Issue 03·2013
Mercedes-Benz
w w w.m ercedes - m agaz i n e . c o m • S e p t e m b e r
03·2013
SLS AMG Coupé
ซูเปอร์สปอร์ตคาร์พลังงานไฟฟ้า ที่ทรงสมรรถนะที่สุดในโลก
อลังการ...มัณฑะเลย์ การเดินทางสู่ดินแดน อันศักดิ์สิทธิ์ของพม่า
The new S-Class
องค์ประกอบของความกลมกลืน สู่ความเป็นหนึ่งที่ยอดเยี่ยมที่สุด
0 3 / 2 0 1 3
เวิ้งเวหา ท้าสายลม...กับร่มร่อน
เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ เหมือนได้ยนิ ค�ำพูดจากใครสักคน
ที่ว่า ความอิสระที่แท้จริง ไม่มีหรอก...เพราะเมื่อเรา (ดูเหมือน) จะอิสระจากสิ่งหนึ่ง เราก็จะพบความ ไม่อิสระ (มากนัก) จากอีกสิ่งหนึ่ง และเมื่อใดที่เรา รู้สึกต้องการความอิสระมากเท่าไร หัวใจที่ถูกบีบคั้น ก็จะยิ่งรู้สกึ อึดอัดมากขึ้นเท่านั้น...ดังนั้น อย่าไป คาดคั้นหาค�ำตอบกับสิ่งใดมากนัก โดยเฉพาะ ความอิสระ...ที่มีอยู่จริงหรือเปล่า ก็ไม่มใี ครรู้ ลองไปเหินเวหา กับกีฬาร่มร่อน หรือพาราไกลดิง ที่จะท�ำให้ผู้เล่นรู้สกึ ถึงความอิสระอย่างสิ้นเชิง บนผืนฟ้ากว้าง บางทีมุมมองที่ปลอดสิ่งกีดขวาง อาจท�ำให้ค้นพบแง่มมุ ใหม่ๆ และค้นพบว่า หัวใจในยามที่ปลอดจากเรื่องราวมายาคติใดๆ นั่นแหละที่อาจเป็นหัวใจที่อิสระจากทุกสิ่ง... ลองพลิกอ่านคอลัมน์สนุกๆ จาก Mercedez-Benz magazine ที่เดินทางมาถึงฉบับ 3 ที่อาจท�ำให้คุณ ปลอดจากภารกิจและมีอิสระไปกับตัวหนังสือ ที่เรามอบให้ในฉบับนี้
4
018
040
0 3 / 2 0 1 3
030
026
046
03.2013 010
Check-in นวัตกรรมการสร้างสรรค์เพื่อโลกอนาคต : นวัตกรรมการ ส่องสว่างของการขับขี่ด้วยระบบ Active Mutibeam LED, Wakealarm แอพพลิเคชั่นคู่กายส�ำหรับนักเดินทาง ประสบการณ์ของการเดินทางด�ำดิ่งกว่า 3,800 เมตร สู่ไททานิคในห้วงมหาสมุทร ฝันที่เสมือนจริง…เครื่องจ�ำลอง การแข่งขันรถยนต์ฟอร์มูล่า 1
030
040
เยี่ยมชมเมือง ‘บางช้าง’ ในอีกมุมมองหนึ่งที่หลายคน ยังไม่เคยสัมผัส กับ ‘มูลนิธิอัมพวา-ชัยพัฒนานุรักษ์’
แง่มมุ แห่งความเป็นศิลปินของคุณบัณฑูร ล่ำ�ซำ� กับการเขียนนวนิยายรักเรือ่ งแรกในชีวติ
036
044
9G Tronic ระบบส่งก�ำลังแบบเกียร์อัตโนมัติ กับการเปิดตัวครั้งแรกใน E350 BlueTec
เป็นเรื่องเหนือจินตนาการไม่เบาที่มีผู้น�ำเอา ‘ล�ำโพง’ ซึ่งเคยหลบมุมอยู่ข้างๆ มาปรากฏตัวบนเวที ในต�ำแหน่งที่แทบไม่ต่างไปจากนักดนตรีคนหนึ่ง
อัมพวาในมิติที่ลึกซึ้งขึ้น
เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง
018
ภารกิจ : ความสมบูรณ์แบบ
ตำ�นาน
กลมกลืนสู่ความเป็นหนึ่งที่ยอดเยี่ยมที่สุด
จากอดีตถึงปัจจุบันของ 300 SL Coupé ที่ยังคงแสดงถึงเอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึงรสนิยมหรูหราส่วนตัว
ลมหายใจของการเคลื่อนที่ เมอร์เซเดส-เบนซ์ CLA ความงดงามแห่งศิลปะอันประณีต พิถีพิถัน
6
เสียงดีที่สุดในโลก
038
S-Class ใหม่ ผลรวมทุกองค์ประกอบที่ประสานสอดคล้อง
026
สิเนหามนตาแห่งลานนา
046
Emotion โลกแห่งศิลปะการออกแบบ อาหารและแฟชั่น : ฉีกกฎเดิมๆ ของการพักผ่อนแบบกับเต็นท์นอนรังไหม ‘Blum’ โคมไฟตั้งโต๊ะ ที่ปรับแสงสว่างได้ตามอารมณ์ เย็นแบบคูลๆ กับไอศกรีมไร้เนย นมส�ำหรับชาวมังสวิรัติ ปล่อยกายและใจท่ามกลางแสงแดด กลิน่ อายทะเล และหนังสือดีๆ ที่ The Library Resort, Samui
phOTOS Ralph Richter, Christian Kerber, Levon Biss/Contour by getty Images, Daniel Infanger, Dirk Lindner Illustration 500 GLS
036
0 3 / 2 0 1 3
060
050
070
066
064
076
03.2013 050
066
004
INTRO
SLS AMG Coupé ซูเปอร์สปอร์ตคาร์พลังงานไฟฟ้า
ทัศนคติของ Georg และ Alexandra ที่มีต่อการทดลองขับ SLK 350 ใน Amsterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์
079
PUBLICATION DETAILS
ที่ทรงสมรรถนะมากที่สุดในโลก
078
MOMENTS
056
070
Fresh from Fantastic ปลุกชีวิตให้มีชีวากับการ กิน เที่ยว ช้อป ในย่านดังของญี่ปุ่น...โอซาก้า
อลังการ...มัณฑะเลย์ การเดินทางอันสุดแสนประทับใจในมัณฑะเลย์ ดินแดนศักดิ์สิทธิ์อันเป็นศูนย์กลางแห่งศาสนาของพม่า
060
076
สุดขีดพลังงานไฟฟ้า
รับลมใต้ร่มร่อน บินอย่างอิสระเสรีไร้ขีดจ�ำกัดราวติดปีก กับประสบการณ์โต้ลมกับร่มร่อน
คนละมุมมอง
ASTON AS I AM บริบทใหม่แห่งร้านอาหารที่ขายทั้งคอนเซ็ปต์และรสชาติอาหาร
MB Magazine
082 064
ผลผลิตเบ่งบาน
Icon เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยของเรื่องราวเกี่ยวกับอุณหภูมิ
เครือข่ายเมอร์เซเดส-เบนซ์ กับ 6 จุดหมาย ดิจิตอลของฤดูใบไม้ร่วงในโลกอินเทอร์เน็ต
8
* Application name on App Store Mercedes-Benz magazine Thailand 3/2013
น วั ต ก ร ร ม
ไอเดียเฉียบแหลม
การขั บ ขี่ ร ถยนต์ ห ลั ง พระอาทิ ต ย์ ต กดิ น มีความปลอดภัยมากขึ้น ด้วยระบบ Active Multibeam LED ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ซึ่งจะปรับให้ไฟหน้าท�ำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสถานการณ์การขับขี่ที่แตกต่างไปในทันที นวัตกรรมทางเทคโนโลยีในการควบคุมการท�ำงาน ของไฟ LEDs อย่างเป็นอิสระท�ำให้สามารถก�ำหนดความสว่างเฉพาะจุดของถนนเบื้องหน้าได้อย่างชาญฉลาด คอมพิวเตอร์จะท�ำงานร่วมกับ กล้องเพื่อค�ำนวณรูปแบบของการส่องสว่างอย่างเหมาะสมสูงสุดนับ 100 ครั้งต่อวินาที และปรับระดับของความส่องสว่างรวมไปถึงการ ควบคุมการท�ำงานของไฟหน้าด้านซ้ายและขวาในแบบแยกส่วน ถึงแม้ระบบ Multibeam LED นี้มีก�ำหนดจะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในปีหน้า แต่นวัตกรรมด้านการส่องสว่างเป็นประเพณีปฏิบัติของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ที่ริเริ่มมาอย่างยาวนาน รถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่นแรกที่ได้รับ การติดตั้งไฟหน้าไฟฟ้าที่ลดความสว่างได้ย้อนหลังไปถึงปี ค.ศ. 1915 และ S-Class เป็นรถยนต์แบบโปรดักชั่นคาร์โมเดลแรกในโลก ที่ใช้ไฟ LEDs ที่ประหยัดการใช้พลังงานเป็นพิเศษ
10
c h e c k - i n
ระบบเครือข่ายยนตรกรรม
อากาศสะอาดบริสุทธิ์
Dr. Christian Weib และทีมงานได้รับมอบหมาย ให้ดูแลรับผิดชอบในส่วนของการพัฒนาการ สื่อสารระหว่างรถสู่รถของ Daimler เป็นการ เชื่อมต่อซึ่งกันและกันระหว่างรถยนต์และโครงสร้าง พื้นฐาน ตัวอย่างเช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล ด้านการจราจรเป็นต้น
สถาปัตยกรรมที่ปกคลุมด้านหน้า อาคารหลังนี้ทำ�หน้าที่เป็นเหมือน ฟิลเตอร์กรองอากาศขนาดใหญ่ รูปแบบที่เชื่อมต่อกันของ Elegant Embellishments ถูกนำ�มาติดตั้ง เข้ากับด้านหน้าของตัวอาคาร และ ชั้นของไททาเนียม ออกไซด์แบบพิเศษ ใช้รังสีของแสงอาทิตย์เพื่อปรับสภาพ อากาศที่แวดล้อมอยู่ให้มีสภาพ เป็นกลาง พร้อมทั้งทำ�ลายก๊าซที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ เป็นผลให้อากาศ มีความสะอาดบริสุทธิ์ยิ่งขึ้น elega ntem bellish m ents . n et
อะไรคือข้อได้เปรียบของ Car-to-X?
รถยนต์สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเตือน ซึ่งกันและกัน ไม่ว่าจะเป็นแถวที่จอดยาว อุบัติเหตุ การเปลี่ยนแปลงของอากาศ หรือผู้ขับขี่ผิดเส้นทาง ด้วยข้อมูลเหล่านี้รถยนต์จะก้าวล�้ำหน้ากว่าสิ่งที่อยู่ ในเกมเสมอ
photos Daimler AG (3) illustration Lyndon Hayes/Dutchuncle
รถยนต์จ�ำนวนเท่าไรที่จ�ำเป็นต้องติดตั้ง Car-to-X เพื่อให้ระบบท�ำงานได้?
ประมาณ 5% ของรถยนต์ทั้งหมด ฟังก์ชั่นข้อมูล มากมายค่อนข้างมีความน่าเชื่อถือ เช่น ส�ำหรับ ความช่วยเหลือในบริเวณสี่แยก ข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของสัญญาณไฟจราจร แต่คุณจะได้ สิ่งที่มากขึ้น เช่น การซ่อมแซมถนนด้วยตัวส่ง สัญญาณข้อมูลเคลื่อนที่ท�ำให้สามารถระบุต�ำแหน่ง เหล่านั้นได้ หรือผู้ขับขี่สามารถรับรู้ได้ล่วงหน้าถึง ความเหมาะสมในการใช้ความเร็วที่จะท�ำให้ผ่าน สัญญาณไฟเขียวข้างหน้าได้อย่างปลอดภัย
ดังนั้นการจอดต่อท้ายแถวก�ำลังจะกลาย เป็นอดีต?
ตามทฤษฎีแล้วจะลดน้อยลง เราต้องท�ำให้มั่นใจว่า ผู้คนสามารถใช้ถนนได้อย่างเหมาะสม แต่ถ้าจ�ำนวน รถยนต์เพิ่มมากขึ้นเต็มความสามารถในการรองรับ ของถนน เทคโนโลยีนี้ก็ถึงข้อจ�ำกัดด้วยเช่นกัน
ผู้ขับขี่รถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ สามารถ ใช้ประโยชน์จากระบบนี้แล้ว?
Digital DriveStyle App ท�ำให้ Car-to-X สามารถ เตือนผู้ขับขี่เกี่ยวกับอุบัติเหตุ การหยุด และอากาศ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้แล้ว และผูข้ บั ขีร่ ถยนต์เมอร์เซเดสเบนซ์ ยังสามารถใช้ฟังก์ชั่นการแจ้งเตือนในแบบ แมนวลเพื่อเตือนผู้อื่นถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
พ จ น า นุ ก ร ม ย น ต ร ก ร ร ม
na|no|slide technology, ค�ำนาม;
เทคโนโลยีที่ออกแบบ มาเพื่อลดน�้ำหนักเครื่องยนต์ ความสิ้นเปลืองน�้ำมันเชื้อเพลิง และการปล่อยไอเสียก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวอย่างเช่น การใช้ในเครื่องยนต์เบนซินแบบ V6 รุ่นใหม่ส�ำหรับ E-Class รุ่นปัจจุบัน ผนังเสื้อสูบถูกเคลือบด้วยไอออนคาร์บอน อัลลอย ช่วยลดการเสียดสีและเพิ่มความต้านทานการสึกหรอ
พ ลั ง ง า น
ปลั๊กไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็ น ไอเดี ย ที่ ง ่ า ยแต่ ฉ ลาด ปลั๊กเสียบ ไฟฟ้าซึ่งรับพลังงานมาจากแผงโซล่าร์ที่อยู่ ด้านหลัง พลังงานที่เกิดขึ้นเพียงพอส�ำหรับ การชาร์จไฟสมาร์ทโฟน แต่ผู้คิดค้นพัฒนา ชาวเกาหลี Kyuho Song และ Boa Oh ก�ำลังขะมักเขม้นกับการท�ำงานเพื่อเพิ่ม ปริมาณความจุของนวัตกรรมที่เรียกว่า Window Socket ที่ประกอบด้วยตัวดูด ส�ำหรับติดตั้งเข้ากับหน้าต่างไม่วา่ จะเป็นทีบ่ า้ น หรือสถานทีภ่ ายนอก ya nkodesign .com
11
a pp D a t e
ดาวน์โหลดส�ำหรับนักเดินทาง ด้ ว ย
W A K E ALARM คุณไม่จ�ำเป็นต้องตั้งเวลา ส�ำหรับการงีบหลับอีกต่อไป app จะปิดสวิทช์การท�ำงาน ถ้าคุณท�ำให้สมาร์ทโฟนของคุณสั่น และเมื่อถึงเวลานั้น คุณจะตื่นตัวอย่างเต็มที่แล้ว
0.08
grams
นั่ น คื อ น�้ ำ หนั ก ของ
ท�ำความสะอาด เพลงที่บันทึก และเปลี่ยนเมโลดี้ เป็นสัญลักษณ์ ทางดนตรี
ForeverMap 2 เป็นแผนที่ทั่วโลก พร้อมค�ำแนะน�ำ ในการเดินทาง และแสดงเส้นทาง ซึง่ สามารถใช้งาน แบบออฟไลน์ได้
Insatmatch ท�ำให้เกิดเกม จับคู่การ์ดจาก รูปทั้งหมดที่ จัดเก็บใน อินสตาแกรม
R o b o b ee หุ่นยนต์บินได้ตัวแรก มีขนาดความยาว 2 เซนติเมตร ปีกขยับขึ้นลง 120 ครั้ง ต่อวินาที เป็นน�้ำหนักที่เท่ากับแมลงวันจริง สามารถบินเข้าไป ในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งและท�ำงานที่ต้องมีการเคลื่อนไหว ที่ยุ่งยากล�ำบากได้ ปีกของหุ่นยนต์ตัวจิ๋วนี้ถูกสั่งงานด้วย ตัวกระตุ้นไฟฟ้าอัตโนมัติ แถบเซรามิกขนาดเล็กจะยืดขยาย และหดตัวเมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไป ผลงานชิ้นนี้ถูกพัฒนาขึ้น โดยนักค้นคว้าวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สักวันหนึ่ง เจ้าแมลงตัวเล็กนี้อาจสามารถน�ำไปใช้ในการตรวจการจราจร หรือบางทีส�ำหรับการผสมละอองเกสรดอกไม้
France
Clermont-Ferrand Montpellier
จาก สู่
ระยะทาง 332 กิโลเมตร ระยะเวลา 3 ชั่วโมง จุ ด สู ง สุ ด 270 เมตรเหนือระดับน�้ำทะเล
ถ้ า คุ ณ ชอบจิ น ตนาการ ถึงการเดินทางผ่านไปในหมู่เมฆ
คุณต้องลองขับรถยนต์จาก Clermont-Ferrand ไปยัง Montpellier ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เส้นทางนี้จะพาคุณผ่าน Millau Viaduct สะพานที่ขึงด้วยสายเคเบิ้ลที่ยาวที่สุดในโลก มีความยาวถึง 2,460 เมตร พาดผ่านเหนือหุบเขาแม่น�้ำ Tarn ที่ความสูง 270 เมตร และเป็นส่วนหนึ่ง ของทางด่วนสาย A75 ซึ่งเป็นเส้นทางที่สั้นที่สุดที่เชื่อมต่อระหว่างเมือง Paris ประเทศฝรั่งเศสและ Barcelona ประเทศสเปน สะพานนี้ออกแบบโดยวิศวกร ชาวฝรั่งเศสชื่อ Michel Virlogeux ร่วมกับสถาปนิกชาวอังกฤษ Norman Foster ไพลอนที่สูงที่สุดส�ำหรับยึดสายเคเบิ้ลมีความสูงไม่ต�่ำกว่า 343 เมตร ซึ่งสูงกว่าหอไอเฟลถึง 19 เมตร lev i a ducdemill au.com
12
Clermont Ferrand Viaduc de Millau
montpellier
c h e c k - i n
1
ค รั้ ง ห นึ่ ง ใ น ชี วิ ต . . . .
Apps APP Store by Apple for iphone, ipod touch and ipad; photos DDP images; Actionpress; L aif; “L aservision - Creators of the Sof tstop Barrier System”
2
ด�ำดิ่งลงสู่ไททานิค? “ ประสบการณ์ ทางกายภาพ
ก� ำ ลั ง แ ส ด ง อยู ่ ใ น เ ว ล า นี้
การแสดงเดี่ยวของ William Boyd
เป็นความประทับใจที่มากกว่า ความรู้ความสามารถ ตัวอย่าง เช่น ความเยือกเย็นเป็นบางสิ่ง ที่คุณไม่อาจอธิบายได้ แต่คุณ สามารถรู้สึกถึงมันได้” ólafur elíasson
- ศิ ล ปิ น
3
ท�ำเช่นนั้นได้อย่างไร?
เดินทางไปในเรือด�ำน�้ำ เพราะเรือไททานิคจมอยู่ใต้ ทะเลที่ความลึกกว่า 3,800 เมตร ทริปพิเศษส�ำหรับผู้สนใจ ไม่เกิน 20 คนต่อ การเดินทาง หนึ่งทริปใช้เวลาสองสัปดาห์
สิ่งที่จ�ำเป็นต้องรู้?
