ให้ใช้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป
กรมชลประทาน Royal Irrigation Department
2
แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
สารจากอธิบบดีดีกกรมชลประทาน สารจากอธิ รมชลประทาน
ประธานคณะกรรมการอ ประธานคณะกรรมการอานวยการจั านวยการจัดดททาแผนยุ าแผนยุททธศาสตร์ ธศาสตร์ขของกรมชลประทาน องกรมชลประทาน 115 ปี กรมชลประทาน ในปี พ.ศ. 2560 เป็ นก้ า วย่ า งแห่ ง การเปลี่ ย นผ่ า นการบริ ห ารราชการด้ ว ย ยุทธศาสตร์เดิมไปสู่ยุทธศาสตร์ใหม่ที่ส้าคัญหลายยุทธศาสตร์ เริ่มจากแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้้า พ.ศ. 2558-2569 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2579 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนพัฒนาการเกษตรภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และ นโยบายการปฏิ รูป เศรษฐกิ จของประเทศที่ขั บเคลื่ อนด้ วยนวัตกรรม (ประเทศไทย 4.0) ที่กรมชลประทานต้ อง ปรับเปลี่ยนการบริหารราชการอย่างรวดเร็วด้วยอั ตราเร่งที่สูง ขึ้นตามความเปลี่ย นแปลงของสถานการณ์โลก การ ท้า งานรู ปแบบเดิมอาจไม่ส ามารถตอบสนองต่ อปัจจัย และความท้า ทายต่ างๆ เหล่ านั้ นได้ ดัง นั้ น คณะกรรมการ อ้ า นวยการจัด ท้า แผนยุ ทธศาสตร์ ข องกรมชลประทาน ตามค้ า สั่ ง กรมชลประทาน ที่ ข 1374/2559 ลงวัน ที่ 30 พฤศจิกายน 2558 จึงได้ด้าเนินการจัดท้าแผนยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน ฉบับใหม่ ปี 2560 -2564 โดย ผู้บริหารมอบทิศทางการน้าองค์กร มีการรับฟังความคิดเห็นปัญหา อุปสรรค ความต้องการ และความคาดหวัง ทั้งจาก บุคลากรภายในองค์กร และบุคคลภายนอก เพื่อน้าไปสู่การขับเคลื่อนองค์กรด้วยการบริหารงานเชิ งรุก ใช้กระบวนการ มีส่วนร่วม สร้างเครือข่าย พัฒนาศักยภาพขององค์กรในภาพรวมให้สามารถรับมือกับความท้าทายของสถานการณ์การ เปลี่ ยนผ่ าน ขณะเดีย วกันสามารถตอบสนองต่ อเป้ าหมายและวิสัย ทัศน์ ของกรมชลประทานในการเป็น “องค์ก ร อัจฉริยะ ที่มุ่งสร้างความมั่นคงด้านน้า (Water Security) เพื่อเพิ่มคุณค่าการบริการ ภายในปี 2579” การด้าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ของกรมชลประทานที่ผ่านมา ประสบความส้าเร็จในหลายด้าน โดยมี ผลงานที่ได้รับรางวัลประจ้าปี 2559 ได้แก่ รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 4 ด้านการ วิเคราะห์ผลการด้าเนินงานขององค์การจัดการความรู้ รางวัลองค์กรที่มีความเป็นเลิศในการบริหารจัดการด้านการเงิน การคลัง ครั้งที่ 3 รางวัล The Best of Special Prize ผลงานเรื่องนวัตกรรมเครื่องมือส้ารวจชลประทาน และรางวัล Special Prize จากกลุ่มสิ่งประดิษฐ์เพื่อใช้งานในอนาคต ปี 2558 รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ระดับดี กระบวนการ ติดตามผลการปฏิบัตงิ าน (ระบบติดตามออนไลน์) ปี 2557 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 3 ด้านการ มุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2556 รางวัลประเภทรางวัลเกียรติยศ จากผลงานการป้องกันและบรรเทา ภัยแล้งแบบบูรณาการ โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษาแม่ยม จังหวัดแพร่ นับเป็นผลงานที่สร้างความภาคภูมิใจอย่างยิง่ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564 มุ่งสร้างความมั่นคงด้านน้้าเพื่อสร้างความยั่งยืนให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงการใช้น้าได้ และเป็นหนึ่งในเป้าหมายและทิศทางยุทธศาสตร์ของแผนชาติ ทั้งนี้ การน้าแผน ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติจะเป็นขั้นตอนส้าคัญ ด้วยกิจกรรมการถ่ายทอดแผนลงสู่ระดับส้านัก กอง และลงสู่ระดับ บุคคลเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน เกิดผลสัมฤทธิ์ในแต่ละเป้าประสงค์ และบรรลุวิสัยทัศน์ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุ ด
