมส�ำหรับอนาคตที่จะต้องมีการวางแผนการด�ำเนินการ เช่น การปรับระบบการศึกษา เพื่อสร้างบุคลากรให้รองรับกับการ เปลี่ยนแปลง และสร้างโอกาสให้กับแรงงานไทย

• การเงินโลก จะมีความผันผวนและเกิดความเสี่ยง มากขึ้น การเคลื่อนย้ายเงินทุนเพื่อหาผลประโยชน์ในที่ต่างๆ ในโลก จะเพิม่ ขึน้ มากกว่าปัจจุบนั หลายเท่า ประเทศทีม่ เี งินทุนส�ำรองอยู่ มาก เช่น จีน หรือประเทศในแถบตะวันออกกลาง จะมีการตั้ง กองทุนจากทรัพย์สินของรัฐเพื่อไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น ส่วนกองทุน Hedge Fund ก็จะมีแนวโน้มที่จะมีจำ� นวนเพิ่มมาก ขึ้นและไปลงทุนสินทรัพย์หรือสินค้าหลายประเภท สถานการณ์ เหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบที่อาจจะสร้างปัญหามากขึ้นกว่าใน ปัจจุบัน ประเทศไทยจึงต้องเตรียมพร้อมในการสร้างภูมิคุ้มกัน ต่อผลกระทบของการเคลื่อนย้ายทุน

• ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต ประเทศต่างๆ ทั่วโลกจะยังคงเผชิญกับภาวะโลกร้อน และ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ อันเนื่องมาจากการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะจากภาคพลังงาน ขนส่ง อุตสาหกรรม และภาคการเกษตรส่งผลให้ภมู อิ ากาศของโลกเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็ว ท�ำให้เกิดภัยธรรมชาติตา่ งๆ เพิม่ มากขึน้ การเปลีย่ นแปลง ของภูมิอากาศส่งผลโดยตรงถึงภาคเกษตร ความส�ำคัญในเรื่อง ดังกล่าวท�ำให้การผลิตสินค้าและบริการ จะต้องค�ำนึงถึงผลกระทบ ต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ส่งผลให้นโยบายของ ประเทศต่างๆ จะต้องค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทั้งภายในและต่างประเทศ อย่างรวดเร็ว ภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์ ในระยะ 10 ปีข้างหน้าท�ำให้ประเทศไทยจะต้องปรับ ตัว เพื่อรองรับและสร้างภูมิคุ้มกัน เห็นได้ชัดว่าประชาคมอาเซียน จะเป็นตัวแปรส�ำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย ด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมในการเป็นศูนย์กลาง การค้า การลงทุนของอาเซียน ดังนั้น ความส�ำเร็จของประชาคม อาเซียน ไทยจะได้ประโยชน์จากการขยายการส่งออกและโอกาส ทางการค้ า และเปิ ด โอกาสด้ า นการบริ ก ารในสาขาที่ ไ ทยมี ความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและภัตตาคาร สุขภาพ ฯลฯ สร้ า งโอกาสในการดึ ง ดู ด การลงทุ น โดยตรงจากต่ า งประเทศ มายังประเทศไทย และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนใน ประเทศให้ดียิ่งขึ้น

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

151


ปี ส.อ.ท. 152 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

153


ปี ส.อ.ท. 154 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

155


ปี ส.อ.ท. 156 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ทิศทางอุตสาหกรรม ในอนาคต

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

157


ทิศทางอุตสาหกรรมในอนาคต ภาพรวมของประเทศไทยใน 10 ปี ทีผ่ า่ นมาภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคทีข่ บั เคลือ่ น การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างต่อเนือ่ ง โดยพิจารณาจากสัดส่วนมูลค่า ผลผลิตอุตสาหกรรมต่อมูลค่าการส่งออกรวม มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมที่ต้องใช้เทคโนโลยีระดับกลางและสูง เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า แต่อตุ สาหกรรมดังกล่าวยังต้องพึง่ การน�ำเข้าชิน้ ส่วน องค์ประกอบ ทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศในสัดส่วนที่สูงตามเช่นกัน การได้เปรียบในเชิงการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมของไทยซึ่งเดิมอาศัยการ ได้เปรียบในการแข่งขันจากการใช้แรงงานไร้ฝีมือ ค่าแรงต�ำ่ และทุนเป็นหลัก การเพิ่ม ผลผลิต (Productivity) และนวัตกรรม (Innovative) ยังมีอยู่น้อย เพราะขาดบุคลากร ขาดองค์ความรู้ เพื่อการพัฒนาศักยภาพภายในให้สามารถต่อยอดองค์ความรู้ที่ได้มา (Endogenous Efforts) ปัจจุบันเราเผชิญกับการสูญเสียความได้เปรียบดังกล่าว ให้กับจีน ซึ่งมีแรงงานไร้ฝีมือค่าแรงต�ำ่ กว่า โดยมีการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตจากไทย ไปยังภูมิภาคอื่น เช่น จีน และ เวียดนาม เป็นต้น การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยในลักษณะของการเพิม่ มูลค่าเพิม่ (Value Added) ในกระบวนการผลิตเพียงอย่างเดียวไม่สามารถน�ำพาภาคอุตสาหกรรมให้เกิดการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืนได้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาในส่วนอืน่ ๆ ซึง่ ประกอบด้วย การอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคม การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ซึ่งต้องให้เกิดความสมดุล

กระแสโลกาภิวัตน์และปัจจัยที่ส่งผลกระทบกับอุตสาหกรรม กระแสโลกาภิวัตน์ 1. ภูมิรัฐศาสตร์ 2. ภูมิเศรษฐศาสตร์

3. ภูมิประชากรศาสตร์

4. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ปี ส.อ.ท. 158 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ 1.1 ผลกระทบของการก่อการร้ายข้ามชาติ 1.2 ผลกระทบจากเสถียรภาพทางการเมือง 2.1 การย้ายศูนย์กลางการพัฒนาเทคโนโลยีมายัง บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน 2.2 การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงาน และการลดลงของก�ำลังซื้อในกลุ่มประเทศอเมริกาและยุโรป 2.3 ผลกระทบจากข้อตกลงระหว่างประเทศ (เช่น กรอบข้อตกลงทางการค้า) มีผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายเพิ่มขึ้น 2.4 บทบาทมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีที่เพิ่มขึ้น 2.5 การเพิม่ ขึน้ ของบทบาทของภูมภิ าคเอเชียมาเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก และการรวมกลุม่ เศรษฐกิจในภูมภิ าคอาเซียน (AEC) 2.6 การรวมฐานการผลิตเข้ามาสู่ตลาดเดียวภายในภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้น 2.7 การกีดกันทางการค้าภายในภูมิภาคอาเซียนที่ลดลง 2.8 ปริมาณการค้าระหว่างประเทศภายในกลุ่มภูมิภาคอาเซียนที่เพิ่มขึ้น 2.9 การลดลงของความแตกต่างด้านขีดความสามารถในการผลิตของประเทศต่างๆ 3.1 ประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลกลุ่มดังกล่าวเพิ่มขึ้น 3.2 ประชากรวัยท�ำงานที่ลดลง ส่งผลให้แรงงานลดลงในประเทศที่พัฒนาแล้ว 3.3 การเคลื่อนย้ายฐานบุคลากรระดับมันสมองไปยังกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว 3.4 การเคลื่อนย้ายประชากรจากชนบทเข้าสู่สังคมเมือง 3.5 การเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างภาคเกษตรกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรม 3.6 จ�ำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มประเทศมุสลิม ทวีปแอฟริกา 3.6.1 ฐานแรงงานต้นทุนต�่ำที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มประเทศมุสลิม ทวีปแอฟริกา 3.6.2 ความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้นของประชากรในกลุ่มประเทศมุสลิม 3.6.3 การขยายฐานการผลิตด้านเกษตร/อุตสาหกรรมไปยังกลุ่มประเทศที่สาม 3.7 การเพิ่มขึ้นของก�ำลังซึ้อจากจ�ำนวนกลุ่มชนชั้นกลางที่เพิ่มขึ้นในเอเชีย ยุโรปกลาง ลาตินอเมริกา 3.8 ความตระหนักถึงความส�ำคัญด้านความปลอดภัยของอาหาร และสุขภาพเพิ่มขึ้น 4.1 ภาวะวิกฤตปริมาณมลภาวะ และอุณหภูมิของบรรยากาศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 4.1.1 ภาวะวิกฤตการขาดแคลนน�ำ้ ที่เพิ่มขึ้น 4.1.2 ภาวะวิกฤตการขาดแคลนพลังงานที่เพิ่มขึ้น 4.1.3 ภาวะการขาดแคลนอาหารที่เพิ่มขึ้น 4.1.4 ภาวะวิกฤตความเสี่ยงในการเกิดโรคระบาดใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้น 4.2 ความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมท�ำให้ลดการบริโภคสินค้าอุตสาหกรรมที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม 4.3 ข้อเรียกร้องขององค์กรสิทธิต่างๆ (เช่น ปัญหาภาวะโลกร้อน) มีผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายเพิ่มขึ้น


มองอุตสาหกรรมไทยไปข้างหน้า การเปลีย่ นแปลงของปัจจัยทัง้ ภายในและภายนอก อันได้แก่ ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ปัญหาหนี้ยุโรป ราคาน�้ำมัน/ ทองค� ำ การรวมตั ว ของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (AEC) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากร เทคโนโลยี ก ารผลิ ต และการสื่ อ สาร พิ บั ติ ภั ย ทางธรรมชาติ เสถียรภาพทางการเมือง นโยบายภาครัฐและ การสนับสนุน หรือที่เรียกรวมกันว่า “กระแสโลกาภิวัตน์และ ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ อุ ต สาหกรรมไทย” ซึ่ ง ล้ ว นมี ผ ล กระทบกั บ รู ป แบบของตลาดการแข่ ง ขั น การพั ฒ นาและ ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมของไทยที่ผู้ประกอบการไม่ควร มองข้ามและควรหามาตรการหรือแนวทางในการขับเคลือ่ นธุรกิจ ตามปั จ จั ย ต่ า งๆ ที่ ส ่ ง ผลกระทบ โดยมี แ นวทางแตกต่ า งกั น ตามวิสัยทัศน์และประเภทอุตสาหกรรมนั้น ๆ

รูปแสดงพลวัตรของโลกใบใหม่และแนวโน้มอุตสาหกรรมในมิติใหม่

การเปลีย่ นแปลงดังกล่าว จะส่งผลให้เกิดพลวัตรของโลกใหม่ คือ เกิดการรวมตัวกันของตลาดที่มีการกระจายตัวในแต่ละพื้นที่ มาเป็นตลาดกลาง และมีการร่วมมือกันระหว่างนานาประเทศ ในด้านการผลิต บริการและการแก้ไขปัญหาร่วมกัน เกิดการ สร้างมาตรฐานของโลกซึง่ เป็นทีย่ อมรับในวงกว้าง และ มีมาตรการ ป้องกันความเสี่ยงร่วมกัน พร้อมทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อมของโลก ร่วมกัน ซึ่งจะส่งผลให้การพัฒนาอุตสาหกรรมต้องปรับเปลี่ยน รูปแบบไปตามบริบทใหม่ของโลก การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากกระแสโลกาภิวัตน์ วิ ก ฤตต่ า งๆ และภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ภาค อุตสาหกรรมไทยต้องร่วมกันสร้างความเข้มแข็ง และวางแนวทาง

การพัฒนาทีค่ รอบคลุมให้เกิดการต่อยอดได้ในอนาคต โดยจะต้อง ได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังจากภาครัฐเพื่อให้เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มุ ม มองของการเติ บ โตของภาคอุ ต สาหกรรมในอนาคต ของไทยอาจจะต้องปรับตัว เพือ่ สร้างความโดดเด่นในด้านคุณภาพ การผลิตและการให้บริการ ความรวดเร็วและการส่งมอบตรงเวลา ที่ส�ำคัญภาคอุตสาหกรรมต้องสร้างความแตกต่างอย่างชัดเจน เหนือคู่แข่งนอกเหนือจากปัจจัยเรื่องต้นทุนสินค้า ราคา การสร้าง แบรนด์จึงอาจตอบโจทย์ของการจดจ�ำและความต่างในแง่ของ แหล่งทีม่ าของสินค้า การยอมรับในตลาดและความเชือ่ มัน่ จึงเป็น สิ่งที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยไม่ควรมองข้าม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

159


พลังงาน...พลังขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรม

ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.จ�ำกัด (มหาชน)

พลังงานเป็นสิ่งที่มีความจ�ำเป็นและมีความส�ำคัญต่อภาค เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง กิจการพลังงานจึงจัดเป็นโครงสร้าง พื้นฐานที่มีส่วนส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ของประเทศ รัฐจึงจ�ำเป็นต้องเข้ามามีบทบาทในการลงทุนพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานให้เพียงพอกับความต้องการ การใช้พลังงานมี ปริมาณเพิ่มสูงขึ้นและประกอบกับการเกิดวิกฤตการณ์น�้ำมัน หลายๆ ครั้ง ส่งผลให้น�้ำมันมีราคาสูงขึ้น ประเทศน�ำเข้าพลังงาน รวมถึงประเทศไทยต้องขาดดุลการค้าเป็นอย่างมาก รัฐจึงมี นโยบายส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทในการพัฒนา กิจการพลังงาน เพือ่ เป็นการลดภาระการลงทุนของภาครัฐ และยัง ส่งผลให้มีการแข่งขันในตลาดพลังงานมากขึ้น ซึ่งจะก่อ ให้เกิด ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านพลังงาน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพลังงานของโลกซึ่งรวม ถึงประเทศไทยด้วยนัน้ ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงในอนาคต คือความส�ำเร็จของการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในด้าน พลังงานและยานยนต์ เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันทาง ด้านเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนกระแสการรณรงค์เพือ่ ลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกหรือคาร์บอนไดออกไซด์ จึงเป็นปัจจัยที่ กระตุ ้ น ให้ ป ระเทศต่ า งๆ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม พลั ง งาน หมุนเวียน ทั้งพลังงานลม แสงอาทิตย์ และพลังงานชีวภาพ ขึ้นเพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานน�้ำมัน โดยเฉพาะประเทศไทย

พลังงานทดแทนพลังงานอนาคต

กระทรวงพลังงานที่ก�ำหนดเป้าหมายแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทน 15 ปี โดยการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนให้เป็น ร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานทั้งประเทศ และแผนพัฒนาก�ำลัง การผลิตไฟฟ้า (Power Development Plan: PDP) ที่ประเทศไทย จะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เกิดขึน้ ในปี 2564 ส่วนทิศทางการสร้างโรง ไฟฟ้าในอนาคต การใช้พลังงานนิวเคลียร์อาจได้รับการยอมรับ จากประชาชนและสามารถเกิดขึน้ ได้เนือ่ งจากความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีจะท�ำให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีความปลอดภัยสูง และมี ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าทีต่ ำ�่ กว่าโรงไฟฟ้าประเภทอืน่ เราจะมีไร่กงั หัน ลมขนาดต่างๆ (Wind Farm) และไร่แผงผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ตามพื้นที่ต่างๆ เกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก นอกเหนือจากโรงไฟฟ้า ชีวมวลและโรงไฟฟ้าชีวภาพตามชุมชน รวมถึงโรงไฟฟ้าจากขยะ ด้วยซึง่ จะท�ำให้การใช้พลังงานในประเทศไทยมีความหลากหลาย ยิ่งขึ้น ช่วยลดการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ

ปิโตรเคมี..วัตถุดิบพื้นฐานอุตสาหกรรม

วิกฤตเศรษฐกิจโลกส่งผลกระทบถึงอุตสาหกรรมปิโตรเคมี จากก�ำลังการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ จ�ำนวนมาก ขณะทีค่ วามต้องการกลับ ลดลงอย่างฉับพลัน ท�ำให้ก�ำลังซื้อและความต้องการสินค้าของ ผู ้ บ ริ โ ภคทั่ ว โลกลดลงต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ค วามต้ อ งการใช้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีทั่วโลกลดลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง ปี ส.อ.ท. 160 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


BIG...Strong…Long…

อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมที่มีวัฏจักรลักษณะ การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์และอุปทานผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีมีความ แตกต่างกันมากโดยการเติบโตของอุปสงค์จะเป็นแบบค่อยเป็น ค่อยไป ในขณะที่อุปทานของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจะเพิ่มคราวละ มหาศาล เพื่อให้การลงทุนเกิดการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) ดังจะเห็นได้จากการขยายการลงทุนของประเทศผู้ผลิต ต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย และตะวันออกกลาง ซึ่งมีแผนการเปิด ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ในหน่วยลงทุนใหม่ๆ จ�ำนวนมาก อันจะก่อ ให้เกิดอุปทานส่วนเกินในตลาดได้ ท�ำให้ราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี มี แนวโน้มลดลง และผู้ผลิตจะประสบปัญหาก�ำไรลดลงหรือ ขาดทุนได้ แนวโน้มในระยะสั้นๆ 2-3 ปีจากนี้ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีจะ มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากความต้องการที่เพิ่มขึ้นจาก กลุ่มเศรษฐกิจเกิดใหม่ และประเทศอินเดียซึ่งเป็นตลาดเกิดใหม่ ทีม่ อี ตั ราการเติบโตสูง จะเป็นแรงขับเคลือ่ นทีส่ ำ� คัญต่อการเติบโต ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในเอเชีย

ภาค / ปี เกษตรกรรม เหมืองแร่ การผลิต ก่อสร้าง ที่อยู่อาศัย พาณิชย์ ขนส่ง รวม

2006 3,312.00 5.20 130.00 0.20 23,442.00 37.10 139.00 0.20 9,034.00 14.30 4,215.00 6.70 22,985.00 36.20 63,257.00 99.90

ปตท. ในฐานะผู้ผลิตภาคอุตสาหกรรม โดย "ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร" ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.จ�ำกัด (มหาชน) (ปตท.) กล่าวถึงยุทธศาสตร์หลักใน การพัฒนาด้านพลังงานของ ปตท. ว่าจะต้องประกอบไปด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 "มีขนาดใหญ่" หรือ BIG คือ การรักษาการเติบโต ขององค์กรอย่างต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน ส่วนที่ 2 "มีความยืนยาว" หรือ LONG คือ มีสายโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่ยาว ครอบคลุมไป ในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับพลังงานอย่างกว้างขวางและหลากหลาย โดยมีการด�ำเนินงานที่อยู่บนพื้นฐานของ "ความห่วงใย แบ่งปัน และใส่ใจ (Care, Share and Respect) ทั้งในกลุ่มชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม" และ ส่วนที่ 3 "มีความแข็งแกร่ง" หรือ STRONG คือ เป็นองค์กรแห่งคุณภาพ มีระบบบริหารจัดการทีด่ เี ลิศ เน้นการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรม เป็นองค์ประกอบหลัก ทั้งนี้ ปตท. มุ่งเน้นการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น ควบคู่ไป กับการมุ่งสู่ธุรกิจสีเขียวและพลังงานทดแทน (Renewable) ซึ่ง การจะก้าวสู่ระดับโลกได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องสร้างคือ "ขนาด" ของ องค์กรเพือ่ ท�ำให้เกิดความน่าเชือ่ ถือมากขึน้ รวมถึงเชือ่ มโยงไปถึง การสร้างฐานทางการเงินที่แข็งแกร่ง และสร้างความยั่งยืนด้วย การดูแลชุมชน และใส่ใจสิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ

2007 3,448.00 5.30 131.00 0.20 23,536.00 36.30 114.00 0.20 9,533.00 14.70 4,489.00 6.90 23,615.00 36.40 64,866.00 100.00

2008 3,446.00 5.20 121.00 0.20 24,195.00 36.70 105.00 0.20 9,958.00 15.10 4,968.00 7.50 23,097.00 35.10 65,890.00 100.00

2009 3,477.00 5.20 110.00 0.20 23,798.00 35.70 152.00 0.20 10,089.00 15.10 4,940.00 7.40 24,132.00 36.20 66,698.00 100.00

2010 3,499.00 5.00 123.00 0.20 25,281.00 36.00 167.00 0.20 10,963.00 15.60 5,620.00 8.00 24,594.00 35.00 70,247.00 100.00

การบริโภคพลังงานของภาคเศรษฐกิจ 2010

เกษตรกรรม เหมืองแร่ การผลิต ก่อสร้าง ที่อยู่อาศัย พาณิชย์ ขนส่ง

2009 2008 2007 2006 -

20,000.00

40,000.00

60,000.00

80,000.00

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

161


ก้าวส�ำคัญอุตสาหกรรมยานยนต์ ไทย

นายศุภรัตน์ ศิริสุวรรณางกูร รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย สามารถสร้างรายได้จากการส่งออกปีละกว่า 6 แสนล้านบาทและ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ปี และยั ง มี ป ริ ม าณการจ้ า งงานรวมใน อุตสาหกรรมนีม้ ากถึงร้อยละ 8 ของปริมาณการจ้างงานทัง้ ประเทศ อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมที่มีความส�ำคัญต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในด้านการผลิต การตลาด การ จ้างงาน การพัฒนาเทคโนโลยี และความเชือ่ มโยงกับอุตสาหกรรม ต่อเนื่องอื่นๆ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความสามารถและองค์ ความรู้ด้านเทคโนโลยียานยนต์ของประเทศไทย พบว่าผู้ผลิตใช้ เทคโนโลยีการผลิตที่น�ำเข้าจากต่างประเทศเกือบทั้งหมด และ ผู ้ ผ ลิ ต ไทยมี ค วามสามารถทางเทคโนโลยี ใ นระดั บ การใช้ เทคโนโลยีพื้นฐานเท่านั้น ส่วนความสามารถในการดัดแปลง เทคโนโลยี ออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ยังมีอยู่อย่างจ�ำกัด ท�ำให้โอกาสในการแข่งขันหรือการเข้าไปพัฒนาอุตสาหกรรม ยานยนต์ในตลาดทั่วไป เช่น รถยนต์นั่งส่วนบุคคล รถปิคอัพ เป็นไปได้ยาก นายศุภรัตน์ ศิริสุวรรณางกูร รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และในฐานะของประธานกลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวถึงภารกิจหลัก ของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ในการเป็นศูนย์รวมสมาชิกเพื่อ ผลั ก ดั น ให้ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ทยมี ค วามแข็ ง แกร่ ง และ สามารถทัดเทียมอุตสาหกรรมโลก โดยเร่งฟืน้ ฟูเรียกความเชือ่ มัน่ ซึ่งเราจะต้องท�ำร่วมกับภาครัฐและสภาอุตสาหกรรมฯ จะต้องเร่ง พัฒนาใน 3 ส่วน คือ 1. จะต้องมีวัตถุดิบต้นน�้ำหรือมีต้นทุนต�่ำ 2. สร้างมาตรฐานผลิตเครือ่ งจักรเองได้ และ 3. มีบคุ ลากรทีม่ ฝี มี อื ซึ่งถ้าเรามี 3 ข้อข้างต้นได้ บวกกับการบริหารจัดการที่ดี เชื่อว่า อุตสาหกรรมยานยนต์จะเติบโตอย่างมั่นคงแน่นอน

การกลับมาของคลัสเตอร์ยานยนต์

กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์เกิดแนวคิดทีจ่ ะพยายามรวมกลุม่ "คลัสเตอร์" กลับมาอีกครัง้ ประกอบกับเรือ่ งของ "ฟรีเทรด" ทีก่ ำ� ลัง จะเกิดขึ้นตามมาจ�ำนวนมากในอนาคต ซึ่งอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ยานยนต์ไทยเมื่อมีการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี หรือน�ำระบบ บริหารจัดการต้นทุนและวัตถุดิบจากทั่วโลกมาใช้ ผู้ประกอบการ ไทยจะสามารถแข่งขันได้ในตลาดและสามารถมีความเข้มแข็ง ในการรุกตลาดในทางกลับกันและเพื่อให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยมี ความแข็งแกร่งสามารถแข่งขันได้ และถ้าประเทศไทยจะเป็นฮับ ของอุตสาหกรรมยานยนต์ หรือดีทรอยต์แห่งเอเชียทีส่ มบูรณ์แบบ ก็จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีศูนย์ทดสอบ ส�ำหรับรูปแบบของการ ลงทุนนัน้ เบือ้ งต้นคาดว่าจะเป็นการลงทุนระหว่างรัฐบาลและภาค เอกชนอย่างละครึง่ ๆ ส่วนงบประมาณนัน้ คาดว่าจะต้องใช้เม็ดเงิน ในการลงทุนอย่างน้อย 10,000 ล้านบาท

ปี ส.อ.ท. 162 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


โครงสร้างตลาดรถยนต์ (ใหม่) ในประเทศปี 2553 (ม.ค.-มี.ค. : ปริมาณจ�ำหน่าย 166,802 คัน) เบนซ์ 0.5%

อีซูซุ 21.2%

โปรตอน 1.2% โตโยต้า 41.8%

ฮีโน่ 1.3% ฮอนด้า 13.1% เชฟโรเลต 2.2% นิสสัน มาสด้า 5.7% 4.1%

มิตซูบิชิ ฟอร์ด 4.6% 1.2% ที่มา : บจ. โตโยต้า ประเทศไทย

อื่นๆ 3.1%

ที่หาซื้อจากในตลาดชิ้นส่วนใช้แล้วของไทย หรือน�ำมาดัดแปลง ท�ำให้ไม่ปลอดภัยและมีปัญหาในการขึ้นทะเบียน การพั ฒ นายานยนต์ อ เนกประสงค์ ใ ห้ มี คุ ณ ภาพและ มาตรฐานจึงมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อความปลอดภัยของ ผู้บริโภค อีกทั้งยังเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้ผลิตมีการพัฒนาความ สามารถทางเทคโนโลยี เพื่อสร้างความเข้มแข็งในอุตสาหกรรม ยานยนต์ของไทย ซึ่งจะสามารถขยายผลไปยังอุตสาหกรรม ยานยนต์ในส่วนอื่นๆ ตลอดจนอุตสาหกรรมอื่นๆ ต่อไป

น�ำ้ ท่วมไทยสะเทือนไกลไปทั่วโลก

ยานยนต์ ในตลาดจ�ำเพาะ

อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยได้ชอื่ ว่าเป็นฐานการผลิตรถปิคอัพ 1 ตัน ที่ส�ำคัญของโลก ด้วยนโยบายการส่งเสริมจากทางภาครัฐ ตลอดมา ซึ่งรถปิคอัพถือได้ว่าเป็นรถเอนกประสงค์ที่มีการใช้งาน ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น ใช้ในเชิงเกษตรกรรม บรรทุกสินค้า เป็นรถยนต์นั่งส่วนบุคคล เป็นต้น เนื่องจากรถปิคอัพไทยมีความ แตกต่างจากรถบรรทุกขนาดเล็กที่เห็นได้ในต่างประเทศ ปิคอัพ ไทยจึงถือได้วา่ เป็นรถยนต์ทมี่ ตี ลาดเฉพาะ (niche market) อีกทัง้ ยังมีการผลิตอยู่เพียงไม่กี่ประเทศในโลกอีกด้วย ทั้งนี้ จากการที่ ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถปิคอัพของโลกนั้น ท�ำให้เกิดฐาน ของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่เข้มแข็งขึ้นด้วย ซึ่งถือได้ว่าเป็น ขีดความสามารถของประเทศไทยในการแข่งขันกับต่างประเทศ นอกเหนือจากการเป็นผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนอะไหล่ยานยนต์ทสี่ ำ� คัญ ของโลก ประเทศไทยยังมีอุตสาหกรรมยานยนต์ในตลาดจ�ำเพาะ ของรถยนต์เอนกประสงค์ในภาคการเกษตรที่มีปริมาณการผลิต พอสมควร ซึ่งยังมีช่องทางการพัฒนาที่มีความเป็นไปได้ และไม่ เป็นการแข่งขันกับตลาดยานยนต์ทั่วไป จึงถือเป็นโอกาสที่ส�ำคัญ ของประเทศ การพัฒนาตลาดจ�ำเพาะของรถยนต์อเนกประสงค์ในภาค การเกษตรมีความเป็นไปได้ในเชิงการตลาดและเชิงเทคนิค มูลค่า ตลาดอาจจะไม่ใหญ่เท่ายานยนต์ในตลาดทั่วไป โดยมีการเก็บ ข้ อ มู ล โดยส� ำ นั ก สถิ ติ แ ห่ ง ชาติ พบว่ า รถที่ มี ม ากในระบบคื อ “รถเกษตรกร” นอกจากนี้ยังมีรถประเภทอื่นๆ เช่น รถดับเพลิง รถ ขนขยะ รถบรรทุกน�้ำ รถยนต์โดยสารดัดแปลงทั้งแบบที่ใช้ใน ครอบครัวและใช้ในเชิงพาณิชย์ รถสองแถว รถพ่วง เป็นต้น ซึง่ ปัจจุบนั รถเหล่านีย้ งั มีการผลิตทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน โดยน�ำชิน้ ส่วน

ประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตการณ์น�้ำท่วมครั้งเลวร้าย ความ เสียหายจากน�้ำท่วมหลายแสนล้านบาท และผลกระทบวิกฤต น�้ำท่วมครั้งนี้ยังส่งผลกระทบกับอุตสาหกรรมยานยนต์ ส่งผล กระทบต่อบริษัทญี่ปุ่นราว 320 แห่ง และทั่วโลกอีกหลายร้อย บริษัท เพราะไม่มีชิ้นส่วนอะไหล่ไ ปผลิต ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า “น�ำ้ ท่วมประเทศไทยสะเทือนไกลไปทั่วโลก” อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยปิดยอดการผลิตรอบ 10 เดือนแรก ด้วยยอดการผลิต 1.334 ล้านคัน ลดลงร้อยละ 1.13 จากช่วง เดียวกันของปีทแี่ ล้ว ย้อนกลับมาดูเมือ่ เดือนทีผ่ า่ นมา อุตสาหกรรม ยานยนต์ไทยในช่วง 9 เดือนแรก มียอดการผลิตรวม 1.285 ล้าน คัน และมียอดการผลิตได้สงู สุดนับตัง้ แต่ปี 2504 ในเดือนกันยายน 2554 จ�ำนวน 1.74 แสนคัน จนมีการคาดการณ์ว่า ยอดผลิตรวม ทั้งอุตสาหกรรมในปีนี้ จะผลิตได้เกินเป้า 1.8 ล้านคัน เป็น 1.85 ล้านคัน แต่เมื่อเกิดผลกระทบรุนแรงจากปัญหาน�้ำท่วมตลอด เดือนตุลาคม ได้สง่ ผลกระทบอย่างรุนแรงในวงกว้างไปถึงโรงงาน ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นจ� ำ นวนมาก คาดการณ์ ว ่ า ฉุ ด ยอดผลิ ต รถเหลื อ ประมาณ 1.5 ล้านคัน วิกฤตการณ์นำ�้ ท่วมครัง้ ใหญ่ ครัง้ นีม้ ผี ลกระทบต่อเสถียรภาพ และความยั่งยืนของอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยอย่างมาก ใน ภาพทีป่ รากฏเด่นชัดคือผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่ เกิดขึ้นอย่างปัจจุบันทันด่วน และความเชื่อมั่นของนักลงทุนใน ฐานะผู้ประกอบการต่างชาติต่อการบริหารจัดการ การเยียวยา การฟืน้ ฟูอตุ สาหกรรม ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ จนอาจ ตัดสินใจย้ายฐานการผลิต นีค่ อื สิง่ ทีภ่ าครัฐและภาคอุตสาหกรรม ต้องมุ่งมั่นที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนในอุตสาหกรรม ยานยนต์ได้ว่า “ประเทศไทย มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพใน การผลิตอย่างยั่งยืนพอที่จะเป็นฐานการผลิตยานยนต์ของโลก” สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

163


ไทยเบฟ ... บริษัทเครื่องดื่มของคนไทย มุ่งสู่สากล ขยายตลาดด้วยสินค้าไทยในต่างประเทศ

ไทยเบฟเวอเรจถือว่าค่อนข้างใหม่ ในธุรกิจเครื่องดื่มไม่มี แอลกอฮอล์ ตอนนีก้ ารด�ำเนินงานในธุรกิจนีเ้ ป็นอย่างไรบ้าง

ถึงแม้ไทยเบฟเวอเรจจะค่อนข้างใหม่ในตลาดนี้ แต่ผมก็ยนิ ดี ที่จะแจ้งว่าผลการด�ำเนินงานในธุรกิจเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ถือว่าดีเกินที่คาดหวังไว้ ชาเขียวพร้อมดื่มโออิชิซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ หลักของเราส�ำหรับเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ยังคงเติบโตได้ดี ทุกวันนี้โออิชิเป็นผู้น�ำในตลาดชาเขียวพร้อมดื่มในประเทศ โดย มีส่วนแบ่งตลาดกว่า 60% นอกจากนี้ในส่วนของน�้ำดื่มและ โซดาตราช้างก็ยังคงเติบโตได้อย่างดีเช่นกัน ในปีที่ผ่านมา โออิชิได้ก้าวหน้าด้วยการออกสินค้าใหม่ คือ ชาคูลล์ซ่า ชาเขียวโซดารายแรกในประเทศไทย ซึ่งได้รับการ ตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้บริโภครุ่นใหม่ รวมทั้งออกผลิตภัณฑ์ ฟรุตโตะ ชาเขียวรสผลไม้ในรสชาติใหม่ๆ อีกด้วย ส่วนชาเขียว โออิชิ มีการออกโออิชิ คิคุชะ ชาเขียวรสเก๊กฮวย ซึ่งเป็นที่นิยมใน ท้องตลาดเช่นกัน

การด�ำเนินงานในตลาดต่างประเทศของไทยเบฟเวอเรจ เป็นอย่างไรบ้าง

คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการผู้อำ� นวยการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ “ไทยเบฟ” เป็นผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเครือ่ งดืม่ รายใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในบริษัทชั้นน�ำในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทยเบฟเวอเรจมีผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มที่หลากหลายส�ำหรับลูกค้า กลุ่มต่างๆ ทั้งยังเสริมความแข็งแกร่งด้วยระบบโลจิสติกส์และ เครือข่ายการกระจายสินค้าที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ บริษัทได้ขยายกิจการไปยังธุรกิจเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง ขยายการเติบโต เพิ่มมูลค่าให้กับ ผูถ้ อื หุน้ และในเวลาเดียวกันไทยเบฟเวอเรจก็ได้ขยายตลาดไปยัง ต่างประเทศเช่นกัน คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้สัมภาษณ์ถึง มุ ม มองส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ ของไทยเบฟเวอเรจ รวมทั้ ง เปิ ด เผยถึ ง แผนการเติบโตและกลยุทธ์ของบริษัท ปี ส.อ.ท. 164 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

รายได้ จ ากธุ ร กิ จ ต่ า งประเทศของเราเติ บ โตอย่ า งมาก โดยมี International Beverage Holdings Limited (IBHL) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ดูแลด้านการกระจายสินค้าในต่างประเทศ ปัจจุบันได้ขยายตลาดไปกว่า 80 ประเทศทั่วโลก ผลิตภัณฑ์ ที่ ข ายดี คื อ Single Malt Scotch Whisky และ Blended Whisky ที่ผลิตจากโรงงาน Inver House Distillers ของเราเอง ในประเทศสกอตแลนด์ ส่วนเบียร์ช้างที่ส่งออกไปยังต่างประเทศ ก็ ไ ด้ ใ ช้ เ ครื อ ข่ า ยการกระจายสิ น ค้ า อั น แข็ ง แกร่ ง ที่ IBHL ด�ำเนินการ นอกจากนี้ เรายังมีโรงงานสุราในประเทศจีน Yunnan Yulinquan Liquor Co., Ltd. (ยูนนาน อี้หลิงฉวน) ที่ผลิตสุราจีน ด้วยเช่นกัน เบียร์ช้างในต่างประเทศได้มีการเติบโตเป็นอย่างดี ทั้งใน ตลาดภูมิภาคอาเซียนและอเมริกา ด้วยกลยุทธ์การใช้กีฬาและ ดนตรีเป็นตัวน�ำ เช่น การสนับสนุนสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันใน พรีเมียร์ลกี อังกฤษ และมีการจัดคอนเสิรต์ ศิลปินดังอย่างคาราบาว ส�ำหรับชาวไทยในต่างประเทศ ในส่วนธุรกิจสุราต่างประเทศนั้นผลิตภัณฑ์วิสกี้ของ Inver House ได้รับรางวัลจากการประกวดมากมาย ทั้งวิสกี้ Balblair, Hankey Bannister, Old Pulteney และ Speyburn ซึ่งมียอดขาย เติบโตอย่างต่อเนื่องจากการที่เราได้ขยายตลาดไปยังยุโรปตะวัน ออกและรัสเซีย นอกจากนี้ ยอดขายของสุราจีน จากโรงงาน Yunnan Yulinquan ในประเทศจี น ยั ง คงเติ บ โตได้ ดี เ ช่ น กั น เมื่ อ เราได้ ตั้ ง ส� ำ นั ก งานขายในคุ น หมิ ง และเพิ่ ม ช่ อ งทางการ จัดจ�ำหน่ายในมณฑลยูนนาน


ขบวนรถบรรทุกผ้าห่มของ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) ก�ำลังเดินทางเพื่อไปมอบผ้าห่มในโครงการ

“ไทยเบฟ รวมใจต้านภัยหนาว”

เพราะเหตุใดไทยเบฟเวอเรจจึงก่อตั้ง บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จ�ำกัด ขึ้นมา

การที่ เ รามี บ ริ ษั ท ที่ ด� ำ เนิ น การด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ข องเราเอง ท�ำให้เราสามารถดูแลและควบคุมการด�ำเนินงานของเครือข่าย การกระจายสินค้าได้อย่างเต็มที่ เราเชือ่ ว่าการทีเ่ ราสามารถบริหาร งานด้านโลจิสติกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพจะมีข้อดีส�ำหรับธุรกิจ หลายประการ ทัง้ เป็นการใช้สนิ ทรัพย์ทมี่ อี ยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด บริหารสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพิ่มประสิทธิภาพ ส�ำหรับการจัดจ�ำหน่าย และลดต้นทุนอีกด้วย เมื่อเดือนกันยายน 2554 ไทยเบฟเวอเรจ ได้เข้าซื้อกิจการ บริษัท เสริมสุข จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในด้าน การกระจายสินค้าของบริษทั และยังท�ำให้สามารถกระจายสินค้า เข้าถึงร้านค้าปลีกได้อย่างเต็มที่

นอกจากนี้ ไทยเบฟเวอเรจยังด�ำเนินการช่วยเหลือสังคมใน ด้านอื่นๆ เช่น ให้ความช่วยเหลือด้านสาธารณสุข น�ำทีมแพทย์ผู้ เชี่ยวชาญไปรักษาประชาชนที่เจ็บป่วยที่คลินิกช้างในจังหวัด ก�ำแพงเพชร โดยไม่คดิ ค่าแพทย์ รวมทัง้ บริจาคอุปกรณ์การแพทย์ ให้กับโรงพยาบาลหลายแห่ง ส่วนด้านการศึกษาไทยเบฟเวอเรจ ก็ได้ให้การสนับสนุนนักเรียนผู้เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อมอบโอกาสทางการศึกษาให้กับเด็กๆ ส่วนในต่างประเทศ ไทยเบฟเวอเรจก็ได้ชว่ ยสนับสนุนกิจกรรมวิง่ การกุศล Bull Charge ซึง่ จัดขึน้ โดยตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ บริจาค เงินให้กบั มูลนิธเิ พือ่ ผูพ้ กิ าร ผูส้ งู อายุ และผูด้ อ้ ยโอกาสหลายๆ แห่ง อีกทัง้ ยังให้เงินสนับสนุนเลีย้ งดูชา้ ง “ชวาง” ในสวนสัตว์ Singapore Night Safari เพื่อสนับสนุนการวิจัยและ Wildlife Reserves Singapore เพื่ออนุรักษ์ช้าง ในปี 2554 ทีผ่ า่ นมา ได้เกิดวิกฤตอุทกภัยในหลายจังหวัดของ ประเทศไทย ซึ่งส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง แม้ไทยเบฟเวอเรจเอง รวมทัง้ พนักงานในองค์กร จะได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์ครัง้ นี้ ด้วย แต่บริษทั ฯ ก็ออกให้ความช่วยเหลือแก่ผปู้ ระสบภัย ทัง้ ความ ช่วยเหลือในด้านอาหาร น�ำ้ ดืม่ ทีพ่ กั และเงินช่วยเหลือในเบือ้ งต้น และยังช่วยฟืน้ ฟูเยียวยาหลังน�ำ้ ลดผ่านโครงการต่างๆ ล่าสุด ไทย เบฟเวอเรจ ได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนชั้นน�ำกว่า 40 บริษัท เพื่อจัดตั้งโครงการ “พลังน�้ำใจไทย Power of Thai” เพื่อระดมทุน ส�ำหรับช่วยเหลือและฟื้นฟูโรงเรียนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤต อุทกภัย

คุณฐาปนมองอนาคตของไทยเบฟเวอเรจไว้อย่างไรบ้าง

ธุรกิจของไทยเบฟเวอเรจถือว่าประสบความส�ำเร็จกับตลาด ในประเทศแล้ว ซึ่งเราจะยังคงมุ่งมั่นทุ่มเทเพื่อการเติบโตต่อไป อย่างไรก็ตามเราจะต้องจับตามองหาโอกาสในการขยายตัว ในตลาดต่างประเทศด้วยเช่นกัน ทั้งโอกาสในการเข้าซื้อกิจการ เครื่องดื่มที่มีมูลค่าเหมาะสมส�ำหรับไทยเบฟเวอเรจ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชียที่ไม่ไกลจากประเทศไทย และยังมี ความนิยมของผูบ้ ริโภคคล้ายคลึงกัน แนวโน้มการเติบโตของไทย เบฟเวอเรจจะมาจากทั้ ง การขยายตั ว ของธุ ร กิ จ ปั จ จุ บั น และ การเข้าซื้อกิจการใหม่ๆ ผมมองว่าไทยเบฟเวอเรจเป็นบริษัท เครื่องดื่มครบวงจรและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บริษัทจะสามารถ สร้างธุรกิจให้เติบโตไปอย่างยั่งยืน ท�ำให้ไทยเบฟเป็นที่รู้จักไป ทั่วโลก และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ถือหุ้นต่อไป

เป็ น ที่ ทราบกั น ดี ว ่าไทยเบฟเวอเรจเป็น องค์กรที่ มี ความ รับผิดชอบต่อสังคม อะไรคือแรงจูงใจที่ท�ำให้บริษัทยังคง ด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง

เราเชื่อว่าการให้ การแบ่งปันคืนสู่สังคมและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้กับชุมชนข้างเคียงจะสร้างประโยชน์ให้กับคนจ�ำนวน มาก กว่า 12 ปีมาแล้ว ที่ไทยเบฟเวอเรจได้ด�ำเนินการโครงการ “ไทยเบฟ รวมใจต้านภัยหนาว” บริจาคผ้าห่มปีละ 200,000 ผืน ให้กับผู้ยากไร้และด้อยโอกาสในชุมชนที่ห่างไกลความเจริญ ซึ่งประสบความล�ำบากในฤดูหนาว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

165


ทิศทางอุตสาหกรรมอาหารไทยสู้วิกฤตภัยธรรมชาติ การเปลี่ ย นแปลงจากปั จ จั ย ภายนอก โดยเฉพาะภาวะ เศรษฐกิจ ราคาน�ำ้ มัน ค่าเงินบาท มาตรการทางการค้าทีม่ ใิ ช่ภาษี การค้าโลกทีม่ แี นวโน้มสูร่ ะบบการค้ากติกาสากล การเปลีย่ นแปลง โครงสร้างของประชากร วิถีการด�ำเนินชีวิตปกติ วิวัฒนาการ ทางการแพทย์ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ ทัว่ โลกและทวีความ รุนแรงเกิดขึ้นบ่อยครั้งขึ้นอย่างไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ รวมทั้งความเปลี่ย นแปลงในสภาพภูมิอากาศโลก (Climate change) ต่างส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรและต่อเนือ่ ง ถึงอุตสาหกรรมอาหารทั่วโลกอย่างชัดเจน การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ ลดความเสี่ ย งหรื อ กระจาย ความเสี่ยงจากปัจจัยต่างๆ ในการสรรหาวัตถุดิบจากหลายๆ แหล่ ง เพื่ อ ทดแทนและรวมทั้ ง การกระจายตั ว ของตลาด ประเทศไทยในฐานะคลังอาหารของโลก จึงต้องพร้อมรับมือ สถานการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตที่มี แนวโน้มความถีแ่ ละทวีความรุนแรงมากขึน้ ปัจจัยทีผ่ ปู้ ระกอบการ ไทยต้องพิจารณาเกีย่ วกับการส่งออก คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจโลก และภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นทั่วโลก ซึ่งมีผลกระทบในด้านการผลิต และการส่งออก อุ ต สาหกรรมอาหารไทยเป็ น อุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานจาก การเกษตร โดยสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลัก คือ ผลิตภัณฑ์ จากประมง ผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากผักและผลไม้ ผลิตภัณฑ์จากข้าวและการแปรรูปจากข้าว ซึ่งผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมอาหารส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการ SMEs ที่เจ้าของ กิจการเป็นคนไทย แต่ส�ำหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เป็นการ ลงทุนของชาวต่างชาติ หรือการร่วมลงทุนเป็นหลัก ปัจจัยและสภาวการณ์ที่มีผลต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลง อุตสาหกรรมอาหารโลก ที่อุตสาหกรรมอาหารของไทยควรค�ำนึง ถึงและปรับตัวตาม ได้แก่ 1. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 2. วิกฤต อาหาร ผลผลิตอาหารทีล่ ดลงสวนทางกับความต้องการการบริโภค จากปัจจัยการผลิต การเพิ่มของประชากร การแย่งชิงผลผลิต ทางการเกษตรระหว่างอาหารและพลังงานทดแทน ภาวะโลกร้อน และภัยพิบัติ ตลอดจนการเก็งก�ำไรในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ 3. อุตสาหกรรมฮาลาล ทีม่ กี ารขยายตัวต่อเนือ่ ง ตามการขยายตัว ของเศรษฐกิจตลาดใหม่ 4. อาหารดัดแปลงพันธุกรรม (GMF Genetically Modified Food) นอกจากนั้ น อุ ต สาหกรรมอาหารยั ง ต้ อ งเผชิ ญ กั บ การ เปลี่ยนแปลงด้านการผลิตและการจ� ำหน่าย อันเนื่องมาจาก พฤติกรรมการบริโภคในตลาดโลก โดยมีแนวโน้มความต้องการ ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปในการมุ่งเน้นเรื่องสุขภาพ คุณภาพ และความปลอดภั ย ของอาหาร การเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า ง ประชากรและวิ ถี ชี วิ ต ประจ� ำ วั น พฤติ ก รรมการอ่ า นฉลาก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ การพั ฒ นานวั ต กรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ และแนวโน้ ม ความต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภคจ� ำแนกตามผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารที่ มี คุณภาพ ปี ส.อ.ท. 166 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ครัวไทย สู่ครัวอาหารปลอดภัยของโลก

สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย สภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย และสถาบันอาหาร และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ ธุ ร กิ จ สิ น ค้ า เกษตรและอุ ต สาหกรรมอาหาร แนะแนวทาง 5 ประการของการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทย เพื่อพร้อม ไปสู่การยกระดับ “ครัวไทย สู่ครัวอาหารปลอดภัยของโลก” ดังนี้ 1) พัฒนาความเชือ่ มโยงระหว่างภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ บริการ เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ “อาหารไทยเป็นอาหารของโลก” และการยกระดับไปสูก่ ารสร้าง “ครัวไทยเป็นครัวอาหารปลอดภัย ของโลก” 2) พัฒนาเชิงโครงสร้างตัง้ แต่วตั ถุดบิ ต่อเนือ่ งจนถึงการตลาด อย่างเป็นรูปธรรม เพือ่ สร้างความยัง่ ยืนในภาคอุตสาหกรรมอาหาร 3) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้า รวมทัง้ ความปลอดภัยใน อาหาร (Food safety) เพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้าในระดับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC 4) ก�ำกับดูแลราคาสินค้าวัตถุดิบต้นทาง ตลอดจนสินค้า ส�ำเร็จรูปปลายทางให้สอดคล้องกัน 5) ป้องกันปัญหามาตรการทางการค้าทีส่ มั พันธ์กบั ภาวะโลก ร้อนที่จะมีเพิ่มขึ้นเป็นผลให้เกิดอุปสรรคการค้าและการส่งออก สินค้าเกษตรและอาหาร

ความส�ำเร็จของอุตสาหกรรมอาหารไทย

อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้เงินลงทุนน้อย ใช้วัตถุดิบภายในประเทศสูง และสามารถน�ำเอาทรัพยากรที่อุดม สมบูรณ์ของประเทศไปพัฒนาเพื่อประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม ประเทศไทยเป็นประเทศทีม่ ศี กั ยภาพสูงในการผลิตอาหารและการ ส่งออก เนือ่ งจากมีพนื้ ฐานด้านการผลิตทางการเกษตรทีม่ นั่ คงและ มัง่ คัง่ อีกทัง้ แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานฝีมอื ทีม่ ฝี มี อื อันประณีต เป็นแรงงานคุณภาพ ท�ำให้สินค้าของไทยมีมูลค่าเพิ่มมากกว่า สินค้าที่มาจากประเทศอื่น มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิตเพื่อ ให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพ และสามารถลดต้นทุนการผลิต ท�ำให้

สินค้าของไทยมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้ ตลอดจนการยอมรับในเรือ่ งของการ ส่งมอบสินค้าและความรับผิดชอบต่อสินค้า ลูกค้าจึงมีความ เชือ่ มัน่ ในสินค้าไทย ทัง้ ในแง่ของการผลิตและคุณภาพของสินค้า ผ่านการยอมรับจากมาตรฐานที่ต่างประเทศก�ำหนด เช่น GMP, HACCP, Animal welfare เป็นต้น และสามารถตรวจสอบย้อน กลับได้ตลอดทัง้ กระบวนการผลิต รูแ้ หล่งทีม่ าของสินค้าแต่ละชิน้ ท�ำให้ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่าสินค้ามีความปลอดภัย

ตารางแสดงมูลค่าการส่งออกสินค้าอาหารไทย (หน่วย : ล้านบาท) ปี พ.ศ. 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554*(ม.ค.-ก.ค.54)

มูลค่าการส่งออก 507,013 519,816 563,911 617,542 776,000 754,212 802,653 563,688

ที่มา : ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

ตารางแสดงมูลค่าการส่งออก น�ำเข้า ดุลการค้าสินค้าอาหารไทย (หน่วย:ล้านบาท) น�ำเข้า ส่งออก ดุลการค้า 2552 2553 2552 2553 2552 2553 236,862 266,276 754,212 802,653 517,350 536,377 ที่มา : ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

167


อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และสารสนเทศ

กับบทบาทฐานการผลิตที่ส�ำคัญของเอเชีย

อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทส�ำคัญต่อเศรษฐกิจของ ประเทศไทยมาตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่ผ่านมา ทั้งในด้านการ ลงทุน การจ้างงาน และการส่งออก อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย โดยมาก เป็นการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตของบริษัทชั้นน�ำของโลกเข้ามา ตั้งฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปยังตลาดโลก ปัจจุบันประเทศไทย ยังเป็นฐานการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ส�ำคัญของเอเชียอีกด้วย ด้วยความโดดเด่นของประสบการณ์และทักษะของแรงงานไทย ตลอดจนความสัมพันธ์ทดี่ ใี นการท�ำงานร่วมกันระหว่างคนไทยกับ ชาวต่ า งชาติ และความได้ เ ปรี ย บทางสภาพภู มิ ศ าสตร์ ที่ อ ยู ่ ศูนย์กลางของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท�ำให้ประเทศไทย ยังคงมีศักยภาพในการลงทุนตั้งฐานการผลิตของผู้ประกอบการ จากทั่วโลก การผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศมีเพียง 10% ในขณะ ทีก่ ารผลิตเพือ่ การส่งออกสูงถึง 90% ปัจจัยส�ำคัญทีม่ ากระทบกับ ภาคอุตสาหกรรมจึงเป็นผลจากภาวะเศรษฐกิจของโลก ปัญหา เรื่องค่าเงิน การกีดกันทางการค้า ตลอดจนปัญหาหนี้ของภูมิภาค ต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจโลก ผู้ผลิตจึงหันมาให้ความส�ำคัญกับ ตลาดในประเทศมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงในการส่งออกและ น�ำเข้าตลาดอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทยมีอตั รา การเติบโตอย่างรวดเร็วและมีนกั ลงทุนทัง้ ไทยและต่างประเทศให้ ความสนใจและมีความต้องการลงทุนเพิม่ สูงขึน้ ท�ำให้มกี ารลงทุน สะสมอย่างต่อเนื่อง

ต้นน�้ำสู่ปลายน�ำ้

อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บ่ ง ออกเป็ น อุตสาหกรรมต้นน�้ ำ อุตสาหกรรมกลางน�้ ำ และอุตสาหกรรม ปลายน�้ำ ดังนี้ คือ 1. อุ ต สาหกรรมต้ น น�้ ำ ซึ่ ง เป็ น อุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานของ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คือ การออกแบบวงจรไฟฟ้า การผลิตและเจือสารแผ่นเวเฟอร์ 2. อุ ต สาหกรรมกลางน�้ ำ คื อ อุ ต สาหกรรมชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งประกอบด้วยการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board: PCB) และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ซึ่งเป็น อุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกเป็นหลัก 3. อุตสาหกรรมปลายน�้ำ คือ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ อุ ป กรณ์ โ ทรคมนาคม เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ซึ่ ง ผู ้ ผ ลิ ต มี ก ารพั ฒ นา ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีการออกแบบและมีความสามารถ ในการผลิตชิ้นส่วน ส่วนประกอบและผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ท�ำให้ เครื่องใช้ภายในบ้านที่ผ ลิตในประเทศไทยมีรูปแบบสวยงาม คุณภาพดี การผลิตเครื่องใช้ภายในบ้าน รวมทั้งมีความเชื่อมโยง กับอุตสาหกรรมในประเทศสูง ปี ส.อ.ท. 168 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สินค้าส่งออกหลัก ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ คู่แข่งในอาเซียนที่ส�ำคัญ ตลาดน�ำเข้าหลักของไทย กลุ่มผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรม - กลุ่มผลิตภัณฑ์โทรคมนาคม - กลุ่มผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ - กลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ - กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในบ้าน - กลุ่มผลิตภัณฑ์ซอฟแวร์ - กลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุน

คือ แผงวงจรไฟฟ้า PCB เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และกลุ่มสหภาพยุโรป คือ ประเทศมาเลเซีย และประเทศสิงคโปร์ คือ สหรัฐอเมริกา จีน เยอรมัน ฮ่องกง และญี่ปุ่น โครงสรางสินคาส่งออก (รอยละ) 1. เครื่องคอมพิวเตอรอุปกรณและสวนประกอบ 56.15 2. แผงวงจรไฟฟา 23.78 3. อื่น ๆ 20.07 โครงสรางราคา (ร้อยละ) - ปัจจัยการผลิตในประเทศ 25 - ปัจจัยการผลิตนอกประเทศ 70 - Approx. margin 5 ผูผลิต : 669 ราย - ขนาดเล็ก (ทุนจดทะเบียนไมเกิน 50 ล้านบาท) 431 ราย - ขนาดกลาง (ทุนจดทะเบียนระหวาง 50-200 ล้านบาท) 135 ราย - ขนาดใหญ (ทุนจดทะเบียนมากกวา 200 ล้านบาท) 103 ราย (รวมผูผลิตชิ้นสวนเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 1,391 ราย) จ�ำนวนคนงานรวมทั้งสิ้น : 480,397 คน (แรงงานรวมของเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส) 510 ราย จ�ำนวนผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกกรมโรงงานอุตสาหกรรม สัดส่วนการจ�ำหน่ายสินค้า (ร้อยละ) - ส่งออก 80 – 90 20 - 10 - ในประเทศ

อนาคตอุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ สารสนเทศ

อุตสาหกรรมในประเทศยังมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นได้ เนือ่ งจากผูผ้ ลิตสินค้าเครือ่ งใช้ไฟฟ้ามีการพัฒนาการออกแบบรูป ลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลายมากขึ้น ประกอบกับมี ปัจจัยเอื้อจากการส่งเสริมการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตของสถาบัน การเงินต่างๆ และพฤติกรรมการซื้อสินค้าเงินผ่อน และมีการจัด โปรแกรมส่งเสริมการขายที่มีอย่างต่อเนื่อง แต่การขยายตัวของ ตลาดในประเทศส�ำหรับผู้ผลิตในประเทศอาจจะไม่สูงเท่าที่ควร เนือ่ งจากผูผ้ ลิตไทยจะต้องพบกับการแข่งขันจากสินค้าน�ำเข้าจาก ประเทศในกลุ่มอาเซียนที่ได้เปรียบจากการมีต้นทุนการผลิตที่ถูก กว่าและได้เปรียบจากการทีไ่ ทยลดภาษีขาเข้าตามข้อตกลง AFTA และสิ น ค้ า ราคาถู ก จากประเทศจี น ที่ เ พิ่ ง เข้ า เป็ น สมาชิ ก ใหม่ องค์การการค้าโลกมากขึ้นจากเดิม ตลาดส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทย มีแนวโน้มการแข่งขันที่ รุนแรงมากขึน้ โดยเฉพาะสินค้าจากประเทศจีนทีก่ ำ� ลังได้สว่ นแบ่ง ตลาดมากขึ้นเรื่อยๆ ในตลาดส่งออกหลักของไทย ผู้ผลิตไทยจึง ต้องเพิม่ การวิจยั และพัฒนาการผลิตสินค้าให้มรี ะดับเทคโนโลยีที่

สูงขึ้น ตลอดจนปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางการตลาดให้เข้าถึงลูกค้า อยู่ตลอดเวลา ส่วนภาครัฐต้องเร่งปรับโครงสร้างภาษีน�ำเข้าให้ เหมาะสมโดยเร็ว พร้อมกับสนับสนุนให้ภาคเอกชนปรับปรุง กระบวนการผลิ ต ให้ ไ ปสู ่ น วั ต กรรมที่ สู ง ขึ้ น เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการแข่งขัน และพัฒนา อุตสาหกรรมนีก้ ย็ งั ประสบปัญหาหลายประการไม่วา่ จะเป็น ปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างอุตสาหกรรม ปัญหาการขาดระบบ สนับสนุนที่ดี จนกระทั่งการขาดทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนาไป ข้างหน้า อาจมีแนวโน้มที่จะถดถอยลงตามล�ำดับ รวมถึงอาจมี การย้ายฐานการผลิตออกจากประเทศไทย ซึ่งจะก่อให้เกิดผล กระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม อันเนือ่ งจากปัจจัย ของการรวมตัวกันจัดตั้งเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งจะมี ผลให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นย้ า ยเงิ น ทุ น แรงงาน ตามเงื่ อ นไขของ ประชาคมอย่างเสรีในปี 2015

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

169


ค้าปลีกไทยเติบโตต่อเนื่อง…เข้าสู่ช่องทางใหม่ ธุรกิจค้าปลีกของไทยในอีก 10 ปีข้างหน้ามีแนวโน้มเติบโต สูงและเปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง ทั้งในแง่รูปแบบการด�ำเนินธุรกิจ และประเภทของสินค้าทีเ่ ป็นทีต่ อ้ งการของตลาดในอนาคต ซึง่ จะ ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่จะมีผู้บริโภคกลุ่ม ใหม่เป็นก�ำลังซื้อส�ำคัญ โดยจะมีการขยายสาขาไปต่างจังหวัดให้ ครอบคลุมทุกๆ ภูมิภาคของประเทศ แต่การขยายสาขาของธุรกิจ ค้าปลีก ไม่เพียงค�ำนึงถึงลักษณะของท�ำเลที่เหมาะสมยังต้องมี ความหนาแน่น และก�ำลังซือ้ ทีม่ ากพอ ตลอดจนปัจจัยในแง่ตน้ ทุน ที่ดินและภูมิศาสตร์ ความพร้อมของสาธารณูปโภค เพื่อให้เกิด ความสะดวกในการเข้าถึงบริการ รวมถึงการเจาะกลุ่มลูกค้า ในจังหวัดใกล้เคียงได้ด้วย ตลอดจนท�ำเลที่เหมาะสมในการ บริหารต้นทุนจัดการทั้งด้านขนส่งและสินค้าคงคลังได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มูลค่าตลาดรวมค้าปลีกในปี 2553 ทีผ่ า่ นมามีมลู ค่า 1.4 ล้าน ล้านบาท และมีแนวโน้มเติบโตต่อเนือ่ งจากพฤติกรรมการจับจ่าย ใช้สอยของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไป โดยแบ่งสัดส่วนเป็น โมเดิรน์ เทรด (Modern Trade) ร้อยละ 40 และเทรดดิชนั่ นอลเทรด (Traditional Trade) ร้อยละ 60 ซึง่ คาดว่าจากปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลให้สดั ส่วน การเติบโตของธุรกิจค้าปลีกในปี 2554 ขยับไปที่ โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) ร้อยละ 45 และเทรดดิชนั่ นอลเทรด (Traditional Trade) ร้อยละ 55

ค้าปลีกไทย...หัวใจต่างชาติ

กระแสการเข้ามาลงทุนของผูป้ ระกอบการต่างชาติในหลายๆ ภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ในอุตสาหกรรมค้าปลีกไทยในปัจจุบนั บริษทั ใหญ่ๆ ที่ด�ำเนินธุรกิจในไทยเป็นสัดส่วนของบริษัทต่างชาติถึง ร้อยละ 80-90 มีอตั ราการขยายตัวของอุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ ง แต่ เ มื่ อ มองให้ แ ท้ จ ริ ง ความเจริ ญ เติ บ โตที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น เพี ย ง ภาพลวงตาของสภาพเศรษฐกิจพื้นฐานที่ถูกทดแทนด้วยระบบ เศรษฐกิจใหม่เท่านั้นเอง ช่องทางค้าปลีกอีกช่องทางทีน่ า่ จับตา คือการเติบโตอย่างก้าว กระโดดของผู้ใช้บริการ social network โดยเฉพาะ facebook ทีป่ จั จุบนั มีจำ� นวนสมาชิกถึงกว่า 650 ล้านคนทัว่ โลก ภายในเวลา ไม่ถึง 10 ปี ผู้ค้าปลีกรายใหญ่ๆ จึงเริ่มสนใจ หันมาท�ำการตลาด กับลูกค้าผ่าน fan page มากขึน้ โดยพบว่า ผูค้ า้ ปลีกรายใหญ่ของ โลกล้วนมีการใช้ facebook page เป็นเครื่องมือในการสื่อสารกับ ผูบ้ ริโภค และช่องทางธุรกิจค้าปลีกทีต่ อ้ งจับตามองทีใ่ ช้สอื่ social network เป็ น สื่ อ ที่ เ ข้ า ถึ ง ผู ้ ซื้ อ ได้ ม ากที่ สุ ด คื อ การขายผ่ า น อินเทอร์เน็ตที่เติบโตเร็วตามการเพิ่มจ�ำนวนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ผู้ค้าปลีกรายใหญ่ต่างหันมาให้ความส�ำคัญกับการขายสินค้า ออนไลน์เป็นช่องทางเสริมจากการขายผ่านหน้าร้านมากขึ้น โดย คาดว่าการขายผ่านอินเทอร์เน็ตจะเติบโตราวร้อยละ 10 ต่อปี ในอีก 5 ปีข้างหน้า ปี ส.อ.ท. 170 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ค้าปลีกจะรุ่งจะร่วงด้วยศักยภาพระบบ logistic และระบบ สนับสนุนการจัดจ�ำหน่าย

ระบบการค้าปลีก-ค้าส่งสมัยใหม่ ประสบผลส�ำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ ที่ ส ามารถบริ ห ารและควบคุ ม ต้ น ทุ น การขนส่ ง ให้ เ กิ ด ความ ได้เปรียบในการแข่งขัน และสามารถขยายกิจการจนเกิดการ ประหยัด (Economies of Scale) ท�ำให้ต้นทุนต่อหน่วยต�่ำกว่า ผู้ค้าปลีกรายย่อย และยังสามารถเข้าถึงแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำ จากต่ า งประเทศและเทคโนโลยี ส ารสนเทศอี ก ด้ ว ย ระบบ โลจิสติกส์คุณภาพที่ถูกน�ำมาใช้ ได้แก่ 1) Cross Docking โดยการสัง่ ซือ้ รวมศูนย์มายังศูนย์กระจาย สินค้า Distribution Center (DC) ซึ่งช่วยประหยัดค่าขนส่ง และ สามารถกระจายสินค้าไปยังสาขาต่างๆ ภายในเวลาที่กำ� หนดได้ 2) ระบบ EDI (Electronic Data Interchange) ซึ่งเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ของสาขากับ DC ของบริษัท และเครื่องคอมพิวเตอร์ ของซัพพลายเออร์ สินค้าทุกชิน้ ทีจ่ ำ� หน่ายในร้านจะถูกควบคุมด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ โดยอ่านเครือ่ งหมายบาร์โค้ดทีต่ ดิ อยูก่ บั สินค้า วิธีนี้ท�ำให้บริษัททราบข้อมูลยอดขายสินค้าแต่ละชนิดได้ตลอด เวลา

ระบบการค้าปลีก-ค้าส่งสมัยใหม่ ประสบผลส�ำเร็จ เนื่องจากการคิดค้นระบบโลจิสติกส์ที่สามารถบริหารและ ควบคุมต้นทุนการขนส่งให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน และสามารถขยายกิจการจนเกิดการประหยัด (Economies of Scale) ท�ำให้ต้นทุนต่อหน่วยต�่ำกว่าผู้ค้าปลีกรายย่อย และยั ง สามารถเข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น กู ้ ด อกเบี้ ย ต�่ ำ จาก ต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศอีกด้วย

