issue 01·2014
san 4 mm.
21.5x28 cm.
Mercedes-Benz
w w w.m erc e d e s - b e n z. c o . th • M a r c h
01·2014
silver arrow
ตำ�น�นแห่งเกียรติยศ ของลูกธนูเงิน
มหัศจรรย์
The new C-Class
silver arrow
หุบเขาปะการังและหินดำา
หุบเข�ปะก�รังและหินดำ� แห่งเมืองทว�ย
The new C-Class
กับคว�มยอดเยี่ยม ในระดับสูงสุด
57-01-084_Cover_new15-3_J-KIM.indd 1
57-01-084_Cover New11-3_Y KIM.indd=CS6
3/15/14 4:12 PM
0 1 / 2 0 1 4
ธรรมชาติ ชี วิ ต และศิล ปะ เป็ น เรื ่อ งราวเดี ย วกั น
คุณว่าไหม ว่าหากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปความสวยงามรายรอบก็ดูจะไม่สมบูรณ์ และเราว่าสิ่งหนึ่งที่มีทั้งความสวยงาม มีความเป็นธรรมชาติ และยังมีชีวิต ก็คือ ต้นไม้ แม้แต่ฟิลลิป มัวร์ซอง ช่างภาพที่ถ่ายทอดความงามลงบนแผ่นฟิล์ม และก�าลังจะมีผลงานในเมืองไทยในช่วงเวลานี้ก็กล่าวว่า ต้นไม้เป็นสัญลักษณ์ของชีวิต และความหวัง รวมทั้งให้ความรู้สึกมั่นคงในจิตใจ ในยามที่ชีวิตเราขับเคลื่อน และถูกแรงเหวี่ยงจากอะไรต่ออะไร การมีรากที่แข็งแรงจากสิ่งที่เชื่อมั่นคอยยึดเหนี่ยว ดั่งรากที่แข็งแรงของต้นไม้ ก็น่าจะท�าให้อะไรต่อมิอะไรในชีวิต ไม่สั่นไหว และโดดเดี่ยว จนเกินไป
3
016
0 1 / 2 0 1 4
038
056
018
050
01.2014
008
Check-in นวัตกรรมสร้างสรรค์เพื่อโลกอนาคต : S-Class Coupé สปอร์ตคูเป้ที่ท�าให้ชีพจรเต้นระรัว, ครั้งหนึ่งในชีวิตกับการเดินทาง สู่ภูเขาไฟในไอซ์แลนด์, Mobilytrip แอพพลิเคชันใหม่ส�าหรับ นักเดินทาง, Clara Tresgallo กับสถาปัตยกรรมเมืองลอยน�้า
028
กาแฟ Bruno ความหอมละไมในสไตล์อิตาเลียน
046
ก้าวย่างสู่ความเป็นเลิศ
โครงการช่างฝึกหัดเมอร์เซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภาคี
034
ปีแห่งการเปลี่ยนแปลง
050
และการมาถึงของยนตรกรรมที่ผสานคุณภาพ ของการเป็นแบบอย่างที่ยอดเยี่ยม
GLA ยนตรกรรมแบบ SUV ขนาดเล็ก กับพละก�าลังเฉกเช่นสิงห์ทะเลทราย
038
056
016
‘James Webb’ กล้องโทรทรรศน์อวกาศที่แพงและดีที่สุดเพื่อค้นหา ความจริงของจักรวาล
ตำานานแห่งเกียรติยศของลูกธนูเงิน 042
018 C-Class ใหม่ กับความสะดวกสบายและหรูหรามากขึ้น พลังในการขับเคลื่อนที่รุนแรงขึ้น และความยอดเยี่ยมในระดับสูงสุด
4
ปรัชญาหลังเลนส์ของศิลปินภาพถ่ายชาวฝรั่งเศส ฟิลลิป มัวร์ซอง
Emotion โลกศิลปะการออกแบบ อาหาร และแฟชั่น : Diana Beltrán Herrera กับประติมากรรมนกแบบเสมือนจริงที่อิงต้นแบบ ธรรมชาติ, เก้าอี้ปลีกวิเวก Gi Booth, Beyond Fashion นิทรรศการแฟชั่นเสื้อผ้าของ Charls James, Cocoa Island Hotel ที่พักแบบเรือประมงสุดหรู
pHOTOS MArC TrAUTMAnn, InTErTOpICS/EyEVInE/DAVE WALSH, JAn FrIESE, yVES BOrGWArDT, FILIppO BAMBErGHI, DAIMLEr AG
028
060
0 1 / 2 0 1 4
066
080
070
076
01.2014
060
หลวงพระบาง ไปอยู่ ไปพัก ไปรัก และไปกิน
076
ละเลียดรสชาติ และอิ่มเอมความสุข กับวิวสกายไลน์ที่ Izakaya Kudeta, กรุงเทพฯ
064
คุ้มค่าสำาหรับการเยี่ยมเยือน
003
INTRO
078
MOMENTS
081
PUBLICATION DETAILS
MB Magazine
เครือข่ายเมอร์เซเดส-เบนซ์ กับ 5 เสน่ห์เย้ายวนใจจากโลกดิจิทัล 066
คนละมุมมอง ทัศนคติของ Carsten และ Christina ที่มีต่อการทดลองขับ E 220 CDI WAGON ใน Lisbon ประเทศโปรตุเกส 070
ท่องโลกใต้ทะเลสุดมหัศจรรย์กับหุบเขาปะการัง และหินด�าแห่งเมืองทวาย ประเทศพม่า
6
* Application name on appstore Mercedes-Benz magazine Thailand 1/2014
โ ม เ ด ล ใ ห ม่
ลื่นไหลในทุกสถานการณ์
*Technical data and fuel economy figures were not available at the time of going to press.
ความตื ่น ตาเร้ า ใจ บังเกิดขึ้นในทันทีที่เห็นภาพชุดแรกของ S-Class Coupé ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ยนตรกรรมงามล�้าคันนี้เปิดตัวในรูปแบบของรถยนต์ต้นแบบในงาน Frankfurt Motor Show ในปีที่ผ่านมา พร้อมทั้งก่อให้เกิดกระแสความต้องการขึ้นในทันที แต่เมื่อเดินทางออกจากสายการผลิตเพื่อจ�าหน่าย จริงกลับดูดีมากยิ่งขึ้น ความเป็นสปอร์ตคูเป้ที่ชัดเจนเป็นจุดรวมความสนใจที่ท�าให้ชีพจรเต้นระรัวขึ้นในทันที ที่ได้เห็น ความโดดเด่นที่เป็นคุณลักษณะพิเศษไม่น้อยไปกว่ารูปแบบของแนวเส้นที่ลื่นไหล และช่องดักอากาศ ขนาดใหญ่ใต้กันชนหน้า คือเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่มเข้ามาเพื่อรองรับศักยภาพในการขับเคลื่อน ตัวอย่างเช่น ระบบกันสะเทือน Magic Body Control ที่ถ่ายทอดจาก S-Class ซาลูนระบบนี้ จะตรวจสอบสภาพของ พื้นผิวถนนและปรับการท�างานของโช้กอัพให้ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ระบบนี้ยังมาพร้อมกับฟังก์ชันการรักษาระดับตัวรถขณะเลี้ยวโค้ง ซึ่งจะควบคุมระดับการเอียงของตัวรถ ขณะเลี้ยวโค้งไม่ให้เกิน 2 องศา ซึ่งจะช่วยลดระดับแรงเหวี่ยงตัวออกทางด้านข้างส�าหรับผู้ขับขี่ ส่งผลให้การขับขี่เป็นไปอย่างเพลิดเพลินตลอดเส้นทางการเดินทาง
8
C h e C k - i n
Erik Schlangen
บ้ำนทรุด?
วิศวกรโยธาชาวเนเธอร์แลนด์และทีมงานของเขาที่ Delft Technical University ได้พัฒนาแอสฟัลต์ ชนิดใหม่ที่มีความสามารถในการซ่อมแซมตัวเอง
ในเขตหมู ่ บ ้ า น ริมฝั่งทะเลของเมือง Margate ทางตอนใต้ของประเทศ อังกฤษ มีบ้านอยู่หลังหนึ่งที่ด้านหน้าของตัวบ้านเหมือนกับลื่นไถลลงมา ตามทางลาดชันอย่างรวดเร็ว และท�าให้ชั้นบนสุดของตัวบ้านเกิดเป็น ช่องโหว่ขนาดใหญ่จนมองเห็นสภาพภายในที่รกรุงรังไม่เป็นระเบียบ ซึ่งตรงกันข้ามกับด้านหน้าของตัวบ้านที่ถึงแม้จะทรุดตัวเอียงลาดลงมาทับ พื้นที่สวน แต่ก็ยังคงความสวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย นี่ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น จริง แต่เป็นผลงานศิลปะที่ชื่อ From the knees of my nose to the belly of my toes ของศิลปินชาวอังกฤษ Alex Chinneck ตั้งแสดงอยู่ที่เลขที่ 1 Godwin Road จนถึงสิ้นปีที่ผ่านมา ปัจจุบันบ้านหลังดังกล่าวได้กลับคืน สภาพเดิมเพื่อใช้เป็นบ้านพักอาศัยแล้ว a l e x c h i n n e c k . c o m
การซ่อมแซมพื้นผิวถนนด้วยตัวเองมี การท�างานอย่างไร? เราได้ใส่เหล็กฝอยเข้าไปในน�้ามันดินซึ่งใช้ยึดติด แอสฟัลต์ จากนั้นอุปกรณ์พิเศษใช้อุณหภูมิ ความร้อนที่ 85 องศาเซลเซียสหลอมละลาย ทั้งหมดเข้าด้วยกัน ดังนั้น ใยเหล็กหลอมจะท�า หน้าที่เชื่อมประสานรอยแตกแยกใดบนพื้นผิว ให้กลมกลืนเข้ากันเหมือนเดิม
illustr ation brian Taylor photos Daimler aG (2)
ได้ไอเดียนี้มาอย่างไร? ในเนเธอร์แลนด์ปกติเราใช้แอสฟัลต์ที่สามารถ ระบายน�้าซึ่งมีคุณสมบัติคือ สามารถระบายน�้า ออกจากผิวทาง และลดเสียงที่เกิดขึ้นจากการ เสียดสีบนผิวทาง ข้อเสียก็คือ ขณะที่อายุการ ใช้งานของแอสฟัลต์ทั่วไปอยู่ที่ประมาณ 50 ปี ในกรณีของสิ่งที่เราเรียกว่า whisper asphalt (แอสฟัลต์ที่มีรูพรุน) รอยแตกแต่ละรอยจะเริ่ม เกิดขึ้นหลังจากใช้งานประมาณ 5 - 7 ปี แนวคิด ของเราคือการยืดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้น เมื่อไหร่ที่แอสฟัลต์ของคุณจะใช้งานได้จริง? ขั้นตอนการทดสอบของเราเพิ่งจะผ่านพ้นไป 4 ฤดูหนาว และโชคดีที่มันทนทานเพียงพอที่จะ ก่อให้เกิดความเสียหายที่สามารถซ่อมแซมได้ ภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้านี้ ซึ่งจะแสดง ให้เห็นถึงการทดสอบการท�างานของพื้นผิวได้ อย่างยาวนานขึ้น
ข ้ อ มู ล
มุมมองเท่ๆ เป็นชื่อของชุดแผงหน้าปัด จัดแสดงข้อมูลดิจิทัลที่สามารถ ควบคุมการท�างานผ่านสมาร์ทโฟน เช่นเดียวกับการแสดงเวลา แผงแสดง ข้อมูลนี้ยงั สามารถแสดงจ�านวนทวีต อีเมลและการกด likes ในเฟซบุ๊ก ซึ่งจะช่วยให้คุณเกาะติดสังคม ออนไลน์ของคุณได้ตลอดเวลา niMBus
quir ky. com
พ จ น า นุ ก ร ม ย น ต ร ก ร ร ม
ImpAct, ค�ำนำม;
ค�ำศัพท์เฉพำะทำง ส�ำหรับนวัตกรรมกำรผลิตที่น�ำมำใช้ โดยเมอร์เซเดส-เบนซ์ เพื่อใช้ในกำร ผนึกแผ่นเหล็กเข้ำกับส่วนประกอบ ตัวถังที่เป็นอะลูมิเนียมด้วยกำรใช้ หมุดยึดแบบพิเศษ
มีความสนใจในนวัตกรรมนี้มากน้อยเพียงไร? เยอรมนี, สวิสเซอร์แลนด์, แอฟริกาใต้, จีน, ออสเตรเลีย, อังกฤษ และบริษัทรับประกัน ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาล้วนแต่ให้ความสนใจ ที่จะลงทุนในนวัตกรรมนี้ เพราะจะช่วยลดจ�านวน เงินชดเชยที่ต้องสูญเสียไปกับอุบัติเหตุบน ท้องถนนได้ 9
คุ ณ ก� า ลั ง ฟ ั ง
The Goldfinch นวนิ ย ายเรื ่อ งที ่ 3 ของ Donna Tartt เล่าเรื่องเกี่ยวกับ เด็กชายวัย 13 ปีที่สูญเสียมารดา ไปในเหตุการณ์ที่คนร้ายวางระเบิด พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งหนึ่ง แต่เขา สามารถรอดออกมาจาก เหตุการณ์นั้นได้พร้อมกับภาพวาด ภาพหนึ่ง ภาพที่ท�าให้เขานึกถึงแม่ ของเขา แต่เมื่อเวลาผ่านไป ภาพนั้น กลับน�าเขาจมลึกลงไปกับความ สับสนหลอกลวง ความลี้ลับ และการตัดสินใจที่ผิดพลาด amazon . com
โอกาสสุดท้าย
เพี ย ง 350 คั น เท่านั้น และหลังจาก นั้น SLS AMG จะถูกบันทึกลงใน หน้าประวัติศาสตร์ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ น่าละอายใจถ้า SLS AMG GT รุ่นพิเศษ Final Edition ที่มีชิ้นส่วน ตัวถังมากมายหลายชิ้นท�าจาก คาร์บอนไฟเบอร์ต้องใช้ทั้งชีวิตกับ ยางที่พัฒนาขึ้นเป็นพิเศษในโรงรถ ของนักสะสมบางคนเท่านั้น mercedes-amg.com
“ ฉันแสวงหาความท้าทายที่ฉัน
ยังไม่ได้เตรียมพร้อมที่จะรับมือ กับสิ่งนั้น นั่นเป็นวิถีทางในการ พัฒนา การฝ่าฟันเมื่ออุปสรรค มาถึง คุณไปได้ไกลกว่าจุดที่รู้สึก ว่าคุณไม่สามารถจะท�าสิ่งนั้นได้” 1
ค รั ้ง ห นึ ่ง ใ น ชี วิ ต . . .
2
3
เดินทางสู่ศูนย์กลางของโลก 10
ท�าได้อย่างไร? Thrihnukagigur เป็นภูเขาไฟ ในไอซ์แลนด์ คุณสามารถ เดินทางอย่างช้าๆ ลึกลงไปสู่ ระดับความลึก 120 เมตรใน ปล่องภูเขาไฟนี้ด้วยเคเบิลคาร์ สิ่งที่จ�าเป็น? คุณต้องมีร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ อายุเกิน 12 ปี และที่ส�าคัญที่สุด ต้องไม่เป็น โรคกลัวที่แคบ อยู่ที่ไหน? ภูเขาไฟนี้ต้งั อยูห่ า่ งจากเรคยาวิก เมืองหลวงของไอซ์แลนด์ ระยะเวลา การเดินทางด้วยรถยนต์ประมาณ 30 นาที รายการทัวร์นี้เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป insidethevolcano.com เป็นผูจ้ ดั
*Further technical specifications and fuel consumption figures can be found on page 74.
m a r i s s a m ay e r , c e o o f ya h o o
C h e C k - i n
18°
29'
s,
70°
Arica Copiapó
จาก สู่
20'
W
AricA
copiApó
ระยะทาง 1,271 กิโลเมตร เวลาในการเดินทาง ประมาณ 23 ชั่วโมง ไฮไลท์ เขตป่าสงวน Pampa del Tamarugal
ทางหลวงสาย Panamericana ทอดข้ามทะเลทราย Atacama ในประเทศชิลี เป็นหนึ่งในสถานที่ แห้งแล้งที่สุดในโลก ริมฝั่งหนึ่งของ ถนนสายนี้เป็นภูเขาที่รายรอบภูเขาไฟ Licancabur ขณะที่อีกฝั่งหนึ่งเป็น จุดที่บรรจบพบกันของทะเลทรายกับ มหาสมุทรแปซิฟิก และที่ทอดตัวอยู่ สุดลูกหูลูกตาระหว่างสองสิ่งนี้คือ ทรายและทะเลเกลือ คุณอาจสังเกต เห็นรถยนต์คันอื่นที่วิ่งอยู่ในระยะที่ ห่างไกลถึง 50 กิโลเมตรจากฝุ่นควัน ที่เกิดขึ้น ลมหมุนที่เกิดขึ้นอย่าง รวดเร็วก่อให้เกิดรูปแบบของแท่งเสา ทรายที่แปลกตา ขณะที่ในเวลาเย็น ใกล้ค�่าท้องฟ้าจะสว่างไสวขึ้น ดวงดาว ทอแสงระยิบระยับและให้ความรู้สึกว่า อยู่ใกล้อย่างเหลือเชื่อ chile .tr av el
แ อ พ ฯ ล ่ า สุ ด
ดาวน์โหลดส�าหรับนักเดินทาง เป็นสมุดบันทึกความทรงจ�าในการท่องเที่ยว ที่สามารถท�าได้ด้วยตัวเอง ทั้งหมดที่ต้องการคือ การเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตเพื่อแชร์ข้อมูลและรูปภาพกับเพื่อนๆ ถ้าต้องการ คุณสามารถใช้แอพฯ เพื่อบันทึกความทรงจ�าในการท่องเที่ยว ในรูปแบบของสมุดภาพ
photos l aif (2), Daimler aG (1)
MoBilYtrip
Blinkist:
ส�าหรับการจัดท�า สารคดีสั้นส�าหรับ นักเดินทาง
Fotopedia: รวบรวมภาพ สถานที่สวยงาม ที่สุดในโลก 25,000 ภาพ
GT Racing 2: เกมแข่งรถที่ให้ ความรู้สึกถึงการ บังคับควบคุมแบบ เสมือนจริง มี 4 รูปแบบให้เลือกสนุก
240
นาโนเมตร หรือ 240 พันล้านเมตร คือความสูงของเข็ม ที่แหลมคมมากมายเหลือคณานับ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์พบเมื่อ พวกเขาตรวจสอบปีกของแมลงปอสายพันธ์ุ Diplacodes bipunctata ด้วยกล้องจุลทรรศน์ สิ่งที่สร้างความตื่นเต้นใน การค้นพบนี้คือ เข็มจ�านวนมหาศาลนี้ท�าให้ผิวของแบคทีเรีย เสียหายจนไม่สามารถก่อให้เกิดอันตรายได้ โดยจะเจาะผนังเซลล์ ของเชื้อแบคทีเรียออกในทันทีที่มาสัมผัสกับพวกมัน แบคทีเรีย 450,000 เซลล์ต่อหนึ่งตารางเซนติเมตร สามารถกลายเป็นสิ่งที่ ไม่เป็นอันตรายได้ด้วยวิธีนี้ นักวิจัยก�าลังน�าสิ่งที่พบนี้มาพัฒนา พื้นผิวเทียมที่มีคุณภาพทัดเทียมกันเพื่อการใช้งานในหลาย รูปแบบ เช่น ส�าหรับใช้ในโรงพยาบาล เป็นต้น 11
เ ท ค โ น โ ล ยี
ขอให้มีแสงสว่าง
เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นโดยศาสตราจารย์ Harald Haas แห่งมหาวิทยาลัยเอดินบะระ ส�าหรับเทคโนโลยีที่เขาได้พัฒนาขึ้นส�าหรับการถ่ายทอดข้อมูลด้วยการใช้แสงไฟ แนวคิดนี้ ท�าให้ข้อมูลสามารถส่งต่อถึงกันได้โดยใช้หลอดไฟ LED ปกติทั่วไป สิ่งที่เรียกกันว่า ไฟพูดได้ ท�างานได้จริงแม้ในที่ที่ไม่มีแสงส่งไปยังตัวรับข้อมูลโดยตรง อีกไม่นานเราอาจจะได้ดาวน์โหลดอีเมล และวิดีโอต่างๆ โดยใช้เพียงไฟฉายก็เป็นได้
li-Fi
ท�าสมาร์ทโฟนใช้เอง
เดี๋ยวนี้คุณสามารถมีโทรศัพท์มือถือ ทีเ่ ป็นมากกว่าโทรศัพท์มอื ถือทีผ่ ลิตออกมา จ�าหน่ายเป็นจ�านวนมากได้ แนวคิดของ Phonebloks คือ การให้ลูกค้าสามารถ ออกแบบสมาร์ทโฟนในรูปแบบของตัวเองได้ โดยการเพิม่ กล้องรุน่ ใหม่ หรือหน่วยความจ�า พิเศษได้ตามที่ต้องการ
purelifi . co . uk
ไม่ ว ่ า จะเป็ น บทความเรื่อง ยางแอสฟัลต์ที่ซ่อมแซม ตัวเองได้ หรือสมาร์ทโฟน ส่วนตัว คุณสามารถหา ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีเหล่านี้ได้ด้วย การใช้ QR app ของ สมาร์ทโฟนของคุณ
phon ebloks . com
เฟรมโลหะ
ท�าหน้าที่เป็นฐานรากที่แข็งแรง ของทางเดินเท้าและสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ m b - q r . c o m /0fJ
โครงสร้ า งใต้ น� ้า
เมืองลอยน�้า
นอกจากจะเป็นฐานรากแล้ว ยังท�าหน้าที่ในการกรองน�้าด้วย
เป็น 1 ใน 5 เมืองใหญ่ริมฝั่งทะเล ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกน�้าทะเลเซาะจนจมหายไปทั้งเมืองในอนาคต Clara Tresgallo สถาปนิกที่น�าแรงบันดาลใจจากต้นโกงกางที่จมแช่อยู่ในน�้า มาใช้ในการพัฒนาแนวคิดการป้องกันเมืองที่อยู่ริมฝั่งทะเล ด้วยการใช้ความสามารถทางธรรมชาติของพืชชนิดนี้ในการรับมือกับสภาวะน�้าท่วมอย่างเฉียบพลัน โครงข่ายของโครงสร้างเหล็ก ที่วางตลอดแนวชายฝั่งจ�าลองมาจากรากของต้นโกงกาง และส่วนที่จมอยู่ใต้น�้าช่วยส่งเสริมในการพัฒนาให้เกิดแนวปะการัง ส่วนพื้นที่ซึ่งอยู่เหนือระดับน�้าเป็นโครงสร้างที่สามารถน�ามาใช้ใน การก่อสร้างตกแต่งเพิ่มเติมให้เป็นโรงแรม ร้านค้า หรืออพาร์ตเมนต์ได้ cl a r atr esga llo .com
MiaMi
12
Ponton MerCedeS
1954
60
S-ClaSS
2014
ความงามที่ไม่เสื่อมคลาย
ปี ผ ่ า นไป บางสิ่งบางอย่างใน S-Class ใหม่แทบไม่แตกต่างไปจากใน Mercedes W 180
Ponton ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยากในโลกของยนตรกรรม ถึงแม้ทั้งหมดจะเป็นความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยี แต่ก็ยังมีดีไซน์ที่คล้ายคลึงกัน สิ่งนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
กว่ า 100 ปี ม าแล้ ว ที ่ร ถยนต์ มี ก ารพั ฒ นาตั ว เองมาอย่ า งต่ อ เนื ่อ ง การออกแบบภายในก็เช่นกัน มีการพัฒนาก้าวหน้าไปตามกาลเวลาด้วย แนวคิดการออกแบบที่เน้นความทันสมัยและยกระดับความสะดวกสบายให้ เพิ่มมากขึ้น เบาะที่น่งั ถูกออกแบบให้สวยงามตามหลักสรีระศาสตร์มากขึ้น ก้านหรือคันบังคับควบคุมรวมไปถึงสวิตช์ต่างๆ เพิ่มจ�านวนมากขึ้น และเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทมากขึ้นด้วยเช่นกัน แต่สิ่งหนึ่งภายใน ห้องโดยสารที่ทนทานต่อความก้าวหน้าที่พัฒนาไปตามกาลเวลาเมื่อ เปรียบเทียบกับสิ่งอื่น นั่นคือ สิ่งที่เรียกว่า พวงมาลัย ด้วยชื่อของมันเอง สื่อเป็นนัยถึงความสัมพันธ์กันระหว่างมนุษย์กับเครื่องจักร และส�าหรับ พวงมาลัยแล้ว ไม่มีความจ�าเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของตัวเอง ให้ผิดรูปผิดร่างจนเกินความจ�าเป็น บางสิ่งอาจจะเกิดขึ้นด้วยความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เช่น คอพวงมาลัยนิรภัย ถุงลมนิรภัยส�าหรับผูข้ บั ขี่ และอื่นๆ แต่พื้นฐานการออกแบบของพวงมาลัยยังคงเดิมแทบจะไม่มีการ เปลี่ยนแปลง พวงมาลัยของ S-Class ใหม่ ที่ออกแบบในรูปแบบของ 14