ผู้สนใจร่วมสัมผัส ประสบการณ์พิเศษนี้ต้องมี ความสามารถในการใช้เวลา 11 ถึง 12 ชั่วโมงในแคปซูล ด�ำน�้ำใต้ท้องทะเลในมหาสมุทร
สามารถจองการเดินทาง ได้ที่ไหน? การเดินทางส�ำหรับปี 2014 ในยานด�ำน�้ำลึก MIR I และ II ก�ำลังจะเปิดรับจองทาง thebluefish.com
เป็ น เวลากว่ า 60 ปี แ ล้ ว
หลังจากนวนิยายเจมส์ บอนด์ เรื่องแรกถูกตีพิมพ์ และ Casino Royale, 007 จะกลับมาอีก ครั้งหนึ่งในเดือนตุลาคม ภารกิจ ของเขาเริ่มต้นขึ้นในแอฟริกา แต่เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดท�ำให้ Bond ต้องเดินทางไปปฏิบัติ ภารกิจที่สหรัฐอเมริกาตามล�ำพัง โดยปราศจากการคุ้มครองหรือ สิทธิพิเศษใดๆ William Boyd นักประพันธ์ชาวอังกฤษท�ำให้ สายลับที่ชื่อ Bond แบบดั้งเดิม ตามจินตนาการของ Ian Fleming มีชีวิตขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ไม่ใช่ใน บทบาทของสายลับเจ้าเสน่ห์ แต่มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ด้วยความรู้สึกและความล้มเหลว อ่อนแอ a m a zon .com
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย
สัญญาณเตือนแบบเปียก
อุ โ มงค์ ข องท่ า เรื อ Sydney มักจะ ได้รับความเสียหายอยู่บ่อยครั้งจากนักขับรถ บรรทุกที่ไม่ใส่ใจต่อสัญญาณเตือน ท�ำให้ บริษัทที่เชี่ยวชาญทางด้านเลเซอร์วิชั่นพัฒนา สัญลักษณ์ป้ายหยุดขนาดใหญ่ที่ท�ำขึ้นจากน�้ำ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ม่านหยดน�้ำขนาดใหญ่ จะปรากฏขึ้นในเวลาไม่กี่วินาที และสัญลักษณ์ เตือนความปลอดภัยจะถูกฉายออกไปบนม่านน�ำ้ ไม่มีทางที่จะพลาดค�ำเตือนนี้อย่างแน่นอน l aserv ision . com . au
13
เกมจับผิด วิ สั ย ทั ศ น์ แ ห่ ง อนาคต ในรูปแบบของคอนเซ็ปต์คาร์ชื่อ C 111-II คันนี้ ปรากฏตัว ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1970 มีความโดดเด่นที่สีตัวรถเป็นสีส้มสดใสและประตูเปิดแบบ ปีกนก ใช้เครื่องยนต์แวงเกิ้ล โรเตอร์ 4 ตัว แรงม้าสูงสุด 350 แรงม้า ท�ำอัตราเร่งจาก 0-100 กิโลเมตรต่อชั่วโมงในเวลา 4.8 วินาที ว่าแต่สองรูปที่เห็นอยู่นี้รูปไหนเป็น C111-II ที่แท้จริง
ที่จับเปิดประตูด้านผู้โดยสาร และช่องดักอากาศด้านหน้าของล้อหลังด้านขวา
รู ป นี้ มี จุ ด ที่ ผิด ไปจากปกติ 4 แห่ ง : ไฟหน้าข้างหนึ่งหายไปเช่นเดียวกับฝาช่องเติมน�้ำมัน ความจุสูงสุด
10,000 คน พื้นที่ทั้งหมด
เสียงจากอวกาศ
กล่องดนตรีรูปร่าง เหมือนกับยานอวกาศ สามารถเล่นเมโลดี้ เพลงได้ 6 เพลง เช่น เพลง Imagine ของ John Lennon และ
14,000 ตารางเมตร พื้นที่ในส่วนของพื้น
2,900 ตารางเมตร
จากภาพยนตร์เรื่อง
Star Wars Episode V m ba n df. com
เรือโนอาห์ Ark 2.0
โอเอซิ ส กลางมหาสมุทรมีห้องส�ำหรับให้ผู้คนพักอาศัยสูงสุดถึง 10,000 คน เป็นแนวคิดล่าสุด ของสถาปนิกชาวรัสเซีย Alexander Remizov ส�ำหรับการแก้ปัญหาในกรณีที่อุณหภูมิของโลก เปลี่ยนแปลงอย่างเลวร้ายที่สุดจนท�ำให้เกิดน�้ำท่วมโลก The Ark มีพื้นที่ทั้งหมด 14,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่ในส่วนของพื้น 2,900 ตารางเมตร สามารถลอยอยู่บนผืนน�้ำหรือติดตั้งบนแผ่นดินได้ โครงสร้างประกอบขึ้นจากไม้ เหล็กเคเบิ้ล และด้านนอกที่แข็งแกร่งสามารถรับมือกับแผ่นดินไหวหรือ พายุได้อย่างทนทาน และด้วยเครือ่ งก�ำเนิดลมและปัม๊ ความร้อน รวมถึงหลังคาทีป่ ระกอบด้วยแผงโซล่าร์ ท�ำให้สถาปัตยกรรมนี้มีแหล่งก�ำเนิดพลังงานเป็นของตัวเองเมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินมาถึง เรือของ โนอาห์เวอร์ชั่นใหม่ล่าสุดนี้สามารถประกอบขึ้นได้ภายในเวลาเพียงไม่กี่เดือนเท่านั้น 14
photos daimler AG, Fotolia , MANDF; rendering: Remistudio
Imperial March
ห้ามพลาด
เพื่อความตื่นเต้น โลดโผน
22 - 27 กั น ยายน 2013
ใช้ ค าร์ บ อน เป็นส่วนประกอบหลัก
LIEGE – ROME – LIEGE
เกียร์ที่เปลี่ยนอย่างรวดเร็วและแป้น คันเร่งสองอันท�ำให้จักรยาน เสือภูเขาคันนี้เป็นที่จดจ�ำได้ในทันที เพราะเป็นหนึ่งในผลงานของ AMG และเช่นเดียวกับเครื่องยนต์ สมรรถนะสูงจาก Affalterbach เฟรมของ RT x45 AMG คันนี้ ประกอบขึ้นด้วยมือและในกรณีนี้ Rotwild ผู้เชี่ยวชาญด้านจักรยาน ของเยอรมนีเป็นผู้รับหน้าที่ ด�ำเนินการ mercedes -amg .com
การแข่งขันรถยนต์แรลลี่รายการใหญ่ที่จัดขึ้น ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1927 เป็นหนึ่งในการแข่งขัน ที่ทรหดที่สุดในโลก ผู้เข้าร่วมการแข่งขันต้อง เดินทางเป็นระยะทางถึง 3,500 กิโลเมตรใน แบบนันสต๊อป ปัจจุบันการแข่งขันรายการนี้ได้ เพิ่มการแข่งขันในประเภทรถยนต์คลาสสิก เข้าไปด้วย และปรับรูปแบบของการแข่งขัน ให้มีความผ่อนคลายไม่เร่งรีบมากขึ้น 9 – 13 ตุ ล าคม 2013
TARGA FLORIO CLASSIC
ในปี ค.ศ. 1955 Stirling Moss และ Peter Collins ชนะการแข่งขันรถยนต์ทางเรียบที่มี ชื่อเสียงที่สุดด้วยเมอร์เซเดส-เบนซ์ 300 SLR ในปัจจุบันรถยนต์คลาสสิกคาร์เข้าร่วมการ แข่งขันที่จัดขึ้นบนเกาะ Sicili ประเทศอิตาลี เป็นการตามรอยความส�ำเร็จของ Moss และนักแข่งอื่นๆ ที่เป็นต�ำนาน 20 ตุ ล าคม 2013 DTM FINAL
Stefan Bogner ช่างภาพชื่อดังแสดงให้ เราเห็นถึง North Loop ของสนามแข่ง Nürburgring ในมุมมองที่แตกต่างไป deli us - k l asi ng . de
เกือบเสมือนจริง ความฝั น ที่จะได้เข้าไปร่วมในการแข่งขันรถยนต์ฟอร์มูล่า 1 เกือบจะเสมือนได้เข้าไปอยู่ในเหตุการณ์จริง สามารถท�ำให้ เป็นความจริงได้ด้วยเครื่องจ�ำลองการแข่งขันที่พัฒนาขึ้นโดย FMCG International ผู้ขับจะได้นั่งอยู่ในตัวรถที่ท�ำขึ้นจาก คาร์บอนไฟเบอร์ขนาดเท่าของจริงที่ติดตั้งมาพร้อมกับยางพีเรลลี่รุ่น F1 และพวงมาลัยรถแข่งฟอร์มูล่า 1 ของจริง ที่อยู่ ด้านหน้าของผู้ขับเป็นจอ LCD ขนาด 23 นิ้ว 3 จอภาพ ซึ่งจะจ�ำลองภาพที่เห็นจากห้องผู้ขับขี่ เสียงเสมือนจริงถูกถ่ายทอด ออกจากระบบล�ำโพง 5.1 ซึ่งราคาค่าใช้จ่ายส�ำหรับอุปกรณ์ชุดนี้จะรวมถึงการติดตั้งและการฝึกสอน โดยที่ผู้ซื้อสามารถ เลือกสีของตัวรถได้ความต้องการ fmcginter nationa l .com
1 - 3 พฤศจิ ก ายน 2013
LONDON TO BRIGHTON
งานฉลองโลกแห่งยนตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุด จัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1896 ในปีนี้มีรถยนต์ คลาสสิกมากกว่า 500 คันเข้าร่วมขบวน Veteran Car Run เป็นการเดินทางในระยะทาง เกือบ 80 กิโลเมตร จาก Hyde Park ในกรุง London ไปยังรีสอร์ตริมฝั่งทะเลทางใต้ ปีที่ ผ่านมาหนึ่งในรถยนต์ Daimler ที่เข้าร่วมงานนี้ คือเมอร์เซดส-เบนซ์ Victoria ปี ค.ศ. 1894 1 - 3 พฤศจิ ก ายน 2013
FORMULA 1 ABU DHABI
สนามแข่งที่สวยงาม Lewis Hamilton นักแข่ง ทีมเมอร์เซเดส-เบนซ์ เคยคว้าชัยชนะในสนาม แห่งนี้มาแล้ว นอกจากนี้ยังท�ำสถิติเวลาต่อรอบ ที่ดีที่สุดได้อีกหลายครั้งด้วย
การด� ำ ดิ่ ง ลงสู ่ ไ ททานิ ค เรื อ โนอาห์ ARK 2.0 หรือนวนิยายเสียง James Bond
เราได้น�ำข้อมูลเหล่านี้ใส่ในหัวข้อ Check-in แบบออนไลน์แล้ว เพียงใช้ App ในสมาร์ทโฟน ของคุณสแกน QR code นี้
16
mb - qr . com /0 ce
phOTOS daimler AG, Delius Klasing (2), Costco.UK
เส้นทางที่คดเคี้ยว ใน Tracks 6:11
การแข่งขันสนามสุดท้ายส�ำหรับรายการ Touring Car Champion ที่ Hockenheimring รับประกันได้ถึงการแข่งขันที่ตื่นเต้นเร้าใจ ปีทผี่ า่ นมา Gary Paffett ขับรถแข่งเมอร์เซเดสเบนซ์ เกือบขึ้นถึงต�ำแหน่งผู้ชนะเลิศ เพื่อแชมป์ ของการแข่งขันรายการนี้ แต่สุดท้ายท�ำได้ดี ที่สุดในอันดับที่สอง
18
เรื่ อ ง M I C H A E L M O O R S T E DT ภาพ A N AT O L KO T T E
leather coat: Belstaff
ยนตรกรรมที่ยอดเยี่ยมที่สุดในโลก ค�ำกล่าวนี้ถูกน�ำมาใช้กับรถธงของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ตั้งแต่ผลิตออก
D R I V E
จ�ำหน่ายครั้งแรก ส�ำหรับเจเนอเรชั่นใหม่ความยอดเยี่ยมนั้นถูกน�ำเสนอด้วยความประทับใจที่มากยิ่งขึ้น
ภารกิจ: ความสมบูรณ์แบบ
19
ไม่วา่ อย่างไรก็ตาม จมูกก็ทำ� งานเชือ่ มต่อโดยตรง กับส่วนต่างๆ ในสมองที่ร่วมกันท�ำหน้าที่เกี่ยวข้อง กับสัญชาตญาณ ความจ�ำ และการตอบสนองทาง อารมณ์ “นั่นเป็นพื้นที่ที่มีอายุมากที่สุดของสมอง ส่วนที่รับผิดชอบทางด้านของอารมณ์ความรู้สึก” Sabine Engelhardt ให้ค�ำอธิบาย เธอได้พัฒนา ระบบ Active Perfuming ส�ำหรับ S-Class ใหม่ และ เกิดความคิดทีจ่ ะเปลีย่ นทัศนคติเกีย่ วกับการดมกลิน่ เช่นความคุ้นเคยและความสะดวกสบาย ความ ก้าวหน้าและความหรูหรา ในการท�ำงานร่วมกับ ผูผ้ ลิตน�ำ้ หอมทีม่ ชี อื่ เสียง ทีมของ Sabine Engelhardt ได้สร้างสรรค์น�้ำหอมทีม่ กี ลิน่ แตกต่างกันถึง 4 กลิน่ ตั้ ง แต่ ก ลิ่ น ที่ ใ ห้ อ ารมณ์ ค วามรู ้ สึ ก แบบ Sports ซึ่งรับรู้ ได้ถึงความสดชื่นของพืชใบเขียวที่ส ดใส ไปจนถึงกลิ่น Nightlife ที่รับรู้ได้กลิ่นของไม้หรูหรา ราคาแพงและอ�ำพันทะเล แน่นอนกลิ่นหอมนี้มี ระดับความเข้มข้นที่เหมาะสม ไม่รุนแรงจนเกินไป “แต่เหมือนกับการสูดดมจากขวดน�้ำหอม” Sabine Engelhardt บอก เธอมีวาทศิลป์ในการสนทนาและ
ควบคุ ม อย่ า งชาญฉลาด
ระบบให้ความช่วยเหลือจ�ำนวนมาก ช่วยสนับสนุนการท�ำงานของผู้ขับขี่ตลอดเวลา
20
JACKET, VEST: L AGERFELD; TIE, SHIRT: HACKET T; GL ASSES: PRIVATE
อะ
ไรคือกลิน่ อายของความส�ำเร็จทีแ่ ท้จริง? จะใช่กลิน่ หอมที่รุนแรงจากการจุดดอกไม้ไฟและแชมเปญ กลิ่นหอมของกลีบดอกกุหลาบที่โปรยปรายอยู่บน พื้นดินรอบตัวของแชมป์เปี้ยนหรือไม่? บางทีอาจ เป็นเช่นนัน้ ถ้าเราพูดถึงในกรณีทเี่ ป็นชัยชนะทีเ่ กิด ขึน้ ไม่บ่อยครัง้ นัก ตัวอย่างเช่น การฉลองการเลือ่ น ต�ำแหน่งหน้าที่ หรือการชนะรางวัลอะไรสักรางวัล หนึ่ง แต่ถ้าเป็นความส�ำเร็จที่ถูกน�ำไปใช้ก�ำหนด กฎเกณฑ์มาตรฐาน ถ้าการก�ำหนดจุดสูงทีส่ ดุ ไม่ได้ เป็นข้อก�ำหนดพิเศษอีกต่อไป แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น เป็นประจ�ำในทุกๆ วัน และผู้ที่ประสบความส�ำเร็จ นั้นเป็นตัวของคุณเอง นี่เป็นโอกาสที่สมควรได้รับ การกล่าวขานถึงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนัน้ คุณจะท�ำอย่างไรเกีย่ วกับการหล่อหลอม แนวคิด ซึง่ ก่อนหน้านีเ้ ป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะรับรูไ้ ด้ แม้จะ ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูโมเลกุลขนาดเล็กที่เป็น ทีม่ าของกลิน่ หอม เพราะจมูกทีไ่ ม่ได้ผา่ นการฝึกฝน คงสัมผัสได้อย่างคลุมเครือถึงความรู้สึกว่าสิ่งนั้น คืออะไร
D R I V E
คลาสสิ ก ทั น สมั ย
พวงมาลัยแบบสองก้าน รูปแบบของมรดก ที่ถ่ายทอดจาก S-Class ในอดีต
พูดเกีย่ วกับการไหลในแนวตัง้ และการกระจายอย่าง เหมาะสมในพืน้ ทีล่ อ้ มรอบอย่างยืดยาว การพูดคุย สนทนากับเธอท�ำให้ได้รับรู้ถึงสิ่งที่กระตุ้นความ สนใจใน S-Class ใหม่ในกลุม่ คนทีช่ ว่ ยกันสร้างสรรค์ รถยนต์คันนี้ขึ้นมา อย่างเช่น Engelhardt ที่อาจ ถู ก จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม บุ ค คลที่ ท� ำ งานเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ รายละเอียดเล็กๆ เท่านั้น แต่กระบวนการพัฒนา เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญจ� ำ นวนมาก ผู ้ ค นมั ก จะมองข้ามพื้นที่พิเศษเหล่านี้และชื่นชมกับบางสิ่ง บางอย่างที่มีขนาดใหญ่กว่า S-Class เป็นมากกว่าความเป็นรถยนต์มาโดย ตลอด มันคือสิ่งย�้ำเตือนความทรงจ�ำถึงความเป็น ไปได้ของเทคโนโลยีและวิสัยทัศน์ของยนตรกรรม ในอนาคต ผลจากการท�ำงานอย่างพิถีพิถันของ Sabine Engelhardt ส่งผลถึงความส�ำเร็จในภาพรวม อีกด้วย บทความในนิตยสาร WIRED นิตยสาร เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู ้ อ ่ า นสู ง ใน สหรัฐอเมริกาเขียนถึงรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ S-Class นี้อย่างจริงจัง โดยค�ำกริยาที่พวกเขาเลือก นั้นไม่ได้ใช้คำ� ว่า “ขับขี่” “การเคลื่อนที่อย่างช้าๆ” หรือ “พื้นส�ำหรับแป้นเหยียบคันเร่ง” แต่ใช้ค�ำว่า “ย้ายเข้าไปอยู”่ - เก็บทรัพย์สมบัตสิ ว่ นตัวของคุณ ลืมอพาร์ตเม้นต์ไปเสีย และถ้าจะให้ดีหาเพื่อนร่วม ทางใหม่เพิม่ เติม เพราะยนตรกรรมคันนีเ้ หมาะสมกับ ผูท้ จี่ ะไปพ�ำนักอาศัยอย่างสะดวกสบายได้ถงึ 4 คน
ยนตรกรรม ที่ย�้ำเตือน
ถึงความทรงจ�ำ ในความเป็นไปได้ ของเทคโนโลยี”
มอเตอร์ 100 ตัวท�ำงานอยู่ภายใน ห้องโดยสาร
นอกจากความประทับใจในเรือ่ งของขนาดแล้ว ไม่เป็นที่แปลกใจเลย S-Class ใหม่ฉุดความสนใจ ของนิ ต ยสารเทคโนโลยี ชื่ อ ดั ง และกลุ ่ ม ไอที ใ น
ต� ำ แหน่ ง ที่ ย อดเยี่ ย ม
ระบบเสียงรอบทิศทาง Burmester พร้อมระบบ front bass ให้ประสบการณ์ ของเสียงในแบบ 3 มิติ
สหรัฐอเมริกา สายไฟมากกว่า 30 ล้านเส้นของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นท�ำงานอยู่ภายใน รถโดยที่ผู้ขับขี่ไม่รู้ตัว ซึ่งนั่นเป็นจ�ำนวนโปรแกรม ทีน่ อ้ ยกว่าทีใ่ ช้อยูใ่ นอากาศยานสมัยใหม่เพียงเล็กน้อย เท่านัน้ เป็นการเอือ้ ประโยชน์ซงึ่ กันระหว่างซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์อย่างยอดเยี่ยมสมบูรณ์แบบ รายการของนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่พัฒนา ขึ้นโดยเมอร์เซเดส-เบนซ์ ส�ำหรับ S-Class ใหม่มี ความยาวตราบเท่าทีค่ วามประทับใจมีอยูต่ ลอดไป ตัวกระตุ้นและมอเตอร์ไฟฟ้ามากกว่า 100 ตัว ท�ำงานอยู่ภายในห้องโดยสารของ S-Class ใหม่นี้ แน่นอน ถึงแม้ว่าการท�ำงานหลักยังคงอยู่ภายใต้ ฝากระโปรงหน้า แต่พฒ ั นาการใหม่และเทคโนโลยี ทีเ่ กิดขึน้ เป็นครัง้ แรกในโลกท�ำงานอย่างไม่มขี อบเขต ความยอดเยีย่ มเหล่านัน้ ประกอบด้วยเทคโนโลยีให้ ความช่วยเหลือผูข้ บั ขีอ่ ย่างชาญฉลาด เช่น Distronic Plus พร้อม Steering Assist หรือระบบเบรก BAS Plus พร้อมระบบ Cross-Traffic Assist ระบบซึ่ง สามารถรับรูไ้ ด้ถงึ คนเดินเท้าและความเสีย่ งในการ เกิดอุบัติเหตุในบริเวณที่มีถนนสองสายมาตัดกัน หรือช่วยให้ผขู้ บั ขีบ่ งั คับรถอยูใ่ นช่องทางวิง่ ทีถ่ กู ต้อง และรักษาระยะห่างจากรถยนต์คนั หน้า นอกจากนี้ยังมีระบบมัลติมีเดียที่ให้ผู้โดยสาร ภายในรถทั้งสี่คนสามารถเข้าถึงชุดแพ็กเกจเอนเตอร์เทนเม้นต์ได้อย่างเป็นอิสระ หรือระบบกัน สะเทือนที่ได้รับความช่วยเหลือจากกล้องสเตอริโอ ที่ติดตั้งอยู่หลังกระจกบังลม เพื่อตรวจสอบสภาพ พื้นผิวถนนเบื้องหน้า ซึ่งจะช่วยขจัดหรือลดปัญหา เรื่องแรงสั่นสะเทือนจากพื้นผิวถนนที่ขรุขระหรือ ไม่ราบเรียบสม�ำ่ เสมอให้หมดไป หรือเหลือน้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ภายในเวลาเพียงเสีย้ ววินาที > 21
แยกไม่ออกจากเวทมนตร์คาถา
ถึงอย่างไรก็ตามทุกสิ่งทุกอย่างที่ผ่านมาโดย ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานส�ำหรับ S-Class นั้ น ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เรื่ อ งง่ า ยเลย ถ้ า เทคโนโลยี ชั้ น สู ง หมายความถึงสิ่งเหล่านั้น ในความเป็นจริงมัน ได้ถูกปรับเปลี่ยนภาพให้เป็นส�ำนักงานเคลื่อนที่ เลาจน์ที่หรูหราโอ่อ่า และศูนย์สุขภาพเคลื่อนที่ใน รถยนต์เพียงคันเดียว Martin Bremer และทีมงาน ของเขาดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบในการที่ จ ะท� ำ ให้ มั่ น ใจ ว่าการถือก�ำเนิดขึ้นครั้งใหม่ล่าสุดของโมเดลที่เป็น รถธงของเมอร์เซเดส-เบนซ์ นี้จะสนองตอบความ ต้องการเหล่านัน้ ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ในฐานะ ที่เป็นหัวหน้าแผนกสีและอุปกรณ์ตกแต่ง งานของ ชายวัย 50 ปีผู้นี้คอื การตกแต่งภายในห้องโดยสาร ทั้งหมด Bremer บอกว่า “เราดูแลรับผิดชอบทุกสิ่ง ที่คุณเห็นและสัมผัสภายในห้องโดยสาร” นี่คือคนที่รู้จัก S-Class ดีเหมือนกับเป็นตัวของ เขาเอง เขาผ่านการท�ำงานร่วมกับ S-Class มาแล้ว ทั้งในโมเดลซีรีส์ก่อนๆ และใช้เวลาร่วมกับโมเดล ใหม่นี้มายาวนาน “จากแนวคิดที่เป็นจุดเริ่มต้น ต้องใช้เวลาถึง 60 เดือนในการผลิตรถยนต์คนั แรก ที่พร้อมส�ำหรับลูกค้า” เขาบอก Bremer และทีม งานของเขาร่วมงานกับ S-Class ใหม่มาตั้งแต่ต้น ‘ความสงบเงียบที่มองเห็นได้’ เป็นเป้าหมายของ รถยนต์รุ่นใหม่นี้ “มุมมองของเราคือ การท�ำให้ ไม่จำ� เป็นต้องรับรูถ้ งึ ความยุง่ ยากซับซ้อนของระบบ กลไกและเทคโนโลยีที่หลากหลาย” ดังนั้นขณะที่ พวกเขาท�ำงาน ทีมนักออกแบบได้ให้ความส�ำคัญ ไปกับการออกแบบภายในห้องโดยสารทีจ่ ะไม่ทำ� ให้ ผู้ที่อยู่ภายในห้องโดยสารรู้สึกถึงความหมางเมิน อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีที่เพิ่มเติมเข้ามา จอภาพ ขนาดใหญ่ ปุ ่ม และสวิ ท ช์ ค วบคุ ม จ� ำ นวนมาก แทนที่จะสื่อสารถึงงานฝีมือและส่งเสริมการเป็น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องคุ ณ ภาพชั้ น สู ง จากทั ก ษะความ เชีย่ วชาญของงานฝีมอื แต่ในทางตรงกันข้ามยังสือ่
22
เฟิ ร ์ ส ต์ ค ลาส
ความหรูหราอย่าง ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน รอคอยอยู่ที่เบาะนั่ง ผู้โดยสารด้านหลัง
S 350 BlueTec
เครื่องยนต์/แรงม้า เครื่องยนต์ 6 สูบ 3.0 ลิตร แรงม้าสูงสุด 190 กิโลวัตต์ ที่ 3,600 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 620 นิวตันเมตรที่ 1,600 – 2,400 รอบ ต่อนาที ระบบส่งก�ำลัง เกียร์อัตโนมัติเดินหน้า 7 จังหวะ 7G-TRONIC PLUS ความปลอดภัย ถุงลมเข็มขัดนิรภัยป้องกันผู้โดยสาร ที่เบาะนั่งด้านหลังในการชนปะทะ ถุงลม นิรภัยภายในสายรัดเข็มขัดนิรภัย พองตัวขึ้นจากขนาดปกติ 3 ครั้ง ช่วยลดแรงปะทะที่เกิดจากอุบัติเหตุ อารมณ์ ไฟเรืองแสงล้อมรอบห้องโดยสาร ล้อมอยู่โดยรอบห้องโดยสาร ในลักษณะของแถบไฟ ใช้สีที่แตกต่างกัน 7 สี เพื่อยกระดับความรู้สึกถึง ความสะดวกสบายภายใน ห้องโดยสารมากขึ้น m ercedes - benz . com
ถึงการใช้วสั ดุทเี่ หมาะสมเท่านัน้ ส�ำหรับการด�ำเนิน การและงานทีป่ ระดิษฐ์ขนึ้ ด้วยมืออย่างเชีย่ วชาญ ซึง่ Bremer และทีมงานของเขาใช้เวลาถึงสองปีใน การคัดเลือกชนิดของหนังและลายไม้ทดี่ เี ยีย่ มทีส่ ดุ ส�ำหรับน�ำมาใช้ในการตกแต่งภายในห้องโดยสาร จากนั้นจึงถึงขั้นตอนของการเลือกซัพพลายเออร์ และวิธกี ารด�ำเนินงานทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ทีจ่ ะแน่ใจได้วา่ วัสดุจากธรรมชาติเหล่านัน้ จะยังคงรักษาคุณสมบัติ และคุณลักษณะ รวมไปถึงสภาพของสีให้คงเดิม แม้จะใช้งานเป็นเวลานานหลายต่อหลายปีกต็ าม S-Class ใหม่คือผลรวมของทุกองค์ประกอบ ที่ประสานสอดคล้องกลมกลืนสู่ความเป็นหนึ่ง ที่ยอดเยี่ยมสูงสุด ไม่ว่าจะภายนอกหรือภายใน สิ่งที่สัมผัสรับรู้ได้ด้วยสายตาหรือมองไม่เห็นด้วย สายตา สมกับความเป็นรถธงของเมอร์เซเดส-เบนซ์ < อย่างสมบูรณ์แบบแท้จริง
HER_ Burberry Prorsum, EARRINGS: Pomellato HIM_ JACKET: Boss, SHIRT: Brioni st yling Lynn SchmiDt/Schierke HAIR AND make-up Fee Romero/Kult Artists Models Robertas Aukstuolis /Select, Jay Shin/MD Management
เมอร์เซเดส-เบนซ์ เรียกการพัฒนาของระบบ อัจฉริยะนี้ว่า Magic Body Control ซึ่งท�ำให้นึกถึง ข้อคิดเห็นของ Arthur C. Clarke นักเขียนนวนิยาย วิทยาศาสตร์ช่อื ดังที่ว่า “เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าเป็น สิ่งที่แทบจะแยกไม่ออกจากสิ่งที่เรียกว่าเวทมนตร์ คาถา” แต่ Clarke คงจะนึกไม่ถงึ ว่าความมุง่ มัน่ ทาง ด้านวิศวกรรมของมนุษย์จะน�ำเรามาสูจ่ ดุ นีไ้ ด้เพียง แค่ภายปี 2013 นีเ้ ท่านัน้ เอง และแน่นอนไม่ปรากฏ ให้เห็นในรถยนต์ธรรมดาทั่วไป
การเคลื่ อ นไหวแบบแขวนลอย: ศิลปินชาวญี่ปุ่น Yasuaki Onishi ใช้เมอร์เซเดส-เบนซ์ CLA
ลมหายใจ ของการเคลื่อนที่
26
เรื่ อ ง
Ulrike Stierle
ภาพ B j ö r n F i s h c e r , M at t h i a s S t r aub
c h a r a c t e r S
เป็นส่วนหนึ่งในงานประติมากรรมไร้น�้ำหนัก
แผ่ น พลาสติ ก
รูปทรงเหมือนจริงกับรูปลักษณ์ ภายนอกของ CLA ลอยตัวอยู่ใน อากาศด้วยแรงยึดของด้ายกาวสีด�ำ
27
28
สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ของเขาคือการสร้างงาน ศิลปะด้วยการฉีดกาวให้ไหลไปตามด้ายไนลอนที่ ทิ้งตัวลงจากเพดานอย่างช้าๆ หยดกาวนับพันๆ หยดทิ้ ง ตั ว ลงสู ่ ด ้ า นล่ า งเพื่ อ ไปสั ม ผั ส กั บ แผ่ น โพลีเทนเรืองแสงทีแ่ ผ่ออกไปคลุมวัตถุขนาดใหญ่ทอี่ ยู่ ด้านล่าง และเมือ่ วัตถุนนั้ เผยตัวออกมาในเวลาต่อมา โดยปล่อยทีว่ า่ งล้อมรอบวัตถุไว้ และเกิดเป็นอีกหนึง่ โครงร่างซึ่งลอยตัวอยู่บนอากาศเหนือวัตถุนั้น การใช้เพียงแผ่นพลาสติกและปืนกาว Onishi สามารถท�ำให้อากาศกลายเป็นรูปร่างของงานศิลป์ ที่มีชีวิต ซึ่งบ่อยครั้งถูกเรียกว่าเป็นปรากฏการณ์ ของสิ่งที่ไม่มชี ีวิต เช่น ผีหรือปีศาจ เป็นความรู้สกึ ที่ ล ะเอี ย ดอ่ อ นและเป็ น การจั ด การที่ ย อดเยี่ ย ม ส�ำหรับขอบเขตการแปลความหมายที่กว้างขวาง “บ่ อ ยครั้ ง ที่ ผ ลงานของผมชวนให้ ผู ้ ค นนึ ก ถึ ง บรรยากาศของทุ่งหญ้า เลี้ยงสัตว์ และภูเขา แต่ ครั้งนี้ผมต้องการที่จะสร้างสรรค์ผลงานโดยการใช้ สิ่งของที่เป็นวัตถุนิยมมากขึ้น” Onishi อธิบาย เขาใช้เวลา 5 วันในการท�ำงานด้วยความอดทน ความแม่นย�ำ และความประณีตพิถีพิถันในทุก รายละเอียดเพื่อให้โปรเจ็กต์ที่ไม่ธรรมดานี้ส�ำเร็จ ขึ้นมา และเหนืออื่นใด เขาศึกษารูปทรงภายนอก ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ CLA ในทุกแง่มุม ใช้มือ ลูบไล้ไปบนแผ่นพลาสติกอย่างระมัดระวังพร้อมทัง้ จดจ�ำทุกๆ ส่วนโค้งและส่วนเว้าของรถยนต์คันนี้ เพื่อให้การถ่ายทอดรูปทรงของตัวรถที่อยู่ใต้แผ่น พลาสติกด้วยหยดกาวจ�ำนวนมหาศาลเป็นไปอย่าง ถูกต้องแม่นย�ำในทุกสัดส่วน และเพือ่ ช่วยให้เขามีสมาธิในการท�ำงานมากขึน้ Onishi ฟังเพลงคลาสสิกในขณะท�ำงาน และระหว่าง การหยุดพัก เขาจิบชาเขียวพร้อมกับอธิบายว่า เพราะเหตุใดพลังของศิลปะเมื่อมาพบกับเมอร์เซเดส-เบนซ์ CLA สามารถกระตุ้นความรู้สกึ พิเศษ ภายในตั ว เขาออกมา “ผมสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความ ภาคภู มิ ใ จของผู ้ ผ ลิ ต ที่ ถื อ ก� ำ เนิ ด จากประเพณี > อันสืบทอดมาอย่างยาวนาน”
Further technical specifications and fuel consumption figures can be found on page 79.