(นายสุเทพ น้อยไพโรจน์) อธิบดีกรมชลประทาน กรมชลประทาน
3
4
แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
สารบัญ หน้า สารจากอธิบดีกรมชลประทาน 1. ข้อมูลด้านการชลประทานของประเทศไทย 2. แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ ค่านิยม 3. รายละเอียดประเด็นยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2560 - 2564
17 39
1. การพัฒนาแหล่งน้้าและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้้า(Basin–based Approach) 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้้า อย่างบูรณาการ ตามวัตถุประสงค์การใช้น้า 3. การป้องกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้้า 4. การเสริมอ้านาจประชาชนในระดับพื้นที่ (Empowering) การสร้างเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนในงานบริหารจัดการน้้าชลประทาน (Networking Collaboration Participation) 5. การปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ (Turnaround to Intelligent Organization)
4. แผนที่ยุทธศาสตร์ 5. ผังเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์และโครงการ 6. รายละเอียดตัวชี้วัด/เป้าหมายตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ภายใต้แผนยุทธศาสตร์
6 12 6 12 9 15 12 18 15 21 19 25 27 21 33 27 37 43
SG1 มีแหล่งเก็บกักน้้าและมีปริมาณน้้าที่จัดการได้ เพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
37 43
SG2 การบริหารจัดการน้้าโดยให้ทุกภาคส่วนได้รับน้้าที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ตามปริมาณน้้า ต้นทุนที่มีในแต่ละปี (อุปโภคบริโภค เกษตร อุตสาหกรรม และรักษาระบบนิเวศ) SG3 การปรับเปลี่ยนการใช้น้าภาคเกษตรมีประสิทธิภาพมากขึ้น
48 42
SG4 เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจทางการเกษตร ในพื้นที่ชลประทาน
48 54
SG5 ความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่ลดลงอันเนื่องมาจากอุทกภัยและภัยแล้ง
57 51
SG6 การคาดการณ์สถานการณ์น้ามีความทันสมัยและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายของ ชลประทานที่ทันต่อ เหตุการณ์ SG7 ยกระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และชุมชนในพื้นที่ ไปสู่ระดับการเสริมอ้านาจการบริหารจัดการ การชลประทาน SG8 เพิ่มเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้ใช้น้า (เครือข่ายผู้ใช้น้าเกษตร อุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรม อื่นๆ) SG9 ได้รับการสนับสนุนจากท้องถิ่นและจังหวัดในการพัฒนาโครงการ
59 53
SG10 เป็นองค์กรอัจฉริยะ
เป้าประสงค์ระดับปฏิบัติการ Opo 1 - Opo13
51 45
61 55 63 57 58 64 66 60 67 61
กรมชลประทาน
5
สารบัญ (ต่อ)
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
6
ภาคผนวก ค้าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการอ้านวยการจัดท้าแผนยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน แต่งตั้งคณะกรรมการด้าเนินงานจ้างที่ปรึกษาและคณะกรรมการก้ากับการท้างานและตรวจรับ งานของทีป่ รึกษาในการจัดท้าแผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน กระบวนการทบทวนแผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร (SWOT Analysis) แนวทางการเสริมอ้านาจประชาชนในระดับพื้นที่ (Empowering) การสร้างเครือข่ายและการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (Networking Collaboration Participation) การปรับปรุงการด้าเนินงานเพื่อเป็นองค์กรอัจฉริยะ (Intelligent Organization) ความรู้เรื่องการวางแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของ ส้านักงาน ก.พ.ร. ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนางานชลประทาน วิสัยทัศน์กรมชลประทานอดีตถึงปัจจุบัน และ Road Map 20 ปี กรมชลประทาน ผลการส้ารวจความคิดเห็นเพือ่ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน
แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
หน้า 91 82 94 85 96 87 97 88 99 90 104 95 109 100 115 106 134 125 127 136
1. ข้อมูลด้านการชลประทานของประเทศไทย สภาพอุตุ - อุทกวิทยา1 ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ลมพายุจร สามารถ จําแนกฤดูกาลได้ 3 ฤดู โดยฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึง เดือนมกราคมและฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม อุณหภูมิ ปริมาณฝนเฉลี่ยผันแปรตาม ฤดูกาล และในแต่ละปีเนื่องจากอยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมและลมพายุจร สภาพทางด้านอุทกวิทยามีความ ผันแปรสูง จึงประสบปัญหาอุทกภัยในช่วงนํ้าหลาก และปัญหาภัยแล้งในช่วงฤดูแล้งอยู่เสมอ ลักษณะทางอุทกวิทยา แบ่งพื้นที่ลุ่มน้ําออกได้เป็น 25 ลุ่มน้ําหลัก และ 254 ลุ่มน้ําย่อย มีปริมาณฝนตก เฉลี่ยทั้งประเทศปีละ 1,588 มิลลิเมตร มีปริม าณน้ําท่าเฉลี่ยรวมปีละประมาณ 205,437 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ําท่าข้างต้น คิดเป็นน้ําท่าเฉลี่ยต่อจํานวน ประชากร 3,086 ลูกบาศก์เมตร / คน / ปี (จํานวนประชากร 65.12 ล้านคน) เป็นน้ําท่าในฤดูฝนจํานวน 179,240 ล้านลูกบาศก์เมตร (ร้อยละ 87.25) และในฤดูแล้ง 26,197 ล้านลูกบาศก์เมตร (ร้อยละ 12.75) ปัจจุบัน โดยมีแหล่งกักเก็บน้ําความจุที่ระดับกักเก็บน้ํารวม 75,154 ล้าน ลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 37.21 ของปริมาณน้ําท่าทั้งหมด โดยเป็นแหล่งกักเก็บน้ําขนาดใหญ่ (ความจุกักเก็บ มากกว่า 100 ล้านลูกบาศก์เมตร) ประมาณร้อยละ 94 ของความจุรวมทั้งหมดส่วนที่เหลืออีกประมาณร้อยละ 6 เป็นแหล่งกักเก็บน้ําขนาดกลาง และมีปริมาณน้ําใช้การในอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่และขนาดกลางรวม 22,875 ล้านลูกบาศก์เมตร (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2559) ทั้งนี้เพื่อ เหลือน้ําส่วนหนึ่งไว้สําหรับการรักษาสภาพ เขื่อน (Dead Storage) การใช้ที่ดินภาคการเกษตร จากข้อมูลการใช้ที่ดินของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในปี พ.ศ. 2556 สรุปได้ว่าเนื้อที่ประเทศไทย ทั้งหมด 320.70 ล้านไร่ เป็นเนื้อที่การใช้ประโยชน์ทางการเกษตรจํานวน 149.24 ล้านไร่ หรือคิดเป็นประมาณ ร้อยละ 46.53 ของพื้นที่ ทั้งหมด โดยจากพื้นที่การใช้ประโยชน์ทางการเกษตรนี้ สามารถจําแนกออกเป็น นาข้าว 69.97 ล้านไร่ (ร้อยละ 46.88 ของพื้นที่ทางการเกษตร) พืชไร่ 31.16 ล้านไร่ (ร้อยละ 20.88 ของพื้นที่ เกษตร) สวนไม้ผลไม้ยืนต้น 34.92 ล้านไร่ (ร้อยละ 23.40 ของพื้นที่ทางการเกษตร) สวนผัก ไม้ดอก / ไม้ประดับ 1.4 ล้านไร่ (ร้อยละ 0.09 ของพื้นที่ทางการเกษตร) และเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรอื่นๆ 11.80 ล้านไร่ (ร้อยละ 7.90 ของพื้นที่ทางการเกษตร) ความต้องการน้้า2 ความต้องการใช้น้ํารวมของทั้งประเทศ ในปี พ.ศ. 2560 อยู่ที่ประมาณปีละ 151,750 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นความต้องการน้ําเพื่อการเกษตร สูงถึง 113,960 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 75 ของความต้องการน้ํา ทั้งหมด ในจํานวนนี้อยู่ในเขตที่มีแหล่งกักเก็บน้ําและระบบชลประทานอยู่แล้ว 65,000 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วน ที่เหลืออีก 48,960 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นความต้องการน้ําเพื่อการเกษตรที่อยู่นอกเขตชลประทานโดยอาศัย 1 2