ความเชื่อมั่นค้าปลีกไทย..ปากท้องคนไทยในสถานการณ์ วิกฤต

จากสถานการณ์วิกฤตน�ำ้ ท่วมครั้งใหญ่ ซึ่งก่อความเสียหาย ให้กับภาคอุตสาหกรรม ชุมชน สังคม ไม่เพียงวิกฤตที่กระทบใน ภาคการผลิต แต่สิ่งที่เกิดขึ้นและกระทบไปทั่วประเทศที่เกี่ยวโยง กับค้าปลีกไทย ภาพชั้นวางสินค้าที่ไม่มีสินค้าในร้านสะดวกซื้อ ซุปเปอร์มาร์เก็ต ซุปเปอร์สโตร์ ทั่วประเทศ สินค้าอุปโภคบริโภค ขาดตลาด จากปัญหาน�้ำท่วมศูนย์กระจายสินค้าและระบบขนส่ง สินค้าที่หยุดชะงัก ส่งผลให้ภาพรวมของธุรกิจค้าปลีกได้รับผล กระทบอย่างมากเนื่องจากภาวะสินค้าขาดตลาด สมาคมพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกทุนไทย (สพท.) เปิดเผยว่า ผลกระทบจากอุทกภัยน�ำ้ ท่วมทีเ่ กิดขึน้ ในขณะนี้ ท�ำให้ ร้านค้าปลีกต้องปิดกิจการไปแล้วกว่า 20,000 แห่ง จากจ�ำนวน ร้านค้าปลีกที่มีอยู่กว่า 600,000 รายทั่วประเทศ ผู้ประกอบการ ค้าปลีกต้องปรับกระบวนการบริหารจัดการด้านกระบวนการผลิต (ซัพพลายเซน) ใหม่ เริ่มตั้งแต่การจัดหาสินค้ามาจ�ำหน่ายต้อง กระจายความเสี่ยง ปรับหาผู้ผลิตสินค้า (ซัพพลายเออร์) หลาย รายส�ำหรับสินค้าชนิดเดียวกัน แต่ละรายต้องตั้งอยู่ในต่างพื้นที่ ส่วนการขนส่งสินค้าต้องใช้รถขนส่งที่สามารถวิ่งได้หากมีน�้ำท่วม ขณะที่ ค ลั ง สิ น ค้ า ต้ อ งมี ห ลายแห่ ง กระจายอยู ่ ใ นหลายพื้ น ที่ และท�ำเลเปิดร้านค้าปลีกต้องพิจารณาว่าเคยเกิดน�้ำท่วมหรือไม่ มาประกอบการตัดสินใจเปิดร้านค้าด้วย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

171


อุตสาหกรรมก่อสร้าง...โครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมก่อสร้างมีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างโครงสร้าง พื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะสาธารณูปโภค ยังมีความเกี่ยวพันและเชื่อมโยงกับอีกหลายภาคเศรษฐกิจ เช่น อุตสาหกรรมการผลิต วัสดุอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นปูนซีเมนต์ เหล็ก วัสดุก่อสร้างต่างๆ เครื่องจักรกล อุตสาหกรรมพลังงาน การขนส่ง ธุรกิจการเงิน การประกันภัย การบริหารจัดการ ทัง้ ยังมีความส�ำคัญ ในการจ้างงาน โดยข้อมูลของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติระบุว่า ในปี 2553 อุตสาหกรรมก่อสร้างก่อให้เกิดการจ้างงานประมาณ 2.36 ล้านคน ผู ้ ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการ SMEs โดยจากข้อมูลของส�ำนักงาน ส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (สสว.) พบว่ า อุตสาหกรรมก่อสร้างมีจ�ำนวนผู้ประกอบการทั้งสิ้น 69,940 ราย โดยเป็นผู้ประกอบการ SMEs ร้อยละ 99.9 ซึ่งก่อให้เกิดการจ้าง งานในอุตสาหกรรมก่อสร้างร้อยละ 78.1 ทั้งนี้ ผู้ประกอบการ SMEs ในอุตสาหกรรมก่อสร้างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 76 เป็นกิจการ ก่อสร้างอาคารและงานวิศวกรรมโยธา รองลงมาเป็นกิจการติดตัง้ ภายในอาคาร และงานตกแต่งอาคารให้สมบูรณ์ ตามล�ำดับ ภายใต้กระแสการเปิดเสรีทางการค้าและบริการ ผู้ประกอบ การไทยจ�ำเป็นต้องปรับตัวให้ทนั กับการเปิดเสรีนี้ ทางภาครัฐบาล ก็ได้เล็งเห็นความส�ำคัญจึงได้จดั สรรงบประมาณกระตุน้ เศรษฐกิจ ด้วยวงเงิน 1.56 ล้านล้านบาท ระหว่างปี 2553-2555 ซึ่งใน โครงการเหล่านี้ มีโครงการจ�ำนวนมากเกี่ยวข้องกับภาคการ ก่อสร้างสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน จึงนับเป็นประกายให้วงการรับ เหมาก่อสร้างฟื้นตัว

เล็กแข่งดุ

ภาวการณ์แข่งขันในตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้างส�ำหรับ ผู ้ ป ระกอบการขนาดเล็ ก จะมี ส ภาพการแข่ ง ขั น ที่ รุ น แรงที่ สุ ด เนื่องจากอุปสรรคการเข้าสู่ตลาด (Barriers to entry) มีไม่มาก เพราะใช้เงินลงทุน เทคโนโลยี ความช�ำนาญ และการบริหารจัดการ ที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับผู้รับเหมารายใหญ่ แม้จะมีอุปสรรคบ้าง ด้านกฎระเบียบ และหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการประกอบกิจการ แต่ ก็ถือว่าสามารถเข้าสู่ตลาดได้ง่าย ท�ำให้ตลาดธุรกิจรับเหมา ก่อสร้างส�ำหรับผูป้ ระกอบการขนาดเล็กจึงมีผปู้ ระกอบการจ�ำนวน มาก การแข่งขันตามประเภทของงานก่อสร้างของภาครัฐและ เอกชน พบว่า โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ของภาครัฐทีม่ มี ลู ค่าสูง กระจุกตัวอยู่กับกลุ่มผู้รับเหมารายใหญ่ ซึ่งสะท้อนการแข่งขัน ในตลาดก่อสร้างภาครัฐว่ามีระดับการแข่งขันไม่สูงเมื่อเทียบกับ ผู้รับเหมาตลาดอื่นๆ ปี ส.อ.ท. 172 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ผู้ประกอบการปรับตัวตามกระแส

ผูป้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการรับสร้างบ้านจากส่วนกลางรายใหญ่ หลายรายได้ ข ยายการให้ บ ริ ก ารออกไปยั ง ต่ า งจั ง หวั ด อย่ า ง ต่อเนื่อง ทั้งการสร้างเครือข่ายการให้บริการด้วยระบบแฟรนไชส์ และขยายสาขาของตนเอง นอกจากนี้ยังมีการท�ำการตลาดเพื่อ สร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และสร้างการรับรู้ใน ฐานะมืออาชีพที่ได้มาตรฐานการให้บริการที่ครบวงจรทั้งการ ออกแบบ การประสานงานกับหน่วยงานราชการ และสถาบันการ เงินเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าที่มีแนวโน้มขยายที่อยู่ อาศัยออกสู่ต่างจังหวัดมากขึ้น ต้นทุนการประกอบการของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีแนวโน้ม ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยหลายด้าน เช่น ราคาวัสดุ ก่อสร้าง ราคาน�้ำมัน ดอกเบี้ยขาขึ้น และค่าแรง ขณะที่ปัจจัยลบ ทางเศรษฐกิจหลายด้านยังกดดันก�ำลังซื้อของผู้บริโภคและการ ปรับขึ้นราคาของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการจะต้องปรับวิธี การน�ำเสนอบริการการก่อสร้างที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับสภาพ เศรษฐกิจ เช่น การก่อสร้างบ้านภายใต้งบที่จ�ำกัดเพื่อตอบสนอง ตลาดที่ให้ความส�ำคัญกับมูลค่าของเงินและมีความอ่อนไหวต่อ ราคา แต่ก็ยังให้ความส�ำคัญกับการออกแบบที่อยู่อาศัยให้มีการ ใช้สอยที่ครบถ้วน และมีรูปแบบที่หลากหลายให้เลือก ขณะที่ ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างเองก็ต้องปรับตัวตามด้วยการน�ำเสนอวัสดุ ก่อสร้างที่ช่วยอ�ำนวยความสะดวก และลดต้นทุนในการก่อสร้าง

เตรียมการรับมืออนาคต

ปัจจัยต่างๆ ทีผ่ ปู้ ระกอบการก่อสร้างต้องให้ความใส่ใจอย่าง ใกล้ชิด ได้แก่ 1. ทิศทางเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ความกังวลเกีย่ วกับเศรษฐกิจโลกทีย่ งั มีความเปราะบาง ขณะ ที่ประเทศเกิดใหม่หลายประเทศเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้อ ท�ำให้มี การใช้นโยบายการเงินคุมเข้ม ซึ่งอาจส่งผลต่อความต้องการให้ อ่อนแรงลง อีกทัง้ ยังต้องติดตามการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจญีป่ นุ่ หลัง เหตุภยั พิบตั ิ ซึง่ ปัจจัยดังกล่าวอาจส่งผลต่อการก่อสร้างภาคเอกชน รวมทั้งแผนการลงทุนเพื่อขยายธุรกิจ ส่วนทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น และค่าครองชีพทีส่ งู ขึน้ จะกระทบต่อก�ำลังซือ้ ของผูบ้ ริโภค ซึง่ อาจ ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยและการลงทุน 2. ภาวะต้นทุนการก่อสร้างที่มีทิศทางปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ราคาวัสดุก่อสร้างและอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในช่วงขาขึ้น ซึ่งยัง คงได้รับแรงกดดันจากภาวะเงินเฟ้ออย่างต่อเนื่อง ประกอบกับ

ค่าจ้างแรงงานที่ปรับตัวสูงขึ้นจากการขึ้นค่าแรงรายวันและราคา น�ำ้ มันยังมีทศิ ทางทีจ่ ะปรับตัวสูงขึน้ ซึง่ อาจท�ำให้การวางแผนด้าน ต้นทุนท�ำได้ยากล�ำบากมากขึ้น โดยเฉพาะส�ำหรับโครงการที่ต้อง ใช้ระยะเวลาก่อสร้างนาน ผู้ประกอบการต้องเตรียมวางแผนเพื่อ รองรับความผันผวนดังกล่าว เช่น การบริหารจัดการกระแสเงินสด ต้นทุนการประกอบการ เป็นต้น 3. ปัจจัยทางการเมือง ความมีเสถียรภาพทางการเมืองของไทย จะส่งผลถึงโครงการ ก่อสร้างภาครัฐที่ด�ำเนินการอยู่ และโครงการในอนาคต รวมทั้ง นโยบายการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ซึ่งจะสะท้อนปริมาณ งานก่อสร้างในระยะยาว นอกจากนี้ ปัจจัยดังกล่าวยังจะส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายของภาครัฐอีกด้วย ส่วนการก่อสร้างภาค เอกชน ปัจจัยทางการเมืองจะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และนักลงทุน อีกทัง้ นโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับภาคอสังหาริมทรัพย์ก็ อาจจะเข้ามาช่วยกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์ได้ในระดับหนึ่ง 4. ปัญหาขาดแคลนแรงงาน ต้นทุนแรงงานมีแนวโน้มทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากความ ต้องการแรงงานที่เพิ่มขึ้นตามจ�ำนวนปริมาณงานก่อสร้าง ทั้งใน ส่วนของแรงงานไร้ฝีมือจนกระทั่งต้องใช้แรงงานต่างด้าว ส่วน แรงงานฝีมือก็ยังมีจ�ำนวนจ�ำกัดและต้องใช้เวลาในการฝึกฝน แรงงานจากอุตสาหกรรมก่อสร้างยังมีการเคลือ่ นย้ายไปสูภ่ าคการ ผลิตอื่นในบางฤดูกาล โดยเฉพาะภาคการเกษตร โดยในอนาคต คาดว่าปัญหาการขาดแคลนแรงงานจะมีมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อ โครงการลงทุนก่อสร้างขนาดใหญ่อีกหลายโครงการก� ำลังจะ ก่อสร้างพร้อมๆกัน ทิศทางดังกล่าวอาจท�ำให้ผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมก่อสร้าง โดยเฉพาะ SMEs ที่ใช้แรงงานเข้มข้น ต้อง เร่งปรับตัวโดยอาจเพิม่ การใช้เครือ่ งมือและเครือ่ งจักรเพือ่ อ�ำนวย ความสะดวก และเพื่ อ การลดต้ น ทุ น แรงและแก้ ป ั ญ หาการ ขาดแคลนแรงงาน 5. พฤติกรรมผู้ซื้อเปลี่ยน จากวิ ก ฤตภั ย น�้ ำ ท่ ว มครั้ ง ใหญ่ ส่ ง ผลกระทบกั บ ภาค อุตสาหกรรมก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ เพราะปัจจัยในการ พิจารณาการเลือกซื้อสิ่งปลูกสร้าง ผู้ซื้อจะค�ำนึงถึงท�ำเลที่ตั้ง ทิศทางน�้ำ วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ระบบขนส่งมวลชน ระบบการ ระบายน�้ำ ผู้ประกอบการต้องปรับตัวตามปัจจัยและพฤติกรรมที่ เปลี่ยนไปของผู้ซื้อ จะพบว่า การขยายตัวของอุตสาหกรรมก่อสร้างยังมีความ สัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกับภาวะเศรษฐกิจ โดยเฉพาะมูลค่าเพิม่ ของการก่อสร้างภาคเอกชน การเติบโตทางเศรษฐกิจกับการ ก่อสร้างภาครัฐมีระดับความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยชัดเจนนัก ทั้งนี้ เนื่ อ งจากในบางช่ ว งเวลาการก่ อ สร้ า งภาครั ฐ อาจมี บ ทบาท ทีส่ �ำคัญเพือ่ เป็นการใช้จ่ายและลงทุนส�ำหรับกระตุ้นเศรษฐกิจซึ่ง อยู่ในภาวะถดถอย ขณะที่สถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่แน่นอน อาจมีผลให้โครงการก่อสร้างภาครัฐล่าช้าออกไป และมีปริมาณ งานก่ อ สร้ า งลดลงได้ เ ช่ น กั น ผู ้ ป ระกอบการทั้ ง รายเล็ ก และ รายใหญ่ตอ้ งเล็งเห็นความต้องการของระบบทีช่ ดั เจนเพือ่ ปรับตัว ให้สอดคล้องกับมิติของการบริโภคที่แท้จริง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

173


มุมมอง SMEs ไทยกับบทบาทส�ำคัญ

ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในอนาคต วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เป็นส่วนหนึ่ง ของการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน ซึ่งมีอยู่เป็น จ�ำนวนมากและกระจายตัวอยู่ทั่วไปในประเทศ โดยมีบทบาทใน การสร้างงานใหม่และเพิม่ การแข่งขันในตลาด เนือ่ งจากเป็นธุรกิจ ทีเ่ กิดขึน้ ได้งา่ ย ใช้เงินทุนไม่สงู และมีความเสีย่ งน้อยกว่าการลงทุน ในวิสาหกิจขนาดใหญ่ ตลอดจนมีความคล่องตัวในการด�ำเนินการ และมีส่วนช่วยเหลือสนับสนุนวิสาหกิจขนาดใหญ่ในหลายด้าน เช่น การรับช่วงการผลิต การช่วยในการจัดจ�ำหน่ายสินค้าค้าส่ง และค้าปลีกแก่ผู้บริโภค การเป็นผู้ผลิตปัจจัยการผลิตให้กับ วิสาหกิจขนาดใหญ่ และ การจัดตัง้ จะกระจัดกระจายไปตามชุมชน ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ จึงมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริม การกระจายความเจริญเติบโตของชุมชนของประเทศ เมือ่ พิจารณาจากตัวเลขมูลค่าการส่งออกของผูป้ ระกอบการ SMEs จะพบว่ามีสัดส่วนเฉลี่ยเกือบ 20% ของมูลค่าการส่งออก รวมทัง้ หมดของประเทศ และมีอตั ราการเติบโตในสัดส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีการผลิตและการสร้างสรรค์ นวัตกรรม ตลอดจนแผนการบริหารจัดการ และการด�ำเนินการ ด้านการตลาดจึงเป็น สิ่งที่ SMEs ต้องปรับตัวเพื่อแข่งขันใน ตลาดโลก

นายพากร วังศิราบัตร ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ ผู้บริหาร บจก. เอ็น. วี. อรัญญิก

ตารางแสดงมูลค่าการส่งออกระหว่างประเทศ 2550

2551

2552

2553

SMEs Export Total Export SMEs Export Growth(%) Total Export Growth(%)

1,575,971.60 5,241,962.60

1,691,144.90 5,853,628.20 7.36 11.16

1,589,199.87 5,199,912.37 -6.03 11.17

1,753,804.30 6,176,423.69 10.36 18.78

SMEs Import Total Import SMEs Import Growth(%) Total Import Growth(%)

1,452,734.40 4,870,186.20

1,771,502.00 5,944,007.60 21.9 22

1,377,740.25 4,605,330.91 -22.24 -22.52

1,775,082.70 5,834,165.16 28.84 26.68

123,237.20 371,776.40 3,028,706.00 10,112,148.80

-80,357.10 -90,379.40 3,462,646.90 11,797,635.80

211,459.62 594,581.46 2,966,940.12 9,805,243.28

-21,278.40 342,258.53 3,528,887.01 12,010,588.85

Trade in Baht

SMEs Balance Total Balance SMEs Trade Total Trade ปี ส.อ.ท. 174 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ผลิตภัณฑ์จากวัฒนธรรมสู่ตลาดต่างประเทศ

ในมุมมองของผู้ประกอบการ SMEs คุณพากร วังศิราบัตร ผู้บริหาร บริษัท เอ็น. วี. อรัญญิก จ�ำกัด กล่าวถึงกิจการซึ่งก่อตั้ง ขึน้ มากว่า 30 ปี โดยคุณนิวตั ิ วังศิราบัตร ผูเ้ ป็นพ่อซึง่ ได้รบั ความรู้ ที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นในการท�ำมีด “อรัญญิก” คุณนิวัติได้ผลิต ชิ้ น งานอั น ปราณี ต เป็ น มี ด ท� ำ มื อ และเครื่ อ งใช้ บ นโต๊ ะ อาหาร “อรัญญิก” ชื่อนี้มีความโดดเด่นที่เป็นชิ้นงานที่ต้องใช้ทักษะการ ผลิตเฉพาะด้าน และเฉพาะบุคคลเท่านั้น ช่วงแรกๆ จึงเป็นการใช้ การผลิตแบบครัวเรือนซึ่งพวกเขาสามารถผลิตได้เพียง 20 ชิ้น/วัน เท่านั้น จุดเปลี่ยนของธุรกิจเกิดขึ้นเมื่อมีด “อรัญญิก” วางจ�ำหน่าย ครัง้ แรกทีส่ รุ วงศ์และถนนบริเวณโอเรียนเต็ล ได้รบั ความสนใจจาก ชาวต่างชาติ ความต้องการของสินค้าเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จึงเริ่ม น�ำเครื่องจักรเข้ามาใช้ในการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต เมือ่ ธุรกิจถูกสืบทอดมาสูร่ นุ่ ลูก มุมมองของนักบริหารรุน่ ใหม่ การน�ำเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้ในขบวนการผลิต และแนวคิดการ ขยายสายผลิตภัณฑ์ ได้ถกู น�ำมาปรับเข้ากับผลิตภัณฑ์ “อรัญญิก” ผลิตภัณฑ์ที่สืบทอดทางวัฒนธรรมพื้นบ้านของอยุธยา ปัจจุบัน เอ็น วี อรัญญิก สามารถผลิตสินค้ากว่า 5,000 ชิ้น/วัน เพื่อบริการ ลูกค้าในตลาดภายในประเทศและส่งออกสู่ตลาดต่างประเทศ

จุดเปลี่ยนที่ไม่เคยเปลี่ยน

สิ่งที่ SMEs ต้องตระหนักถึงคือ ความสามารถในการแข่งขัน ความโดดเด่นในเชิงอัตตลักษณ์ การบริหารจัดการที่ต้องสอดรับ กับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น ความรอบรู้ การปรับตัวเมื่อเกิดความ เปลี่ยนแปลงในทุกๆ สถานการณ์ ไม่ว่าวิกฤตเศรษฐกิจโลก ความ ผันผวนของอัตราการแลกเปลี่ยน การเข้าสู่ตลาดของคู่แข่งใหม่ การแข่งขันด้านราคา ตลอดจนความไม่มเี สถียรภาพของการเมือง ภายในประเทศ ทุกสิ่งมีผลต่อการวางแนวทางของธุรกิจ คุณพากร กล่าวในฐานะผูป้ ระกอบการ SMEs ว่า “ความโดด เด่นด้านวัฒนธรรมของเรา จะท�ำให้ผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่มที่เพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกได้” การสร้างแบรนด์ การสร้างเรื่องราว การสืบทอดทางวัฒนธรรม คุณภาพและความ ปราณีตทัง้ สินค้าและบริการ ตลอดจนการส่งมอบ คือความเชือ่ มัน่ ที่ SMEs ไทยต้องใช้เพื่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

ทศวรรษแห่งตลาดเสรี

ASEAN COMPETITIVENESS REPORT 2010 ระบุว่า ประเทศไทยมี ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น ในระดั บ จุ ล ภาค (ปั จ จั ย แวดล้อมของธุรกิจและการด�ำเนินงานของธุรกิจ) ดีกว่าศักยภาพ ระดับมหภาค (การพัฒนาทางสังคม สถาบันการเมือง และนโยบาย การเงินการคลังมหภาค) ศักยภาพการแข่งขันระดับจุลภาคของประเทศไทยของ SMEs ที่สามารถด�ำเนินการได้ประกอบด้วยอุตสาหกรรมสนับสนุนหรือ อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรือ่ งนโยบายเกีย่ วกับ Cluster ส่วนความสามารถในการแข่งขันที่มีเกณฑ์ลดลงอย่าง ชัดเจน คือ การใช้เทคโนโลยีในธุรกิจ การใช้จ่ายในการวิจัยและ พัฒนาของธุรกิจ และการมีความได้เปรียบในการแข่งขันเชิงเปรียบ เทียบในภาพรวมของประเทศ ภาครัฐจึงต้องมีส่วนเข้ามาให้การ สนับสนุนในหลายๆ ด้าน เช่น การลงทุน เทคโนโลยีการผลิตและ การวิจยั และการเชือ่ มโยงธุรกิจเข้าหากัน และทีส่ ำ� คัญภาครัฐควร เป็นผู้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจอย่างตรงไปตรงมา และโปร่งใส ตลอดจนจัดให้มหี น่วยงานทีเ่ ข้ามาช่วยสนับสนุนด้าน ข้อมูลและการวิจัยอย่างแพร่หลายตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อให้ SMEs สามารถแข่งขันได้ในธุรกิจโลก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

175


สวทช. กับภาระกิจผลักดันการวิจัยอุตสาหกรรมไทย

ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 เพือ่ ผลักดันให้เกิด การวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และน�ำ ผลงานวิจัยเหล่านั้นไปสู่การพัฒนาประเทศ ตลอดระยะเวลากว่า 20 ปีท่ีผ่านมา สวทช. ได้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยที่สามารถสร้าง ผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นรูปธรรม อาทิ การริเริ่มน�ำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาใช้ในวงการศึกษาวิจัย ในประเทศ จนก่อให้เกิดบริการเชิงพาณิชย์ในระยะต่อมา การวิจยั และพัฒนาเมล็ดพันธุท์ ที่ นต่อศัตรูพชื การวิจยั พันธุข์ า้ วทนน�ำ้ ท่วม และทนแล้ง การวิจยั เพือ่ พัฒนาวัคซีนไข้เลือดออก ไข้หวัดนก การ พัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัส การพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยว เนื่องกับยางพารา เป็นต้น นอกจากนี้ สวทช. ยังมีบทบาทในการ พัฒนาและยกระดับเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรมไทยอย่าง ครบวงจร ตัง้ แต่การถ่ายทอดเทคโนโลยีภายใต้โครงการสนับสนุน การพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (iTAP: Industrial Technology Assistant Program) ที่ได้สนับสนุนภาคเอกชน มากกว่า 2,000 โครงการ การน�ำผลงานวิจัยจากห้องปฏิบัติการ ไปสู่ภาคเอกชน รวมทั้งมาตรการสนับสนุนด้านเงินทุนในรูปแบบ ของเงินกู้ดอกเบี้ยต�ำ่ และการร่วมลงทุน ในอดีตทีผ่ า่ นมา ประเทศไทยได้อาศัยความได้เปรียบในเรือ่ ง ค่าจ้างแรงงาน กอปรกับนโยบายส่งเสริมการลงทุนที่ได้ให้สิทธิ ประโยชน์ในหลายรูปแบบเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ปี ส.อ.ท. 176 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ท�ำให้นักลงทุนต่างประเทศให้ความสนใจและใช้ประเทศไทยเป็น ฐานการผลิตในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มากขึน้ เช่น อุตสาหกรรม ยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ซึง่ สวทช. มองว่า ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็ก (SME) จ�ำนวนมากที่สามารถเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่ส�ำคัญ ส่งให้กับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เหล่านั้นได้ เราจึงมุ่งการท�ำงาน เพือ่ สนับสนุนให้ SME เหล่านัน้ สามารถใช้ผลงานวิจยั ของคนไทย ในการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถน�ำไปสูก่ ารใช้งาน จริงในภาคอุตสาหกรรมได้ เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้แก่ SME ของไทย อย่างไรก็ตาม จากการแข่งขันในเวทีการค้าโลกทีน่ บั วันจะทวี ความรุนแรงมากขึ้น จึงท�ำให้มีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อาทิ อุตสาหกรรมการผลิตฮาร์ดดิสก์ และอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ ต่ า งให้ ค วามสนใจที่ จ ะจั ด ตั้ ง ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ขนึ้ และต้องการนักวิจยั ไทยทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถมา ร่วมท�ำงานวิจัยด้วย ดังนั้น สวทช. จึงได้วางบทบาทของเราไว้ 2 ทาง ทางแรกคือ การสนับสนุนการพัฒนากลุม่ อุตสาหกรรม SMEs โดยจะเน้นการปรับปรุงคุณภาพการผลิตเป็นส่วนใหญ่ ทางที่สอง คือ การท�ำงานร่วมกับผู้ประกอบการรายใหญ่ ที่ต้องการเริ่มเน้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่และการสร้างนวัตกรรมใหม่ เพราะ การผลิตเป็น ODM (Original Design Manufacturing) จะท�ำก�ำไร มากกว่าการท�ำ OEM (Original Equipment Manufacturing) ปัจจุบนั ได้มอี ตุ สาหกรรมชัน้ น�ำของไทยบางราย เช่น บริษทั SCG และ ปตท. ได้เริม่ สนใจท�ำ OBM (Original Brand Manufacturing) ที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า หรื อ แบรนด์ ข องตั ว เองบนสิ น ค้ า ซึ่ ง ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมต่างๆ เหล่านี้มีความต้องการ ผลงานวิจยั มากขึน้ และจะลงทุนทางด้านวิจยั ในบริษทั ของตัวเอง มากขึน้ ตามไปด้วย ซึง่ ก็จะสอดคล้องกับเป้าหมายและทิศทางของ สวทช. ที่เราจะต้องเร่งสร้างผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการ น�ำไปใช้งานในเชิงพาณิชย์มากขึ้น นอกจากนี้ สวทช. ยังได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มกิจกรรมด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของภาคเอกชนมากขึ้นด้วย เช่น การ ร่วมวิจัยเพื่อลดค่าใช้จ่ายให้กับภาคเอกชน หรือการรับจ้างวิจัย เพือ่ ช่วยให้เอกชนมีผลงานวิจยั ทีเ่ ป็นของตนเองได้เร็วขึน้ และการ ให้ยืมตัวนักวิจัยไปท�ำงานร่วมกับภาคเอกชน ซึ่งล้วนแต่เป็น กิจกรรมทีท่ ำ� ให้ภาคเอกชนสามารถก้าวกระโดดเข้าสูย่ คุ เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ หรือ Creative Economy ได้เร็วขึ้น ส�ำหรับโอกาสทางการตลาดของอุตสาหกรรมไทย สวทช. เห็นว่าหากภาคอุตสาหกรรมไทยไม่สามารถที่จะสร้างนวัตกรรม หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความโดดเด่นเป็นของตัวเองก็จะอยู่รอด ได้ยากขึ้นในอนาคต เพราะการผลิตแบบเดิมได้มาร์จินค่อนข้าง น้อย และถูกกดดันทั้งด้านผู้ขายวัตถุดิบ และด้านผู้ว่าจ้างให้ผลิต ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมทีเ่ ริม่ ใช้ความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และใช้ ค วามแตกต่ า งของตนเองควบคุ ม ตลาด


แนะภาครัฐให้การสนับสนุน

บางส่วนได้ กลุ่มอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีความปลอดภัยจาก ความปั่นป่วนทางเศรษฐกิจมากกว่า

ปัญหาและความท้าทายของภาคอุตสาหกรรมไทย

สวทช. ได้มองถึงแนวทางรับมือกับปัญหาและความท้าทาย ของภาคอุตสาหกรรมไทยไว้ 3 ประเด็น ดังนี้ 1. ความสามารถในการผลิตเพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ทสี่ อดคล้อง กับข้อบังคับ หรือกฎระเบียบทางการค้าใหม่ๆ ในตลาดโลก เช่น การรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม การติ ด ฉลากคาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ การ ประหยัดพลังงานของอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้า และความ สามารถในการน�ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซึ่ ง ใช้ จ นหมดสภาพแล้ วกลับไป รีไซเคิลเป็นวัตถุดิบใหม่ เป็นต้น ซึ่งเหล่านี้ถือเป็นมาตรการกีดกัน ทางการค้าในรูปแบบใหม่ 2. ลดการพึง่ พาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ทัง้ ทีแ่ ฝงมาในรูป ของค่าจ้างที่ปรึกษา เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตที่มีราคาแพง และ วัตถุดบิ บางชนิดทีผ่ กู ขาดจากผูข้ าย หากอุตสาหกรรมไทยสามารถ ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาทดแทนสิ่งเหล่านี้ได้ด้วยต้นทุนที่ต�่ำกว่า ก็จะสร้างความมั่นคงให้กับอุตสาหกรรมไทยได้ 3. เพิ่ ม บุ ค ลากรด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใ น ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีความต้องการเพิ่มมากขึ้น ซึ่งปัจจุบัน สวทช. ได้ร่วมมือกับหน่วยงานให้ทุนวิจัยอื่นๆ อาทิ ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสถาบันอุดมศึกษา ในการ ท�ำงานร่วมกับภาคอุตสาหกรรมไทย เพือ่ พัฒนาบุคลากรทีม่ คี วาม สามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำ� หรับภาคอุตสาหกรรม สวทช. มองว่ า การด� ำ เนิ น การทั้ ง สามประการข้ า งต้ น ถือเป็นการเตรียมพร้อมให้กับภาคอุตสาหกรรมไทยในการสร้าง ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ส� ำ หรั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และให้ภาคอุตสาหกรรมไทยได้ประโยชน์จาก การมีประชาคมอาเซียนด้วย โดยบทบาทของ สวทช. ก็จะเน้น ในเรือ่ งการผลักดันให้ภาคเอกชนไทยมีกจิ กรรมด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น มีการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น

การสร้างให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับ หน่วยงานวิจัยและสถาบันอุดมศึกษานั้น ภาครัฐสามารถให้การ สนับสนุนได้ในหลายรูปแบบ เช่น 1. การอ� ำ นวยความสะดวกแก่ ภ าคเอกชนที่ ต ้ อ งการใช้ ประโยชน์จากมาตรการลดหย่อนภาษี 200% ส�ำหรับค่าใช้จ่าย ในการวิจัยพัฒนา โดยเร่งรัดกระบวนการพิจารณาให้เร็วขึ้น เพือ่ ส่งเสริมให้ภาคเอกชนท�ำกิจกรรมวิจยั และพัฒนามากขึน้ และ ลดปั ญ หางานวิ จั ย ขึ้ น หิ้ ง หรื อ ไม่ ถู ก น� ำ มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นเชิ ง พาณิชย์ 2.ใช้การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐขนาดใหญ่ ในการสร้าง โอกาสและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทย โดยในการจัดซือ้ จัดจ้างฯ ไม่ควรเน้นการซื้อของมาใช้จากต่างประเทศเพียงอย่างเดียว เพราะท�ำให้ภาคอุตสาหกรรมไทยไม่ได้รับการพัฒนา ควรเปลี่ยน วิธกี ารให้เป็นการอุดหนุนการจัดซือ้ เทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้า สู ่ ก ลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมไทย ตามด้ ว ยกระบวนการว่ า จ้ า งกลุ ่ ม อุตสาหกรรมไทยในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ โดยมีก�ำลังซื้อ เทคโนโลยีจากต่างประเทศมาเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ ของไทย 3. การจัดทุนอุดหนุนให้บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมไทย ได้เพิม่ พูนความรูแ้ ละทักษะในการวิจยั โดยได้รบั ปริญญาโท-เอก จากสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งรัฐบาลสามารถให้การอุดหนุนแก่ สถาบันอุดมศึกษาตามปริมาณของงานด้านการพัฒนาบุคลากร ภาคเอกชน

ความผันผวนทางเศรษฐกิจอันเกิดจากสถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศล้วนส่งผลกระทบ ต่อภาคเศรษฐกิจของไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ถึงเวลา แล้วทีผ่ ปู้ ระกอบการไทยจะต้องปรับตัวเพือ่ สร้างนวัตกรรม หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีความโดดเด่น มีเ อกลัก ษณ์ เฉพาะตั ว เพื่ อ สร้ า งโอกาสทางการตลาดและความ เข้มแข็งทางธุรกิจของตน จากกลไกและการสนับสนุน ทั้ ง หมดที่ ก ล่ า วมานี้ สวทช. พร้ อ มที่ จ ะเป็ น พั น ธมิ ต ร ร่วมทางที่ดีกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในการ ผลักดันนโยบายและด�ำเนินงาน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

177


ปี ส.อ.ท. 178 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

179


ปี ส.อ.ท. 180 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สาระส�ำคัญที่นักอุตสาหกรรมควรรู้

1. เรื่องทั่วไป : เรียนรู้ก่อนเริ่มต้นธุรกิจ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

181


การเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มต้นธุรกิจ “อยากมีธุรกิจหรือกิจการเป็นของตนเอง จะเริ่มต้นอย่างไรดี และจะจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจแบบไหนดี ?” ค�ำถามนี้มักจะเป็นค�ำถามแรกหรือเป็นค�ำถามล�ำดับต้นๆ ส�ำหรับผู้ที่ต้องการที่จะมีธุรกิจเป็นของตนเอง ซึ่งก็ต้องสนับสนุน ความคิดนี้ เพราะการเป็นเจ้าของธุรกิจก็ถอื ว่าคุณได้เริม่ ต้นกับเส้น ทางแห่งการเป็นเจ้านายตนเอง และที่ส�ำคัญที่สุดก็คือคุณจะเป็น ส่วนหนึง่ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทัง้ ช่วยสร้างงาน และ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กบั ประเทศ คุณจะเข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ในสมาชิ ก 2.9 ล้ า นรายที่ เ ป็ น ผู ้ ป ระกอบการ SMEs ของ ประเทศไทย และคุณก็จะมีโอกาสเป็นเศรษฐี นี่แหละคือข้อดี ของการเป็นเจ้าของธุรกิจ ส่วนข้อเสียนัน้ เท่าทีเ่ ห็นได้ชดั คือ ในช่วง แรกของการเริม่ ต้น คุณจะมีเวลาให้กบั ความสนุกสนานและเวลา ส่วนตัวในชีวิตคุณน้อยลง และจะมีความเครียดมากขึ้น ที่ส�ำคัญ คุณอาจหมดตัวถึงขั้นเป็นคนล้มละลายได้ในพริบตาหากคุณโชค ร้ายและบริหารงานไม่เป็น และเพื่อเป็นการเตรียมตัวที่ดี ที่จะช่วยให้เส้นทางแห่งการ เป็นเจ้าของธุรกิจของคุณเป็นไปอย่างราบรืน่ จึงอยากจะฝากข้อคิด หรือสิ่งที่คิดว่ามีความจ�ำเป็นที่เจ้าของธุรกิจควรจะต้องมี ก่อนที่ คุณจะเริ่มต้นบนถนนแห่งการเป็นเถ้าแก่ ไว้ดังนี้

1. มีความรู้ความช�ำนาญในธุรกิจที่จะท�ำ

กล่าวคือคุณไม่ควรอย่างยิ่งที่คิดแต่จะยืมจมูกคนอื่นหายใจ ในทุกเรื่องและทุกอย่าง การจ้างพนักงานเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็จริง แต่คณ ุ เองก็ควรจะต้องมีความรูใ้ นสิง่ ทีค่ ณ ุ ต้องจ้างพนักงาน ท�ำเช่นกัน เพื่อที่จะสามารถสั่งการให้การท�ำงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้คุณสามารถประหยัดต้นทุนในสิ่งที่ไม่ จ�ำเป็นได้ ดังนัน้ หากคุณยังไม่มคี วามรูค้ วามช�ำนาญในธุรกิจทีค่ ดิ จะท�ำ ก็ควรไปศึกษาหาข้อมูลหรือหาประสบการณ์มาให้เต็มทีก่ อ่ น เจ้าของโรงงานทีป่ ระสบผลส�ำเร็จในวันนี้ หลายท่านก็เคยไปสมัคร เป็นลูกจ้างโรงงานอื่นมาก่อนที่จะมาท�ำโรงงานของตนเอง

2. มีเงินทุน

ในเบื้องต้นขอพูดถึงเงินทุน 2 ประเภทที่สำ� คัญคือ เงินทุนใน การเริ่ ม ต้ น ก่ อ ตั้ ง กิ จ การและเงิ น ลงทุ น หมุ น เวี ย น (Working Capital) หรือที่ภาษาชาวบ้านเราเรียกกันว่า “สายป่าน” ส�ำหรับ เงินทุนเริ่มต้นนั้นอาจจะอยู่ในรูปแบบของทรัพย์สิน เช่น ที่ดิน / อาคาร /เงินสด ซึ่งควรจะต้องมีอย่างน้อยที่คิดเป็นมูลค่าของการ ลงทุนทัง้ หมด 1 ใน 3 (ทีเ่ หลือกูจ้ ากสถาบันการเงินได้หากโครงการ ของคุณมีดพี อทีจ่ ะให้ธนาคารเชือ่ ได้วา่ คุณมีความสามารถในการ ช�ำระหนี้คืน ขั้นตอนนี้ก็ต้องเขียนแผนธุรกิจไปขอ ถ้าเขียนไม่เป็น ปี ส.อ.ท. 182 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ก็ไปจ้างคนอื่นเขียนได้ ซึ่งปัจจุบันมีคนรับจ้างเขียนมากมาย) ใน ส่วนของเงินลงทุนหมุนเวียนนั้นจะมาจากเงินในกระเป๋าของคุณ เอง หากไม่มีก็อาจจะได้มาจากการกู้เงินอีกเช่นกัน ส�ำหรับเงิน ลงทุนหมุนเวียนก็เป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญเหมือนกัน ซึง่ ต้องดูจากประเภท ธุรกิจทีค่ ณ ุ ท�ำและกระบวนการรับ-จ่ายเงินของธุรกิจคุณ ตัวอย่าง เช่ น หากธุ ร กิ จ เป็ น แบบซื้ อ สด-ขายเชื่ อ ก็ ต ้ อ งเผื่ อ เงิ น ลงทุ น หมุนเวียนมากกว่าซือ้ เชือ่ -ขายสด หรือซือ้ สด-ขายสด เป็นต้น และ ยังต้องเผื่อส�ำหรับรายการจ่ายที่อยู่นอกเหนือความคาดหมาย ธุรกิจพวกนีม้ กั จะเป็นกิจการประเภทโรงงานต่างๆ ดังนัน้ คุณต้อง ค�ำนวณเผื่อเงินก้อนนี้ให้เพียงพอ มิฉะนั้นแล้วธุรกิจคุณอาจจะ สะดุดหยุดลงได้

3. การตลาด

หรือพูดง่ายๆ ว่าผลิตสินค้ามาแล้วจะขายใคร คุณมีลูกค้า รองรับอยู่มากเพียงพอหรือไม่ และต้องดูด้วยว่าลูกค้าเป้าหมาย ของคุณเป็นลูกค้าที่มีคุณภาพแค่ไหน เมื่อขายไปแล้วจะได้ไม่มี ปัญหาเรือ่ งการตามเก็บเงินตามมาภายหลังให้คณ ุ ต้องปวดหัวอีก

4. วัตถุดิบ

นับเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญอีกเรือ่ งหนึง่ โดยเฉพาะโรงงานทีต่ อ้ งน�ำ สินค้าเกษตรมาแปรรูป เพราะคุณไม่สามารถสต็อกวัตถุดบิ ได้ครัง้ ละหลายๆ วันหรือวัตถุดิบบางประเภทอาจจะเก็บได้แค่วันเดียว เท่านั้น ดังนั้น คุณต้องวางแผนดีๆ และคุณก็ควรที่จะต้องไปตั้ง โรงงานอยูใ่ นแหล่งวัตถุดบิ แต่กไ็ ม่ควรไปตัง้ ในบริเวณทีม่ โี รงงาน ประเภทเดียวกันอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เพราะจะเป็นเหตุให้เกิดการ แย่งกันซือ้ วัตถุดบิ ซึง่ จะท�ำให้ตน้ ทุนแพงกว่าปกติ และบางครัง้ อาจ ท�ำให้เกิดการขาดแคลนจนต้องหยุดการผลิตไปเลยก็ได้


5. แรงงาน

เดี๋ ย วนี้ ไ ม่ ว ่ า จะท� ำ ธุ ร กิ จ อะไรก็ มั ก จะเจอปั ญ หาการ ขาดแคลนแรงงานทั้งนั้น ดังนั้น คุณต้องวางแผนเรื่องนี้ดีๆ และ หากธุรกิจของคุณเป็นธุรกิจที่ต้องใช้แรงงานมากด้วยแล้ว ก็ต้อง มีแหล่งจัดหางานเก่งๆ โดยเฉพาะหากต้องพึ่งแรงงานต่างด้าวก็ ต้องมีแหล่งจัดหาแรงงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการจัดหาแรงงาน ที่ถูกกฎหมาย หรือไม่เช่นนั้นคุณก็ต้องพิจารณาหาแหล่งที่ตั้ง โรงงานบริเวณชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านเลยก็เป็นได้ ข้อคิดทั้ง 5 ประการข้างต้นเป็นค�ำแนะน�ำเล็กๆ น้อยๆ แต่มีความส�ำคัญยิ่งก่อนที่คุณจะคิดเริ่มต้นมีธุรกิจเป็นของ ตนเอง ในรายละเอียดของแต่ละหัวข้อสามารถไปศึกษา หาความรูเ้ พิม่ เติมได้ตามต้องการ เมือ่ ตัดสินใจว่าจะมีธรุ กิจ เป็นของตัวเองแน่นอนแล้ว ต่อมาก็ดูเรื่องของรูปแบบของ ธุรกิจประเภทต่างๆ ว่ามีอะไรบ้าง และรูปแบบประเภทไหน ที่มีความเหมาะสมกับคุณมากน้อยเพียงไร รูปแบบธุรกิจมี หลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจประเภทบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุน้ ส่วนสามัญ ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิตบิ คุ คล ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด และบริษัทจ�ำกัด แต่ละแบบเป็นอย่างไร มีขอ้ ดีขอ้ เสียต่างกันอย่างไร เพือ่ ให้กจิ การมีตน้ ทุนต�ำ่ และมี ก�ำไรสูงสุด ลองพิจารณาดูวา่ คุณเหมาะสมกับธุรกิจประเภทใด

1. ธุรกิจประเภทบุคคลธรรมดา

ธุรกิจนี้เป็นธุรกิจที่มีเจ้าของกิจการเพียงคนเดียว ไม่ได้ร่วม ลงทุนกับบุคคลอืน่ ท�ำให้มอี สิ ระในการด�ำเนินงานและการตัดสิน ใจได้อย่างเต็มที่ ผลก�ำไรที่เกิดขึ้นก็ไม่ต้องแบ่งให้ใคร แต่เจ้าของ ธุรกิจจะต้องรับผิดชอบในหนี้สินของกิจการที่เกิดขึ้นไม่จ�ำกัด จ�ำนวน ส�ำหรับการจัดท�ำบัญชีและเสียภาษี ข้อดีของธุรกิจบุคคล ธรรมดาคือ ไม่ต้องยุ่งยากในการจัดท�ำบัญชี แต่ต้องเสียภาษีใน อัตราก้าวหน้าตามฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

2. ธุรกิจประเภทห้างหุ้นส่วน

ลักษณะของห้างหุ้นส่วนตามมาตรา 1012 แห่งประมวล ั ญัตวิ า่ "อันว่าสัญญาจัดตัง้ ห้างหุน้ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์บญ ส่วนนั้น คือ สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากัน เพื่อ กระท�ำกิจการร่วมกันด้วยประสงค์จะแบ่งก�ำไรอันจะพึงได้แต่ กิจการที่ท�ำนั้น" ห้างหุ้นส่วนแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ 1.ห้างหุ้น ส่วนสามัญ (ไม่จดทะเบียน) 2.ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล (จด ทะเบียน) และ 3.ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ (ไม่จดทะเบียน) เป็นการตกลงท�ำกิจการร่วมกันและแบ่งก�ำไรกันระหว่างผู้ เป็นหุ้นส่วน หุ้นส่วนทุกคนจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในหนี้ สินของกิจการโดยไม่จำ� กัดจ�ำนวน ซึง่ ห้างหุน้ ส่วนชนิดนีก้ ฎหมาย ไม่ได้บังคับให้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จึงเสมือนมีสภาพเป็น คณะบุคคล ซึง่ หากเลือกจดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คลจะเรียกว่า "ห้าง หุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล" ซึ่งความรับผิดในหนี้ของหุ้นส่วน จะ จ�ำกัดเพียง 2 ปี นับตัง้ แต่วนั ทีอ่ อกจากการเป็นหุน้ ส่วนเท่านัน้ และ ส่วนใหญ่ไม่เป็นที่นิยมจดทะเบียนกัน ส�ำหรับการจัดท�ำบัญชีและเสียภาษี ก็ไม่ต้องยุ่งยากในการ จัดท�ำบัญชีมากนัก จะคล้ายกับกรณีบุคคลธรรมดา แต่การเสีย ภาษีเงินได้ของคณะบุคคลจะเสียภาษีเงินได้เหมือนกับบุคคล ธรรมดาที่แยกออกจากตัวบุคคล ถือเป็นบุคคลอีกคนหนึ่งตาม มาตรา 56 วรรค (2) ของประมวลรัษฎากร นอกจากนีเ้ งินส่วนแบ่ง ก�ำไรจากห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคลได้รบั สิทธิยกเว้นภาษี เงินได้ด้วย ห้างหุ้นส่วนสามัญ (จดทะเบียน) การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนชนิดนี้ เมื่อได้จดทะเบียนนิติบุคคล ตามกฎหมายกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า การจดทะเบียนเป็น นิตบิ คุ คลจะเรียกว่า "ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิตบิ คุ คล" ซึง่ ความรับผิด ในหนี้ของหุ้นส่วนจะจ�ำกัดเพียง 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ออกจากการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

183


เป็นหุ้นส่วนเท่านั้น และส่วนใหญ่ไม่เป็นที่นิยมจดทะเบียนกัน ส�ำหรับการจัดท�ำบัญชีและเสียภาษี มีหน้าที่ต้องจัดท�ำบัญชี เหมือนกรณีตงั้ บริษทั และเสียภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล จากก�ำไรสุทธิ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด การประกอบการในลั ก ษณะนี้ จ ะต้ อ งจดทะเบี ย นเป็ น นิตบิ คุ คลตามกฎหมาย และต้องใส่ค�ำว่า "ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด" ไว้ หน้าชื่อห้างเสมอไปด้วย เช่น ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดสินไทย โดยต้องมี ผู้เป็นหุ้นส่วนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และต้องประกอบด้วยหุ้นส่วนอยู่ 2 ประเภทคือ 1. ประเภทจ�ำกัดความรับผิดชอบ จ�ำกัดรับผิดชอบในหนี้สินที่เกิดขึ้น ไม่มีสิทธิเป็นผู้จัดการ 2. ประเภทไม่จ�ำกัดความรับผิดชอบ การไม่จ�ำกัดความรับผิดชอบ หมายถึง ไม่จ�ำกัดหนี้สินที่เกิด ขึ้นทุกกรณีของห้างหุ้นส่วนและมีสิทธิที่เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของ ห้างฯ ข้อดีของห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด 1. รวบรวมเงินทุน ความรู้ความสามารถจากผู้เป็นหุ้นส่วนได้ มากขึ้น 2. ผู้มีเงินทุนยินดีจะลงทุนร่วมด้วย โดยเป็นหุ้นส่วนประเภท จ�ำกัดความรับผิด ท�ำให้พน้ ภาระรับผิดชอบในหนีส้ นิ แบบลูกหนีร้ ว่ ม 3. สามารถจะระดมบุคคลทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในสาขาใดๆ มา เป็นหุ้นส่วนประเภทจ�ำกัดความรับผิดได้

4. ได้รับความเชื่อถือจากบุคคลภายนอกมากขึ้น 5. เสียภาษีเงินได้แบบนิติบุคคล 6. เป็นที่นิยมจดทะเบียน

ข้อเสียของห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด 1. การจัดตั้งมีความยุ่งยากมากขึ้น 2. หุน้ ส่วนประเภทไม่จ�ำกัดความรับผิดชอบ ต้องรับภาระหนี้ สินไม่จ�ำกัดจ�ำนวน 3. เมือ่ มีผเู้ ป็นหุน้ ส่วนคนใดตาย ล้มละลาย หรือลาออก ห้าง หุ้นส่วนนั้นจะต้องเลิกกิจการและช�ำระบัญชีให้เรียบร้อย ส�ำหรับการจัดท�ำบัญชีและเสียภาษี มีหน้าทีต่ อ้ งจัดท�ำบัญชี เหมือนกรณีตงั้ บริษทั และเสียภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล จากก�ำไรสุทธิ

3. ธุรกิจประเภทบริษัทจ�ำกัด การจัดตั้งกิจการจะต้องมีผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 คน (ตาม กฎหมายใหม่ เมื่อก่อนต้องมีผู้ก่อการและผู้ถือหุ้นอย่างน้อยเจ็ด คน) โดยการแบ่งเงินลงทุนออกเป็นหุ้น มีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน ผู้ถือหุ้นจ�ำกัดความรับผิดไม่เกินจ�ำนวนค่าหุ้นที่ยังส่งไม่ครบ ด�ำเนินโดยคณะกรรมการบริษทั ท�ำให้เกิดความน่าเชือ่ ถือมากกว่า ส�ำหรับการจัดท�ำบัญชีและเสียภาษี มีหน้าทีต่ อ้ งจัดท�ำบัญชี และเสียภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากก�ำไรสุทธิ

เปรียบเทียบข้อดี/ข้อเสียของการเลือกรูปแบบองค์กรต่างๆ รายละเอียด 1. เงินทุน 2. การบริหารงาน 3. ความรับผิดในหนี้สิน 4. ผลก�ำไร/ขาดทุน 5. ภาษีเงินได้

เจ้าของคนเดียว มีเงินทุนจ�ำกัด มีอ�ำนาจเต็มที่ เต็มจ�ำนวน ไม่ต้องแบ่งใคร ตามอัตราก้าวหน้า สูงถึง 37%

6.ความน่าเชื่อถือ

น้อย

ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ระดมทุนให้มากขึ้น ต้องปรึกษากับหุ้นส่วน เต็มจ�ำนวน/จ�ำกัด เฉลี่ยให้ผู้เป็นหุ้นส่วน ตามอัตราก้าวหน้า สูงถึง 37% ถ้าจดเป็นทะเบียน เป็นนิติบุคคล จะเสีย 15-30% กรณีขาดทุน ไม่ต้องเสียภาษี ปานกลาง

บริษัท ระดมทุนได้ง่ายและมาก บริหารโดยคณะกรรมการบริษัท เฉพาะมูลค่าหุ้นที่ยังช�ำระไม่ครบ จ่ายเป็นเงินปันผล อั ตราร้อยละ 15-30 ของก�ำไร สุทธิ (SME เสียภาษีตามอัตรา ก้ า วหน้ า 15-30%) ในกรณี ขาดทุนไม่ต้องเสียภาษี ขึ้นอยู่ กับนโยบายของรัฐบาล มาก

ทั้งหมดที่กล่าวมาในเบื้องต้นนั้น เป็นเพียงค�ำแนะน�ำและข้อชวนคิดส�ำหรับผู้ที่คิดจะมีกิจการ/ธุรกิจเป็นของตนเอง ลองพิจารณา ดูว่าคุณมีความเหมาะสมและพร้อมกับสิ่งใด เลือกเอาชนิดที่ใช่คุณมากที่สุดก็แล้วกัน คุณก็จะเป็นอีกผู้หนึ่งที่จะประสบความส�ำเร็จก็ ขอให้โชคดีและร�ำ่ รวยกันทุกๆ คน ปี ส.อ.ท. 184 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ค�ำแนะน�ำการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม หลังจากพิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบคอบในการเลือกที่จะเป็น เจ้าของธุรกิจแล้ว ก้าวต่อไปก็จะเป็นการคิดที่จะจัดตั้งโรงงาน ซึ่งก็มีกฎและระเบียบต่างๆ ที่คุณจะต้องรับรู้เพื่อจะได้ไม่ต้องมา ปวดหัวกับปัญหาที่จะตามมา ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ได้กำ� หนดให้แบ่งโรงงานออกเป็น 3 จ�ำพวก คือ โรงงานจ�ำพวกที่ 1 เป็นโรงงานที่สามารถประกอบกิจการได้ทันทีตามความ ประสงค์ของผู้ประกอบกิจการ แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ ก�ำหนดในกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม โรงงานจ�ำพวกที่ 2 เป็นโรงงานทีไ่ ม่ตอ้ งขออนุญาต แต่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ ที่กำ� หนดเช่นกัน และเมื่อจะเริ่มประกอบกิจการโรงงานให้แจ้งต่อ พนักงานเจ้าหน้าทีใ่ ห้รบั ทราบก่อน (ขอรับและยืน่ แบบใบแจ้งการ ประกอบกิจการโรงงานจ�ำพวกที่ 2 ได้ทส่ี ำ� นักโรงงานอุตสาหกรรม รายสาขา) โรงงานจ�ำพวกที่ 3 เป็นโรงงานทีต่ อ้ งได้รบั ใบอนุญาตก่อนจึงจะตัง้ โรงงานได้ (ซือ้ ค�ำขอฯ ได้ที่กองคลัง ชั้น 1 และยื่นค�ำขอฯ ที่สำ� นักงานเลขานุการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ชั้น 1 ) แล้วคุณจะรู้ได้อย่างไรว่าโรงงานของคุณจะอยู่ในโรงงาน จ�ำพวกใด คุณสามารถตรวจสอบได้ด้วยตนเองจากกฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน

พ.ศ. 2535 หรือจะสอบถามจากทางราชการได้ที่ 1. ส�ำนักโรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา (ชัน้ 2, 3 และ 4 อาคาร กรมโรงงานอุตสาหกรรม) 2. ส� ำ นั ก เลขานุ ก ารกรม (ชั้ น 1 อาคารกรมโรงงาน อุตสาหกรรม) 3. ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดทุกจังหวัด การอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงงาน มี ขั้ น ตอนและ ระยะเวลา ดังนี้ 1. ตรวจสอบท�ำเลฯ และจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายใน 30 วัน 2. การพิจารณาอนุญาตต้องให้แล้วเสร็จภายใน 50 วัน 3. การแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ยื่นค�ำขอทราบภายใน 10 วัน 4. สถานที่ห้ามตั้งโรงงานจ�ำพวกที่ 1 จ�ำพวกที่ 2 และจ�ำพวกที่ 3 1) บ้านจัดสรรเพือ่ การพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัยและบ้าน แถวเพื่อการพักอาศัย 2) ภายในระยะ 50 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณสถาน ได้แก่ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา วัด หรือศาสนสถาน โรงพยาบาล โบราณสถาน และสถานที่ท�ำการของหน่วยงานของรัฐ (ไม่รวมถึง สถานทีท่ ำ� การโดยเฉพาะเพือ่ การควบคุม ก�ำกับ ดูแล อ�ำนวยความ สะดวกหรือให้บริการแก่การประกอบกิจการของโรงงานแห่งนัน้ ๆ) และให้หมายความรวมถึงแหล่งอนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม ตามที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

185


พ�จารณาว าเป นโรงงานจำพวกใด

ขั้นตอนการขออนุญาตของโรงงานที่จะตั้งขึ้นใหม่

โรงงานจำพวก 3

โรงงานจำพวก 2

โรงงานจำพวก 1 - ไม ต องยื่นขออนุญาต - ประกอบกิจการได ทันที - ต องปฏิบัติตามหลักเกณฑ ที่ กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งเร�่อง ที่ตั้งโรงงาน, ลักษณะอาคาร, เคร�่องจักร, การควบคุมการ ปล อยของเสียหร�อมลพ�ษ ฯลฯ

ตั้งโรงงานได ทันที แต ทำเล ต องเป นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ข อ 1 แจ งการประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 2 ตามแบบ ร.ง. 1

ยื่นคำขอรับใบอนุญาต (แบบ ร.ง. 3) ภายในระยะเวลา ตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง (90 วัน)

เจ าหน าที่ตรวจสอบสถานที่ แจ งผลการพ�จารณา

ชำระค าธรรมเนียมรายป

เร��มการประกอบกิจการ ชำระค าธรรมเนียมรายป ทุกป ในวันครบรอบ วันเร��มประกอบกิจการ

อนุญาต

ไม อนุญาต

- ชำระค าธรรมเนียม ใบอนุญาต - รับใบอนุญาต

อุทธรณ ต อรัฐมนตร� ว าการกระทรวง อุตสาหกรรม ภายใน 30 วัน

ดำเนินการตั้งโรงงาน ภายในระยะเวลาที่ระบุไว ในคำขออนุญาต ซึ่งนำมาระบุไว ในใบอนุญาต

อนุญาต

รับใบรับแจ งการประกอบ กิจการโรงงานจำพวกที่ 2

ไม อนุญาต (ยกอุทธรณ )

- แจ งเร��มประกอบกิจการ - ชำระค าธรรมเนียมรายป

ขั้นตอนการขอต่อใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

ไม น อยกว า 15 วัน - แจ งเร��มประกอบกิจการ - ชำระค าธรรมเนียมรายป

พ�จารณาว าเป นโรงงานจำพวกใด

- เร��มประกอบกิจการ - เร��มนับอายุใบอนุญาต

โรงงานจำพวก 1

โรงงานจำพวก 2

- ไม ต องยื่นขอต ออายุฯ

- ไม ต องยื่นขอต ออายุฯ - ต องชำระค าธรรมเนียมรายป วันครบรอบวันเร��มประกอบ กิจการโรงงาน

โรงงานจำพวก 3

ต ออายุใบอนุญาต

ยื่นคำขอต ออายุใบอนุญาตฯ (รง.3/1) และใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเดิม 1 วัน - ตรวจสอบคำขอ - นัดตรวจสอบโรงงาน - ชำระค าธรรมเนียม สั่งแก ไข

- แจ งให ผู ขอฯ มารับ - ส งทางไปรษณีย

ปี ส.อ.ท. 186 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ตรวจสอบโรงงาน ตามที่นัดหมาย

ไม ถูกต อง ตามหลักเกณฑ

โรงงานปฏิบัติถูกต อง ตามหลักเกณฑ ที่ออกตาม พรบ.ฯ หร�อ ปฏิบัติตาม คำสั่งแก ไขแล ว

ไม แก ไขให ถูกต อง

ออกใบอนุญาต (ฉบับต ออายุ)

คำสั่ง ไม ออก ใบอนุญาต

5 ป (ทุกๆ ป ในวันครบรอบ วันเร��มประกอบกิจการ ให ชำระค าธรรมเนียมรายป )


เมื่อยื่นของจัดตั้งโรงงานแล้ว คราวนี้ก็มาถึงการช�ำระค่า ธรรมเนียมรายปี ผู้ประกอบกิจการโรงงานจ�ำพวกที่ 2 และ 3 ต้อง ช�ำระค่าธรรมเนียมรายปีตงั้ แต่วนั เริม่ ประกอบกิจการโรงงาน และ ต้องช�ำระค่าธรรมเนียมรายปีต่อไปทุกปีเมื่อถึงวันครบก�ำหนด วันเริม่ ประกอบกิจการโรงงานในปีถดั ไป ถ้ามิได้เสียค่าธรรมเนียม ภายในเวลาที่ก�ำหนดให้ ต้องเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละห้าต่อเดือน โรงงานในเขตกรุงเทพมหานครช�ำระค่าธรรมเนียมที่กรมโรงงาน อุตสาหกรรม ส่วนโรงงานในจังหวัดอื่นๆ ช�ำระได้ที่ส�ำนักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ ซึ่งจะมีอัตราค่าธรรมเนียม ดังนี้

อัตราค่าธรรมเนียม ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แรงม้า ตั้งแต่ 0 แต่ไม่ถึง 5 ตั้งแต่ 5 แต่ไม่ถึง 20 ตั้งแต่ 20 แต่ไม่ถึง 50 ตั้งแต่ 50 แต่ไม่ถึง 100 ตั้งแต่ 100 แต่ไม่ถึง 200 ตั้งแต่ 200 แต่ไม่ถึง 300 ตั้งแต่ 300 แต่ไม่ถึง 400 ตั้งแต่ 400 แต่ไม่ถึง 500 ตั้งแต่ 500 แต่ไม่ถึง 600 ตั้งแต่ 600 แต่ไม่ถึง 700 ตั้งแต่ 700 แต่ไม่ถึง 800 ตั้งแต่ 800 แต่ไม่ถึง 900 ตั้งแต่ 900 แต่ไม่ถึง 1,000 ตั้งแต่ 1,000 แต่ไม่ถึง 2,000 ตั้งแต่ 2,000 แต่ไม่ถึง 3,000 ตั้งแต่ 3,000 แต่ไม่ถึง 4,000 ตั้งแต่ 4,000 แต่ไม่ถึง 5,000 ตั้งแต่ 5,000 แต่ไม่ถึง 6,000 ตั้งแต่ 6,000 ขึ้นไป

ค่าธรรมเนียมการประกอบ กิจการรายปี (บาท)

ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ประกอบ/ขยาย/ต่ออายุ (บาท)

500 1,000 1,500 3,000 5,000 7,000 9,000 12,000 15,000 18,000 22,000 26,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000 55,000 60,000

150 300 450 900 1,500 2,100 2,700 3,600 4,500 5,400 6,600 7,800 9,000 10,500 12,000 13,500 15,000 16,500 18,000 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

187


สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของ SMEs เมือ่ ผ่านขัน้ ตอนต่างๆ จนคุณสามารถตัง้ โรงานได้สำ� เร็จแล้ว ในบทความนีจ้ ะขอให้ความรูส้ ำ� หรับผูท้ เี่ ป็นเจ้าของธุรกิจประเภท SMEs ซึง่ จะได้ทราบถึงสิทธิประโยชน์ทางภาษีทคี่ ณ ุ จะได้รบั เพราะกรมสรรพากรได้สง่ เสริมและให้การสนับสนุนธุรกิจ SMEs ด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น

การยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษี รัฐได้มีนโยบายยกเว้นภาษี เพื่อบรรเทาภาระหรือสนับสนุนส่ง เสริมธุรกิจต่างๆ หลายประเภท อาทิเช่น การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนี้

ตารางสรุปการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ล�ำดับที่

รายการที่ยกเว้น

หลักเกณฑ์วิธีการ

กฎหมายอ้างอิงตาม ประมวลรัษฎากร

หมายเหตุ

1

ก�ำไรสุทธิ 150,000 บาทแรก

ก�ำไรสุทธิ 150,000 บาทแรกของบริษัท พระราชกฤษฎี ก า หรื อ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลที่ มี ทุ น จด (ฉบับที่ 471) ทะเบียนช�ำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท

2

เงินปันผลหรือผลประโยชน์จาก การถื อ หุ ้ น ในวิ ส าหกิ จ ขนาด กลางและขนาดย่อม

เงินปันผลหรือผลประโยชน์ทบี่ ริษทั หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งเป็นนิติบุคคล ร่ ว มลงทุ น ได้ รั บ จากการถื อ หุ ้ น ใน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมได้ รับการยกเว้นภาษี

พระราชกฤษฎี ก า การถือหุ้นต้องเป็น (ฉบับที่ 10) มาตรา ไปตามที่กฎหมาย ก�ำหนด 5 อัฏฐารศ

3

เงินปันผลหรือผลประโยชน์จาก การถือหุ้นในบริษัทหรือห้างหุ้น ส่วนนิติบุคคลซึ่งเป็นนิติบุคคล ร่วมลงทุน

เงิ น ปั น ผลหรื อ ผลประโยชน์ ที่ บ ริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลได้ รั บ จาก การถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว น นิติบุคคลที่เป็นนิติบุคคลร่วมลงทุน