ค
วามเบาและการเต้นเป็นจังหวะท่ามกลางสายลม ที่พัดอย่างแผ่วเบาที่สุด แสงไฟที่สาดส่องส่งให้ผ้า คลุมเบาบางที่แขวนลอยอยู่ในอากาศส่งประกาย เรืองแสงออกมา เส้นด้ายสีบรอนซ์เงินจ�ำนวนมาก ห้อยตัวลงมาจากเพดานก่อให้เกิดโครงร่างที่มีมิติ ของความแข็งทีเ่ บาบางไร้นำ�้ หนัก เมือ่ มองดูครัง้ แรก ชวนให้นึกถึงภูเขาจ�ำลองขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม เมื่อดูให้ลึกลงไปกว่านั้นจะเห็นถึงโครงร่างที่เป็น รู ป แบบซึ่ ง เป็ น เอกลั ก ษณ์ พิ เ ศษเฉพาะตั ว ของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ CLA Yasuaki Onishi ก้าวถอยหลังออกมาพร้อมกับ ลดปืนกาวในมือของเขาลง นิ้วมือของศิลปินชาว อาทิ ต ย์ อุ ทั ย ลู บ ไล้ ไ ปบนเส้ น ผมของเขาขณะที่ สายตาของเขาพินิจพิจารณาผลงานของเขาอย่าง Yasuaki Onishi ละเอียดอีกครั้ง “ผมสังเกตเห็นความงดงามและ สร้างสรรค์งานประติมากรรม ความเรียบง่ายของรถยนต์คนั นี้ ผมเพียงแค่ตอ้ งการ ที่ลอยตัวอยู่บนอากาศ ด้วยด้ายและกาว ที่จะถ่ายทอดมันออกมาในรูปแบบของงานศิลปะ” อากาศเป็นเหมือนโครงสร้าง ส่วนทีว่ า่ งลบหรือ ที่ว่างล้อมรอบวัตถุคือศิลปะ นั่นคือแนวคิดของ Yasuaki Ohishi การใช้อุปกรณ์เครื่องมือแบบง่ายๆ เช่น แผ่นโพลีเทนเรืองแสงและกาวสีดำ� ทีฉ่ ดี ออกใน ลักษณะของเส้นด้าย ด้วยวัยเพียง 34 ปี ศิลปิน ผู้นี้ได้สร้างสรรค์งานศิลปะที่ท้าทายมุมมองปกติ โดยทั่ ว ไป ผลงานที่ แ สดงออกในรู ป แบบของ โครงสร้างขนาดใหญ่ที่ลอยตัวอยู่กลางอากาศใน สภาพไร้น้ำ� หนัก เมื่อไม่นานมานี้ศิลปินจากเมืองโอซาก้ายังคง มุ่งมั่นความสนใจส่วนใหญ่ไปที่ผลงานศิลปะใน รูปแบบของภูมปิ ระเทศหรือทิวทัศน์ทเี่ ป็นนามธรรม เช่น การแสดงผลงานศิลปะชุด Reverse of Volume ซึ่งได้รับเกียรติให้จัดแสดงในแกลเลอรีที่มีชื่อเสียง ทั้งในประเทศนอร์เวย์ อิสราเอล และสหรัฐอเมริกา ผลงานชิ้นล่าสุด Shaping Air ถูกรังสรรค์ขึ้นใน โรงเก็บเครือ่ งบินใกล้กบั เมือง Stuttgart และน�ำแนว เส้นที่ลื่นไหลของเมอร์เซเดส-เบนซ์ CLA มาเป็น องค์ประกอบส�ำคัญของงานศิลป์ชิ้นเยี่ยมนี้ ด้วย ค่าแรงเสียดทานอากาศที่ต�่ำเพียง 0.22 ท�ำให้ ยนตรกรรมแบบ 4 ประตูคูเป้คันนี้เป็นรถยนต์ โปรดั ก ชั่ น ที่ มี รู ป ทรงเพรี ย วลมตามหลั ก อากาศ พลศาสตร์มากทีส่ ดุ ในโลก “มันเป็นบางสิ่งที่สื่อถึง สิ่งมีชีวิต รูปแบบของธรรมชาติ และหลักการด้าน อากาศพลศาสตร์ ผมคิ ด ว่ า สามารถพบความ สอดคล้องกับงานศิลปะของผมได้อย่างชัดเจน” Ohishi อธิบาย mb - qr . com /0 bz
30
เรื่ อ ง ผศ. ประเทื อ ง ครองอภิ ร ดี ภาพ วั ช ระชั ย ไตรอรุ ณ
E M O T I O N
อัมพวาในมิติที่ลึกซึ้งขึ้น มิ ใ ช่ แ ค่ ต ลาดน�้ ำ และหิ่ ง ห้ อ ย แต่คอื วิถชี วี ติ และวัฒนธรรมพืน้ ถิน่ ทีจ่ ะด�ำรงไว้ ให้ยงั่ ยืนอย่างพอเพียง ด้วยพระบารมีปกเกล้าฯ
31
จ
32
นถึงวันนี้ คนกรุงเทพฯ น้อยคนนักที่จะไม่เคยไป อั ม พวา เพราะอยู ่ ใ กล้ แ ละไปสะดวกเหลื อ เกิ น เราเพิ่ ง จะมองเห็ น ความส� ำ คั ญ ของอั ม พวาเมื่ อ ไม่นานมานีเ้ อง ทัง้ ๆ ทีอ่ มั พวาเป็นสถานทีท่ มี่ คี วาม ส�ำคัญในประวัติศาสตร์ไทย อย่างน้อยก็ต้ังแต่ ปลายสมัยอยุธยาต่อธนบุรี สมัยนั้นเรียกว่า “บาง ช้าง” โด่งดังคู่กับบางกอกในเรื่องความเป็นสวน ผลไม้ตา่ งๆ อันอุดมสมบูรณ์ พูดกันติดปากคนสมัย นั้นว่า “สวนในบางกอก สวนนอกบางช้าง” หรือ “บางช้างสวนนอก บางกอกสวนใน” บางช้างยังเป็นสถานทีเ่ สด็จพระราชสมภพของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ด้วย พระมารดาทรงเป็นชาวบางช้าง บริเวณที่เสด็จ พระราชสมภพ และเป็ น นิ ว าสถานเดิ ม ของ พระมารดา (สมเด็จพระอัมรินทราบรมราชินี) สมัย ที่ ยั ง ทรงเป็ น สามั ญ ชนชื่ อ นาค และพระบิ ด า (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า) สมัยที่ยังทรง เป็นหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ก็คือ วัดอัมพวา เจติยาราม ในปัจจุบันนี่เอง ความส�ำคัญของบางช้างหรืออัมพวาเป็นทีร่ กู้ นั อย่างจ�ำกัดภายในหมูน่ กั วิชาการ นักประวัตศิ าสตร์ และแฟนพันธุ์แท้ราชวงศ์จักรีเท่านั้น จนกระทั่ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โปรดฯ ให้สร้าง อุทธยาน ร. 2 ขึ้นเมื่อเกือบ 20 กว่าปีก่อน และให้ มีการแสดงโขนกลางแจ้งเป็นเทศกาลต่อเนื่องมา ทุกปี นับว่าเป็นการเปิดตัวอัมพวาให้เป็นที่รู้จัก แพร่หลายขึ้น มาเมื่อ 5-6 ปีที่แล้ว อัมพวาเริ่มฮิตฮ็อตยิ่งขึ้น ด้วย “ตลาดน�ำ้ ยามเย็น” ทุกวันศุกร์ วันเสาร์ และ วั น อาทิ ต ย์ ด้ ว ยมี ก ลุ ่ ม นั ก วิ ช าการจากคณะ สถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอทุน จากเดนมาร์กเข้าไปอนุรักษ์เรือนแถว ประตูบาน เฟี้ยมไม้ริมคลองอัมพวา ชาวอัมพวาก็ตื่นตัวขึ้น เห็น ความส�ำ คัญ ของเอกลัก ษณ์ ข องท้ อ งถิ่น ตน มีการฟืน้ ฟูตลาดน�ำ้ ขึน้ มาใหม่ ลูกหลานชาวอัมพวา ที่หนีไปท�ำงานท�ำการในกรุงเทพฯ เริ่มกลับมาท�ำ อะไรดีๆ ที่บ้านเกิดของตน แน่นอนอยู่แล้วว่าตั้งแต่นั้นมา อัมพวาก็เริ่ม เปลีย่ นแปลงเช่นเดียวกับสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วยอดนิยม ทัว่ ไป ในทางทีด่ บี า้ ง ทีน่ า่ เป็นห่วงบ้าง อย่างน้อย ความเป็นอยู่ของคนริมคลองก็เปลี่ยนไป ชาวบ้าน นั่งเลี้ยงลูกอยู่กับบ้านดีๆ ก็มีนักท่องเที่ยวมาเดิน ผ่านหน้าบ้าน สอดส่ายสายตาเข้ามาดูโน่นดูนี่ ถาม โน่นถามนี่ หาความสงบไม่ได้ ใหม่ๆ ก็สนุกดีหรอก พอนานๆ เข้าก็ออกจะร�ำคาญ เลยปิดประตูบาน
นิทรรศการห้องครัว พื้นถิ่นอัมพวา
ร้านชานชาลา
E M O T I O N
อัมพวา
เป็นสถานที่ที่มี ความสำ�คัญใน ประวัติศาสตร์ไทย อย่างน้อยก็ตั้งแต่ ปลายสมัยอยุธยา ต่อธนบุรี สมัยนั้น เรียกว่า “บางช้าง”
เฟี้ยมให้เหลือเปิดไว้ช่องเดียว ก็ยังมิวายมีคนเอา กล้องสอดเข้าไปถ่ายรูปอีก บางคนก็เลยเปลี่ยน วิ ก ฤติ เ ป็ น โอกาส ไหนๆ คนก็ เ ดิ น ผ่ า นอยู ่ แ ล้ ว หาอะไรมาขายเสียเลยก็ดีเหมือนกัน แต่ผู้อยู่เรือนแถวอนุรักษ์เหล่านี้ก็ไม่ใช่เจ้าของ เองไปเสียทั้งหมด บางคนก็มาเช่าเขาอยู่ ตอน อัมพวาไม่ดังค่าเช่าก็ถูกแสนถูก พอดังขึ้นมาก็มี คนต่างถิน่ อยากจะมาเช่าท�ำมาค้าขาย ท�ำโฮมสเตย์ ราคาค่าเช่าก็ย่อมสูงขึ้น คนเช่าเก่าสู้ราคาไม่ไหว ก็ย้ายออก นอกจากนั้นร่องสวนอันอุดมสมบูรณ์ ของ “สวนนอกบางช้าง” ก็คอ่ ยๆ เปลีย่ นเป็นอืน่ ไป เป็นเกสต์เฮาส์ โรงแรม และอื่นๆ อีกมากมาย เดชะบุญ...ด้วยบารมีของสมเด็จพระเทพรัตน์ฯ อี ก เช่ น กั น ที่ ยั ง มี ค หปตานี อั ม พวาผู ้ เ ห็ น ความ ส�ำคัญของการอนุรักษ์ความเป็นอัมพวาให้คงอยู่ คือ คุณป้าประยงค์ นาคะวะรังค์ น้อมเกล้าถวาย เรือนแถวไม้อนุรักษ์ริมคลอง 31 ห้อง รวมทั้งเรือก สวนที่อยู่หลังเรือนแถวอีก 21 ไร่ 3 วา แด่สมเด็จ-
พระเทพรัตน์ฯ ส�ำหรับ “มูลนิธชิ ัยพัฒนา” ต่อมามี คุณป้าผู้ใจบุญอีก 2 ท่าน คือ ป้าไก่ กับ ป้าก้อย ซึ่ ง มี ที่ อ ยู ่ ติ ด กั น ร่ ว มน้ อ มถวายที่ ส วนอี ก 5 ไร่ รวมทั้งสิ้นเป็น 26 ไร่ 3 วา ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนาจัดการบริหารพื้นที่ แห่ ง นี้ ต ามแนวพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว แนว “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ภูมิสังคม” อันสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน อั ม พวา โดยให้ ช าวอั ม พวาทุ ก คนมี ส ่ ว นร่ ว ม โครงการนี้มีชื่อว่า “อัมพวา-ชัยพัฒนานุรักษ์” เรือนไม้แถว 31 ห้อง ทางมูลนิธนิ ำ� มาใช้งานอยู่ เพียง 8 ห้อง โดยใช้ 3 ห้องเป็นห้องนิทรรศการ หมุนเวียน แสดงเรื่องราวและวิถีชีวิตของอัมพวา ตอนนี้ก�ำลังแสดงห้องครัวพื้นบ้านอัมพวา สาธิต การจักสานด้วยทางมะพร้าว และ “กะลาบรรเลง” ผลงานอาจารย์บรรเลง ศิลปินหัตถกรรมพื้นบ้าน ของชาวอัมพวา ซึ่งมีการออกแบบใหม่ๆ ที่เป็น เอกลักษณ์
ร้านค้าชุมชนที่ลานวัฒนธรรม
33
เดินลึกเข้าไปข้างหลังอีกจะมีรา้ น “ภัทรพัฒน์” เป็นร้านโครงการในสมเด็จพระเทพรัตน์ฯ จ�ำหน่าย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ่ ง เสริ ม อาชี พ จากภู มิ ป ั ญ ญาชาว สมุทรสงครามต่างๆ เช่น แป้ง เกลือจืด ของชาวนา เกลือ สบู่มะหาด น�้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ เครื่อง จั ก สานด้ ว ยทางมะพร้ า ว และสิ น ค้ า OTOP สมุทรสงคราม เดินลึกเข้าไปอีกจะเป็นร่องสวนมะพร้าวและ ลิ้นจี่ดั้งเดิมที่คุณป้าประยงค์ปลูกไว้ อนุรักษ์ไว้โดย ไม่เปลี่ยนแปลง เพียงแต่ปลูกตะไคร้ สะระแหน่ สมุนไพรต่างๆ เพิม่ ขึน้ เพือ่ ใช้ในโครงการ คนรุน่ หลัง จะได้รู้ว่าร่องสวนนั้นหน้าตาเป็นอย่างไร เดินเล่นในสวนอันร่มรื่นลัดเข้าไปอีกก็จะพบ โรงเคี่ยวน�้ำตาลมะพร้าวซึ่งเป็นอาชีพหลักเก่าแก่ ที่นี่ เป็นน�้ำตาลมะพร้าวแท้ๆ ไม่ปนน�้ำตาลทราย ไม่ผสมแบะแซ ใช้ไม้พะยอมแช่ในกระบอกเก็บ น�ำ้ ตาลแทนการใช้สารกันบูด น�ำ้ ตาลทีน่ จี่ งึ นิม่ และ ละลายเร็ว คุณภาพดี ราคาจึงสูงกว่าน�ำ้ ตาลทีข่ าย ทั่วไป ระหว่างเดินในสวนจะเห็นเฟอร์นิเจอร์ ม้านั่ง สะพาน ทางเดิน และสิ่งก่อสร้างประดับ ซุ้มไม้ไผ่ ออกแบบเก๋ไก๋แปลกตา ใช้ไม้เก่าๆ และวัสดุทอ้ งถิน่ เช่น ทางมะพร้าว เป็นฝีมอื ออกแบบและประดิษฐ์ โดย อ.บรรเลง อี ก เช่ น กั น จึ ง มี ก ลิ่ น อายของ หัตถกรรมพื้นถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว แม้อัมพวาจะเปลี่ยนไปตามกระแสนักท่องเที่ยวอย่างหยุดยั้งไม่ได้ แต่เราก็อุ่นใจได้ว่า อย่าง น้อยที่ “อัมพวา-ชัยพัฒนานุรักษ์” แห่งนี้ จะเป็น แหล่งทีร่ กั ษาจิตวิญญาณของอัมพวาแท้ๆ ไว้ให้คน รุน่ หลังได้เห็น ไม่เลือนหายลับไปกับกาลเวลา
อีกมุมหนึ่งของเรือนรับรองและร้านภัทรพัฒน์
3 ห้องท�ำเป็นร้านชานชาลา ขายอาหารว่าง เครื่องดื่มสมุนไพรที่ปลูกไว้ในสวนข้างหลังนี่เอง มีน�้ำตะไคร้ อัญชัญ และน�ำ้ สมุนไพรสูตรพิเศษชื่อ “ม่วงชืน่ ” เป็นน�ำ้ สูตรพระราชทานของสมเด็จพระเทพรัตน์ฯ สีม่วงของอัญชัญผสานกับความหอม จากตะไคร้ อมเปรี้ยวจากมะนาว และรสเย็นจาก สะระแหน่ น�้ ำ สี ม ่ ว งนี้ จึ ง ดื่ ม แล้ ว ชื่ น ใจสมชื่ อ พระราชทาน “ม่วงชืน่ ” จริงๆ ในร้านมีทนี่ งั่ มากมาย ส�ำหรับให้คนที่ซื้ออาหารจากเรือที่มาจอดขายตรง บันไดหน้าเรือนแถวน�ำเข้ามากินในร้านได้ ส่วน 2 ห้องถัดไปเป็นห้องแสดงและขายผลงานของครูเอือ้ สุนทรสนาน ครูเพลงเพชรน�้ำเอกของชาวอัมพวา ห้องแถวที่เหลือ 23 ห้อง ให้คนที่เช่าอยู่เดิมเช่า ต่อไป โดยมากก็พยายามหาของเล็กๆ น้อยๆ มา ขายให้นักท่องเที่ยว ขายน�้ำ ขายขนม ขายของ ที่ระลึกเป็นอาชีพเสริมดีกว่าอยู่เปล่าๆ หลังเรือนแถวท�ำเป็นลานวัฒนธรรม “นาคะ วรังค์” บริเวณร่มรื่นมีที่นั่งเล่น มีร้านค้าชุมชนขาย ของพื้นบ้านอัมพวาต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์จาก มะพร้าว จากไม้แสม ซึ่งเป็นวัสดุท้องถิ่น ขนม ของกินไทยโบราณต่างๆ เช่น ปัน้ สิบ ขนมเทียนสลัด งา รสชาติต้นต�ำรับแท้ มีเวทีส�ำหรับการแสดงพื้น บ้านต่างๆ ลูกหลานอัมพวาหมุนเวียนกันมาแสดง แขกมาเยือนก็บันเทิง วัฒนธรรมพื้นถิ่นก็ได้รับ การสืบสานไว้ไม่ให้สูญ ไม่ว่าจะเป็นดนตรีไทย หุน่ กระบอก ล�ำตัด เพลงพวงมาลัย เดินเทีย่ วเหนือ่ ย แล้ ว ก็ ใ ช้ บ ริ ก ารนวดแผนไทยได้ ยั ง มี เ รื อ นโถง เอนกประสงค์ส�ำหรับประชุมสัมมนา จัดกิจกรรม อบรมต่างๆ ได้อกี
ร้านปั้นสิบ
อาจารย์บรรเลงกับผลงานหน้าโรงเคี่ยวน�้ำตาลมะพร้าว 34
การเคี่ยวน�้ำตาล
เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง
ด้ ว ยเกี ย ร์ เ ดิ น หน้ า 9 จั ง หวะ ระบบส่งก�ำลังแบบอัตโนมัติรุ่นใหม่
จากเมอร์เซเดส-เบนซ์ เป็นพัฒนาการที่ก้าวหน้าขึ้นไปอีกระดับเพื่อ ความสนุกสนานในการขับขี่และประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้น สิ่งที่มาพร้อมกับ 9G-Tronic คือความนุ่มนวล การเปลี่ยนต�ำแหน่งเกียร์อย่างรวดเร็ว และการลดความสิ้นเปลืองน�้ำมันเชื้อเพลิงมากยิ่งขึ้น
4
มี
มีการกล่าวขานถึงระบบส่ง ก� ำ ลั ง แบบเกี ย ร์ อั ต โนมั ติ 7G-Tronic ว่าอาจจะให้ความ สนุกสนานในการขับขีเ่ มือ่ ใช้ ในฟังก์ชนั่ ของระบบส่งก�ำลังแบบเกียร์ธรรมดา เท่านัน้ แต่ ณ เวลานีก้ ารเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหม่ ล่าสุดพร้อมแล้วส�ำหรับการเป็นส่วนหนึ่งของ ความเป็นผูน้ ำ� ระบบส่งก�ำลังแบบเกียร์อตั โนมัติ 9G-Tronic เปิ ด ตั ว ครั้ ง แรกในโลกพร้ อ มกั บ เมอร์เซเดส-เบนซ์ E 350 BlueTec ประกอบด้วย เกียร์เดินหน้า 9 จังหวะและเกียร์ถอยหลัง 2 จังหวะ และทางเลือกของ 3 โหมดการขับขี่ Manual, Economy และ Sport ในโหมด Manual ผู ้ ขับ ขี่ส ามารถเปลี่ย นต�ำ แหน่ ง เกีย ร์ โ ดยใช้ คันเปลี่ยนเกียร์ที่พวงมาลัย ส่วนทางเลือก Economy และ Sport เป็นการส่งมอบการท�ำ หน้าที่ให้กับการควบคุมตามหลักเหตุผลอย่าง ชาญฉลาด ทัง้ นีป้ ระโยชน์สงู สุดจากการเปลีย่ น ต�ำแหน่งเกียร์ทรี่ วดเร็วนุม่ นวลจนผูข้ บั ขีแ่ ทบจะ ไม่รู้สึกถึงการท�ำงานที่เกิดขึ้นคือ การที่ผู้ขับขี่ ไม่ถกู แย่งความสนใจไปจากสภาพความเป็นไป เบื้องหน้า นอกจากนี้ระบบส่งก�ำลังแบบเกียร์ อัตโนมัติรุ่นนี้ยังช่วยประหยัดน�้ำมันเชื้อเพลิง ได้เพิ่มขึ้นถึง 6.5% อีกด้วย 36
3
i n n o v a t i o n
1 2
1 ผู ้ บุ ก เบิ ก
9 จังหวะเกียร์เดินหน้าและ 2 จังหวะเกียร์ถอยหลัง รถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ ทุกรุ่นจะใช้เทคโนโลยี ใหม่นี้ในอนาคตอันใกล้
2 การปรั บ เปลี่ ย น
ระบบส่งก�ำลังใหม่นี้ให้ทางเลือกของ 3 โหมด การขับขี่: Economy ให้การท�ำงานในรอบ เครื่องยนต์ต�่ำ ขณะที่โหมด Sport ให้การเปลี่ยน ต�ำแหน่งเกียร์สูงขึ้นช้าลง โหมด Manual ผู้ขับขี่เป็นผู้ตัดสินใจ
3 พลั ง ขั บ เคลื่ อ น
การเปลี่ยนต�ำแหน่งเกียร์แบบข้ามจังหวะมี ประโยชน์อย่างมากในกรณีที่ต้องการความ คล่องแคล่ว ปราดเปรียว และการเรียกอัตราเร่ง อย่างรวดเร็วในรอบเครื่องยนต์ปานกลาง
4 เบา
9G-Tronic รับแรงบิดได้สูงถึง 1,000 นิวตันเมตร นอกเหนือจากอัตราทดที่เพิ่มมาอีก 2 เกียร์ ยังมีเสื้อเกียร์ท�ำจากแมกนีเซียมอัลลอยและ อ่างน�้ำมันเกียร์พลาสติกท�ำให้มีน�้ำหนัก เบากว่าระบบเกียร์รุ่นก่อน IlLustration 500GLS
ความประหยั ด
อัตราทดที่ขยายให้กว้างขึ้นเป็นผลประโยชน์ หลักในด้านของประสิทธิภาพ ระบบส่งก�ำลัง 9-G Tronic ใหม่ยังช่วยสนับสนุนการท�ำงาน ของฟังก์ชั่น Eco start/stop ซึ่งตัดการท�ำงาน ของเครื่องยนต์โดยอัตโนมัติเมื่อจอดรอสัญญาณ ไฟจราจร หรือในสภาพการจราจรที่ติดขัด 37
ดาราฮอลลี วู ด ระดั บ ต� ำ นาน
กับรถยนต์ระดับต�ำนานเช่นกัน Tony Curtis กับ 300 SL ของเขาในปี ค.ศ. 1956
แ