ที่มา: ข้อมูลจากรายงานประจําปี กรมชลประทาน ปี พ.ศ. 2558 ที่มา: แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ปี พ.ศ. 2558 – 2569
แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
กรมชลประทาน
1
7
น้ําฝนเป็นหลัก (คัดเฉพาะการปลูกฤดูฝนเท่านั้น) รองลงไปเป็นการใช้น้ําเพื่อการรักษาระบบนิเวศประมาณ 27,090 ล้านลูกบาศก์เมตร (ร้อยละ 18 ของความต้องการน้ําทั้งหมด) เพื่อการอุปโภคบริโภคและการท่องเที่ยว ประมาณ 6,490 ล้านลูกบาศก์ เมตร (ร้อยละ 4 ของความต้องการน้ําทั้ ง หมด) และการอุ ตสาหกรรมร้อยละ ประมาณ 4,206 ล้านลูกบาศก์เมตร (ร้อยละ 3 ของความต้องการน้ําทั้งหมด) (จากรายงานแผนยุทธศาสตร์ การ บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา เดือนพฤษภาคม 2558) นอกจากนี้ จากความต้องการการใช้น้ํารวมของทั้งประเทศที่มีประมาณ 151,750 ล้านลูกบาศก์เมตรนั้น สามารถแบ่งออกเป็นความต้องการที่สามารถจัดการได้ทั้งสิ้นประมาณ 102,140 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งเกิดจาก ปริมาณน้ําที่สามารถเข้าถึงตามแหล่งน้ําในรูปแบบต่างๆ ได้ อาทิ แหล่งกักเก็บน้ํา อาคารพัฒนาแหล่งน้ํา แหล่ง น้ํา / ลําน้ําธรรมชาติ และน้ําบาดาล เป็นต้น ในขณะที่อีกกว่าประมาณ 49,610 ล้านลูกบาศก์เมตรนั้น เป็น ความต้องการน้ําที่ ยัง ไม่ส ามารถจัดการได้ ซึ่ง ประกอบไปด้วยการจัดสรรน้ําให้กั บพื้นที่ก ารเกษตรนอกเขต ชลประทาน และความต้องการน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคบางส่วน การพัฒนาชลประทาน การพัฒนาการชลประทานในอดีตตั้ง แต่สมัยรัชกาลที่ 5 ได้มุ่ งเน้นการกระจายนํ้าโดยการขุดคลอง เชื่อมโยงนํ้าระหว่างแม่นํ้าสายหลักในบริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศ ต่อมาในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2500 ได้ มีการพัฒนาอาคารทดนํ้าตามแม่นํ้าสายหลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการผันนํ้าเข้าสู่ระบบคลองในบริเวณที่ ราบลุ่มภาคเหนือตอนบนและภาคกลางทํ าให้การเกษตรชลประทานได้ขยายตัวขึ้ นอย่างมาก อย่างไรก็ ตาม การเกษตรชลประทานในยุคนั้นยังคงมีขีดจํากัดเนื่องจากยังไม่มีการพัฒนาแหล่งกักเก็บนํ้าขนาดใหญ่ที่ จะรองรับ ปริมาณนํ้าหลากจากพื้นที่ตอนบนทําให้ยังคงประสบปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งตามฤดูกาล ภายหลังที่ได้มีการ ก่อสร้าง แหล่งกักเก็บนํ้าขนาดใหญ่ ได้แก่ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ทําให้ปัญหาอุทกภัยบรรเทาลงมากโดยช่วย ลดระดับนํ้าสูงสุด ของแม่นํ้าเจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์ได้เฉลี่ย 1.44 เมตร และมีปริมาณนํ้าสํารองในอ่าง เก็บนํ้าสําหรับจัดสรรเพื่อการเกษตรในฤดูแล้ง ทําให้สามารถขยายพื้นที่เกษตรชลประทานและการเพาะปลูกใน ฤดูแล้งได้อย่างรวดเร็ว ในระยะต่อมาได้มีการกระจายการพัฒนาแหล่งนํ้าและการเกษตรชลประทานขนาดใหญ่ และขนาดกลางออกไปทั่วประเทศ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีการ ดําเนินงานเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าในระดับท้องถิ่น โดยการก่อสร้างแหล่งนํ้าขนาดเล็ก กระจายตามพื้นที่ ชุมชนในชนบท ข้อมูล ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 พบว่าประเทศไทยมีพื้นที่ทางการเกษตรทั้งสิ้น 149.24 ล้านไร่ ซึ่งจากพื้นที่ทางการเกษตรเหล่านี้มีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพื้นที่ชลประทานทั้งหมดในประเทศไทย ทั้งสิ้น 60.29 ล้านไร่ และในปัจจุบันกรมชลประทานได้มีการพัฒนาพื้นที่ชลประทานไปแล้วทั้งสิ้น 31.83 ล้านไร่ หรือ คิด เป็นร้ อ ยละ 52.79 ของพื้นที่ ที่ มี ศัก ยภาพทั้ ง หมด โดยแบ่งออกเป็ นพื้นที่ ชลประทานจากโครงการ ชลประทานขนาดใหญ่จํานวน 17.97 ล้านไร่ พื้นที่ชลประทานจากโครงการชลประทานขนาดกลาง (กรมชลประทาน ดูแล) จํานวน 6.69 ล้านไร่ และพื้นทีช่ ลประทานจากโครงการชลประทานขนาดเล็ก จํานวน 7.82 ล้านไร่