พวงมาลัยแบบ 2 ก้าน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับสิ่งที่ คล้ายกันที่อยู่ใน Mercedes W 180 Ponton แต่สิ่งนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไร กับการคิดถึงหรืออาลัยอาวรณ์กับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตซึ่งหัวหน้าทีม ออกแบบภายใน Hartmut Sinkwitz อธิบายว่า “จุดประสงค์หนึ่งของ การออกแบบพวงมาลัยใน S-Class ใหม่ คือการท�าให้เกิดความรู้สึกถึง ความโปร่งโล่ง” ดังนั้นขณะที่แกนกลางและขอบรอบนอกถูกควบคุมด้วย ความต้องการด้านความปลอดภัย จ�านวนที่ลดลงของก้านพวงมาลัยเพิ่ม พื้นที่วา่ งควบคูไ่ ปกับการยกระดับความหรูหราขึ้นในเวลาเดียวกัน ในกรณี ของบรรพบุรุษเมื่อ 60 ปีก่อน มันเป็นไปตามหลักการของรูปแบบตาม ประโยชน์ใช้งาน ในยุคที่ยงั ไม่มพี วงมาลัยเพาเวอร์ ขอบนอกของพวงมาลัย ที่มขี นาดใหญ่ชว่ ยลดแรงที่จะใช้ในการหมุนพวงมาลัย และนี่เป็นอีกครั้งหนึ่ง ที่วิวัฒนาการของพวงมาลัยแสดงให้เห็นว่า ผลลัพธ์ที่เหมือนกันบางครั้ง > ท�าให้บรรลุผลส�าเร็จด้วยแรงจูงใจที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ดวงตาบนฟากฟ้า
กล้องโทรทรรศน์อวกาศชื่อ JAMES WEBB จะเป็นกล้องโทรทรรศน์
อวกาศที่ดีที่สุด และแพงที่สุดเท่าที่เคยมีการสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ขึ้นมา ในเวลาอีกไม่กี่ปีข้างหน้า มันจะถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรในห้วงอวกาศ เพื่อสังเกตและค้นหาความจริงของจักรวาล
16
i n n o v a t i o n
เ
มือ่ เรามองขึน้ ไปในอวกาศ สิง่ ทีเ่ ราเห็นเป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต แล้ ว ทั้ ง สิ้น เช่ น ถ้ า เรามองดู ก ระจุก ดาว Messier 15 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกของเรา 30,000 ปีแสง นัน่ หมายถึงว่า สิง่ ทีเ่ รามองเห็นเกิดขึน้ เมือ่ 30,000 ปี ล่วงมาแล้ว ดวงดาวที่ร้อนจนมองเห็นเป็นสีน�้าเงิน และเย็นเป็นสีทองของกระจุกดาวทรงกลม Messier 15 นี้ สามารถจ�าแนกได้อย่างชัดเจนจากภาพล่าสุด ทีส่ ง่ มาโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ Hubble (ซ้ายมือ, ภาพแบ็กกราวด์) ทัง้ นีก้ ล้องโทรทรรศน์อวกาศ James Webb จะมีคุณสมบัติในการค้นหาได้มากขึ้น และ มองลึกเข้าไปในอดีตได้อย่างชัดเจนมากยิง่ ขึน้ ถึง 200 ล้านปีหลังจากการเกิดปรากฏการณ์ Big Bang โดย กล้องโทรทรรศน์ James Webb เป็นโครงการร่วมระหว่าง NASA องค์การอวกาศสหรัฐอเมริกาและองค์การ อวกาศของยุโรปและแคนาดา ซึง่ จะเริม่ ในปี ค.ศ. 2018 ด้วยงบประมาณ 8.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
1 ประหยั ด พื ้น ที ่
photoS NASA/ESA , NASA/MSFC/dAvid higgiNbothAM (1)
กล้องโทรทรรศน์อวกาศจะถูกส่งขึ้นสู่อวกาศ โดยจรวด Ariane 5 ระหว่างการเดินทางสู่วงโคจร ส่วนที่เป็นกระจก 3 ด้านจะพับเข้าหากัน และจะกางออกอีกครั้งเมื่ออยู่ในอวกาศแล้วเท่านั้น เพราะเมื่อกางกระจกนี้ออกเต็มที่แล้ว จะมีขนาดใหญ่ เกินกว่าที่ระบบการส่งตัวใดๆ ที่มีอยู่จะรองรับได้
3 รั ก ษาความเย็น
แผงบังแดดขนาดใหญ่ 5 ชั้นท�าจากวัสดุที่เรียกว่า kapton เคลือบด้วยอะลูมิเนียมในด้านที่รับแสง และซิลิคอนในอีกด้าน หนึ่ง เพื่อรักษาอุณหภูมิความเย็นในกรณีที่เกิดการตกกระทบ ของรังสีอินฟราเรด ท�าให้กล้องโทรทรรศน์นี้ท�างานในอุณหภูมิ ที่เหมาะสมตลอดเวลา
2 ทะลุ ป รุ โ ปร่ ง
กระจกของกล้องโทรทรรศน์นี้ (ภาพด้านบน ระหว่างการทดสอบความหนาวเย็นของ NASA) มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 6.5 เมตร และประกอบด้วย ชิ้นส่วนกระจกรูปทรง 6 เหลี่ยม 18 ชิ้น ขนาดความยาวเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.3 เมตร กล้องโทรทรรศน์นี้ท�าขึ้นจากวัสดุน�้าหนักเบา เป็นพิเศษ แต่มีส่วนผสมของโลหะเบริลเลียม เพื่อความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิ และเคลือบด้วยทองเพื่อเพิ่ม คุณสมบัติในการสะท้อนแสง
4 มองไม่ เ ห็ น
อุปกรณ์ต่างๆ ของกล้องโทรทรรศน์นี้ออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อป้องกันรังสีอินฟราเรด เช่นเดียวกับแสงที่เกิดจากการ ก�าเนิดของจักรวาลที่มีการบิดเบือนไปโดยการขยายตัวของ อวกาศ และไม่สามารถตรวจสอบได้ด้วยสายตามนุษย์ 17
18
ยกสถานภาพ
Backdrops Christoph Koestlin/Folio-iD
D R I V E
สะดวกสบายและหรู ห รามากขึ ้น พลังในการขับเคลื่อนที่รุนแรงขึ้น และความยอดเยี่ยม ในระดับสูงสุด ค�าจ�ากัดความใหม่ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ที่มีให้กับรถยนต์นั่งขนาดกลาง การปรับปรุงใหม่ประจักษ์แจ้งทั้งภายในและภายนอก
เรื่ อ ง
M I C H A E L M O O R S T E DT
ภาพ
M A R C T R AU T M A N N
19
แม้ขณะจอดนิ่งอยู่กับที่ยังสื่อถึงความ
20
D R I V E
พร้อมที่จะพุ่งทะยานไปเบื้องหน้า
21
มาดนั ก กี ฬ า
ครั ้ง แรก
ส�ำหรับ C-Class ระบบกันสะเทือนแบบอำกำศ Airmatic รับประกันได้ถึงควำมสะดวกสบำย และควำมพึงพอใจ ในกำรขับขี่ที่เปี่ยมด้วยพลังอ�ำนำจ 22
Backdrops GreG Conr aux/Folio - iD
ฝำกระโปรงหน้ำยำวและบั้นท้ำยสั้นท�ำให้เกิด เรือนร่ำงที่งดงำมตำมหลักแอโรไดนำมิก
D R I V E
ทุ T
กวันนีเ้ ราสามารถค้นพบโลกได้ดว้ ยปลายนิว้ เท่านัน้ เราใช้จอและแป้นสัมผัสเพือ่ สัง่ การท�างานของสมาร์ท โฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ ตู้เครื่องดื่มและตู้เบิก เงินสด เครือ่ งจ�าหน่ายตัว๋ และอุปกรณ์อา� นวยความ สะดวกสบายอื่นๆ อีกมากมายยิ่งไปกว่านั้น จอสัมผัสแทรกตัวเข้ามาท�าหน้าที่เชื่อมความ สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับเครื่องจักร แต่หลายปีที่ ผ่านมารถยนต์ยังคงเป็นสิ่งที่แตะต้องไม่ได้สา� หรับ ความเปลีย่ นแปลงนี้ ท�าไม? บางทีอาจเป็นเพราะว่า ระบบของเครื่องยนต์ พละก�าลังที่ไม่อาจต้านทาน ได้ของแรงม้าหลายร้อยแรงม้า ที่ดูเหมือนว่าจะไม่ ลงรอยกับการควบคุมที่เรียบง่ายของจอสัมผัส ในเดื อ นมกราคมที่ ผ ่ า นมาในงานดี ท รอยต์ ออโตโชว์ เมอร์เซเดส-เบนซ์ได้แนะน�า C-Class ใหม่ ที่จะเปลี่ยนแปลงทั้งหมดนั้น ผลงานชิ้นเยี่ยมที่อยู่ ที่คอนโซลกลางของ C-Class ใหม่นี้คือ แป้นสัมผัส ที่มีพื้นผิวอ่อนนุ่มดุจแพรไหม มีการท�างานเหมือน สมาร์ทโฟน โดยทีผ่ ขู้ บั ขีส่ ามารถใช้ปลายนิว้ ของเขา สั่งการท�างานของฟังก์ชันทั้งหมดได้อย่างง่ายดาย ไม่วา่ จะเป็นระบบไฟเรืองแสงล้อมรอบห้องโดยสาร ระบบควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ และระบบมัลติมีเดีย อีกทั้งระบบนี้ยังใช้ร่วมกับอุปกรณ์นา� ทางได้ อีกด้วย ด้วยการใช้นิ้วอย่างเป็นธรรมชาติ แป้น สัมผัสนีส้ ามารถขยายสิง่ ทีต่ ้องการเห็นในแผนทีใ่ ห้ ชัดขึ้นใหญ่ขึ้น ฟังก์ชันจดจ�าลายมือเขียนสามารถ ระบุแต่ละตัวอักษรของจุดหมายปลายทางด้วยการ ใช้นวิ้ มือเขียนลงไปบนหน้อจอ (ซอฟต์แวร์สามารถ
ที ่สุ ด ของความหรู ห รา
จอแสดงข้อมูลขนำดใหญ่และช่องแอร์ทรงกลม 3 ช่อง สะกดทุกสำยตำ ระบบแสดงข้อมูล head-up display ให้ควำมประทับใจเพิ่มมำกขึ้น
ตรวจสอบได้แม้แต่ลายมือทีย่ งุ่ เหยิงทีส่ ดุ ) และหลัง จากใช้เวลาสั้นๆ ในการท�าความคุ้นเคย ผู้ใช้จะ เขียนค�าสั่งต่างๆ ที่ต้องการได้โดยสัญชาตญาณ อย่างไรก็ตาม ส�าหรับผูข้ บั ขีท่ รี่ สู้ กึ ไม่สะดวกกับการ ควบคุมแบบสัมผัสนี้ รูปแบบของปุม่ คอนโทรลเลอร์ ที่คุ้นเคยยังคงมีให้ใช้งานด้วยเช่นกัน แต่เปลี่ยน จุดติดตั้งไปสู่ตา� แหน่งใหม่ที่ด้านล่างของจอสัมผัส มหัศจรรย์นี้
ครั้งแรกของการแสดงข้อมูลแบบ
head-up display รวบรวมหลากหลายฟังก์ชนั ใช้งานไว้ในอุปกรณ์ เพียงชิน้ เดียว ประสิทธิภาพในการใช้งานทีด่ ีขนึ้ คือ การลดจ�านวนของปุ่มและสวิตช์ควบคุมต่างๆ บน คอนโซลกลาง ท�าให้หอ้ งผูข้ บั ขีม่ คี วามเป็นระเบียบ เรียบร้อยมากขึ้น โดยใช้อุปกรณ์น้อยชิ้นที่สุด แต่มี ประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด ผลส�าเร็จดังกล่าว มาจากจอแสดงข้อมูลแบบลอยตัวขนาดใหญ่ และ ช่องระบายอากาศทรงกลม 3 ช่อง และที่อยู่ต�่าลง ไปคือหนึ่งในรูปแบบของความสวยงามร่วมสมัย ความยอดเยี่ ย มเหนื อ ชั้ น ถู ก เน้ น ย�้า มากขึ้น ด้ ว ย ระบบแสดงข้อมูลแบบ head-up display ที่มีการน�า มาใช้เป็นครัง้ แรกในรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ ระบบ จะแสดงข้ อ มู ล ที่ ส� า คั ญ เกี่ ย วกั บ ความเร็ ว หรื อ เส้นทางให้ผู้ขับขี่รู้บนกระจกหน้า อย่างไรก็ตาม นวัตกรรมใหม่ที่เพิ่มขึ้นไม่มี ผลกระทบต่อพืน้ ผิวทีใ่ ห้อารมณ์ความรูส้ กึ ทีน่ มุ่ นวล สวยงาม การลื่นไหลของแนวเส้นที่งดงามที่มา บรรจบกันอย่างกลมกลืนที่คอนโซลกลางแต่อย่าง ใด เมื่ออ้างอิงถึงการออกแบบโครงสร้างของห้อง ผูข้ บั ขี่ Hartmut Sinkwitz หัวหน้าทีมออกแบบภายใน ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ พูดในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับอารมณ์ ความรู้สึกที่ชัดเจนว่า ไฮไลท์ส�าคัญประกอบด้วย ความแข็งแกร่งของโลหะ และพืน้ ผิวทีผ่ า่ นกระบวน การกัลวาไนซ์ (การชุบโลหะด้วยไฟฟ้าเพื่อป้องกัน สนิม) การตัดเย็บที่ประณีตพิถีพิถัน และความ งดงามเงามันของลายไม้ ซึ่งทั้งหมดเป็นที่สุดของ การออกแบบภายในห้องโดยสาร ส�าหรับบรรพบุรุษของ C-Class ปัจจุบันเมอร์เซเดส-เบนซ์ 190 ได้รับการเรียกขานในชื่อที่แสดง ถึงความรักใคร่ว่า “Baby Benz” ที่ถึงแม้ว่าจะสื่อ ถึง ขนาดหรือ สัด ส่ ว นที่ ยั ง ไม่ โ ตเต็ ม วั ย หรื อ ไม่ สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน แต่ในปัจจุบัน เป็นที่ประจักษ์ชัดเจนถึงความเหมาะสมยอดเยี่ยม อย่างไม่อาจปฏิเสธได้ 23
คุ ณ ภาพระดั บ พรี เ มี ย ม
พื้นผิวที่ให้สัมผัสที่เยือกเย็นงดงาม ความลื่นไหล ของแนวเส้นต่อเนื่องถึงภายในห้องโดยสาร : ที่สุดของการออกแบบภายในห้องโดยสาร
จากพี่ สู ่ น ้ อ ง
ยากที่จะเลี่ยงความสัมพันธ์ในเครือญาติ โดยเฉพาะ จากซีดานหรูขนาดใหญ่ การถ่ายทอดนวัตกรรม เทคโนโลยีรวมถึงความหลากหลายของงระบบ ให้ความช่วยเหลือผู้ขับขี่
24
D R I V E
เมือ่ ความยอดเยีย่ มเหล่านัน้ ได้ถา่ ยทอดจากรุน่ สูร่ นุ่ จนมาถึงรุน่ ใหม่ลา่ สุดทีภ่ ายในห้องโดยสารได้ รับการอัพเกรดให้เหนือชั้นขึ้นอีกระดับ เมื่อเข้าไป นัง่ ใน C-Class ใหม่ สามารถรับรูไ้ ด้ถงึ ประสบการณ์ ใหม่เสมือนกับการนั่งเครื่องบินโดยสารที่ได้รับการ อัพเกรดจากที่นั่งชั้นประหยัดเป็นชั้นธุรกิจ ส�าหรับ การพบพานโมเดลใหม่นี้ อาจจะไม่แสดงออกอย่าง ชั ด เจนในทั น ที ว ่ า นี่ คื อ รถยนต์ ที่ โ ดยปกติ ทั่ ว ไป จัดระดับให้อยูใ่ นรถยนต์นงั่ ขนาดกลาง “การพัฒนา เกิดขึน้ ในช่วงเวลาทีเ่ ราได้กา� หนดค�าจ�ากัดความใหม่ ส�าหรับแบรนด์ของเราและสโลแกนใหม่ของเรา “the best or nothing” Sinkwitz หัวหน้าทีมออกแบบ อธิบายเพิ่มเติม
ความก้าวหน้าที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
เมื่อมองลึกลงไปสามารถรับรู้ได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจนว่า ความส�าเร็จได้บังเกิดขึน้ อย่างสอดคล้อง กลมกลืนโดยตลอดทั้งคัน รวมไปถึงในเรื่องของ ตัวถังด้วย ขนาดของตัวรถได้รับการขยายให้ใหญ่ขนึ้ ขณะเดียวกันน�้าหนักส่วนเกินถูกก�าจัดทิ้งไปด้วย เช่นกัน การเปิดดูแค็ตตาล็อกให้ความประทับใจ เบื้องต้นได้เป็นอย่างดี C-Class ใหม่มีนา�้ หนักตัว ที่ลดลงจากเจเนอเรชันก่อนถึง 100 กิโลกรัม ท�าให้ มีตัวเลขความสิ้นเปลืองน�้ามันเชื้อเพลิงที่ดีเยี่ยม ที่สุดในรถยนต์ระดับเดียวกัน นอกจากนี้แล้ว C-Class ใหม่ ยังมีขนาดตัวรถ ทีย่ าวขึน้ 10 เซนติเมตร ซึง่ ไม่เพียงท�าให้หอ้ งโดยสาร ด้านหลังมีพื้นที่ส�าหรับวางขามากขึ้น ยังส่งผลถึง การยกระดับขึ้นในเรื่องของแอโรไดนามิก ความ สวยงามด้านหน้าจากฝากระโปรงหน้าที่ยืดยาวขึ้น ความโค้งอย่างสวยงามของแนวหลังคาและช่วงท้าย ทีส่ นั้ ลง ยิง่ ไปกว่านัน้ โครงสร้างด้านข้างทีม่ ลี ักษณะ เฉพาะยังท�าให้เกิดแรงกระตุ้นมากขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันถึงความ ละม้ายคล้ายคลึงกับ S-Class หลากหลายนวัตกรรม ทางเทคโนโลยีและระบบให้ความช่วยเหลือต่างๆ ได้ถ่ายทอดจาก S-Class สู่ C-Class ใหม่ ในช่วง เวลาไม่นานนักหลังจากรถธงของเมอร์เซเดส-เบนซ์ โมเดลนี้เปิดตัวอย่างเป็นทางการ ความยอดเยี่ยม เหนือระดับเหล่านี้ประกอบด้วย กล้องแสดงภาพ 3 มิตใิ นพืน้ ที่ 50 เมตรด้านหน้าของตัวรถ และความ สามารถในการรับรูถ้ งึ คนเดินเท้า คนขีจ่ กั รยาน และ รถยนต์ที่ปรากฏขึ้นทางด้านข้างของตัวรถ กล้องนี้ ยั ง ท� า งานร่ ว มกั บ เซ็น เซอร์ อื่ น ๆ ที่ม ีอ ยู ่ อี ก เป็ น จ�านวนมาก เพื่อให้ทัศนวิสัยในการมองเห็นโดย
i c 250
เครื่องยนต์/แรงม้า 4 สูบ 2.0 ลิตร, 155 กิโลวัตต์ แรงบิดสูงสุด 350 นิวตันเมตร ระบบส่งก�าลัง เกียร์อัตโนมัติเดินหน้ำ 7 จังหวะ 7G-Tronic Plus ดาวแห่งคุณภาพ C-Class ใหม่มีควำมโดดเด่นด้ำนหน้ำ ให้เลือก 2 รูปแบบ : เวอร์ชันพื้นฐำน รุ่น Avantgarde และ AMG สัญลักษณ์ ดำว 3 แฉกอยู่กึ่งกลำงกระจังหน้ำ ในรุ่น exclusive สัญลักษณ์ ดำว 3 แฉก อยู่บนฝำกระโปรงหน้ำ ความช่วยเหลือ นอกเหนือไปจำกระบบต่ำงๆ ที่คุ้นเคยแล้ว ยังมีนวัตกรรมล่ำสุดของระบบปรับอำกำศ โดยใช้สัญญำณ GPS เพื่อปิดลิ้นช่องอำกำศ หมุนเวียนโดยอัตโนมัติเมื่อเข้ำอุโมงค์ เพื่อป้องกันไอเสียจำกภำยนอก
รอบเป็นไปอย่างดีเยี่ยม โดยอุปกรณ์ติดตั้งพิเศษ เพิม่ เติมยังมีให้เลือกใช้อกี เป็นจ�านวนมาก ประกอบ ด้วย ชุด Driving Assistance package Plus เช่นเดียว กับระบบ Distronic Plus และระบบ Active Parking Assist การถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้ยังรวมถึง ระบบ Stop&Go ที่จะท�างานโดยอัตโนมัติในสภาพการ จราจรที่ ติ ด ขั ด ซึ่ ง เป็ น รู ป แบบพื้ น ฐานของการ ขับเคลือ่ นด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ และเช่นเดียวกับ ความสะดวกสบายและความหรูหราทีถ่ กู ยกระดับขึน้ ความปลอดภัยก็เป็นอีกสิ่งที่ถูกยกระดับเพิ่มขึ้น ด้วยเช่นกัน เรื่องของระบบกันสะเทือนเป็นอีกหนึ่งความ เปลี่ยนแปลงที่ก้าวล�้าไปอีกขั้นหนึ่ง ช่วงล่างด้าน หน้าของ C-Class ใหม่ เป็นแบบ 4-link ที่ให้ระบบ กันสะเทือนแยกการท�างานจากโช้กอัพเพื่อความ คล่องแคล่วปราดเปรียวทีเ่ พิม่ มากขึน้ อีกทางเลือก หนึ่งคือ ระบบกันสะเทือนแบบอากาศ Airmatic ที่ติดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกส�าหรับรถยนต์ในเซ็กเมนต์ นีด้ ว้ ย เมือ่ ทัง้ หมดประสานการท�างานร่วมกับตัวถัง อะลูมิเนียมไฮบริด รับประกันได้ถึงความสะดวก สบายและความเพลิดเพลิน ความพึงพอใจในการ ขับขี่ที่เพิ่มมากขึ้นอย่างแน่นอน
ดวงตาบนถนน
เทคโนโลยีเรดำร์ช่วยให้มองเห็น 200 เมตรเบื้องหน้ำอย่ำงชัดเจน
25
c a r t o o n
26
28
เรื่ อ ง ผศ. ประเทื อ ง ครองอภิ ร ดี ภาพ อิ ท ธิ พ ล ผลงาม
c h a r a c t e r
หอมละไม สไตล์อิตาเลียน Bruno…
กาแฟจากยอดดอยที่แจ้ห่ม ดื่มแล้วชื่นใจ 2 ชั้น ชื่นใจในกลิ่นรสอันหอมหวานล�้าลึก ชื่นใจในกุศลที่ได้ช่วยการศึกษาเด็กๆ
29
b
runo เป็นชื่อที่เรียกง่าย จ�าง่าย ความหมายดี เป็น ภาษาอิตาเลียนแปลว่า สีน�้าตาล อันเป็นสีของ กาแฟ แล้วยังเป็นชื่อของคุณพ่อ Bruno Rossi บาทหลวงคาทอลิกชาวอิตาเลียนแห่งศูนย์ ‘แม่พระ ราชินีแห่งสันติภาพ’ (Mary Queen of Peace) อ. แจ้ห่ม จ. ล�าปาง ผู้ริเริ่มโครงการผลิตกาแฟนี้ พื้นที่บนดอยใน อ.แจ้ห่มสูงกว่าระดับน�้าทะเล ถึง 1,000 เมตร จึงสามารถปลูกกาแฟพันธุอ์ าราบิกา้ ที่จัดว่าเป็นพันธุ์ดี และมีราคากว่าพันธุ์โรบัสต้าซึ่ง ปลูกได้ในพื้นที่ที่ต�่ากว่า คือสูงไม่เกิน 600 เมตร เหนือระดับน�้าทะเลเท่านั้น ชาวบ้านและชาวไทยภูเขาหลากเผ่า เช่น เย้า ม้ง ละหู่ กะเหรี่ยงแถวนี้ปลูกกาแฟพันธุ์อาราบิก้า โดยการส่ ง เสริมของโครงการหลวงมานานแล้ ว โดยเมื่อแรกเริ่มนั้นโครงการหลวงรับซื้อทั้งหมด ต่อมามีพ่อค้าทั่วไปมารับซื้อมากขึ้น จึงขยายการ ปลูกมากขึน้ ปัจจุบันชาวบ้านแถบนีเ้ ป็นจ�านวนมาก เลิกท�านา หันมาปลูกกาแฟซึ่งได้ราคาดีกว่า
ฝัดเอากากเยื่อออกหลังสีแล้ว
30
บรรยายก่อนชงให้ชิม
คุณพ่อ Bruno ต้อนรับเราที่ศูนย์ฯ ด้วยการชง กาแฟ Bruno ซึ่งเป็นกาแฟชนิด Espresso อันหอม กรุน่ ให้ดมื่ เป็นปฐมบท คนทัว่ ไปมักเข้าใจว่า Espresso คือกาแฟเข้มข้นด�าปี๋ มีกาเฟอีนสูง จึงต้องเสิร์ฟมา ในถ้วยใบเล็กๆ เสมอ คุณพ่ออธิบายว่า Espresso ที่แท้ไม่ใช่ในความหมายนั้น แต่เป็นระดับอุณหภูมิ ในการคั่ว ส�าหรับ Espresso อิตาเลียนแล้วคือ 230 องศาเซลเซียส เมื่อคั่วเมล็ดกาแฟในอุณหภูมิสูงถึง 200 องศา เซลเซียส น�า้ ตาลไขมันในเมล็ดกาแฟจึงจะเริม่ ออก มาเคลือบเมล็ดกาแฟให้เป็นสีน�้าตาล และให้กลิ่น หอมทีเ่ รียกกันว่า ‘คาราเมล’ นัน่ เอง จะคัว่ ให้เกรียม มากเกรียมน้อยแล้วแต่ความต้องการ สรุปแล้ว กาแฟพันธุเ์ ดียวกันถ้าคัว่ ในอุณหภูมสิ งู ต่างกัน ก็จะ ได้กาแฟทีเ่ รียกชือ่ ต่างกันนัน่ เอง ซึง่ จะจัดได้ 6 ระดับ ช่วงอุณหภูมิ Espresso จะอยู่ในระดับที่ 5 ระดับนี้ ความเป็นกรดจะหมดไป กาแฟจะไม่เปรี้ยว ส่วน ความหอม ความหวานยังคงมีอยู่มาก ถ้าระดับ 6 ก็จะเป็น Napolitan หรือ Dark French ซึ่งคั่ว อุณหภูมสิ งู ขึน้ ถึง 250 องศาเซลเซียส รสจะออกขม ความหอมและความหวานเหลือน้อยมาก ถ้าคัว่ สูง กว่านั้นอีกก็ชงถ่านกินดีกว่า เพราะจะไม่เหลือ รสชาติอะไรอีกแล้ว ขมลูกเดียว จากนั้นคุณพ่อ Bruno พาขึ้นไปดูไร่กาแฟบน ดอยแม่แจ๋ม ทีแรกนึกภาพว่าไร่กาแฟจะโล่งกว้าง ไกลสุดลูกหูลูกตาเหมือนไร่ชา ไร่ข้าวโพด