ต่นกแร้งตัวใหญ่ตัวหนึ่งเกือบจะท�ำให้เรื่องราวของ อมตะคลาสสิกยนตรกรรมนี้จบลงก่อนที่จะทันได้ เริ่มต้นขึ้นเสียด้วยซ�้ำ ด้วยความเร็วเกือบ 220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในระหว่างการแข่งขันรายการ Carrera Panamericana ปี ค.ศ. 1952 นกแร้งขนาด ใหญ่ชนอย่างแรงเข้ากับกระจกบังลมหน้าด้าน ผู้โดยสารของเมอร์เซเดส-เบนซ์ 300 SL ที่ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ตั้งใจใช้เป็นสิ่งที่จะน�ำความส�ำเร็จ สูเ่ ส้นทางการแข่งขันความเร็วระดับชาติอกี ครัง้ หนึง่ โชคดีที่นกั แข่ง Karl Kling และ Hans Klenk ไม่ได้รบั บาดเจ็บ และสามารถกลับเข้าสู่การแข่งขันจน กระทั่ ง คว้ า ชั ย ชนะในการแข่ ง ขั น เป็ น ระยะทาง 3,100 กิโลเมตรครั้งนี้ได้ เป็นการวางพื้นฐานครั้ง ส�ำคัญอีกครั้งหนึ่งส�ำหรับความเจริญเติบโตของ ต�ำนานแห่งโลกยนตรกรรม ในสหรัฐอเมริกาผูค้ นทีน่ หี่ ลงใหลในรถแข่งและ ความส�ำเร็จในการแข่งขันของมัน ถึงขนาดที่ว่าผู้ น�ำเข้าในสหรัฐอเมริกาเรียกร้องให้มีการผลิตเป็น จ�ำนวนมากส�ำหรับเวอร์ ชั่นที่ส ามารถใช้งานได้ อย่างถูกต้องบนถนนทั่วไป ซึ่งเมอร์เซเดส-เบนซ์ เห็นด้วยกับข้อเรียกร้องนี้ และได้ผลิต 300 SL เครื่องยนต์ 1,400 ซีซี ในระหว่างปี 1954 ถึง 1957 ส�ำหรับค�ำว่า SL นอกจากจะสื่อถึงรถยนต์ที่มี
รสนิยมหรูหราส่วนตัว
ประตู แ บบปี ก นก ท�ำให้เป็นที่ชื่นชอบของเหล่าดารา
เช่นเดียวกับการที่ดาราต้องคู่กับรถสปอร์ต ถึงแม้ว่าจะมี ระยะเวลาการผลิตเพียงแค่ 3 ปี แต่เสน่ห์ของ 300 SL Coupé ยังคงเห็นได้อย่างชัดเจนในรถยนต์สมัยใหม่ในทุกวันนี้ นั ก การเมื อ ง
Ali Aga Khan เจ้าชาย ชาวปากีสถานและอดีต สามีคนหนึ่งของ Rita Hayworth ถ่ายภาพ ร่วมกับ 300 SL ในประเทศเวเนซูเอล่า ในช่วงทศวรรษที่ 50s 38
นั ก แข่ ง รถ
ต�ำนานนักแข่งฟอร์มูล่า 1 Stirling Moss เป็นนักแข่ง ของทีมเมอร์เซเดส-เบนซ์ ในปี ค.ศ. 1955 แต่ก่อน หน้านั้นเขาได้ถ่ายรูป ร่วมกับ 300 SL เป็นครั้งแรกเป็น
วาทยกร
Herbert von Karajan วางท่าถ่ายรูปร่วมกับ 300 SL ของเขาใน เมืองลูเซิร์น ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ปี ค.ศ. 1957
l e g e n d s
คู ่ ใ นฝั น กั บ รถยนต์ ใ นฝั น :
Zsa Zsa Gabor ใน 300 SL กับแฟนหนุ่ม ในเวลานั้น Porfirio Rubirosa
photos Actionpress, images.de/Fotofinder, Interfoto (2), API, AKG _ Images, Reflex, DDP Images, Corbis words christoph henn
250
กิโลเมตรต่อชั่วโมง อาจจะยังไม่เพียง
พอที่จะสร้างความประทับใจให้กับหญิงสาว Porfirio Rubirosa ทำ�ให้มาตรวัดความเร็ว แสดงตัวเลขสูงสุดถึง 360 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
Rosie Huntington Whiteley
(ซ้ายมือ) ออกมาจาก SLS AMG ในภาพยนตร์เรื่อง Transformers ตอน Dark of the Moon เพื่อนนักแสดง Clive Owen (ภาพบน) เข้าร่วมทดสอบรถยนต์ SLS AMG ที่เป็นเซฟตี้คาร์ในปี ค.ศ. 2010
ดาราตลกชั้ น น� ำ
Eddie Murphy ไม่เพียง แต่พูดเร็วปรื๋อเหมือน ในภาพยนตร์ บุคลิก ส่วนตัวที่รวดเร็วของเขา ยังรวมถึงเมอร์เซเดสเบนซ์ SLS AMG
น�ำ้ หนักเบาเป็นพิเศษแล้วยังหมายถึงการใช้แชสซีส์ แบบท่อสเปซเฟรมทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เป็นพิเศษส�ำหรับ SL ที่เป็นรถแข่งของ Rudolf Uhlenhaut เพื่อที่จะท�ำให้ รถมีนำ�้ หนักเบาขึน้ ความต้องการของแชสซีสแ์ บบนี้ ยั ง ถู ก ถ่ า ยทอดต่ อ มายั ง เวอร์ ชั่ น รถถนนนี้ ด ้ ว ย และเป็นจุดก�ำเนิดของคุณลักษณะที่โดดเด่นเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวมากทีส่ ดุ ของคลาสสิกยนตรกรรม โมเดลนี้ นัน่ คือ ประตูแบบปีกนก โดยทีป่ ระตูจะเปิด ออกจากต�ำแหน่งความสูงระดับเอว ยกตัวตรงขึ้น ด้านบนเหมือนกับปีกของนกทีย่ ดื สยายออกงดงาม นัน่ เป็นสาเหตุวา่ ท�ำไมในสหรัฐอเมริกาและฝรัง่ เศส ถึงได้เรียกประตูนี้ว่าประตูปีกนกนางนวล และปีก ผีเสื้อตามล�ำดับ นอกเหนือไปจากนี้การผลิตใน จ�ำนวนจ�ำกัดยังท�ำให้สปอร์ตคูเป้โมเดลนี้มีความ เป็นอมตะคลาสสิกจนถึงทุกวันนี้ ในปี 2009 เมอร์เซเดส-เบนซ์ ได้แนะน�ำโลก ยนตรกรรมให้รู้จกั กับ SLS AMG Coupé และล่าสุด การปรากฏตัวของประตูปกี นกใน SLS AMG Electric
Drive ซูเปอร์คาร์ท่ปี ราศจากการปล่อยไอเสียอย่าง สิ้นเชิง และแน่นอนซูเปอร์สปอร์ตคาร์คันใหม่นี้ได้ สืบสานความยอดเยี่ยมของ 300 SL ให้ด�ำรงคงอยู่ ต่อเนือ่ งต่อไป อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับบรรพบุรษุ ของ ซูเปอร์คาร์คันนี้แล้ว ไม่เฉพาะกับการออกแบบ ภายนอกที่เป็นจุดสนใจของผู้พบเห็นเท่านั้น แต่ยงั รวมถึงสิ่งที่อยู่ภายใต้ฝากระโปรงหน้า เครื่องยนต์ 215 แรงม้าของ 300 SL ในยุคนัน้ อาจยังไม่เพียงพอ กับความต้องการความร้อนแรงรวดเร็วของใครบางคน และเพื่อจะเอาใจหรือสร้างความเร้าใจให้กับเพื่อน ร่วมทางที่เป็นสุภาพสตรีก็แล้วแต่ Porfifiro Rubirosa จึงได้ดดั แปลงมาตรวัดความเร็วใน 300 SL ของเขา ให้มีตัวเลขความเร็วสูงสุดถึง 360 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง! Rubirosa พร้อมกับหนุม่ เพลย์บอยเพือ่ นของเขา Gunther Sachs และดาราภาพยนตร์ชื่อดังอย่าง Tony Curtis, Sophia Loren, Gina Lollobrigida และ Romy Schneider รวมไปถึงคนดังคนมีชื่อเสียงใน วงสังคมอีกเป็ นจ�ำนวนมากล้ วนแต่จับจองเป็น เจ้าของ 300 SL gullwing ซึ่งไม่น่าแปลกใจเลย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รถยนต์โมเดลนีม้ คี วามเร็วและ ความมีเสน่ห์เท่านั้น แต่ยังมีราคาที่ค่อนข้างจะ ย่ อ มเยาส� ำ หรั บ พวกเขา ด้ ว ยราคาค่ า ตั ว เพี ย ง 29,000 มาร์กเยอรมนี ซึ่งสูงกว่าราคาเมอร์เซเดสเบนซ์ 220 S sedan สองคันรวมกันเพียงเท่าเดียว เท่านั้น ปัจจุบันชื่อที่เรียกขานว่าสปอร์ตคาร์แห่ง ศตวรรษถูกน�ำมาใช้ในปี 1999 และมีสว่ นท�ำให้ราคา ค่าตัวของ 300 SL gullwing อมตะคลาสสิกคาร์ สูงขึ้นอย่างเหลือเชื่อ พิสูจน์ได้จากช่างซ่อมรถ คนหนึ่งซึ่งได้พบพานเข้ากับตัวเองในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 2013 ช่างซ่อมรถวัยเพียง 26 ปีผู้นี้นำ� รถ 300 SL คันหนึ่งออกไปทดสอบหลังการเข้ารับ บริการ โชคไม่ดที เี่ ขาดันขับรถคันนีต้ กลงไปในคูนำ�้ ตัวเขาเองไม่ได้รับบาดเจ็บอะไร แต่รถยนต์ในฝัน อายุเกือบ 60 ปีคันนี้คิดค่าเสียหายแล้วหากจะ ซ่อมแซมให้กลับอยู่ในสภาพเดิมตกอยู่ที่ 650,000 < เหรียญยูโร!
นั ก แข่ ง ฟอร์ มู ล ่ า 1 Nico Rosberg ไปร่วม งานราตรีสโมสรพร้อม กับสิ่งส�ำคัญคู่กาย SLS AMG 571 แรงม้า
39
น่านคือสิเนหาของ
บัณฑูร ล�่ำซ�ำ
ในดวงตา ของบัณฑูรมีแววฝันแต่หมายมัน่ มีรอยยิม้ ละมุนทุกครัง้ ทีเ่ อ่ยค�ำว่า “น่าน” น่านนี้มีมนตรา...ฉันคนนี้รักเมืองน่าน...
40
เรื่ อ ง รั ศ มี ด ารา ภาพ ปราลี , วั ช ระชั ย ไตรอรุ ณ
c h a r a c t e r s
างวรรคในบทเพลง ‘คิดถึงน่าน...คิดถึง เธอ’ ที่แอ๊ด คาราบาวแต่งและร้องให้ ในวันเกิดครบรอบ 60 ปี ของคุณบัณฑูร ล�ำ่ ซ�ำ คือความหมายจากหัวใจทัง้ ดวงของผูช้ ายคนนี้ CEO แห่งแบงก์กสิกรไทย ที่วันนี้ใครๆ ก็ต้องหา หนังสือนิยาย ‘สิเนหามนตาแห่งลานนา’ มาอ่าน ด้วยความทึง่ ฉงนสนเท่หว์ า่ คุณบัณฑูรเขียนนิยายรัก เองจริงๆ หรือนี่ เป็นไปได้อย่างไรทีน่ ายแบงก์ระดับนี้ ซึง่ สมองและความคิดมีแต่ตวั เลขทางการเงิน จะจับ ปากกามาเขี ย นหนั ง สื อ เป็ น นิ ย ายรั ก ที่ แ สนจะ โรแมนติก เอ่อ...จะว่าไปแล้วอีโรติกมากกว่า แต่หากมีใครสงสัย ขอยืนยันได้วา่ เขาเขียนเอง ทุกตัวอักษร ต้นฉบับลายมือทีย่ งุ่ และอ่านยากเหลือ ก�ำลัง ยังเก็บไว้ให้ DSI ตรวจสอบได้ทกุ แผ่น สิเนหามนตาแห่งลานนา ผูกเป็นนิยายรักที่ นางเอกกลับชาติมาเกิดเป็นรุ้งราตรี เดินทางไป เทีย่ วน่าน เจ็ดวันเจ็ดคืนทีน่ า่ น คุณบัณฑูรเล่าถึงน่าน เทีย่ วน่านอย่างทะลุปรุโปร่ง ผ่านสายตาของรุง้ ราตรี อย่างชนิดที่นักท่องเที่ยวควรใช้เป็นคู่มือเที่ยวน่าน ได้ อ ย่ า งมี อ รรถรสเพลิ ด เพลิ น ให้ ส าระความรู ้ มากมาย แต่ละสถานที่และเหตุการณ์ที่รุ้งราตรี ประสบพบเห็นที่น่าน นิยายจะร้อยเรื่องให้ผูกโยง ไปในอดีตกว่า 600 ปีทผี่ า่ นมา เรือ่ งราวความรักของ รุ้งราตรีคือมะไฟและพญาผาสุริยา รักนั้นไฉนเป็น โศกนาฏกรรม ที่สุริยาจ�ำเป็นต้องประหารมะไฟ วงวรรณกรรม รับประกันและกด Like ให้สิเนหา มนตาแห่งลานนา เป็นนิยายที่อ่านสนุกจนวาง ไม่ลงตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย หากใครได้หยิบอ่าน แม้ผา่ นไปไม่ถงึ สิบหน้า ก็ จะลืมข้อฉงนตั้งแต่ต้นว่า คุณบัณฑูรเขียนเองหรือ เพราะทุ ก การบรรยาย ทุ ก ค� ำ พู ด ทุ ก ความคิ ด
อยากรู ้ จั ก บั ณ ฑู ร อยากรู้เรื่องน่าน อ่าน ‘สิเนหามนตา แห่งลานนา’ เขียนโดย คุณบัณฑูร ล�่ำซ�ำ
สิเนหามนตาแห่งลานนา ผูกเป็นนิยายรัก
ที่นางเอกกลับชาติมาเกิดเป็นรุ้งราตรี เดินทางไปเที่ยวน่าน เจ็ดวันเจ็ดคืนที่น่าน
สิ เ นหามนตาแห่ ง ลานนา นวนิยายเรื่องแรกของ คุณบัณฑูร ล�่ำซ�ำ
ทัศนคติการมองโลก มองชีวติ มองปัญหาบ้านเมือง ข้อคิดทางธรรมะ ทั้งหมดคือตัวตนของคุณบัณฑูร ล�่ำซ�ำ ที่แสดงผ่านตัวละคร ทั้งพระเอกนางเอก เพื่อนนางเอก เพื่อนพระเอก ยกเว้นผู้ร้าย...ไม่ใช่ บัณฑูร พญาผาสุริยา จากไปแล้วเมื่อ 600-700 ปี วิญญาณรักยังคอยให้รุ้งราตรีกลับมาที่น่าน มาให้ ผาสุริยาเอ่ยค�ำขอโทษ หรือมาด้วยสัญญาของ พญาผาสุริยา ที่ให้สัญญาไว้ก่อนจากไปว่า “ช่วย กันรักษาลานนานันทบุรี ในภายภาคหน้า ตนเป็นเจ้า จะกลับมาท�ำงานต่อให้จบตามหน้าที่...” วันนี้ พ.ศ. นี้ ใครๆ ก็รวู้ า่ คุณบัณฑูรรักเมืองน่าน อย่างทีแ่ อ๊ด คาราบาว เขียนไว้ให้วา่ “ในดวงใจของ ผู ้ ช ายคนหนึ่ ง มี ค วามงาม ความรั ก ความฝั น ประทับไว้ในแผ่นดินชือ่ น่าน เมืองโบราณทีเ่ หลืออยู่ แห่งเดียว...” คุณบัณฑูรเอ่ยถึงสิ่งที่ตั้งใจจะท�ำให้น่าน เมือง ที่เขารัก ในแววตาฝันๆ แต่มุ่งมั่นว่า “รักน่านต้อง รักษ์ป่าน่าน ทุกวันนี้ ป่าไม้เมืองน่านถูกตัดท�ำลาย จนโล้นหมด อนาถใจมาก” พญาผาสุรยิ าถ่ายทอด จิตวิญญาณให้บณ ั ฑูร “กลับมาท�ำงานที่น่านต่อ” กระมัง 41
c a r t o o n
42
คุณชัยวัฒน์ จงพัฒนากิจเรือง
เสียงดีที่สุดในโลก เป็ น เรื่ อ งเหนื อ จิ น ตนาการไม่ เ บา ที่มีผู้น�ำเอา ‘ล�ำโพง’ ซึ่งเคยหลบมุมอยู่ข้างๆ มาปรากฏตัวบนเวที ในต�ำแหน่งที่แทบไม่ต่างไปจากนักดนตรีคนหนึ่ง
แ
44
ละร่ ว มกั น สร้ า งสรรค์ คุ ณ ภาพเสี ย งชั้ น เยี่ ย มแก่ ผู้ชมในคอนเสิร์ตฮอลล์ให้ตะลึงงัน เพราะหาก หลับ ตาฟัง อาจแยกไม่ออกว่า นี่คือเสีย งดนตรี บรรเลงสดหรือเสียงที่ถ่ายทอดออกมาจากล�ำโพง อีกทีกันแน่ คุ ณ ภาพเสี ย งใกล้ เ คี ย งกั น มาก...ใช่ แ ล้ ว ! เนือ่ งจากล�ำโพง Isophon ได้รบั การยกย่องว่า ‘เสียง ดี ที่ สุ ด ในโลก’ จากการจั ด อั น ดั บ ของนิ ต ยสาร Stereoplay ประเทศเยอรมนี และคุณชัยวัฒน์ จงพัฒนากิจเรือง ผูบ้ ริหารกลุม่ ปิยะนัสฯ กรุป๊ คือ ผู้อยู่เบื้องหลังการประชันเสียงขั้นเทพดังกล่าวเป็น ครั้งแรกของโลก ทั้งยังได้สิทธิ์ในการจ�ำหน่ายแต่ เพียงผู้เดียวในประเทศไทย รวมถึงแบรนด์ไฮเอนด์ อย่าง Accustic Arts และ Octave อีกด้วย “ผมมีความชืน่ ชอบและเชือ่ มัน่ ในแบรนด์สนิ ค้า ของเยอรมัน ยอมรับว่า หลงใหลในยนตรกรรม เมอร์เซเดส-เบนซ์ ซึ่งไม่มีใครปฏิเสธว่าเป็น The Best และเป็นแรงบันดาลใจท�ำให้ผมศึกษาและน�ำ เข้าเครือ่ งเสียงจากเยอรมันมาท�ำตลาดในเมืองไทย เรื่ อ ง สุ ภ าวดี ใหม่ สุ ว รรณ์ ภาพ พี ร เชษฐ์ นิ่ ว บุ ต ร
เสียงดนตรีดีๆ ไพเราะ
ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย ทำ�ให้เราเป็นคนใจเย็น อารมณ์ดี และสุภาพ
ด้วยมั่นใจในคุณภาพเสียงที่สมบูรณ์แบบ ความ สวยประณีตของตัวเครือ่ ง ซึง่ ผลิตแบบประกอบมือ ทุกชิ้น” คุณชัยวัฒน์ยงั เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเครือ่ งเสียง คุณภาพเยีย่ มอย่าง Burmester ซึง่ เมอร์เซเดส-เบนซ์ เลือกติดตั้งเป็ นอุปกรณ์ มาตรฐานพร้อมล�ำโพง 10 ชิ้นในยนตรกรรม S-Class ใหม่ ผู้ที่ชื่นชอบ ฟังเพลงไปพร้อมกับการขับรถคงจะเป็นปลืม้ ทีเดียว ทั้งยังอัพเกรดเป็น Burmester 3D-Surround Sound ได้หากต้องการเพิ่มความสุนทรียของเสียงที่ดีที่สุด ระดับคอนเสิร์ตฮอลล์แม้อยู่ภายในห้องโดยสาร รถยนต์คนั หรูก็ตาม
นอนจงกลม บ้ า นบนต้ น ไม้ ได้พัฒนารูปแบบไปไกลมากในปัจจุบัน ให้หรูหราขึ้น หรือไม่ก็ให้ดูผจญภัยมากขึ้น และให้ดูแตกต่างจากห้องโรงแรมทั่วไป เดี๋ยวนี้เรามีเต็นท์แบบรังไหม ซึ่งเป็นการผสมกันระหว่างเต็นท์กับเปลแขวน ภายในมีที่นอนกลม 2 ชั้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร รังไหมแขวนลอยกับต้นไม้ด้วยสายเคเบิ้ลเหล็ก ยามลมพัดมาก็จะไกวกล่อม ให้หลับสบาย ต่างกับบ้านบนต้นไม้ที่โครงสร้างยึดแข็ง ห้องนอนกลมนี้สามารถปลดย้ายไปแขวนที่ไหนก็ได้ โดยที่คุณไม่ต้องปีนต้นไม้เองเป็นลิง เพื่อขึ้นไปแขวนเจ้าเต็นท์ที่หนักถึง 120 กิโลกรัม บริษัทฝรั่งผู้ผลิตเข้าบริการติดตั้งให้ มันเป็นค�ำตอบที่รอบด้านส�ำหรับการนอนกลางแจ้ง c o c o o n t r e e . c o m 46
E m o t i o n
Patricia Urquiola เธอเป็นสถาปนิกที่ผันมาเป็น นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์แนวหน้า แห่งศตวรรษที่ 21 ผลงานของเธอ ประหนึ่งวรรณกรรมเด่นที่ใช้สอย ได้ดีด้วย
G a s t r o n o m y
ซูชิเมืองแซมบ้า
photos Cocoontree (1), Adriá Goula (2), Fontanaarte (2) ILlustration Lyndon Hayes
นั ก ออกแบบหญิ ง ชาวสเปน เกิด ค.ศ. 1961 ออกแบบให้บริษัท เฟอร์นิเจอร์ชื่อดัง เช่น Moroso, Alessi, Flos B&B Italia นับว่า ไม่ธรรมดา หลายปีที่ผ่านมานี้ เธอมี ผลงานออกแบบให้โรงแรมดังๆ มากมาย เช่น Mandarin Oriental ใน Barcelona และ W Vieques ใน Puerto Rico ซึ่ง Patricia ให้จ�ำกัด ความสไตล์ของงานเธอว่า “เรียบง่าย รูปทรงมีเสน่ห์ และมีรายละเอียดที่ สนุกสนาน” เช่น ผิวของเก้าอี้ Antibodi lounge chair มีกลีบดอกไม้ 3 มิติ เย็บติดลงไปด้วย พรมชิ้นในงานชุด Mangas เด่นด้วยการทอด้ายหลาย หลากสี ‘ฉันชอบใส่วิญญาณให้สิ่งของ” เธออธิบายถึงเหตุผลที่ใช้ความทรงจ�ำ ร�ำลึกเป็นองค์ประกอบหลักในผลงาน ของเธอ “งานทุกชิ้นของฉันเริ่มจาก ความทรงจ�ำ แล้วคิดถ่ายทอดด้วย วิธีใหม่” ดังนั้นเปลของลูกสาวเมื่อยัง เป็นทารกจึงกลายมาเป็นเก้าอี้ออฟฟิศ ของเธอ สิ่งต่างๆ ในอดีตมีบทบาท ส�ำคัญอย่างมากในการออกแบบ ของเธอ และเธอก็ไม่คิดฝันถึงอนาคต “การตั้งเป้าหมายคือการสร้างความ กดดัน สิ่งที่ดีที่สุดและส�ำคัญที่สุด ในชีวิตฉันไม่ใช่เป้าหมาย แต่กลับเป็น สิ่งที่มันเกิดขึ้นกับเรา เราควรจะเปิดใจ รับมันเสมอ” เธอสรุป
ภัตตาคาร Ikibana Paralelo แหวกแนวด้วยรสชาติแบบผสมผสาน ระหว่างอาหารบราซิลกับญี่ปุ่น อาทิเช่น เมนู São Paulo Way หรือวิถีแห่ง São Paulo มันคืออูรามากิ ซูชิกับสับปะรดราดคาราเมล ตกแต่งภายในร้านใหม่โดยบริษัท สถาปนิก El Equip Creativo ซึ่งได้แรงบันดาลใจในการออกแบบจากการจัดดอกไม้ แบบญี่ปุ่นผสานกับป่าฝนของบราซิล เส้นแถบไม้เลื้อยขึ้นสานขัดกันเป็นลายเพดาน ในขณะที่บังตาหน้าร้านจัดต้นไม้ประดับแบบอิเคบานะของญี่ปุ่น i k i b a n a . e s
Barcelona
ดีไซเนอร์แรกผลิ ดอกไม้ บานรับแสงอาทิตย์ ตรงข้ามกับดอกไม้โคมไฟตั้งโต๊ะ ‘Blom’ ซึ่งออกแบบโดย Andreas Engesvik ชาวนอร์เวย์ มันจะเปล่งแสงสว่างขึ้นเมื่อคุณ ขยับกลีบของมันเข้าหากัน กลีบดอกซึ่งหมุนปรับได้ ท�ำด้วยพลาสติกที่ไม่ร้อน ตอนเปิดไฟ ส�ำหรับปรับแสง ให้สว่างมากน้อยได้ตามอารมณ์ fon ta na a rt e .com
47
“ กฎเกณฑ์
ศิลปะอันบางเบา
L OS AN G E L ES
ศิลปะติดตั้งของศิลปิน James Turrell ใช้เนื้อที่ว่างเปล่าย้อม ด้วยแสงสีที่เปลี่ยนไป เรื่อยๆ เป็นงานศิลป์ ที่ ไร้ตัวตน จับต้อง ไม่ได้ แต่ดูจริงมาก ผลงานย้อนอดีต ของศิลปินอเมริกันผู้นี้ จัดแสดงใน L.A.