ทธศาสตร์ กรมชลประทาน - 2564 8 แผนยุ แผนยุ ทธศาสตร์ กรมชลประทานพ.ศ. พ.ศ.2560 2560-2564
2
2. แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564 1. วิสัยทัศน์ กรมชลประทานเป็น องค์กรอัจฉริยะ ที่มงุ่ สร้างความมั่นคงด้านน้้า (Water Security) เพื่อเพิ่มคุณค่าการบริการ ภายในปี 2579 2. พันธกิจ 1. พัฒนาแหล่งน้ําและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพของลุ่มน้ําให้เกิดความสมดุล 2. บริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการให้เพียงพอ ทั่วถึง และเป็นธรรม 3. ดําเนินการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ําตามภารกิจอย่างเหมาะสม 4. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาแหล่งน้ํา และการบริหารจัดการน้ํา 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาแหล่งน้ําและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้ํา (Basin–based Approach) 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการ ตามวัตถุประสงค์การใช้น้ํา 3. การป้องกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา 4. การเสริมอํานาจประชาชนในระดับพื้นที่ (Empowering) การสร้างเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนในงานบริหารจัดการน้ําชลประทาน (Networking Collaboration Participation) 5. การปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ (Turnaround to Intelligent Organization) 4. ค่านิยมองค์กร WATER for all Work Smart Accountability Teamwork & Networking Expertise Responsiveness
เก่งงาน เก่งคิด รับผิดชอบงาน ร่วมมือร่วมประสาน เชี่ยวชาญงานที่ทํา นําประโยชน์สู่ประชาชน
5. แผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ แบ่งออกเป็น 4 มิติ 10 เป้าประสงค์ ดังนี้ 1. มิติประสิทธิผลตามพันธกิจ มี 5 2. มิติคุณภาพการให้บริการ มี 3 3. มิติประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มี 3 4. มิติการพัฒนาองค์กร มี 4 (เป้าประสงค์ที่ 2 คาบเกี่ยวมิติที่ 1 และ มิตทิ ี่ 2) แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ (ระดับปฏิบัติการ)
กรมชลประทาน
3 9
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564 ประกอบด้วย 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ โดย ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 – 3 เป็นการปรับปรุงประเด็นยุทธศาสตร์เดิม ให้มีความหมายครอบคลุมการทํางานที่ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป และในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 – 5 เป็นประเด็น ยุทธศาสตร์ใหม่ โดยที่มา เหตุผล และความจําเป็นในการนําเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ใหม่ มีดังนี้ การพัฒนาโครงการแบบลุ่มน้้า - การพั ฒ นาแหล่ ง น้ํ า มี ลั ก ษณะทํ า งานแบบรายโครงการ ทํ า ให้ มี จํ า นวนโครงการต่ า งๆ มากมาย ยั งไม่ เกิ ดการบู รณาการในระดั บพื้ นที่ (Area–based) และตามลุ่ มน้ํ า (Basin–based) แบบชั ดเจน หรือไม่มีการดําเนินการแบบเบ็ดเสร็จ การบริหารจัดการน้้าด้วยงานวิจัย และนวัตกรรม / การพัฒนาองค์กรและระบบงาน - สภาพแวดล้อมของโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปริมาณประชากรมีเพิ่มขึ้น ส่งผลโดยตรงต่อ ปริมาณ การใช้น้ําที่เพิ่มขึ้น การนําเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาช่วยบริหารจัดการน้ําให้เพียงพอต่อการใช้ (โดยกักเก็บ สูงขึ้น) จึงมีความสําคัญอย่างมาก - จากปัญหาด้านบุคลากรที่สะสมมาเป็นระยะเวลานาน อัตรากําลังลดลงอย่างต่อเนื่อง