c h a r a c t e r
เมล็ดกาแฟพร้อมให้เก็บเฉพาะเม็ดสุกแดง 31
“ เมื่อคั่วเมล็ดกาแฟ
ในอุณหภูมิสูงถึง 200 องศา เซลเซียส น�้าตาลไขมันในเมล็ด กาแฟจึงจะเริ่มออกมาเคลือบ เมล็ดกาแฟให้เป็นสีน�้าตาล และให้กลิ่นหอมที่เรียกกันว่า ‘คาราเมล’ นั่นเอง
คือความหวังของเด็กๆ
Roast Master
เครื่องคั่วกาแฟจากอิตาลี
ผิดถนัด! กาแฟก็ปลูกแซมอยู่ตามข้างทางแทรก ไปกับต้นไม้ใหญ่น้อยต่างๆ เช่น ลิ้นจี่บ้าง แมคคาเดเมียบ้าง แซมๆ ไปกับเสาวรสบ้าง โดยไม่ต้องตัด ต้นไม้ใหญ่ หรือหักร้างถางพง หรือท�าลายป่า เพราะกาแฟไม่ได้ชอบแดดจัดนัก เมล็ดกาแฟไร่นี้ แหละที่คุณพ่อรับซื้อเป็นประจ�า ไม่มีการฉีดยาฆ่า แมลงเลย แต่ใช้กบั ดักแมลงทีท่ า� จากขวดพลาสติก ที่ใช้แล้วมาดัดแปลงด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน ปุ๋ยที่ ใช้กเ็ ป็นปุย๋ อินทรียท์ งั้ สิน้ ส่วนใหญ่กก็ ากเมล็ดกาแฟ นี่แหละ จึงนับว่าเป็นเมล็ดกาแฟอินทรีย์จริงๆ พูดถึง รสนิย มในการดื่ม กาแฟต้ องยกให้ค น อิตาเลียนอย่างไม่ตอ้ งสงสัย อันทีจ่ ริงกาแฟมีแหล่ง ต้นก�าเนิดในเอธิโอเปีย ทวีปแอฟริกา ต่อมามุสลิม อาหรับยึดครองดินแดนแถบนั้น และน�าเอากาแฟ 32
คอยเช็กกลิ่นระหว่างคั่ว
i กาแฟบรูโนมีวางจ�าหน่าย ตามสถานที่ต่างๆ ดังนี้
ร้านนครกิโล จ. ล�าปาง ร้านบ้านกาแฟ อ. งาว จ. ล�าปาง ศูนย์ OTop สมปราณ จ. ล�าปาง ร้านริมบึง จ. เชียงใหม่ ส�านักมิสซัง จ. เชียงใหม่ มูลนิธิเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
เมล็ดกาแฟเก็บมา เม็ดแดงๆ เรียกว่าเชอรี่
กลับไปเผยแพร่ในตะวันออกกลาง ด้วยเหตุนกี้ ระมัง กาแฟพันธุด์ จี งึ มีชอื่ ว่า ‘อาราบิกา้ ’ เป็นกาแฟอาหรับ ไป จากนัน้ พ่อค้ามุสลิมเปอร์เซียซึง่ เดินเรือค้าขายเก่ง ก็น�ากาแฟไปขายในยุโรป เมืองท่าเรือที่ส�าคัญของ ยุโรปมาแต่โบราณเมืองหนึ่งก็คือ เวนิส ในอิตาลี เป็นจุดกระจายสินค้ากาแฟที่ส�าคัญไปทั่วยุโรป คุณพ่อ Bruno เป็นชาวเมือง Vicenza ซึง่ อยูใ่ กล้ กับเวนิสมาก วัฒนธรรมการดื่มกาแฟจึงอยู่ในสาย เลือดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ท่านพบว่าเมล็ดกาแฟที่ แม่แจ๋ม จังหวัดล�าปางนี้คุณภาพดี แต่คนมักน�าไป คัว่ ไม่ถกู วิธี คัว่ ไหม้จนเกินไป ความหอมหวานหาย หมด ชงเป็นกาแฟร้อนดืม่ ไม่อร่อย คนไทยส่วนมาก ชอบดืม่ กาแฟเย็นจึงคัว่ เมล็ดให้ไหม้มากๆ ออกรสขม คุณพ่อบอกว่าเสียดายกาแฟอาราบิกา้ ซึง่ ราคาแพง ถ้าคั่วไหม้ๆ ควรใช้กาแฟโรบัสต้าซึ่งราคาถูกกว่า และต้องคั่วให้ไหม้จึงจะออกรส เหมาะส�าหรับชง กาแฟเย็นตามรสนิยมคนไทย
c h a r a c t e r
ไร่กาแฟ
ถ้าหากน�ากาแฟทีแ่ ม่แจ๋มนีม้ าคัว่ ให้ถูกวิธี น่าจะ ได้กาแฟรสชาติดี เพิ่มคุณค่าให้กับกาแฟชาวบ้าน ในที่สุดพระเจ้าก็ประทานเครื่องคั่วกาแฟอย่างดี มาให้ โดยเพื่อนของท่านซึ่งมีโรงงานผลิตกาแฟใน อิตาลี ก�าลังจะเปลีย่ นเครือ่ งคัว่ กาแฟใหม่ให้ทันสมัย ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์อยู่พอดี เขาจึงยกเครื่อง คั่วกาแฟที่คุณภาพยังดีอยู่มาบริจาคให้ เครื่องนี้ ต้องใช้คนควบคุม คุณพ่อจึงต้องเรียนรู้ระบบของ เครือ่ ง และขัน้ ตอนการคัว่ อันละเอียดอ่อน ซึง่ เพือ่ น ก็ยนิ ดีถ่ายทอดให้ การคัว่ ไม่ใช่แค่กดปุ่มเปิดเครือ่ ง แล้วก็เสร็จ ระหว่างคั่ว ตาต้องคอยดูไฟ ดูอุณหภูมิ ดูสขี องเมล็ดกาแฟเป็นระยะๆ หูกต็ ้องคอยฟังเสียง การแตกตัว คอยเปิดช่องระบายกากเยือ่ ทีล่ อ่ นออก มาเมื่อถึงจุดหนึ่ง จนกว่าจะได้กาแฟที่คั่วเกรียม พอเหมาะเป็นอิตาเลียนเอสเปรสโซ่ตามต้องการ เวลานี้คุณพ่อต้องเป็น Roast master คั่วเองหมด ทุกขั้นตอน และก�าลังต้องฝึกคนขึ้นมาท�าแทน ภารกิ จ ของท่ า นนอกจากต้ อ งเป็ น ผู้ น�า ด้ า น จิตวิญญาณของชาวบ้านให้สขุ สันติเปีย่ มคุณธรรม ตามแนวคาทอลิกแล้ว ยังต้องพัฒนาคุณภาพชีวิต เขาเหล่านั้น ให้การศึกษาแก่เด็กและเยาวชน ดูแล ผลผลิตในนาข้าวของศูนย์เพื่อเลี้ยงเด็กนักเรียน 800 คน และ 200 คนในจ�านวนนี้เป็นนักเรียน ประจ�ามาอยู่ท่โี บสถ์ และบัดนี้กาแฟ Bruno คือ ภารกิจใหม่ทชี่ ว่ ยให้อนาคตเด็กๆ สดใสขึน้ และเพิม่ รายได้ให้ชาวบ้านโดยไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม
i เสียดายแต่ว่า…กาแฟดีๆ ระดับนี้ ยังไม่มีจ�าหน่ายแพร่หลายนัก ผู้สนใจใคร่สนับสนุน สามารถติดต่อ คุณพ่อได้โดยตรงที่ caffebruno@ gmail.com หรือที่เบอร์โทรศัพท์ 0 5427 1394, 08 1993 7022 สั่งเลย คุณพ่อบรูโนยินดีจะส่งให้… โทร. เลย 20 สายแรกแถมรอยยิ้ม จากเด็กๆ ให้ฟรี
วั น นี้ เ ราได้ เ ห็ น คุ ณ พ่ อ คั่ ว กาแฟให้ ช มเป็ น ขวัญตาแล้วน�าไปบดทั้งๆที่ยังร้อนๆ ก่อนจะบรรจุ ถุงลามิเนตแบบไฮเทคทันสมัยที่มีรูระบายอากาศ แบบวาล์ว ให้ไอร้อนข้างในถุงระบายออกมาได้ทาง เดียว แต่อากาศภายนอกเข้าไปไม่ได้ ท�าให้เก็บ รสชาติของกาแฟได้ดี การทดสอบกาแฟบรูโนด้วย เครือ่ งชงทีไ่ ด้มาตรฐาน สิง่ ทีส่ งั เกตเห็นได้ชดั เจนคือ ครีม่า หรือฟองครีมสีทองที่มีชั้นความหนากว่า เท่ าตั วในทัน ที ที่ ก าแฟถู ก กลั่ นออกมาระยะแรก อี ก ทั้ ง ยั ง คงความหนาแน่ น ของครี ม ่ า ได้ อ ย่ า ง ต่อเนือ่ งยาวนานกว่ากาแฟแบรนด์ดังๆ เช่นนีแ้ สดง ให้เห็นว่า กาแฟบรูโนเป็นสายพันธุด์ แี ละมีความสด ใหม่ของเมล็ดกาแฟสูงมาก บุคลิกของกาแฟบรูโน จะมีความกลมกล่อมและหอมหวานโดดเด่นชัดเจน คอกาแฟทีแ่ ท้จริงจะชืน่ ชอบความลงตัวของรสชาติ ที่นุ่มนวล และกลิ่นหอมที่ล�้าลึกของกาแฟบรูโน แน่นอน กลับมาถึงบ้านหลายวันแล้ว กลิ่นกาแฟที่หอบ หิว้ กันมาเป็นของฝากยังหอมตลบอบอวลอยูไ่ ม่หาย กาแฟ Bruno เพิ่งจะได้รับประกาศนียบัตรจาก ประเทศญีป่ นุ่ รับรองคุณภาพในฐานะกาแฟคัว่ บด จากสายพันธุ์เดียวโดยไม่ผสม (Unblended) และ จากแหล่งปลูกแหล่งเดียว (Single Origin) นั่ ง จิ บ กาแฟ Bruno วั น นี้ กรุ ่ น กลิ่ น หอม มาตรฐานกาแฟอิตาเลียนอย่างทีค่ อกาแฟจะบอกว่า จิบแล้ว Click นัน่ แหละ เราเห็นแววตาอันเต็มเปี่ยม เมตตาของคุ ณ พ่ อ เห็ น แววตาสดใสของเด็ ก ๆ และรอยยิ้มของชาวบ้ านท่ ามกลางสิ่งแวดล้อม ที่สวยงามบริสุทธิ์ แสนสุขใจ Bruno, l’aroma del caffé Italiano ณ ล�าปาง... Bravo!
เก็บเมล็ดกาแฟ
33
เทคโนโลยี
ชุดคอมพิวเตอร์ Commodore 64 ย่อศูนย์ คอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ ให้เหลือเพียงขนำดตั้งโต๊ะ เท่ำนั้น
Lorem ipsum Der Nusdandi tatur, qui dunt imi, sequos dem exceatur simin etureiur, conectur,
ปีแห่งการเปลี่ยนแปลง
ค.ศ. 1982 ปีของแนวคิดที่กล้าหาญและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างสิ้นเชิง คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและเครื่องเล่น CD น�าไปสู่การมาถึงของอนาคต และรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ 190 บรรพบุรุษของ C-Class ได้รับการพัฒนาให้เหนือกว่าคอมแพ็กคาร์อื่นๆ ในอีกระดับหนึ่ง
34
photos Visum (1), bilDarchiV preussischer kulturbesitz © the metropolitaN museum of art (1), getty images (1), Daimler ag (1)
เพลง
อัลบั้ม Thriller ของ Michael Jackson เป็นอัลบั้มที่มียอด จ�ำหน่ำยสูงสุดเป็นประวัติกำรณ์ ของวงกำรเพลงป็อป
l e g e n d s
ใ ดี ไ ซน์
หลักการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ตกแต่งบ้านสไตล์ใหม่ของ Memphis Group ได้รับความนิยม อย่างรวดเร็ว
ครก็ตามที่ตัดสินใจซื้อเมอร์เซเดส-เบนซ์ 190 จะ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ บางสิง่ ทีไ่ ม่ธรรมดาได้เกิดขึน้ แล้ว “บางสิ่งบางอย่างก�าลังเดินทางมาหาพวกเรา - บางสิ่งที่แปลกใหม่” เป็นวลีที่ถูกน�ามาใช้ในการ โปรโมทภาพยนตร์ทเี่ กีย่ วกับรถยนต์ขนาดคอมแพ็กนี้ ซึ่งเดินทางออกจากสายการผลิตเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982 และเมือ่ ถึงปี ค.ศ. 1993 สามารถท�ายอด จ�าหน่ายทั่วโลกได้ถึง 1.8 ล้านคัน 190/190 E คือ การมาถึงของยนตรกรรมที่ผสานคุณภาพที่เป็น แบบอย่างทีย่ อดเยีย่ ม ร่วมกับสิง่ ทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ซึง่ ประกอบด้วยสมรรถนะทีส่ งู ส่ง วิศวกรรมยานยนต์ที่ไว้ใจได้ ความหรูหรา และ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ผ่านประสบการณ์ของการ ขับขีร่ ถยนต์ขนาดคอมแพ็ก ด้วยนวัตกรรมแรกเริม่ นี้ ท�าให้เมอร์เซเดส-เบนซ์ ประสบความส�าเร็จในการ วางรากฐานให้กบั หนึง่ ในจ�านวนรถยนต์ทจี่ �าหน่าย ขายดีทสี่ ดุ โมเดลหนึง่ ซึง่ C-Class ใหม่แสดงให้เห็น ถึงการสืบทอดความส�าเร็จทีด่ า� เนินมาอย่างต่อเนือ่ ง ได้เป็นอย่างดี แต่โลกของอุตสาหกรรมยานยนต์ ไม่ได้เป็นพื้นที่เดียวที่ผลิตภัณฑ์แบรนด์ใหม่หรือ สรรพสิ่งต่างๆ ที่ก่อนหน้านั้นไม่เคยเกิดขึ้น ได้เกิด ขึ้นโดยทันทีทันใด
โลกเทคโนโลยีสารสนเทศเคยมีอยู่ใน ภาพยนตร์เท่านั้น
<
ฟุ ต บอล
เยอรมนีเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศฟุตบอลโลก แต่พ่ายแพ้ให้กับอิตาลี 3 - 1
ภาพยนตร์บางเรือ่ งน�าเสนอการแข่งขันในเรือ่ ง จินตนาการของอนาคตกาลและความคิดเห็นที่ ขัดแย้งเกี่ยวกับความน่ารักและพฤติกรรมแปลกๆ ของมนุษย์ต่างดาว เช่นในเรื่อง E.T. หรือหุ่นยนต์ มนุษย์ที่ดูเศร้าโศกและลึกลับใน Blade Runner แต่ยังมีภาพยนตร์อีกหลายเรื่องที่อาจจะเป็นความ ชาญฉลาด หรือมีวิสัยทัศน์ที่มากกว่าภาพยนตร์ เหล่านั้น เช่นในภาพยนตร์เรื่อง Tron ซึ่งเป็นเรื่อง เหลือเชื่อในเวลานั้นส�าหรับการที่คนเราจะถูกดูด เข้าไปในวีดีโอเกม หลังจากนั้นพวกเขาก็จมอยู่กับ โลกเทคโนโลยีสารสนเทศดิจทิ ลั อย่างถอนตัวไม่ขนึ้ ในช่วงเวลาเดียวกันนัน้ บริษทั Commodore ได้เปิดตัว C64 ซึง่ จากมุมมองของเรา คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล เครือ่ งแรกนีเ้ ป็นวัตถุทชี่ าญฉลาด แต่เทียบกับสมาร์ทโฟนทุกวันนีแ้ ล้วเป็นเพียงของเด็กเล่นชิน้ หนึง่ เท่านัน้ แต่ในช่วงเวลานั้นมันเป็นผลผลิตที่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง ในปีเดียวกันเครื่องเล่น CD ได้น�าทางไปสู่ความบันเทิงรูปแบบใหม่ เทคโนโลยีสา� หรับความบันเทิงใหม่นไี้ ม่เพียงปฏิวตั ริ ปู แบบ ของชีวิตประจ�าวันเท่านั้น แต่ยังเปิดประตูเข้าสู่ยุค ของการเติบโตทางเศรษฐกิจที่คาดไม่ถึง 35
มนุ ษ ย์ ต ่ า งดาว
ค.ศ. 1982 : วันที่ 11 กรกฎาคม ภาพยนตร์เรื่อง E.T. เข้าฉายใน โรงภาพยนตร์ทั่วสหรัฐอเมริกา, วันที่ 6 กรกฎาคม เกิดปรากฏการณ์ จันทรคราสที่ยาวนานที่สุด ในศตวรรษที่ 20 กินเวลายาวนาน เกือบ 2 ชั่วโมง
เจ้าชายวิลเลียม และ “Baby Benz” (ภาพซ้ายมือ) ที่ออกแบบ โดย Bruno Sacco ถือก�าเนิดขึ้นในปีเดียวกัน
ที่เน้นการปฏิบัติ ช่วยให้ 190 บรรลุ ถึงความส�าเร็จ อย่างสมบูรณ์ด้วย ค่าแรงเสียดทาน อากาศที่ต�่า เป็นพิเศษ
นัน่ คือ การลดค่าแรงเสียดทานอากาศของตัวรถ และ ตัวเลข 0.33 คือการบรรลุถึงความส�าเร็จสูงสุดอย่าง แท้จริงส�าหรับช่วงเวลานั้น
ภูมิปัญญา
การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยานยนต์ คู ่ ข นานกั บ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์สา� หรับครัวเรือน เป็นผลท�าให้ ทุกสิง่ มีขนาดทีเ่ ล็กกะทัดรัดและมีประสิทธิภาพมากขึน้ ตัวอย่างเช่น ระบบกันสะเทือนหลังแบบมัลติลงิ ค์ของ 190 ซึ่งท�าให้การควบคุมการท�างานของล้อเป็นไป อย่างเที่ยงตรงแม่นย�าขณะที่ช่วยลดน�้าหนักของรถ ลง “ความกะทัดรัดหรือขนาดที่เล็กลงมีความหมาย ต่ออนาคตของโลกยนตรกรรม” เป็นสิง่ ทีเ่ มอร์เซเดสเบนซ์ ใช้อธิบาย
36
โมเดลแรกที่ใช้ชื่อว่า C-Class มีให้เลือกใน 4 รุ่น
W 203
C-Class เจเนอเรชันที่ 2 มีเครื่องยนต์ รุ่นใหม่ให้เลือกใช้ถึง 7 รุ่น และเป็นครั้งแรก ส�าหรับระบบขับเคลื่อน 4 ล้อตลอดเวลา
2007–2014
W 202
2000–2007
1993–2000
A compact car with an outsized impact W 204
C-Class มีความโดดเด่นด้านหน้าให้เลือก ถึง 2 เวอร์ชัน สัญลักษณ์ดาวสามแฉก ในกระจังหน้าหรือบนฝากระโปรงหน้า
Words Alex Ander runte photos dAimler Ag (5), Action Press (1), nordPhoto/nPh/Pixsell (1)
การออกแบบ
ความสอดคล้อง ความทันสมัยที่ปราศจาก ข้อผิดพลาด เป็นค�าทั่วไปที่ใช้ในการอ้างอิงของ นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ค�ากล่าวนี้ถูกน�ามาใช้ ในเวลาที่ต้องการอธิบายถึงเหลี่ยมมุมที่แสดงถึง ความแข็งแกร่งและสวยงามของเมอร์เซเดส 190 ด้วยเช่นกัน “วิถีทางเดียวที่ผู้คนสามารถรับรู้ถึง นวัตกรรมทางเทคโนโลยีคือ การผสมผสานด้วย นวัตกรรมด้านการออกแบบในระดับทีเ่ ท่าเทียมกัน” Bruno Sacco ซึง่ ในเวลานัน้ เป็นหัวหน้าทีมออกแบบ ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ยืนยัน แนวคิดใหม่ที่อิงกับ ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงมากกว่าหลักทฤษฎีของ 190 น�ามา ซึ่ ง รูป แบบทรงลิ่ม ที่ ส วยงาม แต่ ร ูป ทรงที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ เฉพาะตัวของ 190 ยังแสดงถึงการบรรลุ ถึงเป้าหมายที่ก่อให้เกิดประโยชน์ขณะใช้งานด้วย
80
ปี ก ่ อ น รถแข่ง Silver Arrow
เกียรติยศของลูกธนูเงิน 38
เรื่ อ ง FA B R I C E B R AU N
fotos Festo (2), ICD/ItKe
จอดอยู่ในแถวสตาร์ท รอเวลาส�าหรับ การเข้าร่วมประลองความเร็วรายการ แรก หลังออกจากสายการผลิตและ คว้าชัยชนะได้ ในทันทีที่เข้าร่วมแข่งขัน หลังจากนั้นช่วงเวลาแห่งเกียรติยศ และการสร้างความประทับใจเกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง และนี่คือเส้นทางของ ต�านานแห่งเกียรติยศนั้น
s p o r t s
คุณค่าของน�้าหนัก
เมื่อรถแข่ง Silver Arrow ถือก�าเนิด ต�านานได้เกิดขึ้นเป็นเงาตามตัว เมอร์เซเดส-เบนซ์ วางแผนที่จะเข้าร่วมการแข่งขันความเร็วที่ Nürburgring ในวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1934 ด้วยรถแข่งเมอร์เซเดส-เบนซ์ W 25 ที่พัฒนาขึ้นใหม่ 2 คัน แต่รถแข่งที่จะเข้าร่วม การแข่งขันต้องอยู่ภายใต้ข้อจ�ากัดเรื่องน�้าหนักที่จะต้องไม่เกิน 750 กิโลกรัม ซึ่งการประกาศใช้ข้อบังคับนี้เกิดขึ้นในช่วงบ่ายก่อน วันแข่งขันจริง และสร้างความวุน่ วายสับสนให้กบั ทีมงานเมอร์เซเดสเบนซ์ อย่างมากเพราะรถแข่ง W 25 สีขาวทั้ง 2 คันมีน�้าหนัก คันละ 751 กิโลกรัม เกินไปคันละ 1 กิโลกรัม จะแก้ ไขกันอย่างไร? เป็นค�าถามที่เกิดขึ้นกับทีมงานแต่ Alfred Neubauer ผู้อ�านวยการ ฝ่ายมอเตอร์สปอร์ตของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ที่ท�าหน้าที่นี้มาตั้งแต่ปี 1926 เป็นผู้ค้นพบค�าตอบนั้น ซึ่งช่วยให้ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ ด�าเนินต่อไป เขาสั่งให้ทีมงานขูดลอกสีขาวที่ตัวรถทั้งสองคันออก ให้หมด จนเหลือแต่สีเนื้อในที่เป็นสีบรอนซ์เงินของโลหะอะลูมิเนียมของ ตัวถังเท่านั้น เป็นไอเดียที่ยอดเยี่ยม รถแข่งทั้งสองคันจอดรอเวลา เริ่มการแข่งขันที่จุดสตาร์ทด้วยน�้าหนักตัวรถเท่ากับกฎเกณฑ์ ที่ก�าหนด และ Manfred von Brauchitsch ท�าหน้าที่นักแข่งพา Silver Arrow เข้าสู่เส้นชัยเป็นคันแรก เปิดมิติใหม่ของโลกความเร็ว ได้อย่างประทับใจ
39
ความเสี่ยงสูง
ถึงแม้ว่ำรถแข่งจะไม่ได้ถูกออกแบบมำ พร้อมกับควำมปลอดภัยสูงสุด และอำชีพ นักแข่งเป็นอำชีพที่เสี่ยงต่อควำมตำยหรือ กำรเกิดอุบัติเหตุอย่ำงรุนแรง แต่มีนักแข่ง ที่ขับรถแข่ง Silver Arrow เพียงรำยเดียว เท่ำนั้นที่เสียชีวิตจำกกำรแข่งขัน โดยใน เดือนมิถุนำยน ปี 1939 Richard Seaman เสียชีวิตจำกกำรชน อย่ำงรุนแรงในกำรแข่งขันที่ SpaFrancorchamps เพื่อนนักแข่ง ทีมเดียวกัน Hans Herrmann ที่ปัจจุบัน อำยุ 85 ปีเล่ำว่ำ “เรำมักจะถำมตัวเองอยู่ บ่อยๆ เมื่ออยู่ที่จุดสตำร์ทว่ำ วันนี้ใคร จะเป็นรำยต่อไป? อย่ำงไรก็ตำม ผมดีใจ ที่เห็นรถแข่งในทุกวันนี้มีควำมปลอดภัย อย่ำงมำก” สเปน ปี 1934: Luigi Fagioli ทะยานผ่าน ธงตราหมากรุกพร้อมกับ รถแข่ง Silver Arrow ของเขา
ทนทรหด
ในอดีตกำรแข่งขันควำมเร็วคิดเป็นระยะทำง รวมมำกกว่ำที่ใช้แข่งขันกันอยู่ในปัจจุบัน ไม่เพียงกำรแข่งขัน Mille Miglia ที่นักแข่ง ต้องขับรถแข่งเป็นระยะทำงกว่ำ 1,600 กิโลเมตร ในภูมิประเทศตอนเหนือของอิตำลี เท่ำนั้น ในทศวรรษที่ 1930 กำรแข่งขันกรังด์ปรีซ์ ที่สนำมแข่ง Nürburgring ใช้เส้นทำงแข่งขัน ทั้งในส่วนที่เรียกว่ำ Nordschleife และ Sudschleife โดยแต่ละรอบกำรแข่งขัน มีระยะทำงถึง 26 กิโลเมตร รวมแล้วต้อง แข่งขันกันเป็นระยะทำงรวมถึง 500 กิโลเมตร Jochen Mass ผู้ชนะกำรแข่งขัน Le Mans ปี 1989 ด้วยรถแข่ง Sauber Mercedes กล่ำวว่ำ ผู้ที่ขับรถแข่ง Silver Arrow สมควรได้รับกำรยกย่องอย่ำงแท้จริง ส�ำหรับพวกเรำในวันนี้มันยำกที่จะล่วงรู้ว่ำ นักแข่งเหล่ำนั้นมีอะไรพิเศษไปจำกนักแข่ง ทั่วไปบ้ำง