และความคิด สร้างสรรค์มีความ สำ�คัญในการ สรรค์สร้างสรรพสิง่ แต่ที่สำ�คัญกว่าคือ ความกล้า ที่จะเสี่ยง”
l acm a .org
m aya a n g e lo u
D e s i g n
เมื่อแมลงตายโดยธรรมชาติ Chan เปลี่ยนให้มันเป็นเครื่องประดับ
ขุมทรัพย์
นั ก เขี ย น
L ON D ON ผลงานออกแบบ เครื่องประดับและศิลปวัตถุของ Anabela Chan เป็นการ ผสมผสานศิลปะกับธรรมชาติ แมลงปีกแข็งล�ำตัวหล่อด้วย ทองแล้วติดปีกจริงของมัน หรือไม่ก็ดอกไม้ที่กลีบท�ำจาก ปีกผีเสื้อดูน่ามหัศจรรย์มาก ราวกับเสกด้วยเวทมนตร์ a na bel ach a n.com
เย็นแบบ ‘คูล’ V I ENNA เมืองหลวงของออสเตรียมีไอศกรีมพาร์เลอร์ ชื่อ Veganista สำ�หรับชาว Vegan หรือมังสวิรัติที่ไม่กิน นม เนย และไข่ด้วย ไอศกรีมที่นี่ไม่ใช้นม มีรสหลากหลาย เช่น ช็อกโกแลต วานิลลา สตรอว์เบอร์รี่ ส้ม-แซฟฟรอน และเชอร์เบตโหระพา เป็นอาทิ v e g a n i s t a . a t
P H OTO G R A P H Y
ความอจีรังใส่กรอบ ช่างภาพชาวฝรั่งเศส Thomas Jorion ถ่ายภาพอาคารไร้ผู้คน เช่น อนุสรณ์สถาน Bulgarian Buzludzha (ภาพบน) ภาพของเขาดูนิ่งเหมือนกาลเวลาถูกแช่แข็งเอาไว้ ราวกับว่าเขาเป็นมนุษย์อมตะ คนแรกที่เหยียบย่างสู่อาคารที่ถูกทิ้งร้าง t h o m a s j o r i o n . c o m PAR I S
48
E m o t i o n
ประเทศไทย เนื้อหาจากปกหน้าถึงปกหลัง
The Library resort
รับประกันว่าปัญญาจะบรรเจิด ที่ห้องสมุดของโรงแรมอันสว่างไสว (ซ้ายและบน)
phOTOS Laif; Anabel Chan (2); DPA Picture Alliance; Thomas Jorion, Designhotels (4)
รีสอร์ทบนเกาะสมุยที่เป็นห้องสมุดสมชื่อ สำ�หรับวันหยุดแห่งเรื่องราวและนิยาย ไม่ต้องไปหาที่ไหนอื่นไกล เกาะสมุ ย โรงแรมนี้แม้ตัว
สถาปัตยกรรมเองก็เปรียบได้กับ หนังสือรูปแบบเรียบง่ายที่จุเนื้อหา หลากหลาย บ้านบังกะโลสวีท และบ้านห้องนอนเดี่ยวรูปทรงสี่เหลี่ยม รายเรียงไปตามทาง เชื่อมจากถนน ที่คึกคักสู่อาคารหลักสีขาวสว่าง ซึ่งมีสระว่ายน�้ำปูกระเบื้องสีแดง เจิดจ้า และมีทะเลเป็นฉากหลัง ดุจดั่ง วรรณกรรมที่ดี The Library แห่ง เกาะสมุย น�ำแขกให้หลงใหลในเนื้อหา โดยปิดประตูให้ลืมโลกภายนอก บาร์ของโรงแรมมองลงสู่ถนนเลียบ หาดเฉวงอันคึกคัก ซึ่งเที่ยวได้ทั้งคืน ยันรุ่ง มีแผงลอยขายอาหาร ผับ และ บาร์มากมาย ตัวรีสอร์ทเองกลับ แผ่ซ่านไปด้วยความสงบสงัดลึก เสียงรบกวนมีเพียงเสียงของนก ขุนทอง และเสียงคลื่นทะเลเบาๆ
ทุกห้องมี Imac พร้อมอินเทอร์เน็ต แม้ว่าบางคนไม่เคยใช้มัน แต่ก็อุ่นใจ แค่รู้ว่าจะ ‘ออนไลน์’ ได้ทุกเมื่อ การตกแต่งแบบลดทอน (Mimimalist) เรียบง่าย เพื่อไม่ให้เบนความสนใจจาก ความสงบ เก้าอี้นอนเล่นริมหาดขนาด ใหญ่และนุ่มสบาย มันคือโซฟานอน เล่นดีๆ นั่นเอง แม้บรรยากาศจะ ผ่อนคลายปานนี้แล้ว ใครยังสงบใจ ไม่ได้ก็เชิญไปห้องยิม ออกก�ำลังไป มองทะเลไป หรือแวะเยี่ยมห้องสมุด ของโรงแรมซึ่งมีหนังสืออ่าน และ หนังสือภาพมีค่า ทั้งภาษาอังกฤษ เยอรมนี สเปน และฝรั่งเศส เหนือสิ่งอื่นใด 3 ค�ำ ที่ท�ำให้วันหยุด สุขสันต์คือ แดด ทะเล และการอ่าน (หนังสือดีๆ) t h e l i b r a r y. c o .t h
Suite’ เนื้อที่ 102 ตารางเมตร (ขวา) พร้อม Jacuzzi และเตียงใหญ่พิเศษ
งานศิ ล ปะและอาหาร ใช้สมาร์ทโฟนสแกน QR Code เพื่อดูรายละเอียดได้ทุกหัวเรื่อง
mb - qr . com /0cg
49
สุดขีดพลังงานไฟฟ้า 50
เรื่ อ ง M i c h a e l M o o r s t e dt ภาพ Da n i e l I n fa n g e r
D R I V E
ซู เ ปอร์ ส ปอร์ ต คาร์ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ท รงสมรรถนะมากที่ สุ ด ในโลก
ร่วมสร้างประสบการณ์สุดประทับใจในการแข่งขันรายการ Trans-Alpine ขณะที่การเลือก รถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ โมเดลอื่นมีส่วนช่วยสนับสนุนให้ระบบขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า เป็นอีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับความสนุกสนานในการขับขี่ 51
เ
ส้นทางที่คดเคี้ยวบนเทือกเขาแอลป์ในประเทศ ออสเตรียเป็นจุดนัดพบระหว่างอดีตกับอนาคต และท่ามกลางวิวทิวทัศน์ทงี่ ดงาม คือความสวยงาม สะดุดตาของเมอร์เซเดส-เบนซ์ 300 SL สีบรอนซ์ เงิน ยนตรกรรมที่เป็นที่หมายปองของผู้คลั่งไคล้ ลุ่มหลงในโลกยานยนต์มาเป็นเวลาเนิ่นนานกว่า 50 ปี ฝากระโปรงหน้าทีย่ นื่ ยาวน�ำสายตาของความ ชืน่ ชมให้หลงใหลไปกับโครงร่างของตัวรถทีล่ น่ื ไหล อย่างนุ่มนวล ขณะที่ประตูแบบปีกนกเสมือนกับ การท้าทายให้ผขู้ บั ขีเ่ ลือ่ นตัวเข้าสูต่ �ำแหน่งทีน่ งั่ โดย ปราศจากความลังเล แต่เสียงค�ำรามอย่างกึกก้อง ดุดันเมื่อเครื่องยนต์ท�ำงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็ น สิ่ ง ที่ คุณ จะไม่ ไ ด้ ยิ น จากซู เ ปอร์ ส ปอร์ ต คาร์ สุด วิเ ศษของเมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ คัน นี้ โลกแห่ ง อนาคตมาพร้อมกับเสียงที่ประทับใจในอีกรูปแบบ หนึ่งคล้ายเสียงฮัมเบาๆ แต่เปี่ยมด้วยสมรรถนะ และประสิทธิภาพ โลกแห่งอนาคตที่ปรากฏตัวขึ้น ในปัจจุบนั กาลนีค้ อื SLS AMG Coupé Electric Drive ที่เอิบอาบเรือนร่างไว้ด้วยสีนำ�้ เงินเมทัลลิกแวววาว การหยุดพักชัว่ คราวระหว่างการแข่งขัน Silvretta E-Rally ครั้งที่ 4 ในแคว้น Montafon ของประเทศ ออสเตรียจากการแข่งขันทั้งหมดเป็นระยะเวลา 3 วัน เป็นการรวมตัวของยนตรกรรมทีข่ บั เคลือ่ นด้วย พลังงานไฟฟ้าเป็นจ�ำนวนถึง 20 คัน รวมถึงเมอร์เซเดส-เบนซ์ SLS พลังงานไฟฟ้าคันนี้ด้วย ส�ำหรับ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ได้รับเกียรติให้ร่วมงานครั้งนี้ ในฐานะผู้ผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุด
สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง อ� ำ นาจ SLS พลังงานไฟฟ้าใช้ ประตูแบบปีกนกเช่นเดียวกัน
ราชั น ย์ แ ห่ ง ขุ น เขา
แรงม้า 552 กิโลวัตต์และแรงบิด 1,000 นิวตันเมตรเพียงพอส�ำหรับ ต�ำแหน่งชัยชนะในทุกระดับชั้น
ก้าวที่มั่นคงของการขับเคลื่อน ด้วยพลังงานไฟฟ้า 1969
หลังจากการประดิษฐ์คิดค้นแบบ ทีเล่นทีจริงในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เมอร์เซเดส-เบนซ์ เริม่ ต้นการค้นคว้า พัฒนาอย่างจริงจังในด้านของระบบ ขับขี่ทางเลือก ด้วยรถโดยสาร พลังงานไฟฟ้า OE302 1972
LE306 เป็นรถตู้ที่ใช้เทคโนโลยี การเปลี่ยนแบตเตอรี่เพื่อทดสอบ การใช้พลังงานไฟฟ้า 1982
W123 สเตชั่นแวกอนพร้อม แบตเตอรี่นิเกิล-ไอออนน�้ำหนัก 600 กิโลกรัม เป็นรถยนต์นั่ง ส่วนบุคคลขับเคลื่อนด้วยพลังงาน ไฟฟ้าต้นแบบคันแรก 19 94
เมอร์เซเดส-เบนซ์ เป็นผู้น�ำในการ ค้นคว้าวิจัยระบบการขับเคลื่อนด้วย รังเชื้อเพลิงที่ปราศจากการปล่อย ไอเสีย เทคโนโลยีที่จะน�ำไปใช้กับ รถตู้ทั้งหมด 19 98
Daimler เริ่มการทดสอบรถยนต์ ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า ส�ำหรับการใช้งานในชีวิตประจ�ำวัน โดยใช้ A-Class เป็นรถยนต์ต้นแบบ ส�ำหรับการทดสอบ 20 0 3
ก้าวที่ส�ำคัญ: เทคโนโลยีรังเชื้อเพลิง ถูกน�ำมาใช้กับ A-Class การทดสอบเริ่มต้นภายใต้เงื่อนไข สถานการณ์การใช้งานตามปกติ ในชีวิตประจ�ำวัน 20 0 9
Smart fortwo ขับเคลื่อนด้วย ไฟฟ้าถูกน�ำเข้าสู่สายการผลิต การเปิดตัวของ B-Class F-Cell 52
ประกอบด้วยรถยนต์ smart electric drive (รถยนต์ พลังงานไฟฟ้าโมเดลแรกที่มีการผลิตเพื่อจ�ำหน่าย เป็นจ�ำนวนมากจากผูผ้ ลิตในประเทศเยอรมนี) และ B-Class Electric Drive ซึ่งจะเปิดตัวออกจ�ำหน่าย ในสหรัฐอเมริกาในปี 2014 และแน่นอนเมอร์เซเดสเบนซ์ SLS Electric Drive ที่มีกำ� ลังแรงม้าสูงสุดถึง 552 กิโลวัตต์ และความเร็วสูงสุด 250 กิโลเมตร ต่อชัว่ โมง (จ�ำกัดความเร็วด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์) สิ่งที่ซ่อนตัวอยู่ใต้ตัวถังแบบคาร์บอนโมโนค็อกคือ แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออนน�้ำหนัก 548 กิโลกรัม ประกอบด้วยวงจร 12 วงจร แต่ละวงจรมี 72 เซลล์ ไฟฟ้าให้แรงดันไฟฟ้าสูงสุด 400 โวลต์ ส�ำหรับ มอเตอร์ไฟฟ้า 4 ตัว แต่ละตัวถูกติดตั้งไว้ที่ล้อ แต่ละล้อ ซึง่ เป็นการวางต�ำแหน่งทีม่ อเตอร์แต่ละตัว สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดโดย ที่มีแรงบิดรวมกันสูงถึง 1,000 นิวตันเมตร ตัวเลข ที่ยอดเยี่ยมนี้อาจดูเหมือนกับการได้แต้มสูงที่สุด ในแต่ละชุดจากสล็อตเกม แต่ทั้งหมดนี้มาจาก ยนตรกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าเพียง คันเดียวเท่านั้น
นวนิยายวิทยาศาสตร์คือจุดเริ่มต้น
SLS ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าพิสูจน์ให้ เห็นว่าความคลางแคลงใจทั้งหลายเป็นสิ่งที่ผิด ถึงแม้จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าสภาพเส้นทางบน เทือกเขาในประเทศออสเตรียนี้ไม่ได้เป็นสถานที่ เหมาะสมโดยธรรมชาติข อง SLS AMG Coupé Electric Drive คันนี้มันน่าจะเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมใน Nürburgring ประเทศเยอรมนีมากกว่า การดึงเอาศักยภาพที่มีอยู่ทั้งหมดของ SLS คันนี้ ออกมาใช้ในสภาพเส้นทางและภูมิประเทศเช่นนี้ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย แต่เมือ่ เส้นทางตรงยาวเบือ้ งหน้า เปิดโล่ง การกดแป้นคันเร่งลงไปอย่างรวดเร็ว <
D R I V E
หนักแน่นท�ำให้ร่างกายของเราถูกฉุดให้ยึดแน่นไป กับเบาะนัง่ แบบบักเก็ตซีทในทันที เป็นประสบการณ์ ที่คล้ายคลึงกับความรู้สึกที่เกิดขึ้นเวลาเครื่องบิน ก�ำลังทะยานขึน้ สูท่ อ้ งฟ้าเบือ้ งบนนัน่ เอง ความรูส้ กึ ถึ ง ความยอดเยี่ ย มที่ เ กิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ มี ผ ลมาจาก รูปลักษณ์ภายนอกเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงองค์ประกอบ ด้ า นเสี ย งอี ก ด้ ว ย เพราะเสี ย งที่ คุ ณ ได้ ยิ น เป็ น เพียงเสียงฮัมเบาๆ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวคล้าย กั บ เสี ย งซาวนด์ เ อฟเฟ็ ก ต์ จ ากภาพยนตร์ นิ ย าย วิทยาศาสตร์ พัฒนาการของขีปนาวุธทางเรียบขับเคลื่อน ด้ ว ยพลั ง งานไฟฟ้ า คั น นี้ ไ ม่ ไ ด้ เ น้ น ความส� ำ คั ญ ทั้งหมดไปที่ประโยชน์ส� ำหรับการใช้งานในชีวิต ประจ�ำวัน Jan Feustel, AMG project manager อธิบายให้ฟงั หลังจากสิน้ สุดการทดสอบในรอบแรก
มันใช้เวลาถึง 4 ปีส�ำหรับการพัฒนาจากรถยนต์ ต้นแบบจนถึงการเป็นโมเดลซีรสี ท์ ผี่ ลิตออกจ�ำหน่าย จริงโดยทีย่ งั คงเทคโนโลยีทยี่ อดเยีย่ มทีเ่ ป็นของเดิม ไว้ถงึ 80% ตลอดเวลาทีย่ าวนานนีท้ มี งานทีร่ ว่ มกัน ในการพัฒนาต้องเอาชนะอุปสรรคความท้าทาย ต่างๆ มากมาย แต่มนั ไม่ได้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับ ระบบการขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าโดยตรง แต่อุปสรรคปัญหาที่เกิดขึ้นคล้ายคลึงกับที่พบใน รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปภายในที่ใช้ตัวสร้าง สุ ญ ญากาศในท่ อ รวมไอดี เ ป็ น สิ่ ง ที่ เ ราพบโดย บังเอิญเกีย่ วกับเรือ่ งของระบบหล่อเย็นและการเพิม่ ก�ำลังเบรก ส�ำหรับฟังก์ชั่นการใช้งานรองลงมา จ�ำนวนมาก Feustel และทีมงานของเขาต้องค้นหา วิธีการแก้ไขปัญหาในรูปแบบใหม่ อะไรที่เรามีอยู่ ที่นี่คือบางสิ่งที่คล้ายคลึงกับรถยนต์เพื่อการ <
i SLS AMG Coupé Electric Drive
เครื่องยนต์/แรงม้า มอเตอร์ไฟฟ้า 4 ตัว แรงม้า รวมกันสูงสุด 552 กิโลวัตต์ แรงบิดสูงสุด 1,000 นิวตันเมตร แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน ความจุ 60 กิโลวัตต์ชั่วโมง ศักยภาพ หลังจาก 3 ชั่วโมงผ่านไป แบตเตอรี่ ก�ำลังไฟสูงพร้อมเทคโนโลยี KERS ที่ยอดเยี่ยม ซึ่งถ่ายทอดจาก รถแข่งฟอร์มูล่า 1 พร้อมแล้ว ที่จะส่งมอบสมรรถนะสูงสุด
ก้าวที่มั่นคงของการขับเคลื่อน ด้วยพลังงานไฟฟ้า 20 0 9
Vision S 500 ยังคงเป็นเพียงรถยนต์ ต้นแบบ เช่นเดียวกับเครื่องยนต์สันดาป ภายใน มันสามารถติดตั้งมอเตอร์ ไฟฟ้าที่ให้พลังงานส�ำหรับการเดินทาง โดยปราศจากการก่อให้เกิดไอเสีย โดยสิ้นเชิงเป็นระยะทาง 30 กิโลเมตร มอเตอร์ ไฟฟ้าช่วยลดความสิ้นเปลือง เชื้อเพลิงเหลือเพียง 3.2 ลิตร ต่อ 100 กิโลเมตร 2010
A-Class E-Cell ขับเคลื่อนด้วย พลังงานไฟฟ้าถูกผลิตขึ้นในแบบ ซีรีส์-โปรดักชั่นเป็นจ�ำนวน 500 คัน 2011
B-Class F-Cell ขับเคลื่อนด้วย พลังงานไฮโดรเจนจ�ำนวน 180 คัน ถูกส่งมอบให้กับผู้ใช้งานจริง ใน 3 ประเทศ 2012
เดือนมิถุนายน เปิดรับจอง smart fortwo electric drive ในมากกว่า 30 ประเทศทั่วโลก 2013
SLS AMG Coupé Electric Drive ออกจ�ำหน่ายในเดือนมิถนุ ายน โมเดล ใหม่นสี้ ร้างสถิตใิ หม่ของเวลาต่อรอบ ในสนามทดสอบ Nürburgring ส�ำหรับรถยนต์ขบั เคลือ่ นด้วยพลังงาน ไฟฟ้าทีผ่ ลิตจ�ำหน่ายจริง ด้วยเวลา 7:56.234 นาที
อุ โ มงค์ แ ห่ ง วิ สั ย ทั ศ น์
สปอร์ตคาร์พลังงานไฟฟ้าท�ำอัตราเร่งจาก 0 - 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลาเพียง 3.9 วินาที
53
การขับขี่
smart electric drive
เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดอัตราเร่ง ที่นุ่มนวลและง่ายต่อการ เคลื่อนที่ โดยที่รถยนต์คันนี้ ใช้ประโยชน์จากพลังงาน ที่เกิดจากเคลื่อนที่ ทำ�ให้ เกิดการชาร์จไฟฟ้าเข้าไป ยังแบตเตอรี่
ค้นคว้าวิจยั แต่ไม่วา่ จะอย่างไรก็ตาม “มันคือเมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่างแท้จริง เราไม่ได้ซ้อื ทักษะความ รู้ความเชี่ยวชาญจากสิ่งที่มีอยู่ทั่วๆ ไป หรือจาก ซั พ พลายเออร์ อื่ น ๆ มั น ถู ก พั ฒ นาขึ้ น โดยความ ร่วมมือของทีมแข่งรถฟอร์มลู า่ 1” ผูบ้ ริหารของ AMG บอก นั่นหมายถึงชิ้นส่วนประกอบทั้งหมดที่ถูกน�ำ มาใช้ใน SLS AMG Coupé Electric Drive คิดค้น และพัฒนาขึน้ ในองค์กรของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ทัง้ สิน้
สนุกสนาน ร่าเริง และช่างคิด
“จุดมุ่งหมายของเราเพื่อแสดงให้เห็นว่าการ ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าไม่จ�ำเป็นต้องเป็นไป โดยอัตโนมัติ นัน่ หมายถึงการเสียสละ” Jan Feustel บอกพร้อมกับรอยยิ้ม การร่วมงานในช่วงที่สองกับ SLS ท�ำให้เราเข้าใจมากขึ้นในประเด็นนี้ ด้วยการ ใช้ปุ่มควบคุม เราเลือกที่จะเปลี่ยนโหมดการขับขี่ จาก Comfort เป็น Sport+ ทันใดนั้นมันเปรียบ เสมือนเราก�ำลังขับรถที่มีความแตกต่างกันอย่าง ชัดเจน แรงบิดทีเ่ กิดขึน้ ขณะเข้าโค้งอาจจะไม่ท�ำให้ ท�ำให้กฎทางด้านกายภาพ การเร่ง และแรงเฉื่อย บิดเบี้ยวผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง แต่มันให้ ความรู ้ สึ ก เช่ น นั้ น จริ ง ๆ นี่ เ ป็ น หนึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ที่ โดดเด่นของ SLS AMG Coupé Electric Drive ทีท่ ำ� ให้ ผู้ขับขี่ที่ไม่เคยสัมผัสปรากฏการณ์นี้จากในสนาม แข่งมีประสบการณ์มากขึ้นบนถนนสาธารณะ ชุด ควบคุมของระบบควบคุมแรงบิดขณะเข้าโค้งจะ ก�ำหนดมาตรการในการเข้าและออกจากโค้งอย่าง
54
i smart fortwo electric drive
มอเตอร์/แรงม้า มอเตอร์ไฟฟ้า 35 กิโลวัตต์ แรงม้าสูงสุด 55 กิโลวัตต์ แรงบิดสูงสุด 130 นิวตันเมตร แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน ความจุ 17.6 กิโลวัตต์ชั่วโมง การชาร์จแบตเตอรี่ ใช้เวลา 7 ชั่วโมงในการชาร์จไฟเข้า แบตเตอรี่จนเต็มความจุหรือน้อยกว่า 1 ชั่วโมงด้วยการใช้ฟังก์ชั่นเสริม ส�ำหรับการชาร์จอย่างรวดเร็ว ด้วยระบบไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว สามารถใช้งานได้เป็นระยะทาง ประมาณ 145 กิโลเมตร ง่ายๆ กับ App ที่ยอดเยี่ยม App ในสมาร์ทโฟนสามารถท�ำได้ ภายในห้องโดยสารของ smart fortwo electric drive ระหว่างท�ำการชาร์จ แบตเตอรี่
เที่ ย งตรงแม่ น ย� ำ ภายในเวลาเพี ย งเสี้ ย ววิ น าที การแยกการท�ำงานของล้อทั้งสี่หมายถึงแรงบิดที่ เหมาะสมสูงสุดถูกน�ำมาใช้อย่างเหมาะสมในทันที “มันให้ความรู้สึกเหมือนกับรถยนต์คันนี้สามารถ ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง” Feustel ให้ข้อคิดไว้ก่อน หน้านี้ ซึ่งตอนนี้เรารู้แล้วว่าเขาหมายถึงอะไร ในโลกของการขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า นอกเหนือจาก SLS ของเราแล้ว ยังมี smart electric drive รถยนต์สองทีน่ งั่ ขนาดเล็กทีจ่ อดรอเราอยูแ่ ล้ว และก�ำลังอยูใ่ นช่วงเวลาของการชาร์จกระแสไฟฟ้า ภาพที่สามารถจินตนาการให้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นคือ ด้านหลังของฝาปิดช่องชาร์จกระแสไฟฟ้าคือหัว เชื่อมต่อซึ่งจะเชื่อมต่อกับสถานีจ่ายไฟแบบมาตรฐานด้วยสายชาร์จไฟ รถยนต์คนั นีใ้ ช้ประโยชน์จาก พลังงานทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ ท�ำให้เกิดการชาร์จ ไฟฟ้าเข้าไปยังแบตเตอรี ซึ่งติดตั้งอยู่ในต�ำแหน่ง ทีเ่ รามองไม่เห็น ท�ำให้เกิดพืน้ ทีท่ กี่ ว้างขวางเช่นเดียว กับรถยนต์ท่ใี ช้น�้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง วิศวกรอย่าง Jan Feustel ทีมงานของเขารับรู้ ได้ถึงการกระท�ำที่กล้าหาญครั้งใหม่ของพวกเขา ครัง้ นี้ เขาอธิบายว่า “E-เทคโนโลยีเปิดประตูสคู่ วาม เป็ น อิ ส ระในรู ป แบบใหม่ แ ละยั ง น� ำ เสนอความ ท้าทายใหม่ๆ ให้กับเรา แต่น่ันไม่ใช่อะไรใหม่เลย ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ย้อนหลังไปในปี ค.ศ. 1888 Bertha Benz ก็ยังคงต้องซื้อน�ำ้ มันเบนซินจากร้าน ขายยาส�ำหรับการเดินทางด้วยรถยนต์เป็นระยะ ทางไกลที่มีชื่อเสียงของเธออยู่ด”ี
Fresh from Fantastic
ปลุกชีวิตชีวาจากเมืองหลากรส เมื อ งใหญ่ ท างตอนใต้ ข องญี่ ปุ ่ น อย่ า งโอซาก้ า นั้ น นับได้วา่
เป็นเมืองหลากสีสนั อันเป็นจุดหมายปลายทางหนึ่งของนักท่องเที่ยวทั่วโลก ที่หมายมาเยือน เมืองหลากรสนี้สอดผสานกลิ่นอายของศิลปวัฒนธรรมอันเก่าแก่ ทรงคุณค่ากับความทันสมัยของโลกยุคปัจจุบันไว้ ได้อย่างลงตัว 56
เรื่ อ ง / ภาพ ธาดา ราชกิ จ
E M O T I O N
ไม่
เพียงเท่านั้น อีกเสน่ห์ที่คนหลงใหลนั้นก็คือความ โอชาของอาหารการกินในต�ำรับเฉพาะตัวทีพ่ ถิ พี ถิ นั และใส่ใจ ซึง่ นีค่ อื จิตวิญญาณทีแ่ ฝงอยูใ่ นสายเลือด ชาวโอซาก้าโดยแท้ จนท�ำให้เมืองนีไ้ ด้รบั ยกย่องว่า เป็ น ครั ว แห่ ง แดนอาทิ ต ย์ อุ ทั ย และเป็ น ครั ว โลก ที่หลายคนติดใจจนยกนิ้วให้กันเลยทีเดียว...พร้อม ที่จะปลุกประสาทสัมผัสของเรากันหรือยัง
Take a Trip