เกิดความไม่ สมดุลกับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น และบุค ลากรที่มีประสบการณ์ทํางานลดลงจากการเกษียณอายุ ราชการ (บุคลากรยุค Baby boom) การใช้เทคโนโลยี (Internet of thing : IoT) มาช่วยแก้ปัญหาด้านบุคลากรได้ - การพัฒนาโปรแกรมการพยากรณ์ที่ดี โดยการนําข้อมูลที่มีอยู่ของกรมฯ มาจัดทําในรูปแบบของ RID Model จะช่วยบริหารจัดการข้อมูลให้ดีขึ้น ทําให้รู้ก่อน พยากรณ์ได้ ควบคุมได้ ภัยก็จะเกิดลดลง การสร้าง Networking – การเพิ่มระดับการมีส่วนร่วม และยกระดับ JMC - ปั จ จุ บั น ข้ อ จํ า กั ด ในการสร้ า งเขื่ อ นขนาดใหญ่ ทํ า ให้ ก ารสร้ า งเขื่ อ นยากขึ้ น จากการต่ อ ต้ า นของ ประชาชนผู้เสียประโยชน์ และประชาชนทั่วไปที่ได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วน หรือไม่ได้เห็นประโยชน์จาก การมีชลประทาน และการขาดความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทําให้การยกระดับการมีส่วนร่วม และการสร้างความร่วมมือในการทํางานมีความสําคัญในการกําหนดความสําเร็จการพัฒนาแหล่งน้ํา ของกรมชลประทาน - กระบวนการมีส่วนร่วมต้องทําตั้งแต่เสนอโครงการ (เริ่มทําเริ่มให้ข้อมูลก่อน NGO) ไปสร้างความเข้าใจ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบก่อน เป็นการปรับตัวเพื่อช่วงชิงการนํา เพื่อลดแรงต้าน เข้าถึงประชาชนใน เชิงรุก - เครือข่าย “กลุ่มผู้ใช้น้ํา” ของกรมชลประทานที่มีอยู่ในปัจจุบัน ต้องส่งเสริมพัฒนายกระดับเป็น JMC และสําหรับกลุ่ม JMC ที่เข้มแข็งควรเสริมการมีส่วนร่วม ยกระดับการบริหารจัดการน้ํา เพื่อให้เป็น ประโยชน์ของพื้นที่ชลประทานอย่างชัดเจน ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564 10 แผนยุแผนยุ ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
4
RID Think Tank : จัดเก็บ ต่อยอดพัฒนาความรู้ต่อเนื่อง - งานชลประทาน เป็นงานที่มีเทคนิคสูง และต้องอาศัยประสบการณ์จากการปฏิบัติ บุคลากรในช่วงที่ เน้นการก่อสร้าง ลงทํางานในพื้นที่ด้วยตนเองกําลังจะเกษียณอายุราชการ จึงต้องรีบสร้าง Think Tank เพื่อรวบรวมความรู้เหล่านี้ งานวิจัยของกรมชลประทานมีจํานวนมากและหลากหลาย แต่มีการนําไปต่อยอดใช้งานเพียงบางส่วน ต้องสนับสนุนการนํางานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการทํางานที่สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและช่วยลด ปัญหาหรือข้อจํากัดการทํางานที่เกิดขึ้น ตารางที่ 1 : การปรับประเด็นยุทธศาสตร์จากฉบับเดิม ประเด็นยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2556 – 2559 1. การพัฒนาแหล่งน้ําและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 2. การบริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการ 3. การป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ําตาม ภารกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2560 – 2564 1. การพัฒนาแหล่งน้ําและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน ตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้ํา (Basin–based Approach) 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ํา อย่างบูรณาการ ตามวัตถุประสงค์การใช้น้ํา 3. การป้องกันความเสียหายและสนับสนุน การบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา 4. การเสริมอํานาจประชาชนในระดับพื้นที่ (Empowering) การสร้างเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในงานบริหารจัดการน้ําชลประทาน (Networking Collaboration Participation) 5. การปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ (Turnaround to Intelligent Organization)
หมายเหตุ : ตัวอักษรขีดเส้นใต้ คือ คําที่มีการปรับเพิ่มขึ้น
โดยรายละเอียดของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์จะได้นําเสนอในส่วนที่ 3 ของเอกสารนี้ ทั้งนี้มี รายละเอียดของอักษรย่อที่ใช้กํากับเป้าประสงค์และตัวชี้วัดเพื่อให้เห็นถึง ระดับยุทธศาสตร์และระดับปฏิบัติการ ดังนี้ ระดับยุทธศาสตร์ SG = Strategic Goals หมายถึง เป้าประสงค์ระดับยุทธศาสตร์ K = Key Performance Indicators หมายถึง ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ ระดับปฏิบัติการ OpO = Operational Objectives หมายถึง เป้าประสงค์ระดับปฏิบัติการ OpK = Operational Key Performance Indicators หมายถึง ตัวชี้วัดระดับปฏิบัติการ
แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
กรมชลประทาน
5 11
3. รายละเอียดประเด็นยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2560 - 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาแหล่งน้ําและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้ํา (Basin–based Approach) แผนภาพที่ 1 : กรอบแนวคิดการเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้ํา Strategy design Model : การพัฒนาแหล่งน้้าและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน ในลักษณะที่เป็นลุ่มน้้าจะช่วยบูรณาการงานและ ช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาตามสภาพของพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม แผนแม่บทการพัฒนาตามลุ่มน้้า โครงการ Pilot จัดการน้้าตามศักยภาพพื้นที่ภาคและลุ่มน้้า ลุ่มน้้าแม่กลอง ลุ่มน้้าเจ้าพระยา ลุ่มน้้าชี ลุ่มน้้ามูล (11 ล้าน้้าสาขา
เพิ่มประสิทธิภาพความจุ
กิจกรรมของโครงการ
ลุ่มน้้าห้วยส้ารา ลุ่มน้้าล้าตะคอง ลุ่มน้้าลุ่มน้้าล้าเชียงไกร โครงการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อบรรเทาภัยแล้งและอุทกภัย ล้าเชียงไกร ใหม่ ต่อยอดของเดิม ปรับปรุง ซ่อมแซม ใหญ่ กลาง เล็ก ฝาย ปตร อื่นๆ
พัฒนาแหล่งน้้า
พัฒนาภาคี แบบบูรณาการ
ที่มา : การวิเคราะห์ของคณะที่ปรึกษา
ในการบรรลุตามเป้าหมายการเพิ่มพื้นที่ชลประทาน (ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําที่ระบุไว้ว่าจะต้องมีพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้นอีก 8.7 ล้านไร่ ในอีกประมาณ 10 ปี ข้างหน้า) จะต้องมีการจัดการแบบเบ็ดเสร็จ ไม่สามารถดําเนิน การเป็นโครงการเชิงเดี่ยวกระจัดกระจายได้ เนื่องจากการพัฒนาในลักษณะเชิงเดี่ยวนั้น จะมีแรงสนับสนุนน้อย อาจทําให้ถูกแรงต่อต้านเข้ามากระทบได้ง่าย หรือถูกลดความสําคัญและลดงบประมาณในการก่อสร้างได้ในที่สุด แต่หากมีการศึกษาลักษณะของพื้นที่ และความต้องการที่มีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ลุ่มน้ํา พร้อม มีการวางแผนการพัฒนาโครงการแบบเบ็ดเสร็จขึ้นมาในแต่ละลุ่มน้ํา ที่ครอบคลุมรายละเอียดตั้งแต่แหล่งที่ต้อง พัฒนาขึ้นมาใหม่ แหล่งที่ต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพที่ชัดเจน จะช่วยให้กรมชลประทานสามารถมองเห็นภาพ ของรูปแบบการพัฒนาภาคีแบบบูรณาการที่จะมาช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาตามสภาพและศักยภาพของพื้นที่ได้ อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อ ให้ก ารวางแผนการพัฒ นาตามศั กยภาพลุ่มน้ํ านี้เ กิดขึ้ นมาได้ อย่า งเป็ นรู ปธรรม จะต้ องมี การศึกษาและวางแผนตั้งแต่ในระดับลุ่มน้ําย่อย แล้วจึงนําข้อมูลเหล่านั้นมาเชื่ อมโยงและบูรณาการให้เป็น ลุ่มน้ําที่ใหญ่ขึ้น เพื่อการขับเคลื่อนมีความชัดเจนมากที่สุด
ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564 12 แผนยุแผนยุ ทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
6
ตารางที่ 2 : เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เป้าประสงค์ SG1 มีแหล่งเก็บกักน้ํา และมีปริมาณน้ําที่จัดการ ได้ เพื่อเพิ่มพื้นที่ ชลประทาน