ชัยชนะอย่างต่อเนื่อง
สีบรอนซ์เงินเป็นสีสัญลักษณ์ประจ�ำตัว ของรถแข่งเมอร์เซเดส-เบนซ์ เช่นเดียวกับ ชื่อ Silver Arrow นับจำกนั้นมำ ซึ่งชื่อ ดังกล่ำวยังถูกน�ำมำใช้กับรถแข่งฟอร์มูล่ำ 1 McLaren Mercedes MP 4/13 ที่น�ำ Mika Häkkinen ขึ้นสู่ต�ำแหน่งแชมป์โลก ในปี 1998 และรถแข่งเมอร์เซเดส-เบนซ์ C11 ที่คว้ำชัยชนะใน Sports car world championship กรุ๊ป C ในปี 1990 ที่ขับ โดย Jean-Louis Schlesser และท�ำสถิติ ควำมเร็วสูงสุดที่ 400 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ยุคทองของ Silver Arrow เกิดขึ้นในปี 1934 ถึง 1939 และจำกปี 1952 ที่กำร แข่งขันเกิดขึ้นอีกครั้งหลังจำกสิ้นสุด สงครำมโลกครั้งที่ 2 จนถึงปี 1955 ที่ เมอร์เซเดส ถอนตัวออกจำกกำรแข่งขัน มอเตอร์สปอร์ตชั่วครำว ซึ่งช่วงเวลำ ดังกล่ำวเป็นช่วงเวลำที่รถแข่ง Silver Arrow ชนะกำรแข่งขันยูโรเปียนกรังด์ปรีซ์ แชมเปี้ยนชิปรำยกำรแข่งขันที่ส�ำคัญที่สุด ในช่วงเวลำนั้นถึง 3 ครั้ง ควำมยอดเยี่ยม นี้ยังรวมถึงชัยชนะในรำยกำรอื่นๆ อำทิ เลอ มังส์ 24 ชั่วโมง และ Carrera Panamericana ที่ประเทศเม็กซิโก และยังไม่รวมถึงต�ำแหน่งแชมป์โลก ฟอร์มูล่ำ 1 สองปีซ้อนจำกผลงำนของ Juan Manuel Fangio ในรถแข่ง Silver Arrow W 196 R
เจ้าความเร็ว
Silver Arrow แสดงควำมเป็นผู้บุกเบิก เทคโนโลยีเช่นกัน ตัวอย่ำงเช่น ในปี 1936 รถแข่ง W 25 รูปทรงเพรียวลมควำมยำว 5.36 เมตร กว้ำง 2.10 เมตร ค่ำแรงต้ำน อำกำศหรือค่ำ Cd เพียง 0.168 จำกกำร ทดสอบในอุโมงค์ลมของบริษัทผู้ผลิต เรือเหำะ น�้ำหนักตัวรถ 300 กิโลกรัม ใช้เครื่องยนต์แบบ V 12 ควำมจุ 5.7 ลิตร 616 แรงม้ำ ถือก�ำเนิดขึ้นเพื่อไล่ล่ำ สถิติควำมเร็ว ในเดือนตุลำคม และพฤศจิกำยนปีเดียวกัน Rudolf Caracciola ท�ำสถิติควำมเร็วสูงสุด 372.1 กิโลเมตรต่อชั่วโมง บนเส้นทำง ออโตบำห์นจำก Frankfurt ไป Darmstadt
ผู้สร้างประวัติศาสตร์: นักแข่งระดับต�านาน Rudolf Caracciola และผู้อ�านวยการฝ่ายมอเตอร์สปอร์ต Alfred Neubauer
น�้ำมันเชื้อเพลิงเมทำนอลผสมสูตรพิเศษ ถูกน�ำมำใช้ ในกำรที่จะรีดสมรรถนะสูงสุด ของเครื่องยนต์รถแข่ง Silver Arrow เกือบทั้งหมด โดยมีควำมสิ้นเปลืองน�้ำมัน เชื้อเพลิงเฉลี่ย 1 ลิตรต่อ 1 กิโลเมตร เมื่อวิ่งบนเส้นทำงเรียบ รถแข่ง W 154 ปี 1939 ใช้เครื่องยนต์ซูเปอร์ชำร์จ V 12 ควำมจุ 3.0 ลิตร พร้อมน�้ำมันเชื้อเพลิง ที่ติดไฟง่ำยนี้เกือบ 400 ลิตรเมื่อเริ่มต้น กำรแข่งโดยน�้ำมันเครื่อง 2.5 และ 12 ลิตร ต้องใช้ต่อระยะทำง 100 กิโลเมตร เพื่อให้ มั่นใจว่ำเครื่องยนต์ ได้รับกำรหล่อลื่น อย่ำงมีประสิทธิภำพตลอดเวลำ 40
photos Daimler ag
เรื่องของน�้ามันเชื้อเพลิง
s p o r t s
โดยเร็ว
ในปี 1938 ผู้จัดการแข่งขัน Tripoli Grand Prix ที่ประเทศลิเบียแจ้งให้ผู้เข้า ร่วมการแข่งขันรู้ถึงกฎเกณฑ์ ใหม่ที่รถแข่ง ต้องใช้เครื่องยนต์ขนาด 1.5 ลิตร ซึ่งเป็น ขนาดที่ผู้ผลิตรถยนต์อิตาลีมีความถนัด เป็นพิเศษในเวลาที่ค่อนข้างกระชั้นชิด แต่ทีม Silver Arrow ที่น�าโดย Alfred Neubauer และวิศวกร Rudolf Uhlenhaut รับความท้าทายนั้น และใช้ เวลาเพียง 8 เดือนในการสร้างรถแข่ง W 165 ที่ใช้เครื่องยนต์ V8 ความจุ 1.5 ลิตร 254 แรงม้า และในวันที่ 7 พฤษภาคม 1939 Hermann Lang ชนะการแข่งขันรายการนี้โดยมีเพื่อนร่วม ทีม Rudolf Caracciola แชมป์ยูโรเปียน 3 สมัยตามมาเป็นอันดับที่ 2 และนั่นเป็น ครั้งแรกและครั้งสุดท้ายของรถแข่ง W 165 เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้นหลังจากนั้นไม่กี่เดือน
ความอาลัยอาวรณ์
นักแข่งฟอร์มูล่า 1 ยุคปัจจุบัน Nico Rosberg เป็นผู้หนึ่งที่มีโอกาสได้อยู่หลัง พวงมาลัยรถแข่ง W 196 R “แน่นอนมัน เป็นประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยม” และใน การประมูลที่จัดขึ้นในฤดูร้อนปี 2013 รถแข่ง W 196 R monoposto (ล้อเปิด) ที่ขับโดย Fangio มีผู้ประมูลได้ ไปในราคา สูงสุดถึง 22.7 ล้านยูโร ยนตรกรรม จากอดีตที่แพงที่สุดในโลก
Stirling Moss และโค-ไดรเวอร์ Denis Jenkonson ขับรถแข่งที่เร็วที่สุดในรายการ Mille Miglia ด้วยความเร็วเฉลี่ย 157.65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
การปรับตัว
ประตูปีกนก
ประตูปีกนกที่กลายเป็นต�านานของ คลาสสิกคาร์ ได้ถูกพัฒนาขึ้นส�าหรับ ใช้กับ 300 SL (W 194) รถแข่งแบบ สปอร์ตคาร์ ที่พัฒนาใหม่ล่าสุดในปี 1952 ใช้โครงสร้างสเปซเฟรมน�้าหนักเบา เป็นพิเศษ พร้อมประตูแบบมาตรฐาน ที่จะเปลี่ยนเป็นประตูที่เปิดขึ้นด้านบนแบบ ปีกนกส�าหรับเวอร์ชันจ�าหน่ายทั่วไป เป็น Silver Arrow คันแรกที่สร้างขึ้น หลังจากสิ้นสุดสงครามโลก ในเบื้องต้น มุ่งหวังส�าหรับการแข่งขันแบบเอ็นดูรานซ์ ภายในออกแบบสวยงาม รวมถึงการ ติดตั้งนาฬิกาจับเวลา และวัสดุหุ้มเบาะ ลายตารางหมากรุก สองปีต่อมา W 198 สปอร์ตคาร์ประตูปีกนกผลิตออก จ�าหน่ายจริง ปัจจุบันเป็นรถยนต์ ในฝัน ของผู้สะสมรถคลาสสิกทั่วโลก
ความงามของโลกความเร็ว
ในปี 1954 เมอร์เซเดส-เบนซ์ หวนคืนสู่ การแข่งขันรถแข่งฟอร์มูล่า 1 ด้วยรถแข่ง ที่สวยงามที่สุดตลอดกาล ตามค�ากล่าว ของ Juan Manuel Fangio และเพื่อให้ สอดคล้องกับสนามแข่งขันที่แตกต่างกัน W 196 R ถือก�าเนิดมาพร้อมกับตัวถัง ทั้งแบบทรงเพรียวลม และรูปลักษณ์ของ รถแข่งล้อเปิดแบบที่นั่งเดี่ยว การเปิดตัว ครั้งแรกของรถแข่ง Silver Arrow แบบ ล้อเปิดในรายการ French Grand Prix ในวันที่ 4 กรกฎาคม 1954 Fangio และ Karl Kling คว้าชัยชนะในอันดับที่ 1 และ 2 ส่วนนักแข่งดาวรุ่ง Hans Herrmann ท�าสถิติเวลาต่อรอบที่ดีที่สุด
เมอร์เซเดส-เบนซ์ ถอนตัวจากมอเตอร์ สปอร์ตในปี 1955 หลังอุบัติเหตุที่กลาย เป็นโศกนาฏกรรมที่ Le Mans อย่างไร ก็ตาม Rudolf Uhlenhaut นักออกแบบ ได้รังสรรค์ 300 SLR ใหม่ ส�าหรับการ แข่งขันฤดูกาลต่อไปไว้เรียบร้อยแล้ว เพื่อไม่ให้รถแข่งคันนี้ต้องจอดจมกองฝุ่น รถแข่งที่ท�าความเร็วได้ 290 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ถูกน�าไปจดทะเบียนส�าหรับ ใช้งานบนถนนทั่วไปและเขาได้ ใช้มันใน การเดินทางไปท�างาน
ก�าเนิดต�านาน
ภาพยนตร์ชื่อ Magical MomentsThe Time of the Silver Arrows ความยาว 500 นาที แบ่งเป็น 10 ตอน ผลงานของผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ Cassian von Salomon และทีมงาน เป็นการน�าแผ่นฟิล์มที่บันทึกเรื่องราว ในประวัติศาสตร์ และฉากที่ท�าซ�้าขึ้นใหม่ มาใช้ ในการบรรยายถึงช่วงเวลาของ ความตื่นเต้นน่าสนใจในประวัติศาสตร์ มอเตอร์สปอร์ตของเมอร์เซเดส-เบนซ์ รวมถึงภาพการขับขี่ Silver Arrow ที่เร้าใจ มีให้เลือกเป็นเจ้าของทั้งในแบบ DVD และ Blu-ray
ตรวจสอบเสียง
Stirling Moss ชนะการแข่งขัน Mille Miglia ปี 1955 ด้วยรถแข่ง 300 SLR ที่ปรับแต่งจากรุ่น SL เพื่อการแข่งขัน โดยเฉพาะใช้เครื่องยนต์ 3.0 ลิตร แทน เครื่องยนต์ 2.5 ลิตร นักแข่งชาวอังกฤษ ที่เป็นหนึ่งในต�านานระดับโลกกล่าวว่า ไม่มเี ครื่องยนต์ใดที่สง่ เสียงเกรี้ยวกราดได้ เช่นนี้ พละก�าลัง 302แรงม้า ถูกถ่ายทอด ออกมาให้เป็นที่รับรู้กันโดยทั่ว และแน่นอน 300 SLR ชนะทุกรายการแข่งขันถ้าเข้า เส้นชัยได้
Rudolf Uhlenhaut กับสปอร์ตคูเป้ที่ตั้ง ชื่อตามชื่อของเขา
41
ปรัชญาหลังเลนส์
The Philosophical Photographer มองจากภายนอก ฟิ ล ลิ ป มั ว ร์ ซ อง ศิลปินภาพถ่ายชาวฝรั่งเศส ดูไม่ต่างจากตากล้องทั่วๆ ไป การแต่งตัวแบบสบายๆ ไม่พิถีพิถัน เสื้อเชิ้ตยับๆ และกางเกงยีนส์สีซีด บวกกับท่าทีที่ราวกับคล้ายจะ บอกว่าง่ายๆ อะไรก็ ได้ อาจท�าให้หลายคนแปลกใจเมื่อได้เห็นงานของเขา ความประณีตและความละเอียด ลึกซึ้งที่เห็นได้จากภาพถ่าย ซึ่งฟิลลิปกล่าวว่า ส�าหรับเขา มันคือ “บทกวีรูปภาพ”
ในป่ า แห่ ง หนึ ่ง
ซึ่งอยู่รอบนอกกรุงปารีส ในฤดูหนาว แสงแดดอ่อนๆ ที่ส่องลงมา และกิ่งของต้นไม้ท�าให้ภาพดูมีมิติ “ผมชอบภาพนี้เพราะ มันดูคล้าย ภาพวาดพู่กันจีน ท�าให้ผมรู้สึกสงบเหมือนอยู่ในภวังค์”
42
42
เรื่ อ ง วรางคณา เต็ ม ผาติ ภาพ ฟิ ล ลิ ป มั ว ร์ ซ อง
c h a r a c t e r
ง
งานคอลเล็กชัน่ ภาพถ่ายของเขาทีม่ ชี อื่ ว่า Vacarmes ซึ่งเป็นผลงานชุดล่าสุดที่ยงั ไม่เคยจัดแสดงที่ใด มาก่อน จะจัดแสดงขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ในระหว่างวันที่ 27 พฤษภาคม ถึง 6 กรกฎาคม 2557 ที่ Ardel’s Third Place Gallery ทองหล่อ ซอย 10 ก่อนหน้านีเ้ ขาได้จดั แสดงผลงานภาพถ่ายถึง 2 ครัง้ ในกรุงปารีส ซึ่งได้รับกระแสตอบรับอย่างดีจาก สือ่ มวลชน อาทิเช่น หนังสือพิมพ์ชนั้ น�าของประเทศ อย่าง Le Monde และนิตยสารด้านอาร์ตและศิลปะ การถ่ายภาพอย่าง Photo, Azart และ Polka ฟิลลิปตั้งชื่อคอลเล็กชั่นว่า Vacarmes ซึ่งเป็น ค�าภาษาฝรั่งเศส แปลว่า เสียงดังอึกทึก หรือเสียง รบกวน เพื่อสื่อถึงผู้ชมว่าถึงแม้ในชีวิตประจ�าวัน
ภาพนี ้ถ ่ า ยที ่ช ายหาดแห่ ง หนึ ่ง ในดู ไ บ
“เป็นภาพที่สวยงามและตลกในเวลาเดียวกัน คนที่มาเดินบนชายหาดทุกคน แต่งตัวมิดชิด แทนที่จะใส่ชุดว่ายน�้า บ้างก็ถือร่ม เป็นอะไรที่เซอร์ ไพรซ์”
ต้นไม้สอนให้ผมอยู่นิ่งๆ
กับตัวเองและหันกลับมามอง ตัวเองบ้าง แทนที่จะเดินไป ข้างหน้าและมองไปข้างนอก อย่างเดียว”
ฟิ ล ลิ ป มั ว ร์ ซ อง
ศิลปินภาพถ่ายชาวฝรั่งเศส
ตึ ก ระฟ้ า ในดู ไ บ
สื่อถึงความทะเยอทะยานของมนุษย์ ที่ต้องการท�าในสิ่งที่ใหญ่กว่า สูงกว่าขึ้นไปเรื่อยๆ “ผมรู้สึกทึ่งและประหลาดใจ ที่เห็นตึกระฟ้า ในใจกลางดินแดนแห่งทะเลทรายอย่างดูไบ แทนที่จะเป็นตะบองเพชร จะว่าไปแล้ว มันก็เหมือนต้นไม้สูงชะลูดที่ท�าจากคอนกรีตนี่เอง”
พวกเขาจะต้องอยู่กับเสียงรบกวนสารพัดอย่าง ทั้งจากความคิดในหัว เสียงในที่ท�างาน และเสียง ต่างๆ บนท้องถนน แต่กระนัน้ พวกเขาก็ยงั สามารถ หาความสงบในชีวิตได้ “ช่วงไม่กี่วินาทีสั้นๆ ที่ผม กดชัตเตอร์เพือ่ ถ่ายรูปแต่ละรูป ผมรู้สกึ ได้ถงึ ความ สงบ ผมสามารถเห็นแสงแม้ว่า ณ ที่ตรงนั้นจะมืด มากก็ตาม” ความคิดดังกล่าวได้รบั การสะท้อนออก มาผ่านผลงานภาพถ่ายทั้งสีและขาวด�าของเขา แต่ละภาพทีจ่ ะน�ามาจัดแสดงในครัง้ นี้ มีขนาด 1 x 1.5 เมตร ซึ่งฟิลลิปต้องการถ่ายทอดความหวัง และความสงบ อันเป็นความต้องการพื้นฐานสอง ประการที่นอกเหนือจากวัตถุ ซึ่งมนุษย์ทุกคนขาด ไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนเชื้อชาติใด สัญชาติใด หรือ อยู่ส่วนใดของโลกก็ตาม “ภาพที่ผมถ่ายไม่ผูกกับ สถานที่ ต้นไม้ ล�าธาร รถยนต์ ถนน เป็นอะไรที่ คุณสามารถพบเห็นได้ทุกที่ทุกประเทศ” ศิลปิน ภาพถ่ายชีวติ วัย 51 กล่าว อาชีพถ่ายภาพท�าให้เขา ได้มีโอกาสเดินทางและสัมผัสชีวิตผู้คนมาแล้วถึง 28 ประเทศ “แต่ทุกภาพมีส่วนประกอบของความ เป็นสากลทีม่ แี ทรกซึมอยูใ่ นทุกวัฒนธรรม และเป็น สิ่งที่ทุกคนต้องการในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง” ส� า หรับ ฟิ ล ลิ ป แล้ ว กล้ อ งฟิ ล ์ ม ของเขาเป็ น อุปกรณ์เรียนรูช้ วี ติ อย่างหนึง่ “การถ่ายรูปสอนอะไร หลายๆ อย่างให้กับผม” ฟิลลิปกล่าว “หนึ่งในบท เรียนที่ส�าคัญที่สุดคือ สอนให้ผมมองดูผู้คนและ สิ่งต่างๆ รอบตัวมิใช่เพียงด้วยตานอก แต่จงมอง ด้วยตาภายในคือหัวใจ เพราะถ้าคุณมองด้วยหัวใจ คุณจะเข้าใจสิ่งต่างๆ ดีขึ้น และเห็นความสวยงาม แม้ในสิ่งที่ภายนอกอาจจะดูน่าเกลียด” 43
ในฐานะช่างภาพเขาสนุกกับการ “จัดเรียงภูมิทัศน์ของความจริง” อย่างเช่นภาพต้นไม้ในป่ารกๆ ถ้าดูกันภายนอกหยาบๆ ก็ไม่มีอะไรสวยงาม แต่ การเลือ กใช้ ร ะดั บ แสงและความไวของเลนส์ ที่ เหมาะสมพอดี ท�าให้ความจริงที่แสนจะธรรมดา ดูแตกต่างและน่าประทับใจขึ้นทันที “ผมจะถ่าย เฉพาะภาพของสิ่งที่ผมรู้สึกว่าก�าลังสื่อสารบาง อย่างกับผม อย่างเช่นภาพต้นไม้ไร้ใบในช่วงฤดูหนาว ซึ่งผมตั้งชื่อว่า waiting (รอคอย) ก็เพราะเป็นภาพ ทีเ่ ตือนใจและให้ก�าลังใจว่าชีวิตมีขนึ้ มีลง เมื่อเวลา ผ่านไปและฤดูใบไม้ผลิหรือฤดูรอ้ นมาถึง ใบไม้ก็จะ กลับมาเต็มต้นเหมือนเดิม ชีวิตไม่มีขึ้นและไม่มีลง ตลอดไป แต่เราต้องใจเย็นที่จะรอ” แม้แต่ตัวฟิลลิปเองก็เคยตั้งตารอเวลานั้นเช่น กัน เวลาที่เขาได้ท�าในสิ่งที่รักได้ตามใจปรารถนา ฟิลลิปศึกษาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะจาก สถาบัน cÉ ole du Louvre ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกันกับพิพิธภัณฑ์ Louvre ซึ่งมีผู้มาชมมากที่สุดในโลก ปีแรกๆ ของ ชีวติ การท�างานเขาได้เป็นวิทยากรให้ความรูแ้ ก่บุคคล ทัว่ ไปทีส่ นใจศิลปะและประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ ต่อมา ได้ผันตัวมาเป็นช่างภาพถ่ายรูปแฟชั่นและไลฟ์สไตล์ให้กับนิตยสารและบริษทั โฆษณา เมือ่ อายุได้ 40 ปี ฟิลลิปตัดสินใจหันหลังให้กับการถ่ายภาพ แบบคอมเมอร์เชียล เขาได้ออกเดินทางท่องโลกเพือ่ ถ่ายภาพชีวติ และหันมาถ่ายภาพศิลป์อย่างเต็มตัว ตามที่หัวใจเรียกร้อง “ผมไม่เสียดายเวลาที่หมดไปกับการถ่ายภาพ แฟชั่นหรือภาพโฆษณาสินค้า เพราะช่วงสิบกว่าปี นั้นผมได้เรียนรู้และฝึกฝนเทคนิคต่างๆ มากมาย มันเป็นประสบการณ์ทชี่ ว่ ยเตรียมความพร้อมให้ผม ได้ทา� ในสิง่ ทีผ่ มอยากท�ามากทีส่ ุด นัน่ คือการเดินทาง ท่องโลกและถ่ายภาพชีวิตไปตามความเป็นจริง” ฟิลลิป กล่าว
งานแสดงผลงานภาพถ่าย ครั้งแรกในประเทศไทยของ ฟิลลิป จะจัดขึ้นที่ Ardel’s Third Place Gallery 0 2422 2092 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ardelgallery.com สนใจซื้อภาพ ติดต่อ คุณลาวัลย์ ที่หมายเลข 08 7323 7577 ภาพพอร์ ต เทรต หนึ่งในหลายๆ ภาพที่ถ่าย
โดยไม่มีการขอให้ผู้ถูกถ่ายโพสต์ท่า เพราะต้องการให้เป็น ธรรมชาติมากที่สุด เป็นภาพที่ให้อารมณ์ของถนนในเมือง แห่งความหลากหลายอย่างกรุงนิวยอร์กได้เป็นอย่างดี
ฟิ ล ลิ ป กั บ กล้ อ งคู ่ ก าย
ให้ค�าจ�ากัดความตัวเองว่า เป็นนักถ่ายภาพชีวิต ไม่ใช่ถ่ายภาพสารคดีท่องเที่ยว
ยามเช้ า
ของชายหาดแห่งหนึ่ง ในแคลิฟอร์เนีย สีท้องฟ้า แสงอาทิตย์อ่อนๆ ผืนทราย และท้องน�้า ท�าให้ภาพนี้ดูสงบ ละมุน อ่อนโยน และมีชีวิต 44
เขาเปรียบศิลปะการถ่ายภาพของเขากับการ นัง่ สมาธิและศิลปะการยิงธนูของญีป่ นุ่ “ในชัว่ ขณะ ที่คุณก�าลังจะปล่อยลูกศรออกจากคันธนู คุณได้ ปลดความสนใจออกจากตนเองและรู้สึกเป็นหนึ่ง เดียวกันกับทุกอย่างรอบตัวคุณ” ฟิลลิป กล่าว “เช่นเดียวกัน เวลานั่งสมาธิ คุณได้ปลดปล่อย ตัวเองให้เป็นอิสระจากความคิดและรู้สึกถึงความ เป็นหนึ่งเดียวกันกับจักรวาล ราวกับว่าเวลาได้ หยุ ด ลงและความยึด ถื อ ตั ว ตนของคุ ณ หายไป ในชั่วขณะนั้น” หนึ่งในภาพที่เขาชอบถ่ายคือต้นไม้ ซึ่งฟิลลิป กล่าวว่า เป็นสัญลักษณ์ของชีวิตและความหวัง อีกทั้งช่วยให้เกิดความสมดุลในจิตใจเพราะต้นไม้ มีความมัน่ คงระดับหนึง่ คือมีทงั้ รากทีห่ ยัง่ ลึกลงไป ใต้ดิน รากบนล�าต้น และรากที่ลอยในอากาศ ใน ขณะที่ตัวเขาเองชอบการเปลี่ยนแปลง เคลื่อนไหว ไม่อยู่กับที่ และรักความตื่นเต้นของการค้นพบ สิ่งใหม่ๆ “ต้นไม้สอนให้ผมอยู่นิ่งๆ กับตัวเองและ หันกลับมามองตัวเองบ้าง แทนทีจ่ ะเดินไปข้างหน้า และมองไปข้างนอกอย่างเดียว อาจเป็นเพราะผม เริ่มแก่แล้วมั้งจึงคิดอย่างนี้” ฟิลลิปกล่าวพลาง หัวเราะ ฟิลลิปเชือ่ ในการถ่ายทอดพลังจิตวิญญาณจาก ตัวศิลปินไปยังงานศิลปะของเขา เขาจึงรักที่จะท�า ทุกอย่างด้วยสองมือและหัวใจ เขาล้างฟิล์มงาน ทุกชิ้นด้วยมือของเขาเองในห้องแล็บในกรุงปารีส แทนการใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เป็ น เครื่ อ งทุ ่ น แรง “ภาพถ่ายทุกชิน้ ของผมเป็นงานฝีมอื ” ฟิลลิปกล่าว “ผมใช้กล้องฟิลม์ ถ่ายรูป มันให้ความรูส้ กึ ดีกว่าเวลา คุณผลิตงานด้วยมือของคุณเองและหัวใจ”
ทุ ก ภาคส่ ว น
จับมือร่วมกันยกระดับ การศึกษาทวิภาคีของไทย
ก้าวย่างสู่ความเป็นเลิศ โครงการช่างฝึกหัด
เมอร์เซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภาคี ในภาวะที ่อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ
ท�าให้หลายบริษัทตื่นตัวกับการผลิตบุคลากรป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมของตนในเวลานี้
จรดปากกาลงนามความร่วมมือครั้งส�าคัญ 46
แขกผู้มีเกียรติเดินทางมาร่วมเป็นสักขีพยาน เรื่ อ ง สุ ภ าวดี ใหม่ สุ ว รรณ์ ภาพ ประพั น ธ์ ที ฆ วนิ ช
c h a r a c t e r