เริ่มต้นกระตุ้นต่อมการรับรู้ของเมืองมหัศจรรย์ นี้ด้วยการพาย้อนอดีตความยิ่งใหญ่กันเป็นอันดับ แรก ปราสาทโอซาก้า แห่งนี้ เป็นสัญลักษณ์สำ� คัญ ของเมืองและได้รบั การยกย่องว่าเป็นหนึง่ ในปราสาท ทีส่ วยทีส่ ดุ ในญีป่ นุ่ (โดยเฉพาะฤดูทซี่ ากุระเบ่งบาน) ถึงแม้ว่าปราสาทหลังปัจจุบันจะไม่ใช่หลังเก่าแก่ ดั้งเดิม แต่ปราสาทที่ถูกบูรณะให้กลับมายิ่งใหญ่ งดงามอีกครัง้ ก็พอจะท�ำให้เราเห็นภาพความรุง่ เรือง ในอดีตได้เป็นอย่างดี ปราสาทแห่งนี้ตั้งอยู่ใจกลาง เมืองบนพื้นที่กว่า 2 ตร.กม. เดิมนั้นสร้างโดยโทโยโทมิ ฮิเดะโยชิ (Toyotomi Hideyoshi) ในปี ค.ศ. 1583 แต่ ก็ ถู ก ท� ำ ลายลงอั น เนื่ อ งมาจากสงครามและ ภัยธรรมชาติ รวมถึงทรุดโทรมตามกาลเวลาจนต้อง บูรณะใหม่ซ้ำ� แล้วซ�้ำเล่าถึง 3 ครั้ง ซึ่งครั้งล่าสุดนั้น คือการบูรณะในปี ค.ศ. 1931 จากการระดมทุน ชาวเมืองโอซาก้าที่ร่วมแรงร่วมใจสร้างปราสาทนี้ ให้กลับมาสง่างามอีกครัง้ ปัจจุบนั ปราสาทดังกล่าว ถูกปรับเปลี่ยนภายในให้เป็นพิพิธภัณฑ์ Osaka Castel Museum จัดแสดงนิทรรศการเชิงประวัติศาสตร์ได้อย่างน่าสนใจทีเดียว และชั้นบนสุดนั้น
Osaka Castel Museum
พิพิธภัณฑ์ทันสมัยที่อยู่ ภายในตัวปราสาทโอซาก้า
ก็คือหอคอยสังเกตการณ์ที่เราสามารถขึ้นไปชม วิวเมืองในมุมสูงได้รอบทิศอีกด้วย จากอดี ต อั น ยิ่ ง ใหญ่ เ ราพาย้ อ นกลั บ มาสู ่ ปัจจุบนั อันตืน่ ตากันบ้าง แสงสีนอี อนอันมีชวี ติ ชีวา ในตอนพลบค�่ำของย่านโดตนโบริ-ชินไซบาชิ (Dotonbori-Shinsaibashi) นี้ดูจะเป็นตัวดึงดูด นักท่องเทีย่ วได้ดพี อๆ กับการเป็นแหล่งช้อปปิง้ และ แหล่งกินของอร่อยในยามกลางวัน ย่านถนนสาย ช้อปปิง้ อย่างชินไซบาชินนั้ จะเชือ่ มต่อกับย่านโดตนโบริอันเลื่องชื่อ ซึ่งจุดเด่นของย่านนี้มีพระเอกเป็น ของอร่อยประจ�ำโอซาก้ามากมาย ตั้งแต่ ทาโกะ ยากิ ปูยักษ์ ปลาปักเป้า ไปจนถึงกูลิโกะ แล้วก็ แน่นอนว่าไฮไลท์ในยามพลบค�่ำนั้นก็คือป้ายไฟ นีออน Glico Man ตรงสะพานอิบิซึบาชิ (Ebisubashi Bridge) ที่ทอดข้ามแม่น�้ำสายเล็กโดตนโบรินั่นเอง ซึง่ นีค่ อื แลนด์มาร์กส�ำคัญของโอซาก้าทีโ่ ด่งดังและ มีคนรู้จกั ไปทั่วโลก
Take a Break
พักเบรกด้วยความอร่อยกันบ้าง ร้านแรกที่ อยากจะแนะน�ำให้ลองแวะไปชิมนี้เป็นอาหารเส้น ขึน้ ชือ่ ของโอซาก้าในต�ำรับดัง้ เดิม หลายคนคงคุน้ เคย กับอุด้งชามอร่อยในน�้ำใสสีน�้ำตาลที่มาพร้อมกับ ฟองเต้าหูท้ อด ต้องขอบอกว่าที่ อุซามิเทมัตซึบายะ (ที่ตั้ง 3-8-1 Minami-sanba, Chuo-ku, Osaka City, Osaka) นี่เองล่ะที่เป็นต้นต�ำรับอุด้งในสูตรคิทซึเนะ (Kitsune Udon) ร้านเก่าแก่นกี้ ่อตัง้ โดยพ่อครัวยาตา โร่ (Yataro) เปิดบริการมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1893 57
ปราสาทโอซาก้าอันสง่าและงดงาม
58
E M O T I O N
แสงสี แ ละความคึ ก คั ก
ของย่านโดตนโบริ เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์อันมี เสน่ห์ของโอซาก้า
อยากได้ข้อมูลท่องเที่ยว โอซาก้าอย่างเจาะลึกและ ละเอียดยิบ ขอแนะน�ำให้เข้าไปที่ เว็บไซต์ www.osaka-info.jp ซึ่งเว็บไซต์นี้เป็นแหล่งข้อมูล ด้านการท่องเที่ยวอย่างเป็น ทางการของเมืองนี้ที่จัดท�ำโดย องค์การท่องเที่ยวแห่งเมือง โอซาก้านั่นเอง ที่ส�ำคัญมี ภาคภาษาไทยให้อ่าน เข้าใจง่ายอีกด้วย
คิ ท ซึ น ะอุ ด ้ ง
เมนูต้นต�ำรับแห่งร้าน อุซามิเทมัตซึบายะ
ความอร่ อ ย
จากเต้าหู้ของ Hara Donuts
อเมริ ก าโน่ เ ย็ น
สูตรพิเศษที่ The Lobby Bookstore & Café (ขวา)
เขาได้คดิ ค้นการท�ำอุดง้ ในแบบฉบับของตัวเอง ขึน้ โดยได้ไอเดียจากซูชเิ ต้าหูท้ อดนัน่ เอง คิทซึเนะอุ ด้งนี้ได้รบั ความนิยมขึ้นเรื่อยๆ จนปัจจุบันถือเป็นอุ ด้งสูตรมาตรฐานที่เราพบเห็นกันทั่วโลกเลยก็ว่าได้ ทานของคาวแล้วต้องต่อด้วยของหวานหน่อย โดนัทเพือ่ สุขภาพแสนอร่อยร้านนีก้ ค็ อื Hara Donuts (ที่ตั้ง : สาขาชิน ไซชาชิ 2-7-26 Shinsaibashi, Chuo-Ku, Osaka City, Osaka) ซึ่งร้านอันโด่งดังไป ทัว่ ญีป่ นุ่ นีม้ ตี น้ ก�ำเนิดทีเ่ มืองโกเบในแถบคันไซนีเ่ อง โดนัทที่นี่เป็นเบเกอรีเพื่อสุขภาพในสูตรโฮมเมด ที่ท�ำมาจากเต้าหู้และนมถั่วเหลืองเป็นหลัก โดย สูตรนี้เป็นสูตรดั้งเดิมแบบ ‘ฝีมือแม่’ ที่คุณฮาระ (คุณแม่) เจ้าของร้านเต้าหูในโกเบคิดค้นขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1968 นั่นเอง ลูกคุณฮาระจึงน�ำไอเดียอันมี คุณค่านี้มาพัฒนาเป็นโดนัทแสนอร่อยหลากรส จนกลายเป็นที่ติดอกติดใจไปทั่ว ตบท้ายการพักผ่อนชิลล์ๆ ด้วยร้านบรรยากาศ เท่ๆ ในโทนขาวด�ำกับ The Lobby (Bookstore & Café) (ทีต่ งั้ : ชัน้ 3 ห้าง Hankyu MEN’S ตึก NAVIO BIMI, Umeda, Kita-ku, Osaka City, Osaka) คาเฟ่ แห่งนี้ตกแต่งด้วยสไตล์ Minimalism ที่น้อยแต่เท่ ตั้งอยู่ในโซนเดียวกันกับร้าน Monocle Shop สาขา โอซาก้า ของแมกกาซีนหัวอังกฤษชื่อดังที่ก�ำลัง มาแรงไปทั่วโลกนั่นเอง ช้อปปิ้งของเท่ๆ แล้วยัง สามารถนัง่ ชิลล์พกั ผ่อนกับความคูลได้ในทีเ่ ดียวกัน อีกด้วย 59
รับลม
ใต้ร่มร่อน
สั ม ผั ส ประสบการณ์ ค รั้ ง หนึ่ ง ในชี วิ ต ที่เราจะบินได้ราวกับนก
เหินลมร่อนบนฟ้า แม้ ไม่มีปีก และรู้สึกได้ถึงความอิสระเสรีไร้ขีดจ�ำกัดใดๆ ราวเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ 60
เรื่ อ ง ปิ ย ะฤทั ย ปิ โ ยพี ร ะพงศ์ ภาพ นคเรศ ธี ร ะค� ำ ศรี
S P O R T
ย
ามบ่ายจัด แดดอ่อน ของวันที่มีสายลมพัดปะทะ หน้าเขา ณ จุดชมวิวกังหันลมของภูเก็ต ไม่ได้ มีเพียงนักท่องเที่ยวที่นั่งรถ ขี่มอเตอร์ไซค์ หรือ ปั่นเสือภูเขาขึ้นมารับลมชมตะวันตกเท่านั้น ทว่า ยังมีคนกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งรีบบึ่งมารับลมพร้อม ด้วยผืนร่มเรียวโค้งราวจันทร์เสี้ยว โดยมี ‘ที่นั่ง’ โยงยึดกับร่มด้วยสายไนลอนขนาดเล็กจนมองไกลๆ แทบไม่เห็น นี่คือกิจกรรมร่มร่อน (Paragliding) อันเป็น การเดินทางไปในอากาศโดยไม่ก่อมลพิษ เพราะ พาราไกลดิงไม่มีเครื่องยนต์ การขับเคลื่อนตัวเอง แหวกอากาศไปมาบนความสูงนั้นอาศัยธรรมชาติ ล้วนๆ ทั้งแรงลมปะทะหน้าเขา (Lift Band) ที่ยกขึ้น แล้วพัดเข้าสูเ่ ซลล์เรียงรายบนผืนร่มไปสร้างแรงขับ เคลือ่ นจากธรรมชาติ ซึง่ เป็นเหตุผลว่า ท�ำไมคนเล่น ร่มร่อนจึงต้องเริ่มจากยอดเขาสูง นอกจากแรงลม ปะทะหน้าเขาแล้ว นักเล่นร่มร่อนยังต้องอาศัย
ความฝันในการออกไปล่องลอย กลางอากาศ เหนือผืนทะเลกว้าง ใต้ผืนฟ้ากระจ่าง โดยไม่จำ�เป็น ต้องเรียนรู้การบังคับควบคุมร่ม กลายเป็นความจริงแล้ว
มวลอากาศร้อน (Thermal) ทีอ่ วลขึน้ จากผืนดินหรือ ผิวน�ำ้ เป็นลมใต้ปกี ยกร่มเรียวให้ลอยสูงขึน้ ทัง้ สอง ลมนี้เสริมกันท�ำให้พาหนะไร้มลพิษร่อนไปมาได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องยนต์ใดๆ “เพราะภูเขาในเมืองไทยไม่สูงเป็นพันๆ เมตร เหมือนในยุโรป นักบินร่มร่อนไทยจึงต้องอาศัยลม ปะทะหน้าเขาในการช้อนส่งให้รม่ ลอยแล้วขับเคลือ่ น ด้วยแรงลมที่พัดเข้าไปกักอยู่ในเซลล์ร่ม เพื่อให้ร่ม ลดการสูญเสียความสูง จะได้บนิ นานๆ “บางคราวเราก็บินออกไปหาเทอร์มอล หรือ มวลอากาศร้อน ซึ่งเปรียบไปก็คล้ายกับไอร้อน ที่พุ่งขึ้นจากพวยกา เทอร์มอลนี่ถือเป็นแรงยกร่ม อีกแบบหนึ่งนอกเหนือจากลมหน้าเขา มันมีอยู่ใน แต่ละจุดแค่ประมาณ 20 นาที จากนั้นก็หมดไป ท� ำ ให้ นั ก บิ น ที่ ยั ง สนุ ก กั บ การบิ น ต้ อ งร่ อ นร่ ม หา เทอร์มอลอื่นๆ ไปเรื่อยๆ นี่คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของ พาราไกลดิงครับ”
การออกไปร่ อ นลม
ใต้ร่มเรียวในยามเย็นย�่ำนับเป็น ช่วงเวลาน่าจดจ�ำ ส�ำหรับผู้ที่ไม่เคยเล่น พาราไกลดิงมาก่อน ชมรมร่มร่อนภูเก็ต มีบริการให้บินร่วมกันแบบสองที่นั่ง (Tandem) โดยต้องติดต่อนัดหมายล่วงหน้า
สายเล็ ก ๆ ที่รวมกันเป็นชุดบังคับร่ม คือสิ่งที่นักบินต้อง เรียนรู้และจดจ�ำว่าควรดึงหรือผ่อนสายชุดใด ในสถานการณ์เช่นไร
61
ก่ อ นนั ก บิ น ร่ ม ร่ อ น
จะพาตัวเองออกไปล่องลอย กลางฟากฟ้า พวกเขาต้อง ฝึกตั้งร่มและบังคับร่มบนพื้น ให้เชี่ยวชาญ เพื่อให้การ เดินทางไร้เครื่องยนต์ เต็มไปด้วยความปลอดภัย
นักบินแห่งภูเก็ตให้ขอ้ มูลเรือ่ ยๆ เหมือนสายลม ที่พัดพรูไม่ขาดสาย ขณะที่บนฟากฟ้า ร่มร่อนไร้ มลพิษก�ำลังพานักท่องเทีย่ วเก็บเกีย่ วประสบการณ์ ครั้ ง หนึ่ ง ...ไปตามแนวเขาใกล้ แ หลมพรหมเทพ ที่ท�ำให้จุดชมวิวแห่งนี้มีมากกว่าทะเลงามและแสง สนธยาตะวันลับขอบฟ้า ความฝันในการออกไปล่องลอยกลางอากาศ เหนือผืนทะเลกว้าง ใต้ผนื ฟ้ากระจ่าง โดยไม่จำ� เป็น ต้องเรียนรู้การบังคับควบคุมร่มเป็นเวลานานนับ เดือน กลายเป็นความจริงแล้วทีแ่ นวหน้าผาเขาแดง อันเป็นทีต่ งั้ ของกังหันลมขนาดใหญ่ ใกล้หาดยะนุย้ และหาดในหาน ไม่ไกลจากแหลมพรหมเทพ เพราะ สมาชิกชมรมร่มร่อนภูเก็ตที่คุ้นเคยกับการบินใน แถบนี้ พ ร้ อ มให้ บ ริ ก ารพานั ก ท่ อ งเที่ ย วขึ้ น ไป รับประสบการณ์ใหม่ ด้วยการบินแบบที่เรียกว่า แทนเด็ม (Tandem) ซึ่งนักท่องเที่ยวจะอยู่ในที่นั่ง อีกชุดโดยเกาะเกี่ยวอยู่กับที่นั่งของนักบินภายใต้ ผืนร่มเรียวเดียวกัน 62
Traveler’s Guide ไซต์บินพาราไกลดิงชมวิวทะเลสวยในภูเก็ต อยู่ที่บริเวณจุดชมวิวกังหันลม ใกล้แหลม พรหมเทพ อ.เมืองฯ และบริเวณ ควนคีรีมนูญ ใกล้หาดในหาน เป็นเส้นทางบิน ที่ยากส�ำหรับมือใหม่และผู้ที่มีประสบการณ์ การบินไม่มากนัก เพราะกระแสลมไม่แน่นอน มีลมกดร่มเป็นบางช่วง จึงควรบินกับนักบิน ในพื้นที่ ซึ่งมีประสบการณ์และรู้จักลมในบริเวณนี้ เป็นอย่างดี ทริปบินแทนเด็มชมวิวทะเลหาด ในหาน-ยะนุ้ย-แหลมพรหมเทพ • มี 2 ช่วง คือ ช่วงสาย เวลาประมาณ 10.00 - 12.00 น. และช่วงเย็น เวลา 15.00 - 18.00 น. ราคา 3,000 บาท ต่อคน ใช้เวลาบินประมาณคนละ 15 นาที • สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นายแพทย์ ประเสริฐ เทพละออง โทร. 08 9474 5607 เว็บไซต์ www.phuketparagliding.com คุณปริญญา คงสมุทร โทร. 08 1535 3528 คุณณรงศักดิ์ โภชนา โทร. 08 9474 4776
แต่งตัวเตรียมบิน
• สวมกางเกงขายาว เสื้อแขนยาว รองเท้าหุ้มข้อ เพื่อป้องกันการบาดเจ็บหากลมพัดดึงร่ม ขณะขึ้นและลง ครีมกันแดด แว่นตากันแดด และกล้องถ่ายรูป
รายละเอียดเรื่องเที่ยวภูเก็ต
• สอบถามได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานภูเก็ต ถ.ถลาง อ.เมืองฯ โทร. 0 7621 1036, 0 7621 2213
“การบินแบบแทนเด็มนี.่ ..ถ้าอากาศเหมาะ ลมดี ก็ ท� ำ ได้ ไ ม่ ย ากครั บ ” ทั น ตแพทย์ ป ระเสริ ฐ เทพละออง ประธานชมรมร่มร่อนภูเก็ตยืนยัน ความพร้อมในการพานักท่องเที่ยวขึ้นไปด้วยกัน “ตอนนี้นักบินพาราไกลดิงในภูเก็ตที่มีร่มแทนเด็ม มีแค่ 2 คน ถ้านักท่องเที่ยวอยากบินไปด้วย ติดต่อ ล่วงหน้าไว้กอ่ นก็ดี จะได้นดั ช่วงเวลาบินกัน แต่ทงั้ นี้ ทัง้ นัน้ ก็ตอ้ งดูสภาพอากาศในวันทีจ่ ะบินด้วยอีกที” แม้ว่าการบินพาราไกลดิงแบบแทนเด็มนั้นดู ง่ายดายกว่าบินเดีย่ วมากนัก แต่แน่นอนว่าผูแ้ รกเริม่ บินย่อมตื่นเต้นกับการวิ่งสวนแรงลมออกไปจนสุด หน้าผากระทั่งหลุดวูบลงไปสู่ห้วงความว่าง ทว่า ชั่วพริบตาเท่านั้น ผืนร่มที่ตั้งดักลมได้สมดุลแล้ว จะมีแรงกระท�ำสวนทางกับน�้ำหนักของเราที่กดสู่ เบือ้ งล่าง แล้วพาร่มเคลือ่ นไปข้างหน้าอย่างราบรืน่ จากนีอ้ าการตืน่ ตาตืน่ ใจกับวิวทะเลสวยสุดสายตา ซึ่งมีแนวหน้าผาเคียงข้างอยู่ด้านหนึ่ง จะเข้ามา แทนที่ความตื่นเต้น โดยเฉพาะเมื่อบินสูงขึ้นไป เรื่อยๆ แล้วมองลงไปเห็นผู้คนด้านล่างตัวเล็กลง ทุกที ไม่มีเสียงเครื่องยนต์กระหึ่มคราง ไม่มีกลิ่น น�้ำมัน และสารท�ำลายสิ่งแวดล้อม มีเพียงสายลม เย็นที่พัดผ่าน ได้ยลวิวงาม ได้ยินเสียงลมปะทะ ผืนร่ม ใครอยากสั ม ผั ส ความรู ้ สึ ก แปลกใหม่ ที่ ทั้ ง ตืน่ เต้น เร้าใจ และสวยงาม บอกได้เลยว่า...ห้วงยาม นั้นคือช่วงเวลาแสนพิเศษ ซึ่งมนุษย์ตัวเล็กๆ ได้ เข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของธรรมชาติอย่างแท้จริง
ผลผลิตเบ่งบาน เครือข่ายเมอร์เซเดส-เบนซ์ : 6 จุดหมายดิจิตอล ของฤดูใบไม้ร่วงในโลกอินเทอร์เน็ต
ช่ อ งฟอร์ มู ล ่ า 1
Lewis Hamilton และ Nico Rosberg ทำ�อะไร ในการแข่งขัน? อะไรคือเทคโนโลยีชน้ั สูงทีอ่ ยู่ ในพวงมาลัย? เกิดอะไรขึ้นที่ Brackley? Mercedes AMG Petronas ให้คุณได้รับรู้ ถึงเบื้องหลังสิ่งที่เกิดขึ้นบน YouTube
สั ม ผั ส ความคลาสสิ ก อย่ า งใกล้ ชิ ด
เกือบ 7,000 ภาพของเมอร์เซเดส-เบนซ์ Tailfins, Silver Arrows และยนตรกรรม ที่เป็นตำ�นานรุ่นอื่นๆ สร้างขึ้นในรูปแบบ Flickr เก็บรูปภาพดิจิตอลโดยเมอร์เซเดส-เบนซ์ ภาพถูกจัดแบ่งเป็นอัลบั้มและบ่อยครั้งมีที่มา จากการแข่งขันแรลลีย่ อ้ นสมัย เช่น Mille Miglia flickr . com / mb
64 64
_ museum
illustration Mathis Rekowski photos Daimler Ag
youtube.com /mercedesamgpetronas
ed mi g o it ti ao ln
สถานี วิ ท ยุ พ ร้ อ มดารา
คุณสามารถฟังคลื่นวิทยุใหม่ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ไม่เพียงภายในรถเท่านั้น แต่รับฟังได้ทั่วโลกทางเว็บไซต์หรือการใช้ App สถานีภาคภาษาอังกฤษให้บริการ เพลงแบบ upbeat การสัมภาษณ์บคุ คลทีน่ า่ สนใจมีชอ่ื เสียง และข่าวสารจากทัว่ โลก
แม กก าซี น ออ นไ ลน ์ รถยนต์รุ่นปัจจุบัน อัพเดทข้อมูลรายวันสำ�หรับ
mercedes - benz .com /radio
คโนโลยี และกิจกรรม และอนาคต นวัตกรรมด้านเท ซเดส-เบนซ์ ถูกจัด เ ร์ เมอ ของ ต ร์ ด้านมอเตอร์สปอ น์ฉบับภาษาอังกฤษ นไล ออ น ซี กา แมก ดย โ ห้ ใ ้ เตรียมไว ลัมน์ ไลฟ์สไตล์ คอ com nz. be ทาง emercedesอน เสน าฬิการุ่นใหม่ เพื่อเพิ่มรสชาติของชีวิต นำ� ่น และอื่นๆ อีกมาก ชั แฟ ก ั พ ่ ที แรม อุปกรณ์กีฬา โรง em er ce de sbe
nz . co m
ทวิ ต เตอร์ ข ่ า ว
บัญชีทวิตเตอร์นานาชาติของเมอร์เซเดส-เบนซ์ โพสต์ข่าวใหม่ล่าสุด เกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่างที่ดำ�เนินการ บางครั้งด้วยความถี่มากกว่า หนึ่งชั่วโมง ช่วงความถี่ของข้อมูลชิ้นเล็กชิ้นน้อยเหล่านี้มีตั้งแต่ ภาพแรกของรถยนต์โมเดลใหม่ ไปจนถึงผลการแข่งขันมอเตอร์ สปอร์ต รวมถึงการเคาะราคาจำ�หน่ายจากการประมูลรถยนต์ คลาสสิกโบราณ twitter . com /mercedesbenz
ใช้ QR APP
เพื่อเข้าสู่โลกดิจิตอล ทั้งหมดจากสมาร์ท โฟนของคุณ
เว็ บ พิ เ ศษ GLA
ออกแบบพิเศษสำ�หรับคอมพิวเตอร์ PCs แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน นำ�เสนอจุดเด่นของ GLA ใหม่ จุดที่ดึงดูดความสนใจ เริ่มจากภาพความเร้าใจของการออกแบบในสไตล์ที่ เหมือนกับรถยนต์คูเป้ ความงดงามในสไตล์รถยนต์ SUV และฟังก์ชั่นการใช้งานอ๊อฟโรด เช่นเดียวกับความปลอดภัยและระบบเอนเตอร์เทนเม้นต์ mercedes - benz . com / gla
65
65
คนละ มุ ม ม อ ง
ส� ำ หรั บ เธอ เรื่องของพละก�ำลังและสมรรถนะเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ส�ำหรับเขาเบาะนั่งต้องนุ่มนวลสะดวกสบาย แต่...หรือจะเป็น ในทางตรงกันข้าม ผู้ชายและผู้หญิงมีมุมมองและแง่คิด ที่แตกต่างกันโดยเฉพาะในเรื่องของรถยนต์ เราได้เชื้อเชิญ คู่หนุ่มสาวคู่นี้ให้ค้นหาประสบการณ์ ใหม่ใน รถยนต์สไตล์โรดสเตอร์ร่วมกัน
อนาคตที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ
Alexandra และ Georg กับวันหยุด สุดสัปดาห์ใน Amsterdam พร้อมกับ SLK 350
A
66
เรื่ อ ง L a u r a S c h w e r dt n e r ภาพ Al i K e p e n e k
lexandra Honrath และ Georg-Maximilian Kuhlmann อาศัยอยูใ่ นเมือง Hamburg, Alexandra เป็นผูจ้ ดั การ ฝ่ายผลิตภัณฑ์ของสินค้าประเภทผ้าขนแพะ ส่วน Georg ท�ำงานที่ธนาคารดูแลในส่วนการเงินของ ธุรกิจการขนส่ งสินค้ าทางเรือ Alexandra ชอบ ที่จะเดินทางไปไหนต่อไหนภายในเมืองด้วยการ ขีจ่ กั รยาน ขณะที่ Georg ใช้รถจักรยานยนต์ขนาดเล็ก ปกติรถยนต์จะเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับหนุ่มสาว คู่นี้ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์เมื่อ Georg ต้องการที่ จะไปเยี่ยมเยือนครอบครัวของเขา ในทริปนี้เราได้ จัดให้หนุ่มสาวทั้งคู่เดินทางไปท่องเที่ยวที่เมือง Amsterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยใช้รถยนต์ เมอร์เซเดส-เบนซ์ SLK 350 เมื่อพวกเขาเดินทางไป ถึงเป็นเวลาบ่ายในวันศุกร์ ขณะทีด่ วงอาทิตย์ก�ำลัง ส่องแสงเจิดจ้า และมีเพียงสิ่งเดียวที่อยู่ห้วงความ > คิดค�ำนึงของพวกเขา “ไปทะเลกันดีกว่า”
c h a r a c t e r S
i
i
Georg, อายุ 27 ปี อาชีพ
Alexandra, อายุ 27 ปี อาชีพ
กิโลเมตรต่อสัปดาห์
กิโลเมตรต่อสัปดาห์
สถานะ
สถานะ
ให้บริการด้านการเงินกับธุรกิจ การขนส่งสินค้าทางเรือ 100-150 กิโลเมตร ส่วนใหญ่ ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ ตั้งแต่เกิดเพิ่งจะได้ขับรถยนต์ เมอร์เซเดส-เบนซ์
ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์ และการผลิต ไม่เกินกว่า 20 กิโลเมตร ปกติขี่จักรยาน ชื่นชอบรถยนต์โบราณ
ความแข็ ง แกร่ ง ด้ า นข้ า ง
แนวเส้นที่พาดผ่านส่วนของประตู ให้ความรู้สึกถึงความแข็งแกร่งสวยงาม
นับตั้งแต่จุดเริ่มต้น แนวเส้นที่สวยงามและสีแดงของ SLK ดึงดูดความสนใจของผู้คนทั่วไป เจ้าของรถคนหนึ่งถึงกับ แสดงออกถึงความต้องการที่จะแลกกันขับ”
georg
67
แล้ ว เจอกั น
รถยนต์เปิดประทุน ความอบอุ่นของ แสงแดด ถึงเวลาที่ต้องไปชายทะเลกันแล้ว
ความเย้ า ยวน
คุณสามารถรับรู้ ได้ถึงความเป็น SLK ในสไตล์ AMG ได้อย่างง่ายดายด้วย ความร้อนแรงดุดันทางด้านหน้า
สิ่งที่ฉัน ชื่นชอบ
มากที่สุดคือ หลังคากระจก ที่เปลี่ยนเป็น สีทึบเมื่อแสง อาทิตย์ร้อนแรง จนเกินไป” alexandra
68
c h a r a c t e r S
Georg ผมยั ง ไม่ เ ชื่ อ ว่ า จะได้ขับรถยนต์ท่ีอยู่ในสายการ ผลิตของ AMG จนกระทั่งเราได้รบั มอบกุญแจของ รถยนต์คันนี้ที่จอดอยู่ด้านนอกของโรงแรม ผม ตื่ น เต้ น มากเมื่ อ ได้ เ ผชิ ญ หน้ า กั บ รถยนต์ คั น นี้ ผู้หญิงมักจะมีความรู้สึกบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับ ดีไซน์ท่แี สดงออกถึงพลังในการขับเคลื่อน ส�ำหรับ SLK มันงดงามมากเป็นแบบฉบับของความเป็น เมอร์เซเดส-เบนซ์ โดยเฉพาะปลายท่อไอเสียขนาด ใหญ่สองท่อให้ความรู้สึกถึงความเป็นสปอร์ตคาร์ และความร้อนแรงดุดันมากยิ่งขึ้น แทบจะไม่ ต ้ อ งพู ด อะไร รถยนต์ คั น นี้ อ ยู ่ ใ น ความครอบครองของเราแล้ว แต่ก่อนอื่นผมต้อง ปรับต�ำแหน่งเบาะนั่งให้เหมาะสมกับตัวผมก่อน สิง่ ทีผ่ มท�ำคือ ก้มลงมองหาคันปรับระดับเบาะนัง่ ที่ โดยทั่วไปมักจะอยู่ด้านข้างของเบาะนั่ง แต่สำ� หรับ โรดสเตอร์คนั นี้ ผมพบว่าทีป่ รับต�ำแหน่งเบาะนัง่ อยู่ ที่แผงประตูข้าง สะดวกสบายต่อการใช้งานจริงๆ จากจุดเริ่มต้นการเดินทางความงดงามของ SLK และสีแดงของตัวรถเรียกร้องความสนใจจากผู้คน ทั่วไปได้เป็นอย่างดี มันเป็นความรู้สึกที่ยอดเยี่ยมมาก การบังคับ ควบคุมเหมือนกับเป็นปรอทธาตุที่อยู่บนพื้นถนน มันไหลลื่นและรวดเร็วเหมือนสายฟ้า การบังคับ ทิศทางให้ความรู้สึกแบบสปอร์ตและสนองตอบ อย่างรวดเร็วมาก คุณรูส้ กึ ได้ถงึ การสัมผัสกับพืน้ ถนน อย่างสมบูรณ์แบบ