พระราชกฤษฎี ก า (ฉบับที่ 10) มาตรา 5 เอกูนวีสติ

4

ก� ำ ไรสุ ท ธิ ข องกิ จ การโรงเรี ย น ก� ำ ไรสุ ท ธิ จ ากการประกอบกิ จ การ โรงเรียนเอกชน ตามกฏหมายว่าด้วย เอกชน โรงเรียนเอกชน ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

พระราชกฤษฎีกา รายได้ จ ากการขาย ของ การรั บ จ้ า งท� ำ (ฉบับที่ 284) ของ หรือการให้บริการ อื่ น ใดที่ ไ ด้ รั บ จากผู ้ ที่ มิ ใ ช่ นั ก เรี ย นไม่ ไ ด้ รับการยกเว้นภาษี

5

เงินได้จากการขนส่งสินค้าทาง บริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลที่ ทะเลระหว่างประเทศ ตั้ ง ขึ้ น ตามกฎหมายไทยโดยใช้ เ รื อ ที่ จดทะเบียนเป็นเรือไทย และมีคนประจ�ำ เรื อ ที่ มี สั ญ ชาติ ไ ทยตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยเรื อ ไทย เงิ น ได้ จ ากการขนส่ ง สินค้าทางทะเลระหว่างประเทศได้รับ การยกเว้นภาษี

พระราชกฤษฎี ก า ต้ อ งเป็ น ไปตาม หลักเกณฑ์เงือ่ นไข (ฉบับที่ 314) ทีก่ ฎหมายก�ำหนด

ปี ส.อ.ท. 188 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ตัง้ แต่รอบระยะเวลา บั ญ ชี ที่ เ ริ่ ม ในหรื อ หลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป


การลดอัตราภาษี ตามประมวลรัษฎากรได้กำ� หนดอัตราภาษีเพื่อใช้จัดเก็บภาษีแต่ละประเภทไว้ อาทิ การลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การลด อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล การลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม การลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึง การลดอัตราภาษีเงิน ได้นิติบุคคล ดังนี้

การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ล�ำดับที่

รายการที่ยกเว้น

หลักเกณฑ์วิธีการ

กฎหมายอ้างอิงตาม ประมวลรัษฎากร

หมายเหตุ

1

ก�ำไรสุทธิไม่เกิน 3 ล้านบาท

เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มี พระราชกฤษฎี ก า ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วในวันสุดท้ายของ (ฉบับที่ 471) รอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท ก�ำไรสุทธิ (บาท) อัตราภาษี (ร้อยละ) 1-150,000 ยกเว้น 150,001-1,000,000 15 1,000,001-3,000,000 25 3,000,001 บาทขึน้ ไป 30

2

ร้อยละ 20 ส�ำหรับก�ำไรสุทธิของ บริ ษั ท รายใหม่ ที่ จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ MAI โดยยื่ น ค�ำขอจดทะเบียน ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2550 – 31 ธ.ค. 2552 และ ได้ รั บ การจดทะเบี ย นภายใน 31 ธ.ค. 2552

ก� ำ ไรสุ ท ธิ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะเสี ย ภาษี อั ต รา ร้อยละ 20 เป็นเวลา 3 รอบระยะเวลา บัญชีต่อเนื่องกันนับแต่รอบระยะเวลา บัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่บริษัท มีหลักทรัพย์มาจดทะเบียน

พระราชกฤษฎี ก า (ฉบับที่ 467)

- การได้ รั บ สิ ท ธิ ลดอัตราภาษีต้อง ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์และเงื่อนไข ที่กฎหมายก�ำหนด - แก้ไขเพิม่ เติมโดย พระราชกฤษฎี ก า (ฉบับที่ 474)

3

ร้อยละ 25 ส�ำหรับก�ำไรสุทธิของ บริ ษั ท ที่ น� ำ หลั ก ทรั พ ย์ ม าจด ทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยโดยยื่นค�ำขอจด ทะเบียนตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2550 – 31 ธ.ค. 2551 และได้รับการ จดทะเบียนภายใน 31 ธ.ค. 2552

ก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นจะเสียภาษีอัตรา ร้อยละ 25 เป็นเวลา 3 รอบระยะ เวลาบั ญ ชี ต ่ อ เนื่ อ งกั น นั บ แต่ ร อบ ระยะเวลาบั ญ ชี แ รกที่ เ ริ่ ม ในหรื อ หลั ง วั น ที่ บ ริ ษั ท มี ห ลั ก ทรั พ ย์ ม า จดทะเบียน

พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 467)

การได้รับสิทธิลด อั ต ราภาษี ต ้ อ ง ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์และเงือ่ นไข ทีก่ ฎหมายก�ำหนด

4

ร้ อ ยละ 20 ส� ำ หรั บ ก� ำ ไรสุ ท ธิ ที่ ไม่ เ กิ น 20 ล้ า นบาทของบริ ษัท ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ MAI

ก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นจะเสียภาษีอัตรา ร้อยละ 20 เป็นเวลา 3 รอบระยะเวลา บั ญ ชี ต ่ อ เนื่ อ งกั น นั บ แต่ ร อบระยะ เวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 2551

พระราชกฤษฎี ก า ส� ำ หรั บ ก� ำ ไรสุ ท ธิ ส่ ว นที่ ไ ม่ เ กิ น 20 (ฉบับที่ 475) ล้านบาท

5

ร้ อ ยละ 25 ส� ำ หรั บ ก� ำ ไรสุ ท ธิ ส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาทของ บริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นจะเสียภาษีอัตรา ร้อยละ 25 เป็นเวลา 3 รอบระยะเวลา บั ญ ชี ต ่ อ เนื่ อ งกั น นั บ แต่ ร อบระยะ เวลาบั ญ ชี แ รกที่ เ ริ่ ม ในหรื อ หลั ง วันที่ 1 ม.ค. 2551

พระราชกฤษฎี ก า ส� ำ หรั บ ก� ำ ไรสุ ท ธิ (ฉบับที่ 475) ส่วนที่ไ ม่เ กิน 300 ล้านบาท

บั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ รอบระยะเวลา บั ญ ชี ที่ เ ริ่ ม ใ น ห รื อ ห ลั ง วั น ที่ 1 ม.ค. 2551 เป็นต้นไป

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

189


การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ล�ำดับที่

รายการที่ยกเว้น

หลักเกณฑ์วิธีการ

6

รายได้จากการขายสินค้า ผลิต สินค้า หรือให้บริการ ของบริษทั หรื อ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คล ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตพั ฒ นาพิ เ ศษ เฉพาะกิจ

รายได้จากการขายสินค้า ผลิตสินค้า หรือให้บริการ ของบริษัทหรือห้างหุ้น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตพั ฒ นา พิ เ ศษเฉพาะกิ จ จะเสี ย ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 3 ของก�ำไร สุทธิเป็นเวลา 3 รอบระยะเวลาบัญชี ตั้ ง แต่ ที่ เ ริ่ ม ในหรื อ หลั ง วั น ที่ 1 ม.ค. 2550 ถึงรอบระยะเวลาบัญชีปี 2552

7

ร้ อ ยละ 10 ส� ำหรั บ ก�ำ ไรสุ ทธิ ของบริษัทที่ค้าน�้ำมันเชื้อเพลิง ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยน�้ ำ มั น เชื้อเพลิง

บริษทั น�ำเข้าและส่งออกน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง พระราชกฤษฎี ก า ไปนอกราชอาณาจั ก รในเขตปลอด (ฉบับที่ 426) อากร หรื อ ระหว่ า งเขตปลอดอากร และมีรายได้ไม่น้อยกว่า 2,000 ล้าน บาทต่ อ ปี ก� ำ ไรสุ ท ธิ จ ะเสี ย ภาษี ใ น อัตราร้อยละ 10

- เป็ น บริ ษั ท ตาม กฎหมายไทย และ มี ทุ น จดทะเบี ย น ช� ำ ระแล้ ว ในวั น สุ ด ท้ า ยของรอบ ระยะเวลาบั ญ ชี ตั้งแต่ 10 ล้านบาท ขึ้นไป - ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ เงือ่ นไขตาม ที่กฎหมายก�ำหนด

8

ร้ อ ยละ 2 ของรายได้ ก ่ อ นหั ก รายจ่ายใดๆ

มูลนิธิหรือสมาคมที่มีเงินได้ มาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากรจัดเก็บ ภาษี ใ นอัตราร้อยละ 2 ของรายได้ ก่อนหักรายจ่ายใดๆ

เงิน ได้ม าตรา 40 (2)-(7) เสี ย ภาษี ในอัตราร้อยละ 10

นอกจากการช่วยเหลือทางด้านการยกเว้น หรือการลดหย่อน ภาษีให้กับผู้ประกอบการ SMEs แล้วภาครัฐยังมีให้การช่วยเหลือ ในด้านอื่นๆ อีกมากมาย อาทิเช่น การก�ำหนดอัตราหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อม หรือการยอมให้หักค่าใช้จ่ายได้มากกว่าที่จ่ายจริง เป็นต้น ซึ่งท่านสามารถหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กรมสรรพากร กลุ่มบริหารการเสียภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก เป็นอันว่าครบกระบวนการของการเริ่มต้นธุรกิจและ การจัดตั้งโรงงาน รวมถึงได้รับทราบเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ ทางภาษีกันไปแล้ว บทต่อไปจะขอน�ำเสนอดัชนีชี้น�ำภาวะ อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญที่คุณควรรู้ เพื่อการ วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ในปัจจุบัน

ปี ส.อ.ท. 190 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

กฎหมายอ้างอิงตาม หมายเหตุ ประมวลรัษฎากร พระราชกฤษฎี ก า เขตพั ฒ นาพิ เ ศษ เฉพาะกิจ หมายถึง (ฉบับที่ 466) ท้ อ งที่ จั ง หวั ด นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และจั ง หวั ด สงขลา เฉพาะอ�ำเภอจะนะ นาทวี สะบ้ า ย้ อ ย และอ�ำเภอเทพา

พระราชกฤษฎี ก า (ฉบับที่ 250)


ดัชนีชี้นำ� ภาวะอุตสาหกรรม

(Industrial Leading Indicator) ขึ้นหัวมาอย่างนี้หลายท่านอาจสงสัยว่า แล้วดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรมคืออะไร ดั ช นี ชี้ น� ำ ภาวะอุ ต สาหกรรมของสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (Industrial Leading Indicator: ILI) เป็นดัชนีผสม (Composite Index) ทีส่ ร้างขึน้ จากดัชนีองค์ประกอบจ�ำนวน 8 ตัว ที่มีคุณสมบัติในการชี้น�ำดัชนีอ้างอิงภาวะอุตสาหกรรมการผลิต (MPI) ซึง่ มีประโยชน์ในการคาดการณ์แนวโน้มการผลิตในช่วง 4-6 เดือนข้างหน้าเป็นส�ำคัญ และใช้ในการท�ำนายจุดวกกลับ (จุดต�่ำ สุด-สูงสุด) ของวัฏจักรการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ดั ช นี อ ้ า งอิ ง ภาวะอุ ต สาหกรรม ที่ ส ภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยใช้อ้างอิงภาวะกิจกรรมการผลิตภาคอุตสาหกรรม ในแต่ละเดือน คือ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมทีจ่ ดั ท�ำโดยส�ำนักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดยจะน�ำเสนอใน 2 ลักษณะ คือ (1) การวิเคราะห์ค่าดัชนีที่เกิดขึ้น ณ เดือนปัจจุบัน (2) การติดตามแนวโน้มวัฏจักรของดัชนีอ้างอิง ดัชนีชี้น�ำฯ และองค์ประกอบทั้ง 8 ตัว เพื่อประมาณจุดวกกลับที่จะเกิดขึ้น ดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรมจัดท�ำขึ้นก็เพื่อพยากรณ์จุดวก กลับ หรือจุดเปลี่ยนแปลงภาวะอุตสาหกรรม และเพื่อติดตาม วิเคราะห์ความเป็นไปของภาวะอุตสาหกรรมโดยรวม

ประโยชน์ทคี่ าดว่าผูป้ ระกอบการจะได้รบั ก็คอื ผูป้ ระกอบการ สามารถใช้ขอ้ มูลดังกล่าวเพือ่ วางแผนการผลิต หรือ แผนการลงทุน ของกิจการ รวมถึงภาครัฐสามารถน�ำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการ ก�ำหนดมาตรการให้ความช่วยเหลือ หรือ ส่งเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้อีกด้วย

วิธีการสร้างดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม

1. เลือกดัชนีอ้างอิงภาวะอุตสาหกรรม โดยใช้ดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรม (MPI) 2. คัดเลือกตัวแปรทีจ่ ะน�ำมาสร้างดัชนีชนี้ ำ� ภาวะอุตสาหกรรม โดยตัวแปรเหล่านั้นจะต้องมีเหตุผลด้านเศรษฐศาสตร์ เมื่อได้ ตัวแปรแล้วทดสอบตัวแปรโดยวิธีทางสถิติ และทดสอบความ สามารถในการชี้น�ำของตัวแปรแต่ละตัว 3. สร้างดัชนีผสม (ดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม) โดยน�ำ ตัวแปรที่เลือก มาเข้าสูตรทางคณิตศาสตร์ แล้วทดสอบความ สามารถในการชี้น�ำของดัชนีผสม

ตารางที่ 1 แสดงองค์ประกอบของดัชนีชี้นำ� ภาวะอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หมวด/ตัวแปร

ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (ดัชนีอ้างอิง) 1 . เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต 1.1 มูลค่าการน�ำเข้าสินค้าทุน (บาท) 2. แสดงการคาดการณ์ของตลาด 2.1 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2.2 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (3 เดือนข้างหน้า) 3. เป็นตัวผลักดันภาวะอุตสาหกรรมที่สำ� คัญ 3.1 ดัชนีค่าเงินบาท 3.2 ดัชนีราคาผู้บริโภค 4. แสดงอิทธิพลของปัจจัยภายนอกประเทศ เศรษฐกิจอเมริกา 4.1 Retail Sales Moor Vehicle and Dealers 4.2 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคชาวสหรัฐอเมริกา 4.3 ดัชนีราคาผู้บริโภค สหรัฐอเมริกา

สัญลักษณ์

ที่มาของข้อมูล

MPI

ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ImCap

ธนาคารแห่งประเทศไทย

SET BSTE

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย

NEER CPI

ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

(MV) USCCIE USCPI

USRSMV U.S. Department of Commerce U.S. conference-board U.S. Department Of Labor สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

191


STEP

1 การสร้างดัชนีชี้น�ำ ภาวะอุตสาหกรรม

สร้าง MODEL ใน EXCEL

แนวคิดการสร้างดัชนีผสม Composite Index The National Bureau of Economic Research

2 STEP การหาวัฏจักร ของดัชนีต่างๆ

สูตรดัชนีผสม

วิธีการแยกส่วนของอนุกรมเวลา Decomposition Method

ขจัดแนวโน้ม (T) และหา วั ฏ จั ก รของดั ช นี ตาม แนวคิดของ Bry-Boschan

ขจัดฤดูกาล (S) และส่วนผิดปกติ (I)

ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการท�ำดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม

ตารางที่ 2 แสดงจุดวกกลับของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ดัชนีชี้นำ� ภาวะอุตสาหกรรม และ องค์ประกอบดัชนีชี้นำ� องค์ประกอบ

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ดัชนีชี้นำ� ภาวะอุตสาหกรรม ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ ดัชนีราคาผู้บริโภค มูลค่าการน�ำเข้าสินค้าทุน ดัชนีค่าเงินบาท ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ฯ ดัชนีราคาผู้บริโภคสหรัฐฯ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคสหรัฐฯ ยอดขายปลีกรถยนต์ในตลาดสหรัฐฯ

จุดวกกลับ จุดต�่ำสุด Q3/46 Q1/46 Q1/46 Q4/45 Q4/45 Q1/46 Q2/46 Q4/45 Q1/46 Q2/46

จุดสูงสุด Q4/47 Q4/46 Q1/47 Q3/46 Q3/46 Q4/46 Q2/47 Q4/46 Q4/46 Q2/47

จุดต�่ำสุด Q3/49 Q2/49 Q2/49 Q4/48 Q4/48 Q1/49 Q2/49 Q4/48 Q2/49 Q2/49

จุดสูงสุด Q4/50 Q3/50 Q3/50 Q2/50 Q2/50 Q3/50 Q4/50 Q2/50 Q3/50 Q4/50

จุดต�่ำสุด Q1/52 Q4/51 Q4/51 Q3/51 Q3/51 Q4/51 Q4/51 Q3/51 Q4/51 Q4/51 Q

จุดสูงสุด จุดต�่ำสุด Q1/53 Q4/52 Q3/53 Q4/52 Q3/53 Q3/52 Q3/53 Q3/52 Q2/53 Q4/52 Q1/53 Q3/52 Q3/53 Q4/52 Q3/53 1/53 -

ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

จุดวกกลับ (Turning Point) คือ จุดเปลี่ยนแปลงของคลื่น วัฏจักรซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ จุดสูงสุด (Peak) เป็นจุดที่ภาวะ อุตสาหกรรมมีการขยายตัวมากที่สุด เป็นจุดสิ้นสุดของภาวะการ ขยายตั ว และเตรี ย มเข้ า สู ่ ภ าวะชะลอตั ว (ถดถอย) ของภาค อุตสาหกรรม ส่วนจุดต�่ำสุด (Trough) คือ จุดที่ภาวะอุตสาหกรรม มี ก ารหดตั ว มากที่ สุ ด และเป็ น จุ ด สิ้ น สุ ด ของภาวะชะลอตั ว (ถดถอย) ของภาวะอุตสาหกรรม และเตรียมเข้าสูภ่ าวะฟืน้ ตัวของ ภาคอุตสาหกรรม จากตารางที่ 2 ซึ่ ง เป็ น การแสดงจุ ด วกกลั บ รายไตรมาส สามารถบอกได้วา่ เศรษฐกิจได้ผา่ นจุดใด และเมือ่ ใดมาแล้ว ท�ำให้ สามารถคาดการณ์แนวโน้มได้ในเบือ้ งต้น กล่าวคือ หากตัวแปรใด ผ่านจุดต�่ำสุดมาแล้ว แต่ยังไม่พบจุดสูงสุด หมายความว่าตัวแปร นั้นมีแนวโน้มขยายตัวในอนาคตเพื่อหาจุดสูงสุด หากตัวแปรใด ปี ส.อ.ท. 192 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ผ่านจุดสูงสุดมาแล้ว แต่ยงั ไม่พบจุดต�ำ่ สุด หมายความว่าตัวแปร นั้นมีแนวโน้มหดตัวในอนาคตเพื่อหาจุดต�่ำสุด จากตารางที่ 2 จะ พบว่ า ดั ช นี ผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรม ดั ช นี ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ยอดขายปลีกรถยนต์ในสหรัฐอเมริกา ผ่านจุดสูงสุด มาแล้วเมื่อไตรมาสที่ 1 ปี 2553 ดัชนีค่าเงินบาท ผ่านจุดสูงสุดมา แล้วเมือ่ ไตรมาสที่ 4 ปี 2552 และยังไม่พบจุดสูงสุด แสดงว่า ดัชนี เหล่านี้มีแนวโน้มหดตัว ขณะที่ดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม ดัชนี ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีราคาผู้บริโภค สหรัฐฯ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคสหรัฐฯ ผ่านจุดต�่ำสุดมาแล้ว เมื่อไตรมาสที่ 3 ปี 2553 มูลค่าการน�ำเข้าสินค้าทุน ถึงจุดต�่ำสุด เมื่อไตรมาสที่ 2 ปี 2553 และนั่นหมายถึงตัวแปรเหล่านั้นจะอยู่ ในช่วงของการขยายตัวเพื่อหาจุดสูงสุดนั่นเอง


ภาพที่ 2 แสดงวัฏจักรของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและดัชนีชี้นำ� ภาวะอุตสาหกรรม

จากภาพที่ 2 เป็นการแสดงวัฏจักรดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม และดัชนีชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรม ซึ่ง ILI เป็นดัชนีที่ถูกสร้างขึ้น (Composite index) เพือ่ เป็นการคาดการณ์แนวโน้ม MPI ส�ำหรับ ILI มีความสามารถในการคาดการณ์ MPI ได้ 4-6 เดือน เช่น ILI เดือนตุลาคม 2551 ก็จะเปรียบเสมือน MPI ของเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนเมษายน 2552 ซึง่ จากกราฟจะพบว่า เดือนตุลาคม 2551 ILI อยู่ในจุดต�่ำสุด และเดือนตุลาคม 2552 ILI สัมผัสจุดสูงสุด ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง (MPI) ก็สัมผัสจุดต�่ำสุดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 (4 เดือนหลังจากนั้น) และ MPI สัมผัสจุดสูงสุดเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2553 (4 เดือนหลังจากนั้น) ดังนัน้ ดัชนีชนี้ ำ� ภาวะอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย เป็นดัชนีผสมที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อคาดการณ์ภาวะ อุตสาหกรรม มีความสามารถในการคาดการณ์ภาวะอุตสาหกรรม ได้ 4-6 เดือน ดัชนีนี้ถูกสร้างโดยอิงหลักทางวิชาการ ผลลัพธ์อาจ เป็นไปอย่างทีค่ าดการณ์ หรืออาจไม่เป็นไปตามนัน้ ทัง้ นีผ้ ใู้ ช้ขอ้ มูล ในการใดๆ ก็ตามต้องใช้วิจารณญาณในการใช้ข้อมูลนี้ ท้ายนี้อยากให้คุณได้ลองศึกษาและท�ำความเข้าใจกับดัชนี ชี้น�ำภาวะอุตสาหกรรมดู เพราะเมื่อพิจารณาให้รอบคอบคุณจะ เห็นได้ถึงประโยชน์ที่คุณจะได้รับ และจะสามารถน�ำพาธุรกิจของ คุณให้ก้าวหน้าและประสบความส�ำเร็จได้ไม่ไกลเกินหวัง ในบทถัดไปจะกล่าวถึง “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” แล้ว เศรษฐกิจสร้างสรรค์คืออะไร อยากให้คุณลองติดตามดูว่ามี ผลต่อธุรกิจของคุณหรือไม่ อย่างไร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

193


เศรษฐกิจสร้างสรรค์...

ศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจอนาคต ทีผ่ า่ นมาเราได้นำ� เสนอถึงการทีจ่ ะเป็นเจ้าของธุรกิจ หรือการ ที่จะมีกิจการเป็นของตัวเองนั้นเราต้องค�ำนึงถึงอะไรบ้าง รวมทั้ง ต้องด�ำเนินการอย่างไร ในโอกาสนี้จึงขอน�ำเสนอความรู้ในเรื่อง ของ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ซึ่งเราเชื่อแน่ว่าจะสามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อยกระดับขีดความสามารถใน การแข่งขัน เพื่อความก้าวไกลในธุรกิจของท่าน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือที่เรียกกันติดปากว่า Creative Economy เป็นหนึ่งแนวคิดทางด้านการวางหลักยุทธศาสตร์ที่ ปัจจุบันมีการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในประเทศไทย โดยความ หมายอย่างง่ายของ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” คือ “การสร้างมูลค่า ทีเ่ กิดจากความคิดของมนุษย์” ซึง่ ถูกนิยาม โดย John Howkins ั นาไปสูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ จะเรียกว่า ส�ำหรับสาขาการผลิตทีพ่ ฒ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries) ซึง่ หมายถึง กลุม่ กิจกรรมการผลิตที่ต้องพึ่งพาความคิดสร้างสรรค์เป็นวัตถุดิบ ส�ำคัญ ปัจจุบนั ประเทศไทยยังไม่มกี ารก�ำหนดนิยามของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ทมี่ ลี กั ษณะเป็นหนึง่ เดียว หากแต่ขนึ้ อยูก่ บั การน�ำไปใช้ ประโยชน์เพือ่ ให้สอดรับกับระบบของแต่ละองค์กรทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นี้ ได้มีหน่วยงานและรัฐบาลของประเทศต่างๆ ให้ค�ำนิยามของ เศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ไว้มากมาย แต่ใน ความหมายโดยสรุ ป มี ดั ง นี้ “เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ” มี อ งค์ ประกอบร่วมของแนวคิดการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจบนพืน้ ฐาน ของการใช้องค์ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรค์งาน และการ ใช้ทรัพย์สนิ ทางปัญญา ทีเ่ ชือ่ มโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัย ใหม่ ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมความคิดสร้างสรรค์ (Creative Industry) หรือ อุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม (Culture Industry) โดยโมเดลพืน้ ฐานส�ำคัญ ทีท่ ำ� ให้กอ่ เกิดความคิดสร้างสรรค์มาจาก หลักการ 3 ข้อ ได้แก่ 1. ทุกคนสามารถมีความคิดสร้างสรรค์ (Everyone needs Creativity or Everyone can be Creativity) เพราะเชื่อว่า คนเรา ทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์อยู่ในตัวตั้งแต่เด็กๆ แล้ว 2. ความคิดสร้างสรรค์ต้องการอิสรภาพ (Creativity needs Freedom) ทั้งนี้ในสังคมที่สนับสนุนให้คนแสดงความคิด และ สามารถแสดงออกได้ จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการศึกษา ฝึกฝน และ เรียนรู้ 3. อิสรภาพความคิดสร้างสรรค์ต้องการตลาด (Freedom needs markets) ทัง้ อิสระของความคิดสร้างสรรค์กอ่ ให้เกิดตลาด อันเนื่องมาจากความคิดสร้างสรรค์ได้มีการค้นคว้า ท�ำเป็นข้อมูล ที่มีมูลค่า ราคา และสามารถแลกเปลี่ยนน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ จากบริบทพื้นฐานของการแข่งขันทางธุรกิจไม่ว่าจะเป็นใน เวทีระดับท้องถิน่ หรือในระดับโลก ก็มกั จะมีทางเลือกเดิมๆ อยูแ่ ค่ 3 เส้นทาง นั่นก็คือ การแข่งขันทางต้นทุนต�่ำที่สุด (Low-Cost Competitiveness) การสร้างความแตกต่างของสินค้าและบริการ ปี ส.อ.ท. 194 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

John Howkins (Product Differentiation) และการมุง่ สูต่ ลาดใหม่ (Niche Market) หรืออาจพิจารณาตลาด Blue Ocean เข้าผนวกรวมอยู่ด้วยก็เป็น ได้ ซึ่งแนวความคิดจะไม่แตกต่างกันมาก เศรษฐกิจสร้างสรรค์ถอื ได้วา่ เป็นเส้นทางที่ 4 บนเส้นทางการ แข่งขันแห่งนี้ เริ่มเปิดให้ผู้สมัครหน้าใหม่แต่มีศักยภาพทางการ แข่งขันสูงเข้ามาสู่เส้นทางเดียวกัน ภายหลังการเปิด Asian Economic Communication เมือ่ มีปริมาณผูแ้ ข่งขันมากขึน้ ก็จะมี การเปิ ด เส้ น ทางใหม่ เ พื่ อ เพิ่ ม ช่ อ งทางการแข่ ง ขั น ให้ มี ค วาม หลากหลายมากยิ่งขึ้น จะเห็นได้ว่าถนนสายหลักแห่งนี้ได้พัฒนา จาก 3 แยก เป็น 4 แยก เพื่อยกระดับและรองรับต่อปริมาณ การแข่งขันของตลาดโลก ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับว่าผู้ขอใช้เส้นทางจะมี คุณสมบัติเข้าสู่แยกที่ 4 ได้หรือไม่ โดยปัจจัยหลักง่ายๆ ของผู้ที่ จะเดินทางในเส้นทางนี้ คือ ความคิดสร้างสรรค์ (Creative) และ การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ ข ้ อ จ� ำ กั ด ของทรั พ ยากรและวั ต ถุ ดิ บ ที่ จ ะใช้ ใ ห้ เกิดประโยชน์สูงสุดนั่นเอง


Ideas

New Products/Service

Commercialized

Create higher value-Added

การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์

เป้ า หมายนโยบายเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ข องไทย (โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ)

• ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในอาเซียน (Creative Industry HUB of ASEAN) • เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์จาก 12% ของ GDP เป็น 20% ภายในปี 2555

Creative Infrastructure

• ตั้งหน่วยงานรับผิดชอบตรงภายใน 6 เดือน (Creative Economy Agency) • ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญาภายใน 6 เดือน • พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น IT เพื่ อ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ สร้างสรรค์

Creative Education & HR

• ปรับหลักสูตรการเรียนการสอน เพิ่มวิชาด้านเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ และทรัพย์สินทางปัญญาภายในปีการศึกษาหน้า • สนับสนุนช่างเฉพาะทางด้านการออกแบบ ศิลปะแขนง ต่างๆ และเพิ่มบุคลากรที่เกี่ยวข้อง

Creative Society & Inspiration

• ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในระดับภูมิภาคและท้องถิ่น • ยกย่องคนไทยที่มีผลงานสร้างสรรค์ กระตุ้นกระแสเมือง ไทยให้เป็นเมืองนักคิด • เพิ่มพื้นที่กิจกรรมและแสดงผลงานสร้างสรรค์ (Creative Zone) ในกรุงเทพฯ และภูมิภาค

Creative Business Development & Investment

• ตั้งกองทุนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นแหล่งเงินทุนสนับสนุน ธุรกิจสร้างสรรค์ • ปรับปรุงกฎหมาย และมาตรการส่งเสริมการลงทุนด้าน ธุรกิจสร้างสรรค์ • ส่งเสริมการตลาด กิจกรรมเชิงพาณิชย์และการส่งออก ปัจจุบัน จะเห็นได้ว่าประเทศผู้น�ำทางเศรษฐกิจหลาย ประเทศ ได้หันมาส่งเสริมการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ เพือ่ พัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ และหลีกเลีย่ ง การผลิตสินค้าที่ต้องต่อสู่ด้วยราคาเป็นหลัก เพราะหัวใจ ของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ก็คือ แนวคิดหรือแนวปฎิบัติที่ สร้าง หรือเพิม่ มูลค่าของสินค้าและบริการได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งใช้ ทรัพยากรมากนัก แต่ใช้ความคิด สติปัญญา และความคิด สร้างสรรค์ให้มากขึ้นเท่านั้นเอง

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

195


บาร์โค้ดระบบมาตรฐานสากล GS1 The global Language of business ปัจจุบนั เทคโนโลยีสมัยใหม่ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง ได้กา้ วเข้ามา มีบทบาทส�ำคัญในการท�ำงานทุกอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาให้เกิด ศักยภาพเหนือคู่แข่งในเวทีการค้าโลก ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องติดตามและก้าวให้ทันเทคโนโลยี สมัยใหม่เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้งานให้เหมาะสมกับธุรกิจของตน บาร์โค้ด (Barcode) หรือ รหัสแท่ง เป็นระบบของสัญลักษณ์ ทีใ่ ช้ในการสือ่ สารร่วมกันระหว่างคูค่ า้ ประกอบด้วยแท่งบาร์สเี ข้ม บนพื้นสีอ่อน ซึ่งสามารถใช้เครื่องสแกน (Scanner) ในการอ่าน และส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อบ่งชี้และบันทึกข้อมูล อย่างอัตโนมัติ บาร์โค้ดที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ได้แก่ บาร์โค้ดระบบมาตรฐานสากล GS1 สามารถใช้ในการบ่งชี้สินค้า การบริการ และสถานที่ ได้ตลอดทัง้ ซัพพลายเชน ระบบมาตรฐาน สากล GS1 มีประเทศสมาชิกต่างๆ กว่า 108 ประเทศทั่วโลก อาทิ ในภาคพื้ น ยุ โ รป เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก ลาติ น อเมริ ก า รวมทั้ ง ประเทศไทย สถาบันรหัสสากล หรือ GS1 Thailand ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2536 ภายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย โดยได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหารของ GS1 Global ให้ท�ำหน้าที่เป็นนายทะเบียนก�ำหนดเลขหมายบาร์ โค้ดระบบมาตรฐานสากล GS1 และเลขรหัสสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ (EPC หรือ Electronic Product Code) ที่ใช้กับเทคโนโลยี Radio Frequency Identification (RFID) ประจ�ำประเทศไทย ซึ่งเป็น องค์กรที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร มีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้ • เป็นองค์กรกลางของผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก และผู้บริโภค ในการสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการน�ำบาร์โค้ดระบบมาตรฐาน สากล GS1 ไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการด�ำเนินงานของภาครัฐ

ภาคเอกชนสมัยใหม่ เพื่อการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI: Electronic Data Interchange) ระหว่างคู่ค้าทั่วโลก • เป็นนายทะเบียนก�ำหนดเลขหมายประจ�ำตัวบริษทั ในระบบ GS1 ให้แก่สมาชิก รวมทั้งเป็นองค์กรหลักที่ควบคุมดูแลการใช้ งานเลขหมายบาร์โค้ดระบบมาตรฐานสากล GS1 และเลขรหัส สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ (EPC หรือ Electronic Product Code) • พัฒนาและส่งเสริมการใช้ระบบเครือข่ายมาตรฐานข้อมูล สินค้าสากล (GDSN: Global Data Synchronization Network) ทั้งในส่วนมาตรฐาน ข้อมูลเชิงเทคนิค ตลอดจนการน�ำไปใช้งาน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ประกอบการ • ส่งเสริม พัฒนา และเป็นที่ปรึกษาในการน�ำเทคโนโลยี มาตรฐานสากล GS1 ไปประยุกต์ใช้ ในการบริหารจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชนในภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมของประเทศไทย ให้สอดคล้องตามมาตรฐานสากลที่ใช้ในวงกว้าง การรับสมัครสมาชิกของสถาบันฯ นัน้ มี 3 ประเภท คือ ประเภท เลขหมาย GTIN-13 (Global Trade Item Number) เป็นเลขหมาย ประจ�ำตัวสินค้าสากล GS1 เลขหมาย GLN (Global Location Number) เป็นเลขหมายประจ�ำตัวต�ำแหน่งที่ตั้ง และเลขหมาย UPC (Universal Product Code) ซึง่ เป็นเลขหมายประจ�ำตัวสินค้า ที่ใช้เฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดาเท่านั้น นอกจากนี้สถาบันฯ ได้มีโครงการสติ๊กเกอร์บาร์โค้ด เพื่อเป็นการ ช่วยเหลือและอ�ำนวยความสะดวกในการพิมพ์สติ๊กเกอร์บาร์โค้ด แก่สมาชิก โดยเฉพาะกลุม่ SMEs และ OTOP เพือ่ สร้างมาตรฐาน คุณภาพของชุดหมายเลข และแท่งบาร์โค้ดทีม่ คี ณ ุ ภาพอันเป็นการ เพิ่มบริการของทางสถาบันฯ ให้ครบวงจรมากยิ่งขึ้น และยังมี โครงการประชาสัมพันธ์สถาบันฯ อีก 2 โครงการ คือ Road show บาร์โค้ดสู่ภูมิภาค และการออกคูหานิทรรศการ เพื่อเป็นการเผย แพร่ความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งของการใช้บาร์โค้ด ระบบมาตรฐาน สากล GS1 และให้ข้อมูลข่าวสารกับสมาชิกของสถาบันฯ ผู้ ประกอบการ และผู้ผลิตในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ครอบคลุมทั่ว ทั้งประเทศ

การน�ำบาร์ โค้ดมาตรฐานสากล GS1 มาใช้ ในธุรกิจการค้า มีคุณประโยชน์หลายประการ ได้แก่

• ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาการท�ำงาน การซื้อขาย สินค้ามีความรวดเร็วมากขึน้ โดยเฉพาะการรับช�ำระเงิน (Payment) การออกใบเสร็จ (Receipt Issuance) การควบคุมและการตัด สินค้าคงคลัง (Inventory Management) • ง่ายต่อระบบคลังสินค้า (Warehouse Management) คอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมกับเครื่องสแกนเนอร์จะตัดยอดสินค้าโดย อัตโนมัติ จึงสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการหมุนเวียนสินค้า สินค้า รายการใดจ�ำหน่ายได้ดีหรือไม่ดี มีสินค้าเหลืออยู่เท่าใด เป็นต้น • ยกระดับมาตรฐานสินค้า การระบุบาร์โค้ดแสดงข้อมูล สินค้าของผู้ผลิตแต่ละราย ท�ำให้ผู้ผลิตค�ำนึงถึงการปรับปรุง ปี ส.อ.ท. 196 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


คุณภาพของสินค้า เพือ่ รักษาภาพลักษณ์ของสินค้า และสอดคล้อง กับมาตรฐานของผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เรือ่ งการแสดงข้อมูลของ สินค้า • สร้างศักยภาพเชิงแข่งขันในตลาดต่างประเทศ บาร์โค้ด มาตรฐานสากลเป็นเครื่องบ่งชี้สินค้าที่เชื่อถือได้ การมีเลขหมาย ประจ�ำตัวสินค้า ท�ำให้ผู้สนใจสามารถทราบถึงแหล่งผู้ผลิต และ ติดต่อซื้อขายกันได้สะดวกโดยตรง รวมถึงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการส่งออก

• เพิม่ ประสิทธิภาพในระบบบริหารจัดการซัพพลายเชน (Supply Chain Management) เช่น การใช้ข้อมูลจากบาร์โค้ด มาตรฐานสากล ช่ ว ยให้ ผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ สามารถตั ด สิ น ใจ วางแผนบริหารงาน ด้านการผลิตสินค้าคงคลัง ด้านการขนส่ง การ จัดซื้อ และการตลาด ให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น

กรณีศึกษา: การประยุกต์ใช้ GS1 Traceability Conformance Programme ในประเทศไทย ของ บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) “กลุ่มซีพีเอฟ” มีเป้าหมาย ในการคงความเป็นผู้นำ� ในธุรกิจ เกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาดถูก สุขอนามัย และปลอดภัย สู่ผู้บริโภค ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ระบบตรวจสอบย้อนกลับเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการด้าน ความปลอดภัยอาหารที่มีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ระบบตรวจ สอบย้อนกลับที่ดีและมีประสิทธิภาพจึงมีความจ�ำเป็นอย่างมาก ส�ำหรับสินค้าประเภททีจ่ ดั อยูใ่ นกลุม่ อาหารทีม่ คี วามเสีย่ งสูง โดย เฉพาะผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์ที่จะต้องมีระบบที่สอบย้อน กลับได้ทั้งซัพพลายเชนของอาหาร (Food supply chain) อีกทั้ง ต้องรวดเร็ว สอบกลับได้ภายในเวลา เพื่อรองรับการจัดการด้าน การเรียกคืนสินค้า และการจัดการภาวะวิกฤต จากเป้ า หมายดั ง กล่ า ว บริ ษั ท กรุ ง เทพโปรดิ๊ ว ส จ� ำ กั ด (มหาชน) เป็นบริษัทในเครือกลุ่มซีพีเอฟซึ่งด�ำเนินงานการแปรรูป เนื้อไก่ ทั้งเนื้อไก่ดิบ และไก่ปรุงสุก ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของ ระบบตรวจสอบย้อนกลับที่เป็นมาตรฐานสากล และได้รับการ ยอมรับจากนานาประเทศทั่วโลก ดังนั้น จึงได้ร่วมมือกับสถาบัน รหัสสากล GS1 Thailand จัดท�ำโครงการ GS1 Traceability Conformance Programme โดยสถาบันฯ ได้ให้คำ� ปรึกษาในการ ประยุกต์ใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับตามมาตรฐานสากล GS1 ในกระบวนการแปรรูปสินค้าไก่ปรุงสุกแช่แข็ง 2 รายการ ได้แก่ นักเก็ตไก่ ตราซีพี 300 g และ Breaded Chicken Goujons 185 g เริ่มตั้งแต่ รับวัตถุดิบ ได้แก่ ไก่มีชีวิต ส่วนผสมอาหาร บรรจุภัณฑ์ มาท�ำการแปรรูป และปรุงสุกแช่แข็ง ออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ไก่ปรุง สุกแช่แข็ง ซึ่งในโครงการได้มีการใช้ เลขหมายมาตรฐานสากล GS1 ดังนี้ 1. ใช้ เ ลขหมายบ่ ง ชี้ แ สดงต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง สากล (Global Location Number; GLN) ในการบ่งชี้สถานที่ต่างๆ ของบริษัทฯ 2. ใช้เลขหมายประจ�ำตัวสินค้าสากล (Global Trade Item Number; GTIN) ร่วมกับ Batch/Lot number ในการบ่งชี้สินค้าที่ ต้องการให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ 3. บ่งชี้หน่วยโลจิสติกส์ที่ส่งให้กับคู่ค้าด้วยเลขหมายเรียง ล�ำดับเพื่อการขนส่ง (Serial Shipping Container Code: SSCC) โดยในการสื่อสารข้อมูลที่จ�ำเป็นในการตรวจสอบย้อนกลับ

ระหว่างบริษัทนั้น (External traceability) ทาง CPF ได้มีการระบุ ข้อมูล SSCC ในรูปแบบบาร์โค้ด GS1-128 ในใบขนส่งสินค้าที่ แนบไปพร้อมกับสินค้าทีส่ ง่ ให้คคู่ า้ ซึง่ หากคูค่ า้ มีการใช้ระบบตรวจ สอบย้อนกลับตามมาตรฐานสากล GS1 อยูแ่ ล้ว จะท�ำให้สามารถ สแกนบันทึกข้อมูลดังกล่าวเข้าสู่บริษัทฯ ได้โดยตรง หลังจากการประยุกต์ใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับตามค�ำ แนะน�ำของสถาบันรหัสสากลแล้ว ทางสถาบันฯ ได้ด�ำเนินการ เข้าไปตรวจประเมินระบบตรวจสอบย้อนกลับของบริษทั ตาม GS1 Global Traceability Checklist ผลทีไ่ ด้ บริษทั ฯ มีระบบตรวจสอบ ย้ อ นกลั บ ที่ ส อดคล้ อ งตามมาตรฐานสากล GS1 ดั ง นั้ น ทาง สถาบันฯ จึงได้ให้การรับรองกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ สินค้าทั้งสองรายการ และได้มอบ GS1 Thailand Traceability Seal ซึ่งเป็นการรับรองว่าบริษัทฯ มีการปฏิบัติที่สอดคล้องตาม มาตรฐานสากล GS1 จากการประยุกต์ใช้ระบบดังกล่าวท�ำให้บริษัทฯ สามารถจัด ท�ำระบบตรวจสอบย้อนกลับได้อย่างสมบูรณ์ ทั้งระบบตรวจสอบ ย้อนกลับภายใน (Internal traceability) และระบบตรวจสอบย้อน กลับระหว่างองค์กร (External traceability) ส่งผลให้คู่ค้าและผู้ บริโภคเชื่อมั่นในตัวสินค้าของบริษัทฯ ว่าสามารถตรวจสอบย้อน กลับ และติดตามการเคลื่อนที่ของสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดทั้งซัพพลายเชน ด้วยประสิทธิภาพของเทคโนโลยีบาร์โค้ดระบบมาตรฐาน สากล GS1 ตามที่ไ ด้ก ล่าวข้างต้น นั้น พบว่าหากองค์กรน� ำ เทคโนโลยีดังกล่าวไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับธุรกิจ จะสามารถช่วยให้การมองเห็นสินค้าและข้อมูลของสินค้าตลอด ทัง้ ซัพพลายเชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะทีช่ ว่ ยลดระยะ เวลาและค่าใช้จ่ายได้อย่างมีนัยส�ำคัญอีกด้วย สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1185, 1193, 1195 www.gs1thailand.org สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

197


เทคโนโลยี RFID เทคโนโลยี RFID เป็นหนึง่ ในเทคโนโลยีลา่ สุดของโลก ทีเ่ ริม่ เข้ามามีความ ส�ำคัญในชีวติ ประจ�ำวันมากขึน้ ในรูปแบบการใช้งานต่างๆ กันตามแต่ความคิด ที่จะประยุกต์ใช้งานได้ เช่น บัตรโดยสารรถไฟฟ้าใต้ดิน บัตรพนักงาน กุญแจ รถยนต์ ฯลฯ ซึ่งพัฒนาการของเทคโนโลยี RFID ในปัจจุบันและอนาคตนั้น มีศักยภาพและปัจจัยเอื้ออ� ำนวยอื่นๆ ท�ำให้เราสามารถคาดการณ์ได้ว่า เทคโนโลยีนี้จะต้องเข้ามามีบทบาทส�ำคัญต่อการบริหารจัดการธุรกิจในรูป แบบใหม่ และอ�ำนวยความสะดวกต่อการด�ำเนินชีวิตอย่างมาก ซึ่งจะมีส่วน ในการเปลี่ยนโฉมของสังคมเข้าสู่สังคมสารสนเทศของประเทศไทย RFID หรือ การบ่งชี้วัตถุโดยใช้ความถี่วิทยุ (Radio Frequency Identification) เป็นเทคโนโลยีที่มีความสะดวกต่อการใช้งานที่ต้องการ และสามารถบ่งบอกความ แตกต่างหรือข้อมูลจ�ำเพาะของแต่ละบุคคลที่สามารถท�ำงานได้ถูกต้องแม่นย�ำ รวดเร็ว และมีความเป็นอัตโนมัติกว่าระบบการบ่งชี้รหัสในระบบอื่นๆ เช่น รหัสแบบ แท่ง (Barcode) รวมถึงความสามารถในการค้นหา หรือติดตามวัตถุในส่วนทีต่ อ้ งการ รายละเอียดในการตรวจจับสูงที่ระบบบาร์โค้ดธรรมดาท�ำไม่ได้ นอกจากนี้ RFID ยัง มีการใช้งานทีง่ า่ ยและยังมีศกั ยภาพในการเพิม่ ขีดความสามารถในการให้บริการเสริม ในเชิ ง พาณิ ช ย์ ด ้ า นต่ า งๆ อี ก ทั้ ง ยั ง สอดคล้ อ งกั บ เทคโนโลยี ท างการเก็ บ ข้ อ มู ล คอมพิวเตอร์ ยังผลให้การขยายตัวของการใช้งาน RFID สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง RFID มีลักษณะเป็นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ที่สามารถอ่านค่าได้โดย ผ่านคลืน่ วิทยุจากระยะห่าง เพือ่ ตรวจติดตามและบันทึกข้อมูลทีต่ ดิ อยูก่ บั ป้าย ซึง่ น�ำ ไปฝังไว้ในหรือติดอยู่กับวัตถุต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรือสิ่งของใดๆ สามารถ ติดตามข้อมูลของวัตถุว่า คืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็นผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวัน ไหน และเมือ่ ไร เป็นต้น โดยไม่จำ� เป็นต้องอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรือต้อง เห็นวัตถุนั้นๆ ก่อน โดยตัวอย่างทีช่ ดั เจน และมีการน�ำไปใช้กนั อย่างแพร่หลายทีส่ ดุ คือ การประยุกต์ ใช้ทางด้านโลจิสติกส์ ตามที่ทางกรมศุลกากรได้มีนโยบายในการน�ำ RFID E-Seal ไปใช้ในเขต Free Zone โดยมีการให้ตคู้ อนเทนเนอร์ทกุ ตูต้ ดิ Electronic Seal (E-Seal) ทั้งหมด และให้มีการใช้ EDI เพื่อรับส่งข้อมูลส�ำหรับการน�ำเข้าและส่งออก เพื่อให้ กรมศุลกากรสามารถตรวจสอบสินค้าทีอ่ ยูใ่ นตูค้ อนเทนเนอร์ได้อย่างสะดวก นอกจาก นี้ยังรวมถึงการบริหารจัดการด้านสินทรัพย์ และบุคลากรในองค์กรอีกด้วย

ปี ส.อ.ท. 198 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


การสร้างและให้บริการ RFID Test Bed VCA2 ศูนย์ทดสอบและสาธิตการใช้งานอุปกรณ์อาร์เอฟไอดี ได้เริม่ ท�ำการเปิดให้ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมแล้วตั้งแต่เดือนมกราคม 2552 ทั้งนี้มีการสาธิตเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแยกเป็นแต่ละส่วน ดังนี้ • ส่วนค้าปลีก : ในส่วนนี้เป็นส่วนของหน้าร้าน มีการใช้ Barcode และ RFID ในการขายสินค้าหน้าร้าน แล้วแสดงผลทาง หน้าจอ LCD โดยตัวโปรแกรมจะมีการตัด Stock สินค้าโดย อัตโนมัติ และส่งผลของ Stock ที่ต้องการสั่งเข้ามาเพิ่มไปยังคลัง สินค้า ด้วยระบบ EDI • ส่วนกระจายสินค้า : ในส่วนนี้มีการใช้ระบบ RFID ช่วย ในการเคลื่อนย้ายสินค้าออกจากส่วนกระจายสินค้า เมื่อได้รับ Order ที่ต้องการส่งมาจากส่วนค้าปลีก ส่วนกระจายสินค้ารับ ระบบ EDI ทีส่ ง่ มาจากส่วนค้าปลีก ระบบจะบอกว่าสินค้าอยูส่ ว่ น ใดของ Warehouse จะมีการจัดสินค้าตาม Order ที่ต้องการ เมื่อ มีการขนย้ายสินค้าออกผ่านประตูทมี่ ี Antenna ทีต่ อ่ เข้ากับเครือ่ ง Reader เพื่อคอยตรวจจับดูว่าสินค้าที่นำ� ออกจากคลังสินค้า ตรง ตาม Order ที่สั่งหรือไม่ ถ้าไม่ตรง จะมีการฟ้องเตือนที่หน้าจอ LCD และมีการตัด Stock โดยทันทีพร้อมทั้งส่งข้อมูลต่อไปยัง โรงงานผลิต • ส่วนโรงงานผลิต : เมื่อส่วนกระจายสินค้าได้มีการตัด Stock สินค้าและทราบจ�ำนวนสินค้าที่ต้องการ ส่วนโรงงานผลิต ก็จะท�ำการสั่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเข้ามายังโรงงาน เมื่อมีการ ผลิตเสร็จจะท�ำการล�ำเลียงทาง Conveyer สินค้าจะมีการติด RFID Tag ที่กล่องสินค้า เมื่อผ่านจุดที่ตรวจสอบโดยใช้ระบบ

RFID มี Antenna คอยตรวจจับ เมื่อลัง หรือ บรรจุภัณฑ์ ไหลผ่าน ก็จะมีการตรวจสอบเข้าคลังสินค้าของตัวเองโดยอัตโนมัติ แสดง ผลทาง LCD ไม่ต้องอาศัยคนคอยจด Stock • ส่วนการวางสินค้าลงพาเลต : เมื่อสินค้าผลิตเสร็จมีการ เช็คจ�ำนวนของสินค้าทีผ่ ลิตเรียบร้อยแล้ว และมีการติด RFID Tag ที่กล่องสินค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะน�ำมาเลียงบนพาเลต แล้วมี การ Seal ด้วยให้เรียบร้อย จึงมีการติด RFID Tag ที่พลาสติก เพื่อ บ่งชี้ Number พาเลต ว่าพาเลตหมายเลขอะไร มีจำ� นวนของสินค้า กี่ชิ้น โดยเราจะใช้ เครื่องอ่าน Reader ที่เป็นแบบ Handheld ใน การนับสินค้าทัง้ หมด แล้วส่งผ่าน Wireless เข้าสูฐ่ านข้อมูล แสดง ผลทางจอ LCD ท�ำการบันทึกเก็บไว้ ข้อมูลจะน�ำหน้าด้วย Number พาเลต และตามด้วยจ�ำนวนสินค้าทั้งหมด ที่อยู่บนพาเลต • ส่วนคลังสินค้า : จากนั้นต้องมีการจัดเก็บในชั้นวางแต่ละ ชั้นโดยใช้รถ Forklift ขนสินค้า แต่ก่อนจะน�ำเข้าชั้นวาง รถ Forklift จะท�ำการวิ่งผ่าน Antenna ตรวจจับแล้วส่งผล แสดงทางหน้าจอ ว่ารถ Forklift ก�ำลังจะขนพาเลต Number และยังแสดงผลอีกว่า จะน�ำไปเก็บในชั้นที่เท่าไร แสดงผลทางจอ LCD (แต่ถ้าความจริง จะต้องแสดงผลทั้ง LCD และหน้าจอรถ Forklift ด้วยเพื่อยืนยัน สินค้า จะได้ไม่เก็บผิดพลาด) • ส่วนการสาธิตการท�ำงานระบบ RFID : ในส่วนนี้จะ เป็นการแสดงการท�ำงานและสิ่งที่มีผลกระทบต่อการอ่าน RFID Tag กับตัวอ่าน Reader บนสินค้าแต่ละชนิดมีวัสดุไม่เหมือนกัน

สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย กับบทบาท ในการส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีกับอุตสาหกรรมอาหาร ความต้องการด้านความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) การตรวจสอบย้อนกลับได้ของอาหาร (Food Traceability) และ การเพิม่ ประสิทธิภาพในห่วงโซ่อปุ ทานของอาหาร (Food Supplychain) เป็นหัวข้อที่ได้รับการสนใจ และกลายมาเป็นสิ่งส�ำคัญใน การสร้างความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารของ ไทย โดยหากพิจารณาจากผลของการเพิ่มจ�ำนวนของประชากร และปั ญ หาเรื่ อ งการเปลี่ ย นแปลงสภาวะภู มิ อ ากาศของโลก (Climate change) ท�ำให้ปญ ั หาในการเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร ให้ทันกับความต้องการที่เพิ่มขึ้น ให้สอดคล้องกับข้อจ�ำกัดใน สภาวะปัจจุบัน โดยไม่ท�ำลาย หรือมีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุด ก�ำลังเป็นหัวข้อที่มีความส�ำคัญและได้รับความสนใจ จากทุกฝ่ายมากขึน้ จากข้อมูลของ องค์การอาหารและการเกษตร แห่งสหประชาชาติและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ระบุปญ ั หาทีน่ า่ สนใจ ดังนี้ • ในปี ค.ศ. 2050 ทัว่ โลกจะต้องเพิม่ ก�ำลังการผลิตอาหารอีก 100 % ของก�ำลังการผลิตในปัจจุบัน

• พื้นที่การเกษตรทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเพียง 1เปอร์เซนต์ ในอีก 30 ปีข้างหน้า • โดยเฉลี่ยของการผลิตอาหารทั่วโลก มากกว่า 50% ของ ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ สู ญ เสี ย ไปเนื่ อ งจากผลของการจั ด การในห่ ว งโซ่ อุปทานของอาหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ • อาหารทีต่ อ้ งผลิตเพิม่ เพือ่ รองรับความต้องการทีม่ ากขึน้ ใน อีก 50 ปีข้างหน้า 70% จะต้องมาจากการน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

199


จากข้อมูลเบื้องต้น ปัญหาของการสูญเสียจ�ำนวนมากในห่วงโซ่อุปทานของอาหาร (Foodsupply chain) ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากความไม่มีประสิทธิภาพในการจัดการ ในการแปรรูป และใน การขนส่งภายหลังการเก็บเกี่ยว (Post-Harvest) ดังนั้น การเพิ่มผลผลิตที่ดีที่สุดทางหนึ่ง คือ การ ลดการสูญเสีย และเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตอาหารในตลอดห่วงโซ่อปุ ทานของการผลิตอาหาร (Food Supply Chain)นั่นเอง ในกรณีของประเทศไทย (ครัวของโลก) ซึ่งมีก�ำลังการผลิตสินค้า เกษตรและอาหารเป็นปริมาณมากจนเป็นล�ำดับต้นของโลกนั้น การพัฒนาการจัดการที่มี ประสิทธิภาพส�ำหรับการจัดการหลังการเก็บเกีย่ ว นับว่าเป็นเครือ่ งมืออันส�ำคัญทีจ่ ะสามารถเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขัน และเพิ่มคุณภาพให้กับผลิตภัณฑ์อาหารของไทยได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี เป็นเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม และมีศกั ยภาพในการน�ำมาใช้งานในการ บริหารจัดการห่วงโซ่อปุ ทานด้านอาหาร ปัจจุบนั ได้มกี ารน�ำเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมาใช้งานและ มีผลประสบความส�ำเร็จมาแล้ว อย่างไรก็ตาม การน�ำมาใช้งานจ�ำเป็นจะต้องมีการศึกษาความ เป็นไปได้ในการน�ำมาใช้ที่ถูกต้องและชัดเจน เนื่องจากเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีในปัจจุบัน ยังมี ราคาค่อนข้างสูง และเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในการน�ำมาใช้งาน หรือ ออกแบบ ดัดแปลงผลิตภัณฑ์ด้านเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีให้มีความเหมาะสมในการใช้งาน กับอุตสาหกรรมการเกษตร โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทยซึง่ มีรปู แบบทีเ่ ฉพาะ ต่างจากอุตสาหกรรมแบบเดียวกันในต่างประเทศ อีกทัง้ ผูป้ ระกอบการด้านการพัฒนาระบบและ ผู้ใช้งานทั่วไปยังขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้งานเกี่ยวกับเทคโนโลยีและรูปแบบการใช้งาน ต่างๆ ดังที่กล่าวมา ส่งผลให้การน�ำไปใช้งานให้เกิดประโยชน์ยังอยู่ในวงจ�ำกัด ด้วยเหตุนจี้ งึ ได้จดั ตัง้ ศูนย์เทคโนโลยีตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability Technology Center) โดยความร่วมมือกับหน่วยงานพันธมิตร เพื่อศึกษาการน�ำเทคโนโลยีมาใช้งานในอุตสาหกรรม ด้านเกษตรและการแปรรูปอาหารซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศ โดยจัดท�ำโครงการต่างๆ อาทิเช่น 1. โครงการการจัดท�ำกรณีศึกษาเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID Smart Adoption Case Study) รวบรวมกรณีศึกษา (Case Study) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่กรณีศึกษาที่ประสบ ความส�ำเร็จแก่ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมไทย เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบการในการน�ำไป เป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้งาน 2. โครงการจัดท�ำฐานข้อมูลอุตสาหกรรม RFID ไทย (Thai RFID Database Program) จัด ท�ำโครงการฐานข้อมูลอุตสาหกรรม RFID ไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัย งานวิจัย กรณีศึกษาและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี เพื่อเผยแพร่และเป็น แหล่งศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนเป็นฐานข้อมูลในการก�ำหนดแนวทางในการศึกษาวิจัยโครงการ เกี่ยวกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีในอนาคต 3. โครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีในการตรวจสอบย้อนกลับ “TraceabilityTechnology” โดยได้ด�ำเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งด้านการส่งเสริม เทคโนโลยี ด้านการพัฒนากระบวนการผลิต ด้านการก�ำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เพื่อให้เกิดบูรณาการในองค์ความรู้ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมและพัฒนา เทคโนโลยีการตรวจสอบย้อนกลับให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อันจะเกิดประโยชน์ทั้งฝ่ายผู้ใช้งาน และผู้พัฒนาเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 3 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1242, 1231, 1211 www.rfid.or.th ปี ส.อ.ท. 200 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ระบบ E-Seal เทคโนโลยีความปลอดภัยส�ำหรับตู้สินค้า การส่งสินค้าออกด้วยระบบตู้คอนเทนเนอร์ในอนาคตอันสั้นนี้ ระบบ RFID จะเข้ามามี บทบาทในฐานะเป็น Electronic Seal (E-Seal) ซึง่ ติดอยูท่ ตี่ คู้ อนเทนเนอร์ในการแสดงสถานะ (Status) ซึ่งจะท�ำให้ผู้รับสินค้าและผู้ส่งสินค้าสามารถใช้ในการติดตาม Tracking การเดิน ทางของสินค้าในระยะทางไกล เช่น การขนส่งสินค้าทางเรือระหว่างประเทศ นอกจากนี้ การ ขนส่งสินค้าในปัจจุบันนั้น Supplier มีการตรวจสอบสินค้าว่าที่จัดส่งนั้นมีความปลอดภัย ส�ำหรับการขนส่งหรือไม่ เช่น สินค้าจะไม่ถกู เปิดระหว่างทาง ไม่มกี ารสูญหายหรือสับเปลีย่ น ดังนั้น Supplier จึงได้น�ำระบบ E-Seal เข้ามาใช้ในการขนส่ง หลักการท�ำงานโดยอาศัยเทคโนโลยี RFID โดยการปิดผนึกตู้สินค้าด้วย Active Tag หรือ E-Seal เมื่อตู้สินค้าถูกส่งผ่านไปตามที่ต่างๆ เช่น ประตูท่า หรือบนเรือขนส่ง ในแต่ละ ที่จะมีการส่งสัญญาณบอกถึงค่ารหัสเฉพาะ รวมถึงการส่งสัญญาณเพื่อ update ค่าต่างๆ ของ RFID tag หากต้องการติดตามสภาพปัจจุบันของตู้ tag จะส่งสัญญาณทั้ง รหัสของตัว เอง และ สถานภาพปัจจุบันของตู้ ไปยังตัวอ่าน (reader) ซึ่งจะท�ำหน้าที่เชื่อมต่อกับระบบ คอมพิวเตอร์กลางผ่านระบบดาวเทียม ซึง่ สามารถถ่ายโอนข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและ รวดเร็ว รวมถึงมีความสามารถในการรองรับจ�ำนวน RFID Tag ที่ส่งข้อมูลมาพร้อมๆ กันได้ มากกว่า แม้ในสภาพแวดล้อมที่มีสัญญาณรบกวนมาก ซึ่งการท�ำงานของระบบดังกล่าว ท�ำให้ผู้ที่อยู่ส่วนกลางสามารถตรวจสอบความปลอดภัย รวมถึงท�ำการติดตามความ เคลื่อนไหวได้แบบ Real time ก�ำหนดการขนถ่ายสินค้าเข้า-ออก หรือเปลี่ยนแปลงเส้นทาง การเดินทางได้ตลอดเวลา อย่างไรก็ดี RFID ยังสามารถประยุกต์ใช้ในงานที่เกี่ยวกับซัพพลายเชน เพื่อรองรับภาค อุตสาหกรรมการผลิต ไม่ว่าจะเป็นระบบการค้าปลีก การค้าส่ง ระบบการผลิต รวมถึง การ ขับเคลื่อนทางโลจิสติกส์ โดยสามารถน�ำ RFID มาประยุกต์ในระบบ Production Line Automation เพื่อรับทราบข้อมูลการผลิตและการควบคุมคุณภาพได้ตลอดเวลา ซึ่งสินค้าที่ ติด RFID Tag เมื่อผ่านสายพานล�ำเลียงของระบบการผลิตในโรงงาน ส่งผลให้แต่ละหน่วย งานจะทราบว่าจะต้องท�ำอย่างไร สินค้าอะไร จ�ำนวนเท่าใด จะต้องส่งไปที่ไหน ส่งให้ใคร และเมื่อใด ซึ่งก่อให้เกิดการส่งมอบที่เป็น Just in Time Delivery

กรณีศึกษา: RFID E-Seal ของ Western Digital (Thailand) Co., Ltd. Western Digital (Thailand) Co., Ltd. เป็นหนึ่งในผู้ผลิต Hard disk ที่ติดอันดับ 1-2 ของโลก โดยมี 5 โรงผลิตตั้งอยู่ที่นิคมฯ นวนคร นิคมฯ บางปะอิน และนิคมฯ ไฮเทค ซึ่งเป็นศูนย์ logistics center ทั้งหมดเป็นเขตปลอดอากรของกรมศุลกากร (Customs Free Zone) มี การขนย้ายวัตถุดิบจาก Logistics Center (นิคมฯไฮเทค) เข้าสู่ line การผลิตและกลับอยู่ที่ 4,000 – 5,000 ใบขนสินค้า/เดือน หรือ 3,200 เที่ยวรถ/ เดือน ซึง่ ผลทีไ่ ด้รบั จากการใช้ RFID E-Seal คือ สามารถลดระยะเวลาของ • การตรวจของ จนท. ศุลกากรจากเฉลี่ย 45 เหลือ 15 นาทีต่อการขน ถ่ายท�ำให้การน�ำวัตถุดิบเข้าสู่สายการผลิตได้เร็วขึ้น • การจัดท�ำรายงานวัตถุดิบและสินค้าในเขตปลอดอากรเพื่อส่งกรม ศุลกากร • และเพิ่มความสะดวกและแม่นย�ำให้กับ จนท. ศุลกากรในการตรวจ สอบลวดตะกั่ว โดยจะมีเสียงเตือนเมื่อ E-Seal ถูกถอดในระหว่างการ ขนถ่าย