นับเป็นโอกำสที่ดีส�ำหรับนักเรียนอำชีวศึกษำ ทั้งชำย-หญิง ที่มีใจรักในวิชำชีพช่ำงยนต์จำกทั่ว ประเทศ จะได้เข้ำมำเรียนรู้ทั้งภำคทฤษฎี และฝึก ทักษะภำคปฏิบัติเฉพำะทำงอย่ำงเข้มข้นที่ศูนย์ฝึก อบรมเทคโนโลยีรถยนต์ (MBCC) โดยครูผู้ฝึกสอน มำกประสบกำรณ์จะเตรียมควำมพร้อมให้นกั เรียน ในโครงกำรฯ เป็นช่ำงเทคนิคมืออำชีพที่เข้ำใจ เทคโนโลยีล�้ำสมัยที่ติดตั้งอยู่ในยนตรกรรมเมอร์เซเดส-เบนซ์ ทุกรุน่ อย่ำงลึกซึง้ ซึง่ ตลอดระยะเวลำ 2 ปีทเี่ รียนไปด้วย ท�ำงำนไปด้วย นักเรียนทุกคนจะ มีรำยได้จำกกำรฝึกปฏิบัติงำน เท่ำกับช่วยแบ่งเบำ ภำระของครอบครัวไปด้วยในตัว หลักสูตรได้รับการปรับให้ เท่าทันความล�้าหน้าของ เทคโนโลยีเมอร์เซเดส-เบนซ์
งานโลหะพื้นฐาน ด่านวัดใจเด็กปี 1
เมอร์เซเดส-เบนซ์ เล็งเห็นว่าการพัฒนาบุคลากร
ด้านยานยนต์จะต้องเป็นไปอย่างยั่งยืน
แ
ต่ส�ำหรับ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ประเทศไทย ในฐำนะ ผู้น�ำตลำดรถหรู มองขำดสถำนกำรณ์นี้ออกมำ ตั้งแต่แรก และได้ลงทุนเตรียมควำมพร้อมด้ำน บุคลำกร โดยริเริ่มโครงกำรช่ำงฝึกหัดเมอร์เซเดสเบนซ์ หลักสูตรทวิภำคี (Dual Vocational Training) ขึ้นมำเมื่อ 27 ปีที่แล้ว
27
ปี บุกเบิกหลักสูตรทวิภาคี
เมอร์เซเดส-เบนซ์ เล็งเห็นว่ำกำรพัฒนำบุคลำกร ด้ำนยำนยนต์จะต้องเป็นไปอย่ำงยัง่ ยืน แต่จะรอคน เดินเข้ำสู่ภำคอุตสำหกรรมอย่ำงเดียวคงจะไม่ได้ ต้องรู้จักวำงรำกฐำนสร้ำงคนที่ท�ำงำนเป็นตั้งแต่ยัง เรียนอยูใ่ นสถำบันกำรศึกษำด้วย เมอร์เซเดส-เบนซ์ จึงร่วมกับวิทยำลัยเทคนิคสมุทรปรำกำร บุกเบิก พั ฒ นำ ‘โครงกำรช่ ำ งฝึ ก หั ด เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภำคี’ ในหลักสูตรช่ำงยนต์ขึ้นมำตั้งแต่ ปี 2530 ภำยใต้มำตรฐำนเดียวกับเดมเลอร์ เอจี จึงกล่ำวได้ว่ำเมอร์เซเดส-เบนซ์ เป็นผู้น�ำด้ำนกำร ศึกษำระบบทวิภำคีอย่ำงแท้จริง
มร.ไมเคิล เกรเว่ กล่าวต้อนรับ แขกผู้มีเกียรติ 47
คุณภาพการศึกษาอยู่ใน มือของผู้ใหญ่ทุกท่าน
สอบเช็ครถตามขั้นตอน เพื่อเลื่อนสู่ชั้นปี 2
ตลอด 27 ปีทผี่ ่านมา โครงการช่างฝึกหัดเมอร์เซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภาคี ได้ผลิตบุคลากร คุณภาพป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องถึง 25 รุน่ หรือกว่า 600 คน ทีไ่ ด้รบั โอกาสให้เริม่ ต้นอาชีพ ที่มั่นคงในส่วนบริการหลังการขายของเมอร์เซเดสเบนซ์ ประเทศไทย รวมถึงเครือข่ายผู้แทนจ�าหน่าย รถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่างเป็นทางการทัว่ ประเทศ ซึง่ ผูแ้ ทนจ�าหน่ายฯ แต่ละแห่งต่างให้การยอมรับว่า นักเรียนทีเ่ ป็นผลผลิตคุณภาพจากโครงการฯ สามารถ รับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้ทนั ที โดยไม่ ต้องเสียเวลามาเรียนรู้งานใหม่
นักเรียนหญิง ก็ฝึกหนักไม่ต่าง จากผู้ชาย
“นับเป็นสิ่งส�ำคัญในกำรลงทุนเพื่ออนำคตอย่ำงต่อเนื่อง ในกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์และแบรนด์ไปพร้อมกับกำรสร้ำง บุคลำกรช่ำงเทคนิค เพื่อรองรับงำนบริกำรหลังกำรขำย ให้มีคุณภำพเกินควำมคำดหวังของลูกค้ำ”
“เศรษฐกิจจะขับเคลื่อนได้ดี ต้องเกิดจำกผลผลิตที่ได้ คุณภำพและมำตรฐำน ตลำดรถยนต์ในประเทศไทย ก็มีแนวโน้มเติบโตขึ้นเรื่อยๆ โครงกำรควำมร่วมมือ เพื่อพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำในครั้งนี้จึงนับเป็น ประโยชน์อย่ำงแท้จริง”
“แม้ GTDEE จะได้รับกำรออกแบบหลักสูตรในเยอรมนี แต่จะเกิดกำรเรียนรู้ทั้งภำคทฤษฎีและภำคปฏิบัติ ในประเทศไทย เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นช่ำงฝึกหัดที่เก่ง และมีควำมเป็นเลิศตำมมำตรฐำนเยอรมัน”
มร.ไมเคิล เกรเว่ ประธานบริหาร บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด
ฯพณฯ รอล์ฟ ชูลเซ่ เอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประจ�าประเทศไทย
คุณพงษ์ศักดิ์ จักษุเวช กรรมการ หอการค้าเยอรมัน-ไทย
48
c h a r a c t e r
ยกระดับมาตรฐานการศึกษาครั้งใหญ่
ถือเป็นหนึ่งในความรับผิดชอบต่อสังคมของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ที่ให้การส่งเสริมด้านการศึกษา มาอย่างต่อเนื่อง แต่ก้าวย่างส�าคัญที่เกิดขึ้นในปีนี้ คือ การทีเ่ มอร์เซเดส-เบนซ์ ประเทศไทย ได้เข้าร่วม เป็นพันธมิตรกับหอการค้าเยอรมัน-ไทย ในโครงการ ‘เยอรมัน-ไทยเพือ่ ความเป็นเลิศในการศึกษาทวิภาคี (German-Thai Dual Excellence Education : GTDEE)’ โดยมีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ ‘ก้าวย่าง ส�าคัญโรงเรียนช่างฝึกหัดเมอร์เซเดส-เบนซ์ สูค่ วาม เป็นเลิศ ภายใต้โครงการศึกษาทวิภาคีเยอรมันไทย’ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ผ่านมา การลงนามในครั้งนี้จะช่วยยกระดับคุณภาพ หลัก สูต รระบบทวิ ภ าคี ข องวงการอาชี ว ศึ ก ษาสู่ ความเป็นเลิศตามมาตรฐานของเยอรมัน นับเป็น สิ่งส�าคัญยิ่งส�าหรับเมอร์เซเดส-เบนซ์ ในการลงทุน เพื่ออนาคตอย่างยั่งยืน โดยสร้างบุคลากรช่าง
โครงการช่างฝึกหัด
เยี่ยมชมการสอนระบบไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
ฝึกภาคปฏิบัติ พร้อมฝึกวินัย และความอดทน
เมอร์เซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภาคี ได้ผลิต บุคลากรคุณภาพป้อนเข้าสู่ อุตสาหกรรม ถึง 25 รุน่ หรือกว่า 600 คน
เทคนิคที่มีศักยภาพเพื่อเป็นก� าลังส�าคัญในการ รองรับงานบริการหลังการขายแก่ลกู ค้าเมอร์เซเดสเบนซ์ ให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด ขณะเดียวกันก็เป็นการเพิม่ โอกาสในการประกอบ อาชีพของนักเรียนในโครงการฯ ซึ่งเมอร์เซเดสเบนซ์ ตั้งใจว่าจะเพิ่มจ�านวนนักเรียนมากขึ้นใน แต่ละปี เพือ่ รองรับความต้องการของตลาดแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน รวมทั้งเตรียมพร้อมบุคลากรเข้าสู่ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 อีกด้วย
“เราพร้อมสนับสนุนนักเรียนในโครงการนี้ให้เข้ามาท�างาน ที่ศูนย์บริการ เพราะพวกเขามีพื้นฐานการฝึกอบรมที่ดี ไม่ต้องมาเริ่มนับหนึ่งใหม่เมื่อต้องปฏิบัติงานจริง ปัจจุบันมี ศิษย์เก่าในโครงการท�างานอยู่กับเราประมาณ 8 คน”
“เป็นโอกาสของนักเรียนที่สนใจในวิชาชีพช่างยนต์จะได้รับ การฝึกฝนเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง และมีโอกาส เติบโตในหน้าที่การงานกับเมอร์เซเดส-เบนซ์ ปัจจุบัน ตัวผมเองก็ก้าวขึ้นมาถึงต�าแหน่งผู้จัดการศูนย์บริการ”
“สนใจเรียนต่อทางสายอาชีพ เพราะจบไปแล้วมีงานรองรับ มากกว่า ถึงจะเป็นผู้หญิง แต่ก็เรียนเหมือนกับเพื่อนๆ ผู้ชายในรุ่นเดียวกัน ตั้งใจว่าจบแล้วจะน�าความรู้ที่เรียนมา เข้าท�างานในต�าแหน่ง SA ของเมอร์เซเดส-เบนซ์”
คุณกฤตรินทร์ ลิ้มราบรื่น กรรมการบริหาร บริษัท สวนหลวง ออโต้เฮ้าส์ จ�ากัด ผู้แทนจ�าหน่ายรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์
คุณพรกุล ฐิติยากูร ผู้จัดการศูนย์บริการ บริษัท สวนหลวง ออโต้เฮ้าส์ จ�ากัด ศิษย์เก่าในโครงการช่างฝึกหัดเมอร์เซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภาคีรุ่นที่ 7
คุณเบญจมาศ เรือนนาค นักเรียนชั้นปีที่ 1 โครงการช่างฝึกหัดเมอร์เซเดส-เบนซ์ หลักสูตรทวิภาคี 49
สิงห์ทะเลทราย
ท� ำ ไมต้ อ งเป็ น ตู นิ เ ซี ย เพราะท่ามกลางทะเลสาบน�้าเค็มที่แห้งผาก ฝูงอูฐ และภูเขาทราย
ที่นี่เป็นที่ที่เหมาะสมส�าหรับ GLA ยนตรกรรมแบบ SUV ขนาดเล็กที่สุดของเมอร์เซเดส-เบนซ์ จะได้แสดงศักยภาพ ในแบบออฟโรดและพละก�าลังได้อย่างเต็มที่ที่สุด
50
เรื่ อ ง J A N W I L M S ภำพ J A N F R I E S E
D R I V E
51
ที่เมอร์เซเดส-เบนซ์ ก้าวเข้าสู่โลกของออฟโรดด้วย ยนตรกรรมที่เรารู้จักกันในชื่อ G-Class ทุกวันนี้การ ใช้งานหลักของรถยนต์ SUV ส่วนใหญ่อยูใ่ นข้อจ�ากัด ภายในเมือง และ GLA คอมแพ็ก SUV คันแรก ก็ดเู หมือนจะถูกออกแบบมาส�าหรับสิง่ นัน้ ด้วยเช่นกัน แต่นั่นไม่ได้ยับยั้งให้เราออกมาทดสอบกัน ณ ทีน่ ี้ ไม่ใช่เราสงสัยในความสามารถของ GLA นี่เป็น เพียงทริปการเดินทางที่ย้อนสู่ต้นก�าเนิดของชีวิต มัน่ ใจได้เลยว่าเป็นจุดหมายปลายทางทีอ่ ยูห่ า่ งไกล ที่ สุ ด ที่ เ ราสามารถใช้ เ ข็ ม ทิ ศ ได้ โลกที่ แ ตกต่ า ง ส�าหรับทุกความมุง่ มัน่ และวัตถุประสงค์ บางทีสงิ่ นี้ เป็นสิง่ ทีน่ า� George Lucas มายังพืน้ ทีท่ มี่ เี สน่หท์ สี่ ดุ ในกลุ่มประเทศในแอฟริกาเหนือ ระหว่างปี 1976 และ 1977 Lucas ใช้พื้นที่ระหว่าง Tataouine และ Chott EI Djerid เป็นฉากในมหากาพย์ภาพยนตร์ เรื่อง Star Wars และหลายสิ่งหลายอย่างที่ถูกสร้าง ขึน้ เพือ่ การถ่ายท�านัน้ ยังคงอยูใ่ นสภาพทีด่ ที า่ มกลาง ความแห้งแล้งและฝุ่น
ฝูงอูฐปิดเส้นทาง
ไม่
52
ไม่วา่ จะมองไปทางไหนก็มแี ต่แสงสีเงินระยิบระยับ พื้ น ผิ ว ของทะเลสาบน�้า เค็ ม Chott El Djerid ส่องแสงแวววับเหมือนถูกคลุมไว้ด้วยชั้นน�้าแข็ง อะไรท�าให้ท่ีที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นทะเล กลายเป็น ทะเลสาบน�้า เค็ม ที่ใ หญ่ ท่ สี ุ ด ในแอฟริ ก าเหนื อ สถานที่ที่ปราศจากชีวิตเต็มไปด้วยภาพเหนือจริง ใบสีเขียวของต้นปาล์มสัน่ พลิว้ ไหว ท�าให้นกั เดินทาง ไม่รสู้ ึกถึงความห่างไกล เรามีภารกิจทีต่ อ้ งเดินทาง ไปตอนใต้ของตูนิเซียพร้อมกับเพื่อนร่วมทาง GLA 250 4Matic ที่จะพาเราออกจาก Tataouine (ประตู สู่ทะเลทรายซาฮาร่า) ไปยังเมือง Nefta เส้นทาง คาราวานเก่าแก่ทอี่ ยูไ่ ม่หา่ งจากชายแดนแอลจีเรีย เท่าใดนัก ทั้งหมดที่เราเห็นคือพื้นที่ 5,000 ตารางกิโลเมตรที่เป็นทะเลสาบน�้าเค็ม ในฤดูใบไม้ผลิ ฤดู ใบไม้ร่วง และฤดูหนาว พื้นดินใต้พ้นื ผิวที่เปราะ บางเปลี่ยนสภาพเป็นทะเลโคลน ซากของรถยนต์ หลายคัน ชวนให้ น กึ ถึ ง กิ่ ง ก้ า นของต้ น ปาล์ ม ที่ ทอดตัวเป็นถนนส�าหรับจุดหมายที่โดดเดี่ยวของ ผู้ขับขี่ เขื่อนแอสฟัลต์ที่น�าเราไปสู่ทิศตะวันตกถูก สร้างขึน้ เมือ่ 35 ปีทแี่ ล้ว เป็นช่วงเวลาใกล้เคียงกับ
ถนนที่คับแคบเปลี่ยนเป็นทางทรายโดยไม่มี ป้ายสัญญาณใดๆ บอก ซึง่ น�าไปสูเ่ ส้นทางทีค่ ดเคีย้ ว และยอดของภูเขา Dahar ทีแ่ บนราบ ทีน่ พี่ ลังส�ารอง ของ GLA 250 4Matic ถูกน�ามาใช้อย่างเต็มที่ อัตราเร่งของ GLA ช่วยให้เราผ่านขบวนคาราวาน ขนน�้ามันราคาถูกจากลิเบียไปตูนีเซีย การใช้เส้น ทางในตูนีเซียพิสูจน์ให้เห็นว่ามีอันตรายน้อยกว่า ทีค่ าดไว้ อย่างไรก็ตาม ระบบความปลอดภัยจ�านวน มากของรถยนต์คนั นีใ้ ห้ความมัน่ ใจกับการเดินทาง มากยิ่งขึ้น เช่น ระบบเตือนการชนล่วงหน้าพร้อม ระบบช่วยเบรกแบบ adaptive ที่ป้องกันการชน ที่ความเร็วเกินกว่า 7 กม./ชม. เบรกให้รถหยุดนิ่ง จากความเร็ว 30 กม./ชม. และหลีกเลีย่ งการชนจาก ทางด้านหลังที่ 20 กม./ชม. แต่เราไม่จา� เป็นต้องพึ่ง เทคโนโลยีขนาดนัน้ ส�าหรับสิง่ กีดขวางทีค่ าดล่วงหน้า ไม่ได้ของทริปนี้ ฝูงอูฐที่เข้ามาเดินเพ่นพ่านในทาง ของเรา จุดพักต่อไปของเราอยูใ่ กล้พรมแดนแอลจีเรีย ที่ซึ่ง George Lucas ใช้เป็นฉากของสถานีจอดยาน อวกาศที่อึกทึกครึกโครมใน Star Wars Episode I ซึง่ การเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลาของภูเขาทราย ได้ฝังบางส่วนของฉากนี้ไปบ้างแล้ว
ฝ่าทางทุรกันดารอย่างปลอดภัย
คุณสมบัติใช้งานแบบออฟโรดและปีกข้างของ GLA ทีส่ อื่ ถึงพลังขับเคลือ่ นสะท้อนความเชือ่ มัน่
D R I V E
ยนตรกรรมที่มาพร้อมกับ
การขับเคลื่อน 4 ล้อตลอดเวลาที่เยี่ยมยอด และการใช้งานอย่างอเนกประสงค์
โลกที ่ ไ ม่ คุ ้ น เคย
ในความกว้างขวางของทะเลทราย เราพบที่พัก ส�าหรับแฟนนิยายวิทยาศาสตร์ ฉากแท้ดั้งเดิม ส�าหรับใช้ถ่ายท�าภาพยนตร์เรื่อง Star Wars 53
กำรตั ด สิ น ใจที ่ดี เ ยีย่ ม
ความส�าเร็จจากอดีตและเทคโนโลยีชั้นสูง เป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนภายในห้องโดยสาร
54
i GLA 250 4Matic
เครื่องยนต์/แรงม้ำ 4 สูบ 2.0 ลิตร, 155 กิโลวัตต์ ที่ 5,500 รอบ ต่อนาที แรงบิดสูงสุด 350 นิวตันเมตร ที่ 1,200 - 4,000 รอบต่อนาที ระบบส่งก�ำลัง 7G-DCT เกียร์อัตโนมัติแบบคลัตช์คู่เดินหน้า 7 จังหวะ เชื่อมต่อตลอดเวลำ ชุด DriveKit Plus ให้ความมั่นใจว่า iPhone ของผู้ขับขี่พร้อมส�าหรับการใช้งานตลอดเวลา ขณะอยู่ภายในรถ เช่นเดียวกับการจดจ�าเสียง แอพพลิเคชันนี้นี้ยังช่วยเสริมฟังก์ชันการ ค้นหาสถานที่ สังคมออนไลน์ และข้อมูลสภาพ การจราจรที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาจริง เส้นทำงวิบำกทุรกันดำรเป็นเรื่องง่ำย ระบบขับเคลื่อน 4 ล้อ 4Matic ของ GLA มาพร้อมกับโปรแกรมออฟโรดที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการเดินทางบนเส้นทางวิบาก ทุรกันดาร จอแสดงข้อมูลให้ผู้ขับขี่ได้รับรู้ถึง องศาการเลี้ยวของรถหรือเข็มทิศ
กำรเดิ น ทำงที่ ย อดเยีย่ ม
การเดินทางไปกับ GLA ในเส้นทาง ชนบทที่ไม่คุ้นเคยให้ประสบการณ์ ความเพลิดเพลินอย่างคาดไม่ถึง
เผชิญหน้ากับคนทีต่ กแต่งเรือนร่างด้วยสิง่ ทีด่ แู ปลกตา ซึ่งน่าสนใจไม่เฉพาะกับการเป็นส่วนประกอบบน ยานอวกาศเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงการเดินทางของเรา ด้วย เขาคนนั้นแสดงความชื่นชมกับการออกแบบ ภายในทีป่ รับเปลีย่ นได้ของ GLA ซึง่ พร้อมทีเ่ ปลีย่ น ชุดแบบ Star Wars ของเขาให้เป็นแบบปกติทั่วไป ประตูบานท้ายทีก่ ว้างและขอบห้องเก็บสัมภาระทีต่ �า่ ให้ความมัน่ ใจว่าทุกสิง่ จะถูกเก็บไว้อย่างมัน่ คงและ ปลอดภัยในห้องเก็บสัมภาระ มุมของพนักพิงเบาะ นั่งด้านหลังยังสามารถปรับเพื่อเพิ่มพื้นที่ส�าหรับ เก็บสัมภาระ แต่ไม่ได้ลดทอนความสะดวกสบาย ของเบาะนั่งด้านหลังลงแต่อย่างใด และเมือ่ ดวงอาทิตย์อยูเ่ หนือทะเลสาบน�้าเค็มนี้ การเดินทางของเราก็สนิ้ สุดลง ซึง่ เราสามารถกล่าว ได้อย่างเต็มปากว่า GLA ได้ผสมผสานสิ่งที่ดีที่สุด
PostProduction RGBeRlin
ในการบังคับควบคุมบนเส้นทางทีว่ ิบากทุรกันดาร ยิ่งขึ้น จุดหมายต่อไปตามแผนของเราต้องไปถึง ก่อนเทีย่ ง ถนนทีจ่ ะเข้าไปยังหมูบ่ า้ นชาวเบอร์เบอร์ แห่งกัวเออร์เมสซาเป็นถนนทีแ่ คบเต็มไปด้วยก้อน กรวดทีแ่ ม้แต่รถออฟโรดยกสูงยังต้องไปอย่างช้าๆ แต่เมื่อใช้งานโปรแกรมการขับขี่แบบออฟโรดของ GLA ทางลาดชันก็ไม่ใช่อปุ สรรคแต่อย่างใด ระบบ ขับเคลื่อน 4 ล้อ 4Matic พร้อมการกระจายแรง บิด แบบแปรผัน ถ่า ยทอดก�า ลัง ได้ อย่ า งถูก ต้ อง เหมาะสมท�าให้เราสามารถเดินทางขึน้ สูเ่ นินเขาได้ อย่างมัน่ คงปลอดภัยไร้อุปสรรค ถึงแม้วา่ เมือ่ ล้อใด ล้อหนึ่งสูญเสียประสิทธิภาพในการยึดเกาะพื้น ถนน ล้อที่เหลือยังคงท�าหน้าที่ได้อย่างดีเยี่ยม ปราศจากการท�าให้เสียเวลาที่จะมุ่งหน้าเดินทาง ต่อไป นอกจากนี้การเลือกโปรแกรมการขับขี่ยัง ช่วยปรับระยะเวลาการเปลี่ยนเกียร์ และการตอบ สนองของคันเร่งตามความต้องการทีแ่ ท้จริงอีกด้วย ทุกสิ่งด�าเนินไปด้วยดีจนกระทั่งถึงจุดที่ก้อนหิน ขนาดใหญ่กนั้ เส้นทางไม่ให้เดินหน้าต่อไปได้ ท�าให้ ต้องเลี้ยวกลับลงมา และบนเส้นทางขากลับนี้เรา เรียกใช้บริการของระบบควบคุมทางเร็วบนทาง ลาดชันเพือ่ รักษาระดับความเร็วขณะลงทางลาดชัน ซึ่งเป็นหนึ่งในจุดอันตรายที่สุดที่ทา� ให้รถพลิกคว�า่ ได้ เป็นเวลา 3 วันที่ GLA พาให้เราเดินทางอย่าง ปลอดภัยผ่านทะเลทรายมาจนถึงฉากที่มีชื่อเสียง ที่สุดใน Star Wars บ้านทรงอิกลูของพระเอก Luke Skywalker ที่เป็นเสมือนนครเมกกะของสาวก Star Wars นั่นเอง และสิ่งที่คาดไม่ถึงก็เกิดขึ้น เราได้
D R I V E
อุ ณ หภู มิ พ อเหมำะ
บ้านของผู้คนในเมือง Matmata เจาะลึกเข้าไปในหน้าผาหินเพื่อ ซ่อนตัวจากอากาศที่ร้อนจัด
ของอดีตและปัจจุบนั เข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน เช่น การออกแบบภายในเป็นเสมือนตัวแทนของความ ส�าเร็จของสิ่งที่เป็นมรดกตกทอดของเมอร์เซเดสเบนซ์ กับเทคโนโลยีชั้นสูง ช่องแอร์ทรงกลม 3 ช่อง กึ่งกลางคอนโซลหน้าชวนให้คิดถึงยุคทองของการ ออกแบบภายใน ขณะที่ จ อแสดงข้ อ มู ล ระบบ Comand แบบลอยตัวน�าเราไปสู่โลกอนาคต เช่น เดียวกับระบบน�าทางที่แสดงข้อมูลแผนที่น�าทาง ด้วยภาพถ่ายเสมือนจริง การรายงานสภาพการ จราจรในช่วงเวลาจริง และการเชื่อมต่อโทรศัพท์ เคลื่อ นที่ ส มาร์ ท โฟน รวมถึง แสดงข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์สา� หรับการใช้งานแบบออฟโรด เช่น องศา การเลี้ยวและเอียงตัวของรถ เปอร์เซ็นต์การลาด เอียงของพื้นที่ และเข็มทิศ เป็นต้น ขอบคุณอย่าง สุดซึง้ ที่ GLA ได้น�ารูปแบบทีเ่ ป็นคุณลักษณะพิเศษ
ของ G-Class มาด้วย แม้ในพื้นที่ทะเลทรายที่ไม่ เหมาะอย่างยิง่ ส�าหรับการอยูอ่ าศัยเช่นนี้ เรารูส้ กึ ได้ ถึงการคุม้ ครองทีด่ ีเยีย่ มไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานการณ์ใด เช่นเดียวกับที่ไม่เคยต้องโดดเดี่ยวจากโลกของ ความจริง ส�าหรับชุดตกแต่ง AMG Line นอกจาก ความสวยงามแบบสปอร์ตแล้ว ยังสื่อถึงความ แข็งแกร่งในทุกสถานการณ์อีกด้วย หลังคากระจก พาโนรามิกเลื่อนเปิดให้เห็นบรรยากาศของท้องฟ้า ที่แตกต่างไปจากที่เคยเห็นทั่วไป และมีเพียงทะเล ทรายเท่านั้นที่ท�าให้ท้องฟ้ายามค�่าคืนกระจ่างชัด ขนาดนี้ได้ การเดินทางจะสนุกสนานยิ่งขึ้นเมื่อคุณ ค้นพบความตืน่ เต้นในสิง่ ใหม่ๆ บนเส้นทางทีไ่ ม่รจู้ กั คุน้ เคย และเมือ่ ความมานะพยายามเหล่านัน้ ได้รบั การตบรางวัลด้วยความสะดวกสบายที่ปราศจาก < ข้อสงสัยใดๆ ทั้งสิ้น 55