อิ ริ ย าบถที่ ผ ่ อ นคลาย
Alexandra หลงใหลในระบบ อุ่นเบาะที่นั่งและ AirScarf
เสี ย งที่ ย อดเยี่ ย ม
Georg ชอบเสียงที่ SLK 350 สร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น เช่นเดียวกับ เสียงจากระบบเสียงที่ยอดเยี่ยม
Alexandra
เมื่ อ เห็ น รถยนต์ คั น นี้ ครั้งแรก ฉันบอกกับตัวเองว่า
นีเ่ ป็นหนึง่ ในสปอร์ตคาร์ทงี่ ดงามประทับใจมาก และนัน่ เกิดขึน้ ก่อนทีฉ่ นั จะพบว่ารถยนต์คนั นีส้ ามารถท�ำอะไร ได้บ้าง ล้อขนาดใหญ่และลวดลายของล้อเหมาะสม กับความเป็นสปอร์ตคาร์จริงๆ ส่วนตราสัญลักษณ์ ดาวสามแฉกขนาดใหญ่ที่กระจังหน้าเป็นอะไรที่ดูเท่ สะดุดตา ถึงแม้ว่าจะไม่ถูกใจไปหมดทุกคนก็ตาม แต่ ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตามมันก็ท�ำให้รถยนต์คันนี้ดูเหมือน มีความคิดสร้างสรรค์มากขึน้ กว่าทีม่ อี ยูแ่ ล้ว เหมือนกับ การนั่งอยู่ในรถแข่งอย่างไรอย่างนั้น สิ่งที่ฉันคาดหวัง ว่าอาจจะได้เจอคือเบาะนัง่ บักเก็ตซีทเหมือนในรถแข่ง ฟอร์มูล่า 1 แต่ของจริงคือเบาะนั่งที่นุ่มนวลสะดวก สบายเอามากๆ เลย ตามความเป็นจริงการออกแบบ ตกแต่งภายในเป็นทั้งหมดที่ท�ำให้เกิดความประทับใจ ที่ยอดเยี่ยม ชุดแผงหน้าปัดมีรูปแบบที่สวยงาม ส่วน ระบบเสี ย งก็ ใ ห้ เ สี ย งที่ ย อดเยี่ ย ม และเมื่ อ รู ้ สึ ก ถึ ง อุณหภูมทิ ลี่ ดต�่ำลงในยามเย็น ระบบอุ่นเบาะทีน่ งั่ และ ลมอุ่นบริเวณศีรษะล�ำคอให้ความรู้สึกที่อบอุ่นสบาย เป็นทีส่ ดุ แต่สงิ่ ทีฉ่ นั ชืน่ ชอบมากทีส่ ดุ คือ หลังคากระจก ทีป่ รับเป็นสีทบึ ได้เมือ่ แสงแดดร้อนแรงจนเกินไป ฉันไม่ เคยเห็นอะไรแบบนี้มาก่อนเลย มันประทับใจจริง ๆ <
SLK 350
เครื่องยนต์/แรงม้า เครื่องยนต์ 6 สูบ 3.5 ลิตร, 225 กิโลวัตต์ที่ 6,500 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 370 นิวตันเมตรที่ 3,500-5,250 รอบต่อนาที ระบบส่งก�ำลัง ระบบเกียร์อัตโนมัติ 7G-Tronic Plus เดินหน้า 7 จังหวะ ระบบให้ความอบอุ่นบริเวณล�ำคอ อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติม AirScarf ยืดขยาย ฤดูกาลของการขับรถยนต์เปิดประทุน ให้ยาวนานขึ้น ลมอุ่นจากพนักพิงศีรษะ ให้บริเวณล�ำคอของผู้ขับขี่และผู้โดยสาร อบอุ่นสบายเป็นพิเศษ ข้อจ�ำกัดของท้องฟ้า เมื่อปิดหลังคา SLK ยังให้ความรู้สึกถึง ความเป็นรถยนต์เปิดประทุนที่แท้จริง ตลอดเวลาจาก Magic Sky Control อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติม หลังคาพาโนรามิก แบบ vario-roof ประกอบด้วยส่วนของ กระจกเคลือบเงาที่สามารถเปลี่ยนสถานะ ให้โปร่งแสงได้ 69
อลังการ...มัณฑะเลย์ ผมพาสั ง ขารและอาการครบสามสิ บ สอง
นั่งรถไฟด้วยตัวเลขยาวนานเท่าๆ กัน คือ 32 ชั่วโมง มาถึงเมืองมัณฑะเลย์ ราชธานีแห่งสุดท้ายของพระราชวงศ์พม่า
70
เรื่ อ ง / ภาพ นภั น ต์ เสวิ กุ ล
E M O T I O N
ถึ ง แม้ บ รรยากาศ
ของสะพานอุเบงจะงาม แต่ก็ลง ความเห็น (แบบเข้าข้างตัวเอง) ว่าสะพานไม้เมืองสังขละของเรา ขลังกว่าแยะ แม้ว่าจะสั้นกว่า ของเขา แถมปีนี้ยังโดน น�้ำป่าเข้าถล่มจนพังไปตั้ง 60 - 70 เมตร แต่ก็เชื่อว่าพอ น�้ำลดคงได้ซ่อมบ�ำรุงกันใหญ่
ฐานสี่ เ หลี่ ย มของเจดี ย ์ มิ ง กุ น ใหญ่โตมโหฬารขนาดนี้ ถ้าสร้างเสร็จก็จะเป็นเจดีย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือสูงถึง 152 เมตร
ใน
สมัยกษัตริย์มินดง เมื่อ พ.ศ. 2400 ซึ่งถือว่าเป็น ยุคทีม่ คี วามรุง่ เรืองทีส่ ดุ และเป็นหัวเลีย้ วหัวต่อช่วงที่ มหาอ�ำนาจชาติตะวันตกเข้ามาแสวงหาอาณานิคม ในทวีปเอเชีย พม่าก็เป็นประเทศหนึ่งที่บอบช�ำ้ สุด ประมาณ ถึงขนาดตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ อยู ่ ใ นช่ ว งที่ น ครมั ณ ฑะเลย์ เ ป็ น เมื อ งหลวงของ ประเทศนี่แหละ แต่ถึงอังกฤษจะขนทรัพย์สมบัติ ทั้งไม้ แร่อัญมณี กลับบ้านไปมากมายมหาศาล แต่ด้วยความยิ่งใหญ่ร�่ำรวย พม่าจึง “ยังเหลือ อีกเยอะ” อาจจะเพราะความศักดิ์สิทธิ์ในฐานะ ศูนย์กลางแห่งศาสนาท�ำให้นครแห่งนี้คงความ ส�ำคัญอยู่ได้ตราบถึงทุกวันนี้ วันที่กระแสน�ำ้ สีเงิน ยวงของอิระวดียังคงไหลระเรื่อย น�ำดินตะกอน อันอุดมมาสู่มณ ั ฑะเลย์ดังเช่นในอดีต ลงจากรถไฟ โยนกระเป๋าเข้าห้องแล้วผมก็เริ่ม ออกเทีย่ ว เขาบอกกันว่ามามัณฑะเลย์ให้ถงึ จริงต้อง ไปเทีย่ วสะพานอุเบง! ผมก็ไป แต่ประทับใจไม่มาก อย่างที่คิด หรืออย่างที่เขาร�่ำลือกัน อาจจะเป็น เพราะมองไปทางไหนก็ เ ห็ น แต่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกั บ พระพม่า ยั้วเยี้ยเต็มสะพานไม้ท่ยี าวที่สุดในโลก ถ่ายรูปพระอาทิตย์ตกทีส่ ะพานอุเบงแล้วไม่ไป ไหนละ ขออาบน�้ำสะอาดและนอนก่อนเถอะ ไม่ อย่างนัน้ ก็จะท�ำสถิตไิ ม่ได้อาบน�ำ้ นานถึง 3 วันทีเดียว แต่กย็ งั กลัน้ ความเหนือ่ ยอ่อนออกไปหาอาหารอร่อยๆ เป็นมื้อแรกในสองวัน รวมทั้งต่อรองว่าจ้างรถตู้ พร้อมไกด์สำ� หรับพาเราไปเทีย่ วตลอดสองวันข้างหน้า รุ่งขึ้น ไอ้เราหรือก็อยากจะข้ามแม่น�้ำขึ้นไป เที่ยวบนเขาที่ชื่อ ‘สกาย’ เพื่อถ่ายรูปเมืองจาก มุมสูง แต่อีตาไกด์บอกว่า เช้าๆ เมืองนี้เขาให้เที่ยว เลียบแม่นำ�้ เซ้าซีอ้ ย่างไรพ่อก็ดอื้ แพ่งส่ายหน้าอย่าง เดียวว่า “ฉันไม่พาไป” สุดท้ายก็เลยต้องตามใจ เจ้าของบ้าน แต่กด็ เู หมือนเขาจะถูก เพราะแห่งแรก ที่พาไปแค่เห็นก็เข่าอ่อนแล้ว 71
อยากเห็ น ว่ า
เจดีย์จักรพรรดิใหญ่โตเพียงไร ต้อง ลองดูขนาดของสิงห์คู่ที่ยืนเฝ้าเจดีย์อยู่ ริมแม่น�้ำอิระวดี เทียบกับขนาดมนุษย์ สิงห์คู่นี้ หักพังลงเมื่อเกิดแผ่นดินไหว ครั้งใหญ่ในพม่า เมื่อปี 2381
ถ้ า จะนั บ ล� ำ ดั บ ความยิ่ ง ใหญ่ ข องระฆั ง
ว่ายังแอคทีฟ ตีแล้วยังดัง เหง่งหง่างกังวานแว่วอยู่ ก็ต้องนับว่าระฆังมิงกุน ใบที่ใส่คน เข้าไปข้างในได้ตั้งร้อยนี้ ว่าเป็นระฆังใหญ่ที่สุดในโลก จึงจะถูกต้อง
72
วัดมิงกุน ซึง่ มีมหาเจดีย์เซตตอยาตัง้ ตระหง่าน อยู่เบื้องหน้า เจดีย์นี้ พระเจ้าปดุง (ชื่อคุ้นๆ ไหม ครับ? ใช่แล้ว เป็นกษัตริย์พม่าที่มารบแพ้พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ในสงคราม 9 ทัพ นั่นแหละ) ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างครอบรอย พระพุ ท ธบาทจ� ำ หลั ก บนหิ น อ่ อ นเพื่ อ ให้ เ ป็ น สัญลักษณ์การย่างก้าวเข้าสู่ดินแดนแห่ง เจดีย์ มิงกุน หรือ เจดีย์จักรพรรดิ ซึ่งเป็นภาคสอง ของการแสดงบุญญาธิการ หลังจากได้ครอบครอง พระมหามั ย มุ นี ที่ ตี ม าได้ จ ากเมื อ งยะไข่ ก็ ท รง ฮึกเหิมที่จะขยายพระราชอ�ำนาจไปทั่วทุกทิศ ด้วย การสร้างเจดีย์องค์นี้ไว้ส�ำหรับบรรจุพระทันตธาตุ ที่ได้มาจากเมืองจีน ทั้งยังตั้งพระทัยที่จะสร้างให้ ยิง่ ใหญ่กว่าพระปฐมเจดียใ์ นสยามให้จงได้ อย่างไร ก็ตาม หลังจากสร้างไปได้ 7 ปี ก็รบแพ้ในสงคราม 9 ทัพ กลับมามัณฑะเลย์ได้ไม่นานก็เสด็จสวรรคต พระมหาเจดีย์จึงสร้างได้เพียงฐาน แต่ก็ใหญ่โตสุด จะพรรณนา ถัดวัดมิงกุนไปหน่อย เขาพาไปดูระฆังมิงกุน มองเห็นแล้วก็ทำ� ตาปริบๆ ว่า แปลกใจว่า เอ๊ะ เมือง พม่านี่ เขาไม่สร้างอะไรกันเล็กๆ เลยหรือไร ระฆัง ใบนี้ สร้างโดยพระเจ้าปดุงอีกเช่นกัน ที่สร้างใหญ่ ขนาดนี้ก็เพื่อถวายแก่พระมหาเจดีย์มิงกุน...ผมไม่ แน่ใจว่าปัจจุบันจะต้องถือว่าระฆังใบนี้ใหญ่เป็น อันดับ 1 หรือ 2 สองของโลก เพราะถึงแม้จะมีขนาด เล็กกว่าระฆังเครมลินในมอสโก แต่ระฆังใบนั้น ก็แตกร้าวไปแล้ว และทีอ่ ยู่ตดิ ๆ กันกับระฆังก็คอื เจดีย์ชนิ พิวมิน (เมียะเต็งดาน) ซึ่งถ้าไม่ได้ไปดูก็ต้องถือว่าพลาด ของส�ำคัญไปอย่างหนึง่ ทีเดียว เจดียอ์ งค์นสี้ ร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 2359 โดยพระราชนัดดาของพระเจ้าปดุง เป็นเจดีย์ที่มีความสวยงามและแปลกในหลายๆ มุมมองอย่างยิง่ เพราะสร้างขึน้ ตามคติของภูมจิ กั รวาล คือ ถือเอาว่าเอาพระเจดีย์เป็นเสมือนเขาพระสุเมรุ ดั ง นั้ น จึ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางของโลกและจั ก รวาล ล้อมรอบด้วยขุนเขาและมหาสมุทร เทีย่ วริมๆ แม่นำ�้ อิระวดีแล้วยังไม่สะใจ พ่อไกด์ ชวนผมลงเรือข้ามไปเมืองอังวะ แค่ได้ยนิ ชือ่ ก็ขนลุกซู่ เพราะเมือ งนี้มีป ระวัติศ าสตร์ ผู ก พัน กับ ประวัติศาสตร์ไทยอย่างมากมาย อีกทั้งรูปแบบของการ ท่องเที่ยวในเมืองอังวะก็ยังน่าประทับใจยิ่ง คือ ถ้าไม่ขจี่ กั รยาน ก็ตอ้ งนัง่ รถม้าเลียบเมืองชมโบราณ สถานน้อยใหญ่ ลัดเลาะไปตามถนนดิน บางครั้ง ก็ ห ายเข้ า ไปในป่ า โปร่ ง หรื อ ลั ด ไปกลางทุ ่ ง นา เขียวขจี
E M O T I O N
พระเจ้ า บากะดี ย อว์
สร้างเจดีย์ชินพิวมินนี้เพื่อเป็น อนุสรณ์แห่งความรักและ ความผูกพันที่มีต่อพระมหาเทวี ชินพิวมินผู้มีพระสิริโฉมงดงามยิ่ง งดงามถึงกับเปรียบเปรยกันว่า เป็น “ทัชมาฮาลแห่งลุ่มอิระวดี”
เรื่องที่อยากเล่าให้ฟังมากที่สุด
คือที่ได้ไปชมพิธีสรงพระพักตร์ พระมหามัยมุนี ซึ่งเป็นพิธีสุดศักดิ์สิทธิ์น่าประทับใจอย่างยิ่ง
เงี ย บๆ กุ บ กั บ ...กุ บ กั บ ... เข้าวัดโน้น ออกวัดนี้ มีความสุขเหลือก�ำลัง ท่องเที่ยวในเมืองอังวะ มีอะไรคล้ายๆ กับ เมืองเก่าสุโขทัย หรือศรีสัชนาลัยไม่มีผิดเพี้ยน
ที่ จ ริ ง กรุ ง อั ง วะนี่ เ ก่ า กว่ า มั ณ ฑะเลย์ เ ยอะ นะครับ เพราะได้รับการสถาปนาให้ราชธานีของ พม่า หลังจากการล่มสลายของอาณาจักรพุกาม โดยพระเจ้าโดมินพญา มาตั้งแต่ พ.ศ. 1900 เก่า พอๆ กับขอมเลย! แต่เพียงไม่ถึง 200 ปี กรุงอังวะ ก็ถูกตีแตกโดยชาวไทใหญ่ แต่ด้วยความที่ตัวเมือง ไม่บอบช�้ำ และมีชัยภูมิที่เป็นเกาะ มีน�้ำล้อมรอบ เมือ่ ถึงคราวจ�ำเป็น กษัตริย์พม่าก็กลับมาใช้บริการ เมืองอังวะให้เป็นเมืองหลวงเป็นครัง้ คราวหรือทีจ่ ริง อาจจะบ่อย จนเรามักเรียกกษัตริย์พม่าติดปากว่า เป็น ‘พระเจ้ากรุงอังวะ’ พอๆ กับ ‘พระเจ้ากรุง หงสาฯ’ ทีเดียว ผมประทับใจสิ่งที่ยังหลงเหลือมากที่สุดก็คือ ส�ำนักสงฆ์ปะกายา (Bagaya Monastery) สร้างขึ้น ราว พ.ศ. 2377 เป็นวัดทีด่ เู หมือนจะเอาซุงปักล้อมๆ เอาไว้ แล้ ว ค่ อ ยตี ฝ าตี พื้ น ให้ เ ป็ น รู ป บ้ า นอย่ า ง นั้นแหละ เพราะตัวอาคารหลังไม่ใหญ่เท่าไร แต่ใช้ เสาที่ท�ำด้วยซุงไม้สักขนาดสองคนโอบจ�ำนวนถึง 267 ต้น! อะไรจะขนาดนั้น 73
บรรยากาศอั น แสนศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ของส�ำนักสงฆ์ปะกายา
ทีจ่ ริงมัณฑะเลย์ทผี่ มได้ไปเห็นยังมีอกี มากมาย หลายสถานที่เล่าไม่รู้จบ แต่ถ้าให้เลือกก็จะขอ สาธยายเรื่องที่อยากเล่าให้ฟังมากที่สุดคือที่ได้ไป ชมพิธีสรงพระพักตร์ พระมหามัยมุนี ซึ่งเป็นพิธีสุด ศักดิ์สิทธิ์น่าประทับใจอย่างยิ่ง พระมหามัยมุนี พระพุทธรูปองค์ที่มีความ งดงามยิ่งจนเป็นที่เลื่องลือ และเป็นความใฝ่ฝัน ของเจ้าผูค้ รองแคว้นน้อยใหญ่ทตี่ า่ งก็หวังจะได้เป็น ผู้ครอบครอง แต่ไม่มผี ู้ใดสามารถโจมตีอาณาจักร ยะไข่ได้ ด้วยเหตุทมี่ ชี ยั ภูมเิ หมาะสม มีเทือกเขาสูง ชานโยมาเป็นปราการธรรมชาติขวางกัน้ จากรัฐอืน่ ๆ ของพม่า จะเข้าไปตีก็แสนยากล�ำบาก แต่ในที่สุด พระเจ้าปดุง ก็สามารถโจมตียะไข่ได้ และอัญเชิญ พระมหามัยมุนีมายังมัณฑะเลย์ได้ใน พ.ศ. 2327 การจะไปเฝ้าชมพิธีนี้ต้องตื่นไปรอตั้งแต่ตีสี่ ไม่อย่างนัน้ อาจไม่ได้เห็น เพราะคนพม่าก็ไปกันเยอะ เขามีต�ำนานที่เชื่อกันว่าในสมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าเสด็จมาบริเวณแคว้นยะไข่ และได้ประทาน ลมหายใจให้กับพระมหามัยมุนีเพื่อเป็นตัวแทนใน การสืบศาสนา จึงถือว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีชีวิต การบู ช าจึ ง ท� ำ เหมื อ นบู ช าพระสงฆ์ มี พิ ธีล ้ า ง พระพักตร์ในช่วงเช้าตรู่ และท�ำติดต่อกันมากว่า 200 ปีแล้ว พิธจี ะเริม่ ประมาณตีห้า เริม่ ต้นด้วยการ สรงพระพักตร์ดว้ ยน�ำ้ ผสมทะนะคา (แป้งทีส่ าวพม่า ทาแก้ม) แปรงพระทนต์ ล้างพระพักตร์อย่างบรรจง แล้วจึงเช็ดด้วยผ้าแห้ง...ทุกผืนที่พุทธศาสนิกชน น�ำมาถวายในเช้าวันนั้น เมื่อเสร็จพิธีเจ้าของผ้า 74
เณรน้ อ ย ก�ำลังเรียนหนังสืออยู่ในส�ำนักสงฆ์ แสง เงา ตกกระทบงดงามชนิดตากล้องไทย - เทศ งัดกล้องถ่ายรูปมากระหน�่ำกันสนุกสนาน
พระมหามั ย มุ นี เป็นพระพุทธรูปทรง
เครื่องกษัตริย์ ปางมารวิชัย หน้าตัก กว้าง 9 ฟุต สูง 12 ฟุต ตอนสร้าง ต้องหล่อเป็น 3 ส่วน แล้วน�ำมาประกอบ ประสานกันไม่ให้มีรอยต่อ สร้างขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ. 689 โดยพระเจ้า จันทสุริยะ กษัตริย์ชาวยะไข่ แห่งเมืองธัญญวดี
จะได้น�ำผ้ากลับไปบูชา เสร็จแล้วก็จะใช้พัดโบก พระพักตร์ใ ห้แ ห้งสนิท แล้วจึงถวายภัตตาหาร พิธีนี้ยิ่งใหญ่ ศักดิ์สิทธิ์ และดูขลังเป็นอย่างยิ่ง ตลอดพิธีกรรมก็จะมีการสวด และมีประโคมอัน ไพเราะตลอดเวลา ทีด่ า้ นหน้าของทางเข้าพระอุโบสถมีของโบราณ ที่ผู้คนไม่ค่อยสนใจ เดินผ่านไปผ่านมา แต่ผมเดิน หาให้ ค วั่ ก เพราะตั้ ง ใจมาดู พ อๆ กั บ พิ ธีก รรม สรงพระพักตร์ นั่นก็คือ รูปหล่อส�ำริดศิลปะขอม จ�ำนวน 6 ชิ้น สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เป็นรูปช้างเอราวัณ รูปสิงห์ รูปพระอิศวร และทวารบาล รูปส�ำริดนี้ เจ้าสามพระยา (พระบรมราชา) ทรงน�ำกลับมาเมื่อครั้งยกทัพไปตีนครธมได้ ครั้น บุเรงนองตีอยุธยาแตกในปี พ.ศ. 2112 ก็นำ� กลับไป ไว้ที่หงสาวดี พอพระเจ้ายะไข่ตหี งสาฯ แตก ก็เอา ไปไว้ยะไข่ ครัง้ สุดท้ายพระเจ้าปดุงตียะไข่แตก ของ จึงมาอยู่ท่มี ัณฑะเลย์พร้อมกับพระมหามัยมุนี อีก เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ผ มอยากเห็ น กั บ ตาตั ว เองก็ เพราะเคยได้ยนิ ว่า เขมรก�ำลังขอคืนของทั้ง 6 ชิ้น นี้ กลับไปไว้ท่พี ิพิธภัณฑ์เมืองเสียมเรียบอย่างเดิม นับเป็น ‘สมบัติผลัดกันชม’ ที่ยืดยาวจริงๆ มัณฑะเลย์ และทั่วไปในพม่า มีสมบัติให้ผลัด กันไปเที่ยวชมอีกมากมาย...มากมายจริงๆ นี่ยังไม่ นับทะเลสาบอินเล และพุกาม ที่ผมยังไม่ได้เล่า! เอาไว้โอกาสเหมาะๆ จะขุดมาบรรยาย แต่ที่แน่ๆ ก็คือ ปลายปีนี้ตั้งใจจะเอาจักรยานใส่เครื่องบิน กลับไปลุยพม่าอีกสักสิบวัน
PASSION FRUIT CURD
ของหวานที่ครบทั้งรส ครบทั้งผิวสัมผัส
ASTON AS I AM “ลองจิ น ตนาการ ถึงโลกในยุคล่มสลาย
ของอารยธรรมดูสิ ที่ไม่มีอะไรเหลือ ทุกอย่าง พังพินาศ สิ่งที่เป็นอยู่ สิ่งที่เห็น ไม่เหมือนเดิม แต่กลับแฝงไว้ด้วยอะไรบางอย่างที่ดูคุ้นเคย เหมือนเคยได้พบ เคยได้รู้จัก เคยได้ลิ้มรส เคยได้สัมผัส” นี่คือค�ำตอบที่ผมพอเรียบเรียง ได้เมื่อถามถึงค�ำจ�ำกัดความของ Modern European Cuisine…ในห้วงวินาทีเดียวกัน นั้นเอง สมองผมตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า “เราก�ำลังคุยกับนักวิทยาศาสตร์จากอนาคต จิตรกรวาดภาพแนวเหนือจริง นักเขียนนิยาย ไซไฟ หรือว่ากับเชฟ...กันแน่”
เ
76
ชฟต้น (ศรา จิรารัตน์) หั่นผักอย่างขะมักเขม้น เพื่อเตรียมส�ำหรับรอบอาหารค�่ำพร้อมๆ กับเล่าต่อ ถึงร้าน Aston Dining Room & Bar ว่าที่นี่เป็นการ รวบรวมความเป็นตัวตนและประสบการณ์ทำ� งาน ทั้งหมดของเขาไว้ด้วยกัน ตั้งแต่การออกแบบร้าน ที่เขาขอไม่ให้ค�ำจ�ำกัดความของสไตล์การตกแต่ง เขาไม่ต้องการให้ลูกค้าถูกตีกรอบความคิด แต่ ต้องการให้ลูกค้ามาด้วยความไม่คาดหวัง เพื่อพบ กับสิ่งเหนือความคาดหวัง ที่สุดแต่ลูกค้าจะไป ตีความกันเอาเอง และด้วยความที่เป็นการเสิร์ฟ แบบ Chef’s Table เมนูอาหารจะเปลี่ยนแปลงไป ตามวัตถุดบิ ทีส่ รรหามาได้บวกกับไอเดียสร้างสรรค์ ของเขาในแต่ละวัน โดยลูกค้าจะนั่งเรียงกันเป็น รูปตัว L ล้อมครัวเปิดสะอาดเนี้ยบ ได้เห็นความ เป็นไปทุกอย่างในครัวของเขาได้อย่างใกล้ชดิ เรื่ อ ง ธั ช ชั ย นาคพั น ธุ ์ ภาพ นพพร ยรรยง
e m o t i o n
เชฟต้ น
ก�ำลังเตรียมความพร้อม ส�ำหรับมื้ออาหารเย็น Aston Dining Room & Bar
เปิดบริการ อังคาร - อาทิตย์ ตั้งแต่ 18.30 - 24.00 น. ซอยสุขุมวิท 31 แยก 4 โทร. 0 2102 2323
BEEF TARTARE
จัดวางอย่างสวยงาม แนวโมเดิร์น
จานแรกทีไ่ ด้ลองวันนีค้ อื English Breakfast: Egg Tomato, Wild Mushroom, Potato Foam, Bacon คล้ายไข่คนแต่เสิร์ฟมาในเปลือกไข่ที่ตกแต่งด้วย โฟมรสมันฝรัง่ และเบคอนกรอบ เป็นการตีความใหม่ ของอาหารเช้า ในรูปแบบอาหารเรียกน�ำ้ ย่อยที่ไซส์ เล็กแต่อร่อยครบรสชาติคนุ้ เคยของอาหารเช้าจริงๆ ต่อด้วย Beef Tartare : Bearnaise Ice Cream, Sriracha Caramel ที่ผสมผสานความเป็นไทยและฝรั่งเศส ได้อย่างมหัศจรรย์ โดยน�ำสเต็กซอสคลาสสิกของ ฝรัง่ เศสมาน�ำเสนอในรูปแบบไอศกรีมสุดเข้ากันกับ รสเนื้อดิบที่คลุกเคล้ากับซอสศรีราชาในรูปแบบ คาราเมล และปิดท้ายอย่างลงตัวด้วย Passion Fruit : Tropical Flavour ที่โดดเด่นด้วยการผสมผสาน ผิวสัมผัสทีห่ ลากหลาย ตัง้ แต่ความหวานเนียนของ ไอศกรีมวานิลลา ความเปรีย้ วนุม่ ของ Passion Fruit Curd ความหนึบๆ ของสาคู และความกรุบกรอบ ของครัมเบิล...บราโว!! เชฟเล่าว่ามีฟาร์มไก่ ฟาร์มไข่ และผักเป็นของ ตนเองด้วยเพราะต้องการได้วัตถุดิบที่ได้คุณภาพ ดั่งใจจริงๆ ถ้าซัพพลายเออร์ไม่มขี องดีพอ ขอเพาะ ขอปลูกกันเองเลยดีกว่า และเชฟยังใช้คอนเซ็ปต์ Zero Carbon เพือ่ สิง่ แวดล้อมอย่างจริงจัง โดยอุปกรณ์ ครัวทุกอย่างใช้ไฟฟ้าทัง้ หมด ไม่มกี ารใช้แก๊ส พร้อม ทั้งมีกระบวนการรีไซเคิลแยกขยะเต็มรูปแบบ นั บ เป็ น บริ บ ทใหม่ แ ห่ ง ร้ า นอาหารที่ ข ายทั้ ง คอนเซ็ปต์ มีเชฟรุ่นใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และยัง บรรยากาศที่หากวันเวลาผ่านไปเราจะเห็นต้นไม้ เขียวครึ้มล้อมรอบยิ่งขึ้นไปอีก...ส่วนรสชาติอาหาร นัน้ กระซิบนิดหนึง่ ว่าเหมาะส�ำหรับคนทีช่ อบความ แปลกใหม่ ต้องการความเซอร์ไพรส์ และเนื่องใน โอกาสพิ เ ศษๆ เพราะจะเข้ า ไปนั่ ง ชิ ล และชิ ม ที่ Chef’s Table แห่งร้าน Aston นี้ได้ คุณต้องโทร. จองที่นั่งล่วงหน้า และพาเฉพาะคนพิเศษๆ ที่จอง เผื่อไว้ให้แล้วเท่านั้น...