E-Seal v.s. Seal ตะกั่ว

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

201


การบริหารจัดการด้านสินทรัพย์ และบุคลากรในองค์กร สินทรัพย์ และบุคลากรในองค์กรถือได้ว่าเป็นหัวใจของการ เพิม่ ประสิทธิภาพทัง้ ในระดับประเทศ ระดับองค์กร หรือแม้แต่สว่ น บุคคล การพัฒนาให้เป็นคนคุณภาพ อีกทั้งยังมีจิตส�ำนึกที่จะ ด�ำเนินการสิ่งต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ใช้ ทรัพยากรต่างๆให้เกิดประโยชน์สงู สุด ซึง่ เป็นคุณสมบัตพิ นื้ ฐานที่ องค์กรต่างๆ ต้องการ โดยเริ่มตั้งแต่สิ่งที่เป็นนามธรรมด้วยการ สร้างความเชือ่ มัน่ ในคุณค่าของตนเอง จนถึงสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรมด้วย การจัดระบบตนเอง การบริหารเวลา และการจัดระบบงานให้ ด�ำเนินการได้เป็นอย่างดี ดังนั้น การน�ำเทคโนโลยี RFID มาเป็นเครื่องมือในการ บริหารสินทรัพย์ และบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ เป็นข้อมูล real time เกี่ยวกับต�ำแหน่งและสถานะของสินทรัพย์ องค์กรและบุคลากร ที่มีประสิทธิผลและเกิดประสิทธิภาพในการ ป้องกันความเสี่ยงการด�ำเนินงาน โดยสามารถติดตามรายการ ต่างๆ ทั้งความเคลื่อนไหวจากพื้นที่ไปยังพื้นที่ หรือใช้ในการระบุ ต�ำแหน่งของรายการหรือบุคคล ในขั้นพื้นฐานที่สุดของระบบการ บริหารสินทรัพย์นั้น บริษัทสามารถน�ำไปใช้เพื่อติดตามสินทรัพย์ ทางกายภาพ เช่น อุปกรณ์และสินทรัพย์อื่นๆ ของบริษัท และยัง สามารถติดตามการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์ถาวรที่มีการโอน ระหว่างสาขา โดยสามารถพิมพ์ข้อมูลลงบน RFID Tag ซึ่งแต่ละ รายการจะมีการก�ำกับด้วย RFID Tag ข้อมูลของแท็กจะถูกบันทึก โดย Handheld RFID Reader โดย Handheld RFID Reader เป็น อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดเก็บให้ตรวจสอบหรืออัปเดต Tag ที่ตรวจ พบไปยัง Server นอกจากนี้ ยังรวมถึงการติดตามการควบคุมการเข้าออก บุคลากร หัวหน้างานสามารถติดตามการเคลือ่ นไหวของบุคลากร ภายในส�ำนักงานโดยพนักงานแต่ละคนจะมีบัตรประจ�ำตัวเจ้า หน้าที่ ID โดยสามารถน�ำ RFID Reader มาติดตัง้ ไว้ในจุดเข้า–ออก จากการท�ำงานและสามารถน�ำไปรวมกับระบบการควบคุมการ เปิดประตูใช้งาน หรือจ�ำกัดการเข้าถึงสถานที่ต่างๆ ในอาคาร จึง มัน่ ใจได้วา่ เจ้าหน้าทีผ่ มู้ อี �ำนาจเท่านัน้ ได้รบั อนุญาตให้อยูใ่ นพืน้ ที่ หวงห้าม ซึง่ การติดตามบุคลากรยังสามารถน�ำมาใช้ในการจัดการ ทางเข้ากิจกรรมหรือการประชุม ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลของคนในที่ ประชุมทั้งหมดเพื่อเป็นการยืนยันสิทธิ์ในการเข้า-ออก โดยเมื่อผู้ เข้าประชุมเดินผ่านจะมีการบันทึกข้อมูลเข้าในรายการเพือ่ ยืนยัน ตัวตน และให้สิทธิ์การเข้าถึงกิจกรรมต่างๆ ได้อีกด้วย

ปี ส.อ.ท. 202 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ข้อดีของ RFID ส�ำหรับการเพิ่มประสิทธิภาพ

• การแสดงผลที่ดีกับสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูง • เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน • ความพึงพอใจของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น • ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็น real time กับสถานที่ และสถานะของสินทรัพย์ที่ติดแท็ก • ลดความเสี่ยงต่อการด�ำเนินงาน เช่น การโจรกรรม • ป้องกันการสูญเสียของสินทรัพย์ที่มีมูลค่า • ติดตามสินทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทั้งนี้ การพิจารณาน�ำระบบ RFID มาใช้งานยังคงต้องค�ำนึง ถึงข้อจ�ำกัดต่างๆ ในการใช้งานไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้าในสภาพแวดล้อม หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระเบียบการ ใช้คลื่นความถี่วิทยุและก�ำลังส่งของแต่ละประเทศด้วย ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทาง เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย ได้จดั กิจกรรมและการให้ บริการต่างๆ มากมายเพือ่ เผยแพร่ และส่งเสริมการพัฒนาพืน้ ฐาน ความรู้ เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร และให้คำ� ปรึกษาทางเทคโนโลยี RFID ต่อสาธารณชน รวมถึงให้การสนับสนุนกิจกรรมวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ บริการการทดสอบการประยุกต์ใช้ RFID (RFID Test Bed) แก่ผู้ประกอบการไทยทั้งที่เป็นผู้ใช้ ผู้พัฒนาอุปกรณ์ และชิ้นส่วน ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ ผู้จัดจ�ำหน่าย เพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ และความรู้ในการน� ำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป


F.T.I. E-Market Place Project : ตลาดกลางออนไลน์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ณ ปัจจุบันธุรกิจการค้าของคุณเป็นอย่างไร ลูกค้าส่วนใหญ่ ยังเป็นแค่คนไทยหรือไม่ ถ้าใช่ ในโอกาสนี้ อยากจะขอแนะน�ำการ ก้าวเข้าสู่โลกการค้ากับชาวต่างประเทศ ด้วยวิธีที่ง่ายๆ โดยที่คุณ ไม่จ�ำเป็นต้องเดินทางไปต่างประเทศ หรือเดินทางไปหาลูกค้าให้ ล�ำบากอีกต่อไป เรามีวิธีง่ายๆ ที่จะน�ำเสนอ ก็คือการน�ำธุรกิจของ คุณเข้าสู่ ตลาดนัดออนไลน์ หรือ E-Market Place โครงการ F.T.I. E-Market Place เกิดขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2552 เป็น ตลาดกลางสินค้าและบริการออนไลน์ขนาดใหญ่ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของผู้ซื้อและผู้ขายทั่วโลก โดยท�ำหน้าที่เป็น “สื่อ กลางในการซื้ อ ขาย-สิ น ค้ า ” และบริ ก ารระหว่ า งสมาชิ ก สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กับผู้ที่สนใจทั้งในประเทศ และต่ า งประเทศ ซึ่ ง สิ น ค้ า ส่ ว นใหญ่ จ ะมาจากทั้ ง 40 กลุ ่ ม อุตสาหกรรม และในอนาคตโครงการ E–Market Place จะต่อยอด ในการท� ำ ธุ ร กิ จ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โดยใช้ “รหั ส มาตรฐานสากล UNSPSC/HS Code” เพื่อเพิ่มช่องทางในการซื้อ-ขายสินค้าและ บริการ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มโอกาสและศักยภาพทางการตลาดให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น

F.T.I. E-Market Place ให้บริการแก่สมาชิก ส.อ.ท. สมาชิก สถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) สมาชิกโครงการจับคู่ธุรกิจ และสมาชิกสถาบัน ภายใต้การดูแลของ ส.อ.ท. รวมทั้งให้บริการ แก่ผู้ประกอบการ และ/หรือ ธุรกิจ ที่ไม่ได้มีสถานะเป็นสมาชิก ส.อ.ท. ซึ่ง F.T.I. E-Market Place นั้นมีความสามารถและจุดเด่น ดังนี้ 1. เป็นตลาดกลางการซื้อ-ขาย สินค้าและบริการขนาดใหญ่ ของภาคอุตสาหกรรมและอื่นๆ 2. สินค้าส่งออกสามารถเชื่อมโยงกับรหัสมาตรฐานสากล UNSPSC/HS Code ได้ 3. เลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก ารอุ ต สาหกรรมได้ ต ามความ ต้องการ 4. เปรียบเทียบข้อมูลสินค้าและบริการได้ 5. ปิดการซื้อ-ขาย ได้ 2 กรณี กรณีที่ 1 สินค้าส�ำเร็จรูป และ/หรือ สินค้าจัดรายการราคา พิเศษ ซึ่งท�ำการซื้อ-ขายได้ ผ่านระบบ E-Commerce กรณีที่ 2 สินค้าที่ไม่สามารถจัดประเภทของการซื้อ-ขาย ให้ อยู่ในกรณีที่ 1 ได้ เช่น สินค้าราคาพิเศษ หรือ สินค้าที่มีเงื่อนไข พิเศษต่างๆในการซือ้ ขาย กรณีนี้ F.T.I. E-Market Place ท�ำหน้าที่ เสมือนน�ำ ผู้ซื้อและผู้ขาย มาพบกันเท่านั้น

เชือ่ มโยงสู่ F.T.I. E-Market Place Website

จะเห็นได้ว่าการสร้างโอกาสทางธุรกิจด้วย E-Market Place เป็นวิธี หนึ่งที่จะสามารถเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจได้อย่างมหาศาล โดยเริ่มน�ำธุรกิจ ของคุณออกสู่ตลาดโลก ผ่านช่องทาง E-Market Place ที่มีอยู่มากมาย ถึงเวลาแล้วที่คุณควรจะเริ่มเปิดตัวสู่โลกการค้าระดับสากล อย่าช้านะ ลูกค้านับล้านก�ำลังรอคอยคุณอยู่ สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม (ICTI) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1052, 1053 www.fti.or.th, www.icti.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

203


ปี ส.อ.ท. 204 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สาระส�ำคัญที่นักอุตสาหกรรมควรรู้

2. การพัฒนาเทคโนโลยี และทรัพยากรมนุษย์

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

205


สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ในสาระชุดแรกได้กล่าวถึงเรื่องที่ควรรู้ต่างๆ ส�ำหรับผู้ที่ต้องการมีกิจการเป็นของตนเอง ในสาระชุดที่ 2 นี้จะน�ำเสนอเกี่ยวกับเรื่อง ของการพัฒนาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทั้งเทคโนโลยีและทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งนับเป็นส่วนส�ำคัญยิ่งส�ำหรับความก้าวหน้าและ ก้าวไกลขององค์กร ในบทแรกนี้จะขอน�ำเสนอเรื่องของ “สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ"

การจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นองค์กรที่ตระหนักถึง ความส�ำคัญของการยกระดับสมรรถนะของก�ำลังคนในทุกสาขา อาชีพ ที่จะต้องมีการพัฒนาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ตลอดจนการเปิดเสรีของการแข่งขันทางการค้าและการลงทุน ที่ มี แ นวโน้ ม จะปรั บ เปลี่ ย นจากการแข่ ง ขั น ด้ า นการหาแหล่ ง ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานต้นทุนถูก ไปสูก่ ารแข่งขันทีม่ งุ่ เน้น การใช้ความรู้ ทักษะความเชี่ยวชาญระดับสูง ความสามารถ ในการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ คุณลักษณะ และ นวัตกรรมใหม่ๆ ท�ำให้ประเทศไทยต้องพบกับสิ่งที่ท้าทายใหม่ๆ คือ 1. การเตรียมก�ำลังคนทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีสมรรถนะสูงเพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันของประเทศทั้งด้านการศึกษาและการ ฝึกอบรมด้านทักษะให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมของโลก 2. การก�ำหนดมาตรฐานความรู้ ทักษะ และเจตคติของก�ำลัง คนของชาติในทุกระดับ ทุกอาชีพ เพื่อรองรับการแข่งขันเสรี และ สอดคล้องกับข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย แรงงานที่มีความรู้ และความช�ำนาญในระดับที่แตกต่างกัน 3. การพัฒนาก�ำลังคนของชาติให้มนี สิ ยั รักการเรียนรูแ้ ละการ พัฒนาทักษะให้สูงขึ้นตลอดชีวิต 4. การเชื่อมโยงโลกการศึกษาและโลกการท�ำงานด้วยความ ร่วมมืออย่างแข็งขันของทุกภาคส่วน ด้วยเหตุผลดังกล่าว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้ เป็นผูน้ ำ� เสนอให้มกี ารจัดตัง้ สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพไทย ต่อรัฐบาล เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2546 และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ ให้ด�ำเนินโครงการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพไทย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2547 ตามข้อเสนอของส�ำนักงานคณะกรรมการการ

ปี ส.อ.ท. 206 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

อาชีวศึกษาและสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อพัฒนา มาตรฐานและคุ ณ ภาพก� ำ ลั ง แรงงานอย่ า งเป็ น ระบบตาม ยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปัจจุบัน พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์ ก ารมหาชน) พ.ศ. 2554 ได้ ก� ำ หนดเป็ น กฎหมาย เรียบร้อยแล้ว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2554 เป็นต้นไป เพือ่ เป็นกลไกระดับชาติ เป็นหน่วยงานกลางทีท่ ำ� หน้ า ที่ ก� ำ หนดนโยบาย ทิ ศ ทางการพั ฒ นาระบบคุ ณ วุ ฒิ วิชาชีพตามระบบสากล และท�ำหน้าทีใ่ ห้การรับรองหน่วยงาน ที่ท�ำหน้าที่รับรองความสามารถของบุคคล (Accreditation Body : AB) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุม่ อาชีพในการจัดท�ำ มาตรฐานอาชีพ เพือ่ ให้สถานศึกษา และสถานฝึกอาชีพของ ภาครัฐและเอกชนที่ได้รับการรับรองน�ำไปพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การฝึกอบรม การทดสอบและประเมินผล และออกใบรับรองความสามารถของบุคคล ได้อย่างเป็น ระบบ โดยมีภาพความเชือ่ มโยงระหว่างระบบการศึกษาและ การจ้างงาน ดังนี้


แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ที่มีคุณภาพ โลกของการทำงาน ระดับการจ างงาน

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ยกระดับฝ มือ

การอาชีวศึกษา

การศึกษาทั่วไป

อายุ

ปร�ญญาเอก

ปร�ญญาเอก

24-26

ปร�ญญาโท ปร�ญญาตร�

22-24

L5

ปร�ญญาโท ปร�ญญาตร�

L4 L3

ประกาศนียบัตรว�ชาชีพขั้นสูง ประกาศนียบัตรว�ชาชีพ

อนุปร�ญญา มัธยมศึกษาตอนปลาย

L7 L6

Professional Senior Manager / Associate Professional Manager / Specialist / Assistant Professional Supervisor / foreman Technician / Tradesperson Skilled Workforce Assistant Skilled Workforce

เตร�ยมคนก อนเข า

โลกของการศึกษา

L2 L1

เพ��มความสามารถ

มัธยมศึกษาตอนต น ประถมศึกษา อนุบาล การอบรมเลี้ยงดู

20-22 18-20 15-18 12-15 6-12 3-6 0-3

พ.ร.บ.การศึกษาแห งชาติ

พ.ร.บ.ส งเสร�มการพัฒนาฝ มือแรงงาน

สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) มีระบบการบริหาร จัดการในรูปแบบขององค์กรอิสระ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและ ปรับตัวได้อย่างรวดเร็วทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ต่อ บุคคล : มีโอกาสและทิศทางในการพัฒนาให้เกิดความ ก้าวหน้าในอาชีพและได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับสมรรถนะ เกิดแรงจูงใจต่อการเรียนรู้และพัฒนาตนเองตลอดชีวิต สามารถ น�ำประสบการณ์จากการท�ำงานไปทดสอบเทียบระดับคุณวุฒิ วิชาชีพ เพื่อสามารถปรับระดับค่าความสามารถเป็นค่าตอบแทน ที่เหมาะสม สถานประกอบการ : สามารถร่วมก�ำหนดทิศทางการพัฒนา ก�ำลังคนกลุ่มอาชีพต่างๆ ในกิจการ เพื่อให้มีสมรรถนะตรงตาม ที่ต้องการ และจะสามารถรับหรือบรรจุพนักงานเข้าสู่ต�ำแหน่ง รวมทั้ ง การเลื่ อ นขั้ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล พร้อมทัง้ ก�ำหนดค่าตอบแทนได้อย่างเหมาะสมตามความสามารถ ซึ่งจะท�ำให้กิจการมีการผลิตที่มีคุณภาพสูง ซึ่งจะส่งผลให้เพิ่ม ความสามารถในการแข่งขัน สถานศึกษา : สามารถพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย เพือ่ ผลิตก�ำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน อีกทัง้ ยังได้รบั ความร่วมมือจากกลุม่ อาชีพ กลุม่ สถานประกอบการ และสถาบันต่างๆ เพื่อให้เข้าใจได้ว่าอุตสาหกรรมจริงๆ นั้น เป็น อย่างไร และต้องการคนประเภทไหน อย่างไร

ประเทศ : มีระบบคุณวุฒทิ สี่ ามารถใช้เป็นมาตรฐานส�ำหรับ เป็นแนวทางในการพัฒนาก�ำลังคนให้มีสมรรถนะสูง สามารถ แข่งขันในโลกการค้าเสรี องค์กรทุกภาคส่วนมีโอกาสพัฒนาระบบ การด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสอดคล้องและ เปรียบเทียบกันได้กบั ระบบสากล มีมาตรฐานอาชีพทีใ่ ช้เป็นเครือ่ ง มือในการวัดระดับความสามารถในการปฏิบตั งิ านของบุคคลอย่าง เป็นระบบ เพื่อส่งเสริมการสร้างค่านิยมใหม่ที่ให้คุณค่ากับความ สามารถมากกว่าใบวุฒิบัตร ลดความเหลื่อมล�้ำด้านรายได้ของ บุคคล เป็นหนทางในการน�ำไปสูก่ ารจ้างงานทีเ่ ป็นธรรมตามความ สามารถ นั บ เป็ น นิ มิ ต หมายที่ ดี ที่ ป ระเทศไทยได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งเป็นความร่วมมือของทั้งภาครัฐ และเอกชน ซึง่ จะสามารถก�ำหนดทิศทางการพัฒนาก�ำลังคน หรื อ แรงงานไทยให้ ส อดคล้ อ งกั บ ตลาด ทั้ ง ในเรื่ อ งของ คุณภาพมาตรฐาน และความสามารถในการแข่งขันในระดับ สากลต่อไป ในบทความต่อไปจะขอน�ำเสนอ “การจัดท�ำ มาตรฐานฝีมือแรงงานตามอุตสาหกรรม” คุณผู้อ่านจะได้ ท�ำความเข้าใจได้อย่างต่อเนื่อง ติดตามได้ในบทต่อไป

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

207


การจัดท�ำมาตรฐานฝีมือแรงงานตามอุตสาหกรรม การพัฒนาธุรกิจไปสู่ความเข้มแข็งและเจริญเติบโตได้อย่าง แข็งแรงและยั่งยืนนั้น หนึ่งในปัจจัยส�ำคัญคือ การพัฒนาฝีมือ แรงงานของคนในองค์กรทีผ่ บู้ ริหารจะละเลยไม่ได้ จะเห็นได้วา่ ใน ภาวะปัจจุบัน ซึ่งเป็นการค้าเปิดแบบเสรี ท�ำให้เกิดปัญหาการ ขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะฝีมือ จึงท�ำให้มีแรงงานจากประเทศ ในอาเซียน เคลื่อนย้ายเข้ามาแข่งขันและท�ำงานในประเทศไทย มากขึ้น สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ จึงได้ร่วมกับ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ในการจัดท�ำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่ง ชาติตามอุตสาหกรรมในปี 2553 โดยได้รับความร่วมมือจากกลุ่ม อุตสาหกรรมที่มีความพร้อมเข้าร่วมจัดท�ำมาตรฐานฝีมือแรงงาน ทั้งสิ้น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่ม อุตสาหกรรมชิน้ ส่วนและอะไหล่ยานยนต์ กลุม่ อุตสาหกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ และกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและ เครือ่ งท�ำความเย็น ซึง่ ทัง้ 4 กลุม่ อุตสาหกรรม ได้ดำ� เนินการยกร่าง มาตรฐานฝีมอื แรงงานแห่งชาติแล้ว จ�ำนวน 7 สาขางาน ประกอบ ด้วย

1) กลุ่มฯ ยานยนต์ - สาขาช่างซ่อมตัวถังรถยนต์ - สาขาช่างสีรถยนต์ 2) กลุ่มฯ ชิ้นส่วน - สาขาช่างปั๊มขึ้นรูปโลหะ 3) กลุ่มฯ ไฟฟ้า - สาขาช่างไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม - สาขาช่างติดตั้งไฟฟ้าและการสื่อสารในอาคาร - สาขาช่างบ�ำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 4) กลุ่มฯ เครื่องปรับอากาศ - สาขาช่างติดตั้งเครื่องปรับอากาศในบ้าน และอาคาร พาณิชย์ขนาดเล็ก และเพื่อให้การด�ำเนินงานมีความต่อเนื่อง สามารถเพิ่ม จ� ำ นวนและขยายผลการจั ด ท� ำ มาตรฐานฝี มื อ แรงงานตาม อุตสาหกรรมไปยังกลุม่ อุตสาหกรรมอืน่ ๆ เพิม่ มากขึน้ สถาบันเสริม สร้างขีดความสามารถมนุษย์ และกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จึงได้ ร่วมกันจัดท�ำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรมใน ปี 2554 โดยกลุ่มอุตสาหกรรมที่ร่วมด�ำเนินงานจ�ำนวน 11 กลุ่ม อุตสาหกรรม และมีสาขางานทีจ่ ะจัดท�ำมาตรฐานฝีมอื แรงงาน รวม 44 สาขางาน ดังนี้

สาขาอาชีพที่จัดท�ำมาตรฐาน

ไฟฟ้า 1) ช่างบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรกล 2) ช่างไฟฟ้าส่องสว่างก�ำลังสูง 3) ช่างประกอบมอเตอร์ส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า ในบ้าน 4) ช่างบ�ำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ในโรงงาน อัญมณี 1) ช่างแต่งเครื่องประดับ 2) ช่างหล่อ 3) ช่างฝัง 4) ช่างเจียระไนพลอย พลาสติก 1) ช่างฉีดพลาสติก 2) ช่างเป่าพลาสติก 3) ช่างเป่าฟิล์มพลาสติก 4) ช่างซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าเครื่องขึ้นรูปพลาสติก แม่พิมพ์ 1) ช่างขัดเงาแม่พิมพ์ 2) ช่างกลึง CNC 3) ช่าง Wire Cut 4) ช่าง EDM ปี ส.อ.ท. 208 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ชิ้นส่วนยานยนต์

จักรกลโลหะการ

เครื่องปรับอากาศ

เฟอร์นิเจอร์

รองเท้า

1) งานช่างเครื่องจักรกล (ควบคุมด้วยโปรแกรม) 2) งานเชื่อมในงานชิ้นส่วนยานยนต์ 3) งานช่างซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ 4) งานช่างเครื่องจักรกล (ควบคุมด้วยคน) 1) ช่างเชื่อมระบบท่อในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ และเครื่องท�ำความเย็น 2) ช่างติดตั้งและบริการเครื่องปรับอากาศเพื่อการพาณิชย์ และอุตสาหกรรม 3) ช่างเครื่องท�ำความเย็นขนาดเล็ก 4) ช่างประกอบเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก

ยานยนต์

1) งาน Apply Sealer ส�ำหรับพ่นสีตัวถัง 2) งานพ่นสีตัวถังด้วยปืนลม 3) งานเชื่อม Spot 4) งานประกันคุณภาพ

เหล็ก

1) ช่างหลอมเหล็ก EAF 2) ช่างปรุงแต่งน�ำ้ เหล็กใน Ladle Furnace 3) ช่างหล่อเหล็ก (Casting) 4) ช่างควบคุมการอบเหล็ก

1) ช่างเชื่อมไฟฟ้า ARC Welding 2) ช่างระบบไฮดรอลิก 3) ช่างเขียนแบบเครื่องกล 4) ช่างติดตั้งระบบส่งก�ำลัง 1) งานขึ้นรูป CNC 2) งานอัดประกอบ 3) งานขัด 4) งานท�ำสีชิ้นงาน

1) งานตัดวาด 2) งานพื้นรองเท้า 3) งานเย็บรองเท้า 4) งานประกอบ


ซึ่งมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรมที่จัดท�ำ ขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจะใช้เป็นมาตรฐานในการเทียบเคียง กับมาตรฐานอาเซียน และเพื่อให้สถานประกอบการน� ำไปใช้ ในการรับคนเข้าสู่ตำ� แหน่งงาน ยกระดับและพัฒนาฝีมือแรงงาน รวมทัง้ ใช้เป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมอื และการจ่ายค่าจ้างต่อไป

การจัดท�ำข้อมูลความต้องการ ก�ำลังคนภาคอุตสาหกรรม จากปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมส�ำคัญ สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ ได้สำ� รวจความต้องการ แรงงานในอุตสาหกรรมหลัก 6 อุตสาหกรรม ประกอบด้วย กลุ่ม อุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ ง ปรั บ อากาศ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งจั ก รกลและโลหะการ และ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร (ซึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรม เครื่องจักรกล ประกอบด้วย อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะ การ, เครื่องจักรกลการเกษตร, แม่พิมพ์, Jig fixture และ Tooling) พบว่าในระยะอีก 5 ปีข้างหน้า (ปี 2554-2558) อุตสาหกรรมทั้ง 6 กลุม่ ดังกล่าว มีความต้องการแรงงานเพิม่ ขึน้ 248,862 คน คิดเป็น ร้อยละ 19.26 จากการจ้างงานรวมปี 2553 จ�ำนวน 1.29 ล้านคน ท� ำ ให้ ตั ว เลขการจ้ า งงานรวมของ 6 กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม ในปี 2558 เป็นจ�ำนวน 1.54 ล้านคน แบ่งเป็นระดับ ม.3 และ ม.6 จ�ำนวน 131,628 คน ปวช. จ�ำนวน 37,829 คน ปวส. จ�ำนวน 51,813 คน ปริญญาตรี จ�ำนวน 27,591 คน คิดเป็นร้อยละ 52.89, 15.20, 20.82 และ 11.09 ตามล�ำดับ จากข้อมูลดังกล่าว สถาบันฯ จึงได้ประชาสัมพันธ์ไปยัง ภาครัฐ ภาคการศึกษา รวมถึงผู้ปกครอง นักเรียน นักศึกษาที่อยู่ ในระหว่ า งการตั ด สิ น ใจเลื อ กเรี ย น ให้ ท ราบถึ ง ทิ ศ ทางความ ต้องการแรงงานของอุตสาหกรรม และให้ภาครัฐ และภาคการ ศึกษาน�ำไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการผลิตและพัฒนาก�ำลัง คนให้ภาคอุตสาหกรรมมีก�ำลังคนใช้อย่าง เพียงพอ ตรงสาขา และสอดคล้องกับความต้องการ ต่อไป

การส�ำรวจค่าจ้างและสวัสดิการ ค่าแรงหรือค่าจ้าง นับเป็นหนึ่งในปัจจัยการผลิตที่ส�ำคัญ ข้อมูลด้านค่าจ้างและสวัสดิการในภาคธุรกิจจึงเป็นข้อมูลทีส่ ำ� คัญ ยิ่งต่อการบริหารต้นทุนของกิจการ โดยเฉพาะในสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจทีผ่ นั ผวนในปัจจุบนั สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถ มนุ ษ ย์ ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ ร ่ ว มกั บ มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดท�ำการส�ำรวจค่าจ้างและสวัสดิการ ตัง้ แต่ ปี 2552 ถึงปัจจุบัน โดยมีผลการด�ำเนินงานดังนี้ - ปีที่ 1 โครงการส�ำรวจค่าจ้างและสวัสดิการ ปี 2552/2553 มีผู้เข้าร่วม 28 กลุ่มอุตสาหกรรม 360 บริษัท - ปีที่ 2 โครงการส�ำรวจค่าจ้างและสวัสดิการ ปี 2553/2554 มีผู้เข้าร่วม 26 กลุ่มอุตสาหกรรม 302 บริษัท - ปีที่ 3 โครงการส�ำรวจค่าจ้างและสวัสดิการ ปี 2554/2555 อยู่ในระหว่างด�ำเนินการ ซึง่ ผูเ้ ข้าร่วมการส�ำรวจนอกจากจะได้รบั สิทธิพเิ ศษในการเข้า ร่วมอบรมสัมมนาในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าจ้างและสวัสดิการแล้ว ยังสามารถเข้าดูข้อมูลค่าจ้างและสวัสดิการภาพรวมและข้อมูล ค่าจ้างและสวัสดิการเปรียบเทียบ บนเว็บไซต์ http://www. hcbi. org/salarysurvey/ ได้อีกด้วย นอกจากการมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพฝีมือแรงานแล้ว การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของบุคลากรในองค์กรก็เป็นเป้าหมาย ที่ส�ำคัญอีกเป้าหมายหนึ่ง เพราะเวลาส่วนมากของชีวิตคือ เวลาของการท�ำงาน หากมนุษย์เราได้ทำ� งานกับสิง่ ทีท่ ำ� ให้เรา พอใจและมีความสุข ก็จะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลต่อองค์กรนัน้ ๆ อีกด้วย บทความต่อไปเราจะพูด ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของการท�ำงาน (MS-QWL) ซึ่งมี ความส�ำคัญต่อองค์กรเช่นกัน

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 3 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1224, 1230, 1221 www.hcbi.org สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

209


การพัฒนามาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการท�ำงาน

(Management System of Quality of Work Life : MS-QWL) จากที่ได้กล่าวไว้เมื่อท้ายบทที่แล้วว่า เมื่อแต่ละบุคคลได้ใช้ ชีวติ การท�ำงานอยูก่ บั สิง่ ทีต่ นเองพอใจก็จะท�ำให้มสี ภาพจิตใจและ อารมณ์ที่ดี และจะส่งผลให้การท�ำงานนั้นดีตามไปด้วย ดังนั้น จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีแ่ ต่ละองค์กรจะต้องศึกษาหรือแสวงหาหนทาง ให้เกิดความสอดคล้องต้องกันของความพึงพอใจระหว่างพนักงาน และองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุด หาก คุณภาพชีวิตการท�ำงานต�่ำ ผลที่ตามมาคือ ความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการผลิตที่ต้องหยุดชะงัก จนมีผล ท�ำให้การส่งออกไม่สามารถด�ำเนินการไปได้ตามเป้าหมาย ท�ำให้ องค์กรต้องสูญเสียรายได้จ�ำนวนมหาศาล พนักงานเองก็ต้อง ประสบความล�ำบากและขาดรายได้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสังคม และประเทศชาติโดยรวมอีกด้วย สถาบั น เสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถมนุ ษ ย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของ คุณภาพชีวิตคนท�ำงาน จึงได้มีการจัดท�ำร่างมาตรฐานระบบ บริหารจัดการคุณภาพชีวิตการท�ำงานในสถานประกอบการขึ้น โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ซึ่ ง มี ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ นักวิชาการ นักจิตวิทยา แพทย์ และตัวแทนสถานประกอบการ มาร่วมร่างมาตรฐานดังกล่าว โดยมีแนวคิดหลักทีเ่ น้นการส่งเสริม และพัฒนาให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกๆ ด้าน ซึ่งแบ่งได้ เป็น 4 สุขภาวะ ดังนี้ • สุขภาวะทางกาย – สุขภาพแข็งแรงไม่เกิดอุบตั เิ หตุมกี จิ กรรมสร้างเสริมสุขภาพ • สุขภาวะทางอารมณ์ – การท�ำงานอย่างมีความสุข สนุกกับงาน ไม่เครียด • สุขภาวะทางสังคม – การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข • สุขภาวะทางจิตวิญญาณ – ใจกุศล รักองค์กร พอใจในตัวเอง ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ จากการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ในเชิ ง กระบวนการ ตามมาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิต การท�ำงาน หรือ MS-QWL สามารถเห็นผลได้ใน 3 มิตสิ ำ� คัญ ได้แก่ 1. พนักงาน • พนักงานมีสุขภาวะที่ดีทั้ง 4 ด้าน คือ กาย อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ ซึ่งเป็นประโยชน์ที่จะเห็นได้อย่างชัดเจนที่สุด • พนักงานจะให้ความส�ำคัญในการดูแลคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อตนเองและครอบครัว รวมทั้งคนรอบข้างได้ 2. สถานประกอบการ • อัตราการขาด ลา มาสาย และอุบตั เิ หตุทเี่ กิดจากการท�ำงาน จะลดลง • ผลิ ต ผลและผลิ ต ภาพการท� ำ งานเพิ่ ม สู ง ขึ้ น เนื่ อ งจาก แรงงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ปี ส.อ.ท. 210 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

• ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของแรงงานลดลง • สร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลคุณภาพชีวิตของพนักงาน ด้วยกัน 3. ประเทศชาติ • ประชากรมีสุขภาวะที่ดีครอบคลุมทั้ง 4 ด้านหลัก ย่อมส่ง ผลให้ประเทศชาติมีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศ • เกิดการเชือ่ มโยงการดูแลคุณภาพชีวติ ขององค์กรประเภท ต่างๆ ในสังคม ซึ่งจะสามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายและเกิดการ ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในด้านการดูแล คุณภาพชีวิตการท�ำงานร่วมกันได้

ขั้นตอนการน�ำไปใช้และพัฒนาสู่องค์กร ประกอบด้วยกระบวนการ ดังนี้ 1) การเตรียมความพร้อมเบื้องต้น 1.1 จัดตั้งคณะท�ำงานและตัวแทนฝ่ายบริหาร 1.2 การพัฒนาคณะท�ำงาน 1.3 รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินเบื้องต้น ซึ่งเป็นการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพนักงานทั้งหมดในปัจจุบัน เพื่อน�ำ มาวิเคราะห์สถานะด้านคุณภาพชีวิตของพนักงานที่เกิดขึ้นได้ 1.4 วางแผนการด�ำเนินงานภาพรวม เพื่อใช้เป็นกรอบใน การพัฒนาระบบ และติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบ 2) การด�ำเนินการปฏิบัติ 2.1 การสื่อสารสร้างความเข้าใจกับพนักงาน 2.2 ก�ำหนดนโยบายคุณภาพชีวิต 2.3 การวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพชีวิตพนักงาน ซึ่งจะต้อง วิเคราะห์ให้ครอบคลุมทุกหน่วยงานในองค์กร 2.4 ก�ำหนดแนวทางแก้ไขป้องกัน 2.5 การทบทวน ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2.6 กิจกรรมสนับสนุนที่ต้องด�ำเนินการ เมือ่ ทราบถึงวิธกี ารแล้วจะเห็นได้วา่ การจะสร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ ใี นสถานทีท่ ำ� งานนัน้ มิใช่เรือ่ งทีย่ ากจนเกินความสามารถ หาก แต่เป็นเรือ่ งของความพร้อมของบุคคลทัง้ สองฝ่ายคือ ฝ่ายองค์กร หรือนายจ้าง และฝ่ายพนักงานหรือลูกจ้าง ที่พร้อมจะหันหน้า เข้าหากันเพื่อคิดหาแนวทางที่จะน�ำไปสู่เป้าหมายขององค์กร โดยที่ทั้งสองฝ่ายต่างมีความพึงพอใจด้วยกัน


การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย

(Thai Labour Standard Certification) ปัจจุบันกระแสโลกได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจ อย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ ครอบคลุมถึงความรับผิดชอบ ต่อแรงงานในด้านสิทธิมนุษยชน สภาพการจ้าง และสภาพการ ท�ำงาน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การมีคุณภาพชีวิตและสวัสดิการ ที่ดีของแรงงาน ด้วยเหตุผลดังกล่าว กระทรวงแรงงาน จึงได้ประกาศใช้ มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย มรท.8001-2546 ครัง้ แรกในวันที่ 27 มิถนุ ายน 2546 เพือ่ เป็นเครือ่ ง มือทีแ่ สดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและตอบสนองตามกระแส โลก นอกจากนีก้ รมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานก็ได้มกี ารแก้ไข เพิม่ เติมกฎหมายว่าด้วยการคุม้ ครองแรงงาน ตลอดจนข้อก�ำหนด มาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องก็ได้รับการปรับปรุงเช่นเดียวกัน การ ปรับปรุงแก้ไขข้อก�ำหนดมาตรฐานแรงงานไทยได้แก้ไขให้เหมาะสม สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กฎหมายและสถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป และออกประกาศกระทรวงแรงงานก�ำหนดมาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจไทย มรท.8001-2553 เมื่อวัน ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 เพื่อให้ทันสมัยและเหมาะสมที่จะน�ำ ไปปฏิบัติจริง กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานมีนโยบายสนับสนุนให้นำ� ไปปฏิบัติและให้การรับรองแก่กลุ่มที่ปฏิบัติสอดคล้องตามข้อ ก�ำหนด อันจะเป็นผลดีในการพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานไทย สู่ความเป็นสากลและเกิดภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจไทยในเวที ระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์ของการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย ก็เพื่อ ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายเป็น พืน้ ฐาน และยกระดับการปฏิบตั สิ สู่ ากล รวมทัง้ มีระบบการจัดการ ที่ดี อันเป็นหลักประกันว่าการปฏิบัตินั้นจะยั่งยืนและพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยมีกลุม่ เป้าหมาย คือ สถานประกอบกิจการทุกประเภท และทุกขนาด ที่ประสงค์จะเข้าสู่การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย เพื่อพัฒนาระบบการจัดการแรงงาน และยกระดับการปฏิบัติให้ เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึ่งการรรับรองมาตรฐานแรงงานได้ แบ่งการรับรองออกเป็น 2 ระดับ คือ 1. ระดับพื้นฐาน คือ รับรองการปฏิบัติที่สอดคล้องข้อก�ำหนด มาตรฐานตามขอบเขตของกฎหมาย โดยมีอายุการรับรอง 1 ปี 2. ระดับสมบูรณ์ คือ รับรองการปฏิบัติที่สอดคล้องข้อก�ำหนด มาตรฐานทั้งหมด โดยแบ่งเป็น 4 ขั้น ตามความสามารถในการ จัดการชั่วโมงการท�ำงานล่วงเวลา (O.T.) ต่อสัปดาห์ • ขั้นสูงสุด – O.T. ไม่เกิน 12 ชั่วโมง อายุการรับรอง 3 ปี • ขั้นก้าวหน้า – O.T. ไม่เกิน 18 ชั่วโมง อายุการรับรอง 1 ปี • ขั้นพัฒนา – O.T. ไม่เกิน 24 ชั่วโมง อายุการรับรอง 1 ปี • ขั้นริเริ่ม – O.T. ไม่เกิน 36 ชั่วโมง อายุการรับรอง 1 ปี ประโยชน์ที่ชัดเจนของการเข้าสู่การรับรองมาตรฐานแรงงาน ไทย คือ มีความปลอดภัยในการท�ำงาน มีสวัสดิการพื้นฐาน มี

ชัว่ โมงการท�ำงานและค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสม เป็นต้น หรืออาจจะ แยกให้ชัดเจนดังนี้ คือ

ประโยชน์ต่อนายจ้าง • เกิดความสัมพันธ์และความร่วมมืออันดีกับลูกจ้าง • ลดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน • เพิ่มผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ • มีความพร้อมรับการตรวจประเมินมาตรฐานอื่น และพัฒนา เข้าสู่มาตรฐานสากลว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

ประโยชน์ต่อลูกจ้าง • มีคุณภาพชีวิตและมีความมั่นคงในการท�ำงาน • มีสภาพแวดล้อมที่ดี ลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุและ โรคจากการท�ำงาน • มีขวัญก�ำลังใจในการท�ำงานและผูกพันกับองค์กร • มีความร่วมมือกับนายจ้าง สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ การปฏิบัติในการเข้าสู่ระบบรับรอง • ยื่นค�ำขอการรับรองที่ สสค. สรพ. • เตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินเพื่อการรับรอง • หลักฐานการปฏิบัติตามข้อก�ำหนด • รับการตรวจประเมินเพือ่ การรับรอง (พืน้ ที่ เอกสาร สัมภาษณ์) • จัดท�ำแผนและปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน (กรณีที่มีข้อบกพร่อง) • รับการตรวจติดตามเป็นระยะเพื่อรักษามาตรฐานให้คงอยู่ และพัฒนาอย่างต่อเนื่องหลังการรับรอง • ยื่นค�ำขอการรับรองใหม่เมื่อหมดอายุการรับรอง สนใจยื่นขอการรับรองได้ที่ • ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด (สสค.) • กลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานพื้นที่ (สรพ.) • กลุ่มงานรับรองมาตรฐานแรงงาน ชั้น 13 สพม. กสร. กระทรวงแรงงาน ถนนมิตรไมตรี ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2354 1642-3, 0 2354 1652-3 เว็บไซต์ : http://tls.labour.go.th อีเมล : tls@labour.mail.go.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

211


เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์

ในภาคอุตสาหกรรม (ยุคปัจจุบัน) เหตุการณ์เมือ่ ปี พ.ศ. 2540 ทีเ่ กิดสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ นอกจากจะสร้างผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของ ไทยอย่างเห็นได้ชดั แล้ว ยังช่วยเปิดเผยให้เห็นถึงความส�ำคัญของ สภาพแวดล้อมในการบริหารจัดการองค์กรทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงการบริหารงานการเมืองการปกครอง สภาพแวดล้อมในการ บริหารจัดการนี้เรียกอีกนัยหนึ่งก็คือ “ปัจจัย” ที่มีผลต่อความมี ประสิทธิภาพและความส�ำเร็จขององค์กร ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ.2540 เป็นต้นมานัน้ ได้เผยให้เห็นว่าทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญ ขององค์ ก รที่ จ ะน� ำ องค์ ก รไปสู ่ ค วามส� ำ เร็ จ และความเติ บ โต ก้าวหน้า ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จึงมีบทบาทที่ส�ำคัญในการฝ่าฟัน อุปสรรคร่วมกับนายจ้างและลูกจ้างที่เราเรียกว่า Strategic Partner ภายใต้ภารกิจส�ำคัญในการวางแผนอัตราก�ำลังคน การ สรรหาและการคัดเลือก การธ�ำรงรักษาบุคลากร การพัฒนา บุคลากร เพื่อให้องค์กรมีความสามารถในการแข่งขันภายใต้ สภาวะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเศรษฐกิจและสังคม เทคนิ ค การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ใ นภาคอุ ต สาหกรรม (ยุคปัจจุบัน) มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ปฏิบัติจะต้องทราบถึง 1) บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหาร 2) ทรัพยากรที่จะบริหาร 3) สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการบริหาร ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องในการบริหารองค์กรหมายความรวมถึง ผู้บริหารทุกคน ทุกท่าน ทุกระดับการบริหาร ซึ่งแต่ละท่านจะมี บทบาทและหน้าที่ของตนอย่างชัดเจนตามโครงสร้างการบังคับ บัญชา แต่บทบาทหนึง่ ทีท่ กุ คนจะต้องมีอย่างไม่นอ้ ยหน้ากันก็คอื “บทบาทผู้น�ำ” ซึ่งจะต้องมีศักยภาพในการแสดงออกถึงความมี “วุฒิภาวะผู้น�ำ” ของตนเอง ผู้บริหารหลายท่านเป็นผู้บริหาร เนื่ อ งจากต� ำ แหน่ ง งานบ่ ง ชี้ ว ่ า เขาหรื อ เธอนั้ น เป็ น ผู ้ บ ริ ห าร แต่พฤติกรรมและทัศนคติกลับแสดงให้เห็นว่าเขาและเธอนั้น ยังไม่ใช่ผู้บริหาร ค�ำสัพยอกที่เรามักได้ยินกันบ่อยครั้งว่า “เป็น ผูจ้ ดั การสันดานเสมียน” น่าจะเป็นเครือ่ งชีว้ ดั ได้วา่ ผูบ้ ริหารส่วน หนึง่ ในสังคมยังมีคณ ุ ลักษณะนีใ้ นการท�ำงาน การมีวฒ ุ ภิ าวะผูน้ ำ� ในที่นี้หมายความถึง “การสร้างแรงบันดาลใจ” ให้กับผู้ใต้บังคับ บัญชาและคนรอบข้างให้สามารถท�ำงานบรรลุผลส�ำเร็จได้ตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ ซึง่ แตกต่างจากความเป็น ผูน้ ำ� ทีต่ อ้ งท�ำหน้าที่ “ควบคุม” ให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาท�ำงานให้สำ� เร็จ การสร้างแรงบันดาลใจนี้ท�ำได้ยากมาก ก่อนอื่นต้องมีความ พยายามเริ่มต้นที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองให้เป็นคนท�ำงานเชิงรุก ปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยอยูเ่ สมอ ทันโลกทันเหตุการณ์ และสือ่ สาร กับคนอื่นๆ ได้ดี จากนั้นก็พัฒนาความรู้สึกห่วงใยและความรัก ทีจ่ ะให้คนรอบข้างของเรามีความก้าวหน้า และกล้าทีจ่ ะมอบหมาย งานให้เขาท�ำอย่างเต็มศักยภาพ ปิดท้ายด้วยการยกย่องชมเชยให้ เขาเหล่านัน้ มีความภาคภูมใิ จในงานทีไ่ ด้ทำ� และในความส�ำเร็จที่ ปี ส.อ.ท. 212 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

เขาสร้างสรรค์ ซึง่ พอทีจ่ ะสรุปให้จดจ�ำง่าย คือ เริม่ ต้นสร้างสรรค์ ดี มีความคิดเป็นระบบ ครบด้วยตัวชี้วัด จัดให้หัวใจบริการ สานสร้างแรงบันดาลใจ ส่วนผูบ้ ริหารทรัพยากรมนุษย์ หรือฝ่าย บุคคลก็ควรที่จะมีคุณลักษณะส�ำคัญเพิ่มเติมอีก 4 ประการตาม แนวคิดของ Dave Urich คือจะต้องมีความเชี่ยวชาญในงานของ ตน ต้องรักษาคนในองค์กรให้ได้ ส่งเสริมให้มีการเปลี่ยนแปลง อย่างสร้างสรรค์ และเป็นเพื่อนคู่คิดขององค์กร ทรัพยากรที่จะบริหารในที่นี้คือทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources) ซึง่ เป็นทรัพยากรทีม่ คี วามแตกต่างจากทรัพยากรอืน่ ๆ แม้ว่าจะจับต้องได้เหมือนกันแต่ความต่างก็คือ มนุษย์คิดได้และ คิดเป็น และการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์นั้นเป็นการลงทุนใน สินทรัพย์ทมี่ องไม่เห็นและไม่สามารถบ่งชีป้ ระโยชน์ทจี่ ะได้รบั กลับ คืนมาภายในระยะเวลาอันสั้น การประเมินประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลจากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นี้ต้องใช้ระยะเวลา และความพร้อมในการตอบสนองต่อสถานการณ์วกิ ฤตเป็นเครือ่ ง ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ อย่ า งไรก็ ต าม การเตรี ย มความพร้ อ มด้ า น บุคลากรทีส่ ำ� คัญและจ�ำเป็น ก็คอื การก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ในงานให้กับพนักงานในองค์กรอย่างชัดเจน โดยองค์กรจะต้อง ท�ำการทบทวนและวิเคราะห์งาน (Job Analysis) การก�ำหนด คุณสมบัติของบุคลากรที่จะท�ำงาน (Job Specification) และการ ก�ำหนดหน้าที่งาน (Job Description) จากนั้นก็ควรที่จะก�ำหนด สมรรถนะหรือขีดความสามารถ (Competency) ที่บุคลากรควร จะต้องมีในช่วงระยะเวลาต่างๆ กันของอายุงาน รวมถึงการน�ำ เครื่องมือการบริหารจัดการ ได้แก่ การน�ำเครื่องมือ Balanced Scorecard และการก� ำ หนดดั ช นี ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ (Key Performance Indicators) มาประยุกต์ใช้ในองค์กร การปฏิบัติ ดังกล่าวนีเ้ ป็นการวางรากฐานให้กบั องค์กรเพือ่ ให้มหี ลักยึดในการ บริหารจัดการ เป็นเสาหลักโครงสร้างองค์กรทีเ่ ข้มแข็งก่อนทีจ่ ะน�ำ “คน” หรือทรัพยากรมนุษย์เข้ามาร่วมงาน การมีเสาหลักที่มั่นคง จะท� ำ ให้ อ งค์ ก รสามารถเผชิ ญ หน้ า กั บ สภาพแวดล้ อ มที่ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วได้ ในขณะเดียวกันเสาหลักโครงสร้างนี้ ยังส่งผลให้บุคลากรในองค์กรมีระดับความพร้อมและมีระดับ ขีดความสามารถในการแข่งขันที่สูงกว่าคู่แข่งขัน


กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพยากรมนุษย์และการบริหารจัดการ ทรัพยากรมนุษย์นรี้ วมถึงการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร การ ธ�ำรงรักษาบุคลากร และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการสรรหาและคั ด เลื อ กบุ ค ลากรให้ ทั น กั บ ยุ ค สมั ย ที่ เปลี่ ย นแปลงก็ ค วรจะต้ อ งพิ จ ารณาก� ำ หนดความสามารถ (Competency) ของบุคลากรที่องค์กรต้องการก่อน เพื่อน�ำไป ก�ำหนดแนวทางการสรรหาและคัดเลือกให้ได้คนที่ตรงกับความ ต้องการขององค์กรในแต่ละต�ำแหน่งงาน ด้านการธ�ำรงรักษา บุ ค ลากรควรพิ จ ารณาการจ่ า ยค่ า จ้ า งตามความสามารถ (Competency Based Pay) และอาจพิจารณาจัดสวัสดิการแบบ ยืดหยุ่น (Flexible Welfare) เช่น การก�ำหนดวงเงินสวัสดิการโดย ให้พนักงานได้สามารถใช้สิทธิประโยชน์ได้หลายอย่างร่วมกัน ทั้ง ค่ารักษาพยาบาล ค่าทันตกรรม ค่าเล่าเรียนบุตร และอื่นๆ ที่จะ ก�ำหนดให้ได้ รวมถึงการจัดบรรยากาศในที่ทำ� งานให้น่าอยู่ ทั้งนี้ เป็นไปเพื่อให้เกิดบรรยากาศของความสุขในการท�ำงาน เมื่อ พนักงานมีความสุขในการท�ำงานแล้วก็จะช่วยลดภาระปัญหา สมองไหล (Brain Drain) ปัญหาการส่งต่อความรู้ในการท�ำงาน (KM) ปัญหาพนักงานขาดวินยั ในการท�ำงาน เมือ่ ปัญหาเหล่านีล้ ด ลงแล้วก็จะท�ำให้ภาวะความเชือ่ มัน่ ในองค์กร (Trust) ความผูกพัน ในองค์กร (Engagement) และความภักดีตอ่ องค์กร (Loyalty) เพิม่ มากขึ้น ซึ่งฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องสร้างเครื่องมือตรวจสอบ มาคอยประเมินสถานการณ์ดงั กล่าวอยูเ่ สมออย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ เครือ่ งมือทีส่ ำ� คัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุคปัจจุบนั ทีจ่ ะ ต้องกล่าวถึงก็คอื การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ ปัจจุบนั มีการน�ำระบบ Internet-Intranet มาใช้ในองค์กรอย่างแพร่หลาย แล้ว การพิจารณาน�ำระบบสารสนเทศมาให้บริการพนักงานในการ แจ้งขาด ลา มาสาย ป่วย การแจ้งข่าวสาร การขอหนังสือรับรอง ผ่านระบบ Employee Self Service ก็เป็นแนวทางการให้บริการ พนักงานในปัจจุบนั เช่น ในบางองค์กรได้นำ � Kiosk แบบจอสัมผัส มาให้บริการแก่พนักงานและผูม้ าติดต่องานบริษทั ได้ศกึ ษาข้อมูล องค์กร ในขณะเดียวกันก็ให้บริการแก่พนักงานในการตรวจสอบ ประวั ติ ข องตนเองได้ ประโยชน์ ท างอ้ อ มที่ เ ห็ น ได้ ก็ คื อ การที่ พนักงานมีการรับรู้ด้านเทคโนโลยีมากขึ้น ยอมรับคอมพิวเตอร์ได้ มากขึน้ และส่งผลต่อการยอมรับการเปลีย่ นแปลงในองค์กรได้มาก ขึ้นเช่นกัน

สภาพแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องในการบริหารในทีน่ เี้ กิดขึน้ จากการ ที่ผู้บริหารจะต้องทันโลกทันเหตุการณ์เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องคนและเทคโนโลยี ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะต้องเข้าสู่ ความเป็ น ประชาคมอาเซี ย น ค� ำ ถามที่ ส� ำ คั ญ ในการบริ ห าร ทรัพยากรมนุษย์คือ “เราจะต้องเตรียมความพร้อมอย่างไร?” สิ่งที่สมาชิกสมาคมอาเซียนจะต้องด�ำเนินการในปี พ.ศ.2558 คือ 1) มีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน 2) สร้างขีดความสามารถ ร่วมกัน 3) สร้างความเท่าเทียมกัน และ 4) ส่งเสริมการรวม กลุ่ม ในสองข้อแรกเป็นแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่วน สองข้อหลังเป็นการวิจัยและพัฒนา เห็นได้ชัดว่าแม้แต่สมาคม อาเซียนเองก็ให้ความส�ำคัญต่อทรัพยากรมนุษย์ ความส�ำคัญของ “คน” จะถูกยกระดับจากท้องถิ่น (Local HR) ไปสู่ระดับสากล (International HR) ดังนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับความเป็น ประชาคมอาเซียน การค้าและการลงทุนจากต่างประเทศทัง้ ขาเข้า และขาออก เราจะต้องพัฒนาบุคลากรให้มคี วามพร้อมส�ำหรับการ ท�ำงานดังกล่าวในด้านภาษา วัฒนธรรม ระดับความรู้ทางธุรกิจ ระหว่างประเทศ กระบวนการท�ำงานที่เป็นสากลและมีมาตรฐาน รวมถึงการศึกษาเรียนรูแ้ ละท�ำความเข้าใจข้อบังคับและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิก ท้ายที่สุดนี้ ไม่ว่ายุคสมัยจะเปลี่ยนไปอย่างไรถ้าเรา บริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้วยหลักการมอง “คน” ด้วย หัวใจแห่งความรัก ไม่มองว่าเขาเหล่านั้นเป็น “เครื่องจักร” ในการท�ำงาน เราก็จะเห็นว่าทุกคนในองค์กรของเรานั้นล้วน เป็น “สมาชิกครอบครัว” ซึ่งสมาชิกทุกคนมีสิทธิแสดงความ คิดเห็นในขอบเขตทีเ่ หมาะสมและสร้างสรรค์เพือ่ การพัฒนา ร่วมกัน ให้ความร่วมมือกันท�ำงานเพือ่ เป้าหมายเดียวกัน ผ่าน กระบวนการสือ่ สารทีช่ ดั เจนตรงไปตรงมา หัวหน้ากับลูกน้อง พูดคุยกันได้ในทุกๆ เรื่อง ท�ำกิจกรรมร่วมกันทั้งในความ รับผิดชอบของงาน และการท�ำกิจกรรมจิตอาสา บรรยากาศ แบบนี้คือบรรยากาศขององค์กรแห่งความสุข ไม่มีความ ขัดแย้งใดๆ ที่จะเป็นอุปสรรคในการท�ำงานให้ส�ำเร็จตาม เป้ า หมายที่ ก� ำ หนด จะมี ก็ เ พี ย งแต่ ค วามเป็ น น�้ ำ หนึ่ ง ใจ เดียวกันและช่วยกันสร้างแรงบันดาลใจในการท�ำงานอย่าง ภาคภูมิใจ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

213


แหล่งสนับสนุนการวิจัย

และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันส�ำหรับอุตสาหกรรมไทย ปัจจุบนั งานวิจยั และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการแข่ ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมไทยมากขึ้ น เนือ่ งจากธุรกิจหลายประเภทต้องเผชิญกับภาวะ “แรงกดดันสอง ทาง (Nut-Crackers Effect)” คอื ติดอยูต่ รงกลางระหว่างประเทศ ที่มีความได้เปรียบด้านต้นทุนราคาถูก เช่น จีน เวียดนาม กับ ประเทศทีม่ คี วามสามารถในการสร้างความแตกต่างทางมูลค่าเพิม่ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รวมถึงแรงกดดันในด้านการผลิตที่เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม ซึง่ ผูผ้ ลิตต้องปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต โดยน�ำแนวคิดของการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร พลังงาน และ สิ่งแวดล้อมเข้ามาร่วมด้วยอย่างจริงจัง ท�ำให้ประเทศไทยไม่ สามารถใช้ความได้เปรียบทางด้านแรงงานและทรัพยากรมาใช้ใน การแข่งขันได้อีกต่อไป ดังนั้น สิ่งส�ำคัญในการยกระดับขีดความ สามารถในการแข่งขันให้ทดั เทียมกับนานาประเทศในปัจจุบนั คือ ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องมีความรู้และสามารถในการพัฒนา กระบวนการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์ ฯลฯ เพื่อเพิ่มมูลค่า สินค้าไปพร้อมๆ กับการลดต้นทุนการผลิตที่อยู่บนฐานของการ วิจัยและพัฒนาควบคู่กันไป อย่างไรก็ตาม ในระยะที่ผ่านมา บทบาทของผู้น�ำในการ ท�ำการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีส่วนใหญ่ เป็นภาครัฐ ซึง่ ท�ำเพือ่ ตอบสนองความต้องการของนักวิจยั มากกว่า ตอบสนองความต้องการในภาคอุตสาหกรรม แต่ในปัจจุบันเริ่มมี หลายหน่วยงานที่เห็นความส�ำคัญในการพัฒนาความรู้เพื่อตอบ โจทย์ภาคอุตสาหกรรมมากขึน้ ดังนัน้ สถาบันวิจยั และพัฒนาเพือ่ อุตสาหกรรม (สย.) จึงได้เดินหน้าในการสร้างความร่วมมือกับ หน่วยงานวิจัยต่างๆ ของภาครัฐ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างเครือ ข่ายและการประสานงานระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับหน่วยงาน สนับสนุนการวิจัย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัย พัฒนา ผลิตภัณฑ์ และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ให้ กับภาคอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน โดยหน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทส�ำคัญในด้านการวิจัยและ พัฒนา และพร้อมจะเป็นแหล่งสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณและ บุคลากรส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม ที่มีความร่วมมือกับ สย. มีดังนี้

1. ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) อยูใ่ นบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรีโดยตรง โดยมีรองนายก รัฐมนตรี (ที่ได้รับมอบหมาย) เป็นผู้ก�ำกับการบริหารราชการ สั่ง และปฏิบตั ริ าชการส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติแทน เป็น หน่วยงานที่มีบทบาทในการสร้างสะพานเชื่อมโยงความรู้สู่ภาค อุตสาหกรรม โดยผลงานวิจัยที่ให้การสนับสนุนที่ผ่านมา เช่น ปี ส.อ.ท. 214 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

• การวิจัย อนุภาคซิลเวอร์นาโนเพื่อตอบโจทย์วิจัยในภาค อุตสาหกรรม ผล ผลิตภัณฑ์ เปา ซิลเวอร์นาโน สูตรซักกลางคืน ไม่งอ้ แดด บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จ�ำกัด • การวิจัย การต่อยอดองค์ความรู้ประหยัดพลังงานสู่บ้าน พอเพียง ผล บ้านพอเพียงประหยัดพลังงาน

2. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) เน้นการบูรณาการงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ด้านอุตสาหกรรม อาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เครื่องมือแพทย์ และพลังงานทดแทน และสิง่ แวดล้อม โดยตัวอย่างผลงานวิจยั ทีใ่ ห้การสนับสนุนทีผ่ า่ น มา อาทิ 2.1. ด้านอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เครือ่ งคัดเลือกขนาดล�ำใย เครือ่ งปอกเปลือกกระเทียม เครือ่ งสกัดน�ำ้ ผลไม้แยกผิวซึง่ มีรสขม และเครือ่ งดืม่ เสริมสุขภาพส�ำหรับลดความเสีย่ งโรคเบาหวานจาก ผักเชียงดาและผักหวานบ้าน เป็นต้น 2.2. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น เครื่องดึงหลังและ คออัตโนมัติ เครือ่ ง CPM เข่า ส�ำหรับกายภาพบ�ำบัด และยารักษา แผลในช่องปากจากไพล เป็นต้น นอกจากนี้ วว. ยังให้บริการในด้านต่างๆ ดังนี้ - การตรวจหาสารปนเปื้อนและเชื้อจุลินทรีย์ในอาหารเพื่อ รับรองอาหารปลอดภัย - งานทดสอบชิ้นส่วนยานยนต์ - งานทดสอบหม้อไอน�้ำ - บริการตรวจสภาพการใช้งานวัสดุ - ห้องสอบเทียบเครือ่ งมือและอุปกรณ์ เช่น สอบเทียบเครือ่ ง มือและอุปกรณ์ทางเสียง สอบเทียบ Hydrometer สอบเทียบ Gauge Block ทดสอบคุณลักษณะสีอุตสาหกรรม เป็นต้น - ศูนย์บริการข้อมูลงานวิจัย


3. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) เป็ น หน่ ว ยงานในก� ำ กั บ ของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ภายใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของคณะกรรมการพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) เพือ่ มุง่ ให้เกิดการน�ำ ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาช่วยให้ภาค การเกษตรและภาคอุตสาหกรรมสามารถด�ำเนินงานได้ดีและมี ประสิทธิภาพสูงขึน้ โดยด�ำเนินงานผ่านการท�ำงานร่วมกันของศูนย์ ทั้ง 5 ศูนย์ ได้แก่ 3.1. ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (BIOTEC) มุ่งพัฒนางานด้านเทคโนโลยีชีวภาพไปประยุกต์ใช้ใน ระดับอุตสาหกรรม เพื่อช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งของภาค อุตสาหกรรมไทย ในกลุม่ อาหารและเกษตร ยาและเวชภัณฑ์ และ สิ่งแวดล้อม โดยการร่วมวิจัย การรับจ้างวิจัย การบริการปรึกษา อุตสาหกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยี 3.2. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) มุ่ง พัฒนางานด้านเทคโนโลยีโลหะและวัสดุ การสนับสนุนการวิจัย และพัฒนาระหว่างนักวิจัยของศูนย์ฯ และนักวิจัยจากหน่วยงาน ภายนอก โดยให้ความส�ำคัญกับอุตสาหกรรม 6 กลุ่ม ได้แก่ 1) อาหารและเกษตร 2) การแพทย์และสาธารณสุข 3) ยานยนต์และขนส่ง 4) ซอฟแวร์ ไมโครชิปและอิเล็กโทรนิกส์ 5) พลังงานและสิ่งแวดล้อม 6) อุตสาหกรรมสิ่งทอและเคมีภัณฑ์ โดยการสนับสนุนหลายรูปแบบ อาทิ การให้ทุนวิจัย การ พัฒนาเทคโนโลยีฐานคอมพิวเตอร์ชว่ ยในการออกแบบ วิศวกรรม และการผลิต (Digital Engineering) ให้บริการวิจัยเกี่ยวกับวัสดุ ต่างๆ เช่น โพลิเมอร์ และเซรามิก เป็นต้น 3.3. ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่ง ชาติ (NECTEC) มุง่ พัฒนางานด้านอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคส่วนต่างๆ ทั้งใน อุตสาหกรรม ชุมชน และสังคม โดยมีรูปแบบการสนับสนุนต่างๆ ได้แก่ การรับจ้างวิจัยเพื่อเสริมความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรม การอนุญาตให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถใช้ตน้ แบบและองค์ความ รู้เพื่อพัฒนาสินค้าหรือบริการในเชิงพาณิชย์ การร่วมวิจัยพัฒนา การให้ค�ำปรึกษาและจัดหาผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ค�ำปรึกษาหรือ แนะน�ำ และบริการห้องปฏิบัติการวิจัยเปิด โดยเปิดรับบุคคล ภายนอกทั้งภาคอุตสาหกรรมและการศึกษา มาร่วมท�ำงานวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เช่น อุปกรณ์เครื่องมือ ความรู้ความเชี่ยวชาญจากนักวิจัย เป็นต้น ผลงานที่ผ่านมา เช่น การวิจัยต้นแบบระบบควบคุมการ ดัดแปลงรถยนต์ให้ใช้กบั ก๊าซระบบหัวฉีด “ECU” การพัฒนาระบบ ประตูเปิด-ปิดอัตโนมัติสำ� หรับห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อ การวิจัยพัฒนาระบบควบคุม ส�ำหรับ Retrofit เครื่องกัดอัตโนมัติ (CNC Controller for Milling Machine Retrofitting) เป็นต้น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

215


3.4. ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) มุ่ง พัฒนางานด้านนาโนเทคโนโลยี การให้บริการให้ค�ำปรึกษาและ สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์ ผ่านการร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย การอนุญาตให้ใช้ต้นแบบและองค์ ความรู้เพื่อไปต่อยอดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การให้ข้อมูลและ ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาธุรกิจและเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันให้กบั ภาคอุตสาหกรรม และการให้บริการวิเคราะห์และทดสอบด้วย เครื่องมือต่างๆ เช่น Atomic Force Microscope, Antimicrobial Test, Dynamic Light Scattering (DLS), Differential Scanning Calorimetry (DSC) เป็นต้น 3.5. ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC) มุง่ ให้ความช่วย เหลือนักวิจัยและบริษัทต่างๆ ในการน�ำผลงานการค้นพบและ เทคโนโลยีตา่ งๆ มาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โดยมีการสนับสนุน ทั้งด้านการให้ค�ำปรึกษาด้านเทคโนโลยี การพัฒนาธุรกิจ และ สนับสนุนเงินกูด้ อกเบีย้ ต�ำ่ แก่ภาคเอกชนในภาคอุตสาหกรรมการ ผลิตเพื่อลงทุนพัฒนาขีดความสามารถในการท�ำวิจัยและพัฒนา และวิศวกรรมภายในองค์กรหรือการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ในเชิง พาณิชย์ โดยมีหน่วยงานที่อยู่ภายใต้ TMC หลายหน่วยงานที่มี ความร่วมมือกับ ส.อ.ท. โดยในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับ สย. ได้แก่ iTAP iTAP หรือ Industrial Technology Assistant Program คือ โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ก่อ ตั้งขึ้นมาเพื่อให้บริการภาคอุตสาหกรรมไทย ในการวิจัยและ พัฒนา รวมทัง้ ยกระดับเทคโนโลยีการผลิต เน้นให้ความช่วยเหลือ SMEs ไทย โดยมีข้อก�ำหนดว่าต้องเป็นนิติบุคคลที่มีผู้ถือหุ้นไทย ไม่ต�่ำกว่า 51% มีเงินทุนจดทะเบียนไม่เกิน 200 ล้านบาท และมี อุตสาหกรรมการผลิตของตนเอง (ไม่ใช่ ธุรกิจซื้อมา-ขายไป หรือ งานบริการ) โดยได้มคี วามร่วมมือกับ ส.อ.ท. ในการจัดท�ำโครงการ คลินิกเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเมื่อปี 2550 และได้ลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือโครงการคลีนกิ เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ระยะ ที่ 2 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2553 ซึ่งจะมีผลตามข้อตกลงถึงวันที่ 12 กันยายน 2555 นอกจากนี้ สวทช. ยั ง มี บ ทบาทในการพิ จ ารณาอนุ มั ติ โครงการวิจยั และพัฒนาทีส่ ามารถน�ำไปใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อขอคืนภาษีจากกรมสรรพากร (ภาษี 200%) โดยปัจจุบันได้มี ความร่วมมือกับ ส.อ.ท. และส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ในการ จัดตั้งคณะท�ำงานติดตามการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีส�ำหรับ ค่ า ใช้ จ ่ า ยด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี เพื่อ หาสาเหตุ ที่ผู้ประกอบการใช้และไม่ใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการวิจัย และพัฒนา รวมถึงแนวทางแก้ไข และส่งเสริมให้มีการใช้สิทธิ ประโยชน์ฯ เพิ่มขึ้น

4. ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)

เป็ น หน่ ว ยงานในก� ำ กั บ ของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ภายใต้กำ� กับดูแลของคณะกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ มีภารกิจหลักคือการยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมและ ปี ส.อ.ท. 216 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

เทคโนโลยี โ ดยการเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยวิ ส าหกิ จ และเครื อ ข่ า ย วิชาการอย่างบูรณาการ เพือ่ ก่อให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิม่ ทีส่ งู มาก แก่ธุรกิจ โดยในช่วงปี 2553 ที่ผ่านมา สนช. มีแนวคิดในการจัดท�ำ โครงการคูปองนวัตกรรมส�ำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดย่อม (Innovation Coupon for SMEs Project: ICP) เพื่อ กระตุ้นให้ผู้ประกอบการพัฒนาธุรกิจด้วยความคิดสร้างสรรค์ มี การวิจยั และพัฒนาด้านนวัตกรรมด้วยตนเองเพิม่ ขึน้ และกระจาย แนวคิดไปสูภ่ าคอุตสาหกรรมในพืน้ ทีท่ กุ ภาคและทุกอุตสาหกรรม รายสาขา โดยอาศัยกลไกการเชื่อมโยงผู้ให้บริการงานนวัตกรรม (Innovation Service Provider: ISP) กับผู้ประกอบการที่สนใจ ด้วยการสนับสนุนในรูปแบบของคูปองนวัตกรรมเพือ่ ร่วมรับความ เสี่ยงของภาคอุตสาหกรรม โดยมอบหมายให้ ส.อ.ท. เป็นผู้รับผิด ชอบในการด�ำเนินโครงการฯ เนื่องจาก ส.อ.ท. เป็นหน่วยงานที่มี เครือข่ายความร่วมมือที่ดีของผู้ประกอบการมากกว่า 7,500 ราย ทั่วประเทศ และสามารถก่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมระหว่าง SMEs, ISP และหน่วย งานภาครัฐในลักษณะการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั่วประเทศ และสามารถน�ำพาให้ภาคอุตสาหกรรมไทยสามารถ ก้าวผ่านจาก Value-Added Economy ไปสู่ Value Creation Economy ได้ อ ย่ า งเหมาะสม ตลอดจนสามารถสร้ า งความ แข็งแกร่งในการแข่งขันระดับโลกอันจะน�ำมาซึง่ ความมัน่ คงอย่าง ยั่งยืนของสังคมไทยในอนาคต นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอีกหลายแห่งที่เห็นความส�ำคัญใน การพัฒนาความสามารถด้านวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ หากต้องการข้อมูล เพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ สถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 3 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1236, 1239 โทรสาร 0 2345 1379 URL: http://ftiweb.off.fti.or.th/research


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

217


ปี ส.อ.ท. 218 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สาระส�ำคัญที่นักอุตสาหกรรมควรรู้

3. เตรียมพร้อมก่อนเข้าสู่ AEC 2015

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

219


เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่...ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(ASEAN Economic Community: AEC) 1. ท�ำความรู้จัก AEC

อาเซียน (ASEAN) หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2510 มี สมาชิก 10 ประเทศ แบ่งเป็นสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (ASEAN-6) ได้แก่ บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย และสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ ได้ แ ก่ กั ม พู ช า ลาว พม่ า และเวี ย ดนาม หรื อ กลุ ่ ม CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างสันติภาพในภูมิภาคอันจะน�ำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และได้มีการรวมกลุ่มเพื่อขยาย ความร่วมมือและการค้าระหว่างกันให้มากยิง่ ขึน้ โดยการจัดท�ำเขต การค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เมื่อปี 2535 ในปี 2546 อาเซียนได้ก�ำหนดทิศทางที่แน่ชัดว่า ความ ร่วมมือจะต้องเดินทางไปสูก่ ารเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ภายในปี 2558

ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2552)

ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2552)

2.3 การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาคระหว่างสมาชิก อาเซียน - การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของสมาชิก และลดช่องว่าง ของระดั บ การพั ฒ นาระหว่ า งสมาชิ ก เก่ า และใหม่ เช่ น การ สนับสนุนการพัฒนา SMEs และเสริมสร้างขีดความสามารถผ่าน โครงการความร่วมมือต่างๆ เช่น โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่ม ของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) ในการลด ช่องว่างการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิก 2.4 การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก - การรวมกลุม่ เข้ากับ ประชาคมโลก ด้วยการเน้นและปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ อาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคให้มีท่าทีร่วมกัน โดยการจัดท�ำ เขตการค้าเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ เพื่อให้เครือข่าย การผลิต/จ�ำหน่ายภายในอาเซียนเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจส่วนอื่น ของโลก

2. เป้าหมายส�ำคัญของการเป็น AEC

การที่อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี 2558 อาเซียนได้จดั ท�ำแผนงานในเชิงบูรณาการในด้านเศรษฐกิจ ต่างๆ หรือพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซึ่งมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ 4 เรื่อง ดังนี้ 2.1 การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วม - ให้มีการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมือย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2.2 การสร้างอาเซียนให้เป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถ ในการแข่งขันสูง (Highly Competitive Economic Region) ใน เวที ก ารค้ า โลก - การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน การขนส่ ง โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ การเงินการธนาคาร การจัด ระบบการค้าให้มกี ารแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม และการคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญา เป็นต้น ปี ส.อ.ท. 220 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

3. ผลผูกพันต่อประเทศไทยในการรวมตัวเป็น AEC

3.1 การเปิดเสรีการค้าสินค้า ภายใต้ความตกลงการค้า สินค้าอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA) มาตรการด้านภาษี อาเซียนมีเป้าหมายที่จะยกเลิกภาษี สินค้าส�ำหรับกลุ่มอาเซียน 6 ภายในปี 2553 และสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ (CLMV) ภายในปี 2558 ซึ่งไทยได้ด�ำเนินการเสร็จสิ้นไป แล้วตั้งแต่ปี 2553


มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-tariff barriers: NTBs) อาเซี ย นก� ำ หนดให้ ป ระเทศสมาชิ ก ยกเลิ ก หรื อ ขจั ด มาตรการ NTBs ให้หมดสิ้นไปภายในปี 2558 โดยอาเซียนเดิม 5 ประเทศ จะยกเลิก NTBs ทั้งหมดภายในปี 2553 และฟิลิปปินส์ จะยกเลิก NTBs ทั้งหมดภายในปี 2555 ขณะที่ CLMV จะยกเลิก NTBs ทั้งหมดภายในปี 2558 อย่างไรก็ตาม มาตรการที่มีการ ก�ำหนดทีจ่ ะยกเลิกอาจยังไม่ครอบคลุมมาตรการทุกอย่างทีจ่ ดั ว่า เป็น NTBs และยังมีการใช้อยู่ในอาเซียน เนื่องจากยังมีช่องว่าง ระหว่ า งกฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ในประเทศกั บ พั น ธกรณี ภ ายใต้ ATIGA กล่าวคือ ยังไม่ได้มีการแก้ไขกฎระเบียบข้อบังคับซึ่งอาจ จัดว่าเป็น NTBs และมีความเป็นไปได้วา่ เมือ่ ก�ำแพงภาษีถกู ทลาย ลง ประเทศต่างๆ มีแนวโน้มที่จะหันไปใช้มาตรการทางการค้าที่ มิใช่ภาษี (Non-tariff Measures: NTMs) เพื่อป้องกันการไหล ทะลักของสินค้าน�ำเข้า 3.2 การเปิดเสรีการค้าบริการ โดยเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้น ของนักลงทุนอาเซียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ภายในปี 2553 ใน สาขาบริการส�ำคัญ (Priority Integration Sector) ได้แก่ สาขา e - ASEAN (เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์) สุขภาพ การ ท่องเที่ยว และการบิน ภายในปี 2556 ในสาขาโลจิสติกส์ และ ภายในปี 2558 ในสาขาบริการอื่นๆ ทั้งนี้ สามารถยกเว้นสาขาที่ อ่อนไหวได้

3.3 การเปิดเสรีการลงทุน จะเกิดขึ้นอย่างเต็มรูปแบบ ในปี 2558 ท�ำให้การลงทุนทางตรงจากประเทศอาเซียนด้วยกันเอง เพิ่มมากขึ้น 3.4 การเปิดเสรีด้านเงินทุนเคลื่อนย้าย จะเปิดเสรียิ่งขึ้น อย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยให้สมาชิกมีมาตรการปกป้องทีเ่ พียงพอ เพื่อรองรับผลกระทบ 3.5 การเคลื่ อ นย้ า ยแรงงานฝี มื อ อย่ า งเสรี โดยให้ สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของแต่ละประเทศ ปัจจุบันอาเซียนมีการ ลงนามร่วมกันในข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตขิ องบริการวิชาชีพ ต่างๆ (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) 7 สาขา อาชีพ คือ วิศวกร นักส�ำรวจ สถาปนิก แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล และนักบัญชี 3.6 การด�ำเนินการตามความร่วมมือรายสาขาอื่นๆ เช่น ความร่วมมือด้านเหมืองแร่ ความร่วมมือด้าน SMEs การพัฒนา ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน (คมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) เป็นต้น

4. ผลกระทบของ AEC และการปรับตัวของอุตสาหกรรมไทย

4.1 ผลกระทบเชิงบวก 1) เพิ่มโอกาสในการส่งออกของไทยในการเข้าถึงตลาด และฐานผู้บริโภคอาเซียนขนาดใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยประชากร กว่า 600 ล้านคน ท�ำให้เกิดการประหยัดต่อขนาดทางด้านการผลิต และธุรกิจ รวมถึงการใช้อาเซียนเป็นฐานในการส่งออกไปยังตลาด ASEAN+3 และ ASEAN+6 2) ลดต้นทุนการผลิตและต้นทุนทางธุรกิจ จากการน�ำเข้า วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางที่ใช้ในการผลิตจากประเทศสมาชิก อาเซียนได้ในราคาที่ถูกลง (ไม่ต้องเสียภาษีน�ำเข้า) และเพิ่ม ทางเลือกให้ผู้ผลิตสามารถน�ำเข้าได้จากหลายแหล่งมากขึ้น เป็นการเพิ่มความได้เปรียบและความสามารถในการแข่งขันด้าน ราคาแก่ผู้ผลิต 3) สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เช่น การจัดตัง้ กิจการเพือ่ ให้ บริการ/ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ เพือ่ เข้า ถึงลูกค้าในตลาดกว้างขึน้ ช่วยลดต้นทุนการผลิต ต้นทุนโลจิสติกส์ และรักษาความได้เปรียบด้านการแข่งขัน นอกจากนี้ AEC ยังช่วย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

221


ผูป้ ระกอบการไทยในการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต หาก ตลาดสิ น ค้ า ภายในของไทยยั ง ไม่ มี ก ลไกป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ สิ น ค้ า คุณภาพต�ำ่ กว่าทีผ่ ลิตได้ในประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ เข้ามาขาย ในประเทศมากขึ้น

เสริมสร้างความน่าสนใจของไทยในสายตาของนักลงทุนต่างชาติ ให้เข้ามาลงทุนในไทยเพิ่มขึ้น 4) เสริมสร้างขีดความสามารถของผูป้ ระกอบการภายใน ประเทศ จากการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน และการเป็น พันธมิตรในการด�ำเนินธุรกิจระหว่างประเทศจะช่วยลดต้นทุนการ ท�ำธุรกรรมในบางกลุ่มสินค้าของอาเซียน 5) กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมถึง นวัตกรรมต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ กับสินค้าและบริการ อันเนือ่ งจากการ แข่งขันที่สูงขึ้น 6) เพิม่ อ�ำนาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้าง ความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก 4.2 ผลกระทบเชิงลบ 1) สินค้าและบริการจากคู่แข่งในอาเซียนอื่นเข้ามา แข่ ง ขั น แย่ ง ตลาดภายในประเทศ รวมถึ ง ตลาดอาเซี ย น และอาเซียนคู่เจรจา ขณะเดียวกันผู้ผลิตจากอาเซียนอื่นสามารถ เข้ามาลงทุน/ขยายฐานการผลิตในไทย ท�ำให้ผู้ประกอบการไทย ต้องแข่งขันมากขึ้น 2) ในด้านการลงทุน หากประเทศไทยไม่มีการพัฒนาปัจจัย พื้นฐาน (Infrastructure) ประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน (Labor productivity) และไม่มีการปรับปรุงกฎระเบียบกฎหมาย ให้มคี วามทันสมัยไม่เป็นอุปสรรคต่อนักลงทุน อาจท�ำให้มกี ารย้าย ฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเทศอืน่ ๆ ในอาเซียน ที่เหมาะสมกว่า 3) การเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรี อาจท�ำให้เกิดการ เคลื่ อ นย้ า ยแรงงานมี ฝ ี มื อ ของไทยไปประเทศที่ ใ ห้ ค ่ า ตอบแทนสูงกว่า เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย และบรูไน และต้องจ้าง แรงงานต่างด้าวจากประเทศทีค่ า่ แรงถูกกว่าเข้ามา อาจก่อปัญหา ด้านสังคม 4) อาจเกิดปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินนโยบายการ พัฒนาอุตสาหกรรมของไทยซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาใน อุตสาหกรรมทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงขึน้ เนือ่ งจากไม่มตี ลาดภายในประเทศ (Domestic Market) รองรับ รวมทั้งอาจส่งผลทางจิตวิทยาแก่ ปี ส.อ.ท. 222 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

4.3 ภาคอุตสาหกรรมไทยจ�ำเป็นต้องมีการปรับตัว ดังนี้ 1) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ทั้งด้านต้นทุนและ คุณภาพ โดยการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจ พัฒนาองค์ความรู้ และปรับปรุงมาตรฐานสินค้า รวมถึงการปรับปรุงขั้นตอนการ ท�ำงานให้เป็นระบบ 2) เพิม่ ขีดความสามารถแข่งขัน โดยเน้นพัฒนา และสร้าง ความแตกต่างในสินค้าและบริการ ให้ความส�ำคัญกับการสร้าง ตราสินค้า สร้างนวัตกรรม การลงทุนด้านค้นคว้าวิจัย และความ คิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้า และบริการ พัฒนาและแปรรูปสินค้าและบริการให้มีเอกลักษณ์ โดดเด่นจากคู่แข่งอื่น 3) น�ำเข้าวัตถุดิบราคาถูกจากประเทศสมาชิกอาเซียน หรือย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านที่มีความได้เปรียบ ด้านต้นทุน วัตถุดิบ แรงงาน มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เพื่อให้เกิดความได้เปรียบในด้านราคาและคุณภาพ หรือแก้ไข ปัญหาขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ 4) ให้ความส�ำคัญกับการผลิตสินค้าที่รักษาสิ่งแวดล้อม และรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ในประเทศที่จะเข้าไปลงทุน เพือ่ สร้างภาพลักษณ์ทดี่ ตี อ่ องค์กร และให้ความส�ำคัญกับหลักธร รมาภิบาลซึ่งจะช่วยให้ธุรกิจเติบโตในระยะยาว 5) ศึกษาเรื่องตลาดและกฎระเบียบ โดยท�ำความเข้าใจ ความต้องการและข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภคของตลาด อาเซียน ช่องทางการจ�ำหน่าย ตลอดจนขั้นตอนการขอใช้สิทธิ ประโยชน์ตามกรอบอาเซียน สภาวะการแข่งขันที่เป็นผลกระทบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมถึงระบบการเมืองและราชการ กฎ ระเบียบในการน�ำเข้า/ด�ำเนินธุรกิจ ศึกษาและเข้าใจความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม และประเมิน ความเสี่ยงในการลงทุนและด�ำเนินธุรกิจในประเทศนั้น


6) แสวงหาคูค่ า้ หรือผูร้ ว่ มลงทุนทีเ่ หมาะสม ดีและเชือ่ ถือ ได้ เพือ่ ช่วยสร้างจุดยืนในตลาดทีเ่ ข้มแข็งยิง่ ขึน้ สามารถให้บริการ ได้ครบวงจรขึน้ ช่วยสร้างตลาดและขยายลูท่ างธุรกิจ อีกทัง้ ยังเพิม่ อ�ำนาจต่อรองกับผู้ประกอบการรายใหญ่ด้วย 7) พัฒนาศักยภาพและการเตรียมความพร้อมของ "ทุน มนุษย์" (Human Capital: HC) เพือ่ ให้มปี ริมาณและความรูค้ วาม เชีย่ วชาญเฉพาะด้าน สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน และระดับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป รวมถึงทักษะด้านภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่ออย่างเป็นทางการของอาเซียน รวม ถึงภาษาประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน 8) ใช้กลยุทธ์ตลาดเชิงรุก เจาะตลาดผูซ้ อื้ และตลาดคูค่ า้ ของอาเซียน ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีทอี่ าเซียนมีกบั ประเทศ คู่เจรจา เพื่อโอกาสในการขยายตลาดระหว่างประเทศทั้งในกลุ่ม และนอกกลุ่ม

5. บทบาทของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในบริบท ของ AEC

สภาอุตสาหกรรมฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของ AEC รวมถึง โอกาสและผลกระทบในเชิงลบที่อาจจะเกิดขึ้น จึงได้ก�ำหนด ยุทธศาสตร์มาตรการเชิงรุกในเวทีโลกหลังเปิดเขตการค้าเสรี เพื่อ เสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน ในระดับสากล และเตรียมความพร้อมรองรับการเปลีย่ นแปลงและ การพัฒนาอย่างยั่งยืนในภาคอุตสาหกรรมและวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) โดยมุ่งเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ และมุ่งเน้นการด�ำเนินมาตรการที่จ�ำเป็นเพื่อให้เกิดผลในเชิงรุก และเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการผลักดันให้กลุ่ม SMEs ที่เป็น สมาชิกส่วนใหญ่ของสภาอุตสาหกรรมฯ ให้สามารถเตรียมความ พร้อมและรองรับการเปลี่ยนแปลงไปสู่ AEC ทัง้ นี้ กิจกรรมทีจ่ ะช่วยสนับสนุนส่งเสริมควบคูไ่ ปกับแนวทาง ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ AEC อย่างเป็นรูปธรรมให้แก่สมาชิก สภาอุตสาหกรรมฯ ในปี 2554 ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม คือ การผลักดัน การขับเคลื่อนและการติดตาม โดยทั้ง 3 กิจกรรมนี้จะเป็นตัวขับเคลื่อนพร้อมกับประเด็นทางด้านการค้า สินค้า การค้าบริการ การลงทุน การเคลือ่ นย้ายเงินทุน และแรงงาน ฝีมือ ดังนี้

1) ความร่วมมือด้านต่างประเทศเพื่อสนับสนุนการเข้า สู่ AEC โดยการผลักดันให้เกิด ASEAN Single Window (ASW) การส่งเสริมความสัมพันธ์กบั ประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างใกล้ชดิ เพื่อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างกัน และการผลักดันให้ AEC เป็นวาระแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน 2) การปรับตัวและการพัฒนาอุตสาหกรรมเพือ่ เข้าสู่ AEC โดยการผลักดันให้มกี ารก�ำหนดมาตรฐานสินค้าส�ำหรับผูป้ ระกอบ การภายในประเทศควบคู่กับการก�ำหนดมาตรฐานเพื่อป้องกัน สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานที่มีการน�ำเข้าจากต่างประเทศ การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าและบริการ และการเตรียมความพร้อม เพื่อการปรับตัวเข้าสู่ AEC (AEC Alert) 3) การเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ AEC โดยการผลักดันให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ ภาษาที่ 2 ของประเทศ และผลัก ดันการผลิตบุคลากรในวิชาชีพเฉพาะทางเพื่อรองรับการเข้าสู่ ตลาดอาเซียน 4) การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ โดยผลักดันภาครัฐในการ พัฒนาระบบการขนส่งที่เชื่อมโยงอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการใช้ ประโยชน์จากประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงประโยชน์จากการค้า ชายแดน การท่องเที่ยว และการขนส่งหลายรูปแบบ 5) การส่งเสริมการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน โดย การสนับสนุนให้มกี ารศึกษาวิจยั ข้อมูลเชิงลึกของประเทศสมาชิก อาเซียน (อาทิ กฎหมายและกฎระเบียบทางการค้าและการลงทุน การเงิน ข้อมูลเชิงสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงจุดติดต่อของแต่ละ ประเทศสมาชิกอาเซียน) รวมทัง้ การให้สทิ ธิประโยชน์แก่ผปู้ ระกอบ การในการลงทุนในต่างประเทศ (อาทิ การยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาส�ำหรับรายได้จากการ ลงทุนในต่างประเทศ) สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

ฝ่ายองค์กรระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1140, 1135 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

223


โลจิสติกส์ ในบริบทที่เกี่ยวข้อง

กับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

โลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับ AEC ใน 2 บริบทด้วยกัน ดังนี้

1) ประเด็นธุรกิจการให้บริการด้านโลจิสติกส์ (Logistics Service Providers: LSPs)

เป็นหนึ่งในสาขาบริการที่ต้องเปิดเสรีภายใต้กรอบความ ตกลงอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS) โดยถูกก�ำหนดให้อยู่ในสาขาเร่งรัด (Priority Sector) ทีต่ อ้ งเปิดโอกาสให้นกั ลงทุนต่างชาติอาเซียนสามารถเข้ามาลงทุน หรือถือหุ้นในบริษัทธุรกิจโลจิสติกส์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ในปี 2556 ท�ำให้ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทยต้องเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เช่น การเข้ามาลงทุนของผู้ให้ บริการรายใหญ่ (ซึ่งมีความพร้อมทั้งด้านเงินทุน เทคโนโลยี การ ให้บริการครบวงจร มีความช�ำนาญเฉพาะด้าน) ในประเทศ อาเซี ย นและประเทศนอกอาเซี ย นเพื่ อ ตั้ ง บริ ษั ท เสมื อ นเป็ น นิตบิ คุ คลสัญชาติอาเซียนในประเทศสมาชิกอาเซียนทีเ่ ปิดให้ชาว ต่างชาติเข้ามาลงทุนได้อย่างเสรี ดังนัน้ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ไทย ควรต้องเร่งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของตน โดยอาจ ปรับปรุงศักยภาพของธุรกิจ มาตรฐานของบริการ ความเชีย่ วชาญ เฉพาะด้าน ความสามารถในการสื่อสาร และการสร้างเครือข่าย พันธมิตรทางธุรกิจกับผู้ผลิตในภาคอุตสาหกรรมและกับผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ของไทย/ต่างชาติ เพื่อให้สามารถอยู่รอดและ เติบโตได้ในตลาดการค้าเสรีอาเซียน

2) ประเด็นการจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management) เป็นหนึง่ ในกลยุทธ์สำ� คัญในการเพิม่ ขีดความสามารถในการ แข่งขันทางการค้าเนื่องจากการจัดการโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับ

กระบวนการวางแผน ด�ำเนินงาน และควบคุมการเคลือ่ นย้ายของ สินค้า บริการ ข้อมูล และการเงิน ดังนั้น หากประเทศไทยมีระบบ โลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้การขนส่งสินค้า/บริการภายใน ประเทศและระหว่ า งประเทศเป็ น ไปได้ อ ย่ า งสะดวกรวดเร็ ว มีระบบสารสนเทศการเชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการระหว่างภาค รัฐและภาคเอกชนที่ช่วยเพิ่มความสะดวกในการท�ำธุรกิจ ฯลฯ อีกทั้งถ้าสถานประกอบการอุตสาหกรรมของไทยมีการบริหาร จัดการโลจิสติกส์ที่ดีและมีประสิทธิภาพ จะท�ำให้สามารถลด ต้นทุนโลจิสติกส์ เพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต ท�ำให้ สินค้า/บริการ มีต้นทุนโดยรวมที่ถูกลง เสริมสร้างความเข้มแข็ง และศักยภาพในการแข่งขันให้กบั ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมไทย ในการเข้าสู่ AEC ได้

ประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ (Logistics Performance Index: LPI) ของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศในอาเซียน จากการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ร ะหว่ า ง ประเทศไทยกับประเทศในกลุ่มอาเซียน (ยกเว้นประเทศบรูไน เนือ่ งจากธนาคารโลกไม่ได้รวบรวมข้อมูลไว้) โดยธนาคารโลก พบ ว่า ในปี 2553 ไทยอยู่ในอันดับที่ 3 ของกลุ่มประเทศอาเซียน โดย เป็นรองประเทศสิงคโปร์ (อันดับที่ 2 ของโลก) และมาเลเซีย (อันดับ ที่ 29 ของโลก) แต่สูงกว่าประเทศในกลุ่มอาเซียนส่วนใหญ่ โดย ปัจจัยทีน่ ำ� มาใช้เป็นเกณฑ์ชวี้ ดั ได้แก่ พิธกี ารศุลกากร (Customs) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) การส่งสินค้าระหว่างประเทศ (International shipments) ขีดความสามารถการให้บริการ โลจิสติกส์ (Logistics competence) ระบบการติดตามและ ตรวจสอบสินค้า (Tracking & Tracing) และการส่งมอบทีต่ รงเวลา ปี ส.อ.ท. 224 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

(Timeliness) จากการพิจารณาเปรียบเทียบเกณฑ์ชี้วัดในด้าน ต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย พบว่า เกณฑ์ชว้ี ดั ทีป่ ระเทศไทยมีการพัฒนาต�ำ่ กว่าทัง้ สองประเทศ มากทีส่ ดุ 3 อันดับแรก ได้แก่ โครงสร้างพืน้ ฐานด้านการขนส่งและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ขีดความสามารถการให้บริการโลจิสติกส์ และพิธีการศุลกากร ตามล�ำดับ แสดงให้เห็นว่าไทยต้องให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพในด้ า นเหล่ า นี้ ใ ห้ ม ากขึ้ น เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันกับ ประเทศคู่แข่งส�ำคัญในอาเซียนได้ ในด้านต้นทุนโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นอีกปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย จากการเปรียบเทียบ


ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ในปี 2552 ของประเทศที่มีศักยภาพด้าน โลจิสติกส์ในอาเซียน 5 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม โดยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่า ประเทศทีม่ ตี น้ ทุนโลจิสติกส์ตอ่ GDP สูงสุด คือ ประเทศเวียดนาม (15-20%) รองลงมาคือ อินโดนีเซีย (19%) ไทย (18%) มาเลเซีย (17%) และสิงคโปร์มีต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP น้อยที่สุด (8%) ซึ่งต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของไทยและประเทศอาเซียนส่วนใหญ่ ยังสูงอยูม่ ากเมือ่ เทียบกับประเทศสิงคโปร์ หรือประเทศพัฒนาแล้ว ที่มีต้นทุนโลจิสติกส์ต�่ำกว่า 10% จากรายงานภาพรวมต้ น ทุ น โลจิ ส ติ ก ส์ ข องประเทศไทย ประจ�ำปี 2551 ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ระบุว่า ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของไทยอยู่ ที่ 18.6% แบ่งเป็นต้นทุนการขนส่ง 9.1% ต้นทุนการเก็บรักษา สินค้าคงคลัง 7.8% และต้นทุนการบริหารจัดการ 1.7% โดยต้นทุน การเก็บรักษาสินค้าคงคลังเป็นต้นทุนที่สามารถด�ำเนินการลดได้ ชัดเจนและเห็นผลมากทีส่ ดุ เพือ่ เสริมสร้างความเข้มแข็ง และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับภาคอุตสาหกรรมของไทย

ศักยภาพในการเป็น ASEAN Logistics Hub ของประเทศไทย ด้านท�ำเลที่ตั้ง/เป็นศูนย์กลางของภูมิภาค

ประเทศไทยมีความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ทำ� เลทีต่ งั้ และมี ศักยภาพในการเป็นประตูการค้าของภูมิภาคอินโดจีน หรือเป็น ศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาคที่มีอาณาเขตติดต่อกับพรมแดน ประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ด้วยเหตุนี้ประเทศไทยจึงมี ศักยภาพด้านท�ำเลที่ตั้งในการเป็นประตู (Gateway) สู่อาเซียน

ศูนย์กลางความร่วมมือเศรษฐกิจภูมิภาคอาเซียน

จากกรอบความร่วมมือเหลีย่ มเศรษฐกิจ 5 กรอบ ประเทศไทย เป็นประเทศเดียวทีอ่ ยูใ่ นทุกกรอบเหลีย่ มเศรษฐกิจ ได้แก่ 1) ความ ร่ ว มมื อ สี่ เ หลี่ ย มเศรษฐกิ จ (Upper Mekong Economic Cooperation Strategy: UMEC) 2) ความร่วมมือหกเหลี่ยม เศรษฐกิ จ ในอนุ ภู มิ ภ าคลุ ่ ม แม่ น�้ ำ โขง (Greater Mekong Subregion: GMS) 3) ความร่ ว มมื อ ห้ า เหลี่ ย มเศรษฐกิ จ (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) 4) ความร่วมมือเจ็ดเหลี่ยมเศรษฐกิจในอนุ ทวี ป เอเซี ย ใต้ (Bangladesh-India-Myanmar-Sri LankaThailand Economic Cooperation: BIMSTEC) และ 5) ความ ร่วมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ(Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT)

การมีเส้นทางเชื่อมโยงคมนาคมกับภูมิภาค

เส้นทางเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) ทีผ่ า่ นประเทศไทย ได้แก่ เส้นทางเศรษฐกิจ แนวเหนือ-ใต้ (R3E) เส้นทางเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้ (R3W) เส้น ทางเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (R9) เส้นทางเศรษฐกิจแนว ใต้ (R1) และเส้นทางเศรษฐกิจแนวใต้ (R10)

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

225


อุปสรรคส�ำคัญต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทย 1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

แม้ประเทศไทยจะมีโครงการสร้างพื้นฐานที่ค่อนข้างพร้อม แต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งบางรูป แบบยังเป็นไปอย่างจ�ำกัด เช่น ระบบขนส่งทางรางซึ่งมีสัดส่วน น้อยมากเพือ่ เทียบกับการขนส่งทางถนน ส่วนการขนส่งทางทะเล ยังขาดท่าเรือน�ำ้ ลึก โดยท่าเรือแหลมฉบังมีศักยภาพรองรับความ ต้องการได้อย่างจ�ำกัด และต้องเผชิญกับความแออัดของการ ขนส่งแบบอื่นๆ ที่เชื่อมกับท่าเรือ ท�ำให้ต้องใช้ระยะเวลามากขึ้น ในการขนส่ง ส่วนการพัฒนาท่าเรือด้านฝั่งทะเลอันดามัน ต้องใช้ เวลาเนื่องจากมีประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสุขภาพ ซึ่งการพัฒนาที่จำ� กัดนี้ทำ� ให้การขนส่งรูปแบบต่างๆ ขาดความเชื่อมโยงกัน ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านมีการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง และมีการวางแผนที่จะพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานรองรับ AEC ในอนาคต ท�ำให้ไทยต้องเร่งพัฒนา โครงสร้ า งพื้ น ฐาน และเร่ ง พั ฒ นาการเชื่ อ มโยงการขนส่งกับ โครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศเพือ่ นบ้าน เพือ่ ส่งเสริมศักยภาพของ ระบบโลจิสติกส์ไทย

2) ด้านบุคลากรและองค์ความรู้ทางโลจิสติกส์

ปัญหาหลักในด้านบุคลากรโลติสติกส์ เช่น ผู้ประกอบการ ขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ และ การน� ำ เทคโนโลยี ม าใช้ กั บ โลจิ ส ติ ก ส์ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ การ ขาดแคลนบุคลากรทีม่ คี วามรูด้ า้ นการจัดการโลจิสติกส์ทสี่ ามารถ ถ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่ผปู้ ระกอบการทัง้ ในระดับผูบ้ ริหารและระดับ ปฏิบัติการ การขาดทักษะความรู้ด้านภาษาอังกฤษซึ่งจ�ำเป็นต่อ การสือ่ สารและการประกอบธุรกิจระหว่างประเทศ การขาดข้อมูล ด้านโลจิสติกส์ ทัง้ ในระดับมหภาคและจุลภาค และการขาดความ รู้ในการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อรับมือกับการแข่งขันกับธุรกิจข้าม ชาติขนาดใหญ่

3) ด้านกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคับ

ประเทศไทยยังมีปัญหาด้านกฎหมายและกฎระเบียบที่เป็น อุปสรรคต่อความสะดวกทางการค้า เช่น กฎหมายและวิธีปฏิบัติ เกีย่ วกับพิธกี ารศุลกากร หรือระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานอืน่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการน�ำเข้า-ส่งออก ยังไม่รองรับการท�ำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ และการขาดมาตรฐานที่เป็นสากล

ปี ส.อ.ท. 226 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

4) ด้านการพัฒนาของผู้ ให้บริการทางโลจิสติกส์

ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการ ขนาดเล็กทีใ่ ห้บริการโลจิสติกส์ในกลุม่ การขนส่งเท่านัน้ จึงมีทกั ษะ ความรูแ้ ละทุนในการให้บริการด้านโลจิสติกส์อย่างจ�ำกัด ในขณะ ที่ผู้ประกอบการต่างชาติมีชื่อเสียงและประสบการณ์ในการให้ บริการ มีระบบการบริหารจัดการทีด่ ี ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้าน โลจิสติกส์ที่ทันสมัย มีเครือข่ายหรือขอบเขตการให้บริการกว้าง ขวางทั่วโลก และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ หลากหลายรูปแบบ ดังนัน้ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ไทยต้องเร่งพัฒนา ศักยภาพเพื่อรับมือกับการแข่งขันและการเข้ามาแย่งตลาดของผู้ ให้บริการโลจิสติกส์สัญชาติอาเซียนที่มีศักยภาพ


10 ขั้นตอน...การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร

ในการกระจายสินค้าและขนส่ง ปัจจุบันธุรกิจมีการแข่งขันกันอย่างสูงเพื่อให้บริษัทสามารถ บรรลุเป้าหมายทัง้ ก�ำไรทีเ่ พิม่ มากขึน้ ส่วนแบ่งการตลาดทีม่ ากขึน้ ดังนัน้ แต่ละหน่วยงานภายในองค์กรจ�ำเป็นต้องปรับตัวอย่างมาก หน่วยงานโลจิสติกส์และซัพพลายเชนก็จำ� เป็นต้องปรับตัวเช่นกัน และด้วยเหตุดงั กล่าวกลยุทธ์ดา้ นโลจิสติกส์ในปัจจุบนั จึงพยายาม มุง่ เน้นประเด็นหลักๆ ทีส่ ำ� คัญได้แก่ การลดต้นทุน (Cost Reduction) การลดการลงทุน (Capital Reduction) และการปรับปรุงการให้ บริการ (Service Improvement) และกิจกรรมด้านการกระจาย สินค้าและการขนส่ง เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับทั้งการ ลงทุนด้านทรัพยากร การบริหารทรัพยากร และส่งผลกระทบ โดยตรงต่อความพึงพอใจของลูกค้า ประเทศไทยมีตน้ ทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP ประมาณร้อยละ 18.6 ของ GDP หรือคิดเป็นร้อยละ 10-12 ต่อยอดขาย (ปี พ.ศ. 2554) ซึง่ หากเปรียบเทียบกับประเทศ ทีก่ ำ� ลังพัฒนาก็อาจจะอยูใ่ กล้เคียงกันหรือต�ำ่ กว่าเล็กน้อย แต่หาก เทียบกับประเทศทีเ่ ป็นคูแ่ ข่งทางการค้า เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ จีน หรือประเทศในละตินอเมริกา เช่น บราซิล ประเทศเหล่านี้มีต้นทุน โลจิสติกส์ที่เฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 14-15 ต่อ GDP ขณะที่ประเทศ พัฒนาแล้วต้นทุนโลจิสติกส์จะอยู่ที่ประมาณร้อยละ 10 ต่อ GDP และต้นทุนดังกล่าวจะสูงขึ้นหากเป็นกลุ่ม SMEs และมีสว่ นของ สินค้าคงคลังถึงร้อยละ 42 ของทัง้ หมด ดังนัน้ การจัดการจึงเป็น สิ่งจ�ำเป็นเพราะจะช่วยให้สินค้าคงคลังมีประสิทธิภาพ การจัดการทรัพยากรที่ส�ำคัญ ได้แก่ - การจัดการอาคาร ที่ดิน ขนาดของคลัง จ�ำนวนและรูปแบบ หน้าท่ารับจ่าย และ Yard - อุปกรณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ Material Handling อาทิ Dock Leveler รถยก รถตัก รถขนย้าย Pallet Conveyor และรถขนส่ง ชนิดต่างๆ - ผูบ้ ริหารและพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับคลังและหน้าท่ารับจ่าย พนักงานขับรถ เด็กติดรถของ Outsourcing - ระบบงาน ระบบไอที ระบบเอกสารต่างๆ แนวทางในการเพิ่มประสิทธภาพการใช้ทรัพยากรใน การกระจายสินค้าและขนส่งแบบง่ายๆ - การตัง้ เป้าหมายของการพัฒนาการก�ำหนดตัวชีว้ ดั (Target Setting) - การลดระยะทางในการเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า (Reduce Distance) - การเพิม่ ขนาดของหน่วยเก็บ/หยิบสินค้า (Increase the size of Unit) - การใช้ประโยชน์เทีย่ วกลับของอุปกรณ์การขนย้าย/รถขนส่ง (Seek round trips opportunities) - สนับสนุนให้ปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน (Encourage the Process of Change) - เปิดรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ดีกว่า (Embrace Technology)

- พัฒนาคุณภาพมาตรฐานบรรจุภณ ั ฑ์ (Improve Packaging) - ลดจ�ำนวนการหยิบ ยก ตักเคลื่อนย้าย (Reduce Number of handling) - ปรับจ�ำนวนความแตกต่างผันแปรของปริมาณให้ใกล้เคียง กัน (Smooth the variation in flow) - ใช้บริการด้านโลจิสติกส์จากผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอก (Logistics Outsource)

ขั้นตอนที่ 1

การตั้งเป้าหมายของการพัฒนาการก�ำหนดตัวชี้วัด (Target Setting) ด้วยการตั้งเป้าหมายของการพัฒนา การก�ำหนดตัวชี้วัด ต่างๆ เช่น เป้าหมายการให้บริการ การควบคุมต้นทุน ค่าใช้จ่าย ด้านโลจิสติกส์ ซึ่งในส่วนนี้ให้เน้นกรอบเป้าหมายกลยุทธ์ด้าน โลจิสติกส์ทั้งสามด้าน ได้แก่ การลดต้นทุน การลดเงินลงทุน และ การปรับปรุงการบริการ ตัวอย่างมาตรฐานการกระจายสินค้า ได้แก่ Key Performance Indicator ความรวดเร็วและถูกต้องในการรับสินค้าภายใน 1 ชม. ความแม่นย�ำในการเก็บสินค้าในต�ำแหน่งที่ก�ำหนด ความรวดเร็วและแม่นย�ำในการเบิกจ่ายสินค้าภายใน 4 ชม. ความรวดเร็วในการจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าภายใน 24 ชม. สินค้าต้องไม่บุบ ยุบ เสียหาย จากการขนย้ายถึงลูกค้า ค่าใช้จ่ายการด�ำเนินการไม่เกิน X % ของยอดขายสินค้า

Index 99% 98% 100% 98% 99% <2%

อย่างไรก็ตามพึงระลึกไว้เสมอว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คือสิ่งที่ ลูกค้าต้องการ เพราะหากการก�ำหนดเป้าหมายไม่สอดคล้องกับ ความคาดหวังของลูกค้า จะท�ำให้การก�ำหนดเป้าหมายสูญเปล่า

ขั้นตอนที่ 2 การลดระยะทางในการเคลือ่ นย้ายสินค้า (Reduce Distance) อันได้แก่ การจัดให้สนิ ค้าหมุนเร็วอยูใ่ กล้หน้าท่ารับจ่าย การพัฒนา ระบบโครงข่ายการกระจายสินค้าให้มีประสิทธิภาพ การยุบคลังที่ มีหลายแห่งเหลือแห่งเดียว เพื่อเพิ่มความสะดวกและประหยัดใน การรวบรวมและกระจายสินค้าไปยังลูกค้า

ขั้นตอนที่ 3 การเพิ่มขนาดของหน่วยเก็บ/หยิบสินค้า (Increase the size of Unit) ด้วยการเก็บ การเคลือ่ นย้ายในระดับหีบ กล่อง หรือระดับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

227


Pallet หรื อ การใช้ Container เพื่ อ ขนถ่ า ยสิ น ค้ า ให้ เ ร็ ว และ ได้ปริมาณคราวละมากขึ้น

ขั้นตอนที่ 4

การใช้ประโยชน์เที่ยวกลับของอุปกรณ์การขนย้าย/รถขนส่ง (Seek round trip opportunities) ได้แก่ การวางแผนการจัดเก็บ การหยิบให้สอดคล้องกัน การลดปัญหารถเที่ยวเปล่า โดยการท�ำ Backhaul เช่น ส่งสินค้าไปยังลูกค้าปลายทาง และขากลับให้ขน วัตถุดิบกลับคลัง นอกจากนี้อาจแสวงหาการใช้ Distribution network จากบริษัทคู่ค้าที่มีอยู่

ขั้นตอนที่ 5 สนับสนุนให้ปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน (Encourage the Process of Change) เช่น การท�ำงานในระบบกะ การใช้อุปกรณ์ ทดแทน การเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการท�ำงาน เช่น การใช้ระบบ Priority ได้แก่ การจัดให้มี Customer Service Level Agreement (CSLA) การศึกษาตามหลัก 80-20 การใช้ระบบ Cross Docking เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 6

เปิดรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ดีกว่า (Embrace Technology) เช่น การใช้ระบบบาร์โค้ด ระบบ RFID การใช้ระบบงาน หรือ Software เพือ่ วางแผนการกระจายสินค้าและการขนย้าย อย่างไร ก็ตามพึงระลึกเสมอว่าการเปิดรับเทคโนโลยีตอ้ งสอดรับกับต้นทุน และ Return on Investment

ขั้นตอนที่ 7 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานบรรจุภณ ั ฑ์ (Improve Packaging) ด้วยการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1) ท�ำหน้าที่ด้าน Storage Support ในการปกป้องและเก็บ รักษาสินค้าไม่ให้ได้รับความเสียหายและให้เกิดความสะดวกใน ระหว่างการจัดเก็บ 2) ท�ำหน้าที่ Transport Support เพื่อให้เกิด ความสะดวกและมีความปลอดภัยในการเคลือ่ นย้ายเพือ่ การขนส่ง 3) ท�ำหน้าที่ Cost Reduction ในการท�ำให้ประหยัดเนื้อที่ ทั้งเพื่อ การเก็บรักษาและเพื่อการขนย้ายสินค้าหรือการขนส่ง เนื่องจาก สามารถจัดวางเรียงทับซ้อนกันในทางสูง ซึ่งหากไม่มีบรรจุภัณฑ์ ก็ไม่สามารถที่จะท�ำได้ ปี ส.อ.ท. 228 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ขั้นตอนที่ 8 ลดจ�ำนวนการหยิบ ยก ตักเคลือ่ นย้าย (Reduce Number of Handling) ด้วยการใช้อุปกรณ์ในการขนย้ายที่เหมาะสมหยิบได้ ในคราวละมากๆ หรือเปลีย่ นวิธกี ารหยิบสินค้าจาก Order Picking มาเป็น Batch Picking เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 9 ปรับจ�ำนวนความแตกต่างผันแปรของปริมาณให้ใกล้เคียง กัน (Smooth the variation in flow) ด้วยการจัดการพฤติกรรมการ ซื้อขายของผู้บริโภคหรือพฤติกรรมที่เกิดจากปัจจัยภายนอก เช่น ปริมาณการสัง่ ซือ้ สินค้าจ�ำนวนมากจากการโหมโปรโมชัน่ เมือ่ ใกล้ ปิดสิ้นเดือน ด้วยการปรับระยะเวลาการปิดสิ้นเดือน การเปลี่ยน ระยะเวลาโปรโมชั่น เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 10

ใช้บริการด้านโลจิสติกส์จากผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอก (Logistics Outsource) โดยมุ่งหวังที่จะลดต้นทุนและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การท�ำงานได้ดีกว่าการด�ำเนินการเอง เช่น การจ้าง 3rd Party ใน การขนส่งสินค้าแทนการจัดส่งเอง ซึ่งช่วยให้บริษัทลดต้นทุนจาก การลงทุนในการซื้อรถเพื่อการขนส่ง เป็นต้น ขัน้ ตอนในการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในการ กระจายสินค้าและขนส่งสินค้าที่น�ำเสนอในบทความในที่นี้ เป็นเพียงบทเริ่มต้นเพื่อการจัดการเท่านั้น ยังมีสิ่งจ�ำเป็นใน อีกหลายๆ ส่วนทีจ่ ะต้องพิจารณา เช่น กระบวนการวางแผน และการจัดการ กอปรทั้งการจัดการองค์กรก็เป็นส่วนหนึ่งที่ ช่วยให้การจัดการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน ในบทความต่อไปเราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับความร่วมมือ ของกลุ่มประเทศที่อยู่ในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำโขง หรือที่เรียก ว่า กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ�้ โขง (Greater Mekong Subregion: GMS) ซึง่ ถือเป็นอีกหนึง่ โอกาสและความท้าทาย ของภาคธุรกิจไทย


กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ�้ โขง (GMS)

โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย ปัจจุบันค�ำว่า GMS ได้มีการกล่าวถึงมาอย่างต่อเนื่องใน แวดวงภาคธุรกิจทั้งภายในประเทศไทยและต่างประเทศ โดย GMS มาจากชื่อเต็ม คือ Greater Mekong Subregion ซึ่งเป็น แนวคิดการจัดตั้งกรอบความร่วมมือของกลุ่มประเทศที่อยู่ ในเขตพืน้ ทีล่ มุ่ แม่นำ�้ โขง ประกอบด้วย จีน (มณฑลยูนนาน) กัมพูชา สปป.ลาว พม่า ไทย และ เวียดนาม รวมทั้งสิ้น 6 ประเทศ แนวความคิดภายใต้กรอบความร่วมมือนี้ได้เริ่มต้นมา ตั้ ง แต่ ป ี 1992 จากการผลั ก ดั น ของสหประชาชาติ โ ดยคณะ กรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเซียและแปซิฟิค (ESCAP : Economic and Social Commission for Asia and Pacific) ร่วมกับ ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB : Asia Development Bank) ซึ่ง ปัจจุบันทั้งสองหน่วยงานเป็นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนด้าน งบประมาณการพัฒนาตลอดจนการสนับสนุนด้านวิชาการอย่าง ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน หลักแนวคิดของการจัดตั้งกรอบความ ร่วมมือมีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวพื้นที่ เศรษฐกิจการค้า การลงทุน การเกษตร และการบริการร่วมกัน การ สนับสนุนการจ้างงาน การส่งเสริมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ เป้าหมายคือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความปรองดองและ ความมัง่ คัง่ ของอนุภมู ภิ าค รวมถึง ความพยายามในการลดปัญหา ความยากจนและส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยสนับสนุนให้ มีการติดต่อและการแข่งขันระหว่างกันและยกระดับความเป็นอยู่

ของประชาชนในแต่ละพืน้ ทีใ่ ห้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ โครงสร้างเชิง พื้นที่ของกลุ่ม GMS (ปี 2007) มีพื้นที่รวมกันประมาณ 2.6 ล้าน ตารางกิโลเมตร หรือประมาณพืน้ ทีข่ องยุโรปตะวันตก มีประชากร รวมกั น ประมาณ 324 ล้ า นคน และอุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ย ทรัพยากรธรรมชาติมากมาย วิวัฒนาการความร่วมมือของ GMS ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ได้มีการก�ำหนดกรอบความร่วมมือรายสาขารวมทั้งสิ้น 9 สาขา ประกอบด้ ว ย 1) คมนาคมขนส่ ง 2) การค้ า 3) การลงทุ น 4) การเกษตร 5) การท่องเที่ยว 6) สิ่งแวดล้อม 7) การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ 8) โทรคมนาคม และ 9) พลังงาน ซึ่งในสาขา ความร่วมมือโครงข่ายคมนาคมขนส่งเป็นสาขาทีแ่ ต่ละประเทศได้ ให้ความส�ำคัญต่อการผลักดันที่จะสร้างโครงข่ายเชื่อมโยงพื้นที่ ร่วมกัน โดยมีการศึกษาแนวพื้นที่ในแต่ละเขตในแต่ละประเทศ ก�ำหนดเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวเศรษฐกิจในภูมิภาค ซึ่ง ตั้งแต่ปี 1992 จนถึงปัจจุบันมีแนวพื้นที่ส�ำคัญที่ GMS ก�ำหนดขึ้น ร่วมกันอยู่ 3 ส่วน คือ 1. แนวพืน้ ทีพ ่ ฒ ั นาเศรษฐกิจเหนือ – ใต้ (North – South Economic Corridor : NSEC) หรือ ที่คุ้นเคยเรียกกันว่า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

229


เส้นทางเศรษฐกิจหมายเลข R3 ซึง่ ในโครงข่าย R3 จะมีการแยก ออกเป็นเส้นทาง R3A (R3E) เชื่อมโยงจากเมืองคุนหมิงประเทศ จีนมายังจังหวัดเชียงรายประเทศไทยผ่านเมืองห้วยทรายของ สปป.ลาว ปั จ จุ บั น มี ก ารพั ฒ นาและก่ อ สร้ า งเป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย ขาดเพียงการเชื่อมจุดต่อ คือ การก่อสร้างสะพานข้ามแม่น�้ำโขง (เชียงของ – ห้วยทราย) ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้างโดยมีไทยและ จีนเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณการก่อสร้างทั้งหมด และ เส้นทาง R3B (R3W) เชื่อมโยงจากเมืองคุนหมิงประเทศจีนมายังอ�ำเภอ แม่สายประเทศไทยผ่านประเทศพม่าซึ่งเส้นทางนี้ปัจจุบันยังไม่มี ความก้าวหน้าในการพัฒนา ภายใต้แนวพื้นที่ NSEC ปัจจุบันได้ มีวิวัฒนาการศึกษาขยายผลจุดเชื่อมโยงโครงข่ายมองลงไปถึง เขตพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยเพื่อเข้าสู่มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จากเดิมที่ต้องการเชื่อมโยงมาสู่กรุงเทพฯ และท่าเรือ แหลมฉบัง 2. แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออกและตะวันตก (East – West Economic Corridor : EWEC) หรือ เส้นทาง R9

เจตนารมณ์โครงข่ายแนวพืน้ ทีจ่ ะเป็นการเชือ่ มโยงจากท่าเรือเมือง มะละแหม่งประเทศพม่าผ่านอ�ำเภอแม่สอดจังหวัดตากและ จังหวัดมุกดาหาร ประเทศไทยผ่านเมืองสะวันนะเขต สปป.ลาว เข้าสูท่ า่ เรือดานังประเทศเวียดนาม เส้นทางดังกล่าวนีม้ กี ารพัฒนา และก่อสร้างสะพานข้ามแม่น�้ำโขง (มุกดาหาร – สะหวันนะเขต) เป็นที่เรียบร้อย และในปัจจุบันเป็นเส้นทางเดียวที่มีการน�ำร่อง การขนส่ ง สิ น ค้ า โดยรถบรรทุ ก ภายใต้ ค วามตกลงการขนส่ ง ข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง (CBTA : Cross Border Transport Agreement) ่ ฒ ั นาเศรษฐกิจทางใต้ (Southern Economic 3. แนวพืน้ ทีพ Corridor : SEC) แนวพื้นที่ดังกล่าวได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นตาม ล� ำ ดั บ โดยจะเป็ น การเชื่ อ มโยงผ่ า นประเทศกั ม พู ช าเป็ น หลั ก ประกอบด้วย 1) กรุงเทพฯ – พนมเปญ – โฮจิมินทร์ – ท่าเรือวุงเต๋า (เวียดนาม) 2) กรุงเทพฯ – เสียมเรียบ – สะตรึงเตรียง 3) กรุงเทพฯ – ตราด – เกาะกง – ฮาเตียน (เวียดนาม) และ 4) ท่าเรือสีหนุวิลล์ – พนมเปญ – ปากเซ – สะหวันนะเขต (สปป.ลาว)

กลไกการท�ำงานของ GMS แบ่งเป็นการด�ำเนินการ 4 ระดับ ประกอบด้วย 1. การประชุมระดับคณะท�ำงานของแต่ละสาขาความร่วมมือ เพื่อประสานงานความคืบหน้าของกิจกรรมต่างๆ 2. การประชุมระดับเจ้าหน้าทีอ่ าวุโส จัดปีละ 1-2 ครัง้ โดยจะ เป็นเวทีการประชุมของผู้บริหารหน่วยงานราชการของแต่ละ ประเทศเพื่อกลั่นกรองและเตรียมประเด็นการเจรจา 3. การประชุมระดับรัฐมนตรี จัดปีละ 1 ครั้ง ซึ่งจะเป็นการ ประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีของแต่ละประเทศเพื่อติดตามความ ก้าวหน้าของแผนการด�ำเนินการ 4. การประชุมระดับสุดยอดผูน้ ำ� ของ GMS หรือ GMS Summit จัดขึน้ ทุก 3 ปี โดยจะเป็นการประชุมร่วมกันของนายกรัฐมนตรีของ แต่ละประเทศเพื่อพิจารณาการสร้างความเข้มแข็งต่อแผนการ พัฒนาที่มีอยู่และการมองทิศทางความร่วมมือในอนาคต ซึ่ง กัมพูชาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับผู้นำ � GMS ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2545 จีนเป็นเจ้าภาพการประชุมระดับผู้น�ำ GMS ครั้งที่ 2 ในปี 2548 และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมระดับผู้น�ำ GMS ครั้งที่ 3 ในปี 2551 ส�ำหรับ ครั้งที่ 4 จัดขึ้นในปี 2011 โดยประเทศพม่าเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุม 5. การประชุมความร่วมมือของภาคเอกชน นอกจากกลไก การท�ำงานทีก่ ล่าวถึง ภาคเอกชนของแต่ละประเทศได้มกี ารจัดตัง้ กลไกการด�ำเนินการคูข่ นานเรียกว่า GMS-BF โดยจะประกอบด้วย ผู ้ แ ทนของหน่ ว ยงานภาคเอกชน คื อ สภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมการค้า ด้านต่างๆ ของ GMS ซึ่งจะมีการจัดประชุมปีละ 5-6 ครั้ง เพื่อน�ำ ปี ส.อ.ท. 230 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

นโยบายของภาครัฐมาพิจารณาต่อยอดให้เกิดผลทางธุรกิจให้เป็น รูปธรรม ประธาน GMS-BF จะด�ำรงต�ำแหน่งวาระละ 2 ปี และจะ เป็ น การหมุ น เปลี่ ย นในแต่ ล ะประเทศตามตั ว อั ก ษร ปั จ จุ บั น ประเทศจีนท�ำหน้าที่เป็นประธานและมี สปป.ลาวท�ำหน้าที่เป็น เลขาธิการ และผู้แทนของประเทศไทยที่เข้าร่วมจะได้รับการแต่ง ตั้งจากคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ภายใต้ ความเห็น ชอบของสภาธุร กิจ GMS-BF ประเทศไทย (GMS Business Council) ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนของสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสมาคม ธนาคารไทย


ทิศทางและแนวทางการด�ำเนินการของ GMS ปี 2011-2012 1. เร่งรัดให้ข้อตกลง CBTA สามารถใช้ได้จริง โดยให้มีความ สอดคล้องกับกระบวนการและพิธีการต่างๆ 2. ก�ำหนดให้ปริมาณการไหลของสินค้าที่ผ่านแนวพื้นที่ เศรษฐกิจ และก�ำหนดว่าสินค้าจะถูกส่งไปที่ใดและจะไปอย่างไร ทั้งนี้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายของรถขนส่งขากลับ 3. ขยายเส้นทางการขนส่งส�ำรองที่เชื่อมต่อระหว่างเขต อุตสาหกรรมและท่าเรือไปยังแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจต่างๆ อาทิ ในเขต พื้นที่ EWEC นั้น ได้ถูกเสนอให้มีการพัฒนาเส้นทางส�ำรอง เช่น ขอนแก่น – นครราชสีมา – กรุงเทพฯ – แหลมฉบัง – และส่วนเชือ่ ม ต่ออืน่ ๆ ในประเทศลาวและเวียดนาม และเพือ่ ให้เขตพืน้ ที่ EWEC นั้นสมบูรณ์และเชื่อมต่อไปยังประเทศพม่าได้ 4. การจัดตัง้ สมาคมการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของกลุม่ ภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง (GMS Freight Transport Association : GMS-FRETA) เพือ่ ให้เกิดมาตรฐานและการรับรองการด�ำเนินการ ขนส่งและโลจิสติกส์ในเขตพื้นที่เศรษฐกิจ GMS 5. พัฒนาช่องทางการให้บริการพัฒนาธุรกิจ (Business Service Development : BDS) เพือ่ ให้ขอ้ มูลทัว่ ไปกับสมาชิกผ่าน ทางหน่วยงานหอการค้าและอุตสาหกรรมของแต่ละประเทศ 6. พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการจัดตั้ง โครงการส�ำหรับผู้ประกอบการในท้องถิ่น GMS โดยการให้ความ ส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนให้มากขึ้น 7. พัฒนาแผนเงินลงทุนและเครดิตพิเศษในการยกระดับ พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

231


ความส�ำคัญของ GMS กับโอกาสและความท้าทายของภาคธุรกิจไทย 1. จากบริบทของ AEC รูปแบบการค้าจะปรับเปลี่ยนมาให้ ความส�ำคัญในการท�ำการค้าในภูมิภาคมากขึ้น ซึ่งในอนุภูมิภาค GMS สินค้าไทยยังมีความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน 2. ภาคอุตสาหกรรมไทยมีแนวโน้มที่จะเริ่มสูญเสียขีดความ สามารถและจ�ำเป็นต้องย้ายฐานการผลิต และกลุ่มประเทศใน GMS ยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ด้านทรัพยากรและวัตถุดิบ 3. ประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจที่สำ� คัญ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย จีน ได้ให้ความส�ำคัญและเข้ามามีบทบาทกับการ พัฒนาอนุภมู ภิ าค GMS อาทิ การสนับสนุนพัฒนาโครงข่ายระบบ รางโดยเฉพาะในพม่า การสนับสนุนพัฒนาศักยภาพบุคลากรใน ประเทศลุ่มแม่นำ�้ โขง การสนับสนุนส่งเสริมการลงทุนในเขตพื้นที่ ของอนุภูมิภาค GMS 4. ข้ อ ควรระมั ด ระวั ง ในการขยายการค้ า การลงทุน ใน อนุภูมิภาค GMS - โครงสร้างกฎหมายในแต่ละแขวง / มณฑล / จังหวัด จะมีความแตกต่างกัน - โครงสร้างระบบสังคมและการเมืองแตกต่างกับไทย - ความเป็นชาตินิยมที่ยังฝังรากลึกอยู่ในระบบเศรษฐกิจ - ปัจจัยราคาสินค้าที่จะขายภายในแต่ละประเทศจะเป็น สิ่งส�ำคัญและสินค้าอาจจะถูกลอกเลียนแบบได้ง่ายโดยไม่มีการ คุ้มครอง - ปัจจัยต้นทุนค่าแรงงาน ค่าทีด่ นิ จะต�ำ่ กว่าไทย อย่างไรก็ตาม อาจจะมีต้นทุนทางอ้อมและต้นทุนแฝงที่คาดไม่ถึง - ค่าธรรมเนียมและค่าภาษีที่ทับซ้อน รวมถึง แต่ละท้องถิ่น จะมีอัตราที่แตกต่างกัน - การพิจารณาผู้ร่วมทุนต้องศึกษาข้อมูลเชิงลึกให้แน่ชัด โดยเฉพาะความน่าเชื่อถือ อย่าลงทุนโดยฉาบฉวย - กระบวนการประสานงานกับหน่วยงานราชการยังมีหลาย ขั้นตอนต้องใช้เวลา

5. ขอบข่ายธุรกิจที่เป็นโอกาส ประกอบด้วย อุตสาหกรรม ที่ใช้วัตถุดิบประเภท Local Content อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน (Labor Intensive) อุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วน อุตสาหกรรม ด้านเฟอร์นเิ จอร์เครือ่ งเรือนทีใ่ ช้วสั ดุธรรมชาติ อุตสาหกรรมเกษตร แปรรูป นอกจากการรวมกลุ่มเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อย่ า ง AEC และ GMS ที่ ไ ทยได้ ร ่ ว มเป็ น สมาชิ ก แล้ ว ในบทความต่ อ ไปจะกล่ า วถึ ง อี ก หนึ่ ง กรอบความร่ ว มมื อ คือ IMT-GT หรือการพัฒ นาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในลักษณะไตรภาคีระหว่าง 3 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นอีกหนึ่งช่องทางการเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทยในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่น่าสนใจและน่าติดตาม

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

ฝ่ายเศรษฐกิจและโลจิสติกส์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1127, 1147 ปี ส.อ.ท. 232 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


กรอบความร่วมมือ IMT-GT

กับช่องทางเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ปัจจุบนั หลายประเทศได้ตระหนักถึงการเปิดเสรีทางการค้า เสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้าน ร่วมถึงการรวมกลุม่ เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการแข่งขัน และตอบสนองกับสถานการณ์ การแข่งขันทีส่ งู ขึน้ อาทิ กรอบความร่วมมือ ASEAN Economics Community หรือ AEC, BIMTEC, GMS เป็นต้น ทัง้ นี้ IMT-GT เป็น อีกกรอบความร่วมมือที่ถูกจัดตั้งมาตั้งแต่ปี 2536 โดยผู้น�ำทั้ง 3 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ได้เห็นชอบทีจ่ ะให้ผลัก ดันการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในลักษณะไตรภาคี ปัจจุบนั พืน้ ที่ IMT-GT ครอบคลุม อินโดนีเซีย 10 จังหวัด ได้แก่ อาเจห์ (เขตปกครองตนเอง) บั ง กา-เบลิ ตุ ง เบงกู ลู จั ม บี ลัมปุง สุมาตราเหนือ เรียว เรียวไอแลนด์ สุมาตราใต้ สุมาตรา ตะวันตก มาเลเซีย 8 รัฐ ได้แก่ รัฐเคดาห์ กลันตัน มะละกา เนกรีเซมบิลนั ปีนงั เประ ปะลิส และสลังงอร์ และไทย 14 จังหวัด คือ สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช ชุ ม พร สุ ร าษฎร์ ธ านี ระนอง ภู เ ก็ ต พั ง งา และกระบี่ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เสริมสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่าง 3 ประเทศ ให้ มี ก ารใช้ ท รั พ ยากรทางเศรษฐกิ จ ร่ ว มกั น อย่ า งมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สงู สุด โดยเน้นความร่วมมือทางด้าน การผลิต การส่งเสริมการลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพือ่ เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในพืน้ ที่ IMT-GT และเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาและลดช่องว่างการพัฒนาในพื้นที่ IMT – GT ทัง้ สามฝ่าย จึงได้จดั ท�ำ ยุทธศาสตร์ IMT-GT Roadmap ระยะ 5 ปี (2007-2011) ประกอบด้วยยุทธศาสตร์หลักๆ 5 ยุทธศาสตร์ คือ

1) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการค้าและการลงทุนทั้งภายในและ ระหว่างพืน้ ที่ IMT-GT และระหว่างพืน้ ที่ IMT-GT กับภายนอก มีแผนงานที่จะต้องปฏิบัติการ ดังนี้ • การอ�ำนวยความสะดวกการค้าข้ามแดนและการลงทุน • การส่งเสริมด้านการค้าและการลงทุน • การรวบรวมและเผยแพร่ขอ้ มูลทางด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ 2) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมภาคเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร และการท่องเที่ยว มีแผนงานที่จะต้องปฏิบัติการ ดังนี้ • การเกษตร (รวมทัง้ ประมง ปศุสตั ว์ ป่าไม้) และอุตสาหกรรม การเกษตร • การท่องเที่ยว 3) ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเชื่อมโยงทางด้านโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อบูรณาการด้านพื้นที่ IMT-GT เข้าด้วยกัน มีแผนงานที่จะต้องปฏิบัติการ ดังนี้ • การเชื่อมโยงด้านการขนส่ง (ถนน ทางรถไฟ การขนส่งทาง ทะเล ท่าอากาศยาน) • การสื่อสารโทรคมนาคม • พลังงาน

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

233


4) ยุทธศาสตร์ให้ความส�ำคัญต่อประเด็นความร่วมมือที่ เชือ่ มโยงในความร่วมมือทุกด้าน ได้แก่ ด้านพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ ทักษะและความเชี่ยวชาญ ส่งเสริมการเคลื่อนย้าย แรงงาน ส่ ง เสริ ม ด้ า นบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม และ ทรัพยากรธรรมชาติของพื้นที่ IMT-GT มีแผนงานที่จะต้องปฏิบัติการ ดังนี้ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการเคลื่อนย้ายแรงงาน • การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 5) ยุทธศาสตร์เสริมสร้างการจัดการด้านสถาบันและกลไก ความร่วมมือในพื้นที่ IMT-GT รวมทั้งความร่วมมือภาครัฐ/ ภาคเอกชน การมี ส ่ ว นร่ ว มของภาคี ก ารพั ฒ นาในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ตลอดจนการน� ำ ความสนั บ สนุ น จากพั น ธมิ ต ร การพัฒนาอื่นๆ มีแผนงานที่จะต้องปฏิบัติการ ดังนี้ • การจัดการด้านสถาบันภายใต้กรอบ IMT-GT Roadmap • การขยายการเข้าไปมีส่วนร่วมภายในกลุ่ม IMT-GT • การด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน

ซึ่งปัจจุบัน สามารถแบ่งความร่วมมือออกเป็น 6 สาขา ดังนี้

1) สาขาโครงสร้างพื้นฐานและการขนส่ง ประเทศที่ประสานงาน หลักคือ มาเลเซีย 2) สาขาการค้าและการลงทุน ประเทศที่ประสานงานหลักคือ มาเลเซีย 3) สาขาการท่องเที่ยว ประเทศที่ประสานงานหลักคือ ไทย 4) สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ประเทศที่ประสานงานหลัก คือ อินโดนีเซีย 5) สาขาการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม ประเทศ ที่ประสานงานหลักคือ อินโดนีเซีย 6) สาขาผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาล ประเทศทีป่ ระสานงานหลัก คือไทย

กรอบความร่วมมือ IMT – GT มีกลไกการด�ำเนินงาน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งมีบทบาทและภารกิจหลัก ดังนี้ 1) ประชุมสุดยอดผู้น�ำ IMT-GT (Leaders, Summit) ประชุมครัง้ ล่าสุด เป็นการประชุมฯ ครัง้ ที่ 5 เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ณ ประเทศเวียดนาม • เป็นองค์กรสูงสุดในการตัดสินใจของกรอบ IMT-GT • ก�ำหนดเป้าหมายหลักและทิศทางความร่วมมือตามกรอบ IMT-GT 2) ประชุมระดับรัฐมนตรี (Ministers, Meeting: MM) ประชุมครั้งล่าสุด เป็นการประชุมฯ ครั้งที่ 17 เมื่อเดือน ปี ส.อ.ท. 234 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

สิงหาคม พ.ศ. 2553 ณ จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย • เป็นหน่วยประสานงานด้านการก�ำหนดทิศทางและเป็น องค์ประกอบการตัดสินใจของกรอบ IMT-GT • ท�ำหน้าที่รายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินการตามกรอบ IMT-GT Roadmap 3) ประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Officials Meeting: SOM) ประชุมครั้งล่าสุด เป็นการประชุมฯ ครั้งที่ 17 เมื่อเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2553 ณ จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย • เป็นองค์กรประสานงานของแผนงาน IMT-GT โดยรายงาน ต่อที่ประชุมระดับรัฐมนตรี • จัดเตรียมรายงานความก้าวหน้า IMT-GT Roadmap ต่อที่ประชุมระดับรัฐมนตรี • เสนอแนวนโยบายหรือประเด็นที่ควรด�ำเนินการต่อองค์กร ระดับที่สูงกว่า 4) ที่ประชุมระดับผู้ว่าและมุขมนตรี (Governors, and Chief Ministers, Forum) เป็นช่องทางสนับสนุนส่งเสริมโครงการในพื้นที่ IMT-GT ซึ่งประชุมครั้งล่าสุด เป็นการประชุมฯ ครั้งที่ 7 เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 ณ จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย 5) คณะท�ำงาน (Working Groups) ท�ำหน้าทีป่ ระสานงาน อ�ำนวยความสะดวกและให้ความร่วม มือในแต่ละสาขาความร่วมมือ


6) ศูนย์การประสานงาน อ�ำนวยความสะดวก ติดตามผลและ อื่นๆ (Coordination and Monitoring Center: CMC) ท� ำ หน้ า ที่ ป ระสานงานระหว่ า งที่ ป ระชุ ม ระดั บ รั ฐ มนตรี / ที่ประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส กับสถาบันอื่นๆ ของ IMT-GT รวมทั้งพันธมิตรจากภายนอก 7) ฝ่ายเลขานุการระดับชาติ (National Secretariats) ท�ำหน้าทีร่ ว่ มด�ำเนินการ ติดต่อประสานงานระดับภายในและ ภายนอกประเทศ รวมทั้งติดตามพัฒนาการในพื้นที่ IMT-GT • ฝ่ายเลขานุการของไทย คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) (Office of the National Economic and Social Development Board: NESDB) • ฝ่ายเลขานุการของมาเลเซีย คือ Economic Planning Unit (EPU), Prime Minister’s Department • ฝ่ า ยเลขานุ ก ารของอิ น โดนี เ ซี ย คื อ Coordinating Ministry for Economic Affairs 8) สภาธุรกิจ IMT-GT ประเทศไทย (Joint Business Council: JBC) ท�ำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานภาครัฐกับภาคเอกชน และเสนอ โครงการความร่วมมือของภาคเอกชน ซึง่ สภาธุรกิจฯ ถูกจัดตัง้ โดย คณะกรรมการร่วม 3 สถาบันภาคเอกชน (กกร.) ประกอบด้วย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย โดยมีผู้แทนจาก 3 สถาบันฯ เข้าร่วมเป็น คณะกรรมการบริหาร โดยการด�ำเนินงานก�ำหนดให้มีการประชุม 3 ครัง้ /ปี โดยการเป็นเจ้าภาพการประชุมนัน้ จะเวียนตามตัวอักษร ของชื่อประเทศ และประชุมครั้งล่าสุดเป็นการประชุมฯ ครั้งที่ 30 เมือ่ วันที่ 15–18 เมษายน พ.ศ. 2554 ณ เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ มาเลเซีย ปัจจุบัน สภาอุตสาหกรรมฯ ได้รับมอบหมายท�ำหน้าที่ เป็นประธานคณะท�ำงาน 2 สาขา คือ สาขาผลิตภัณฑ์และบริการ

ฮาลาล และสาขาเกษตร เกษตรอุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม ที่ผ่านมา มีการด�ำเนินงานในหลายประเด็น อาทิ • การผลักดันให้เกิดรับรองตราฮาลาลและมาตรฐานส�ำหรับ IMT-GT (Harmonization of The Halal Certification and standard for IMT-GT) • รับข้อเสนอแนะ ประเด็นปัญหา และอุปสรรคทางการค้า และการลงทุนของสมาชิกสภาอุตสาหกรรมฯ ไปหารือหาแนวทาง แก้ปัญหาร่วมกับประเทศสมาชิก ในเวทีระดับภาคเอกชนและ ภาครัฐ • ผลักดันโครงการ IMT-GT Joint Committee on Sustainable Rubber and Rubberwood และโครงการ IMT-GT Joint Committee on Palm-oil เป็นต้น การเปิดเสรีทางการค้า ภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ และข้อตกลงต่างๆ กับประเทศเพือ่ นบ้าน นับเป็นช่องทางใน การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจไทย ซึ่งถือได้ว่าเป็นทั้งโอกาสและอุปสรรคในการ ด�ำเนินธุรกิจ ดังนั้น ผู้ประกอบการจะต้องศึกษาหาข้อมูลใน รายละเอียดด้านแนวทาง ข้อก�ำหนด และกฎข้อบังคับต่างๆ เพื่อเตรียมพร้อมอย่างรอบด้านส�ำหรับการรับมือกับความ เปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ดังนัน้ สาระความรูใ้ นกลุม่ ถัดไป จะ น�ำเสนอในเรือ่ งเกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจควบคูไ่ ปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งนับวันจะทวีความส�ำคัญยิ่งขึ้น ไม่เพียง ในระดับประเทศเท่านัน้ แต่ยงั เป็นเรือ่ งส�ำคัญระหว่างประเทศ อี ก ด้ ว ย ติ ด ตามได้ พ ร้ อ มตั ว อย่ า งกรณี ศึ ก ษาจากหลาย ประเทศ ซึ่งนับว่ามีประโยชน์อย่างมากและสามารถน�ำไป ประยุกต์ใช้กับธุรกิจของท่านได้

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

ส�ำนักเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1150, 1102 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

235


ปี ส.อ.ท. 236 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สาระส�ำคัญที่นักอุตสาหกรรมควรรู้

4. ความส�ำคัญด้านสิ่งแวดล้อม และตัวอย่างกรณีศึกษาต่างๆ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

237


การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม

เชิงนิเวศน์ (Eco Industrial Town) ปั จ จุ บั น การเติ บ โตและขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีภาคอุตสาหกรรมเป็น กลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ น�ำมาซึ่งการ สร้างรายได้ให้กับประชากรและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่อีกนัย ส�ำคัญหนึ่งจากการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วส่งผลให้เกิด ปัญหาข้อขัดแย้งและขาดความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่างภาค อุ ต สาหกรรมและชุ ม ชน โดยเฉพาะปั ญ หาด้ า นผลกระทบ สิง่ แวดล้อม กอปรกับกระแสการเปลีย่ นแปลงต่างๆ จากภายนอก ประเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น ปัญหาการกีดกันทางการค้า การ ก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมระหว่างประเทศ และปัญหาภาวะโลกร้อน (Global warming) ซึ่งส่งผลกระทบ โดยรวมต่อการผลิตของภาคอุตสาหกรรมท�ำให้ทกุ ประเทศมีความ มุ่งมั่นในการพยายามที่จะลดมลภาวะอย่างจริงจังเพื่อมุ่งสู่การ เป็นสังคมคาร์บอนต�่ำ (Low carbon society) อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ มี บ ทบาทและส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นา อุตสาหกรรมภายในประเทศเป็นอย่างมาก คือ ความเข้มงวด

มากขึ้ น ของกฎหมายความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มภายใน ประเทศ รวมถึงปัญหาการมีอยู่อย่างจ�ำกัดของทรัพยากรและ โครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอท�ำให้ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากต่าง ประเทศ การขาดการส่งเสริม/พัฒนาศักยภาพทางเทคโนโลยี ภายในประเทศ รวมถึงการขยายบทบาทการเข้ามามีสว่ นร่วมของ ภาคประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งได้ให้ความส�ำคัญกับการดูแลสิ่งแวดล้อม สุขภาพของชุมชน และทรัพยากรธรรมชาติอย่างจริงจัง ล้วนเป็นแรงผลักดันให้ ภาครัฐฯ มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสร้างความเชื่อมั่น โดยการ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม และการบริการเชิงนิเวศน์ควบคูไ่ ปพร้อมกับการพัฒนาสังคมและ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ เ กิ ด ดุ ล ยภาพอย่ า งยั่ ง ยื น โดยการส่ ง เสริ ม ให้ ภาคเอกชนน� ำ แนวคิ ด Corporate Social Responsibility (CSR) และการพั ฒ นาเมื อ งอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศน์ (EcoIndustrial Town) มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ

แนวคิ ด และประสบการณ์ ก ารพัฒ นาเมือ งอุตสาหกรรมเชิ ง นิเ วศน์ (Eco Industrial Town) องค์กรระหว่างประเทศหลายองค์กรทัว่ โลกได้ให้ความส�ำคัญ กับการสร้างกลไกในการป้องกันและปกป้องสิง่ แวดล้อม โดยการ พัฒนาแนวคิดและสร้างกลไก/เครือ่ งมือการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนเพือ่ ใช้ เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ หรือพันธกรณีในการ ร่วมกันพัฒนาเศรษฐกิจที่ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ท�ำให้แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจนิเวศน์ เชิงพื้นที่เกิดขึ้นมากมายและหลากหลายรูปแบบ เช่น นครหรือ เมืองขนาดใหญ่เชิงนิเวศน์ (Eco-city/Eco-Town) และนิคม อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ (Eco-Industrial Estate) ซึง่ เป็นแนวคิดที่ ก�ำลังได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน ทั้งนี้ การให้นิยามค�ำจ�ำกัดความอาจแตกต่างและมีความหลากหลาย ไปตามองค์ ป ระกอบโดยรวมในแต่ ล ะพื้ น ที่ แต่ โ ดยรวมแล้ ว มีความหมายที่ใกล้เคียงกัน Eco Town หรือเมืองเศรษฐนิเวศน์ มีรากศัพท์มาจากค�ำว่า Economy และ Ecology รวมกับ Town หมายความถึงเมืองแห่ง การพัฒนาเพื่อความอยู่ดีมีสุข (Happiness Society) ของชุมชน ทั้ ง ในด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม มุ ่ ง เน้ น การใช้ ปี ส.อ.ท. 238 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ทรัพยากรหมุนเวียน (Resource Circulating Society) ส่งเสริม การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ตามหลักการ 3Rs (Reduce/Reuse/Recycle) จนเหลือของเสีย ที่ต้องบ�ำบัดหรือก�ำจัดน้อยที่สุด Eco Industrial Town หรือเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ เป็นเมืองทีถ่ กู ออกแบบจากแนวคิดการพัฒนาให้เกิดความสมดุล ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งให้ความส�ำคัญกับ กระบวนการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนในการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการที่จะพัฒนาเมืองหรือ ชุ ม ชนให้ เ ป็ น เมื อ งหรื อ ชุ ม ชนเพื่ อ ความอยู ่ ดี มี สุ ข โดยการใช้ ภาคอุตสาหกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาแบบ ยั่งยืน


ประสบการณ์จากต่างประเทศ ธนาคารโลก ได้พัฒนารูปแบบ Eco Cities / Ecological Cities as Economic Cities ซึง่ หมายถึงการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ สร้างโอกาส และมูลค่าเพิม่ จากการใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดโดย ค�ำนึงถึงประชาชน ผู้ประกอบการ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมี กรอบแนวคิดหลัก คือ (1) ระดับปฏิบตั กิ ารโดยภาครัฐ เอกชน และ ชุมชน ต้องใช้พลังงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (2) ระดับนโยบาย ให้เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ไม่ก่อมลพิษต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม (3) จัดการขยะและของเสียที่เน้นการเปลี่ยนให้เป็น วัตถุดิบและพลังงานในพื้นที่นิเวศน์ และ (4) พัฒนาเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนโดยด�ำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณี ที่ดีงามของท้องถิ่นโดยวิเคราะห์วัฏจักรการด�ำเนินชีวิตของชุมชน ของแต่ละชุมชน เพือ่ สร้างรูปแบบของเมืองนิเวศน์ของแต่ละเมือง

ภูมิภาคยุโรป สวีเดน

ได้ อ อกแบบแนวคิ ด เมื อ งเชิ ง นิ เ วศน์ ที่ เ รี ย กว่ า “The Hammarby Model” ซึ่งเกิดจากความร่วมมือกันของภาครัฐและ เอกชน ได้แก่ Fortum, Stockholm Water Company และ The Stockholm Waste Management Administration โดยมี กรอบแนวคิดที่ว่าเมืองสต็อกโฮล์ม (Stockholm) เป็นเมืองหลวง ของประเทศสวีเดน ผู้อยู่อาศัยในเมืองจะเป็นส่วนหนึ่งของวงจร เมืองนิเวศน์ (Eco Cycle-City) และก�ำหนดยุทธศาสตร์ (Strategic Innovation) ในการบริหารจัดการเมืองใน 3 มิติ คือ การบริหาร จัดการด้านผลิตและการใช้พลังงาน การบริหารจัดการขยะและ ของเสีย และการบริหารจัดการน�้ำ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงกัน ระหว่างรูปแบบการด�ำเนินชีวิตของผู้อยู่อาศัยกับสิ่งแวดล้อม รอบตัว

เดนมาร์ก

ได้ พั ฒ นาเมื อ งนิ เ วศน์ ใ นลั ก ษณะที่ เ รี ย กว่ า Industrial Symbiosis Development Cluster ซึ่งเมือง Kalundborg ถือ เป็นต้นแบบระบบการจัดการแบบพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกันอย่าง สมบูรณ์ โดยมีกรอบแนวคิดที่จะมีระบบการจัดการแบบพึ่งพา อาศัยซึง่ กันและกัน กล่าวคือ เศษวัสดุเหลือใช้ของบริษทั หนึง่ จะถูก น�ำไปหมุนเวียนใช้เป็นวัตถุดิบของบริษัท/ชุมชน รอบพื้นที่ ท�ำให้ เกิดการพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน มีการใช้นำ �้ พลังงานและวัตถุดบิ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมทัง้ ลดการใช้ทรัพยากรและอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

ได้ พั ฒ นาเมื อ งนิ เ วศน์ ใ นลั ก ษณะที่ เ รี ย กว่ า BASF City ภายใต้ก ารด� ำเนิน การของบริษัท BASF ประกอบธุร กิจด้า น อุตสาหกรรมเคมี ตั้งอยู่ ณ เมือง Ludwigshafen ซึ่งจัดได้ว่าเป็น ตัวอย่าง Chemical Complex ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยบริษัท ได้ก�ำหนดกรอบแนวคิดในการลดการปลดปล่อยของเสียเพื่อลด มลภาวะในสิ่งแวดล้อม (Emission) จากการด�ำเนินธุรกิจ และ พยายามสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นในระบบการผลิต (Vertical & Horizontal Manufacturing Integration) ครอบคลุมทั้งห่วงโซ่ ผลิตภัณฑ์ (Supply Chain) โดยลดการสูญเสียวัตถุดิบและ ผลิตภัณฑ์ และลดปริมาณการเกิดขยะอุตสาหกรรมให้น้อยที่สุด ซึ่งก�ำหนดบทบาทหน้าที่ในการด�ำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ บทบาทของภาครัฐ : ท�ำหน้าทีใ่ นการก�ำหนดมาตรฐานคุณภาพ สิง่ แวดล้อมและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อมของบริษทั ปีละ 2 ครั้ง โดยให้หน่วยงานกลาง (Third Party) เป็นผู้รับผิดชอบ เก็บตัวอย่างและรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และบทบาทของ BASF : จัดสร้างสถานีตรวจวัดคุณภาพ สิ่ ง แวดล้ อ มบริ เ วณโรงงานและใกล้ เ คี ย งนอกเหนื อ จากของ หน่วยงานรัฐ เพื่อน�ำข้อมูลมาใช้ในการเฝ้าระวังและควบคุมการ เปลี่ยนแปลงของคุณภาพสิ่งแวดล้อม (น�้ำ อากาศ และเสียง) ภายในพื้นที่ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และตั้งเป้าที่จะต้องท�ำให้ ดี ก ว่ า มาตรฐานที่ ภ าครั ฐ ก� ำ หนด โดยน� ำ ไปก� ำ หนดใช้ เ ป็ น มาตรฐานภายใน (Internal ) เดียวกันในทุกสาขาทั่วโลก

เมืองstockholm สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

239


ประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย ประเทศญี่ปุ่น

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 รัฐบาลญี่ปุ่นมีจุดมุ่งหมายในการจัดตั้ง เมืองนิเวศน์ เพือ่ แก้ไขปัญหาขยะและช่วยเหลือผูป้ ระกอบการทีม่ ี แนวโน้มถดถอย โดยใช้หลักการ Eco-Town ในการพัฒนาระบบ อุตสาหกรรมการผลิตทีป่ ระยุกต์หลัก 3Rs และการประเมินวัฏจักร ชีวติ ของผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment) มุง่ เน้นและส่งเสริม การจัดตั้งสังคมไร้ของเสียและการพัฒนาวัสดุและการบูรณาการ ด้านการจัดการของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ ยังมีกฎระเบียบ ที่ เ ข้ ม งวดในการปรั บ ตลาดเข้ า สู ่ สั ง คมที่ มี ก ารใช้ วั ส ดุ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ และมีการก�ำหนดมาตรการส่งเสริมการขยายตลาด ธุรกิจเชิงนิเวศน์ทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว มุง่ เน้นการใช้เทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและ อนุรักษ์พลังงาน โดยการวางแบบแผนพัฒนาเมืองทั้งหมดมี กระบวนการสร้างความสมดุลและยัง่ ยืนของระบบนิเวศน์ของเมือง สังคม และภูมิภาค โดยปัจจุบันประเทศญี่ปุ่นประสบผลส�ำเร็จจน สามารถขยายแนวคิดเมืองนิเวศน์ ได้ถึง 26 เมือง ทั่วประเทศ ซึ่ง รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิน่ จะต้องร่วมมือกันในการขับเคลือ่ น โดยสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ผู้ประกอบการ และชุมชน

ปี ส.อ.ท. 240 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

จีน

รั ฐ บาลจี น ได้ ป ระมาณการต้ น ทุ น และความสู ญ เสี ย จาก ปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อม โดยใช้แนวคิด The Circular Economy (CE) หรือกลยุทธ์ 3Rs และก�ำหนดไว้ในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (แผนระยะกลาง 5 ปี) ซึง่ ได้รบั ความ ร่วมมือจากธนาคารโลก และการสนับสนุนทางการเงินจากประเทศ อิตาลีและประเทศสหราชอาณาจักร และเพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายดังกล่าว จึงได้ออกกฎหมายสนับสนุนแนวคิด CE และ ก�ำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ พร้อมทั้งจัดท�ำดัชนี ชี้วัดการด�ำเนินงานโดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับของนิคม อุตสาหกรรม และระดับเศรษฐกิจมหภาค ซึ่งปัจจัยสู่ความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินการประกอบด้วยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาค อุตสาหกรรมและชุมชน และก�ำหนดแผนนโยบาย กฎระเบียบและ บทบาทของภาครัฐอย่างบูรณาการ รวมทั้งจัดหาเงินทุนส�ำหรับ ด�ำเนินการโครงการทัง้ ในส่วนของภาครัฐ เอกชน ตลอดจนก�ำหนด กลยุทธ์การออกแบบนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์


แนวคิดและการด�ำเนินงานในประเทศไทย รัฐบาลไทยได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศน์ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะช่วยบรรเทาและชะลอปัญหาภาวะโลกร้อน โดยมีหน่วย งานหลักหลายหน่วยที่เกี่ยวข้องและได้ด�ำเนินมาตรการต่างๆ ที่ส�ำคัญ คือ การประชุมคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม 2552 เห็นชอบ ร่วมกับมติคณะกรรมการภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทาง เศรษฐกิ จ (กรอ.) ในหลั ก การข้ อ เสนอของการพั ฒ นาเมื อ ง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ (Eco-Industrial Town) โดยมอบหมายให้ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) พิจารณาทบทวนภารกิจของคณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยผนวกรวมข้อเสนอของเอกชนเรื่องการจัด ตั้งคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมและชุมชนอย่างยั่งยืนให้ ครอบคลุมมิติการพัฒนาอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และชุมชน

ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ด�ำเนินการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติจากเอกสาร วิชาการ และผลงานวิจัย บทวิเคราะห์ของนักวิชาการจากภายใน ประเทศและต่างประเทศ พร้อมทั้งจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปข้อมูลประกอบการ ปรับปรุงเอกสารแนวทางและกลไกการขับเคลื่อนและพัฒนา เศรษฐกิจและบริการเชิงนิเวศน์

กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการพั ฒ นาส่ ง เสริ ม ความเป็ น เมื อ ง อุตสาหกรรมนิเวศน์ในปี พ.ศ. 2550 มีหน้าที่กำ� หนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาส่งเสริมความเป็นเมืองอุตสาหกรรมนิเวศน์และผลักดัน ยุทธศาสตร์สู่ภาคปฏิบัติ โดยเลือกจังหวัดสระบุรี อยุธยา และ ระยอง เป็นพื้นที่เป้าหมายน�ำร่อง และในปี พ.ศ. 2554 ได้มีค�ำสั่ง แต่งตั้งคณะท�ำงานก�ำหนดดัชนีชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิง นิเวศน์ เพื่อท�ำหน้าที่ในการพิจารณาก�ำหนดดัชนีชี้วัดการพัฒนา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ของประเทศไทยที่เหมาะสม โดยมีกรม โรงงานอุตสาหกรรมเป็นเลขานุการ

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ดำ� เนินโครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศน์ และเครือข่าย (Development of Eco Industrial Estate & Network Project) ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง กนอ. และรัฐบาล สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (GTZ) ในปี พ.ศ. 2542 – 2547 และ ในปัจจุบัน กนอ. ได้จัดท�ำหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดส�ำหรับการเป็น นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ พร้อมทั้งแผนแม่บทการพัฒนายก ระดับนิคมอุตสาหกรรมน�ำร่องสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิง นิเวศน์ โดยแบ่งการด�ำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 (ปี พ.ศ. 2553 - 2557) เป็นการพัฒนาในระดับนิคมอุตสาหกรรม โดยคัดเลือกนิคมอุตสาหกรรมน�ำร่อง 3 แห่ง เพื่อเป็นต้นแบบใน การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาตามหลักเกณฑ์การเป็นเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ที่ก�ำหนด ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมภาค เหนือ นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (จังหวัดระยอง) และในปี พ.ศ. 2554 ได้ขยายผลการพัฒนาต่อเนือ่ ง ไปยังนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมหนองแค และก�ำหนดแผนยกระดับการพัฒนา ขยายผลครอบคลุมเชิงพื้นที่ในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ทั้ง 5 แห่ง ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2558 – 2562) เป็นการขยายผล ต่ อ ยอดการพั ฒ นาให้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ทุ ก นิ ค มอุ ต สาหกรรม ทั่วประเทศ

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ด� ำ เนิ น การร่ ว มกั บ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อถ่ายทอดความรู้เรื่องเมืองนิเวศน์ เศรษฐกิจในส่วนภูมิภาค ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา ขอนแก่น เชียงใหม่ และสุราษฎร์ธานี และศึกษาวิจัยวิธีการ หมุนเวียนของเสียและวัสดุเหลือใช้ประเภทแร่ จ�ำนวน 8 ชนิด ให้ ส ามารถน� ำ กลั บ มาใช้ แ ละถ่ า ยทอดสู ่ ผู ้ ป ระกอบการและ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

241


ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ มี น โยบายที่ จ ะสร้ า งเมื อ งชี ว มวล (Biomass-Town) เพื่อป้องกันปัญหาก๊าซเรือนกระจก และสร้างระบบการลงทุน ในธุรกิจใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างครบวงจร ตั้งแต่การ ปลู ก วั ต ถุ ดิ บ ชี ว มวล การน� ำ มาผลิ ต ในอุ ต สาหกรรมใหม่ เ พื่ อ สร้างมูลค่าเพิ่ม และระบบก�ำจัดขยะรวมอย่างมีประสิทธิภาพ (Conversion Plant) เพือ่ ผลิตพลังงานความร้อน ไฟฟ้า ปุย๋ อินทรีย์ และพลาสติกชีวภาพ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ด� ำ เนิ น การส่ ง เสริ ม และเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู ้ ไ ปยั ง กลุ ่ ม เป้าหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงจัดท�ำกรอบแนวคิดและรูปแบบการ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสู ่ ก ารเป็ น เมื อ งอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศน์ ในลักษณะเชิงพื้นที่เพื่อให้เกิดดุลยภาพในทุกมิติ โดยมีภาค อุตสาหกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ควบคู่ไป พร้อมกับการพัฒนาชุมชน/สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีแบบ จ�ำลองรูปแบบการพัฒนาแสดงดังรูปที่ 1

ทั้งนี้ การพัฒนาเพื่อให้เกิดความสมดุลเชิงนิเวศน์ในมิติของ ภาคอุตสาหกรรม คือ การส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมมีระบบการ บริหารจัดการทีด่ ี ตัง้ แต่ภายในโรงงาน (Eco-Factory) ระดับนิคม อุตสาหกรรม (Eco-Industrial Estate) ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงและ สร้างเครือข่ายโรงงาน และขยายออกไปสู่ภายนอกเพื่อพัฒนา ไปสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ (Eco-Industrial Town) ซึ่งต้อง อาศัยความร่วมมือของภาคสังคมอื่นๆ ในการร่วมกันด�ำเนินงาน เพื่อสร้างความสมดุลด้วย แม้วา่ รูปแบบหรือแบบจ�ำลองการพัฒนาเมืองเศรษฐนิเวศน์ (Eco Town) หรือเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ จะมีรปู แบบทีห่ ลาก หลายและแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ แต่เป้าหมาย หลักที่ส�ำคัญเดียวกันคือ การพัฒนาเพื่อชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้น โดยเกิดดุลยภาพทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการประสานความร่วมมือระหว่าง ทุ ก ภาคส่ ว นในทุ ก ขั้ น ตอนของการด� ำ เนิ น การเพื่ อ ก้ า วไปสู ่ เป้าหมายร่วมกัน ในการพัฒนาสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์นี้ ปัญหา ของสารอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Organic Compounds: VOCs) ในบรรยากาศก็เป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจกัน อย่างมาก เพราะ VOCs ในปริมาณที่มากเกินกว่ามาตรฐาน นอกจากจะส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มแล้ ว ยั ง ส่ ง ผล ต่อสุขภาพของประชาชนในพืน้ ที่ ดังนัน้ การตรวจพบ VOCs จากการประกอบอุตสาหกรรมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมหนาแน่น อย่างมาบตาพุด จึงเป็นกรณีศกึ ษาทีไ่ ด้รบั ความสนใจทัง้ ด้าน ข้อเท็จจริงและแนวทางการแก้ไข ซึ่งเราจะมาเรียนรู้ไปด้วย กันในบทความต่อไป

รูปที่ 1 : แนวคิดเมืองเศรษฐนิเวศ (Eco Town)

ปี ส.อ.ท. 242 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs)

ในพื้นที่มาบตาพุด

การพบสารอินทรียร์ ะเหยง่าย (Volatile Organic Compounds: VOCs) ในบรรยากาศ เป็นประเด็นทีม่ กั ถูกหยิบยกขึน้ มาพิจารณา ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มาบตาพุด เนื่องจากมีผล การตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยง่ายบางชนิดที่มีค่าเกินมาตรฐาน และมีค�ำถามเกิดขึ้นมากมายว่าปริมาณการปนเปื้อนดังกล่าว จะส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่หรือไม่ อย่ า งไรก็ ต าม ส� ำ นั ก จั ด การคุ ณ ภาพอากาศและเสี ย ง กรมควบคุมมลพิษ ได้ตรวจวัดปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในบรรยากาศของพื้นที่มาบตาพุดจากสถานีตรวจวัด 7 แห่ง ได้แก่ สถานีอนามัยมาบตาพุด วัดมาบชลูด โรงเรียน วั ด หนองแฟบ สถานี เ มื อ งใหม่ ม าบตาพุ ด ชุ ม ชนบ้ า นพลง ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน และหมู่บ้านนพเกตุ ตั้งแต่ เดือนกันยายน 2549 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2553 ซึ่งได้น�ำมา ค�ำนวณหาค่าเฉลีย่ ใน 1 ปีและเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน พบว่า มีสารอินทรียร์ ะเหยง่าย 3 ชนิด ทีม่ คี า่ ความเข้มข้นเกินค่ามาตรฐาน เฉลี่ยรายปี ได้แก่ • สาร Benzene ตรวจพบเกินมาตรฐานทั้ง 7 แห่ง บริเวณ สถานีอนามัยมาบตาพุด วัดมาบชลูด โรงเรียนวัดหนองแฟบ สถานี เมืองใหม่มาบตาพุด ชุมชนบ้านพลง และหมู่บ้านนพเกตุ • สาร 1,3-Butadiene ตรวจพบเกินมาตรฐานบริเวณสถานี อนามัยมาบตาพุด สถานีเมืองใหม่มาบตาพุด และศูนย์บริการ สาธารณสุขบ้านตากวน • สาร 1,2-Dichloroethane ตรวจพบเกินมาตรฐานบริเวณวัด มาบชลูด สถานีเมืองใหม่มาบตาพุด ชุมชนบ้านพลง และหมู่บ้าน นพเกตุ ถึงแม้วา่ ปริมาณสารอินทรียร์ ะเหยง่ายในบรรยากาศทัง้ 3 ชนิด จะมีค่าสูงกว่ามาตรฐาน แต่ก็มีแนวโน้มที่ดีขึ้น ส�ำหรับสารอินทรีย์ ระเหยง่ายที่มีค่าความเข้มข้นไม่เกินค่ามาตรฐานเฉลี่ยรายปีมี 6 สาร ได้แก่ Vinyl Chloride, Chloroform, Dichloromethane, Trichloroethylene, 1, 2-Dichloropropane และ Tetrachloroethylene (ข้ อ มู ล ที่ ผ ่ า นการตรวจสอบในระดั บ เบื้องต้น)

เพือ่ ควบคุมและเฝ้าระวังสารอินทรียร์ ะเหยง่ายในบรรยากาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กกวล.) ได้ออกประกาศ มาตรฐานสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในระยะ เวลา 1 ปี จ�ำนวน 9 ชนิด และกรมควบคุมมลพิษ ได้ก�ำหนด ค่าเฝ้าระวังสารอินทรียร์ ะเหยง่ายในบรรยากาศโดยทัว่ ไปในระยะ เวลา 24 ชั่วโมง จ�ำนวน 19 ชนิด เพื่อเป็นมาตรฐานในการดูแล สิ่งแวดล้อม และเป็นที่น่าสังเกตุว่าค่ามาตรฐานสารอินทรีย์ ระเหยง่ า ยในบรรยากาศโดยทั่ ว ไปในระยะเวลา 1 ปี ของ ประเทศไทย เมื่ อ น� ำ มาเปรี ย บเที ย บกั บ ค่ า มาตรฐานของ ต่างประเทศพบว่า ค่ามาตรฐานของสารอินทรีย์ระเหยง่าย 3 ชนิด ของประเทศไทยมีความเข้มงวดกว่าของต่างประเทศค่อนข้างมาก ถึงแม้ว่าผลการตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศของ ประเทศไทยจะมี ค ่ า สู ง กว่ า ที่ ม าตรฐานก� ำ หนด แต่ ถ ้ า น� ำ ไป เปรียบเทียบกับกับค่ามาตรฐานของต่างประเทศก็ยังอยู่ในระดับ ที่ ย อมรั บ ได้ รายละเอี ย ดมาตรฐานสารอิ น ทรี ย ์ ร ะเหยง่ า ย ในบรรยากาศโดยทั่ ว ไปในระยะเวลา 1 ปี ของประเทศไทย เทียบกับประเทศอื่นแสดงดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่ามาตรฐานสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในระยะเวลา 1 ปี สารอินทรีย์ระเหยฯ

ไทย

ญี่ปุ่น

อังกฤษ

Benzene 1,3-Butadiene 1,2-Dichloroethane

1.7 0.33 0.4

3 2.5 1.6

5 2.25 4.8 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

243


การด�ำเนินงานในพื้นที่มาบตาพุด เพื่ อ ควบคุ ม ดู แ ลและเฝ้ า ระวั ง สารทั้ ง 3 ชนิ ด ดั ง กล่ า ว กรมควบคุมมลพิษ และกระทรวงอุตสาหกรรม (กรมโรงงาน อุ ต สาหกรรม และการนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย) ได้ติดตามผลการด�ำเนินงานตามมาตรการควบคุมสาร VOCs ซึ่ ง ผู ้ ป ระกอบการโดยเฉพาะในเขตพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด ให้ ค วาม ร่ ว มมื อ เพื่ อ ด� ำ เนิ น การให้ บ รรลุ ต ามเป้ า หมายที่ ก� ำ หนด โดย ควบคุมการปลดปล่อยสารอินทรียร์ ะเหยง่ายตามแผนปฏิบตั กิ าร ลดและขจัดมลพิษ ปี 2550-2554 ซึง่ มีแผนงานหลักในการส�ำรวจ จุดเชื่อมต่อหรือจุดที่อาจรั่วซึมต่างๆ ในกระบวนการผลิต และ ด�ำเนินการซ่อมแซมในจุดทีเ่ ป็นปัญหา และยังคงมีแผนการด�ำเนิน การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในแผนปฏิ บั ติ ก ารลดและขจั ด มลพิ ษ ปี 2553-2556 ทั้งนี้ การจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่ายเป็นประเด็นที่ได้รับ ความสนใจในช่วงระยะเวลาไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา การพัฒนาเทคโนโลยี และวิธกี ารจัดการและควบคุมสารอินทรียร์ ะเหยง่ายได้ถกู พัฒนา ขึน้ มาตามล�ำดับทัง้ ในระดับสากลและในประเทศไทยเอง ถึงแม้วา่ ปั จ จุ บั น ประเทศไทยยั ง อยู ่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นามาตรฐานการ ควบคุมการปลดปล่อยสารอินทรียร์ ะเหยง่ายในภาคอุตสาหกรรม แต่ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่างแสดงความตัง้ ใจและเร่งด�ำเนิน การปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ภายในโรงงานที่เกี่ยวข้องกับ สารอินทรีย์ระเหยง่าย เพื่อจ�ำกัดการปลดปล่อยและลดการรั่วซึม ออกสู่บรรยากาศ ตามวิธีการที่ใช้ในประเทศอื่นๆ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล

ส�ำหรับแหล่งก�ำเนิดสารอินทรียร์ ะเหยง่าย นอกเหนือจากภาค อุตสาหกรรมแล้ว เรายังสามารถสัมผัสหรือพบได้ในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น สีทาบ้าน ควันบุหรี่ น�้ำยาฟอกสี สารตัวท�ำละลายในการพิมพ์ อู่พ่นสีรถยนต์ น�้ำยาซักแห้ง น�้ำยาส�ำหรับย้อมผม สารก�ำจัดศัตรู พืช การจราจร สถานีบริการน�ำ้ มัน เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ จาก การจราจร ซึ่งจะเห็นได้จากผลการตรวจวัดปริมาณสารอินทรีย์ ระเหยง่ายในเมืองที่มีการจราจรหนาแน่น เช่น กรุงเทพมหานคร ทีม่ ปี ริมาณในบรรยากาศสูงกว่าในพืน้ ทีท่ มี่ อี ตุ สาหกรรมหนาแน่น ดังเช่นพืน้ ทีม่ าบตาพุด ดังนัน้ การจราจรจึงเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยส�ำคัญ ที่ท�ำให้เกิดการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ดังนั้น การปรับปรุงคุณภาพของน�้ำมันเชื้อเพลิงให้ได้มาตรฐาน ยู โ ร 4 จะเป็ น อี ก ช่ อ งทางส� ำ คั ญ ที่ จ ะสามารถลดปั ญ หาการ ปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายของประเทศไทยได้อย่างดียิ่ง นอกจากปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายในชั้นบรรยากาศแล้ว ปัญหาของเสียที่เกิดจากภาคการผลิต และการอุปโภคบริโภค ยังเป็นเรื่องที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะในบรรดา ของเสียเหล่านั้น มีบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุที่สามารถน�ำกลับมาใช้ได้ ปะปนอยู่ ซึ่งสามารถแยกน�ำกลับมาใช้ซ�้ำหรือใช้ใหม่ได้อีก หรือ ทีเ่ รียกว่า “การรีไซเคิล” ซึง่ เราจะเรียนรูถ้ งึ วิธกี ารจัดการวัสดุรไี ซเคิล ที่ยั่งยืนเป็นเรื่องต่อไป

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 3 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1262, 1273 ปี ส.อ.ท. 244 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


การจัดการวัสดุรีไซเคิลที่ยั่งยืน วงจรของบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วหรือวัสดุรีไซเคิลในอดีต มักสิ้นสุดที่การ อุปโภค บริโภค ซึง่ ส่วนใหญ่มกั ถูกทิง้ ขว้างรวมไปกับขยะประเภทอืน่ ๆ จนท�ำให้ สูญเสียคุณค่าไป แต่ในปัจจุบัน บรรจุภัณฑ์ใช้แล้วหรือวัสดุรีไซเคิลมีการ หมุนเวียนอย่างเป็นวัฏจักร เริ่มจากผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ในภาคอุตสาหกรรม ส่ง ต่อไปยังผูผ้ ลิตสินค้าทีน่ ำ� ไปบรรจุสนิ ค้าเพือ่ จ�ำหน่าย และส่งต่อไปยังผูบ้ ริโภค เมือ่ ถึงมือผูบ้ ริโภค บรรจุภณ ั ฑ์ใช้แล้วหรือวัสดุรไี ซเคิลก็ถกู รวบรวมน�ำกลับมา ใช้ซ�้ำหรือน�ำกลับมาใช้ใหม่ โดยผ่านกรรมวิธีหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งใน ปัจจุบัน มีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยเพิ่มอัตราการน�ำกลับมาใช้ใหม่หรืออัตรา การรีไซเคิลเพิ่มขึ้นมากมาย ทั้งการรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่ม (Tetra Pak) ให้เป็นเยื่อกระดาษที่มีคุณภาพสูง ซึ่งในกล่องเครื่องดื่มมีองค์ประกอบของ กระดาษเป็นส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 70 หรือการแปรรูปเป็นไม้เทียมที่น�ำมาใช้ แทนไม้จริงในการประกอบเป็นเฟอร์นิเจอร์ และที่ทันสมัยที่สุด คือการน�ำมา ผลิตเป็นหลังคาที่ใช้ในการบังแดดบังฝนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายหลังจากการน�ำบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วหรือวัสดุรีไซเคิลกลับมาเป็น วัตถุดบิ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ วัสดุบางประเภทสามารถน�ำกลับมาแปรรูปเป็น บรรจุภัณฑ์เดิมได้ทั้งหมด เช่น ขวดแก้ว กระป๋องอลูมิเนียม กล่องกระดาษ เป็นต้น ซึ่งจะท�ำให้บรรจุภัณฑ์จากวัสดุรีไซเคิลกลับเข้าสู่วงจรเพื่อหมุนเวียน การใช้งานได้ตอ่ ไป แต่ในกรณีทไี่ ม่สามารถแปรรูปกลับมาเป็นบรรจุภณ ั ฑ์เดิม ได้ ก็จะสามารถแปรเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอืน่ ๆ ได้ เช่น ขวดพลาสติกใสขนาด 500 มิลลิลิตร 19 ขวด สามารถแปรรูปเป็นเสื้อยืดขนาด XL ได้ 1 ตัว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

245


อัตราการรีไซเคิลจ�ำแนกตามประเภทวัสดุในประเทศไทย (ร้อยละ) 100 90 เหล็ก อลูมิเนียม แก้ว อัตราการรีไซเคิล กระดาษ พลาสติก ยาง

80 70 60 50 40 30 20 10 0 2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ ชี้ให้เห็นว่าวัสดุแต่ละ ประเภทมีแนวโน้มการน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่หรือการรีไซเคิล ที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในกลุ่มของวัสดุที่ได้รับความนิยมมาก ทีส่ ดุ เป็นกลุม่ ของโลหะและอโลหะ โดยเฉพาะกลุม่ ของบรรจุภณ ั ฑ์ ประเภทกระป๋อง โดยพลาสติกและยางยังเป็นวัสดุทมี่ กี ารน�ำกลับ มาใช้ใหม่ในสัดส่วนที่ตำ�่ กว่าร้อยละ 50 โดยสาเหตุมาจากวิธีการ เก็บรวบรวมทีค่ อ่ นข้างยุง่ ยากซับซ้อน และประชาชนยังขาดความ เข้าใจในการเก็บรวบรวมที่ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งสถาบันการ จัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ยังคงให้ความส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์เหล่านี้ ผ่าน การรณรงค์ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจในการจัดเก็บและ รวบรวมอย่างถูกต้องและเหมาะสม และปัญหาโดยรวมของ การท�ำให้วงจรการจัดการวัสดุรีไซเคิลเป็นไปอย่างยั่งยืนก็คือ การสร้างแรงจูงใจในการคัดแยกวัสดุรไี ซเคิลให้กบั ภาคส่วนต่างๆ ได้รับทราบ ทั้งการชี้ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม และการเน้น การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องกับราคาวัสดุรีไซเคิล (ข้อมูลราคาติดตามได้จาก www.tipmse.or.th) อย่างไรก็ตาม ก่อนที่บรรจุภัณฑ์จากผู้บริโภคจะถึงมือของ โรงงานรีไซเคิล ต้องผ่านกิจกรรมต่างๆ มากมาย ซึ่งในปัจจุบัน ยังคงเหลือบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุรีไซเคิลในกองขยะอยู่อีกจ�ำนวน หนึ่ง ซึ่งจากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษระบุไว้ว่า บรรจุภัณฑ์ ใช้แล้วหรือวัสดุรไี ซเคิล สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้แล้วประมาณ ร้อยละ 21 ซึง่ เป็นตัวเลขทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นผลจากการ ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนสร้างสังคมรีไซเคิล ให้เกิดขึ้นในประเทศไทย กิจกรรมต่างๆ ที่สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิล เพื่อสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ TIPMSE ด�ำเนินการขึน้ มุง่ เน้นการสร้างระบบการจัดการวัสดุรไี ซเคิลในทุก ภาคส่วน เพราะทุกคนล้วนแต่เป็นผู้บริโภค เป็นผู้ก่อให้เกิดขยะ ปี ส.อ.ท. 246 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ดังนั้น การที่ลดปริมาณขยะก็ต้องมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน ทั้งสิ้น ทั้งในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถาบันอุดมศึกษา โรงเรียน ส�ำนักงาน ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า ศาสนสถาน โดยร่วมกัน คัดแยกบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วหรือวัสดุรีไซเคิลตั้งแต่ต้นทาง เพื่อ น�ำกลับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลอย่างเหมาะสมผ่านรูปแบบของ กิจกรรมที่แตกต่างกันตามความเหมาะสม ดังเช่น • ชุมชนหรือเทศบาล เหมาะสมกับรูปแบบของธนาคารหรือ ศูนย์หรือตลาดนัดวัสดุรีไซเคิล • สถาบันอุดมศึกษา เหมาะสมกับรูปแบบการจัดตั้งภาชนะ รองรับแบบแยกประเภท และกิจกรรมธนาคารวัสดุรีไซเคิล • ส�ำนักงาน เหมาะสมกับรูปแบบการจัดตั้งภาชนะรองรับ แบบแยกประเภท โดยเน้นประเภทกระดาษเป็นหลัก • หมู่บ้านจัดสรร เหมาะสมกับรูปแบบการจัดตั้งจุดรวบรวม วัสดุรีไซเคิลแบบแยกประเภท (Drop off) และ/หรือกิจกรรมแยก ประเภทวัสดุรีไซเคิลจากครัวเรือน • ร้านอาหาร เหมาะสมกับรูปแบบการจัดภาชนะรองรับแบบ แยกประเภท โดยเน้นการคัดแยกขยะอินทรียเ์ พือ่ น�ำไปเป็นอาหาร สัตว์หรือหมักท�ำปุ๋ย นอกจากกิจกรรมการจัดการวัสดุรีไซเคิลที่เหมาะสมกับใน ภาคส่วนต่างๆ การส่งเสริมบุคลากรที่เกี่ยวกับวงจรการจัดการ บรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละวั ส ดุ รี ไ ซเคิ ล ก็ เ ป็ น กิ จ กรรมหนึ่ ง ของสถาบั น ฯ ที่ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็คือ การยกระดับคุณภาพชีวิตให้ กับกลุม่ ผูป้ ระกอบอาชีพซาเล้ง เพือ่ สร้างมาตรฐานของผูป้ ระกอบ อาชีพซาเล้งให้สามารถด�ำเนินกิจกรรมได้เป็นระเบียบและสร้าง มาตรฐานทีด่ ใี ห้กบั อาชีพนีด้ ว้ ย และภารกิจของสถาบันฯ ประการ สุดท้ายที่ส�ำคัญคือ การเชื่อมโยงให้ภาคส่วนต่างๆ เข้าหากัน โดย การจัดท�ำฐานข้อมลูดา้ นการรีไซเคิลทีม่ รี ายชือ่ ของร้านรับซือ้ และ โรงงานรีไซเคิล เพื่อให้ปลายทางของการจัดการสามารถกลับเข้า สู่วงจรอย่างครบถ้วนและสมบูรณ์ต่อไป


ประโยชน์ของการรีไซเคิลวัสดุแต่ละชนิด

กระบวนการรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่ม

1. การรีไซเคิลกระป๋องอลูมิเนียม 1 ใบ ประหยัดพลังงานเท่ากับเปิดโทรทัศน์นาน 3 ชั่วโมง 2. การรีไซเคิลขวดแก้ว 1 ใบ ประหยัดพลังงานเท่ากับเปิดหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ นาน ถึง 4 ชั่วโมง 3. การรีไซเคิลขวดพลาสติกแกลลอน 1 ใบ ประหยัดพลังงานเท่ากับเปิดหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ นาน 11 ชั่วโมง 4. การรีไซเคิลตั้งหนังสือพิมพ์ สูง 1 ฟุต ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้เพียงพอต่อการเปิด Heater นาน 17 ชั่วโมง 5. การรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่มจ�ำนวน 1 ตัน ประหยัดพลังงานเทียบเท่าพลังงานทีไ่ ด้จากน�ำ้ มัน 0.5 ตัน

กล่องเครื่องดื่ม

กล่องเครื่องดื่มใช้แล้วน�ำกลับไปรีไซเคิลได้ เพื่อช่วยลดขยะ ลดโลกร้อน ด้วยการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากการเผาหรือฝังกลบ

กล่องเครื่องดื่มประกอบไปด้วย...

ชัน้ กระดาษ (75%) สร้างรูปทรงแข็งแรงและทนทาน ส่วนชัน้ พลาสติกโพลีเอททีลีน (20%) ช่วยผนึกและป้องกันความชื้น และ ชั้นอลูมิเนียมฟอยล์ (5%) ช่วยป้องกันอากาศ แสงสว่างและ แบคทีเรีย ไม่ให้เข้าไปสัมผัสกับเครือ่ งดืม่ ทีอ่ ยูภ่ ายในกล่องอันเป็น สาเหตุการเสียของเครื่องดื่ม

ชั้นทั้งหกของกล่อง ช่วยปกป้องอาหาร และเครื่องดื่มที่อยู่ภายใน เพื่ออาหารปลอดภัย ถึงมือผู้บริโภค

จะเห็นว่าการจัดการบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วหรือวัสดุรีไซเคิล มีประโยชน์อย่างมากในหลายๆ ด้าน ทั้งเรื่องการช่วยลดปริมาณ ขยะ ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน และยังสร้างมูลค่า เพิ่มทางเศรษฐกิจได้อีกด้วย ส� ำ หรั บ บทความต่ อ ไปจะกล่ า วถึ ง สาระน่ า รู ้ ใ นการ บริหารจัดการน�ำ้ เพือ่ ประโยชน์ของประเทศชาติ ซึง่ มีขอ้ มูล ที่น่าสนใจต้องติดตาม

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์และรีไซเคิลเพือ่ สิง่ แวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0 2272 1552-3, 0 2618 8251-2 www.tipmse.or.th สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

247


สาระน่ารู้เกี่ยวกับน�้ำภาคอุตสาหกรรม รูปแบบในการพัฒนา "น�้ำเพื่อความมั่นคงในระบบเศรษฐกิจ"

การบริหารจัดการน�้ำเพื่อประโยชน์ต่อประเทศชาติ

สามารถแบ่งอรรถประโยชน์จากการใช้น�้ำได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆดังต่อไปนี้

1. น�้ำส�ำหรับท�ำการเกษตร 55,735 ล้าน ลบ.ม./ปี หรือประมาณ ร้อยละ 75 2. น�้ำที่ต้องกักเก็บไว้เพื่อรักษาล�ำน�้ำ 12,378 ล้าน ลบ.ม./ปี หรือประมาณร้อยละ 17 3. น�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภค 2,876 ล้าน ลบ.ม./ปี หรือประมาณร้อยละ 4 4. น�้ำส�ำหรับอุตสาหกรรม 2,789 ล้าน ลบ.ม./ปี หรือประมาณร้อยละ 4 น�้ำเพียงร้อยละ 4 ของภาคอุตสาหกรรมสามารถสร้างรายได้ให้ประเทศถึงร้อยละ 39.6 ของ รายได้ ม วลรวมประชาชาติ (GDP) ใน พ.ศ. 2550 รวม 8.49 ล้ า นล้ า นบาท คิ ด เป็ น มู ล ค่ า 3.36 ล้านล้านบาท สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

สถาบันน�้ำเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 3 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1040, 1050 ปี ส.อ.ท. 248 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดที่ใช้นำ�้ มากที่สุด 10 อันดับแรก ล�ำดับที่ จังหวัด

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ( ล้าน ล้าน บาท )

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

กรุงเทพมหานคร ระยอง สมุทรปราการ ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร ปทุมธานี นครราชสีมา นครปฐม สระบุรี

2.1 0.5 0.5 0.4 0.3 0.3 0.2 0.1 0.1 0.1

จังหวัดที่ใช้นำ�้ มากที่สุด 10 อันดับแรก ล�ำดับ

จังหวัด

จ�ำนวนโรงงาน (โรง)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สมุทรปราการ ระยอง สมุทรสาคร สระบุรี กรุงเทพมหานคร ชลบุรี นครปฐม นครราชสีมา ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา

7,095 2,135 4,708 1,392 18,927 3,395 2,974 7,291 2,697 1,704

เทคโนโลยีการใช้น�้ำเพื่อการอุตสาหกรรม REDUCED REUSED RECYCLE

+

RESERVED REVISUALIZED ทบทวนระบบทั้งหมด เกี่ยวกับประสิทธิภาพ ของการบริหารจัดการน�้ำ

หาแหล่งน�ำ้ ส�ำรอง

การใช้นำ�้ (ลบ.ม./วัน)

735,991 680,122 529,894 452,820 440,172 378,996 344,348 342,187 320,506 294,012

หลังจากเราได้รับทราบสาระประโยชน์ ที่ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า อุ ต สาหกรรมที่ ใ ส่ ใ จต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม สถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่ มาบตาพุด รวมไปถึงการจัดการวัสดุรไี ซเคิล และการบริหารจัดการน�้ำแล้ว ในสาระกลุ่ม ถั ด ไปได้ ร วบรวมข้ อ มู ล ต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ รวมถึงพระราช บั ญ ญั ติ ต ่ า งๆ ที่ ผู ้ ป ระกอบการในภาค อุ ต สาหกรรมจ� ำ เป็ น ต้ อ งรู ้ ซึ่ ง มี ป ระโยชน์ อย่างมากต่อการด�ำเนินธุรกิจ-อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

249


ปี ส.อ.ท. 250 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

251


ปี ส.อ.ท. 252 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สาระส�ำคัญที่นักอุตสาหกรรมควรรู้

5. กฎหมาย กฎระเบียบ พ.ร.บ. ต่างๆ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

253


มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เราได้เดินทางมาถึงบทความชุดสุดท้ายแล้ว บทความนี้ เป็นการกล่าวถึงความรูด้ า้ นกฎหมายต่างๆ ทีม่ คี วามเกีย่ วเนือ่ งกับ การด�ำเนินกิจการทัง้ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดยในบทความแรก จะขอน�ำเสนอเรื่อง “มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม” มาตรฐาน เป็นค�ำทีห่ ลายๆ คนกล่าวถึง แต่จะทราบหรือไม่วา่ มาตรฐานมีความหมายอย่างไร และมีความส�ำคัญกับทุกคน อย่างไร ทั้งที่มาตรฐานเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวกับชีวิตประจ�ำวันของ ทุกคนและมีประโยชน์กบั มนุษย์ในทุกด้าน “มาตรฐาน” ตามความ หมายของพจนานุกรม หมายถึง สิ่งที่ถือเป็นหลักส�ำหรับเทียบ ก�ำหนด สิ่งที่ทุกคนยอมรับ และเข้าใจตรงกัน แต่เมื่อน�ำมาใช้กับอุตสาหกรรมจะใช้ค�ำว่า “มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม” หรือ มอก. ซึ่งหมายถึง สิ่งหรือเกณฑ์ ทางเทคนิคทีก่ ำ� หนดขึน้ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เกณฑ์ทาง เทคนิคนีจ้ ะระบุลกั ษณะทีส่ ำ� คัญของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพของ การน�ำไปใช้งาน คุณภาพของวัตถุดิบที่นำ� มาผลิต โดยจะรวมถึง วิธีการทดสอบด้วย เพื่อใช้เป็นเครื่องตัดสินว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์ นั้นๆ เป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. มี ห น้ า ที่ ก� ำ หนดมาตรฐานและก� ำ กั บ ดู แ ลคุ ณ ภาพสิ น ค้ า และ บริการให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด และสอดคล้องกับแนวทางสากล ก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนและให้การรับรอง ส่งเสริม พัฒนากิจกรรมด้านการมาตรฐานของประเทศ ร่วมมือด้านการ มาตรฐานกับต่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี บริการ ข้อสนเทศด้านการมาตรฐาน สร้างเครือข่ายด้านการมาตรฐานของ ประเทศให้เป็นเอกภาพ อีกทั้งยังเป็นผู้อนุญาต ให้ตราสัญลักษณ์ มอก.

มอก.บังคับ

ผู้ผลิตหรือน�ำเข้าที่มีความต้องการขอใช้ตรา มอก. สามารถ แบ่งได้เป็น 2 ประภท คือ

- มาตรฐานบังคับ (Compulsory Standard) การประกาศก�ำหนดให้ผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตาม มอก. - มาตรฐานทั่วไป (สมัครใจ) (Voluntary Standard)

มอก.สมัครใจ

ขั้นตอนในขั้นต้นของการขอใช้ตรา มอก. 1. ยื่นค�ำขอ / ตรวจสอบค�ำขอ / ลงทะเบียน ประมาณ 1 วันท�ำการ 2. ตรวจประเมินระบบคุณภาพ / เก็บตัวอย่าง / ท�ำรายงาน การตรวจประเมิน ประมาณ 30 วันท�ำการ 3. ทดสอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ไม่นับวัน 4. รับและประเมินผลทดสอบ / สรุปรายงาน / แจ้งผลการพิจารณา ประมาณ 5 วันท�ำการ 5 จัดท�ำใบอนุญาต ประมาณ 7 วันท�ำการ หมายเหตุ : สามารถศึกษามาตรฐานของผลิตภัณฑ์ให้เข้าใจ ได้จากเว็บไซต์ของส�ำนักงานมาตรฐานกระทรวงอุตสาหกรรม www.tisi.go.th และหนังสือมาตรฐาน มอก. ต่างๆ ซึ่งสามารถหาซื้อได้ที่ส�ำนักงานมาตรฐานกระทรวงอุตสาหกรรม ปี ส.อ.ท. 254 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


ผลิตภันฑ์ที่ต้องการใช้ตรา มอก. จะต้องถูกออกแบบให้ สอดคล้องกับมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ผู้ผลิตควรท�ำการทดสอบ เบือ้ งต้นตามวิธกี ารมาตรฐาน เมือ่ แน่ใจว่าผ่านแล้วจึงด�ำเนินการ ขอใช้ตรา มอก. ผู้ผลิตสามารถจัดการทดสอบเบื้องต้นเองได้ (บุคลากร + เครื่องมือทดสอบ + วิธีการทดสอบพร้อม) หรืออาจ ใช้บริการหน่วยงานที่ให้บริการทดสอบที่มีความสามารถตาม มาตรฐานนั้นๆ ศึกษาได้จากเว็บไซต์ของส�ำนักงานมาตรฐาน กระทรวงอุตสาหกรรมในหมวดการรับรองห้องปฏิบตั กิ าร นอกจาก ผลิ ต ภั น ฑ์ ต ้ อ งผ่ า นการทดสอบแล้ ว สถานที่ ผ ลิ ต ขบวนการ การผลิต จะต้องถูกตรวจสอบด้วย ซึ่งจุดประสงค์ของการตรวจ สอบ เพื่อตรวจระบบการควบคุมคุณภาพ ซึ่งเริ่มตั้งแต่

1. การสั่งซื้อวัตถุดิบ ->การตรวจวัตถุดิบ ->การจัดเก็บวัตถุดิบ->ขั้นตอนการผลิต->การควบคุมการผลิต-> การตรวจคุณภาพในขบวนการผลิต->การตรวจคุณภาพก่อนการส่งมอบ->การบรรจุภัณฑ์ 2. การอบรมบุคลากร 3. การควบคุมเครื่องมือวัดและทดสอบที่ใช้ในการผลิต 4. การควบคุมการเปลี่ยนแปลง แก้ไข สเปคของผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป โรงงานผลิตที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน ISO 9000 อย่างเคร่งครัดจะสามารถผ่านขั้นตอนการตรวจโรงงานโดยเจ้าหน้าที่ สมอ.