โบยบินตามจินตนาการ
โคลัมเบีย ชื่อศิลปิน Diana Beltrán Herrera ใช้กระดาษและเส้นลวดสร้างงานประติมากรรมเสมือนจริงสุดน่าทึ่ง เป็นรูปนกที่เหมือนบินค้างแข็งอยู่ท่ามกลางแสงไฟ “ฉันเริ่มจาก การมองหาต้นแบบจากธรรมชาติ เพื่อจับความรู้สึกลีลาเคลื่อนไหวของนก” ศิลปินอธิบายว่า เธอใช้ภาพถ่ายเป็นแบบสร้างภาพขนนกด้วยคอมพิวเตอร์ และตัดกระดาษเป็นขนแต่ละชิ้นแล้วจัด เรียงติดลงไปบนตัวนก ซึ่งก็ทำาด้วยกระดาษเช่นกัน จากนั้นก็ลงสี มีเฉพาะกรงเล็บเท่านั้นที่ทำาจากเส้นลวด “คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยจะสำานึกว่าเรามีธรรมชาติแวดล้อมเราอยู่เสมอ แม้ว่าเราจะ อยู่ในใจกลางเมือง นกของฉันจะคอยเตือนให้ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม” d i a n a b e lt r a n h e r r e r a . c o m
BOGOTA
56
E m o t i o n
Max Hollein ผู้อ�ำนวยกำรพิพิธภัณฑ์ Städel หอศิลป์ Schrin และศูนย์ประติมำกรรม Liebieghaus ซึ่งเป็นที่นิยม มีผู้เข้ำชม มำกมำย มำเผยถึงวิธีที่ท�ำให้งำนศิลปะ กับกำรค้ำไปด้วยกันได้
D e s i g n
ปลีกวิเวก
เม็ ก ซิ โ ก เก้าอี้คาร์แคร์ชื่อ Gi Booth ใช้เป็นที่นั่งและเครื่องกั้นห้องไปในตัว มีที่พิงศีรษะหุ้มเบาะ ซึ่งจะเป็นตัวกันเสียงรบกวน อีกทั้งยัง สร้างความเป็นส่วนตัว และทำาให้มีสมาธิในการทำางาน ถ้านำามาจัดกลุ่มกันโดยใช้เนื้อที่ 3.2 ตารางเมตร ก็จะกลายเป็นมุมปลีกวิเวก ใช้นั่งสนทนาความลับได้ด้วย ทำาจากวัสดุไม้ 3 ชนิด และมีเบาะ 5 สีให้เลือก j a k o b g o m e z . c o m
photos Bulls Press (2) IllustratIon Brian Taylor
ขอถำมตรงๆ แบบเจำะใจว่ำ คุณเป็นนักศิลปะ หรือนักธุรกิจกันแน่? ด้วยความสัตย์จริง ผมเป็นทั้งสองอย่าง ผมเติบโตขึ้นมากับงานศิลปะ คนอื่นไป เที่ยวทะเล แต่บ้านผมไปเที่ยวดูงานแสดง ศิลปะ ศิลปินดังๆ อย่าง Josaph Beuys เคยแวะมากินข้าวเย็นที่บ้าน ไม่นานนัก ผมก็รู้ตัวว่าไม่อยากเป็นศิลปินเอง ผมจึงเรียนด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ และบริหารธุรกิจ คุณมีวิธีคัดสรรงำนมำแสดงอย่ำงไร? มันไม่ใช่แค่คิดวิธีดึงดูดผู้คนเข้ามาชม ถ้าคิดอย่างนั้นเราก็แค่เอางานของศิลปิน ดังๆ ตั้งแต่ ปิกัสโซ่ ไปจนถึง โมเน่ต์ มาจัดแสดงก็ได้ ผมหยิบเอาประเด็น ที่สังคมกำาลังถกเถียงกันมาเป็นโจทย์ มากกว่า เป็นคำาถามใหญ่ๆ เช่น “อะไร สำาคัญในชีวิตเรา?” หรือ “เรามาอยู่ที่นี่ กันทำาไม?” ในขณะเดียวกันก็ให้งานศิลปะ เป็นตัวสะท้อนถึงวัฒนธรรม และตอบ คำาถาม ใช้เวลำนำนแค่ไหนในกำรวำงแผน นิทรรศกำร? อย่างมากที่สุดก็ 2 - 3 ปี ล่วงหน้า ผมว่าเราควรจะหมั่นทบทวนทรรศนะ และความคิดเกี่ยวกับเป้าหมายของเรา อยู่เสมอ ให้เราเกิดภาวะไม่ค่อยแน่ใจ นั่นจะเป็นวิธีเดียวที่จะเปิดประตูสู่ ความเป็นไปได้ต่างๆ
พลังไอน�้า ประเทศแอฟริกาใต้ Truth Café ตกแต่งภายในเป็น Steampunk (พังค์สไตล์เครื่องจักร ไอนำ้า) เครื่องบดกาแฟ ล้อฟันเฟือง และคันโยก ดูราวกับโลกอนาคตใน มุมมองยุคศตวรรษที่ 19 ส่วนเรื่อง กาแฟนั้นก็น่าประทับใจ David Donde ผู้เป็นเจ้าของ คั่วเมล็ดกาแฟ เองโชว์ในร้าน และตั้งฉายาตนเองว่า “coffee evangelist” หรืออัครสาวก ผู้ประกาศศาสนากาแฟ CA p e TO w n
t ru t h co f f e e . co m
57
BooKshelf
ภาพโคลสอัพ
L O n d O n จำานวนของสัตว์เลีย ้ งลูกด้วยนม สัตว์เลือ้ ยคลาน และสัตว์ปีก เป็นเพียงสัดส่วนเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัตว์ใน สปีชีส์อื่นๆ ทั้งหมด หนังสือ Animal Earth แสดงถึงความ มหัศจรรย์และหลากหลายของสิ่งมีชีวิตจำาพวกสัตว์หลาย เซลล์ ซึ่งปกติเรามักจะมองข้ามไป เช่น ภาพของปะการัง สีนำ้าเงิน ซึ่งประกอบขึ้นด้วยท่อหนวดยุ่บยั่บมากมาย thamesandhudson.com
aT h o M e
ดาวกระดาษ
S T O C k h O m e โมบาย แขวนชื่อ “Themis Prism” โดยนักออกแบบกราฟิก Clara von Zweigbergk ทำาจาก กระดาษผ่านการพับหลายๆ ครั้ง ของตกแต่งชิ้นนี้เบา และดูเหมือน ลอยอยู่ในอวกาศ หาซื้อได้ที่ a rt ecn ica .com
“ สิ่งที่คุณสวมใส่ คือวิธีแสดงตัวตนของคุณต่อสายตาโลก
ในโลกที่สื่อสารรวดเร็วอย่างยิ่งในปัจจุบัน แฟชั่นจึงเป็นภาษา ที่สื่อสารได้ฉับไว
ไอคอนด้านแฟชั ่น นักออกแบบแฟชั่นชาวอังกฤษ new YOrk
Charls James จัดว่าเป็นคนแรกที่ยกระดับ การทำาเสื้อให้เป็นงานศิลปะ ชุดออกงานราตรี สุดหรูของเขาบางส่วนที่ออกแบบระหว่างปี ค.ศ. 1930 - 1970 จะจัดแสดงในนิทรรศการ ย้อนยุค “Charls James : Beyond Fashion” ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะ The Metropolitan New York เริ่ม 8 พฤษภาคมนี้ m e t m u s e u m . o r g
58
photos The MeTroPoliTan MuseuM of arT, CeCil BeaTon/Vogue/ConDÉ nasT arChiVe © ConDÉ nasT (1), The MeTroPoliTan MuseuM of arT, MiChael a. VaCCaro/looK Magazine PhoTograPh ColleCTion (1)
miuccia prada, designer
E m o t i o n
กลางท้องทะเล
CoCoa Island hotel ในมัลดีฟส์ แปลงโฉมเรือประมงให้กลายเป็นที่พักสุดหรู
และเนรมิตทั้งเกาะให้เป็นสปาขนาดมหึมา
บนเกำะ มีแผนกต้อนรับ ภัตตาคาร และสปา มีทางเดินเชื่อมสู่ บ้านเรือทุกหลัง
มั ล ดี ฟ ส์ บนเรือสำาราญทั่วๆ ไป
ห้อง DHONI แรงบันดาลใจจากเรือหาปลาพื้นถิ่น ถ้าไม่ชอบอยู่ เรือกลางทะเลก็มีบ้านแบบวิลล่าให้เลือก
มักจะมีให้คุณทุกอย่าง รวมทั้งห้องพัก แต่ติดอยู่นิดเดียวคือ คุณไม่สามารถ เดินออกมานอกห้องพักแล้วกระโจน ลงนำ้าเลยได้ เพราะมันเท่ากับไปกระตุก สัญญาณฉุกเฉินของเรือให้ดังขึ้นเลย ทีเดียว นอกจากนั้น เมื่ออยู่นอกห้องพัก ของคุณ จะไม่มีความเป็นส่วนตัวเลย ขณะนี้ Cocoa Island Hotel แห่งนี้ แก้ปัญหาดังกล่าวได้ โดยทำาห้องพัก เป็นเรือจอดตรึงอยู่ในนำ้า จัดวางให้ เรือเหล่านี้เรียงตัวเฉออกจากกัน เมื่อนั่งเล่นบนเฉลียงที่หัวเรือคุณจะรู้สึก
อยู่คนเดียวกลางคลื่นสมุทร โรงแรม ท่ามกลางหมู่เกาะแห่งนี้ให้ความหรูหรา ที่แท้จริง ใช้เฟอร์นิเจอร์ไม้มะฮ็อกกานี เครื่องนอนผ้าลินินในอิตาลี มีฝักบัว อาบนำ้ากลางแจ้ง ทรายขาว บริเวณสปา
ซึ่งกินบริเวณทั่วทั้งเกาะ และใกล้กับ แหล่งดำานำ้าชื่อก้องโลก Vadoo channel ประเด็นสำาคัญคือ ถ้าคุณอยากจะ ดำานำ้า ก็กระโจนจากห้องพักของคุณ ลงไปได้เลย comohotels.com
งำนออกแบบใหม่ๆ และพักผ่อนวันหยุด ในทุกบทความ ค้นคว้าเพิ่มเติมได้ โดยใช้ QR app ในสมาร์ทโฟน mb - qr . com /0 fr
59
หลวงพระบาง
ไปอยู่ ไปพัก ไปรัก และไปกิน เคยไหมที ่บ างที เ ราอาจไม่ ไ ด้ อ ยากเดิ น ทางเพื ่อ ไปท่ อ งเที ่ย ว เราไม่ได้อยากท�ากิจกรรมอะไรมากมาย ไปกว่าการใช้ชีวิตแบบช้าๆ เรื่อยๆ เอื่อยๆ เพื่อจะได้ไม่เหนื่อย และไม่อยากไปแบบ 5 - 6 - 7 ตื่นเช้า รีบกินข้าว รีบออกไปกับทัวร์ แต่เราอยากแบบ 9 - 10 - 11 ค่อยๆ ลุก ค่อยๆ ละเลียด ค่อยๆ ใช้ชีวิต ในแบบที่เราอยากจะใช้ ในเวลาที่เราก�าหนดเอง ถ้าหากใครก�าลังรู้สึกแบบนี้อยู่ละก็ แนะน�าให้มาที่เมืองเล็กๆ แห่งนี้ ที่ชื่อว่า ‘หลวงพระบาง’
60
เรื่ อ ง ฬี ย ากร เจตนานุ ศ าสน์ ภาพ ฬี ย ากร, ต. ก่ อ เกี ย รติ ง าม ภาพประกอบ สาริ ส า
e m o t i o n
ภาพวาดบนผนังโบสถ์
อันวิจิตรงดงาม ที่บอกเล่าวิถีชีวิตชาวหลวงพระบาง
0
หลวงพระบาง
เมืองท่องเที่ยวเล็กๆ แต่มากด้วยเสน่ห์ท่ามกลาง ขุนเขาและสายน�้า สงบงาม ทุกครั้งที่ได้มาสัมผัส
9.00 น. ไปเตร็ดเตร่เพื่อรอเครื่องออกจากสนามบิน สุวรรณภูมิ มีไฟลท์ประมาณ 11.00 น. และราวๆ เที่ ย งครึ่ ง ก็ถึ ง หลวงพระบาง ได้ เ วลาส� า หรั บ มือ้ เทีย่ งพอดี เช็กอินเอากระเป๋าเข้าห้องพักกันก่อน แนะน�าโรงแรมติดริมแม่น�้าโขงที่ดูสวยสะอาดตา ด้ ว ยตัว ตึก สี ข าวเรี ย งรายในพื้ น ที่ ข นาดก� า ลั ง ดี ในโรงแรมเชียงทองพาเลซ ซึ่งอยู่ใกล้วัดเชียงทอง เอากระเป๋าเก็บเรียบร้อยก็สามารถเดินมาทีร่ า้ นเฝอ เจ้าเด็ด ทีเ่ ริม่ ตัง้ หม้อเคีย่ วน�้าซุปไว้แต่เช้าตรู่ น�้าซุป จึงหวานอร่อย มีผักสดเสิร์ฟมาให้แกล้มแบบจุใจ ทั้งถั่วฝักยาวก้านเล็กๆ สดกรอบ สะระแหน่พันมา แบบพอดีค�า และผักน�้าปราศจากสารพิษ ขึ้นตาม แหล่ ง น�้ า ในหลวงพระบางเท่ า นั้ น รสชาติเ ป็ น เอกลักษณ์เฉพาะ รับรองว่าใครชิมก็จะติดใจ อย่าลืม ขอน�า้ จิม้ สุกมี้ ากินแกล้มผัก และสัง่ น�า้ มะเกีย๋ ง หรือ น�้าส้มคั้นสดๆ ด้วย อิ่มอร่อยชื่นใจ หายเหนื่อย จากการเดินทาง กินเฝอเสร็จ เดินย่อยด้วยการเข้าไปชมความ งดงามของวัดแสนสุขาราม ที่อยู่ฝั่งตรงข้ามได้เลย วัดแสนสุขารามเป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นทับวัดเก่า สมัยศตวรรษที่ 20 บริเวณวัดถือว่าเป็นสถานที่เก่า แก่และศักดิส์ ิทธิแ์ ห่งหนึง่ ของหลวงพระบาง จุดเด่น ของวั ด นี้ คื อ การสร้ า งสิ ม ที่ สู ง ในแบบสิ ม ทรง เวียงจันทน์ แต่ใช้หลังคาซ้อนลดหลัน่ กันแบบหลวง พระบาง และเพิ่มหลังคาเล็กตรงกลางแบบเชียง ขวางเข้าไปอีก ท�าให้สมิ หรืออุโบสถแห่งวัดแสนสุขา รามนี้งดงามยิ่ง 61
วัดเชียงทองในช่วงเทศกาล มีการประดับตกแต่งสวยงาม
รูปปั้นพระสีทอง
บนก�าแพงหน้าวัดแสนสุขาราม
ใครชอบเดินเที่ยวชมวัด ดูสถาปัตยกรรมแบบ เก่าๆ ก็น่าจะหลงรักเมืองนี้ได้ไม่ยาก สามารถเดิน เทีย่ วชมอย่างสบายใจ ในเส้นทางทีม่ ีวัดแทรกตาม จุดต่างๆ ในทุกมุมถนน ในหลวงพระบางนั้นได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น เมื อ งที่ มี วั ด สวยงามมากคุ ณ ค่ า ทาง สถาปัตยกรรมน่าไปเยือนและยลกันได้แทบทุกวัด จากนั้นไปจิบกาแฟต่อ...เดินข้ามฝั่งถนนทะลุ ตรอกเล็กๆ ที่จะออกไปเส้นแม่น�้าคาน เลี้ยวขึ้นไป อีกหน่อย ไปเจอบ้านไม้สกั สองชัน้ คือทีต่ งั้ ของร้าน กาแฟโจมา สาขา 2 คิดดูว่าเมืองเล็กๆ ที่เดินวนไป มาได้รอบแต่มีร้านกาแฟแห่งนี้เป็นสาขาที่สองได้ นั้นคงไม่ธรรมดาแน่ คอกาแฟหรือแค่ชอบนั่งจิบ บรรยากาศและขนมอร่ อ ยๆ ก็ไ ม่ ค วรพลาด บรรยากาศเอื่อยสบายๆ ยามบ่ายที่ได้อยู่ในร้าน แห่งนี้ ท�าให้เวลาเคลื่อนผ่านไปแบบไม่รู้ตัวได้ ทีเดียว ถ้าหากนั่งชั้นบนตรงระเบียงมองลงมาเห็น นักท่องเที่ยวเดินผ่าน เห็นสายน�้าคานสงบนิ่งตรง หน้า เหมือนอยากจะหยุดเวลาไว้ให้นานๆ กับกาแฟ หอมกรุ่นที่ติดตรึงความทรงจ�าไปอีกนาน
62
ร้านหนังสือ
อาหารและเครื่องดื่ม
ของร้านออกพบตก ที่อยู่นอกเมือง และสมุดบันทึกสวยๆ ที่ร้าน ภาษาผ้า
11.00 น. วันรุ่งขึ้น เดินออกจากโรงแรมหลัง เสร็จภารกิจจากมื้อเช้าในโรงแรมเชียงทอง พาเลซ เดินไปเรื่อยๆ ในเส้นทางตรงเข้าเมือง ก่อนจะเลี้ยว ออกสู่เมนสตรีท ผ่านร้านขายผ้าทอ ที่มีทั้งผ้าไหม ผ้าฝ้าย ที่ออกแบบสวยงาม ในนาม ว่า Passapaa และที่อยู่ติดกัน คือออกพบตก ร้านที่มีตา� นานเรื่อง ผ้าทอสวยๆ รับรองว่าใครชอบผ้าจะอ้อยอิง่ อยู่สอง ร้านนี้ได้นานจนลืมเวลา ถ้าไม่มีแผนการใดๆ ว่าจะไปไหนต่อ จากเรื่องราวของภาษาผ้าร้านนี้ ไม่แน่อาจได้แผนการสั้นๆ ได้แรงบันดาลใจ ทีส่ ามารถโยงไปถึงจุดทีท่ �าให้รวู้ า่ อยากไปต่อที่ไหน เข้าเมือง ชมชีวิตนักท่องเที่ยว ชมร้านรวงต่างๆ หรือนั่งรถตุ๊กๆ ไปดูต้นก�าเนิดการ ทอผ้าของทางร้านที่มีบริการให้นักท่องเที่ยวเข้า ไปชมด้วย กลับมาก็หาร้านกาแฟนั่งอ่านหนังสือ บ่ายแก่กลับไปหย่อนกายสบายๆ ในห้องพัก แล้ว ตกเย็นหากมีแรงเหลือค่อยเดินขึ้นวัดพระธาตุภูสี ชมอาทิตย์อัสดง และชมวิวเมืองหลวงพระบางใน มุมสูงที่สวยงามตราตรึงไปอีกแบบ 10.00 น. ของวันต่อมา คิดว่าหากใครมาเยือน หลวงพระบางแบบไร้แผนการไปเที่ยวที่ไหน และ อยูไ่ ด้ยาวถึงวันทีส่ าม วันทีส่ ี่ โดยไม่นกึ อยากรีบกลับ หรืออยากจะไปเลื่อนตั๋วเที่ยวกลับให้ยาวออกไป เพื่อซึมซับการใช้ชีวิตแบบไม่วุ่นวายแต่สบายดี กิน เทีย่ ว พัก ตามสถานทีต่ า่ งๆ และร้านอาหารอร่อยๆ ก็ช่างมีมากมายในเมืองมรดกโลกแห่งนี้ เราว่านี่คือวิถีแห่งการใช้ชีวิตแบบศิวิไลซ์ที่ไร้ ความเครียดอย่างแท้จริง อย่าคิดว่าแค่มาเที่ยว แต่ให้คิดว่ามาลองอยู่ มาลองดูว่าชอบมั้ยในวิถี แบบนี้...วิถีที่คุณอาจรัก หลวงพระบาง
e m o t i o n
เส้นทางในหลวงพระบาง
และฝั่งที่มีแม่น�้ำขนำบสองสำย สำมำรถเดินลัดเลำะเที่ยวชม ร้ำนรวงต่ำงๆ ได้งำ่ยๆ
ชอบที่พักริมน�้า พัก โรงแรม เชียงทอง พำเลซ ชอบที่พักในเมืองแนะน�า เดอะ ลีเจนด์ หลวงพระบำง ค้นหาเว็บไซต์ที่พัก www.agoda.com ร้านกาแฟโจมา สาขาแรก อยู่ใกล้ไปรษณีย์ สำขำที่ 2 บ้ำนไม้สักสวย ถนนฝั่งแม่น�้ำคำน ร้านอาหารใหม่ล่าสุดแนะน�า Tangor ถนนเมนสตรีท ร้านอาหารที่คนนิยมชมชอบ มากที่สุด The Coconut Garden ถนนเมนสตรีท ร้านกาแฟบรรยากาศดี เบเกอรี่อร่อย Bann vat Sene (บ้ำนวัดแสน) 63
คุ้มค่าสำาหรับการเยี่ยมเยือน
เค รื อ ข่ า ยเ มอ ร์ เ ซเ ดส -เ บน ซ์ :
Ha mil ton เรี ย กค วาม สน ใจเ พิ่ ม
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ Lewis นักขับรถแข่งฟอร์มูล่า 1 ทีม MercedHamilton ไม่ได้มีแค่ข้อมูลข่าวสารและภาพที่สวยงes GP ามเร้า อารมณ์ ในโลกของการแข่งขันรถแข่งฟอร เท่านั้น แต่ยังให้บริการเสียงเพลงที่มีร ์มูล่า 1 ูปแบบเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวอีกด้วย เพราะ Ham รวบรวมรายการเพลงหลากหลายแนว ilton Spotify ของเขา ท�าไมไม่ลองฟังเสียงขอไว้ ในช่อง โลกคนนี้ในรถยนต์ที่แสนจะสะดวกสบายงอดีตแชมป์ ของคุณดู? lew ish a m i lto n . com
64
5 เสน่ห์เย้ายวนใจจากโลกดิจิท
การท่องเว็บในฤดูใบไม้ผลิ
ัลส�าหรับ
ed mi g o it ti ao ln
โฉมใหม่
mb! โดย Mercedes-Benz นิตยสารไลฟ์สไตล์ ผ่านการปรับปรุงใหม่เรียบร้อยแล้ว โฉมใหม่ของ นิตยสารนี้มาพบกับคุณในดีไซน์ ใหม่ทันสมัย โดยได้เพิ่มบทความเกี่ยวกับนักดนตรีดาวรุ่ง แฟชั่น การผจญภัย และเทคโนโลยี สามารถอ่าน นิตยสารออนไลน์นี้ได้ทงั้ ทางสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต
Illustr atIon Cristiano rinaldi photos ddP images (1), daimler ag (3)
การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร
ด้วยการใช้แอพฯ Vine วิดีโอสั้น ท�าให้ผู้ ใช้ ทวิตเตอร์สามารถแชร์ ความประทับใจของคุณ ในคลิปวิดีโอความยาว 6 วินาทีรวมถึง
m b . m ercedes - benz . com
๒# mercedes - benz seeni v e . com / tag / mercedes benz
A
มุ ม มองจากภายใน
บล็อก Daimler เชื้อเชิญพนักงานประจ�า ในทุกภาคส่วนร่วม สนทนาพูดคุยถึง การท�างานของพวกเขา นวัตกรรมทางเทคโนโลยี และโครงการเพื่อสังคม
blog . da i m ler . de
......... | 5:51 ... | PATRICE ................................................ 01 SMOKE & MIRRORS (SG LEWIS REMIX) ................. | 3:41 ........... | GHOST DUST ................................ 02 PHANTOM TYPEWRITER ................ ........ | 3:46 ................ ................ ... | MADARA ................ 03 BE STILL ................................................ JILL TURNER | 3:08 ........ | BLACKFIELD SESSIONS FEAT. 04 10 MIO DREAMS (MIXED TAPE MIX) ..................................... | 4:02 BATMAN T BASEMEN | ....... 05 DARK SIDE OF THE STOOP ................ ........................ | 3:49 ...... | MR EART ................................ 06 I LOVEHATE YOU ................................ ................... | 3:58 .. | THE HAGMAN GROUP ................ 07 YOU MADE IT EASY ................................ .......................... | 3:03 ................ ATLANTIC HELLO | 08 THE LEAVING SONG ................................ ......... | 4:40 ................ ................ ........... | SOTHKO ................ 09 PITCH BLACK ................................ ............................ | 3:06 ........... | COLD ATLANTIC ................ 10 PERFECT WAY ................................
for private use and dissemination. of music protected by copyright, free Mixed Tape from Daimler AG, pieces des-benz.com/mixedtape. from 30.01.14 free of charge at www.merce The new Mixed Tape will be available
ใช้ QR APP
เพื่อชมข้อมูลดิจิทัล ทั้งหมดทางสมาร์ท โฟนของคุณ
งานที ่เ ก็ บ สะสม
Mercedes-Benz Music Compilation 54
เว็บไซต์นี้เก็บสะสมบล็อกที่เป็นที่สุดของความก้าวหน้าในหลากหลาย ประเด็นหัวข้อ ตั้งแต่รถยนต์ ใหม่ล่าสุดของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ไปจนถึง เหตุการณ์ส�าคัญ และการพัฒนาทางเทคโนโลยี www.mercedes-benz.com/mixedtape
indicated CD cover out along the cutting marks soci a lpu blish . m ercedes - benz com colour, cut.the white or No matter whether it’s in black and and then fold it in half. It should now
fit in any standard CD sleeve.