ไข่ ใ บน้ อ ย
กับรสชาติ ที่ไม่น้อยของ English Breakfast
การตกแต่ ง
แบบไร้ค�ำจ�ำกัดความ ของ Aston
77
The new Vito Executive THE NEW VITO EXECUTIVE สัมผัสประสบการณ์ ใหม่
แห่งการเดินทางตอบสนองทุกความต้องการ พร้อมเติมเต็มความสุขทั้งในวันหยุดและวันท�ำงาน
T
78
he new Vito Executive ยนตรกรรมหรูอเนกประสงค์ ที่พร้อมพาคุณขับเคลื่อนไปในทุกพื้นที่ ตอบรับ กับการเดินทางทุกรูปแบบการใช้ชวี ิต ถือเป็นแบบ ฉบับยนตรกรรมทีผ่ สานความหรูหรา ความสะดวก สบาย และความกว้างขวาง ด้วยที่นั่งโดยสารด้าน หลั ง ที่ ป รั บ เปลี่ ย นได้ พร้ อ มด้ ว ยระบบความ ปลอดภัยเข้าไว้ดว้ ยกัน มอบความรืน่ รมย์ให้กบั การ เดินทางทั้งผู้ขับขี่และผู้โดยสาร ตอบสนองการใช้ งานได้อย่างหลากหลาย เมอร์เซเดส-เบนซ์ The new Vito Executive ขับเคลือ่ นด้วยขุมพลังทีเ่ ต็มไปด้วยสมรรถนะ อีกทัง้ ยั ง ประหยั ด น�้ ำ มั น และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม มาพร้อมเครื่องยนต์ดีเซลแถวเรียง 4 สูบ เทอร์โบ
เรื่ อ ง / ภาพ เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย)
พร้อมอินเตอร์คลู เลอร์ ความจุกระบอกสูบ 2,143 ซีซี ก�ำลังแรงม้าสูงสุดที่ 110 กิโลวัตต์ (150 แรงม้า) ที่ 3,800 รอบ/นาที ให้แรงบิดสูงสุดที่ 330 นิวตัน เมตร ที่ 1,600 - 2,400 รอบ/นาที อัตราเร่งจาก 0 - 100 กม./ชม. ภายในระยะเวลา 12.2 วินาที และ ความเร็วสูงสุด181 กม./ชม. ผสานการท�ำงานควบคู่ กับเกียร์อัตโนมัติเดินหน้า 5 จังหวะ และแมนนวล โหมด พร้อมด้วยระบบกันสะเทือนด้านหลังคอยล์ สปริงแบบ Comfort พร้อมการทรงตัว และยึดเกาะ ถนนอย่างมั่นคง แม้ใช้ความเร็วสูง The new Vito Executive ได้รับการออกแบบ อย่างสร้างสรรค์และล�ำ้ สมัยด้วยดีไซน์ทโี่ ดดเด่นทัง้ ภายในและภายนอก ภายในห้องโดยสารปลอดโปร่ง เป็นพิเศษจากหลังคาซันรูฟแบบกระจกขนาดใหญ่ ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าส�ำหรับผู้โดยสารด้านหลัง และที่นั่งผู้โดยสารด้านหลังที่สามารถปรับเปลี่ยน รูปแบบให้รองรับทุกประโยชน์ใช้สอย พร้อมที่นั่ง แบบ Captain Chair 2 ต�ำแหน่ง โดยได้รับการ ออกแบบตามหลักสรีรศาสตร์และผลิตขึน้ จากวัสดุ คุณภาพสูงผ่านการผลิตทีป่ ระณีต พิถพี ถิ นั รองรับ การเคลื่อนไหวในทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะเดินทางใน ระยะใกล้หรือไกล ด้วยเบาะนั่งพิเศษสามารถปรับ เข้าหากันได้ ท�ำให้เหมาะแก่การรับรองแขกวีไอพี หรือส�ำหรับนักธุรกิจใช้ในการประชุมหรือเจรจา ธุรกิจอีกด้วย
m o m e n t s
publication details September | 2013 Thailand issue
ฉบับภาษาไทย 3/2013 อ�ำนวยการผลิต บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ชั้น 19 อาคารรัจนาการ เลขที่ 183 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0 2614 8888 ต่อ 6121 แฟกซ์ 0 2676 5685 www.mercedes-benz.co.th ที่ปรึกษา พงศ์เทพ มหาเปารยะ, ผศ. ประเทื อ ง ครองอภิ ร ดี , อาภาภรณ์ โกศลกุ ล , กาญจนา หงษ์ ท อง บรรณาธิ ก ารบริ ห าร เยาวเรศ เลิศลือชาชัย ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร นัตฐา เลิศจตุรภัทร หัวหน้ากองบรรณาธิการ ฬียากร เจตนานุศาสน์ กองบรรณาธิการ นุดา พวงชะบา, ภิญญดา แซ่ต้งั พิสูจน์อักษร จันทรอุบล บรรณาธิการศิลปกรรม ธวัชชัย เลิศจตุรภัทร ศิลปกรรม นิรันดร์ ถิระสุข จัดท�ำโดย บริษัท เวอร์โก อาร์ต กิลด์ จ�ำกัด ติดต่อโฆษณา พรวิภา กล้าหาญ, นิรมล สุวรรณดี โทร. 0 2196 1062-5 พิมพ์ที่ อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง
ผู้จำ�หน่ายและศูนย์บริการรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่างเป็นทางการ กรุงเทพฯ และปริมณฑล
เมอร์เซเดส-เบนซ์
ต้อนรับประธานบริหารคนใหม่
มร.
ไมเคิล เกรเว่ เข้ารับต�ำแหน่งประธานบริหาร บริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด แทน ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ ซึ่งหมดวาระการปฏิบัติ หน้าทีใ่ นประเทศไทย โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2556 เป็นต้นไป มร. เกรเว่ กล่าวถึงการเข้ารับต�ำแหน่งในครั้งนี้ ว่า “ผมมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับมอบหมาย ให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานบริหาร บริษัท เมอร์เซเดสเบนซ์ (ประเทศไทย) ซึ่งปัจจุบันตลาดรถยนต์หรูใน ไทยมีการแข่งขันทางธุรกิจกันมากซึ่งนับเป็นตลาดที่ น่าสนใจ โดยผมคาดว่าในช่วงครึ่งปีหลัง ปีนี้ตลาด รถหรูยังเติบโตต่อเนื่อง โดยผมจะน�ำประสบการณ์ ของผมช่วยพัฒนาบริษทั ฯ ให้เติบโตต่อไป ซึง่ เรายังคง ตั้งเป้าครองความเป็นผู้น�ำตลาดรถหรูเป็นปีท่ี 13 ติดต่อกัน รวมทั้งเน้นการท�ำตลาดเชิงรุก และเดิน หน้าขยายพอร์ตโฟลิโอด้วยการเปิดตัวรถรุ่นใหม่ที่ เหมาะกับตลาดประเทศไทยและความต้องการของ ลูกค้า โดยเฉพาะกลุม่ ลูกค้า รุน่ หนุม่ รุน่ สาว นอกจาก นั้นเรายังคงเน้นการรักษาฐานลูกค้าพร้อมกับหา ลูกค้ากลุม่ ใหม่ ทัง้ นีร้ วมถึงการพัฒนาเครือข่ายระบบ การบริหารจัดการในส่วนของศูนย์บริการและโชว์รูม ของผู้จำ� หน่าย เมอร์เซเดส-เบนซ์ ให้มีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานเดียวกัน รวมถึงการจัดกิจกรรม ตอบแทนลูกค้า เพือ่ การสร้างความสัมพันธ์อนั ดีร่วม กัน และท�ำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด”
กลุ่มทองหล่อ โทร. 0 2714 8888 เค้งหงษ์ทอง โทร. 0 2962 6300 ทีทีซี มอเตอร์ส โทร. 0 2322 8575 ธนบุรีพานิช จำ�กัด • ราชดำ�เนิน โทร. 0 2622 3000 • ลุมพินี-สาทร โทร. 0 2286 7356 • งามวงศ์วาน โทร. 0 2954 0200 เบนซ์ ตลิ่งชัน โทร. 0 2880 7180-9 เบนซ์ บีเคเค กรุ๊ป โทร. 0 2745 2222 เบนซ์ บีเคเค วิภาวดี โทร. 0 2930 1881-99 เบนซ์ พระราม 3 โทร. 0 2291 1212 เบนซ์ ราชครู โทร. 0 2617 1212 เอ็มบี รามอินทรา โทร. 0 2945 4555 สวนหลวง ออโต้เฮ้าส์ โทร. 0 2322 5999 พันทวี ออโต้ มาสเตอร์ โทร. 0 2542 1269 สตาร์ แฟลก* โทร. 0 2644 9050-9
ภาคกลาง
เบนซ์เพชรรัตน์ โทร. 0 3428 4381-4 เบนซ์เภตรา โทร. 0 2979 6889-94
ภาคตะวันตก
ที เอส ที เมอร์เซเดส-เบนซ์ โทร. 0 3234 1564-6
ภาคเหนือ
เจริญมอเตอร์เบนซ์ โทร. 0 5341 2911-2 พิษณุโลกนามทอง โทร. 0 5522 3999
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เบนซ์ วีทซี ี มอเตอร์ โทร. 0 4528 0695-6 เบนซ์ อุดรธานี โทร. 0 4224 9416-22 ออโตโพลิส โทร. 0 4334 4333 เอ็มบี โคราช ออโตเฮาส์ จำ�กัด โทร. 0 4422 2777-9
ภาคตะวันออก
จิตต์ชัยชลบุรี โทร. 0 3876 4121-4 จันทบุรี เจพี มอเตอร์ โทร. 0 3941 8888 เบนซ์ ระยอง (สาขาพัทยา) โทร. 0 3870 2590-1
ภาคใต้
เบนซ์ภูเก็ต โทร. 0 7623 9700-1 สงวนวัฒนาเอนเตอร์ไพรส์ โทร. 0 7436 5650-6
ศูนย์งานสีและตัวถัง
วิริยะคาร์บอดี้ เซอร์วิส โทร. 0 2926 8019-25 *จำ�หน่ายเฉพาะรถเพื่อการพาณิชย์
เป็ นนิ ต ยสารราย 3 เดื อ นที่ได้ รับ การตี พิม พ์ แ ละ เผยแพร่เป็นภาษาต่างๆ กว่า 40 ภาษาทัว่ โลก บริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด จัดทำ� ฉบับภาษาไทยขึ้นเป็นบริการพิเศษ เพือ่ อภินนั ทนาการแด่ลกู ค้าผูท้ รงเกียรติทว่ั ประเทศทีซ่ อ้ื รถยนต์ใหม่จากผูจ้ ำ�หน่ายรถยนต์ เมอร์เซเดส-เบนซ์ อย่างเป็นทางการ ทัง้ นี้ สิทธิใ์ นการรับ ไม่สามารถโอนให้กับท่านอื่นได้ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโดยมิต้อง แจ้งล่วงหน้า นิตยสารฉบับนี้ขอมีส่วนในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ด้วยการพิมพ์โดย หมึกถัว่ เหลือง และสำ�หรับดิจติ อลแมกกาซีนฉบับเต็ม สามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน่ ได้ท่ี App Store หรือ www.mercedes-benz.co.th ฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยบริษทั เวอร์โก อาร์ต กิลด์ จ�ำกัด ภายใต้ขอ้ ตกลงร่วมกับบริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และเป็น ลิขสิทธิอ์ ย่างถูกต้องตามกฎหมายของบริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษทั เวอร์โก อาร์ต กิลด์ จ�ำกัด ขอสงวนสิทธิใ์ นการจัดพิมพ์ ท�ำซ�ำ้ อ้างอิงหรือ เผยแพร่บทความทัง้ หมดหรือเพียงบางส่วนในรูปแบบอืน่ ใด โดยปราศจากการยินยอม เป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้จัดพิมพ์ ข้อเขียน รูปภาพ และบทความทั้งหมดนี้เป็น ความคิดเห็นมุมมองของผู้เขียนโดยตรง ไม่เกี่ยวข้องกับบริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือผูพ้ มิ พ์แต่อย่างใด
เผยโฉม The new S-Class สุดยอดยนตรกรรมหรูระดับเวิลด์คลาส จากเมอร์เซเดส-เบนซ์
ก
80
ระหึม่ ไปทัว่ ฟ้าเมืองไทย เมือ่ บริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดเอ็กซ์คลูซฟี กาล่า ดินเนอร์ “ดิ เอสเซ้นส์ ออฟ ลักซ์ชวั รี่ - The Essence of Luxury” เชิญแขกวีไอพีระดับเอลิสต์ของเมืองไทยหลากหลาย วงการ มาร่วมสัมผัสประสบการณ์พิเศษสุดๆ ของ The new S-Class สุ ด ยอดยนตรกรรมหรู ร ะดั บ เวิลด์คลาส และเป็นยนตรกรรมแฟลกชิปทีไ่ ด้รบั การ รังสรรค์ขึ้นอย่างประณีตและพิถีพิถันในทุกขั้นตอน ท่ า มกลางบรรยากาศอั น หรู ห ราและอลั ง การ ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมแชงกรี-ลา
เรื่ อ ง / ภาพ เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย)
นับเป็นการเปิดตัวทีห่ รูหรา อลังการ สมศักดิศ์ รี ความเป็นยนตรกรรมที่เพียบพร้อมทุกสิ่ง ไม่ว่าจะ เป็นรถที่มีระบบนวดเสมือนการใช้หินร้อน รวมทั้ง ในงานยังมีเมนูของหวานสุดพิเศษ ช็อกโกแลตราส เบอร์รี่รูปรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ ที่ได้รับแรง บันดาลใจมาจากชุดเครือ่ งเสียงคุณภาพ Burmester® Surround Sound System นอกจากนั้ น ยั ง ได้ เคลิบเคลิม้ ไปกับบทเพลงอันไพเราะทีข่ บั กล่อมโดย นั ก ร้ อ งรั บ เชิ ญ ฝี มื อ เยี่ ย มที่ ผ ่ า นการแสดงละคร บรอดเวย์ช่อื ดังอย่าง เกรแฮม บิคลีย์ และ โรบิน นอร์ธ ร้องควบคู่ไปกับการบรรเลงดนตรีจากวง บางกอกซิมโฟนีออเคสตร้าโดยมี ไมเคิล อิงแลนด์ วาทยกรมากประสบการณ์ระดับโลกร่วมอ�ำนวย เพลงตลอดงาน อลังการแบบนี้ ช่างสมกับความ เป็นเมอร์เซเดส-เบนซ์ จริงๆ
m o m e n t s
“Exclusive painting class with M.L.Jirathorn” เมอร์เซเดส-เบนซ์ จัดคลาสศิลปะกับศิลปิน
ครูโต-มล.จิราธร จิรประวัติ
น
อกเหนือจากการแข่งขันกอล์ฟ Mercedes Trophy ซึ่งจัดขึ้นอย่างเป็นประจ�ำแล้ว เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ยังมีกจิ กรรมต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง ทีเ่ น้นความพิเศษสุดเอ็กซ์คลูซฟี เพือ่ เติมเต็มความสุข ให้ลูกค้าในหลากหลายมิติ ล่าสุดเพื่อการตอบสนองไลฟ์สไตล์ของลูกค้าให้ ได้ ทั่ ว ถึ ง ทุ ก กลุ ่ ม ทางบริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ จั ด กิ จ กรรม “Exclusive painting class with M.L.Jirathorn” โดยเพื่อให้เข้ากับบรรยากาศ จึงเลือกสถานที่เป็น พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย หรือ Museum of Contemporary Art (MOCA) ถ.วิภาวดีรังสิต เพื่อให้ ลูกค้าทีช่ นื่ ชอบงานศิลปะได้ชนื่ ชมงานจิตรกรรมและ ประติมากรรมอันทรงคุณค่าของหลากหลายศิลปิน ที่จัดแสดงผลงานภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ บรรยากาศแสนเพลิดเพลินตลอดการเดินชมงาน โดยมีวิทยากรพาน�ำชมและให้ความรู้อย่างทั่วถึง หลังจากนั้นก็ถึงเวลาที่ครูโต-ม.ล. จิราธร จิรประวัติ นักวาดภาพ และครูสอนศิลปะชื่อดัง มาช่วยแนะ เทคนิคการวาดภาพตามแบบฉบับของตัวเอง ให้ลกู ค้า ได้ใช้จนิ ตนาการต่อยอดแสดงฝีมอื และน�ำไปใส่ลงบน เคสโทรศัพท์สมาร์ทโฟน อันเป็นผลงานมาสเตอร์พซี ของตนเองแบบไม่ซ้ำ� ใครกลับไปเป็นที่ระลึกด้วย และปิดท้ายด้วย High Tea เคล้าเสียงดนตรี ก่อน จบกิจกรรมลงอย่างชืน่ มืน่ เป็นภาพของความสุขทีม่ ี ศิ ล ปะล้ อ มรอบตั ว อย่ า งที่ เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) ยินดีจะมอบความสุขแบบนี้ให้ลูกค้า ได้จดจ�ำไปแสนนาน 81
สัอุ ณญห ภูลัมิกษณ์ เบี ย ร์
ไม่มีกลิ่นหอมที่รุนแรง ดื่มได้รสชาติดีขณะยังเย็นอยู่ (6-8 องศาเซลเซียส) ยกเว้นเบียร์ที่มีรสชาติเข้มข้น หรือที่ท�ำจากข้าวสาลีจะมีรสชาติดียิ่งขึ้น ถ้าผ่านการ ท�ำให้อุ่นขึ้นเล็กน้อย (10-12 องศาเซลเซียส)
ชาเขี ย ว
อุณหภูมิที่ดีต้องระหว่าง 55-65 องศา เซลเซียส เพราะจะให้ทั้งวิตามิน และกรดอะมิโน ในทวีปเอเชีย มีการใช้เป็นเครื่องดื่มเย็นด้วยเช่นกัน
ไวน์ ข าวผสมเลมอนเนด
ท�ำจากองุ่นมีหลากหลายกลิ่นให้เลือก เช่น องุ่นสายพันธ์ุ traminer, muscat หรือ scheurebe การดื่มในอุณหภูมิสูง ไวน์แดงผสมเลมอนเนด...ลืมไปเลย
เป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับ เครื่องยนต์ เช่นเดียวกับ อุณหภูมิที่มีผลต่อเครื่องดื่ม แต่ละประเภท 7 ตัวอย่างส�ำหรับ เครื่องดื่มทั้งร้อนและเย็น
น�้ ำ เปล่ า
ไม่ควรดื่มพร้อมน�้ำแข็งก้อนใหญ่ เพราะจะท�ำให้ติดคอ เจ็บทั้งคอ และกระเพาะอาหารได้
เครื่ อ งดื่ ม ให้ พ ลั ง งาน
ไวน์ แ ดง
มีความคิดเห็นที่ขัดแย้งกันในเรื่องของ การไม่ควรดื่มในอุณหภูมิปกติ เช่น Red Burgundy อุณหภูมิที่เหมาะสมกับ การดื่มอยู่ที่ 16-18 องศาเซลเซียส หรือ Pinot noir 6-8 องศาเซลเซียส
82
เหล้ า วอดก้ า
โดยทั่วไปมีลักษณะใสเหมือนคริสตัลพร้อมกลิ่นหอมเล็กน้อย แนะน�ำว่าไม่ควรดื่ม พร้อมกับอาหาร อุณหภูมิที่เหมาะกับการดื่มควรเย็นมากๆ ระหว่าง 2 - 4 องศาเซลเซียส ข้อควรระวัง: วอดก้าที่เย็นจัดท�ำให้รู้สึกสดชื่นได้ แต่มันได้ปกปิด ปริมาณแอลกอฮอล์ที่แท้จริงเอาไว้ด้วย
โดยทั่วไปรสชาติเหมือนวิตามินส�ำหรับเด็ก ถ้าจะท�ำให้มีรสชาติดีชวนดื่ม ควรท�ำให้เย็น ที่อุณหภูมิ 3-5 องศาเซลเซียส หรือใส่น�้ำแข็ง และบีบมะนาวใส่ลงไปสักเล็กน้อย
Illustration Leandro Castelao/Dutchuncle phOTOS Fotolia words Manfred Klimek
อุณหภูมิของระบบหล่อเย็น