ขั้นตอนการด�ำเนินงานส�ำหรับผู้ผลิตในประเทศ

ขั้นตอนการด�ำเนินงานส�ำหรับผู้นำ� เข้าจากต่างประเทศ

1. ขออนุญาตผลิตจากกระทรวงอุตสาหกรรม 2. จัดเตรียมตัวอย่างเพื่อการทดสอบ 3. เมือ่ ตัวอย่างผ่านการทดสอบ ให้จดั เตรียมการตรวจโรงงาน ครั้งแรก 4. เมื่อผ่านขั้นตอนการตรวจโรงงานครั้งแรกเรียบร้อยแล้ว จึงจะได้รับใบอนุญาตให้ท�ำการผลิตและใช้ตรา มอก. บนผลิตภัณฑ์ 5. ใบอนุญาตการผลิตจะมีผลตลอดไป จนกว่าจะมีการ เปลีย่ นแปลงใดๆ ในเนือ้ หามาตรฐานนัน้ ๆ และเจ้าหน้าที่ สมอ. จะแจ้งให้ผู้ผลิตทราบล่วงหน้า 6. เจ้าหน้าที่ สมอ. จะมีการตรวจติดตามผลโรงงานผลิต เริ่มจากปีถัดไป ปีละครั้ง 7. ผู้ผลิตต้องรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายใดๆ เช่น การทดสอบ ใบอนุญาตการผลิต ค่าเดินทาง ค่าตรวจโรงงานผลิต ครั้งแรก ค่าตรวจติดตามผลโรงงานผลิตในปีถัดไป 8. ผูผ้ ลิตมีหน้าทีต่ อ้ งรับผิดชอบในทางกฎหมายในสินค้านัน้ ๆ

1. ขออนุญาตน�ำเข้าจากกระทรวงอุตสาหกรรม 2. จัดเตรียมตัวอย่างเพื่อการทดสอบ 3. เมื่อตัวอย่างผ่านการทดสอบ ให้จัดเตรียมการตรวจโรงงาน ครั้งแรก 4. เมื่อผ่านขั้นตอนการตรวจโรงงานครั้งแรกเรียบร้อยแล้ว จึงจะได้รับใบอนุญาตให้ใช้ตรา มอก. บนผลิตภัณฑ์ และ น�ำเข้า 5. ใบอนุญาตน�ำเข้าจะมีผลตลอดไป จนกว่าจะมีการเปลี่ยน แปลงใดๆ ในเนื้อหามาตรฐานนั้นๆ และเจ้าหน้าที่ สมอ. จะแจ้งให้ผู้น�ำเข้าทราบล่วงหน้า 6. เจ้าหน้าที่ สมอ. จะมีการตรวจติดตามผลโรงงานผลิต เริ่ม จากปีถัดไป ปีละครั้ง 7. ผู้น�ำเข้าต้องรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายใดๆ เช่น การทดสอบ ใบอนุญาตน�ำเข้า ค่าเดินทาง ค่าตรวจโรงงานผลิตครั้งแรก ค่าตรวจติดตามผลโรงงานผลิตในปีถัดไป 8. ผูน้ ำ� เข้ามีหน้าทีต่ อ้ งรับผิดชอบในทางกฎหมาย ในสินค้านัน้ ๆ

จะเห็นได้วา่ มาตรฐานก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ทุกภาคส่วนของสังคม ไม่วา่ จะเป็นผูบ้ ริโภค ในเรือ่ งของการประหยัด ความ ปลอดภัย อุตสาหกรรมมีการพัฒนาและเติบโต รวมถึงส่งผลให้เศรษฐกิจขยายตัวและสังคมน่าอยู่อีกด้วย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

255


“การเตรียมตัวของผู้ประกอบการตาม

พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550)”

ในสภาวการณ์ ป ั จ จุ บั น ความต้ อ งการใช้ พ ลั ง งานเพื่ อ ตอบสนองการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูง นับเป็นภาระแก่ประเทศในการลงทุนเพื่อ จัดหาพลังงานทั้งในและนอกประเทศไว้ใช้ตามความต้องการที่ เพิ่มขึ้นดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการด�ำเนินการ อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานเพื่ อ ให้ มี ก ารผลิ ต และการใช้ พ ลั ง งานอย่ า ง ประหยัดและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการก่อให้เกิดการผลิต เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงและวัสดุที่ใช้ในการ อนุรกั ษ์พลังงานขึน้ ภายในประเทศนัน้ ยังไม่สามารถเร่งรัดด�ำเนิน งานให้บรรลุเป้าหมายได้ ด้วยเหตุนี้กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) จึงได้ยกร่างกฎหมายส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงานขึ้น เพื่อก�ำหนดมาตรการในการก�ำกับ ดูแล ส่งเสริม และช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้พลังงาน ตามที่ พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ได้ ประกาศใช้มาตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นเวลากว่า 15 ปีแล้ว สถานการณ์ตา่ งๆ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมถึง สภาวการณ์ทางด้านพลังงานได้มีการเปลี่ยนแปลงไป ท�ำให้ บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน และเพือ่ ให้การด�ำเนินการอนุรกั ษ์พลังงานมีประสิทธิภาพและเกิด ความยัง่ ยืน จึงได้แก้ไขเพิม่ เติมบทบัญญัตดิ งั กล่าวเพือ่ ให้สามารถ ก� ำ กั บ และส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งาน การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานให้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและสามารถปรั บ เปลี่ ย นแนวทางการอนุ รั ก ษ์ พลังงานให้ทันต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไป โดยสรุปประเด็นหลัก ในการปรับปรุงแก้ไข ดังนี้ 1. ปรับลดขั้นตอนในเรื่องการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ 2. ก�ำหนดให้มีการใช้ระบบการจัดการพลังงาน 3. เน้นให้มมี าตรฐานการใช้พลังงานส�ำหรับอาคารขนาดใหญ่ ที่สร้างใหม่หรือต่อเติมดัดแปลง 4. ก�ำหนดให้มีมาตรฐานขั้นต�ำ่ ส�ำหรับเครื่องจักร วัสดุ และ อุปกรณ์ 5. ก�ำหนดให้มีบุคลากรตรวจสอบและรับรองระบบการ จัดการพลังงาน ส�ำหรับโรงงานหรืออาคารทีต่ อ้ งด�ำเนินการตามพ.ร.บ.ฯ และ กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องต่างๆ จะต้องมีลักษณะ ดังนี้

ลักษณะของโรงงานหรืออาคารควบคุม เป็นโรงงานหรืออาคารที่มีการติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า (มิเตอร์) ขนาดตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าตัว เดียวหรือหลายตัวรวมกัน มีขนาดตัง้ แต่ 1,175 กิโลโวลต์แอมแปร์ ปี ส.อ.ท. 256 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ขึ้นไป หรือมีการใช้พลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อนจากไอน�้ำ หรือพลังงานสิ้นเปลืองอย่างใดอย่างหนึ่งรวมกันในรอบที่ผ่านมา (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม) คิดเป็นปริมาณ พลังงานเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูลขึ้นไป

หน้าที่ของเจ้าของโรงงานและอาคารควบคุม ตาม พ.ร.บ.ฯ ได้กำ� หนดให้ผทู้ เี่ ป็นเจ้าของโรงงานและอาคาร ควบคุม มีหน้าที่ต้องด�ำเนินการตามกฎหมาย ดังต่อไปนี้ 1. จัดให้มผี รู้ บั ผิดชอบด้านพลังงานทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละจ�ำนวน ตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวงประจ�ำที่โรงงานหรืออาคารควบคุม ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด 2. ต้องด�ำเนินการอนุรกั ษ์พลังงานตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง

หน้าที่ของผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน 1. บ�ำรุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรและ อุปกรณ์ที่ใช้พลังงานเป็นระยะๆ 2. ปรับปรุงวิธีการใช้พลังงานให้เป็นไปตามหลักการอนุรักษ์ พลังงาน 3. ช่วยเจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุมในการจัดการ พลังงานตามกฎกระทรวงว่าด้วยการก�ำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานและอาคารควบคุม 4. ช่วยเจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุมปฏิบัติตามค�ำสั่ง ของอธิบดี

ขั้นตอนการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการ จัดการพลังงานในโรงงานและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 ก�ำหนด ให้เจ้าของโรงงานและอาคารควบคุมต้องด�ำเนินการตามขั้นตอน การจัดการพลังงาน เพือ่ ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุดโดยการจัดการพลังงานนั้น ต้องมีการปฏิบัติอย่างเป็น ขัน้ ตอน รวมทัง้ มีการวางแผนการด�ำเนินการทีด่ แี ละเหมาะสมกับ องค์กรนั้นๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการพลังงาน ดังแสดงในขั้นตอนการจัดการพลังงาน ดังนี้


1. ดำเนินการจัดการพลังงานตามขั้นตอนต างๆ ดังนี้ 1.1

ตั้งคณะทำงานด านการจัดการพลังงาน

1.2

ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต น

1.3

กำหนดนโยบายอนุรักษ พลังงานและประชาสัมพันธ

ว�เคราะห และแก ไขข อบกพร อง 1.8 ทบทวนของการจั ดการพลังงาน

1.7

ตรวจติดตามและประเมินการ จัดการพลังงาน

1.6

1.4 ประเมินศักยภาพการอนุรักษ พลังงาน

1.5

กำหนดเป าหมายและแผนอนุรักษ พลังงาน และแผนการฝ กอบรม และกิจกรรมส งเสร�มการอนุรักษ พลังงาน

ดำเนินการตามแผนอนุรักษ พลังงาน และตรวจสอบ และว�เคราะห ปฏิบัติตามเป าหมายและแผนอนุรักษ พลังงาน

2

จัดทำรายงานการจัดการพลังงาน

3 จัดให มีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานโดยผู ตรวจสอบพลังงาน 4 ส งรายงานจัดการพลังงานที่ ได รับการตรวจสอบและรับรอง ให พพ. ภายในเดือนมีนาคมของทุกป

บทก�ำหนดโทษ 1. เจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุมแจ้งรายละเอียดหรือเหตุผลในการขอผ่อนผัน อันเป็นเท็จ 2. เจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่งของอธิบดีที่สั่งให้ เจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุมแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้พลังงานเพื่อ ตรวจสอบให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นไปตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการ ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง 3. เจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผู้ใดไม่ปฏิบัติ ตามกฎกระทรวงในเรื่องต่างๆ ดังนี้ - การก�ำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธกี ารจัดการพลังงาน ให้เจ้าของโรงงาน หรืออาคารควบคุมต้องปฏิบัติ - การก�ำหนดให้เจ้าของต้องจัดให้มผี รู้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน ประจ�ำโรงงานหรือ อาคารควบคุม ตลอดจนก�ำหนดคุณสมบัติและหน้าที่ 4. เจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุม ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ�ำนวยความสะดวกแก่ พนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งปฏิบัติตามหน้าที่

จ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 1 แสน 5 หมืน่ บาท หรือ ทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ปรับไม่เกิน 5 หมื่นบาท

ปรับไม่เกิน 2 แสนบาท

ปรับไม่เกิน 5 พันบาท

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

257


“ยุทธศาสตร์ดา้ นพลังงานทดแทนและการอนุรกั ษ์พลังงานของประเทศไทย” พลั ง งานเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของ ประเทศและมีความเกี่ยวพันกับการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของคน ทุกคน ความผันผวนด้านราคาพลังงานทีเ่ ราไม่อาจควบคุมได้ อาทิ จากสถานการณ์ความรุนแรงในตะวันออกกลาง หรือจากเหตุภัย พิบัติทางธรรมชาติที่นับวันจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ล้วนแต่มีผลท�ำให้ ราคาพลังงานพุง่ สูงขึน้ และกระทบกับการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันของ เราทุกคนในหลายๆ ด้านอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลทุกชุดทีจ่ ะขึน้ มาบริหารประเทศจึงให้ความ ส�ำคัญกับเรื่องพลังงานเป็นล�ำดับต้นๆ ดังจะเห็นได้จากค�ำแถลง นโยบายของรัฐบาลชุดของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายก รัฐมนตรี ซึ่งได้ก�ำหนดนโยบายด้านพลังงานทดแทนและการ อนุรักษ์พลังงานไว้อย่างชัดเจน อาทิ การส่งเสริมให้มีการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพ การให้นโยบายด้าน พลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ สนับสนุนให้มีการผลิตและใช้ พลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชน หมู่บ้าน และการส่งเสริมการ อนุรกั ษ์พลังงานและประหยัดพลังงานทัง้ ในครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการ และขนส่ง เป็นต้น จากนโยบายดังกล่าวกระทรวงพลังงาน จึ ง น� ำ มาก� ำ หนดเป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาพลั ง งานอย่ า งมี ดุลยภาพต่อสิ่งแวดล้อม อันเป็นหนึ่งในห้ายุทธศาสตร์กระทรวง พลังงานใน พ.ศ. 2554 - 2558 และกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ในฐานะเป็นหน่วยงานหลักของ

กระทรวงพลังงาน ซึง่ มีภารกิจด�ำเนินงานด้านการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานของประเทศ จึงได้น�ำมาจัดท�ำเป็น แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี และแผนส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน 15 ปี เพื่อใช้เป็นแนวทางการด�ำเนินงานของ พพ. ใน อนาคต เพือ่ สนองต่อนโยบายของรัฐบาลและภารกิจของกระทรวง อันจะท�ำให้ประเทศชาติลดการน�ำเข้าพลังงาน ประหยัดเงินตรารัว่ ไหลออกนอกประเทศ เพือ่ สูก้ บั วิกฤตด้านพลังงานซึง่ ประเทศไทย และทั่วโลกก�ำลังเผชิญอยู่ในทุกวันนี้

แผนการด�ำเนินงานด้านการอนุรักษ์พลังงาน ปัจจุบนั พพ. ได้จดั ท�ำแผนส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน 15 ปี คือ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2558 – 2573 โดยวางเป้าหมายลดความเข้มของ พลังงานของประเทศ (Energy Intensity) อัตราส่วนการใช้พลังงาน ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศลงให้ได้ร้อยละ 25 ภายในปี 2573 โดยใช้ค่าความเข้มของพลังงานในปี พ.ศ. 2548 เป็นฐาน นั่นคือจากค่าความเข้มพลังงานในปี 2548 ที่ 9.03 ลดลงเหลือ 8.31, 7.76, และ 6.77 ภายในปี 2558, 2563 และ 2573 ตาม ล�ำดับ ในการทีจ่ ะท�ำให้บรรลุผลตามเป้าหมายดังกล่าว พพ. ได้วาง มาตรการหลักไว้ 3 มาตรการเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินการดัง กล่าวคือ มาตรการทางด้านสังคม เป็นการรณรงค์สร้างจิตส�ำนึก และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้พลังงานในชีวติ ประจ�ำวัน เป็นต้น มาตรการด้านการบริหาร เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการ ด�ำเนินการด้านอนุรกั ษ์พลังงานในรูปแบบต่างๆ ทัง้ ในรูปแบบเงิน ให้เปล่า การจัดเตรียมแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำ หรือการให้ความรู้ ทางด้านเทคนิคการอนุรกั ษ์พลังงานต่างๆ เป็นต้น และสุดท้ายเป็น มาตรการด้านกฎหมาย ซึง่ จะออกมาเพือ่ บังคับให้เกิดการด�ำเนิน การด้านการจัดการพลังงานอย่างจริงจัง ยกตัวอย่างเช่น การออก กฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการ ปี ส.อ.ท. 258 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 เป็นต้น นอกจากก�ำหนดมาตรการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว พพ. ยัง ได้จดั เตรียมเครือ่ งมือสนับสนุนการด�ำเนินการตามมาตรการเหล่า นั้นให้กับประชาชน สถานประกอบการ และอาคารธุรกิจผู้ใช้ พลังงาน เพื่อช่วยกระตุ้นการด�ำเนินการด้านอนุรักษ์พลังงานอีก ทางหนึ่ง เครื่องมือต่างๆ ที่ พพ. ได้จัดเตรียมไว้ อาทิ โครงการเงิน ทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โครงการสินเชื่อพลังงาน โครงการสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี โครงการส่งเสริมการลงทุน ด้านอนุรักษ์พลังงานด้วยการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือ ยกเว้ น อากรขาเข้ า เครื่ อ งจั ก รหรื อ อุ ป กรณ์ ป ระหยั ด พลั ง งาน โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรกั ษ์พลังงานผ่านกองทุน ESCO โครงการส่งเสริมธุรกิจบริษทั จัดการพลังงาน โครงการส่งเสริมการ ออกแบบอาคารเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน และโครงการส่งเสริมวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เป็นต้น โดยสามารถหาราย ละเอียดของโครงการต่างๆ ที่กล่าวมาได้ทางเว็บไซต์ของ กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) www.dede.go.th หรื อสอบถามได้ ที่ ฝ ่ า ยประชาสั มพั นธ์ โทรศัพท์ 0-2223-2593-5


แผนการด�ำเนินงานด้านพลังงานทดแทน สืบเนื่องจากการที่ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้แ ผน แม่บทการพัฒนาพลังงานทดแทนแห่งชาติ 15 ปี (2551– 2565) หรื อ ในชื่ อ ภาษาอั ง กฤษคื อ Renewable Energy Development Plan (REDP) เป็นวาระแห่งชาติเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552 โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ การลด ค่าใช้จา่ ยในการน�ำเข้าน�ำ้ มันจากต่างประเทศ ลดความเสีย่ ง จากการพึง่ พาก๊าซธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟ้า และลด ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังนัน้ เพือ่ ให้สอดคล้อง กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ดั ง กล่ า ว พพ. จึ ง ได้ ก� ำ หนดแผนการพั ฒ นา พลังงานทดแทน 15 ปี คือ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2565 โดยวาง เป้าหมายการผลิตและใช้พลังงานทดแทนให้ได้ร้อยละ 20 ของ ปริมาณการใช้พลังงานโดยรวมของประเทศ ซึ่งในการด�ำเนินการ จะแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะสั้นภายในปี 2554 จะให้การส่ง เสริมและสนับสนุนด้านการเงินแก่เทคโนโลยีดา้ นพลังงานทดแทน ที่มีอยู่ในปัจจุบัน มีเป้าหมายร้อยละ 15.6 ส่วนในระยะกลางจะ มุง่ เน้นการพัฒนาต้นแบบชุมชนสีเขียว (Green Community) และ การสนับสนุนการวิจัยเทคโนโลยีใหม่ๆ และในระยะยาวนั้น จะ เป็นการให้การส่งเสริมเทคโนโลยีขั้นสูง อาทิ พลังงานไฮโดรเยน และการน�ำต้นแบบชุมชนสีเขียวไปด�ำเนินการ เป็นต้น โดยมี เป้าหมายใน 2 ระยะสุดท้ายอยูท่ รี่ อ้ ยละ 19.1 และ 20.3 ตามล�ำดับ ในด้านการส่งเสริมด้านพลังงานทดแทน อันได้แก่ พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม กังหันน�ำ้ ขนาดเล็ก ก๊าซชีวภาพ และเชื้อ เพลิงชีวภาพนั้น พพ. ได้แบ่งเป้าหมายออกเป็น 4 กลุ่มย่อยๆ คือ ในกลุ่มที่ 1 พลังงานแสงอาทิตย์และลมมีเป้าหมายส่งเสริมให้ได้ 1,300 MW (แบ่งเป็นพลังงานแสงอาทิตย์ 500 MW และพลังงาน ลม 800 MW) กลุ่มที่ 2 ไฟฟ้าพลังน�ำ ้ 320 MW กลุ่มที่ 3 พลังงาน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และขยะรวมกัน 3,980 MW (3,700 MW, 120 MW และ 160 MW ส�ำหรับชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และขยะตามล�ำดับ) และในกลุม่ สุดท้าย คือเชือ้ เพลิงชีวภาพจะท�ำการส่งเสริมให้มกี าร ใช้ 13.5 ล้านลิตรต่อวัน หรือทดแทนน�ำ้ มันให้ได้ประมาณร้อยละ 20 (ไม่รวม NGV)

เครื่องมือที่ พพ. เตรียมไว้เพื่อผลักดันการด�ำเนินการตาม แผนการด�ำเนินงานด้านพลังงานทดแทนทีก่ ล่าวมา อาทิ โครงการ เงินทุนหมุนเวียนส�ำหรับโครงการด้านพลังงานทดแทน โครงการ เงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำผ่านทางสถาบันการเงินต่างๆ โครงการสินเชื่อ พลังงาน การร่วมทุนโครงการด้านพลังงานทดแทนโดยใช้กองทุน ESCO การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับโครงการด้าน พลังงานทดแทน และการให้สว่ นเพิม่ (Adder) ในการรับซือ้ ไฟฟ้า จากโครงการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทน ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น การรับซื้อในอัตราคงที่ (Feed in Tariff) ในอนาคต เป็นต้น

ส�ำหรับความพยายามในการลดความเข้มในการใช้พลังงาน และการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนภายในประเทศก็เพื่อ ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ลดการน�ำเข้า พลังงานจากต่างประเทศ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวม แต่การจะไปให้ถึงเป้าหมายดังกล่าว จ�ำเป็นจะต้องอาศัยความ ร่วมแรงร่วมใจของสถานประกอบการทัว่ ประเทศ รวมถึงประชาชน ทุกภาคส่วน ทีจ่ ะต้องสร้างจิตส�ำนึกในการประหยัดพลังงานให้เกิด ขึ้นอย่างแท้จริง และแม้ว่าการด�ำเนินมาตรการประหยัดพลังงาน หรือการลงทุนด้านการผลิตพลังงานทดแทนต่างๆ อาจต้องใช้เงิน ลงทุนที่ค่อนข้างสูง แต่สุดท้ายประโยชน์และผลก�ำไรที่ได้ก็จะตก อยู่กับผู้ลงทุนนั่นเอง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

259


แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี พลังงานเป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิต และการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศไทยซึ่ง เป็นประเทศก�ำลังพัฒนาที่มีความต้องการพลังงานเพิ่มมากขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง แต่ เ นื่ อ งจากประเทศไทยมี ท รั พ ยากรพลั ง งาน ค่อนข้างจ�ำกัด ต้องพึ่งพาการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อความมั่นคงในการจัดหาพลังงานในอนาคต นอกจากนี้ ราคาพลังงานยังมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น ก่อให้เกิดเป็นภาระต่อผู้ใช้ พลังงาน ความสามารถในการแข่งขันเชิงเศรษฐกิจ และดุลการค้า ระหว่างประเทศ นอกจากปัญหาด้านพลังงานแล้ว ประเทศไทย ยังต้องเผชิญกับความท้าทายด้านผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจาก การใช้พลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศอันเนื่องมาจากสภาวะโลกร้อน การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลังงาน เป็นมาตรการส�ำคัญที่จะเผชิญกับประเด็นความท้าทาย ดังกล่าว เนื่องจากมาตรการประเภทนี้มักมีต้นทุนสุทธิต�่ำ และ ด�ำเนินการได้รวดเร็วซึ่งมีส่วนส�ำคัญในการเพิ่มความมั่นคงทาง ด้านพลังงาน ลดการพึ่งพาการน�ำเข้าพลังงาน และลดต้นทุนการ ประกอบธุรกิจ นอกจากนี้ ยังช่วยลดผลกระทบสิง่ แวดล้อมและการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ด้ ว ยเหตุ นี้ กระทรวงพลั ง งานได้ ริ เ ริ่ ม จั ด ท� ำ แผนอนุ รั ก ษ์ พลังงานขึน้ มา โดยเป็นกรอบแผนระยะยาว 20 ปี ในภาคเศรษฐกิจ หลัก ได้แก่ ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรมการผลิต และภาคธุรกิจ ครัวเรือน ซึ่งจะท�ำให้ได้เป้าหมายและมาตรการที่น�ำไปสู่การ อนุรักษ์พลังงานในแต่ละภาคเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ และ เพือ่ ให้หน่วยงานต่างๆ ได้นำ� ไปจัดท�ำเป็นแผนปฏิบตั กิ ารให้เกิดผล ส�ำเร็จในทิศทางเดียวกัน อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่าง ยั่งยืนต่อไป สาระส�ำคัญของแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี

(พ.ศ. 2554 - 2573)

(1) สมมติ ฐ านที่ ใ ช้ ใ นการคาดการณ์ ค วามต้ อ งการ พลั ง งานในอนาคต ประกอบด้ ว ย 1) อั ต ราการเติ บ โตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) เฉลี่ยร้อยละ 4.2 ต่อปี 2) อัตราการเพิ่มของประชากรประมาณร้อยละ 0.3 ต่อปี 3) แบบ ั นาขึน้ ใช้ขอ้ มูลสถิตยิ อ้ นหลัง 20 ปี ตัง้ แต่ปี 2533 จนถึง จ�ำลองทีพ่ ฒ ปี 2553 โดยได้ใช้ปี 2553 (ค.ศ. 2010) เป็นปีฐาน (2) วัตถุประสงค์ของแผน เพือ่ ก�ำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และแนวทางในการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานของประเทศใน ระยะสั้น 5 ปี และระยะยาว 20 ปี ทั้งในภาพรวมของประเทศ และ ในรายภาคเศรษฐกิจทีม่ กี ารใช้พลังงานมาก ได้แก่ ภาคขนส่ง ภาค อุตสาหกรรม ภาคอาคารธุรกิจ และภาคบ้านอยู่อาศัย (3) เป้าหมาย เพื่อลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ลง 25% ในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2548 หรือลดการใช้ พลังงานลง 20% ในปี 2573 หรือประมาณ 30,000 พันตันเทียบ เท่าน�ำ้ มันดิบ (ktoe) จากภาคขนส่ง 13,300 ktoe ภาคอุตสาหกรรม ปี ส.อ.ท. 260 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

11,300 ktoe และภาคอาคารธุรกิจและบ้านอยู่อาศัย 5,400 ktoe (4) ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการขั บ เคลื่ อ นแผนสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ประกอบด้วย 1) การใช้มาตรการผสมผสานทั้งการบังคับและการ ส่งเสริมสนับสนุนจูงใจ 2) การใช้มาตรการทีส่ ง่ ผลกระทบในวงกว้าง การสร้างความตระหนัก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทิศทาง ตลาด 3) การให้ภาคเอกชนเป็นหุ้นส่วนส�ำคัญในการส่งเสริมและ ด�ำเนินการเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน 4) การกระจายงานด้าน อนุรกั ษ์พลังงานไปยังหน่วยงานทีม่ คี วามพร้อม 5) การใช้มอื อาชีพ และบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) เป็นกลไกส�ำคัญ 6) การเพิ่ม การพึ่งพาตนเองและโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง (5) กลยุทธ์และมาตรการในการขับเคลื่อนแผนสู่การ ปฏิบัติ ประกอบด้วยกลยุทธ์ 5 ด้าน ซึ่งแบ่งออกเป็น 16 มาตรการ โดยมีกลยุทธ์ต่างๆ ดังนี้ 1) กลยุทธ์ด้านการบังคับด้วยกฎระเบียบ และมาตรฐานจ�ำนวน 4 มาตรการ 2) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน จ�ำนวน 5 มาตรการ 3) กลยุทธ์ด้าน การสร้ า งความตระหนั ก และเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมจ� ำ นวน 3 มาตรการ 4) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมจ�ำนวน 2 มาตรการ 5) กลยุทธ์ด้านการพัฒนาก�ำลังคน และความสามารถเชิงสถาบันจ�ำนวน 2 มาตรการ (6) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ก่อให้เกิดการประหยัด พลังงานขัน้ สุดท้ายสะสมจนถึงปี 2573 รวมประมาณ 289,300 ktoe หรือเฉลี่ยปีละ 14,500 ktoe และหลีกเลี่ยงการปล่อยก๊าซ CO2 ได้ ประมาณ 968 ล้านตัน หรือเฉลีย่ ปีละ 48 ล้านตัน หากคิดเป็นมูลค่า ทางการเงินจะส่งผลให้เกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายพลังงานสะสม ประมาณ 5.4 ล้านล้านบาท หรือเฉลี่ย 271,700 ล้านบาทต่อปี (7) กรอบงบประมาณตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ในช่วง 5 ปีแรก (พ.ศ. 2554 - 2558) คาดว่าจะต้องใช้เงินสนับสนุน จากภาครัฐประมาณ 29,500 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 5,900 ล้านบาท ต่อปี โดยแยกเป็นประเภทค่าใช้จา่ ยตามภาคเศรษฐกิจ ดังนี้ 1) ภาค อุตสาหกรรมจ�ำนวน 11,000 ล้านบาท 2) ภาคขนส่ง จ�ำนวน 9,500 ล้านบาท 3) ภาคอาคารธุรกิจขนาดเล็กและบ้านอยู่อาศัย จ�ำนวน 5,000 ล้านบาท 4) ภาคอาคารธุรกิจขนาดใหญ่ จ�ำนวน 4,000 ล้าน บาท อย่างไรก็ตาม เพื่อให้แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี มีความ ครบถ้วนสมบูรณ์ กระทรวงพลังงานจึงได้จดั ให้มกี ารประชุมสัมมนา รับฟังความคิดเห็นต่อแผนดังกล่าวจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป ใน 5 ภูมิภาคทั่วประเทศ โดยจัดขึ้นที่จังหวัด เชียงใหม่ สงขลา นครราชสีมา ชลบุรี และกรุงเทพฯ เพื่อน�ำข้อ คิดเห็นทีไ่ ด้รบั จากผูเ้ ข้าร่วมการประชุมมาปรับปรุงแผนให้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในการน�ำแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ไปสู่การปฏิบัติที่ เป็นรูปธรรม จะต้องมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการภายใต้คณะ กรรมการบริหารนโยบายพลังงานขึ้นเพื่อจัดท�ำแผนปฏิบัติการ ภายใต้กรอบแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปีฉบับนี้ ให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องน�ำไปด�ำเนินงานต่อไป


พ.ร.บ.วัตถุอันตราย หลังจากจบเรือ่ ง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 แล้วก็ขอต่ออีกสัก พ.ร.บ. แล้วกัน ซึ่งก็เป็นสิ่งส�ำคัญที่ผู้ ประกอบการต้องรับทราบไว้นั่นคือ “พ.ร.บ.วัตถุอันตราย” ซึ่งเป็น กฎหมายที่มุ่งเน้นแนวทางในการก�ำกับดูแลการด�ำเนินการเกี่ยว กับวัตถุอันตรายให้ปฏิบัติตามกฎหมายและเน้นการควบคุมแบบ ทัง้ ระบบและครบวงจร โดยมีการก�ำหนดหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวมและสิง่ แวดล้อม หากผูป้ ระกอบการขาดความรับผิดชอบ ก็จะมีมาตรการและบทลงโทษที่เข้มงวดกว่าเดิม ค�ำว่า “วัตถุอันตราย” (hazardous substance) หมายถึง สารหรือวัตถุทมี่ คี ณ ุ สมบัตทิ างเคมีหรือทางกายภาพโดยตัวของมัน เอง หรือเมื่อสัมผัสกับสารนั้นแล้วท�ำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อนามัยของมนุษย์ ต่อทรัพย์สินและต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งในพระราช บัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 “วัตถุอันตราย” หมายถึงวัตถุ ดังต่อไปนี้ 1. วัตถุระเบิด 2. วัตถุไวไฟ 3. วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ 4. วัตถุมีพิษ 5. วัตถุที่ท�ำให้เกิดโรค 6. วัตถุกัมมันตรังสี 7. วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 8. วัตถุกัดกร่อน 9. วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง 10. วัตถุอย่างอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจท�ำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม

มาตรา 18 แห่ง พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ก�ำหนดให้แบ่งวัตถุอันตราย ออกเป็น 4 ชนิด ตามความจ�ำเป็นแก่การควบคุม ดังนี้ (1) วัตถุอันตรายชนิดที่ 1

ได้แก่ วัตถุอันตรายที่การผลิต การน�ำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ก�ำหนด

(2) วัตถุอันตรายชนิดที่ 2

ได้แก่ วัตถุอันตรายที่การผลิต การน�ำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ทราบก่ อ นและต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร ที่ก�ำหนดด้วย

(3) วัตถุอันตรายชนิดที่ 3

ได้แก่ วัตถุอันตรายที่การผลิต การน�ำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องได้รับใบอนุญาต

(4) วัตถุอันตรายชนิดที่ 4

ได้แก่ วัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การน�ำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

261


หลักเกณฑ์ ในการน�ำเข้า-ส่งออก ที่ควรทราบ ส�ำหรับวัตถุอันตราย ยุทธภัณฑ์ (ประเภทสารเคมี) 1. กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้กำ� หนดหลักเกณฑ์การน�ำเข้าส่งออกวัตถุอันตราย ชนิดที่ 1-3 ดังนี้ • วัตถุอนั ตรายชนิดที่ 1 : ไม่ตอ้ งขออนุญาต แต่ตอ้ งยืน่ แจ้ง ตามแบบฟอร์ม วอ./อก.6 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ ก่อนน�ำเข้า หรือส่งออกจากด่านศุลกากร • วัตถุอนั ตรายชนิดที่ 2 : จะต้องขอขึน้ ทะเบียนวัตถุอนั ตราย และยื่นแจ้ง วอ./อก.6 ก่อนน�ำเข้าหรือส่งออกจากด่านศุลกากร • วัตถุอนั ตรายชนิดที่ 3 : จะต้องขอขึน้ ทะเบียนวัตถุอนั ตราย และต้องมีใบอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนน�ำเข้าหรือ ส่งออกจากด่านศุลกากรและต้องยื่นแจ้ง วอ./อก.6 ก่อนน�ำเข้า หรือส่งออกจากด่านศุลกากร • วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 : ปกติห้ามมิให้มีการผลิต การน�ำ เข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองเว้นแต่บางกรณีอาจได้ รับการยกเว้นตามความจ�ำเป็น หมายเหตุ : ส�ำหรับส่วนราชการอืน่ อาจมีระเบียบปฏิบตั แิ ตก ต่างกันไป โดยเฉพาะระเบียบปฏิบัติ ส�ำหรับวัตถุอันตรายชนิดที่ 1โปรดสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมจากหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล วัตถุอันตรายชนิดนั้นๆ 2. สารเคมีใดที่เป็นวัตถุอันตรายและอยู่ในข่ายควบคุมของ หน่วยงานมากกว่า 1 แห่ง การพิจารณาว่าควรขออนุญาตหน่วย งานใดให้ดทู เี่ งือ่ นไข เช่น แคลเซียมไฮโพคลอไรต์ เป็นวัตถุอนั ตราย ชนิดที่ 1 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมประมง และเป็นวัตถุ อันตรายชนิดที่ 3 ของส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ถ้าผู้น�ำของเข้ามามีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำไปใช้ในทางการประมง และการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ �้ ฯลฯ ก็อยูใ่ นข่ายควบคุมของกรมประมง ถ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้ในการซักผ้าขาว การฆ่าเชือ้ โรค หรือก�ำจัด กลิ่นในสระว่ายน�้ำ ถือว่าเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 อยู่ในการ ควบคุมของส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา นอกเหนือจาก นี้ควบคุมโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ไม่ต้องขออนุญาตจากทุก หน่วยงาน เป็นต้น) สารเคมีใดที่เป็นวัตถุอันตรายและจัดเป็น ยุทธภัณฑ์ด้วย และไม่มีข้อยกเว้นอื่นใดก�ำหนดไว้ ให้ถือว่าต้อง ขออนุญาตจากกระทรวงกลาโหมทุกกรณีไป 3. สารเคมีบางชนิดมีมากกว่า 1 รหัสสถิติ การพิจารณาว่าจะ ต้องส�ำแดงรหัสสถิติใด ให้ค�ำนึงถึงหลักเกณฑ์การตีความพิกัด อัตราศุลกากรในภาค 1 แห่งพระราชก�ำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ประกอบด้วย เช่น เป็นสารเคมีตวั เดีย่ ว (ตอนที่ 28–29) หรือเป็นผลิตภัณฑ์ (ตอนที่ 36-38) เป็นต้น กรณีสารเคมีใดที่ไม่ ระบุสูตรโครงสร้างทางเคมีโดยเฉพาะ (เช่น ก�ำหนดเป็นกลุ่ม สารเคมี เป็ น ต้ น ) และไม่ ส ามารถจั ด เข้ า ประเภทพิ กั ด ฯและ รหัสสถิติ (10 หลัก) ได้ จะก�ำหนดเฉพาะประเภทพิกัดฯ 4 หลัก หรือให้จ�ำแนกประเภทพิกัดฯ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์ในช่อง หมายเหตุ / เงื่อนไขการน�ำเข้า-ส่งออก ปี ส.อ.ท. 262 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

4. สารท�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (Ozone Depleting Substances-ODS) ประกอบด้วยสารเคมีหรือกลุ่มสารเคมี ดังนี้ • Chlorofluorocarbons ( CFCs ) • Hydrochlorofluorocarbons ( HCFCs ) • Halons • Hydrobromofluorocarbons ( HBFCs ) • Bromochloromethane • Methyl Chloroform ( 1,1,1-Trichloroethane ) • Carbon Tetrachloride • Methyl Bromide สารท�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซน ชนิดใดที่ประกาศเป็นวัตถุ อันตรายแล้ว จะระบุ “ ODS ” ไว้ในช่องหมายเหตุ / เงือ่ นไขการน�ำ เข้า-ส่งออก เพื่อเป็นข้อสังเกต 5. สารเคมีทเี่ ป็นวัตถุอนั ตรายหรือยุทธภัณฑ์ ผูน้ ำ� ของเข้าหรือ ผู้ส่งของออกต้องส�ำแดงรายละเอียดของใบอนุญาต ทะเบียน หรือเอกสารอืน่ ในช่องใบอนุญาตของใบขนสินค้า ตามรูปแบบใหม่ (15 หลั ก ) ตามแบบที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นประกาศกรมศุ ล กากร ที่ 26/2544 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2544 จะเห็นได้ว่าสาระส�ำคัญของ พ.ร.บ. นี้ คือ การผลิต การน�ำ เข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง จะต้องปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างไร ดังนั้นในบทความต่อไปจึงจะขอพูดถึง REACH ซึ่งเป็นกฎหมายของสหภาพยุโรปว่าด้วยการจดทะเบียน การ ประเมิน การอนุญาต และการจ�ำกัดการใช้สารเคมี ต่อเนื่อง จากบทความนี้ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้อ่านได้มากยิ่งขึ้น


สาระเกี่ยวกับ REACH อย่างที่กล่าวไว้ตอนท้ายบทความที่แล้วว่า ในบทความนี้จะ น�ำเสนอเรื่องของ REACH ก่อนอื่นเราต้องมาท�ำความรู้จักกับ ค�ำว่า REACH ว่าคืออะไร ซึ่งผู้ประกอบการไทยจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องชัดเจนเรือ่ งเงือ่ นไขต่าง ๆ และระเบียบปฏิบตั ิ ของกฎหมายนี้ REACH หรือ Registration Evaluation and Authorization of Chemicals คือ กฎหมายของสหภาพยุโรปว่าด้วยการจด ทะเบียน การตรวจสอบหรือการประเมิน การขออนุญาต และการ จ�ำกัดการผลิตหรือการใช้สารเคมี ซึ่งเกิดจากการน�ำสาระส�ำคัญ ของกฎหมายทีบ่ งั คับใช้อยูเ่ ดิมกว่า 40 ฉบับมาปรับปรุง โดยไม่ให้ มีความซ�้ำซ้อนหรือขัดแย้งกับกฎหมายควบคุมสารเคมีอื่นๆ อีก หลายฉบับที่ยังคงบังคับใช้อยู่ เช่น กฎหมายเกี่ยวกับยา เครื่อง ส�ำอาง หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายเกี่ยวกับความ ปลอดภัยในสถานประกอบการ กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์

ซึง่ ในกฎหมาย REACH นีจ้ ะมีผทู้ เี่ กีย่ วข้องสามารถแบ่งออก ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1. ผู้ประกอบการ ประกอบด้วย - ผู้ผลิตสารเคมี (Manufactures of substances) - ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ (Producers of articles) - ผู้น�ำเข้าสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์ (Importers of Substances or articles) - ผู้ใช้ปลายน�้ำ (Downstream Users) - ผู้จ�ำหน่าย (Distributors) 2. หน่วยงานซึ่งทรงอ�ำนาจ ได้แก่ องค์กรกลาง รัฐสมาชิก และคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป 3. บุคคลที่สาม หมายถึง องค์กรเอกชน หรือสาธารณะ เช่น บุคคลหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานทีไ่ ม่ใช่ของรัฐ และประเทศนอก สหภาพยุโรป

หน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในกฎหมาย REACH European Chemicals Agency, ECHA

หน่วยงานซึ่งทรงอ�ำนาจ ของรัฐสมาชิก

• ยื่นข้อมูล • จัดท�ำ Risk assessment และ risk management • ปรับข้อมูลที่เคยยื่น จดทะเบียนไว้ให้ทันสมัย อยู่เสมอ • น�ำเสนอวิธีการตรวจสอบ (testing proposal) การประเมิน (Evaluation)

• จัดเก็บข้อมูลที่ได้รับ จากการจดทะเบียน • ตรวจสอบความ สมบูรณ์ของข้อมูล • จัดระบบฐานข้อมูล และเผยแพร่ สู่สาธารณะ

• พิจารณาตัดสินการรับ/ ปฏิเสธ การจดทะเบียน และติดตามความคืบหน้า ของการด�ำเนินการ • ก�ำกับดูแลให้มีการ จดทะเบียน

ให้ข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่ถูกเรียกขอ

ประสานงานและให้การ สนับสนุนในขั้นตอน การพิจารณาตัดสิน

• ทบทวนข้อมูลผลประเมิน ที่ได้รับ • ตัดสินว่าจะต้องขอข้อมูล เพิ่มเติมหรือไม่ • พิจารณาตัดสิน และสรุปผลประเมิน

ผู้ประกอบการ

คณะกรรมาธิการ (Commission)

การจดทะเบียน (Registration)

พิจารณาตัดสินเฉพาะในกรณี ที่ไม่สามารถตกลงกันได้ใน ระหว่างหน่วยงาน ซึ่งทรงอ�ำนาจของรัฐสมาชิก

การอนุญาต (Authorisation) ยื่นขออนุญาต

• ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ การจัดล�ำดับความส�ำคัญ เพื่อการอนุญาต • ให้การสนับสนุน ในขั้นตอนการพิจารณา

ประเทศสมาชิกอนุญาต พิจารณาตัดสินล�ำดับ เฉพาะในกรณีที่การใช้สารเคมี ความส�ำคัญและการอนุญาต จ�ำกัดอยู่ในเขตประเทศของตน ส�ำหรับในเขตประชาคมทั้งหมด และไม่ได้จ�ำหน่ายทั่วไป ในประชาคม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

263


การจ�ำกัดการใช้สารเคมี (Restriction) น�ำเสนอผลประเมินเกี่ยวกับ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม

ให้ข้อคิดเห็นและข้อสังเกต

ให้การเสนอแนะ เกี่ยวกับการจ�ำกัดฯ

พิจารณาตัดสินเพื่อจ�ำกัด การผลิตการจ�ำหน่าย และการใช้ในเขตประชาคม

อื่นๆ ให้ข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่ถูกเรียกขอ

ประสานงานและให้การ • ทบทวนข้อมูลผลประเมินที่ได้รับ • ตัดสินว่าจะต้องขอข้อมูล สนับสนุนในขั้นตอน เพิม่ เติมหรือไม่ การพิจารณาตัดสิน • พิจารณาตัดสิน และสรุปผลประเมิน

พิจารณาตัดสินเฉพาะในกรณี ที่ไม่สามารถตกลงกันได้ ในระหว่างหน่วยงาน ซึ่งทรงอ�ำนาจของรัฐสมาชิก

กระบวนการของกฎหมาย REACH ประกอบด้วย 1. การจดทะเบียน (Registration)

ผู้ผลิตและผู้น�ำเข้าสารเคมีเพื่อจ�ำหน่ายในตลาดร่วมยุโรป ปริมาณรวมตั้งแต่ 1 ตัน/ปี/ราย ต้องจดทะเบียนสารเคมีที่ผลิต หรือน�ำเข้าโดยยื่นเสนอข้อมูลทางเทคนิค (technical dossier) เกี่ยวกับคุณสมบัติและพิษของสารเคมีให้ Central Agency หากปริ ม าณการผลิ ต หรื อ น� ำ เข้ า สารเคมี ป ริ ม าณเท่ า กั บ หรื อ มากกว่า 10 ตัน/ปี ผู้จดทะเบียนจะต้องท�ำรายการประเมินความ เสี่ยงเสนอด้วย เมื่อองค์กรกลางได้รับ และตรวจความครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูลและรายงานแล้ว ก็จะส่งให้กับหน่วยงานของ ประเทศสมาชิก(Member State Agency (MA)) ตรวจประเมิน ต่อไป

2. การขออนุญาตใช้สารเคมี (Authorization)

ผู้ผลิตหรือผู้น�ำเข้าสารเคมี ต้องยื่นเสนอข้อมูลและรายงาน การประเมินความเสี่ยง เพื่อขออนุญาตก่อนการผลิต ใช้ หรือวาง จ�ำหน่ายสารเคมีที่ต้องระมัดระวังในการใช้และการสัมผัสเป็น อย่างมาก (high concerned substances) ได้แก่ สารกลุ่ม CMR และสารทีม่ พี ษิ ตกค้างยาวนาน (Persistent Organic Pollutants, POPs) ซึ่งมีราว 2,000 รายการ และผู้ขออนุญาตต้องพิสูจน์ให้ เห็นว่า สามารถผลิตหรือใช้สารนั้นตามวิธีและเงื่อนไขที่ก�ำหนด เพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะได้อย่างปลอดภัย พร้อมกันนี้ ผูข้ ออนุญาต ต้องเสนอแนวทางการใช้สารเคมีหรือกระบวนการอืน่ แทนสารหรือ กระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงที่ใช้อยู่ให้พิจารณาด้วย หน่วยงาน ของประเทศสมาชิกมีอ�ำนาจในการอนุญาตให้ใช้สารเฉพาะใน ประเทศของตนเท่านัน้ รายชือ่ สารทีต่ อ้ งขออนุญาตมีการประกาศ อยู่ในภาคผนวก XIV

3. การจ�ำกัดการผลิต การจ�ำหน่าย หรือใช้สารเคมี (Restriction)

ในกรณีทจี่ ำ� เป็นต้องใช้สารเคมีทมี่ คี วามเสีย่ งต่ออันตรายเป็น อย่างมากด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจและสังคม เพราะไม่สามารถ ใช้สารอื่นที่มีอันตรายน้อยกว่า หรือไม่สามารถใช้วิธีอื่นแทนได้ คณะกรรมาธิการฯ จะก�ำหนดให้มีการผลิตหรือใช้สารอย่างจ�ำกัด ในประเทศของสหภาพยุโรปได้ โดยหน่วยงานของประเทศสมาชิก ต้ อ งดู แ ลให้ ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ใช้ ที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไข ปี ส.อ.ท. 264 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

อย่างเคร่งครัด รายการสารที่ถูกจ�ำกัดการใช้จะปรากฏในภาค ผนวก XVII ของกฎหมาย

4. การประเมิน (Evaluation) กระบวนการประเมิน แบ่งเป็น

ก. การประเมินข้อมูลทีย่ นื่ จดทะเบียน (Dossier Evaluation) เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์และความถูกต้องของข้อมูลที่ยื่น จดทะเบียน ข. การประเมินความปลอดภัยของสารเคมี (Substance Evaluation) โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากท�ำนายคุณสมบัติของสารนั้น ด้วย QSARs ประกอบการพิจารณา เพื่อพิจารณาว่ามีสารเคมีใด ที่ควรจะมีการเรียกข้อมูลเพิ่มเติมหากต้องเสนอข้อมูลเพิ่มเติม ผู ้ จ ดทะเบี ย นต้ อ งน� ำ เสนอแผนการศึ ก ษาทดลอง (Testing Proposal) ส่วนที่ต้องเพิ่ม เติม ให้พิจ ารณาเห็น ชอบก่อนเพื่อ ลดความซ�้ำซ้อนในการทดสอบโดยเฉพาะกับสัตว์ทดลอง สารเคมีทอี่ ยูใ่ นข่ายต้องประเมิน คือ สารทีม่ ปี ริมาณการผลิต หรือน�ำเข้าปีละ 100 ตันขึ้นไป ซึ่งคาดว่าจะมีราว 5,000 ชนิด รวม ถึงสารทีแ่ ม้จะมีการผลิตหรือน�ำเข้าน้อย แต่ถา้ เป็นสารทีต่ อ้ งระวัง (substance of concern) เช่น สารก่อมะเร็ง สารก่อการกลายพันธุ์ และสารทีม่ ผี ลต่อระบบสืบพันธุ์ (CMR) ก็ตอ้ งรับการตรวจประเมิน ด้วย

สารที่อยู่ในข่ายที่ต้องจดทะเบียน

1. สารเคมีและสารประกอบของสารเคมี (Substance and its compound) ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ หรือสังเคราะห์ขนึ้ และ หมายรวมถึงสารเจือปน (Additive) ทีใ่ ส่ไว้เพือ่ ช่วยให้สารนัน้ คงตัว และสิ่งปนเปื้อน (Impurity) ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตที่มีอยู่ ในสารนั้นด้วย 2. สารเคมีในของผสม (Preparation/mixture) ที่อยู่ในรูป ของแข็งหรือสารละลายที่ประกอบด้วยสารเคมีตั้งแต่สองชนิด ขึ้นไป 3. สารที่มีอยู่ในผลิตภัณฑ์ (Substances in articles / products) เช่น เสื้อผ้า รองเท้า หากสารนั้นแพร่กระจายออกมา ขณะใช้งานปกติ และมีปริมาณในผลิตภัณฑ์ที่น�ำเข้าหรือผลิตได้ ทั้งปีเกินกว่า 1 ตัน


เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet) เอกสารข้อมูลความปลอดภัย เป็นเอกสารส�ำคัญที่ใช้สื่อสาร ความรู ้ ที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การจั ด การเพื่ อ ความปลอดภั ย ของผู ้ เกี่ยวข้องกับสารเคมีนั้นๆ ทุกระดับ

ก. ข้อก�ำหนดของกฎหมายเกีย่ วกับเอกสารข้อมูลความ ปลอดภัย

ระเบียบ REACH ก�ำหนดให้ผู้ผลิต (manufacturer) ผู้น�ำเข้า (importer) หรือผู้จัดจ�ำหน่าย (distributor) สารเคมี (substance) หรือเคมีภัณฑ์ (preparation) จะต้องจัดท�ำเอกสารข้อมูลความ ปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) ของสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์ ในกรณีดังต่อไปนี้ 1. สารเคมีหรือเคมีภัณฑ์นั้น จัดเป็นสารอันตรายตามข้อ ก�ำหนด Directive 67/548/EEC หรือ 1999/45/EC โดยแบ่งสาร อันตรายออกเป็น 15 ประเภท 2. สารเคมี ที่ จั ด เป็ น สารประเภท Persistent, Bioaccumulative and Toxic substances (PBT) และ very Persistent and very Bio-accumulative substances (vPvB) ตามเกณฑ์ที่ระเบียบ REACH ระบุไว้ในภาคผนวก 13 3. สารเคมีที่อยู่ในเกณฑ์ต้องขออนุญาต (Authorization) ก่อนการผลิตหรือน�ำมาผลิตผลิตภัณฑ์ตามที่ระเบียบ REACH มาตราที่ 57 ระบุไว้ 4. เคมีภัณฑ์ที่ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทสารอันตราย แต่มีสาร อันตรายเป็นส่วนผสม แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ดังนี้ ก. เคมีภัณฑ์ที่ไม่อยู่ในสถานะก๊าซ และมีส่วนผสมของ สารเคมีที่จัดว่าเป็นสารอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอยู่ใน ปริมาณตั้งแต่ 1% โดยน�้ำหนัก ข. เคมีภณ ั ฑ์ทอี่ ยูใ่ นสถานะก๊าซ และมีสว่ นผสมของสาร เคมีที่จัดว่าเป็นสารอันตรายต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม อยู่ใน ปริมาณตั้งแต่ 0.2% โดยปริมาตร ค. เคมีภัณฑ์ที่ไม่อยู่ในสถานะก๊าซ และมีส่วนผสมของ สารเคมีที่จัดอยู่ในประเภท Persistent, Bio-accumulative and Toxic substances (PBT) และ very Persistent and very Bioaccumulative substances (vPvB) อยู่ในปริมาณ ตั้งแต่ 0.1% โดยน�ำ้ หนัก ง. เคมีภณ ั ฑ์ทมี่ สี ารเคมีทตี่ อ้ งขออนุญาต (Authorization) ก่อนการผลิต หรือน�ำมาผลิตผลิตภัณฑ์ตามระเบียบ REACH จ. เคมีภัณฑ์ที่มีสารเคมีที่สหภาพจ�ำกัดปริมาณการรับ สัมผัสในสถานประกอบการ (Community workplace exposure limits)

ข. รายละเอียดของ Safety Data Sheet (SDS)

ระเบียบ REACH ก�ำหนดให้ SDS มีข้อมูลรายละเอียด รวม 16 หัวข้อโดยเรียงล�ำดับ ดังนี้ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี บริษัทผู้ผลิต และจัดจ�ำหน่าย 2. ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย

3. ส่วนประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม 4. มาตรการปฐมพยาบาล 5. มาตรการผจญเพลิง 6. มาตรการจัดการเมื่อมีการหกหรือรั่วไหลของสารเคมี ในกรณีเกิดอุบัติเหตุ 7. การขนถ่ายและเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ 8. การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันภัยส่วนบุคคล 9. สมบัติทางเคมีและกายภาพ 10. ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา 11. ข้อมูลด้านพิษวิทยา 12. ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ 13. ข้อพิจารณาในการก�ำจัด 14. ข้อมูลส�ำหรับการขนส่ง 15. ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ 16. ข้อมูลอื่นๆ

ค. การปรับปรุง SDS

ระเบียบ REACH ได้ก�ำหนดให้ Suppliers ปรับปรุง SDS ในกรณี ดังต่อไปนี้ ก. มีขอ้ มูลใหม่เกีย่ วกับสารเคมีทมี่ ผี ลต่อมาตรการการจัดการ ความเสี่ยง (Risk management measures) ข. มีข้อมูลใหม่ที่เกี่ยวกับความเป็นอันตรายของสารเคมี ค. มีการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ใช้สารเคมีออกมาใหม่ ง. มีการก�ำหนดการจ�ำกัดการใช้สารเคมีออกมาใหม่ เมื่อ Suppliers ท�ำการปรับปรุง SDS แล้วให้ระบุลงใน SDS ว่าเป็นฉบับปรับปรุงพร้อมระบุวันที่ในการปรับปรุงด้วย และต้อง ท�ำการส่ง SDS ที่ปรับปรุงใหม่นี้แก่ลูกค้า ภายใน 12 เดือน หลัง จากที่ทำ� การปรับปรุง โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย จะเห็นได้ว่า กฎหมาย REACH เป็นกฎหมายที่เหมาะกับ สภาวะปัจจุบันที่ใช้ระบบการค้าเสรีเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เพราะระบบการค้าเสรีเป็นตัวเร่งให้สนิ ค้าแพร่กระจายได้งา่ ยและ กว้างขวาง การควบคุมสินค้าให้ปลอดภัยจากสารเคมีจึงเป็นเรื่อง ส�ำคัญ และต้องมีการจัดการเพื่อควบคุมการผลิตและการใช้สาร เคมีอย่างเหมาะสม จึงจะช่วยให้คณ ุ ภาพชีวติ และเศรษฐกิจมีการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ชุดความรูน้ ี้ จัดท�ำขึน้ เพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลเบือ้ งต้นเกีย่ วกับสาระและ ข้อก�ำหนดของกฎหมาย REACH ข้อความที่ปรากฏในชุดความรู้ เป็นความพยายามของผู้จัดท�ำที่จะสื่อสารสาระ และประเด็นส�ำคัญ ของกฎหมาย ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ บางส่วนของสาระที่น�ำเสนอ เป็นการ ตีความสาระของกฎหมายซึ่งไม่ชัดเจน จึงไม่สามารถน�ำไปอ้างอิงในเชิง กฎหมายได้ หากต้องการอ้างอิงโปรดตรวจสอบรายละเอียดจาก ต้นฉบับของกฎหมาย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

265


อัตราอากรน�ำเข้าของไทย ภายใต้กรอบต่างๆ ภาษีศุลกากรเป็นภาษีทางอ้อม ซึ่งจัดเก็บจากสินค้าที่มี การน�ำเข้าจากต่างประเทศ วัตถุประสงค์หลักของการจัดเก็บภาษี ศุลกากรในอดีต ก็เพื่อเป็นการช่วยเหลือและปกป้องคุ้มครอง อุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ โดยมีการก�ำหนดอัตราอากร ขาเข้าในอัตราที่สูงส�ำหรับอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการผลิต ของประเทศที่ยังไม่สามารถแข่งขันได้ แต่ในสภาวการณ์กระแส โลกาภิวัตน์ ส่งผลให้แต่ละประเทศมีการเปิดประเทศเพื่อค้าขาย กันมากขึน้ ดังนัน้ บทบาทของภาษีศลุ กากรเพือ่ ใช้เป็นวัตถุประสงค์ ในการปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศจึงลดน้อยถอยลงตาม ล�ำดับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยคณะกรรมการภาษี อากร ได้ร่วมกับกระทรวงการคลัง ด�ำเนินการปรับปรุงโครงสร้าง พิกัดอัตราอากรศุลกากร ตั้งแต่ปี 2533 โดยในระยะเริ่มแรกได้ ด�ำเนินการปรับปรุงอัตราอากรน�ำเข้าเครื่องจักร วัสดุที่ประหยัด พลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสนอยกเว้นอัตราอากร เครื่องจักร วัตถุดิบและปัจจัยการผลิตที่ไม่มีผลิตในประเทศ และ การด�ำเนินการรอบสุดท้ายแล้วเสร็จเมือ่ ปี 2550 ซึง่ เป็นการด�ำเนิน การปรับปรุงโครงสร้างพิกัดอัตราศุลกากรสินค้าทั้งระบบ โดยยึด หลักการไต่มลู ค่าเพิม่ (Value Added Escalation) ซึง่ ได้แบ่งกลุม่ สินค้าตามโครงสร้างการผลิตออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ วัตถุดิบ สินค้ากึง่ ส�ำเร็จรูป และสินค้าส�ำเร็จรูป รวมทัง้ ได้กำ� หนดอัตราอากร เป้าหมายตามโครงสร้างการผลิตดังกล่าวไว้ที่ร้อยละ 1 ร้อยละ 5 และร้อยละ 10 ตามล�ำดับ ยกเว้นสินค้าเกษตร สินค้าอุปโภค บริโภค (ส�ำเร็จรูป) และสินค้าฟุ่มเฟือยบางส่วนที่ยังคงมีอัตราสูง กว่าโครงสร้าง ประเทศไทยซึง่ เป็นสมาชิก WTO มีสว่ นร่วมในการเจรจาการ ค้าเสรี ทัง้ ในระดับพหุภาคี และระดับทวิภาคีกบั หลายประเทศ จน ปัจจุบันได้มีการลงนามข้อตกลงแล้วในหลายกรอบ ซึ่งการเจรจา ได้ครอบคลุมการเปิดเสรีทางด้านการค้าสินค้า มีการลดอัตราอากร น�ำเข้าระหว่างกัน ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ได้รวบรวมพิกดั ศุลกากรสินค้าต่างๆ รายละเอียดตามตารางอัตรา อากรขาเข้า ตอนพิกัดที่ 1-97 (HS 2007) ดังนี้ 1) อัตราตาม พรก. หมายถึง อัตราอากรน�ำเข้าสูงสุดที่ ก�ำหนดไว้ตามพระราชก�ำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 2) อัตราตามมาตรา 12 หมายถึง อัตราอากรน�ำเข้า ทั่วไปของประเทศไทยที่ใช้กับทุกประเทศ 3) อัตรา WTO หมายถึง อัตราอากรน�ำเข้าสินค้าที่ แสดงใบรั บ รองแหล่ ง ก� ำเนิ ด สิ น ค้ า ของประเทศ สมาชิก WTO

ปี ส.อ.ท. 266 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

ส่วนการใช้สทิ ธิลดอัตราอากร FTA ในแต่ละกรอบความตกลง ผู้น�ำเข้าจะต้องมีหนังสือรับรองแหล่งก�ำเนิดสินค้า (FORM FTA) ของประเทศคู่เจรจานั้นๆ เช่น FORM D ของอาเซียน เป็นต้น นอกจากนีส้ มาชิกสามารถตรวจสอบพิกดั ศุลกากร และอัตรา อากรน�ำเข้าของสินค้าทีต่ อ้ งการส่งออก หรือน�ำเข้า รวมทัง้ ในกรณี ไม่แน่ใจพิกัดของสินค้า สามารถใช้บริการวินิจฉัยพิกัดศุลกากร ล่วงหน้าของกรมศุลกากร โดยสามารถศึกษารายละเอียด ขัน้ ตอน การยื่นข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ www.customs.go.th ส่วนกรณี ส่งออก สามารถตรวจสอบตารางการลดภาษีตามความตกลง การค้าเสรีต่างๆ ได้จากเว็บไซต์ www.thaifta.com


ความรู้เกี่ยวกับกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า

และข้อก�ำหนดกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า ภายใต้กรอบความตกลงต่างๆ กฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า หรือ Rules of Origin เป็นกฎ เกณฑ์ที่องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) น�ำมาใช้กับสินค้าน�ำเข้า-ส่งออกโดยก�ำหนดให้มีเอกสารรับรอง แหล่งก�ำเนิดสินค้า (Certificate of Origin) ที่แสดงข้อมูลได้ถึง แหล่งก�ำเนิดในประเทศที่ผลิตสินค้าที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อใช้ “แหล่ง ก�ำเนิด” เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้กับกฎเกณฑ์ต่างๆ ของ WTO ใน เวทีการค้าระหว่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2541 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้จัด ตัง้ คณะกรรมการ “กฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า” และส่งผูแ้ ทน เข้าร่วมการประชุมกับองค์การศุลกากรโลก (World Customs Organization: WCO) ในการจัดท�ำกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า เพื่อเป็นเครื่องมือในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ

ภายใต้กรอบ WTO โดยเฉพาะใช้เป็นเครือ่ งมือในการพิจารณาให้ สิทธิพิเศษทางภาษีกับสินค้าที่ผลิตจากประเทศคู่เจรจา ซึ่งค�ำ นิยามกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า มีดังนี้

1. WO : Wholly Obtained หมายถึง

- การผลิตโดยใช้วัตถุดิบทั้งหมดจากในประเทศเดียว หรือผลิตได้จากธรรมชาติ เช่น หมู ไก่ ปลา ข้าว แร่ธาตุ เป็นต้น - การผลิตจากธรรมชาติ ได้แก่ การเลี้ยงให้โตตั้งแต่เกิด การขุดเจาะแร่ หรือการจับได้จากทะเล เป็นต้น

2. เกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากร (Change in Tariff Classification : CTC)

หมายถึง การผลิตสินค้าหรือการแปรรูปอย่างเพียงพอ (Substantial Transformation) โดยพิจารณาจากการเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงพิกัดฯ ของวัตถุดิบ (Input) กับสินค้าส่งออก (Output) โดยแบ่งได้ดังนี้ CC : Change of Chapter การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 2 หลัก (ตอน) ตัวอย่างเช่น วัตถุดิบ มะเขือเทศสด หรือแช่เย็น สินค้าส่งออก ซอสมะเขือเทศ

พิกัดฯ 0702.00 พิกัดฯ 2103.20

CTH : Change of Tariff Heading การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 4 หลัก (ประเภท) ตัวอย่างเช่น วัตถุดิบ ท่อนไม้ สินค้าส่งออก แผ่นชิ้นไม้อัด (Particle Board)

พิกัดฯ 4403.00 พิกัดฯ 4410.11

CTSH : Change of Tariff Sub-Heading การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 6 หลัก (ประเภทย่อย) ตัวอย่างเช่น วัตถุดิบ ชิ้นส่วนของเครื่องปรับอากาศ พิกัดฯ 8415.90 สินค้าส่งออก เครื่องปรับอากาศ พิกัดฯ 8415.10 CTSHS : Change of Tariff Split Sub-Heading การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 6 หลัก (ประเภทย่อยเดียวกัน) ตัวอย่างเช่น วัตถุดิบ เครื่องอุปกรณ์ส�ำหรับการรับส่งข้อมูล พิกัดฯ 8517.62 (a) สินค้าส่งออก เครื่องจักรส�ำหรับการรับส่งข้อมูล พิกัดฯ 8517.62 (b) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

267


3. เกณฑ์มูลค่าเพิ่ม

หมายถึง การค�ำนวณหามูลค่าเพิม่ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศ (Local Content: LC) หรือรวมมูลค่าเพิม่ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศภาคี (Regional Value Content: RVC) หรือ (Qualifying Value Content: QVC กรณี FTA ไทย – ญี่ปุ่นเท่านั้น) โดยมีวิธีการ ค�ำนวณมูลค่าเพิ่ม แบ่งออกเป็น 2 วิธี 3.1 สูตรทางตรง ค่าวัตถุดิบ+ค่าแรง+ค่าน�ำ้ +ค่าไฟฟ้า+ค่าใช้จ่ายอื่นๆ+ก�ำไร (จากระบบบัญชี) X 100 ราคา F.O.B. 3.2 สูตรทางอ้อม ราคา F.O.B. – มูลค่าของวัสดุที่ไม่ได้แหล่งก�ำเนิด X 100 ราคา F.O.B. ราคา FOB คือ มูลค่า ณ ท่าเรือต้นทางของสินค้า ซึ่งรวมถึงค่าขนส่งจากผู้ผลิตไปยังท่าเรือหรือสถานที่สุดท้าย ส�ำหรับ ขนส่งสินค้าไปต่างประเทศ

4. กฎทั่วไป (General Rule: GR)

เป็นกฎทั่วไปที่กล่าวถึงขอบเขต ระบบพิกัดศุลกากร นิยาม วิธีการคิดหาแหล่งก�ำเนิดและส่วนประกอบที่ให้หรือไม่ให้ นับเข้าเป็นส่วนหนึ่งของแหล่งก�ำเนิด รวมทั้งเงื่อนไขข้อห้ามต่างๆ เช่น Minimal Operation และ De Minimis Rules ซึ่งใน General Rule อาจระบุเป็นเกณฑ์กลางๆ ก็ได้

5. กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rule: PSR)

ซึ่งมักใช้เงื่อนไขการผลิตสินค้าเป็นเกณฑ์ที่ได้แหล่งก�ำเนิดโดยอาจแบ่งออกเป็น (1) กฎหลัก (Primary Rules หรือ Product Specific Rules: PSR) ที่ใช้เกณฑ์ขั้นตอนการผลิต แปรสภาพอย่างพอเพียง (Substantial Transformation) และการเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากร (Change in Tariff Classification) (2) กฎรองรับ (Residual Rules) ที่ใช้เกณฑ์ค�ำนวณสัดส่วนสูงสุดหรือเกณฑ์เปอร์เซ็นต์ขั้นต�่ำ (Local Content) เป็น เกณฑ์ที่ได้แหล่งก�ำเนิด ส่วนมากใน FTA จะเรียกเป็น กฎมูลค่าเพิ่ม (Value Added Rules) ซึ่งอาจจะเขียนไว้เป็น General Rules ก็ได้ ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวข้างต้น ต่างนิยมเขียนเกณฑ์เหล่านี้ตามเลขพิกัดอัตราศุลกากรที่ละรายการ

ขั้นตอนการเลือกใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี

1. ตรวจสอบพิกัดอัตราศุลกากร ของสินค้าที่ต้องการส่งออก หรือน�ำเข้า เพื่อความถูกต้องหากไม่แน่ใจสามารถใช้บริการ วินจิ ฉัยพิกดั ศุลกากรล่วงหน้าของกรมศุลกากร หรือตรวจสอบทาง เว็บไซต์ www.customs.go.th 2. ตรวจสอบอัตราภาษี - กรณีน�ำเข้า สามารถตรวจสอบอัตราภาษีได้จากประกาศ กระทรวงการคลัง เรื่องการลดอากรหรือยกเว้นอากรศุลกากร ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีต่างๆ หรือ www.customs.go.th - กรณีส่งออก สามารถตรวจสอบตารางการลดภาษีตาม ความตกลงการค้าเสรีต่างๆ จากเว็บไซต์ www.thaifta.com หรือ สอบถามข้อมูลกับคู่ค้า 3. ตรวจสอบเกณฑ์แหล่งก�ำเนิดสินค้า ซึง่ สามารถตรวจสอบ ข้อมูลเกณฑ์แหล่งก�ำเนิดสินค้าตามความตกลงการค้าเสรีต่างๆ ทีล่ งนามความตกลงร่วมกัน หรือตรวจสอบได้จากเว็บไซต์ www. thaifta.com หรือ www.customs.go.th 4. กรณีนำ� เข้าหรือส่งออกสินค้าไปยังประเทศทีม่ คี วามตกลง กับไทยมากกว่า 1 ความตกลง เช่น ประเทศญีป่ นุ่ (มีอาเซียน-ญีป่ นุ่ และไทย-ญี่ปุ่น) หากตรวจสอบแล้วกรอบใดมีอัตราอากรต�่ำกว่า จึงพิจารณาเกณฑ์แหล่งก�ำเนิดสินค้าว่าสามารถผลิตได้ตาม ปี ส.อ.ท. 268 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดหรือไม่ เพือ่ ให้การเลือกใช้เกณฑ์ทงี่ า่ ยกว่า และมี อัตราภาษีต�่ำที่สุด 5. ใบรับรองแหล่งก�ำเนิดสินค้า เป็นเอกสารส�ำคัญในการใช้ พิสูจน์แหล่งก�ำเนิดของสินค้าเพื่อใช้สิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้ ความตกลงการค้าเสรี โดยผู้น�ำเข้าและส่งออกจะต้องส�ำแดงใบ รับรองแหล่งก�ำเนิดสินค้าที่ถูกต้องตามความตกลงนั้นๆ โดย สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้จากกรมการค้าต่างประเทศ หรือดูรายละเอียดความตกลงได้จากเว็บไซต์ www.thaifta.com จะเห็นได้วา่ ผูป้ ระกอบการทุกรายจะต้องเตรียมตัวในเรือ่ งนี้ ไว้ล่วงหน้า หากมีปัญหาข้อซักถามขอให้ติดต่อหน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ ตัวอย่างเช่น ด้านการผลิต ได้แก่ กระทรวง อุตสาหกรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น ถ้าเป็นด้านการค้า ก็เป็นกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เช่น เอกสารแหล่ง ก�ำเนิด เป็นต้น ส�ำหรับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (คณะ กรรมการกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า) สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หรือกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ ก็จะเป็นที่ให้บริการปรึกษาสมาชิก ได้เช่นกัน


ของต้องห้ามและของต้องก�ำกัดตามกฎหมายศุลกากร ประเทศไทยมีการควบคุมการน�ำเข้าและส่งออกสินค้า โดย ข้อก�ำหนดของกฎหมายต่างๆ จ�ำนวน 97 ฉบับ ทัง้ นีห้ ากผูใ้ ดฝ่าฝืน น�ำสินค้าต้องห้าม หรือต้องก�ำกัดดังกล่าวเข้ามาหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรจะมีความผิดต้องรับโทษตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเป็นความผิดตามมาตรา 27 และ 27 ทวิของพระราชบัญญัติ ศุลกากร พ.ศ. 2469 โดยมีบทลงโทษสูงสุดส�ำหรับความผิดครั้ง หนึ่งๆ ให้ปรับเป็นเงิน 4 เท่าของราคาของซึ่งได้รวมค่าอากรแล้ว ด้วย หรือจ�ำคุก 10 ปี หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ส�ำหรับการควบคุมสามารถแบ่งรูปแบบของสินค้าออกเป็น 2 กรณี ดังต่อไปนี้ 1. ของต้องห้าม คือ ของที่มีข้อห้ามแน่นอนซึ่งจะไม่ได้รับ อนุญาตให้น�ำเข้าสินค้าไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น 2. ของต้องจ�ำกัดหรือก�ำกัด คือ ของที่จำ� เป็นจะต้องท�ำการ ขออนุญาตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบก่อนที่จะมีการน�ำเข้าหรือ ส่งออกสินค้า ก่อนอื่นเราต้องท�ำความเข้าใจว่า ของต้องห้าม และของต้อง จ�ำกัดหรือก�ำกัด นั้น คืออะไร และมีอะไรบ้าง

ของต้องห้าม หมายถึง ของที่มีกฎหมายก�ำหนดห้ามน�ำเข้ามาหรือส่งออก ไปนอกราชอาณาจักรโดยเด็ดขาด และในบางกรณีห้ามการ ส่งผ่านด้วย ผู้ใดน�ำสินค้าต้องห้ามเข้ามาหรือส่งออกไปนอกราช อาณาจักรจะมีความผิดต้องรับโทษตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องและ เป็นความผิดตามมาตรา 27 และ 27 ทวิของกฎหมายศุลกากรด้วย ตัวอย่างสินค้าต้องห้ามในการน�ำเข้า-ส่งออก มีดังนี้

1. วัตถุลามก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบหนังสือ ภาพเขียน ภาพ พิมพ์ ภาพระบายสี สิ่งที่พิมพ์ขึ้น รูปภาพโฆษณา เครื่องหมาย รูปถ่าย และภาพยนตร์ลามกหรือวัตถุลามกอื่นๆ 2. สินค้าที่มีตราหรือลวดลายเป็นรูปธงชาติ 3. ยาเสพติดให้โทษ 4. เงินตรา พันธบัตรใบส�ำคัญรับดอกเบี้ยพันธบัตรอันเป็น ของปลอมหรือแปลง เหรียญกษาปณ์ที่ท�ำให้น�้ำหนักลดลงโดย ทุจริต 5. ดวงตราแผ่นดิน รอยตราแผ่นดินหรือพระปรมาภิไธย ดวงตราหรือรอยตราของทางราชการอันเป็นของปลอม 6. สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น แถบบันทึกเสียง (เทปเพลง) แผ่น บันทึกเสียง (คอมแพคดิสก์) แถบบันทึกภาพ (วีดโี อเทป) โปรแกรม คอมพิวเตอร์ หนังสือ หรือสินค้าอื่นใดที่ท�ำซ�้ำหรือดัดแปลงงาน อันมีลิขสิทธิ์ของผู้อื่น 7. สินค้าปลอมแปลงหรือเลียนแบบเครื่องหมายการค้า 8. ของที่มีการแสดงถิ่นก�ำเนิดเป็นเท็จ ตามพระราชบัญญัติ ห้ามน�ำของทีม่ กี ารแสดงถิน่ ก�ำเนิดเป็นเท็จเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2481

ของต้องจ�ำกัดหรือก�ำกัด หมายถึง สินค้าที่มีกฎหมายก�ำหนดว่าหากจะมีการน�ำเข้าส่งออก หรือผ่านราชอาณาจักร จะต้องได้รับอนุญาตหรือปฏิบัติ ให้ ค รบถ้ ว นตามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นกฎหมายนั้ น ๆ เช่ น ต้ อ งมี ใบอนุญาตการน�ำเข้าและส่งออก ต้องปฏิบัติตามประกาศอัน เกี่ยวกับฉลากหรือใบรับรองการวิเคราะห์ หรือเอกสารก�ำกับยา เป็นต้น ผู้ใดน�ำของต้องก�ำกัดเข้ามา หรือส่งออก หรือส่งผ่าน ราชอาณาจักรโดยมิได้รับอนุญาต หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ ก�ำหนดไว้ให้ครบถ้วน จะมีความผิดตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎหมาย นั้น ๆ และเป็นความผิดตามมาตรา 27 และ 27 ทวิของพระราช บัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 กระทรวงพาณิชย์ได้กำ� หนดสินค้าทีม่ มี าตรการน�ำเข้า ซึง่ ต้อง ขอรับใบอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยขณะนี้มีอยู่ทั้งสิ้น ประมาณ 50 ชนิด ที่จะต้องขออนุญาตน�ำเข้าจากกระทรวง พาณิชย์ ซึ่งอาจจะเปลี่ยนแปลงได้ตามประกาศของกระทรวง พาณิชย์ ในการขอใบอนุญาตการน�ำเข้าจากกระทรวงพาณิชย์จะ ต้องแนบเอกสารการสั่งซื้อ ใบรายการสินค้า และเอกสารอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องไปด้วย นอกจากการควบคุมการน�ำเข้าของกระทรวงพาณิชย์แล้ว สินค้าที่มีมาตรการน�ำเข้าบางอย่างยังอยู่ภายใต้การควบคุมของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ด้วย เช่น

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

269


• การน�ำเข้าวัตถุอันตราย ประเภทที่ 3 ตามพระราชบัญญัติ วั ต ถุ อั น ตราย พ.ศ. 2535 ต้ อ งขออนุ ญ าตจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม • การน�ำเข้ายา จะต้องขอใบอนุญาตจากองค์การอาหาร และยา กระทรวงสาธารณสุข • การน�ำเข้า หรือส่งออกโบราณวัตถุ หรือวัตถุของงานศิลปะ ไม่ว่าจะจดทะเบียนแล้วหรือไม่ก็ตาม จะต้องได้รับการอนุญาต จากกรมศิลปากร • การน�ำเข้าอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้ เพลิง และสิง่ เทียมอาวุธปืน จะต้องได้รบั การอนุญาตจากกระทรวง มหาดไทย ส่วนอาวุธชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องช็อตไฟฟ้า จ�ำเป็นที่จะ ต้องแจ้งก่อนน�ำเข้า ซึ่งบางรายการอาจจ�ำเป็นต้องขอใบอนุญาต ก่อนน�ำเข้า • พระราชบัญญัติเครื่องส�ำอาง ได้ก�ำหนดให้ผู้นำ� เข้าเครื่อง ส�ำอางควบคุม ท�ำการแจ้งชือ่ และทีต่ งั้ ของส�ำนักงาน สถานทีผ่ ลิต หรือจัดเก็บเครือ่ งส�ำอาง รวมทัง้ ประเภทหรือชนิดของเครือ่ งส�ำอาง และส่วนประกอบที่ส�ำคัญกับกระทรวงสาธารณสุข

• การน�ำเข้าสัตว์ป่า พืช ปลา และสัตว์น�้ำอื่นๆ ต้องได้รับ อนุญาตจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช หรือกรม วิชาการเกษตร หรือกรมประมงเป็นกรณีๆ ไป เป็นต้น กรมศุลกากรมีหน้าทีป่ อ้ งกันการน�ำเข้า หรือส่งออก หรือ ส่งผ่านสินค้าต้องห้าม ส่วนสินค้าต้องก�ำกัด กรมศุลกากร มีหน้าทีต่ อ้ งตรวจสอบว่า การน�ำเข้า หรือส่งออก หรือส่งผ่าน แดนได้ รั บ อนุ ญ าตและปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ครบถ้วนหรือไม่ ส�ำหรับบัญชีรายชื่อสินค้าต้องห้ามต้อง ก�ำกัด สามารถตรวจสอบได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การออกใบอนุญาตน�ำเข้า เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็นต้น สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่

ฝ่ายกฎหมาย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 60 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2345 1000 ต่อ 1055, 1159 ปี ส.อ.ท. 270 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

271


ปี ส.อ.ท. 272 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


EXECUTIVE SUMMARY

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

273


44 years of The Federation of Thai Industries Opening the Door to industry 1967 : The Association of Thai Industries (A.T.I.) was established by law as the first private industrial organization under the Trade Association Act B.E. 2509. The former Prime Minister Thawee Bunyaket was the first Chairman of the Association. It was first located at the Sarasin Building on Silom Road, which was owned by Mr. Pong Sarasin, the Honorable Chairman and Vice Chairman of the Association at that time. 1971 : The Association was moved to the Suriyothai Building, Paholyothin Road supported by Mr. Pongsawat Suriyothai, Secretary General of the Association. 1974 : With the increasing number of members, the Association made the move to split its management and responsibilities to support many activities and also categorized members as ‘Industrial Group’ with ‘food’ as the first group. Within five years, the Association had joined with members in 14 businesses based on the industry groupings of the ASEAN-CCI including food, automotive assembly, auto parts, pulp and paper, cement, chemical, electrical and electronics, rubber based, Iron and steel, glass, aluminium, ceramic, furniture and air conditioning. 1980 : The office was moved to the new building on Samsen Road as its first permanent location, with an investment fund of around 3.1 million baht donated by members. The new location was set up on the land of the Crown Property Bureau with the assistance of Mr. Prakaipetch Intusophon, the Association’s Director. 1980 : The Association faced difficulties due to a lack of funds to hire skilled staff. Mr. Paron Israsena Na Ayudhaya, Honorable Chairman, who was also Secretary General of the Association at that time, restructured the operations, management and human resources by increasing staff salary to levels equal to other private organizations, and improved employee welfare aiming at encouraging high-quality, service-minded and efficient people to join the Association.