65
ส� า หรั บ เธอ สิ ่ง ส� า คั ญ คือเรื่องของวงเลี้ยว ส�ำหรับเขำ กำรควบคุมอุณหภูมิที่ไร้ข้อผิดพลำดเป็น
ส่วนประกอบส�ำคัญ หรือจะเป็นในตรงกันข้ำม ผู้หญิงและผู้ชำยมีมุมมองและแง่คิดที่แตกต่ำงกันโดยเฉพำะในเรื่อง ของรถยนต์ ครั้งนี้เรำได้เชื้อเชิญหญิงชำยคู่หนึ่งให้มำค้นพบประสบกำรณ์ ใหม่ของพวกเขำในเมอร์เซเดส-เบนซ์ E-Class
ค น ล ะ มุ ม ม อ ง
66
เรื่ อ ง J e n n y B u c h h o l z ภาพ y v e s B o r g wa r dt
c h a r a c t e r S
C สปอร์ ต
ผู้ทดสอบของเราประทับใจอย่างมาก กับการออกแบบภายในห้องโดยสาร
hristiana Clapcich และ Carsten Klermund ทั้งคู่ ท�ำงำนเป็นผู้จัดกำรส�ำนักงำนจัดหำนำยแบบ นำงแบบ Christiana อำศัยอยู่ในเขต Marylebone ในกรุง London ส่วน Carsten อยู่ในเมือง Munich ประเทศเยอรมนี Christiana บอกว่ำ “เมือ่ ไหร่กต็ ำม ทีฉ่ นั ได้ออกไปหำเพือ่ นในชนบท สิง่ แรกทีฉ่ นั ท�ำคือ กำรขอยืมรถใครสักคน และดื่มด�่ำกับอำรมณ์หลัง พวงมำลัย” Carsten ยอมรับที่จะเป็นโชเฟอร์ขับ รถในวันอำทิตย์ แต่ในระหว่ำงสัปดำห์เขำชื่นชอบ ที่จะขี่จักรยำนหรือนั่งรถไฟใต้ดินมำกกว่ำ ทั้งสอง คนได้ รั บ กำรเชื้ อ เชิญ ให้ ม ำใช้ เ วลำในวั น หยุ ด สุดสัปดำห์ที่เมือง Lisbon ประเทศโปรตุเกส โดยมี เมอร์เซเดส-เบนซ์ E-Class เป็นพำหนะคู่ใจ >
i Carsten
อายุ 49 ปี อาชี พ ผู้จัดการบริษัทโมเดลลิ่ง กิ โ ลเมตรต่ อ อาทิ ต ย์ 250 กิโลเมตร สถานภาพ ขับรถยนต์ด้วยตนเองเป็นบางครั้ง
i Christiana
อายุ 46 ปี อาชี พ ผู้จัดการบริษัทโมเดลลิ่ง กิ โ ลเมตรต่ อ อาทิ ต ย์ 20 กิโลเมตร สถานภาพ ผู้ขับขี่ที่ท้อแท้กับการจราจร เป็นประจ�า
ผ่ อ นคลาย
การหยุดพักหลังออกจากถนนที่คับแคบ ในเขตเมืองเก่าเป็นไปด้วยความยินยอมพร้อมใจ
ความงดงามจากแสง
E-Class Wagon ด้านหน้าของ Elevador de Santa Justa ที่มีชื่อเสียง
67
กว้ า งขวาง
Christiana เปรียบรถยนต์คันนี้ว่า มีขนาดเท่ากับอพาร์ตเมนต์ของเธอ
carSten ครั้ง แรกที่ ไ ด้ เ ห็ น รถยนต์ คั น นี้ ผมวิตกในทันทีวำ่ เป็น
ควำมคิดทีด่ หี รือเปล่ำกับกำรทีจ่ ะขับรถยนต์ทมี่ พี นื้ ทีบ่ รรทุก สัมภำระขนำดใหญ่อย่ำงนี้ไปในเขตเมืองเก่ำของ Lisbon แต่ในไม่ชำ้ ผมก็สลัดควำมวิตกนีท้ งิ้ ไป เพรำะ E-Class คันนี้ สำมำรถบังคับควบคุมได้เหมือนกับรถยนต์คนั เล็กๆ คันหนึง่ กำรเปลีย่ นต�ำแหน่งเกียร์จำกก้ำนเปลีย่ นเกียร์ทคี่ อพวงมำลัย ใช้งำนง่ำยมำก และมันดูเท่ดจี ริงๆ อันทีจ่ ริงยังมีรำยละเอียด อีกมำกที่งดงำมทันสมัยในแบบสปอร์ต และตัดกันเป็น อย่ำงดีกับควำมโอ่อ่ำกว้ำงขวำง ตัวอย่ำงเช่น พวงมำลัย เป็นไฮไลท์ท่สี ื่อว่ำรถยนต์คันนี้พร้อมที่จะเดินทำงไปทุกที่ ทุกเวลำ เมื่อช่ำงภำพต้องกำรให้จอดรถเพื่อถ่ำยรูป กล้อง แสดงภำพ 360 องศำ เข้ำมำท�ำหน้ำที่อ�ำนวยควำมสะดวก อย่ำงเต็มที่ ผมแทบไม่เชือ่ เลยว่ำวงเลีย้ วของรถคันนีจ้ ะแคบ มำก ซึง่ ท�ำให้แม้จะเจอทำงตัน กำรจะกลับรถออกมำก็ไม่ได้ สร้ำงปัญหำให้เกิดขึน้ แต่อย่ำงใด และเมือ่ ผมขับรถผ่ำนเข้ำ ไปยังเขตเมืองเก่ำเพื่อถ่ำยภำพ ผู้คนจ�ำนวนมำกเฝ้ำมองดู เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น ในตอนแรกเรำคิดว่ำพวกเขำคำดหวัง ที่จะได้เห็นดำรำหรือผู้มีชื่อเสียงสักคนก้ำวลงมำจำกรถ แต่จริงๆ แล้วสิ่งที่เขำชื่นชมเป็น E-Class คันนี้นี่เอง
68
รถยนต์
ที่พร้อมจะไป ทุกที่ทุกเวลา carsten
c h a r a c t e r S
chriStiana E-Class จอดอยู่ ใ นโรงรถของโรงแรม มันดูคล้ำย
ใต้ฝากระโปรง เป็นอสูรร้าย ที่คอยเวลา ปลดปล่อย พลังออกมา i E 220 CDI WAGON
เครื่องยนต์/แรงม้า ดีเซล 4 สูบ 2.2 ลิตร 125 กิโลวัตต์ที่ 3,000 - 4,000 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 400 นิวตันเมตร ที่ 1,400 - 2,800 รอบต่อนาที ระบบส่งก�าลัง เกียร์อัตโนมัติเดินหน้า 7 จังหวะ 7G-Tronic Plus เคลื่อนที่อย่างลื่นไหล ระบบ Distronic Plus ท�าให้การขับขี่ ในสภาพการจราจรติดขัดไม่ใช่เรื่อง น่าเบื่อหน่าย ระบบให้ความช่วยเหลือ ที่ท�างานโดยอัตโนมัติควบคุมระยะห่าง ระหว่างรถยนต์ที่อยู่ด้านหน้า ให้ เสถียรภาพที่มั่นคงบนเส้นทางตรง และบนเส้นทางโค้ง ความสะดวกสบายที่เข้าถึงได้ ด้วยความจุพื้นที่เก็บสัมภาระถึง 1,950 ลิตร สามารถจัดเก็บสัมภาระได้ อย่างหลากหลายรูปแบบ และด้วยระบบ keyless-go (อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติม) สิ่งที่ต้องท�าในการเปิดฝากระโปรงท้ายคือ การยื่นเท้าเข้าไปด้านใต้กันชนหลังเท่านั้น
สัตว์ป่ำที่อยู่ในรังของมันเอง กรอบไฟคู่หน้ำที่แปลกตำให้ ควำมรู้สึกเหมือนกับ E-Class ก�ำลังจ้องมองมำยังฉัน และ ถ้ำมันสำมำรถพูดได้คงบอกว่ำ “ไม่ใช่คุณหรอกคุณผู้หญิง ฉันเป็นรถยนต์ส�ำหรับคุณผูช้ ำยต่ำงหำก” แต่อย่ำงไรก็ตำม เมือ่ ฉันท�ำหน้ำทีเ่ ป็นผูข้ บั ขีก่ ็รสู้ กึ ว่ำ E-Class คันนีก้ ลำยเป็น ลูกแมวเชื่องๆ ไปเสียแล้ว และยังรับมือกับสภำพถนนที่ คับแคบได้อย่ำงเหลือเชื่อ เรำออกจำกโรงแรมที่พักขณะที่ พระอำทิตย์ยงั ไม่โผล่พน้ ขอบฟ้ำ ภำยนอกอำกำศหนำวเย็น แต่เบำะนัง่ แบบมีระบบท�ำควำมร้อนให้ควำมอบอุน่ ได้อย่ำง พอเพียงเลยทีเดียว และสิง่ ทีฉ่ นั ชอบเป็นพิเศษอีกอย่ำงหนึง่ คือ นำฬิกำที่อยู่ในชุดแผงหน้ำปัด มันยอดเยี่ยมและให้ ควำมรู้สึกเหมือนนำฬิกำของสุภำพบุรุษในทศวรรษ 1970 จนอยำกจะเอำมำคำดไว้ที่ข้อมือเสียเลย นอกจำกนี้แล้ว พื้นที่ส�ำหรับจัดเก็บสัมภำระเป็นอีกควำมประทับใจหนึ่ง มันมีขนำดใหญ่มำกจนท�ำให้สัมภำระน้อยใหญ่ไม่ใช่ปญ ั หำ กวนใจแต่อย่ำงใด หรือดีพอที่จะเป็นห้องรับแขกส�ำหรับ เพื่อนๆ เลยทีเดียว
christiana
คล่ อ งแคล่ ว
การติดตั้งกล้องแสดงภาพ 360 องศา ช่วยอ�านวย ความสะดวกสบายมากขึ้น แม้ในสภาพถนนที่คับแคบ มากที่สุดก็ ไม่ใช่ปัญหา แต่อย่างใด
69
หุบเขาปะการังและหินดำา
แห่งเมืองทวาย
ผมไปด� ำ น� ้ำ ในพม่ ำ มำแล้ ว 7 - 8 ครั ้ง ใน 15 ปีที่ผ่านมา
แต่ไปครั้งไหนก็ ไม่เหมือนครั้งแรก...คณะแรก ที่รัฐบาลพม่าอนุญาต ให้เข้าไปด�าน�้า ซึ่งกว่าจะได้เข้าไปก็ต้องไปนอนรอวีซ่า รอใบอนุญาตกัน สามวัน สี่คืน และพบว่าเป็นทริปที่เรียกได้ว่า “ดิบ” เหลือก�าลัง
เรื่ อ ง/ภำพ นภั น ต์ เสวิ กุ ล 70 70
e m o t i o n E
71 71
เรือภาณุนีฟันคลื่นขาวลูกแล้วลูกเล่า แล่นขึ้น เหนือ ลึกเข้าไปในน่านน�า้ สีมรกตของทะเลอันดามัน ในส่วนที่เป็นของประเทศเมียนมาร์ ช่วงโพล้เพล้ ใกล้ค�่าก็พบว่าท้องฟ้าและผืนน�้าไม่มืดมิดดั่งสีนิล เช่นเคย เพราะลิบๆ สุดขอบฟ้ารอบตัวเรากลับ ระยิบระยับสุกสกาวด้วยแสงไฟจากเรือไดหมึก นับสิบ นับร้อย สอบถามได้ความว่า ระหว่างที่เรือ ประมงพม่ายังจับปลาไม่เป็นในขณะนี้ จึงออกตั๋ว ให้เรือจากระนอง และตะกั่วป่าเข้ามาหากินใน น่านน�้าไปพลางๆ แต่ทสี่ ดุ ประทับใจมากกว่าทีไ่ หนหมดก็คือ การ ได้ลงด�าน�้าวันแรกที่หมู่เกาะเซนต์แมทธิว (Saint Mathew Islands) จ�าชือ่ นีไ้ ว้ให้ดี นีค่ ือหมูเ่ กาะขนาด กลางอยู่หลังเกาะสองเพียงไม่กี่สิบไมล์ทะเล เมื่อ หลายปีกอ่ นเราเคยน�าเรือเข้าไปแล่นวนเวียนอยูใ่ น นี้จนเกือบถูกจับเพราะไม่เคยรู้ว่าเป็นพื้นที่ปกปิด
เกำะสอง ไม่ได้เป็นเกาะ เป็นแค่ปลายสุดของ Mergui
Archpelago ที่อยู่ตรงข้ามกับจังหวัดระนอง จึงเหมือน ปากทางที่ผู้คนสองประเทศใช้ติดต่อกันมาช้านาน
เ
72
รือหรู Divemaster II ที่พาเราเข้าไปกลายเป็นเรือ นักโทษ จะแล่นไปไหนก็จะมีเรือรบพม่าเกาะหลัง ตามมา แทบจะผูกจะพ่วงเป็นตัวติดกัน และถ้าไม่ นับหรือไม่เหลียวไปมองเรือสีเทาๆ ด�าๆ ข้างหลัง พวกเราก็จะรู้สึกคล้ายๆ กันคือ ออกจะว้าเหว่และ นึกไม่ออกว่า แต่ละเช้า แต่ละบ่ายใน 8 วันข้างหน้า เราจะเห็นอะไร? หรือแม้แต่ชีวิตจะเป็นอย่างไร? เพราะกวาดตาไปจนสุดขอบฟ้า นอกจากเกาะแก่ง ต่างๆ ก็จะไม่เห็นผู้คน ไม่เห็นเรือแถวนั้นสักล�า กลางวันยังพอว่า แต่พอตกค�่า รอบๆ ตัวก็มีแต่ ความมืดมิด เห็นแต่ดวงดาวนับพัน นับหมื่นสุก สกาวอยู่ทั่วท้องฟ้า และสะท้อนลงบนผืนน�า้ โดย เฉพาะเมื่อลอยล�าอยู่บริเวณไหล่ทวีป (Continental shelf) เหนือกองหินใต้น�้าขนาดใหญ่ ปลายทางของ การเดินทางที่เรียกว่า Burma Bank (เดี๋ยวนี้เขาไม่ ให้ไปแล้ว) ที่อุตสาหะด�าน�้าลงไปท�า Shark feeding คือ เอาปลาตัวโตๆ สดๆ ไปล่อฉลามตัวใหญ่ๆ ให้มากินเหยื่อจากมือแล้วก็ท�าหน้าสยดสยองกัน เล่น (ที่จริงก็แอบกลัวกันแทบตาย) ไปด�าน�้าในพม่าปีนี้แปลกตากว่าที่เคย แปลก ตั้งแต่เรือแล่นจากท่าเรือน�้าลึกของจังหวัดระนอง ไปเทียบท่าเกาะสองที่เคยเป็นแค่ชุมชนเล็กๆ มีคน พม่าหน้าตาบูดบึ้งเดินอยู่ไม่กี่สิบคน เกาะสอง วันนีบ้ า้ นเมืองขยายใหญ่ กลายเป็นเมืองท่าชายฝัง่ ทีก่ า� ลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้คนและรถรามากมาย สับสน ร้านค้าและตลาดใหญ่โต และที่ส�าคัญมีแต่ คนยิ้มแย้มและสนุกสนานกับการเป็นพลเมืองของ ประเทศเมียนมาร์
หุ บ เขำปะกำรั ง
Secret Island เกาะมหัศจรรย์ของทะเลมะริด ภายในเป็นทะเลสาบปิด ล้อมรอบด้วยภูผาสูงชัน แสนสวยด้วยน�้าทะเลสงบนิ่งสีมรกต และปะการัง น�้าตื้นหลากหลายประเภท
e m o t i o n
หอยมื อ เสื อ (Giant Clam)
อุตสาหะด�าน�้า ลงไปท�า
คือ เอาปลา ตัวโตๆ สดๆ ไปล่อฉลามตัวใหญ่ๆ ให้มากินเหยื่อจากมือแล้วก็ท�าหน้า สยดสยองกันเล่น
Shark feeding
เป็นหอยสองฝาขนาดใหญ่ ปกติต้องอยู่ในน�้า ผมเคยน�าหอยมือเสือจากศูนย์เพาะเลี้ยงชายฝั่ง ประจวบคีรีขันธ์ ไปปลูก (ปล่อย) ถึงระยอง ต้องเอาอผ้าส�าลี ห่อและคอยราดน�้าทะเลให้เปียกตลอดเวลา เจอหอยพม่า เปิดฝาท้าแดดแรงทีละ 4 - 5 ชั่วโมง ก็ต้องยกมือยอมแพ้
เพราะรัสเซียเคยมาขอเช่าใช้เป็นฐานทัพเรือด�าน�้า ที่ตื่นตาตื่นใจก็คือ เวิ้งอ่าวรูปเกือกม้าขนาดใหญ่ ของเกาะสามารถกันคลื่นลมได้เป็นอย่างดี เต็มไป ด้วยหาดทรายขาว ทะเลครามแบบหมูเ่ กาะสุรินทร์สิมิ ล ัน บ้ า นเรา วั น หนึ่ ง อ่ า วนี้ อ าจจะกลายเป็ น สนามบินน�า้ น�านักท่องเทีย่ วนานาชาติมาท่องเทีย่ ว พัก ผ่ อ น ถ้ า พม่ า ใช้ ศั ก ยภาพของเซนต์ แ มทธิ ว เนรมิตรีสอร์ท กาสิโน ระดับ 5 ดาว พร้อมกับการ ขยายสนามบินบนเกาะสองเสร็จเรียบร้อยเมื่อไร ผมว่า ภูเก็ต หรือเขาหลัก มีโอกาสร้อนๆ หนาวๆ อย่างแน่นอน แล้วอยู่บนเกาะนั้นก็ไม่ต้องไปท่องเที่ยวด�าน�้า ที่ไหนไกล แหล่งท่องเที่ยวด�าน�้าระดับ 5 ดาวก็อยู่ ตรงหน้าเกาะนั่นแหละ แค่ Secret Island เกาะ บริวารของเซนต์แมทธิวที่ไปสัมผัสมานี่ก็พอเพียง แล้วจะบ้าตาย เกาะลึกลับแห่งนีแ้ หละ ทีผ่ มเรียกว่า หุบเขาปะการัง ลักษณะของเกาะคล้ายกับเกาะ พีพีดอนของเรา คือ เป็นเวิ้งอ่าวใหญ่กลางภูเขา หินปูน แต่พิเศษกว่า เพราะปากทางเข้าไปในอ่าวนี้
หิ น ด� ำ
แห่งเมืองมะริด หน้าตาเป็นแบบนี้ ไม่น่าเชื่อว่าจะมี ความหลากหลายของสัตว์ทะเลตั้งแต่ตัวโตๆ ขนาด 10 เมตร ไปจนถึงม้าน�้า และกุ้งตัวตลกขนาด 2 เซนติเมตร
เป็นถ�้าเตี้ยๆ เหนือพื้นน�้า ต้องนั่งเรือลอดเข้าไป แต่ในยามที่น�้าขึ้นสูง ปากทางเข้าก็จะปิด ดังนั้น จะเข้าไปในทะเลสาบก็ต้องตอนน�้าลง ปากถ�้าเปิด และความสวยงามเป็นพิเศษก็จะอวดโฉมในตอนนัน้ เช่นกัน เพราะเมือ่ น�า้ ทะเลในอ่าวลดระดับลง ด้านใน กลายเป็นสระน�า้ สีมรกตทีส่ รรพชีวติ ใต้นา�้ ยังคงว่าย เวียนอยู่ในนั้น ตามขอบอ่าวติดหาดทรายแคบๆ ที่ล้อมรอบอยู่เต็มไปด้วยปะการังน�า้ ตื้นนานาชนิด ที่พิสดารพลิกต�าราก็อย่างเช่นดอกไม้ทะเล และ หอยมือเสือ ที่โผล่พ้นน�้าขึ้นมาเป็นคืบ เห็นแล้ว แทบไม่เชื่อสายตา เพราะเคยรู้มาว่าสัตว์น�้าไม่ว่า น�้าจืด น�้าเค็มก็ต้องอยู่ในน�้า แล้วนี่ขึ้นมาตากลม ตั้งหลายชั่วโมง เห็นแล้วก็นึกอัศจรรย์ใจว่าเป็นไป ได้อย่างไร 73
จะเข้าไปใน
ทะเลสาบก็ต้องตอน น�้าลง ปากถ�้าเปิด และความสวยงามเป็น พิเศษก็จะอวดโฉม
ภาพแบบนี ้
ไม่ว่านักด�าน�้าคนไหนก็อยากเห็น ด�าน�้าที่หินด�า พบกันเต็มตาตลอด สองวัน ระหว่างนักด�าน�้า 20 คน กระเบนราหู 5 และฉลามวาฬอีก 2 74
ทีจ่ ริงจะอวดว่า แม้เราจะไม่มภี มู ปิ ระเทศมหัศจรรย์อย่างบ้านเขา แต่ปะการังน�า้ ตืน้ สุดสวยแบบนี้ บ้านเราก็เคยมีมาก โดยเฉพาะทางฝั่งอันดามัน นี่แหละ ไม่ว่าจะเป็นเกาะหนึ่งสิมิลัน เกาะสุรินทร์ เกาะพีพี เกาะรอก เกาะปอดะ เรื่อยลงไปจนถึง ตะรุเตา เสียแต่ว่าในระยะเวลาสิบปีเศษที่ผ่านมา ต่างพากันสละชีพทิง้ ชีวติ ให้กบั การท่องเทีย่ วด�าน�า้ ตื้น (Snorkeling) ที่เรามักไม่ค่อยควบคุมผู้มาเยือน ให้ปฏิบัติตามกติกา ว่าไม่ควรลงด�าน�้าชมปะการัง ยามน�้าลงและสามารถยืนถึง เพราะลงว่ายืนได้ ก็มกั จะเดินไปเหยียบย�า่ ปะการัง แล้วปะการังก็เป็น สัตว์ตัวกระจิ๊ดเดียว อ่อนแออยู่ในเปลือกหินปูน โดนฝ่าเท้าน้อยๆ ย�่าเช้า ย�่าเย็น จะเหลือรอดไปถึง ลูกหลานหรือ? เหตุทั้งหมดที่ว่านี้เกิดขึ้น ทั้งจาก ที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ และการละเลยของผู้ประกอบ การทั้งสิ้น...พูดไปก็ช�้าใจ ส่วนแหล่งด�าน�้าลึกของพม่าในอาณาบริเวณนี้ ที่รวมเรียกว่า Mergui Archipelago หรืออาจจะ เรี ย กว่ า ทะเลมะริ ด นั บ ได้ ว ่ า มี ค วามโดดเด่ น
e m o t i o n
มีแหล่งด�าน�้าดีๆ นับสิบแห่ง พบเห็นสัตว์ใหญ่หา ยากทัง้ ประจ�าถิน่ และนักเดินทางแวะเวียนผ่านมา อย่างเช่น ฉลามวาฬ กระเบนราหู และที่เป็นดารา ก็คือฝูง Devil’s Ray นับร้อยที่เกาะ Little Torres แต่บริเวณไหนๆ ก็ไม่สู้หินด�า หินโดดกลาง ทะเลลึก ที่เรือของเราแล่นย้อนขึ้นมาจากระนอง จนเกือบถึงแนวเดียวกับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ก็จะถึงหินด�าแห่งทะเลมะริด หินด�าเล็กนิดเดียว เล็กกว่าเกาะครก ทะเลพัทยาเสียอีก และไม่มีใคร รู้ว่าท�าไมถึงได้มีปลาต่างๆ ชุกชุมนัก ผมก็สรุปเอา กับตัวเองว่า น่าจะเป็นเพราะสภาพทางภูมิศาสตร์ ที่น�ากระแสน�้าเย็นไหลขึ้นมาจากทะเลลึก โดยน�า สารอาหารมากมายมาส�าหรับสรรพชีวิตในห่วงโซ่ อาหาร ดังนัน้ เมือ่ ลงด�าน�า้ ทีน่ ี่ เราจึงมักพบฝูงปลา นักเดินทางนานาชนิด ทั้งทูน่า โฉมงาม ตลอดจน
วันหนึ่งอ่าวนี้
ชาวประมงพม่ า หน้าตายิ้มแย้มแบบนี้พบเห็นได้เป็นปกติ ตลอดเส้นทาง พ่อคนนี้โกยกุ้งแชบ๊วยให้เต็มกล่องโฟม แถมร้องเพลงชาติไทยให้ฟัง 1 รอบ
อาจจะกลายเป็น สนามบินน�้า น�านักท่องเที่ยว นานาชาติมา ท่องเที่ยวพักผ่อน
กระเบนราหู และฉลามวาฬ พระเอกตลอดกาลของ วงการด�าน�้า แต่ที่อิ่มอกอิ่มใจอยากเล่าให้ฟังคือ ไปคราวนี้ ไม่รู้สึกโดดเดี่ยวอย่างที่เคย เพราะอย่างที่เล่าว่า ระหว่างเดินทางมีเรือประมงท�าอวนลากให้เห็นอยู่ ระหว่างทางหลายล�า คล้ายกับที่เห็นในบ้านเรา บรรยากาศคล้ายแต่คนทะเลไม่คล้าย!! ไม่ทราบว่า คนพม่าเป็นอย่างนั้นเอง หรือเพราะเขาก�าลังเห่อ อยากจะอวดกองเรือประมง จะด้วยอะไรก็สุดแต่ จะว่า แต่สุดทึ่ง เพราะสิ่งนั้นได้กลายเป็นอัธยาศัย ไมตรีทเี่ จ้าของทะเลมอบให้กบั เรา คือ ไม่วา่ จะแล่น สวนกับเรือล�าไหน ถ้าเป็นทีบ่ า้ นเราก็โบกมือทักทาย หรือบ๊ายบายกัน แต่เรือพม่าเบาเครื่องแล้วกวักมือ เรียกทุกล�า พอเราชะลอเรือ หรือส่งเรือยางเข้าไป เทียบ เขาก็จะโกยอาหารทะเลหลากชนิดจากใต้ ท้องเรือให้เรา “เอาไปกิน” ทั้งกุ้ง หมึก ปลา ไป จนถึงกุ้งมังกรตัวโตๆ เรียกว่าเต็มห้องเย็นของ เรือกันทีเดียว ให้เงินก็ไม่รับ ถ้ามีเหล้าบางล�าก็รับ ตอนหลังผมเลยสั่งแม่ครัวให้แกงเหลืองปักษ์ใต้ หม้อใหญ่ ได้ปลามาก็ส่งหม้อแกงให้ ซึ่งก็ดูว่าเขา จะพอใจกันทุกล�า จะว่าของเขาดีไหมหมดเสียทุกอย่างก็ไม่ใช่ เพราะที่เราเห็นและเป็นเรื่องน่าเป็นห่วง และน่า เสียใจก็คอื การระเบิดปลาก็ยงั มีให้เห็นอยู่ เช่นเดียว กับการเริ่มท�าอวนลากหน้าดินที่เริ่มเจริญรอยตาม พีไ่ ทย อย่างทีเ่ คยบ่นมานานนับปีวา่ เราใช้ทรัพยากร ทางทะเลกันแบบล้างผลาญ เอาอ่าวไทยทั้งอ่าว มาเลี้ยงไก่ วันหนึ่งพม่าก็อาจจะเดินไปสู่ภาวะนั้น เรื่องราวจะเป็นอย่างไรคงต้องติดตามกันต่อไปจน เปิ ด ประชาคมอาเซี ย นโน่ น เลย...แต่ ส�า หรั บ ผม “มิงกะละบา” เอาใจช่วยเมียนมาร์เสมอจริงๆ 75
Sky High Izakaya ลื ม ไปได้ เ ลย กับภาพติดตาของร้านกินดื่ม
Tiger Prawn TemPura เมนูเข้าใจง่ายที่อร่อยจนหยุดไม่ได้
I
76
สไตล์ญี่ปุ่น หรืออิซากายะ ที่มักออกแนวเก่าๆ ดูบ้านๆ โต๊ะเก้าอี้เล็กๆ ที่ดูนั่งไม่สบาย พร้อมด้วย ควันบุหรี่เคล้ากลิ่นอาหารที่อบอวลไปทั่วร้าน ก็รู้นะว่านี่เป็นเสน่ห์ของเขาอย่างหนึ่ง แต่บางครั้ง ความเนี๊ยบ เรียบ สบาย กลับเป็นสิ่งที่โหยหา และถ้าแถมด้วยวิวสกายไลน์ของกรุงเทพฯ อีกล่ะก็...เลิศ!!
zakaya คือหนึ่งในร้านอาหารของ Kudeta แบรนด์ไลฟ์ สไตล์ความบันเทิงระดับโลกล่าสุดที่เพิ่งมาเปิดตัวที่ กรุงเทพฯ แน่นอนว่าชื่อ Kudeta นั้นการันตีได้ถึงความ เลิศล�้าทั้งในเรื่องอาหาร เครื่องดื่ม เสียงเพลง และ บรรยากาศยากหาใครเที ย มด้ ว ยวิ ว ของมหานคร กรุงเทพฯ เบื้องล่างในแบบ 360 องศา “แม้การตกแต่งจะดูรว่ มสมัย รสชาติและวิธปี รุงกลับ ยังเป็นแบบอาหารญีป่ นุ่ สไตล์ดงั้ เดิม ทีเ่ ข้าใจและเข้าถึง ง่าย โดยไม่ย่อหย่อนในเรื่องคุณภาพของวัตถุดิบ” เอ็กเซ็กคิวทีฟเชฟ Jonathan Maza อธิบายถึงคอนเซ็ปต์
i Izakaya, Kudeta Bangkok
ชั้น 39 อาคารสาทร สแควร์ สาทรเหนือ เปิดบริการทุกวัน มื้อกลางวัน 11.00 15.00 น. มื้อค�่า 17.00 22.30 น. (วันพุธ วันเสาร์ เปิดถึงเที่ยงคืน) โทร. 0 2108 2000
เรื่ อ ง ธั ช ชั ย นาคพั น ธุ ์ ภาพ พี ร เวษฐ์ นิ่ ว บุ ต ร
อาหารพร้ อ มเสริ ม ว่ า ทางร้ า นยั ง เน้ น เรื่ อ งการ บริ โ ภคอย่ า งยั่ง ยื น โดยพยายามใช้ วั ต ถุ ดิ บ ใน ประเทศและวัตถุดิบประเภทออร์แกนิกให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�าได้ จานเด็ดทีส่ ดุ ยกให้กบั อาหารจานย่าง ทัง้ หมดทีผ่ า่ นกรรมวิธกี ารปิง้ ย่างอันเก่าแก่ดว้ ยเตา ถ่านที่เรียกว่า โรบาทายากิ ขอเริ่มต้นด้วย Niku Shallot เนือ้ ส่วนซีโ่ ครงเสียบไม้ยา่ งกับซอสเทอริยากิ พริกไทยด�า ที่แค่กลิ่นหอมจากเตาย่างก็กินขาด เรื่องความนุ่มของเนื้อยิ่งไม่ต้องพูดถึง Ribu Buta หรือซีโ่ ครงหมูยา่ งซอสก็ใช่ยอ่ ย เนือ้ หมูนมุ่ ล่อนแทบ ไม่ตดิ กระดูกทีเ่ คลือบมาด้วยซอสน�า้ พริกเผาโทบันอจันของญี่ปุ่น ได้ความเผ็ดเคล้าหวานเล็กๆ ลงตัว ถ้าชอบอาหารทะเล แนะน�า Saikyo Misoyaki ปลา ค็อดด�าหมัก น�าไปย่างแล้วราดด้วยซอสมิโซะ ปลา สุกระดับมีเดียมเนื้อเด้งก�าลังดี สมบูรณ์แบบมาก ทีส่ า� คัญหนังปลาท�าได้บางกรอบสุดอร่อยกลมกลืน กับรสเครื่องปรุงญี่ปุ่น แกล้มกับสาเก หรือเบียร์ ลงตัวเลย นอกจากจานย่างยังมี Kakuni เด่นด้วยหมูสามชัน้ ตุ๋นรสหวานนุ่มละลายในปาก เสิร์ฟมาพร้อมกับ
e m o t i o n
ลู ก ชิ ้น ไก่ เ สี ย บไม้
และปลาแซลมอนย่างหอมๆ จากเตาถ่านแบบโรบาทายากิ
ไข่ลวกออนเซ็น จานทอดอย่าง Pork Chop ซึ่งน�า เสนอมาในรูปแบบหมูชุบเกล็ดขนมปังทอดทงคัตสึ ก็ช่างน่าจดจ�า และ Tiger Prawn Tempura ที่น�า กุ้งลายเสือไปชุบแป้งเทมปุระทอดราดซอสครีม และบอกเลยว่าห้ามอิม่ ก่อนของหวานเด็ดขาด ถ้าพลาดแล้วเหมือนยังไม่ได้มา Izakaya “เราได้แรง บันดาลใจจากเมนูอาหารคาวหวานทีข่ นึ้ ชือ่ ของญีป่ นุ่ แต่น�ามาตีความใหม่ในรูปแบบของขนมหวาน ทั้ง เกี๊ยวซ่าทอดที่ใช้ไส้สับปะรดกับตะไคร้หอม หรือ ทาร์ตชาเขียวที่เมื่อตัดก็จะมีชาเขียวเยิ้มไหลออก มา” เอ็กคิวทีฟพาสทรีเชฟ Jason Licker เกริ่น คร่าวๆ พร้อมการันตีว่า ทาร์ตชาเขียวแบบนี้มี ที่เดียวในประเทศไทย ซึ่งก็ไม่ผิดหวังเลยกับไอเดีย สร้างสรรค์ของเชฟ อีกจานหวานที่ห้ามพลาดคือ Chawanmushi ซึ่งคือเมนูคัสตาร์ดนึ่งของญี่ปุ่นที่ น�าเสนอมาในรูปแบบคล้ายเครมบรูเลเนือ้ เนียนนุม่ หอมกลิ่นส้มยูซุ มีเชอร์รี่คอมโพตแอบซ่อนอยู่ด้าน ล่าง ทานคูก่ ับชิโซะกรานิตา้ เย็นๆ ได้ครบทุกรสชาติ และรสสัมผัส หนังท้องตึงแล้ว หนังตาห้ามหย่อน แสงไฟ ที่เริ่มหรี่ลง เสียงเพลงที่เริ่มดังขึ้นมาจากฝั่ง Club Lounge กับผูค้ นทีเ่ ริม่ ทยอยเข้ามาพร้อมรับพลังงาน ความสุขของค�่าคืนนี้ จะกลับบ้านเลยเหรอ??... ราตรีนี้ยังอีกยาวไกล
ทาร์ ต ชาเขี ย ว
ที่ห้ามพลาดด้วยประการทั้งปวง (บน) และ Mochiko Tori ไก่ทอดที่แกล้มกับ เบียร์หรือสาเกได้อย่างลงตัว (ล่าง)
เต็ ม อิ ่ม กั บ วิ ว ตึ ก สู ง ยามค�า่คืนฝั่งถนนสาธร
77
2
โชว์รูมโฉมใหม่ของเมอร์เซเดส-เบนซ์
โชว์ รู ม ทั ้ง 2 แห่ ง ที ่เ ราภาคภู มิ ใ จน� า เสนอ หนึ่งคือ Mercedes-Benz Flagship Store ใหม่ล่าสุด
สองคือโชว์รูมซึ่งสร้างยอดขายอันดับ 1 ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ และได้รับการปรับโฉมครั้งใหญ่ ทั้งสองโชว์รูมถูกออกแบบ ให้มีภาพลักษณ์ ไปในทิศทางเดียวกัน คือ คงความหรูหรา สวยทันสมัย ตั้งแต่ภายนอกจรดภายใน ขณะเดียวกันก็ ใส่ใจ ในการให้บริการ ด้วยมุ่งหวังที่จะอ�านวยความสะดวกสบายให้ลูกค้าผู้มาใช้บริการเกิดความพึงพอใจสูงสุด
มุมกาแฟและเครื่องดื่ม
คุณชยุส ยังพิชิต กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตาร์แฟลก จ�ากัด
Star Flag ต้นแบบการบริการเหนือระดับ
โชว์รูมด้านหน้านี้ เราเน้นออกแบบสถานที่ให้เอื้อ ต่อความสะดวกสบายของลูกค้าที่เข้ามาเลือกชม เมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่นใหม่ๆ ของเราให้มากที่สุด ส่วนความหรูหรานั้นเป็นเรื่องที่ตามมาทีหลัง” แม้จะบอกว่าความหรูหรามาทีหลัง แต่ภาพ ลักษณ์ที่สะท้อนผ่านการตกแต่งภายในของโชว์รูม Star Flag ก็แสดงให้เห็นถึงความสะดวกสบายบน พื้นที่ให้บริการที่โอ่อ่า กว้างขวาง ในส่วนของพื้นที่ ต้อนรับและส่วนปิดการขาย ถูกออกแบบให้มคี วาม เอ็กซ์คลูซฟี สมกับลูกค้าเมอร์เซเดส-เบนซ์ มีมมุ กาแฟ เก๋ๆ ทีแ่ ม้จะดูสบาย แต่ก็หรูหราอยูใ่ นที ส�าหรับการ จัดแสดงรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่นต่างๆ ได้รับ การจัดสรรพืน้ ทีเ่ ป็นสัดส่วน โดยมีจอ LCD พรีเซนต์ ความพิเศษของยนตรกรรมเฉพาะรุ่นตามมุมต่างๆ และส�าหรับยนตรกรรม S-Class สุดหรูนั้นก็มีมุม ส่วนตัวที่เรียกว่า S-Class Corner ด้วย
โชว์รูมแห่งใหม่ที่ถือว่าเป็น Flagship Store ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ตั้งอยู่ริมถนนวิภาวดี-รังสิต เผยโฉมสะดุดตาด้วยสัญลักษณ์ดาวสามแฉกหมุน รอบตัวบนอาคารสูง 5 - 6 ชั้นอย่างโดดเด่น และ ทันทีที่ก้าวเข้าสู่ตัวอาคารสีขาวรูปลักษณ์ทันสมัย ก็จะพบกับยนตรกรรมเมอร์เซเดส-เบนซ์ คลาสต่างๆ เรียงรายอวดโฉมให้เลือกชมและสัมผัสเอกลักษณ์ ของแต่ละรุ่น คุณชยุส ยังพิชติ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สตาร์แฟลก จ�ากัด กล่าวแนะน�าว่า Star Flag เพิง่ จะเปิดให้บริการเมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2556 ทีผ่ า่ นมา และยังไม่ได้ท�าการ Grand Opening อย่าง เป็นทางการ ด้วยเหตุผลที่ว่า… “เราก�าลังรอให้ อาคารอีกหลังหนึง่ เสร็จก่อน ซึง่ จะเป็นส่วนของงาน บริการที่มีพ้นื ที่รองรับรถยนต์ที่เข้ามารับการตรวจ สภาพได้พร้อมกันทีเดียวถึง 50 คัน ส�าหรับอาคาร 78
ส่วนที่นั่งพักที่หรูหรามีระดับ
เรื่ อ ง ฬี ย ากร เจตนานุ ศ าสน์ ภาพ นพพร ยรรยง
m o m e n t
คุณทิพย์ จั่นเทศ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีทีซี มอร์เตอร์ส จ�ากัด
ส่วนของโชว์รูมที่กว้างขวางของ ทีทีซี มอร์เตอร์ส
TTC Motors
ทันสมัยเหนือกาลเวลา
โชว์รูมเก่าแก่ที่เปิดให้บริการลูกค้าผู้หลงใหล ในแบรนด์เมอร์เซเดส-เบนซ์ มาตลอดจนย่างเข้าสู่ ปีที่ 33 ได้รับการปรับปรุงโฉมใหม่ครั้งใหญ่ในรอบ หลายสิบปี โดย คุณทิพย์ จั่นเทศ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ทีทีซี มอร์เตอร์ส จ�ากัด มีส่วน ในการดูแลภาพลักษณ์ของทั้งโชว์รูมให้ออกมา หรูหรา ทันสมัย และเพิ่มเติมความเอาใจใส่ใน การบริการ ท�าให้ลกู ค้า ผู้มาเยือนทุกคนรู้สึกอบอุ่น และสบายไม่ต่างจากการอยู่บ้าน “ส่วนที่เราปรับหรือเพิ่มขึ้นมาใหม่ คือ มุม กาแฟ จากเดิมที่เคยเป็นห้อง เราปรับให้เป็นพื้นที่ เปิดโล่ง มีการเพิ่มพื้นที่สเี ขียวเพื่อให้ลกู ค้ารู้สึก ผ่อนคลาย และเพิ่มความหรูหราในส่วนต้อนรับ ลูกค้าและส่วนปิดการขาย เมือ่ ลูกค้าเดินทางมารับ รถทีจ่ องไว้และพบกับความเปลีย่ นแปลงของโชว์รูม ต่างประทับใจและชมเป็นเสียงเดียวกันว่าโชว์รูม ใหม่สวยขึ้นทุกคน” ห้องพักผ่อนส�าหรับลูกค้า ที่น�ารถมาเข้าศูนย์บริการ
พื้นที่ต้อนรับที่ปรับให้ดู เอ็กซ์คลูซีฟมากขึ้น
ยอดขายที่ได้มาเป็นอันดับ 1 ส่วนหนึ่งเพราะ การบริการทีส่ ร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า จะเห็น ได้จากความเป็นเลิศของอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีท่ าง โชว์รูม TTC คัดสรรมารองรับลูกค้าโดยเฉพาะที่มุม รับประทานอาหาร รวมทั้งมุมสปาที่เตรียมไว้ให้ ลูกค้าได้ใช้เวลาผ่อนคลายเพลินๆ ยามเมื่อน�า รถยนต์มารอรับบริการ นอกจากนี้ ยังมีบริการ รถรับ-ส่ง อ�านวยความสะดวกแก่ลูกค้า ในกรณีที่ เมอร์เซเดส-เบนซ์ คันเก่งอยู่ระหว่างเข้าซ่อมบ�ารุง ที่ศูนย์บริการของ TTC อีกด้วย ภาพลักษณ์ใหม่ทสี่ ะท้อนความหรูหรา งามสง่า เปี ่ ย มด้ ว ยดี ไ ซน์ ทั น สมั ย ของโชว์ รู ม ทั้ ง สองแห่ ง ถือเป็นตัวแทนทีบ่ ง่ บอกถึงความเหนือระดับทีเ่ มอร์เซเดส-เบนซ์ ประเทศไทย และผูแ้ ทนจ�าหน่ายอย่าง เป็นทางการ ตัง้ ใจมอบให้กบั ลูกค้าคนพิเศษได้เป็น อย่างดี 79
เมอร์เซเดส-เบนซ์เปิดตัว
“Mercedes-Benz Service Plus”
บริ ษั ท เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ� า กั ด
เปิดตัวบริกำรใหม่ของกำรดูแลรักษำรถยนต์ “Mercedes-Benz Service Plus” เสริมทัพบริกำร หลังกำรขำยภำยใต้โปรแกรม “My Service” เปิดโอกำสให้ลูกค้ำเลือกช้อปแพ็กเกจกำรบ�ำรุงรักษำ รถยนต์ ได้ตำมต้องกำรถึง 4 รูปแบบ หมดปัญหำกังวล เรื่องค่ำซ่อมบ�ำรุงในอนำคต
น
Mercedes-Benz Service Plus
ายพุทธิ ตุลยธัญ รองประธานบริหารฝ่ายบริการ หลังการขาย บริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า “คุณภาพการบริการและความ พึงพอใจของลูกค้าถือเป็นเรื่องส�าคัญล�าดับสูงสุด ของเมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ ภายใต้ โ ปรแกรม “My Service” แนวคิดการบริการหลังการขายที่มุ่งเน้น การให้บริการตามความต้องการของแต่ละบุคคล และน�าเสนอบริการที่เหมาะสมแก่ลูกค้าแต่ละราย เพือ่ ให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด จึงเป็นเหตุผล ส�าคัญที่เราต้องการเป็นผู้บุกเบิกด้านการบริการ ที่เปี่ยมไปด้วยคุณภาพ โดยการเน้นย�้าและมุ่งมั่น พัฒนาทั้งส่วนอะไหล่และบริการ
มีบริการให้ลูกค้าเลือกถึง 4 แพ็กเกจด้วยกัน คือ
Compact
Advance
Extra
ครอบคลุมค่ำใช้จ่ำยในกำรบ�ำรุงรักษำตำมระยะทำง โดยไม่จ�ำกัดระยะทำง
ครอบคลุมกำรขยำยระยะเวลำรับประกันคุณภำพ รถยนต์ในปีที่ 4 และ 5 โดยใช้หลักเกณฑ์ ควำมคุ้มครองเช่นเดียวกันกับกำรรับประกัน คุณภำพใน 3 ปีแรกโดยไม่จ�ำกัดระยะทำง”
ครอบคลุมเรื่องกำรบ�ำรุงรักษำตำมระยะทำง และกำรขยำยระยะเวลำกำรรับประกันคุณภำพรถยนต์ ในปีที่ 4 และ 5 โดยใช้หลักเกณฑ์ควำมคุ้มครอง เช่นเดียวกันกับกำรรับประกันคุณภำพใน 3 ปีแรก โดยไม่จ�ำกัดระยะทำง
80
เรื่ อ ง / ภาพ เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด
m o m e n t
publication details March | 2014 Thailand issue
คุณพุทธิ ตุลยธัญ รองประธานบริหาร ฝ่ายบริการ หลังการขาย บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด
โดยล่ำสุดได้เปิดตัว “Mercedes-Benz Service Plus” โปรแกรมใหม่ของกำรให้บริกำรหลังกำรขำย ในรูปแบบของแพ็กเก็จกำรบ�ำรุงรักษำรถยนต์และ กำรขยำยเวลำกำรรับประกันรถยนต์เมอร์เซเดสเบนซ์ ในประเทศไทย ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องค่ำ ใช้จำ่ ยของค่ำอะไหล่ และค่ำแรงในกำรเข้ำรับบริกำร ตำมระยะทำง หรือกำรเปลี่ยนอะไหล่สึกหรอที่ จ�ำเป็นภำยใต้กำรใช้งำนปกติ และรวมถึงงำนซ่อม ภำยใต้ขอ้ ก�ำหนดของกำรรับประกัน ทัง้ นีร้ ำยละเอียด ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ก�ำหนดของแต่ละแพ็กเก็จ โดย สิทธิประโยชน์ที่ลูกค้ำจะได้รับคือ ลูกค้ำสำมำรถ ขยำยระยะเวลำกำรรับประกันเพิ่มขึ้นได้สูงสุดถึง 5 ปี โดยไม่จ�ำกัดระยะทำง นอกจำกนั้น บริกำรดังกล่ำวยังช่วยให้ลูกค้ำ สำมำรถวำงแผนค่ำใช้จ่ำยในกำรบ�ำรุงรักษำได้ ล่วงหน้ำ เนื่องจำกมีควำมชัดเจนของภำพรวมค่ำ ใช้จำ่ ยทัง้ หมด โดยไม่มคี วำมเสีย่ งต่ออัตรำเงินเฟ้อ หรือกำรปรับรำคำในอนำคต และสิง่ ทีช่ ว่ ยให้ลกู ค้ำ มีควำมสะดวกมำกยิง่ ขึน้ คือ ลูกค้ำสำมำรถเลือกใช้ บริกำรที่ศูนย์บริกำรเมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่ำงเป็น ทำงกำรตำมที่ต้องกำรได้ทุกแห่งทั่วประเทศ”
ฉบับภาษาไทย 1/2014 อำานวยการผลิต บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ชั้น 19 อำคำรรัจนำกำร เลขที่ 183 ถนนสำทรใต้ แขวงยำนนำวำ เขตสำทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0 2614 8888 ต่อ 6121 แฟกซ์ 0 2676 5685 www.mercedes-benz.co.th ที่ปรึกษา พงศ์เทพ มหำเปำรยะ, ผศ. ประเทือ ง ครองอภิร ดี, อำภำภรณ์ โกศลกุล , กำญจนำ หงษ์ ท อง บรรณาธิ ก ารบริ ห าร เยำวเรศ เลิศลือชำชัย ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร นัตฐำ เลิศจตุรภัทร หัวหน้ากองบรรณาธิการ ฬียำกร เจตนำนุศำสน์ กองบรรณาธิการ นุดำ พวงชะบำ, ภิญญดำ แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร จิตติมำซัง บรรณาธิการศิลปกรรม ธวัชชัย เลิศจตุรภัทร ศิลปกรรม นิรันดร์ ถิระสุข จัดทำาโดย บริษัท เวอร์โก อำร์ต กิลด์ จ�ำกัด ติดต่อโฆษณา พรวิภำ กล้ำหำญ, นิรมล สุวรรณดี โทร. 0 2196 1062-5 พิมพ์ที่ อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
ผู้จำ�หน่�ยและศูนย์บริก�รรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่�งเป็นท�งก�ร กรุงเทพฯ และปริมณฑล
กลุ่มทองหล่อ โทร. 0 2714 8888 เค้งหงษ์ทอง โทร. 0 2962 6300 ทีทีซี มอเตอร์ส โทร. 0 2322 8575 ธนบุรีพานิช จำากัด • ราชดำาเนิน โทร. 0 2622 3000 • ลุมพินี-สาทร โทร. 0 2286 7356 • งามวงศ์วาน โทร. 0 2954 0200 เบนซ์ ตลิ่งชัน โทร. 0 2880 7180-9 เบนซ์ บีเคเค กรุ๊ป โทร. 0 2745 2222 เบนซ์ บีเคเค วิภาวดี โทร. 0 2930 1881-99 เบนซ์ พระราม 3 โทร. 0 2291 1212 เบนซ์ ราชครู โทร. 0 2617 1212 เอ็มบี รามอินทรา โทร. 0 2945 4555 สวนหลวง ออโต้เฮ้าส์ โทร. 0 2322 5999 พันทวี ออโต้ มาสเตอร์ โทร. 0 2542 1269 สตาร์ แฟลก* โทร. 0 2644 9050-9
ภ�คกล�ง
เบนซ์เพชรรัตน์ โทร. 0 3428 4381-4 เบนซ์เภตรา โทร. 0 2979 6889-94
ภ�คตะวันตก
ที เอส ที เมอร์เซเดส-เบนซ์ โทร. 0 3234 1564-6
ภ�คเหนือ
เจริญมอเตอร์เบนซ์ โทร. 0 5341 2911-2 พิษณุโลกนามทอง โทร. 0 5522 3999
ภ�คตะวันออกเฉียงเหนือ
เบนซ์ วีทซี ี มอเตอร์ โทร. 0 4528 0695-6 เบนซ์ อุดรธานี โทร. 0 4224 9416-22 ออโตโพลิส โทร. 0 4334 4333 เอ็มบี โคราช ออโตเฮาส์ จำากัด โทร. 0 4422 2777-9
ภ�คตะวันออก
จิตต์ชัยชลบุรี โทร. 0 3876 4121-4 จันทบุรี เจพี มอเตอร์ โทร. 0 3941 8888 เบนซ์ ระยอง (สาขาพัทยา) โทร. 0 3870 2590-1
ภ�คใต้
ที เอส ที หัวหิน จำากัด โทร. 0 3252 0200-2 เบนซ์ภูเก็ต โทร. 0 7623 9700-1 สงวนวัฒนาเอนเตอร์ไพรส์ โทร. 0 7436 5650-6
ศูนย์ง�นสีและตัวถัง
วิริยะคาร์บอดี้ เซอร์วิส โทร. 0 2926 8019-25 *จำ�หน่�ยเฉพ�ะรถเพื่อก�รพ�ณิชย์
Excellent
ครอบคลุมเรื่องการบ�ารุงรักษาตามระยะทาง การเปลี่ยนอะไหล่สึกหรอตามการใช้งาน และการขยาย เวลารับประกันคุณภาพรถยนต์ในปีที่ 4 และ 5 โดยใช้ หลักเกณฑ์ความคุ้มครองเช่นเดียวกันกับการรับ ประกันคุณภาพใน 3 ปีแรกโดยไม่จ�ากัดระยะทาง
เป็ นนิ ต ยสำรรำย 3 เดื อ นที่ได้ รับ กำรตี พิม พ์ แ ละ เผยแพร่เป็นภำษำต่ำงๆ กว่ำ 40 ภำษำทัว่ โลก บริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดท�ำ ฉบับภำษำไทยขึ้นเป็นบริกำรพิเศษ เพือ่ อภินนั ทนำกำรแด่ลกู ค้ำผูท้ รงเกียรติทว่ั ประเทศทีซ่ อ้ื รถยนต์ใหม่จำกผูจ้ ำ� หน่ำยรถยนต์ เมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่ำงเป็นทำงกำร ทัง้ นี้ สิทธิใ์ นกำรรับ ไม่สำมำรถโอนให้กับท่ำนอื่นได้ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในกำรเปลี่ยนแปลงโดยมิต้อง แจ้งล่วงหน้ำ นิตยสำรฉบับนี้ขอมีส่วนในกำรอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ด้วยกำรพิมพ์โดย หมึกถัว่ เหลือง และส�ำหรับดิจติ อลแมกกำซีนฉบับเต็ม สำมำรถดำวน์โหลดแอพพลิเคชัน่ ได้ท่ี App Store หรือ www.mercedes-benz.co.th ฉบับภำษำไทยจัดพิมพ์โดยบริษทั เวอร์โก อำร์ต กิลด์ จ�ำกัด ภำยใต้ขอ้ ตกลงร่วมกับบริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และเป็น ลิขสิทธิอ์ ย่ำงถูกต้องตำมกฎหมำยของบริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษทั เวอร์โก อำร์ต กิลด์ จ�ำกัด ขอสงวนสิทธิใ์ นกำรจัดพิมพ์ ท�ำซ�ำ้ อ้ำงอิงหรือ เผยแพร่บทควำมทัง้ หมดหรือเพียงบำงส่วนในรูปแบบอืน่ ใด โดยปรำศจำกกำรยินยอม เป็นลำยลักษณ์อักษรจำกผู้จัดพิมพ์ ข้อเขียน รูปภำพ และบทควำมทั้งหมดนี้เป็น ควำมคิดเห็นมุมมองของผู้เขียนโดยตรง ไม่เกี่ยวข้องกับบริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือผูพ้ มิ พ์แต่อย่ำงใด 81
สัญลักษณ์ เวลาที ่ใ ช้ ม ากที่ สุ ด ส� า หรั บ การเรี ย นรู ้
2,200 ชั่วโมง คือเวลาเฉลี่ยส�าหรับนักเรียนพูดภาษา อังกฤษต้องใช้ ในการเรียนรู้ภาษาอารบิก, ญี่ปุ่น, เกาหลี และจีน ขณะที่การเรียนภาษาเยอรมันจะใช้ เวลาที่เร็วกว่าเพียง 750 ชั่วโมง ส่วนภาษาฝรั่งเศส และสเปนจะใช้เวลาประมาณ 600 ชั่วโมง
ภาษาพู ด ที ่สู ญ หาย
เป็นหนึ่งในผลที่เกิดขึ้นจากกระแสโลกาภิวัตน์ มีการคาดกันว่า เมื่อสิ้นศตวรรษนี้ ภาษาพูดที่มีการใช้กันอยู่ทั้งหมดในปัจจุบัน จะเหลืออยู่ประมาณ 3,000 ภาษา และเมื่อถึงปี ค.ศ. 2200 จะเหลือภาษาที่มีการใช้ ในการสื่อสารเพียง 100 ภาษาเท่านั้น
ค� า ที ่ย าวที่ สุ ด
เป็นค�าที่ใช้อธิบายการเรียงล�าดับของกรด อะมิโนของ Protein titin ซึ่งประกอบด้วย ตัวอักษรเกือบ 190,000 ตัว และหากจะอ่าน ออกเสียงต้องใช้เวลาในการอ่านถึง 3.5 ชั่วโมง
ผู้ ช ายและผู้ ห ญิ ง
ตรงกันข้ามกับความเชื่อทั่วไป เพราะจริงๆ แล้ว ทั้งสองเพศพูดมากพอๆ กัน ผลการวิจัยล่าสุด พบว่า ทั้งผู้ชายและผู้หญิงมีการใช้ค�าพูด ประมาณ 16,000 ค�าต่อวัน แต่เพศหญิงมี อิทธิพลต่อภาษาเยอรมันโดย 46% ของค�านาม ที่ใช้เป็นการแสดงลักษณะความเป็นเพศหญิง
ในรถยนต์
การใช้ภาษาพูดสามารถควบคุม การท�างานของระบบโทรศัพท์ ระบบ น�าทางและวิทยุด้วยระบบที่เรียกว่า Linguatronic แต่ยังมีการติดต่อสื่อสาร อื่นๆ ข้อเท็จจริงบางอย่างที่น�าเสนอนี้ อาจท�าให้คุณประหลาดใจได้
การเปล่ ง เสี ย งที ่ดั ง ที ่สุ ด
คือการสื่อสารของวาฬสีน�้าเงิน พลังงานเสียงที่พวกมันขับขาน ออกมาเทียบเท่ากับยานกระสวยอวกาศขณะก�าลังทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า นักวิจัยเชื่อว่า สัตว์ชนิดนี้ใช้เสียงอัลตราซาวด์เพื่อสื่อสารซึ่งกันและกัน ในระยะที่ห่างไกลกันหลายร้อย หรือหลายพันกิโลเมตร
ประเทศที ่มี ค วามแตกต่ า งทางภาษาพู ด มากที ่สุ ด
ประเทศปาปัวนิวกินีมีการใช้ภาษาพูดที่แตกต่างกันถึง 832 ภาษา, ประเทศอินโดนีเซีย 729 ภาษา, ประเทศไนจีเรีย 515 ภาษา ปัจจุบันภาษาพูดที่ใช้กันอยู่ทั่วโลกมีมากถึง 6,500 - 7,000 ภาษา เฉพาะในทวีปยุโรปรวมแล้วมีภาษาพูดที่แตกต่างกันถึง 150 ภาษา 82
ภาษาที ่ใ ช้ ม ากที ่สุ ด
ภาษาจีนกลาง (Mandarin Chinese) คือภาษาที่มี ผู้ ใช้มากที่สุดในโลก โดยมีผู้คนทั่วโลกใช้ภาษานี้ถึง 726 ล้านคนรองลงมาคือภาษาอังกฤษ 427 ล้านคน, ภาษาสเปน 266 ล้านคน, ภาษาฮินดี 182 ล้านคน, ภาษาอารบิก 181 ล้านคน, ภาษาโปรตุเกส 165 ล้านคน, ภาษาเบงกอล 162 ล้านคน, ภาษารัสเซีย 158 ล้านคน, ภาษาญี่ปุ่น 124 ล้านคน และภาษาเยอรมัน 121 ล้านคน
IllustratIons Leandro CasteLÃo/dutChunCLe photos Comet photoshopping, aLL mediCaL your photo today, getty images, Cover-piCture, dpa piCture-aLLianCe, Laif, arCo images words Christoph henn
ภ า ษ า พู ด