ปี ส.อ.ท. 274 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

1981 : The Association of Thai Industries played an active role in assisting industries and gained better trust from its members. Mr. Pong Sarasin, the Honorable Chairman and Chairman of the Association at that time, raised an Endowment Fund to generate interest income to be used in the Association’s operation. Members also provided donations of 10 million baht as a seed fund for the operation of the Association. This fund evolved later into the “Industrial Development Foundation” which has remained till the present time. 1983 : With members of the Association of Thai Industries widely spreading over the country, the Association set up provincial groups to cooperate with other public and private sectors, starting first with three provinces: Chiang Mai, Khon Kaen and Songkhla. Later, the Association created provincial industry groupings in many formats under the “Strengthening of Rural Business Associations” project by joining hands with public units and through the United States Agency for International Development (USAID)’s co-project entitled “Rural Industries and Employment”. The project was aimed at developing and encouraging operational efficiency in the region and gained widespread acceptance from the foreign countries. 1987 : The Association of Thai Industries became the ‘Federation of Thai Industries’ (F.T.I.) under the Act of law. The act was passed by the Legislative Assembly with the support of former Prime Minister Prem Tinsulanonda. The Federation of Thai Industries Act B.E. 2530 (1987 A.D.) was finally approved and announced in the government gazette on December 28, 1987. 1994 : The Federation of Thai Industries was moved to the new office at Zone C, 4th Floor, Queen Sirikit National Convention Center on Ratchadapisek Road.


Awards and Honours 1979 : The Association of Thai Industries was selected by the Gold Mercury International for the “Gold Mercury International Award” at Cairo, Egypt. This award was presented to well-developed industrial organizations with the ability to cooperate efficiently with international organizations. The Honorable Chairman, Mr. Chumsai Hasdin (the Secretary General of the Association at that time) received the presentation at the awards ceremony. 1980 : The Association of Thai Industries broadcasted a weekly documentary program on TV to disseminate information regarding the production of Thai products and in promotion of Thai entrepreneurs, among others. The program called “Phoom Jai Thai Tham” (Pride of Thai Products) was aimed to promote a better image of Thailand’s manufactured products. This program served to popularize the Association of Thai Industries among the public and was awarded the Mekhala Award in the category of Program Promoting Occupation in 1986. The Association of Thai Industries also organized industrial product exhibitions in collaboration with Thai producers and industrialists to distribute manufactured goods directly to the people. Initially, exhibitions were held at the Indoor Stadium Huamark. The activities reflected the Association of Thai Industries' role in Thai society. 1999 : The Federation of Thai Industries (F.T.I.) was accredited the ISO 9000 standard for its operations, with the award of the ISO 9002 international quality standard certification. The Federation became the first private sector organization in Thailand to be granted the standard. 2008 : F.T.I. received “the Project of the Year Award” in the Thailand ICT Excellence Awards of 2008 in two categories: Thai Software Innovation Project and Innovation Project.

The Development of Thai Industries 1968 : The Association of Thai Industries joined the Niyomthai Association to run the campaign for Thai-made products among Thai people and against the dumping of foreign products in Thailand. The campaign has popularized the term “Made in Thailand” among the public. 1980 : Mr. Paron Israsena Na Ayudhaya, the Honorable Chairman who was also the Director of the Association at that time, was successful in changing the image of Thai industry in accordance with the nation’s economic development policy by developing “import substitution” to save foreign currency. He also promoted export-oriented industry to generate foreign currency. The Association’s directors changed their roles from ‘Personal Entrepreneurs’ to ‘Professional Entrepreneurs’ with a better understanding of industrial systems by producing high-quality, standardized products capable of gaining greater acceptance in the world market. 1981 : Gen. Prem Tinsulanonda approved the proposal of Mr. Thaworn Phornprapha, Chairman of the Association of Thai Industries, to establish a “Steering Committee” between public and private sector organizations to solve economic problems. The Association of Thai Industries was one of the three organizations in the private sector joining the committee. The Association was proud to have pioneered the proposal to establish and appoint the new steering committee. The cooperation between the public and private sectors helped it to come up with new solutions to problems and obstacles of business practices, and enhanced the development and competitiveness of national industry. 1998 : Since a large part of the economic crisis that occurred in Thailand in 1997 came about as a result of unethical business practices among some Thai businesses, Mr. Tawee Butsuntorn, Chairman of the Federation of Thai Industries at that time, provided the impetus for the drafting of the “Ethics of Industrialists” to act as a guide to transparent and fair business. He also encouraged good governance among businesses to promote greater public trust and acceptance and build stronger moral and ethical standards among the Thai entrepreneurs.

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

275


Mr. Praphad Phodhivorakhun initiated the establishment of the “Thai Industrial Sentiment Index” to act as a reference and warning indicator for the industrial sector, during his tenure as Chairman of the Federation of Thai Industries. He also set up the “Thai Industrial Leading Indicator” to study factors that create changes and trends within the business cycle. The surveys were published monthly. Entrepreneurs have been able to use the indicators to formulate their policies and business plans since then. 2007 : The Federation of Thai Industries founded the Small and Medium Industrial Institute (SMI) to act as a development center for SME entrepreneurs in the manufacturing sector and to boost their stability, potentials and competitiveness. The Thai Industrial Data and Information Center (TIDIC) was established as an information center for the use of the industrial sector and to act as a guide for decision making in four business groups: automotive, auto parts, metal working and machinery, and agricultural machinery industries. The center gathered information from the up-, middle- and down-stream industries, tariffs, FTA, WTO, etc. The E-Market Place was launched to satisfy the needs of buyers and sellers for products and services in both domestic and overseas markets utilizing the international UNSPSC/HS Code, to increase the purchase and sale efficiency of online products and services, and boost marketing opportunities and potentials. The Federation of Thai Industries established the Engineering Standard (ISO 12207-TQS / ISO 29110-VSE) to elevate the efficiency of the Thai software industry.

International Improvements In 1980, The ASEAN Chambers of Commerce and Industry (ASEAN-CCI) was founded and the Association of Thai Industries was selected to be the ASEAN-CCI Chairman in 1982, when Mr. Anand Panyarachun, Vice Chairman of the Association, became Chairman of ASEAN-CCI for two years. This time coincided with the beginning of the ASEAN Free Trade Area (AFTA) for which ASEAN proposed to set new measures, rules and regulations to achieve a clearer role and areas of influence for AFTA, which was finally established in 1991. It was also an important period for the Association ปี ส.อ.ท. 276 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

of Thai Industries, which had a unique opportunity to play its role as a private sector contributor towards ASEAN’s economic development among ASEAN countries. Later, Dr. Chokchai Aksaranan, Chairman of the Federation of Thai Industries, was appointed as Chairman of ASEAN-CCI from 1991 to 1993, when he made the important contribution of founding the permanent office of ASEAN-CCI’s Secretary General, as an appointment that would have greater authority and judgment to promote and develop the scope and duties of ASEAN-CCI. The F.T.I.’s membership of a national private organization opened many opportunities for cooperation in industrial development, especially, trade preference, tax and technology transfer, including the ASEAN Industrial Co-operation Scheme (AICO) and Brand-to-Brand Complementation projects. Contributions by the F.T.I. were widespread over ASEAN members, with the objective of promoting an enhanced image of Thai industrialists before the world arena. The F.T.I. became Chairman of the IMT-GT (IndonesiaMalaysia-Thailand Growth Triangle) from its establishment in 1993, with the objective of cooperating with the others to solve problems and overcome obstacles affecting the private sector, in six branches: Agriculture & Environment; Halal Products & Services; Tourism; Human Resource Development; Trade & Investment; Infrastructure & Communications Industries.

Export Advantages The F.T.I. negotiated the granting of special privileges of exportation for F.T.I.’s exporting members with prominent profiles and credibility to be ranked as special exporters by the Thai Customs Department. On February 26, 1993, the F.T.I. was appointed by the Management Committee of EAN-INTERNATIONAL to be the Registrar of Article Numbering of Thailand, through the establishment of the Thai Article Numbering Council (TANC) to support the use of article numbering, or barcode, as well as an EAN Electronic Data System to improve Thai business development in accordance with the recognized international standards. It also supported export management


and cost reduction with greater competitiveness in the world market. The 124 members of the old registrar were transferred to TANC and later became the GS1 Thailand at present. The Electronics Product Code/Radio Frequency Identification (EPC/RFID) Center was established as the first and sole center in the Southeast Asia to demonstrate the management process of logistics and supply chain using the international standard of barcode technology, Electronic Data Interchange (EDI) and Electronics Product Code/Radio Frequency Identification (EPC/RFID). In 2008, the F.T.I. considered that the use of the RFID system was widespread in Thailand’s industries as a result of the understanding and acceptance by entrepreneurs that RFID could help reduce costs and increase efficiency. Therefore, in support of the need of Thai entrepreneurs, the RFID Institute of Thailand was established as a center of knowledge development and assistance in RFID technologies. The RFID Testbed was founded to promote RFID technology in Thailand systematically and also supported entrepreneurs in the development of equipment, parts and software regarding RFID technology. The opening ceremony was held on June 19, 2009.

of Industrial Energy to oversee and manage industrial energy. 1990 : The F.T.I. initiative was supported by the United States Agency for International Development (USAID) to operate an Industrial Environment Management project from March 16, 1990 that would campaign for the awareness of environmental problems throughout the Thai industrial sector. In September 1995, the Industrial Environment Office was founded to support the management of the industrial environment, which finally became the Industrial Environment Institute, at present. 2005 : The F.T.I. approved the establishment of the Thailand Institute of Packaging and Recycling Management for Sustainable Environment (TIPMSE) to plan, coordinate and operate to reduce the amount of used packaging throughout the country, employing a safe and suitable method, as well as encouraging a fully integrated packaging industry.

Industrial Solutions

1974 : Mr. Thaworn Phornprapha, Chairman of the Association of Thai Industries helped solve the problems of Thailand’s electricity crisis in 1974 by asking for the collaboration of all members, who were industrial entrepreneurs, to stop their manufacturing use of electricity during a curfew time during 18.00-22.00 hrs. each evening, to ensure that domestic consumers had power to use in their households, which greatly reflected the willingness of the cooperation of the private sector for the benefits of the people and the nation.

The F.T.I. wanted to improve Thailand’s taxation system that was unnecessarily complicated and, more importantly, conflicted with the country’s industrial development, just when Thai Industries desperately needed more export-oriented support. The F.T.I. boldly proposed the government should instigate a tax rebate scheme, reduce the volume of imported goods and apportion the amount of duty due according to the ranking level of importers. Thus, when the Ministry of Finance began to reform the import duty tariff structure in January 1995, which was due to impact mainly on Thai entrepreneurs, the F.T.I. was invited to negotiations to study all the impacts and to suggest suitable solutions that would be fair to all parties concerned. At the same time, the F.T.I. made a careful study of all policies, principles and methods being used by the government to restructure the taxation system, as well as the impact involved from the changing and restructuring of the taxation system from the standpoint of F.T.I. members.

1982 : Mr. Paron Israsena Na Ayudhaya, Director of the Association of Thai Industries launched the Energy Conservation Center of Thailand, with the objective of saving and reducing energy consumption. Later, in 1997, the Federation of Thai Industries (F.T.I.) established the Institute

The Association of Thai Industries placed great emphasis on solving tax problems by submitting a proposal to expand the tax base and adjust tax rates that would increase the total number of tax payers, which would generate even more income to government, without any undue impact on current

Environmental Friendly and Energy Saving

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

277


tax payers. The Association also consulted with the Ministry of Finance concerning plans to introduce VAT into the tax system. During the economic crisis of 1997, the F.T.I. played an important role in solving the Non Performing Loan (NPL) problem by cooperating closely with the public sector and concerned organizations to establish a base for debt restructuring. The F.T.I. also helped improve other laws concerning the industrial sector and provided members with information and assistance concerning tariffs, which it continues up to the present day. The F.T.I. supported legislation to delete Sulfur (Case No. 7704-34-9) from the “List of Hazardous Substances” of the Department of Industrial Works. Excise tax on air conditioners not over 72,000 BTU/Hr was also repealed with the assistance of the F.T.I., to help domestic entrepreneurs in the air-conditioning industry, which was announced by the Ministry of Finance and became effective on September 4, 2009. The F.T.I. supported a policy to exempt export tax on raw hides, rubber, wood and sawn timber, to help the raw hide manufacturers, and sawn and dried wood mills. This was approved by the Ministry of Finance and became effective on October 3, 2009. The F.T.I. supplied software replacements with similar applications to substitute original software at a reasonable price for small and medium sized enterprises members, to solve the problems of proprietary software, such as the GStarCAD to substitute AutoCAD.

Moving towards a “Knowledge-Based Economy” 1992 : The Sirindhorn International Institute of Technology was established under the cooperation of F.T.I., Nippon Keidanren and Thammasat University. The first program was Bachelor of Engineering (English Program), including IT technology, civil engineering, electrical engineering, industrial engineering, and mechanical engineering programs, with the aim of producing high quality engineers to support various demands of the country. Later, in 1995, ปี ส.อ.ท. 278 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

Thammasat University Council approved the establishment of Sirindhorn International Institute of Technology under its own management, free from public regulations and whose title, “Sirindhorn International Institute of Technology” was approved by His Majesty the King in 1996. The Institute was supported by Thanpuying Niramon Suriyasat of Toshiba Thailand Co., Ltd., who donated land with an office on the area of 5.6 rai, at Bangkadi Industrial Park, in 1999. The Federation of Thai Industries (F.T.I.) is fully committed to the improvement of labor quality standards by introducing knowledge and skills to the labor force and, in particular, to craftsmen, to enable them to reach the equivalent skills standards of other countries, through cooperation with various educational and other institutions, to operate projects as follows: Special Project: Accelerated Program in Engineering Tuition – to provide the equivalent of a Bachelor’s Degree education to the staff of various companies that are F.T.I. members and who originally graduated with a Higher Vocational Certificate, to continue their training in the Faculties of Engineering and Industrial Education at Rajamangala University of Technology Phra Nakhon - Thewes Campus; King Mongkut’s University of Technology North Bangkok; King Mongkut’s University of Technology Thonburi; and King Mongkut’s University of Technology Ladkrabang. Engineering Degree Project – This project, in cooperation with Kasetsart University, provides scholarships to needy engineering students selected by their companies. On graduation, they are required to return to work for an agreed period with their scholarship sponsoring companies. Co-operative Education and Career Development Project – This co-project, with Suranaree University, enables both junior and senior students of the Engineering Faculty to serve at apprenticeship level with member companies for a period of four months, giving the students a good opportunity to acquire basic work experiences with those companies. 2002 : The F.T.I. joined with the Ministry of Labor to increase the quality of provincial human resources, based on industrial requirements, by establishing the Human Capacity Building Institute to support educational reform and encourage the involvement of local human resources in industry.


2003 : With an awareness of the need to develop manpower capability in all occupations to support global changes, the F.T.I. submitted a proposal to the Government for the establishment of a Thai Vocational Qualification Institute on July 11, 2003. The Cabinet approved the proposal on October 26, 2004, in accordance with the suggestion of the Office of Vocational Education Commission and F.T.I. to improve the quality and standard of labor systematically to increase the efficiency and competitiveness of the country. The Royal Decree to establish the Thailand Vocational Qualification Institute (Public Organization) became effective on March 31, 2011. The Institute acts as a center to set policies and directions to improve the system of vocational qualifications in accordance with international standards and also to certify the Accreditation Body. 2008 : The F.T.I. compiled a Labor Requirement Database of all member companies to display information concerning the labor requirement of industry through www.ftijob.com , which has greatly helped solve the problems of shortage of labor in industry. 2009 : The F.T.I. joined with Suan Sunandha Rajabhat University to enhance knowledge on logistics under the project – Master’s Degree in Strategic Logistics Management - to produce quality manpower in the logistics sector. The F.T.I. supported government policy to decrease Social Security Contributions during the economic crisis in 2009 to help affected employers and employees. The government decreased contributions of both parties from 5% to 3%, effective from July 1 to December 31, 2009. 2010 : The Human Capacity Building Institute surveyed labor demands in six industries, including auto parts, automotive, electricity and electronics, air conditioning, metal working and machinery, and agricultural machinery industries to set up a Labor Requirement Database of Industry. The survey showed trends and directions of labor demands of industry and benefited the government and academic sectors with information for planning production and manpower development.

Hall of Fame of Thai Industrialists The role and operation of the F.T.I. has benefited the economy and society in many aspects, such as foreign connection, IT technology, industry, environment, energy, education and labor, reflecting the efficiency and potential of Thai industrialists in the world arena. The leadership of Thai industrialists, such as the Chairman of the Association of Thai Industries and Chairman of the Federation of Thai Industries, as well as many other directors, were trusted and won the confidence of Thai people with their honorable positions to be the country’s leaders, including the posts of Prime Ministers, Ministers and Senators. Prime Ministers Mr. Thawee Bunyaket (deceased) Mr. Anand Panyarachun Deputy Prime Ministers Pol.Gen. Praman Adireksarn (deceased) Mr. Pong Sarasin Ministers Mr. Saprang Thephasdin Na Ayudhaya (deceased) Mr. Prakaipetch Intusophon (deceased) Mr. Charn Manutham (deceased) Mr. Chalermphon Srivikorn (deceased) Mr. Chavarat Charnvirakul Dr. Narongchai Akrasanee Senators Mr. Plengsakdi Prakaspesat Mr. Chumsai Hasdin (deceased) Mr. Paron Israsena Na Ayudhaya Dr. Chokchai Aksaranan Thanpuying Niramon Suriyasat (deceased) Since its establishment as the Association of Thai Industries, until and then becoming the Federation of Thai Industries, the F.T.I. has grown in terms of membership and the greater role it has played in the domestic and world arena with a view to strengthening Thai Industry. From the beginning with less than 30 founding members, the F.T.I. has over 7,000 members today.

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

279


The Importance of Industry to Factors Affecting Changes in the Thai economy the Industrial Sector Prior to the implementation of the first National Economic and Social Development Plan (NESDP) in Thailand, growth of GDP stood at around 6.8%. The implementation of the 1st NESDP in 1961 and successive plans since have been used as a tool to shape the direction of industrial growth. The plans have covered three main periods, as follows: • The National Economic and Social Development Plan, First to Fifth (1961-1986) : Covering a period in which industrial production played an important role in the economic growth of the country, especially the promotion of private and overseas investments, and exports. The growth of GDP stood at 9.1%. • The National Economic and Social Development Plan, Sixth-Seventh Plans (1987-1996) : Inflation occurred in the USA resulted in the increasing interest and the stronger US dollar, together with the stronger currencies of other leading industrialized countries. Production bases were relocated from those countries to destinations such as Thailand which still had relatively low labor cost. • The National Economic and Social Development Plan, Eighth-Tenth Plans (1997-present) : The Government has gradually restructured industry with increased competitiveness and efficiency of SMEs and has also established appropriate mechanisms to support free trade of the near future. Exports have always played an important part in the industrial make-up of the economy. Exports of industrial products accounted for 74% (around 1.04 trillion Baht) of total exports in 1995, rising to 77% (around 4.75 trillion Baht) in 2010. The proportion of GDP arising from export of industrial products also increased, from 25% in 1995 to 47% in 2010. Industrial production can generate foreign currency and facilitate financial stability, as well as providing jobs and a better quality of life for the people. Compared with other countries in the region, Thailand is one of the top twenty exporters in the world in many product categories including electronic appliances and equipment, electrical circuits, communications equipment, textiles and fabrics. ปี ส.อ.ท. 280 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

1. Oil price/ inflation /policy interest rate : these factors affect the confidence of consumers and investors, and production cost. 2. Fluctuating currency value : more capital will be mobilized to developing countries, especially in Asia, strengthening of the baht currency, which can then reduce the competitiveness of Thai exports. 3. Competitive adjustment of industry for free trade areas : free trade areas have affected certain industries and services, forcing entrepreneurs to improve their production standards and potentials, and adjust production cost. 4. Fragility of global economic recovery : the EU and Japan tend to be affected by fluctuations of exchange rates and the limitation of financial tools. The economies of both currency zones tend to expand at a low rate. 5. Labor shortages in some industries : one of the serious obstacles toward industrial expansion is a shortage of labor. It can result in losing opportunities, weak competitiveness, increased production cost and inflation. 6. Widening of consumer earning and the whole economic system : such as the rising salary of government staff, rising minimum wage, etc. 7. Economic stimulus package of the Government : such as Populist Policy, Thai Khem Khaeng Project, and loans from financial institutes. 8. Improvement in world economy : the improved economic system of the USA has made the global economy more stable. The structure of the export market has expanded, reducing the impact of economic slow-down in many developed countries.


Management Strategy Under the Current F.T.I. Chairman Thai industry will continue to move forward and expand with sustainability and in co-existence with communities by emphasizing the ecology and environment, health and sanitation, the quality of life in communities and society, increased economic value and greater people participation under the success in advancing toward balanced “ECO Industrial Estates”.

Thailand at both the national and international levels. F.T.I. acts on joint committees between the public and private sectors to solve economic problems, take responsibility, which industries encourage, plan, and the search for solutions to problems in relation to the government policy. The F.T.I. works for the benefits of industrial and economic development of the country as a whole.

Domestic and overseas factors, especially environmental awareness, will drive Thailand’s economy and industry towards becoming a low-carbon society.

Ways to strengthen and stabilize entrepreneurs

F.T.I., as a main representative of the Thai industrial sector, will act as a focal point between the public and private sectors to foster cooperation in information exchange, business development, trade, investment, rights protection, and justice for the benefits of all members and industries in

• Management – It is increasing efficiency and productivity by implementing, for example, lean systems in design, management, production system, resources and other areas to elicit minimum waste and improved productivity for the effectiveness and efficiency of industrial practices. • Competitive Advantage – It is capitalizing on consumer behavior and the trend towards free international trade.

F.T.I.’s industry-related strategies For the development of Thailand’s industry and economy, F.T.I. has formulated the following six strategies. Strategy No. 1: Thai industries are to be developed through value creation on science, technology and innovation that can be concretely commercialized and well integrated. To reach the goal of this strategy, F.T.I. will: 1. support the distribution of research to the industrial sector nationwide (the project of Innovation Coupon for SMEs) 2. review policy development, laws, regulations and privileges in line with the current situation to alert research and development initiatives 3. encourage efficiency among SMEs to increase long term product design capability 4. enhance the connection and expansion of research and development among industries, educational institutes, and governmental departments to foster innovation among SMEs Activities: 1. Furniture Design to supply the demand of new markets This project has been established to encourage SME entrepreneurs in the furniture industry to understand market

trends and target groups, as well as to promote the development and transfer of knowledge and skills in the design and product development. The event was held from January to September 2011 with prototype products on show at the Furniture Design event – TFIC at Impact, Muangthong Thani during September 14-18, 2011. The project created commercial value of around 15 million baht. 2. Thai gems and jewelry design for industry (The Office of Industrial Economics) This project is aimed to elevate the skills and knowledge of old and new workers in the gems and jewelry sector to support changes, quality requirements, standards, and development of distinctive products by using innovative technologies. The project was held from December 2010 to September 2011 and was successful in creating a total of 60 prototype products. Activities included Thai designer workshops with well-known experts in jewelry design, and training. The project helped develop 43 quality designers.

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

281


Strategy No. 2 : The Thai industries are to be developed through stability which are well integrated with local community. The operational guidelines under this strategy are: 1. to encourage the productivity and management of factories with a view to reducing pollution and preserving natural resources Activities: - support industries to improve their production processes and logistics systems to mitigate pressure on resources and reduce pollution - promote the VOCs inventory and the establishment of equipment to reduce VOCs at source - establish a committee to review the efficiency of VOCs measurement and management of entrepreneurs in Maptaphut; work with 36 projects concerning three VOCs (Benzene, 1,3 Butadiene and 1,2 Dichloroethane); and formulate plans to reduce and control VOCs over the period of 2011-2013 - support the academic sector to prevent and control pollution, and recycle wastes and water - support the development of eco-friendly products and the introduction of Eco Labelling 2. to cooperate with the government to solve problems concerning city planning, protection strips and buffer zones for areas between local communities and industrial development, for the better quality of life of the people Activities: - support the establishment of a 10.4-kilometre protective buffer zone. The project was completed in May 2011 - cooperate with government, local communities and central units to produce a Maptaphut city plan and introduce industrial clustering, logistics and waste management to be part of the city planning 3. to support CSR & Social Enterprises concept for the benefits of communities Activities: - support the industrial sector by initiating activities/ projects for the benefits of local communities surrounding factories such as sharing in the operation of clinics/mobile medical clinics, community funds, donations for school buildings and scholarships - establish air inspection stations and display boards - support the recycling bank project for 400 communities - operate the project in honor of H.M. the King’s Birthday ปี ส.อ.ท. 282 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

84 Anniversary, 84 million kilograms recyclables to honor H.M. the King - establish recycling networks nationwide - support industry to join CSR-DIW project - publicize and promote CSR-ISO 26000 training and CSR-DIW project among members 4. to support the participation of community and private voluntary organizations in solving and monitoring environmental problems Activities: - act as a representative of a four-party committee - cooperate with concerned units to overcome environmental crises of industry by relying on international experiences and expertise - join forces with communities, private voluntary organizations, and entrepreneurs to set up industrial management practices - support community participation in the inspection and preservation of the environment and natural resources - support the operation of community friendly centers to solve emergency problems with prompt assistance - support corporate social responsibility 5. to cooperate with government and related units to effectively establish Eco-Industrial Town Activities - campaign and publicize on the Eco-Industrial Town philosophy - cooperate with the government to set regulations for Eco Industrial Towns - sign MOU with METI-KANSAI and JETRO - cooperate with the Industrial Estate Authority of Thailand (IEAT) to develop Eco Industrial Estates - set up a F.T.I. committee for the development of Eco Industry and teams to support the cooperation among industrial entrepreneurs and local organizations to promote Eco-Industrial Towns - support and provide knowledge of the Reduce-ReuseRecycle principle to industry - join the government in developing city zoning plans in line with the concept of the Eco- Industrial Town Strategy No. 3: The development of industrial clusters and supply chains The business clusters will strengthen industry by building competitive advantages and using mechanisms of specific industrial institutes. The strong points of these clusters are


resources and knowledge sharing; quick responses; derivative materials; negotiating benefits that can be obtained. Activities: 1. develop and strengthen the rubber industry cluster in the southern provinces 2. develop and strengthen the oil palm industry cluster in the southern provinces 3. develop and connect the wood furniture industry cluster 4. elevate the efficiency of Thai software and build a cluster of quality entrepreneurs Strategy No. 4: Proactive measures to support ASEAN Economic Community (AEC) and Free Trade Area (FTA) • Fostering of international cooperation to support AEC, such as the establishment of the ASEAN Single Window (ASW), reducing the business gap between countries by enhancing close relations among the ASEAN countries, and through promoting AEC as a national agenda of the ASEAN member states • The adjustment and development of industry to support AEC through promoting product standards among national producers and preventing the import of non-standardized products from other countries, increasing the efficiency of products and services, and making AEC alert • The movement of labor and encouragement of the use of English as a second language to increase the foreign language skills of employees, development of more English programs in vocational training institutes, support of ASEAN markets for vocational graduates in seven professional services • Logistics development through supporting the concrete development of transport systems • Support for investment in ASEAN countries through study/research to collate in-depth information concerning the ASEAN countries, providing special privileges for Thai entrepreneurs to invest abroad

- promotion of investment - emphasize the importance of cross-border trade • Logistics support and encouragement through - improving efficiency of logistics systems in the manufacturing sector - improving efficiency of transport and logistics systems - developing logistics businesses - improving facilities for convenient trade - develop logistics information and manpower • The preparedness of national logistics development, 2012-2016 • Laws and taxes through - supporting law enforcement - improving the structure of tax law Activities: 1. provide assistance to SMEs entrepreneurs, covering both common and in-depth problems 2. elevate the efficiency of SMEs entrepreneurs 3. carry out projects under ECR Thailand – an international organization including : Green Transport project, On-shelf Availability project, Shrinkage project, Returnable Packaging project, and Pallet Height project. Strategy No. 6: Development of human resources for sustainable industry • Educational development for the quality of both vocational and higher education • Human resource development for industrial manpower • Forecasting labor demand figures for industry Activities: The project to increase human skills and efficiency in leather fashion design (The Office of Industrial Economics) to promote knowledge among workers and increase efficiency in fashion design and leather products from SME factories. This activity was undertaken from December 2010 to September 2011.

Strategy No. 5: Facilitating supporting measures for industry • Economic support and encouragement through - Inflation awareness - support of increase in the minimum wage - improvement of laws that are obstacles to national economic development สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

283


Thailand’s Industrial Development in the Next 20 Years Globalization can connect the economic system of various countries in the world. The center of the global economy has increasingly moved towards the Asian countries, particularly ASEAN. The ASEAN Economic Community (AEC) is an economic cluster of 10 ASEAN member states: Brunei, Cambodia, Indonesia, Laos, Malaysia, Myanmar, Philippines, Singapore, Thailand and Vietnam. By 2015, products and services, investment, capital, and skilled labor will freely move among the ASEAN countries. It will be a changing point for Thailand, with the need for transformation in national development under the new circumstances. The International Institute for Management Development (IMD) ranks the competitive efficiency of Thailand at 27th out of 59 countries, based on significant factors such as economic performance, government efficiency, business efficiency, and infrastructure. The main factors affecting Thailand’s economy, society and environment, as well as measures needed to boost opportunities for national development under the changing circumstances are as follows: • AEC as an important factor for the Thai economy cooperation with neighboring countries for trade and investment, as well as new markets for Thailand’s brands in ASEAN • Production connectivity among the agriculture, industry and service sectors - agriculture is still an important production base for added values to be generated in the industry and the service sectors which can expand Thailand’s regional trade and investment .

ปี ส.อ.ท. 284 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

• Infrastructure and logistics - development of highquality infrastructure and logistics networks to support Thailand’s production and service sectors, as well as its international trade. • Aging society - in future, Thailand will experience labor shortages and will need to prepare to support the aging society and be well adopted to changes in the workforce age. • Migration of skilled Thai labor - encouragement of foreign language ability, information technology (IT) and preparation to support changes such as adjustment in the educational system to create a more capable workforce and provide opportunities for Thai labor. • Volatility and risk of global finance - establishment of production standards would help strengthen and increase productivity and reduce the fluctuations and risks inherent in the global economy. • Global warming and its effect on nature, economy and the quality of life - the manufacturing and service sectors, and national policy required that Thailand needs to be more concerned with the factors affecting ecology and the environment. • The “Green Economy” - ways to support the green economy include the use of Green/Low Carbon production processes, alternative energy, rehabilitation and protection of nature and the environment, establishment of sustainable production in agriculture and use of green energy in logistics.


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

285


Useful Information Addresses Government Agencies Minister of Industry กระทรวงอุตสาหกรรม Rama 6 Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel: 0-2202-3000 Fax: 0-2202-3048 Website: www.industry.go.th Department of Industrial Promotion กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Rama 6 Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel: 0-2202-4414-18, 0-2202-4511 Fax: 0-2345-3299 Website: www.dip.go.th Department of Industrial Works กรมโรงงานอุตสาหกรรม 75/6 Rama 6 Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel: 0-2202-4000, 4014 Fax: 0-2354-3390 Website: www.diw.go.th Office of Industrial Economics ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) 75/6 Rama 6 Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel: 0-2202-4274 Website: www.oie.go.th

Industrial Promotion Center Region 3 : IPC 3 ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Tel: 0-5661-3161-5 Fax: 0-5661-3559 Website: http://ipc3.dip.go.th/

Department of Trade Negotiations กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (กระทรวงพาณิชย์) 44/100, Tower 2, Nonthaburi 1 Rd., Mueang, Nonthaburi 11000 Tel: 0-2507-7444 Fax: 0-2547-5630 Website: www.dtn.moc.go.th

Industrial Promotion Center Region 4 : IPC 4 ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 4 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม National Innovation Agency (NIA) Tel: 0-4220-7232-5 Fax: 0-4220-7238 ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ Website: http://ipc4.dip.go.th/ 73/1 Rama 6 Rd., Thung Phaya Thai, Ratchathewi, Bangkok 10400 Industrial Promotion Center Region 5 : IPC 5 Tel: 0-2644-6000 Fax: 0-2644-8444 ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 5 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Website: www.nia.or.th Tel: 0-4337-9296-8 Fax: 0-4337-9302 Website: http://ipc5.dip.go.th/ Thailand Productivity Institute สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ Industrial Promotion Center Region 6 : IPC 6 12th-15th FL. Yakult Building, 1025 Phahonyothin Rd., ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Samsennai, Phayathai, Bangkok 10400 Tel: 0-4441-9622 Fax: 0-4441-9089 Tel: 0-2619-5500 Fax: 0-2619-8100 Website: http://ipc6.dip.go.th/ Website: www.ftpi.or.th Industrial Promotion Center Region 7 : IPC 7 ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Tel: 0-4531-4216-17, 0-4531-4135 Fax: 0-45312378 Website: http://ipc7.dip.go.th/

Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB) ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ 962 Krungkasem Rd., Wat Sommanat, Thai Industrial Standards Institute (TISI) Industrial Promotion Center Region 8 : IPC 8 Pomprap Sattru Phai, Bangkok 10100 ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 8 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Tel: 0-2280-4085 Fax: 0-2281-3938 Rama 6 Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel: 0-3544-1029 Fax: 0-3544-1030 Website: www.nesdb.go.th Tel: 0-2202-3301-4 Fax: 0-2202-3415 Website: http://ipc8.dip.go.th/ Website: www.tisi.go.th Export-Import Bank of Thailand (EXIM Thailand) Industrial Promotion Center Region 9 : IPC 9 ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) Office of the Board of Investment (BOI) ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 1193 EXIM Tower, Phahonyothin Rd., Samsennai, ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน Tel: 0-3878-4064-7 Fax: 0-3827-3701 Phayathai, Bangkok 10400 555 Viphavadi-Rungsit Rd., Chatuchak, Bangkok 10900 Website: http://ipc9.dip.go.th/ Tel: 0-2271-3700, 0-2278-0047, 0-2617-2111 Tel: 0-2537-8111-55, 0-2537-8555 Fax: 0-2537-8177 Fax: 0-2271-3204 Website: www.boi.go.th Industrial Promotion Center Region 10 : IPC 10 Website: www.exim.go.th Office of Small and Medium Enterprises Promotion ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Tel: 0-7720-0395-8 Fax: 0-7720-0449 The Customs Department (OSMEP) Website: http://ipc10.dip.go.th/ กรมศุลกากร ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1 Sunthonkosa Rd., Khlong Toei, Bangkok 10110 (สสว) Industrial Promotion Center Region 11 : IPC 11 Tel: 0-2667-7880-4 Fax: 0-2667-7885 G, 15, 17-20, 23 Floor, TST Tower, 21 Viphavadi-Rungsit Rd., ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Website: www.customs.go.th Chom Phon, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel: 0-7421-1906-8 Fax: 0-7421-1904 Tel: 0—2278-8800 Fax: 0-2273-8850 Website: http://ipc11.dip.go.th/ Ministry of Science and Technology Website: www.sme.go.th กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Industrial Estate Authority of Thailand Rama 6 Rd., Ratchathewi, Bangkok 10400, Thailand Institute for Small and Medium Enterprises นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย Tel: 0-2333-3700 Fax: 0-2333-3833 Call Center: 1313 Development 618 Nikom Makkasan Rd., Makkasan, Ratchathewi, Bangkok 10400 Website: www.most.go.th สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Tel: 0-2253-0561 fax: 0-2253-4086 99 ISMED Building (Gymnasium 1), Thammasat University Website: www.ieat.go.th Thailand Institute of Scientific and Technological Rangsit Center, Klong-luang, Pratumthani 12120 Research (TISTR) Tel: 0-2564-4000-6 Fax: 0-2564-2737, 0-2986-9807-9 Ministry of Foreign Affairs Kingdom of Thailand สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย Website: www.ismed.or.th กระทรวงการต่างประเทศ 196 Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900 Sri Ayudhaya Road, Bangkok 10400 Tel: 0-2579-1121-30, 0-2579-5515, 0-2579-0160 Bureau of Supporting Industries Development Tel: 0-2643-5000 Fax: 0-2561-4771 ส�ำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน Website: www.mfa.go.th Website: www.tistr.or.th Soi Tree Mitr, Rama 4 Rd., Khlong Toei, Bangkok 10110 Tel: 0-2367-8001 Fax: 0-2318-1056 Ministry of Commerce The Thailand Research Fund Website: www.bsid.dip.go.th กระทรวงพาณิชย์ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 44/100 Nonthaburi 1 Rd., Mueang, Nonthaburi 11000 14th Floor, SM Tower, 979/17-21 Phahonyothin Rd., Industrial Promotion Center Region 1 : IPC 1 Samsennai, Phayathai, Bangkok 10400 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Tel: 0-2507-8000 Fax: 0-2547-5210, 0-2507-6305 Website: www.moc.go.th Tel: 0-2278-8200 Fax: 0-2298-0476 Tel: 0-5324-5361-2 Fax: 0-5324-8315 Website: www.trf.or.th Website: http://ipc1.dip.go.th/ Department of Export Promotion กรมส่งเสริมการส่งออก (กระทรวงพาณิชย์) Office of the Consumer Protection Board Industrial Promotion Center Region 2 : IPC 2 ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 2 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 22/77 Rachadapisek Rd., Chatuchak, Bangkok 10900 Tel: 0-2511-5066-77 Fax: 0-2512-2670 Government Administrative Centre, 5th Fl., Tel: 0-5528-2957-9 Fax: 0-5528-3021 Website: www.depthai.go.th Building B, Chaengwattana Rd., Thung Songhong, Website: http://ipc2.dip.go.th/ Lak Si, Bangkok 10210 Tel: 0-2413-0415 Fax: 0-2413-9774 Website: www.ocpb.go.th

ปี ส.อ.ท. 286 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

287


40 กลุ่มอุตสาหกรรม F.T.I. Industry Clubs Agricultural Machinery Manufacturers Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร  0-2345-1161 Air Conditioning and Refrigeration Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ และเครื่องท�ำความเย็น  0-2345-1170, 0-2345-1003 Aluminium Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมอลูมิเนียม  0-2345-1165 Auto Parts Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์  0-2345-1163 Automotive Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์  0-2345-1169 Biotech Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ  0-2345-1168 Cement Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์  0-2345-1272, 0-2229-4979 Ceramic Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิก  0-2345-1165, 0-2218-5558 Chemical Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี  0-2345-1168 Electrical, Electronics & Allied Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์  0-2345-1178, 0-2326-1784

Environmental Management Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมการจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อม  0-2345-1162 Food Processing Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร  0-2345-1167 Footwear Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า  0-2345-1163 Furniture Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์  0-2345-1164, 0-2345-1269 Garments Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม  0-2345-1171 Gem and Jewelry Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ  0-2345-1171, 0-2267-5233-6 Glass Manufacturers Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมแก้วและกระจก  0-2345-1178, 0-3882-8514-20 Granite and Marble Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมแกรนิตและหินอ่อน  0-2345-1179, 0-2578-8060-1 Handicraft Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม  0-2345-1161, 0-2731-0292 Herbal Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมสมุนไพร  0-2345-1178

Leather Based Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนัง  0-2345-1171 Machinery and Metal Work Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ  0-2345-1161 Palm Oil Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมน�ำ้ มันปาล์ม  0-2345-1173 Petrochemical Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี  0-2345-1175, 0-2345-1105 Petroleum Refining Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมโรงกลั่นน�้ำมันปิโตรเลียม  0-2345-1174 Pharmaceuticals Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมยา  0-2345-1167 Plastic Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก  0-2345-1162, 0-2345-1006 Power Producer Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมผู้ผลิตไฟฟ้า  0-2345-1162, 0-2710-3424 Pulp and Paper Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ  0-2345-1170, 0-2586-4504, 0-2586-4511 Renewable Energy Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน  0-2345-1162

Roofing and Accessories Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ์  0-2345-1176, 0-2586-4020-1 Rubber Based Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง  0-2345-1163 Software Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์  0-2345-1168 Sugar Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมน�้ำตาล  0-2345-1167, 0-2273-0992 Textile Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ  0-2345-1171 Thai Gas Manufacturers Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมก๊าซ  0-2345-1168 Thai Panel Product Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมไม้อัด ไม้บาง และวัสดุแผ่น  0-2345-1164, 0-2345-1275 Thailand Iron and Steel Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก  0-2345-1169 The Printing and Paper Packaging Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์กระดาษ  0-2345-1178 Wood Processing Industry Club กลุ่มอุตสาหกรรมโรงเลื่อยและโรงอบไม้  0-2345-1164, 0-7444-6220

74 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด F.T.I. Provincial Chapters Amnat Charoen อ�ำนาจเจริญ  0-4545-1447 Ang Thong อ่างทอง  0-3561-6197 Buri Ram บุรีรัมย์  04461-7483 Chachoengsao ฉะเชิงเทรา  0-3881-4419 Chai Nat ชัยนาท  0-5647-6767 Chaiyaphum ชัยภูมิ  0-4481-2795 Chanthaburi จันทบุรี  0-3931-2851 Chiang Mai เชียงใหม่  0-5330-4346-7 Chiang Rai เชียงราย  0-5371-5399 Chon Buri ชลบุรี  0-3828-8507 Chumphon ชุมพร  0-7751-2361 Kalasin กาฬสินธุ์  0-4382-1162 Kamphaeng Phet ก�ำแพงเพชร  0-5571-3050, 0-5571-2633 Kanchanaburi กาญจนบุรี  0-3454-2634-7 ext. 124 Khon Kaen ขอนแก่น  0-4322-7832 Krabi กระบี่  0-7560-0266 Lampang ล�ำปาง  0-5426-5079 ปี ส.อ.ท. 288 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

Lamphun ล�ำพูน  0-5355-2271 Loei เลย  0-4286-1463 Lop Buri ลพบุรี  0-3663-7732 Maha Sarakham มหาสารคาม  0-4377-7690 Mukdahan มุกดาหาร  0-4261-5454 Nakhon Nayok นครนายก  0-3730-7999 ext. 233 Nakhon Pathom นครปฐม  0-3421-0288 Nakhon Phanom นครพนม  0-4252-1188 Nakhon Ratchasima นครราชสีมา  0-4426-7117-8 Nakhon Sawan นครสวรรค์  0-5633-4715 Nakhon Si Thammarat นครศรีธรรมราช  0-7535-7083, 0-7531-2040 Nan น่าน  0-5460-0012 Narathiwat นราธิวาส  0-7353-2028 Nong Bua Lam Phu หนองบัวล�ำภู  0-4236-0978 Nong Khai หนองคาย  0-4241-3951 Nonthaburi นนทบุรี  0-2580-0320 Pathum Thani ปทุมธานี  0-2501-2284

Pattani ปัตตานี

 0-7331-1481

Phang-nga พังงา

 0-7644-0561

Phatthalung พัทลุง

 0-7462-1761

Phayao พะเยา

 0-5448-0042

Phetchabun เพชรบูรณ์

 0-5674-8758

Phetchaburi เพชรบุรี

 0-3241-4128

Phichit พิจิตร

 0-5661-3114

Phitsanulok พิษณุโลก

 0-5521-6966

Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรีอยุธยา  0-3534-5966 Phrae แพร่  0-5464-9731 ext. 105 Phuket ภูเก็ต  0-7624-0556 Prachin Buri ปราจีนบุรี  0-3727-0500 ext. 613128 Prachuap Khiri Khan ประจวบคีรีขันธ์  0-3261-1030, 0-3261-1580 Ranong ระนอง  0-7782-4689, 0-7781-3766 Ratchaburi ราชบุรี  0-3232-5767 Rayong ระยอง  0-3861-9016

Roi Et ร้อยเอ็ด

 0-4352-4072-4

Sa Kaeo สระแก้ว

 0-3722-5217-20 ext. 112, 131

Sakon Nakhon สกลนคร

 086-455-0775

Samut Prakan สมุทรปราการ

 0-2702-5771-2

Samut Sakhon สมุทรสาคร

 0-3487-0923

Samut Songkhram สมุทรสงคราม

 0-3471-2867

Saraburi สระบุรี

 0-3621-2940, 0-3631-3728

Satun สตูล

 0-7477-2188, 081-599-0415

Si Sa Ket ศรีสะเกษ

 0-4568-2141

Sing Buri สิงห์บุรี

 0-3681-2668

Songkhla สงขลา

 0-7421-1902, 0-7421-3141

Sukhothai สุโขทัย

 0-5561-1110

Suphan Buri สุพรรณบุรี

 0-3555-5658

Surat Thani สุราษฏร์ธานี

 0-7722-3167

Surin สุรินทร์

 0-4451-1128

Tak ตาก

 0-5554-2381, 0-5554-2555

Trang ตรัง  0-7521-7230 Trat ตราด  0-3951-2362 Ubon Ratchathani อุบลราชธานี  0-4531-2300 Udon Thani อุดรธานี  0-4224-6498, 0-4222-1511 Uthai Thani อุทัยธานี  0-5652-4490-1 Uttaradit อุตรดิตถ์  0-5540-3083 Yala ยะลา  0-7324-3613 Yasothon ยโสธร  0-4571-5233


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

289


คณะท�ำงานจัดท�ำหนังสือ “44 ปี ส.อ.ท. น�ำอุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย” ที่ปรึกษา

นายชาญ สารเลิศโสภณ นายไพโรจน์ เกษแม่นกิจ นายเอนก สิริวิชช์ คณะท�ำงาน นายมนต์ชัย รัตนะ นางกนิษฐา ฝนทั่ง นายกฤษณะพงศ์ อัครวัฒน์สุขกุล นางสาวจงรัก ไชยศรี นางสาวณัฐพร ตั้งวงศ์ศานต์ นางสาวพรรรัตน์ เพชรภักดี นางพิชญา วัชโรทัย นายภาคภูมิ ตีระนันทน์ นางมนัญชยา เฟื่องฟูขจร นางสาวมนัสนันท์ นุชจาวิทยาพร นายยุทธพงษ์ วัฒนะลาภา นายรุ่งเรือง สายพวรรณ์ นายศักดิ์สิทธิ์ เลิศหัสดีรัตน์ นางศิริพร สุชาชาติ นางสาวสิรยาภา บูรณพิเชษฐ์ นางสาวสุภา กิจศรีนภดล นายอภิวัฒน์ ทองประเสริฐ นางอังศนา ชีวะดุษฎี นางสาวอุทัยวรรณ ฉัตรจรัสแสง นายเอกราช โชติปกรณ์กุล นางสาวศิริพร หงษ์ทอง นางสาวสุมลวรรณ แย้มพราย นางสาวศิรินารถ เคลือบก�ำเหนิด นางสาวสุภาภร พึ่งแสงจันทร์

ปี ส.อ.ท. 290 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

291


ปี ส.อ.ท. 292 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

293


ใบสมัค รสมาชิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย APPLICATION FOR MEMBERSHIP

Membership F.T.I. No. ..............................................................  กลุ่มอุตสาหกรรม/Industry Clubs ……………………………  สภาอุตสาหกรรมจังหวัด/Provincial Chapters ………………

1. ประเภทสมาชิก  1.1 สามัญ - โรงงาน  1.2 สามัญ - สมาคมการค้า (Ordinary Member)  1.3 สมทบ - นิติบุคล  1.4 สมทบ - บุคคลธรรมดา (Associate Member) (เพื่อประโยชน์ของธุรกิจท่านกรุณากรอกรายละเอียดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ครบถ้วน) 2. ชื่อ  นิติบุคคล/Juristic Persons……………………………………………………………………………………………………....... Name  บุคคลธรรมดา/Person…………………………………………………………………………………………………………....... ที่อยู่ส�ำหรับจัดส่งเอกสาร/Forwarding Address  ส�ำนักงาน/Office  โรงงาน/Factory เลขที่/No …………… หมู่ที่/Moo ……….. ตรอก/ซอย/Soi ……………………………… ถนน/Road…………….……………………............. แขวงต�ำบล/Sub-District ………………………….. เขต/อ�ำเภอ/District …………………………จังหวัด/Province …………..………............ รหัสไปรษณีย์/Postcode ..…………………… โทรศัพท์/Tel. …..………………………..โทรสาร/Fax. …………………………...……............. Homepage/Website …………………………………………………… E-mail ...………………………………………………………............. 3. นามผู้แทนใช้สิทธิในสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย /The company’s representatives to act on behalf of the company ผู้แทนล�ำดับที่ 1 นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... First Representative Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 2 นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... Second Representative Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 3 นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... Third Representative Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... 4. นามผู้แทนใช้สิทธิในกลุ่มอุตสาหกรรม/The industrial club’s representatives to act on behalf of this industrial club ผู้แทนล�ำดับที่ 1 นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... First Representative Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 2 นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... Second Representative Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 3 Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... Third Representative 5. นามผู้แทนใช้สิทธิในสภาอุตสาหกรรมจังหวัด/The F.T.I. provincial chapter’s representatives to act on behalf of this provincial chapter นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 1 Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………..Position …………………………………………... First Representative นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ต�ำแหน่ง …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 2 Second Representative Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………..Position …………………………………………... นาย/นาง/นางสาว………………………………..…………. ตำ� แหน่ง …………………………………………... ผู้แทนล�ำดับที่ 3 Mr./Mrs./Miss ……..………………………………………. Position …………………………………………... Third Representative 6. ทุนจดทะเบียน/Registered Capital …………………..บาท/Baht สินทรัพย์รวม/Total Assets ……………………………บาท/Baht 7. จ�ำนวนพนักงาน/Total Number of Employees …………………………….. คน (ปี พ.ศ. …………………….) 8. ประเภทธุรกิจ  ผู้ผลิต  ผู้จัดจ�ำหน่าย  ผู้นำ� เข้า  ผู้ส่งออก  อื่นๆ ………………………….. Others ……..……......................... Business Category Manufacturer Wholesaler Importer Exporter 9. ผลิตภัณฑ์หลัก/บริการ/Category of Product/Service ………………………………………..…………………………….……………............. ก�ำลังการผลิต/Capacity by unit ……………..ต่อปี ยอดจ�ำหน่าย/Sales ในประเทศไทย/Domestic ….………% ส่งออก/Export …………..% ลงชื่อ ……………………………………… (ผู้มีอำ� นาจลงนาม) Signed with the seal (………………………………………..) ต�ำแหน่ง/Position ….……………………วันที่/Date…..……… ประทับตราบริษัท *ท่านสามารถกรอกรายละเอียดหรือส�ำเนาเพื่อส่งใบสมัครนี้ได้ โดยส่งมายัง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (งานทะเบียนสมาชิก) ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซนซี ชั้น 4 เลขที่ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2345 1027, 0 2345 1030-1

เอกสารประกอบการสมัคร

1. ประเภทสามัญ 1.1 สามัญ – โรงงาน • ส�ำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ • ส�ำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน • งบก�ำไรขาดทุน 1.2 สามัญ – สมาคม • ส�ำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นสมาคมการค้า • รายชื่อสมาชิกสมาคม

2. ประเภทสมทบ 2.1 สมทบ – นิติบุคคล • ส�ำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ 2.2 สมทบ – บุคคลธรรมดา • ส�ำเนาหนังสือรับรองการมีผลงานทางวิชาการ หรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม • ส�ำเนาทะเบียนบ้าน • ส�ำเนาบัตรประชาชน

วิธีการช�ำระเงิน

ปี ส.อ.ท. 294 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย

กรุณาสั่งจ่ายในนาม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES ช�ำระด้วยตนเอง  เงินสด  เช็คธนาคาร ส่งทางไปรษณีย ์  เช็คธนาคาร  ตั๋วแลกเงิน  ธนาณัติ ปทฝ.ศูนย์การประชุมสิริกิติ์ 10342 ช�ำระเงินผ่านบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เลขที่บัญชี 009-1-70874-5 กรุณาส่งส�ำเนาหลักฐานการโอนเงินมาทางโทรสาร 0 2345 1296-9 , 0 2345 1031


สิทธิและประโยชน์ที่ ได้รับ

จากการเป็นสมาชิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 1. การเสนอปัญหาร้องเรียนจากการประกอบอุตสาหกรรม พร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข 2. การให้ขอ้ คิดเห็น ข้อเสนอแนะแก่รฐั บาล เพือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ผ่านสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3. การเข้าร่วมอบรม สัมมนา ดูงานทั้งในและต่างประเทศ และเข้าร่วมโครงการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการ พัฒนาอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งที่เป็นกิจกรรม / โครงการของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสถาบันต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ การบริหารของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 4. การรับรองแหล่งก�ำเนิดสินค้า (C/O) เพื่อแสดงแหล่งก�ำเนิดสินค้าจากไทยในการส่งออก 5. ใ ห้บริการออกหนังสือรับรองฐานะการเงิน เพื่อการขอรับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีจากหน่วยงานราชการต่างๆ ดังนี้ 5.1 สิทธิประโยชน์เป็นผู้น�ำของเข้า ผู้ส่งของออก ระดับบัตรทอง (Gold Card) กรมศุลกากร • การน�ำของเข้า – การส่งของออก ให้ผ่านการตรวจสอบใบขนสินค้าทางช่องเขียว (Green Line) ของระบบ EDI รวมถึงได้รับยกเว้นกระบวนการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ศุลกากร เว้นแต่การสุ่มตรวจ • ให้ตัดบัญชีสินค้าส�ำหรับเรือ (Manifest) ภายหลังการปล่อยของ • การคืนอากรหรือการชดเชยค่าภาษีอากร ได้รับอนุมัติทันทีที่ยื่นค�ำร้องขอ • กรณียื่นขอรับสิทธิลดอัตราอากรน�ำเข้าวัตถุดิบตามมาตรา 19 ทวิ จะได้รับการลดอัตราอากรลงเหลือ ร้อยละ 5 ของอัตราที่เรียกเก็บทั่วไป 5.2 สิทธิประโยชน์ขอลดอัตราอากรน�ำเข้ากึ่งหนึ่งตามมาตรา 19 ทวิ กรมศุลกากร วัตถุดิบหรือสินค้าไม่ว่าจะจัดอยู่ในพิกัดประเภทใดที่น�ำเข้ามาใช้ผลิต ผสม ประกอบ หรือบรรจุ เพื่อการส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรภายในหนึ่งปี นับตั้งแต่วันน�ำเข้าแล้วขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ สามารถลดอัตราอากรลงเหลือกึ่งหนึ่งของ อัตราที่ก�ำหนดเรียกเก็บเป็นการทั่วไป 5.3 สิทธิประโยชน์จัดระดับเป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดี กรมสรรพากร • การได้รับคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ที่รวดเร็วขึ้น ภายใน 15 – 45 วัน • การได้รับการอ�ำนวยความสะดวกด้านต่างๆ จากกรมสรรพากร รวมถึงการรับข่าวสารอย่างต่อเนื่อง 5.4 สิทธิประโยชน์การเป็นผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน กรมสรรพากร • การได้รับคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ที่รวดเร็วขึ้น ภายใน 30 – 60 วัน • การได้รับการอ�ำนวยความสะดวกด้านต่างๆ จากกรมสรรพากร รวมถึงการรับข่าวสารอย่างต่อเนื่อง 6. การตรวจสอบและรับรองสูตรการผลิตส�ำหรับผลิตภัณฑ์พลาสติก เพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 36 (1) และ (2) จากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 7. บัตรเดินทางส�ำหรับนักธุรกิจเอเปค คือ VISA เข้าเมืองประเภทธุรกิจ (Multiple entry) มีอายุการใช้งาน 3 ปี ไม่จ�ำกัด จ�ำนวนครั้งที่เข้า โดยผู้ถือบัตรไม่ต้องขอวีซ่าก่อนเข้าเมือง 18 ประเทศ และมีช่อง Fast-track lanes สามารถใช้ได้ 21 ประเทศ คือ สหรัฐฯ แคนาดา รัฐเซีย ออสเตรเลีย บรูไน ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย นิวซีแลนด์ เปรู ฟิลิปปินส์ ปาปัวนิวกินี สิงคโปร์ ไทย ไต้หวัน เวียดนาม และเม็กซิโก 8. ได้รับเอกสารเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอุตสาหกรรม 9. ได้รับวารสาร Industry Focus รายเดือน จ�ำนวน 12 ฉบับต่อปี (เฉพาะสมาชิกสามัญ) 10. ได้รับหนังสือท�ำเนียบสมาชิกรายปี พร้อม CD ROM จ�ำนวน1 ชุด (เฉพาะสมาชิกสามัญ) 11. ได้รับ e-mail ฟรี 1 account เนื้อที่ 20 MB (เฉพาะสมาชิกสามัญ) 12. ได้รับส่วนลดพิเศษ • เยี่ยมชมโรงงาน ลด 15% - 20% • ขอใบรับรองแหล่งก�ำเนิดสินค้า ลด 20% ้ ลด 20% • ตรวจคุณภาพน�ำ • เข้าอบรมสัมมนา ลด 20% - 30% • ซื้อสื่อวิชาการ หรือ CD ROM ลด 35% • ลงโฆษณาทางอินเตอร์เน็ต ลด 50% สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย THE FEDERATION OF THAI INDUSTRIES

295


ปี ส.อ.ท. 296 44 นำ�อุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืนคู่สังคมไทย








Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.