ตัวชี้วัด K1 จํานวนปริมาณเก็บกักน้ํา ที่เพิ่มขึ้น (หน่วย : ล้าน ลบ.ม.) K2 จํานวนพื้นที่ชลประทาน ที่เพิ่มขึ้น (หน่วย : ล้านไร่) K3 จํานวนแหล่งน้ําเพื่อชุมชน ที่เพิ่มขึ้น (หน่วย : แห่ง)
K4 ร้อยละของโครงการ พระราชดําริที่ได้รับการพัฒนา ประสิทธิภาพ (หน่วย : ร้อยละ) K5 จํานวนพื้นที่ชลประทาน ที่เพิ่มขึ้นจากโครงการ พระราชดําริ (หน่วย : ไร่)
กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1.1 ทบทวนแผนแม่บทการพัฒนาตามลุ่มน้ําและจัดการน้ํา ตามศักยภาพพื้นที่ภาคและลุ่มน้ํา โดยให้ความสําคัญกับการ บูรณาการในการพัฒนาในระดับลุ่มน้ําย่อยตามแนวทาง IWRM โดย คํานึงถึงความสมดุลทางสังคม สิ่งแวดล้อม และบริบทความ เปลี่ยนแปลง (Basin–based Approach) กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนาแหล่งน้ํา และเพิ่มพื้นที่ชลประทานให้เต็ม ศักยภาพตามสภาพภูมิประเทศ และการใช้น้ํา โดยให้ความสําคัญกับ โครงการในลักษณะลุ่มน้ําย่อยทั้งระบบ (Basin–based Approach) กลยุทธ์ที่ 1.3 ผันน้ําจากลุ่มน้ําใกล้เคียง/นานาชาติมาใช้ประโยชน์ กลยุทธ์ที่ 1.4 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาคารชลประทาน เพื่อเพิ่ม ความจุในการกักเก็บน้ํา และเพิ่มพื้นที่ชลประทาน กลยุทธ์ที่ 1.5 แสวงหาความร่วมมือและร่วมทุนจากภาคีในการ พัฒนาแหล่งน้ํา กลยุทธ์ที่ 1.6 ดําเนินงานโครงการพระราชดําริให้เต็มระบบ
หมายเหตุ : นําเสนอโดยคณะที่ปรึกษา
คําอธิบายกลยุทธ์เพิ่มเติม กลยุทธ์ที่ 1.1 ทบทวนแผนแม่ บทการพัฒนาตามลุ่ม น้ําและจัดการน้ําตามศักยภาพพื้นที่ ภาคและลุ่ม น้ํ า โดยให้ความสําคัญกับการบูรณาการในการพัฒนาในระดับลุ่มน้ําย่อยตามแนวทาง IWRM โดย คํานึงถึงความสมดุล ทางสั งคม สิ่ งแวดล้อม และบริบทความเปลี่ยนแปลง (Basin–based Approach) แผนแม่บทการพัฒนาตามลุ่มน้ํา ที่มีการดําเนินการอยู่แล้วนั้น ควรมีการทบทวนและให้ความสําคัญใน วางแผนการพัฒนาแหล่งน้ําตามความแตกต่างของลักษณะพื้นที่ (Area–Based) และดําเนินการในลักษณะลุ่ม น้ําย่อย เมื่อดําเนินการลุ่มน้ําย่อยได้ทั้งหมดแล้วจะสามารถต่อภาพเป็นลุ่มน้ําใหญ่ได้ ทั้งนี้การดําเนินการควรใช้ แนวทางการบริ ห ารจั ด การน้ํ า แบบผสมผสาน Integrated Water Resource Management (IWRM) คื อ กระบวนการในการส่งเสริมการประสาน การพัฒนาและจัดการน้ํา ดินและทรัพยากรอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อนํามา ซึ่งประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ที่ดีของสังคมอย่างทัดเทียมกัน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อความ ยั่งยืนของระบบนิเวศที่สําคัญ แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
กรมชลประทาน 7
13
กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนาแหล่งน้ํา และเพิ่มพื้นที่ชลประทานให้เต็มศักยภาพตามสภาพภูมิประเทศ และการใช้น้ํา โดยให้ความสําคัญกับโครงการในลักษณะลุ่มน้ําย่อยทั้งระบบ (Basin–based Approach) การพั ฒ นาแหล่ ง น้ํ า และเพิ่ ม พื้ น ที่ ช ลประทานให้ เ ต็ ม ศั ก ยภาพที่ เ หลื อ อยู่ ป ระมาณ 28 ล้ า นไร่ ให้ สอดคล้องกับแผนแม่บท และพัฒนาแหล่งน้ําโดยให้ความสําคัญโครงการในลักษณะลุ่มน้ําย่อยทั้งระบบ (ใหญ่ กลาง-เล็ ก -สู บ น้ํ า -แก้ ม ลิ ง -ระบบส่ ง น้ํ า ในส่ ว นที่ มี แ หล่ ง กั ก เก็ บ น้ํ า แล้ ว ฯลฯ) ทั้ ง นี้ ควรนํ า เทคโนโลยี ด้ า น ชลประทานรูปแบบใหม่มาปรับใช้ด้วย และต้องพัฒนาพื้นที่ต้นน้ํา (ส่งเสริมพัฒนาการปลูกป่าเพิ่มพื้นที่ต้นน้ํา) กลยุทธ์ที่ 1.3 ผันน้ําจากลุ่มน้ําใกล้เคียง/นานาชาติมาใช้ประโยชน์ การเพิ่มปริมาณน้ําในลุ่มน้ํา โดยการผันน้ําส่วนเกินจากลุ่มน้ําใกล้เคียง เช่น การผันน้ําปิง และลุ่มน้ําแม่ กลอง มายังลุ่มน้ําสะแกกรัง ก่อให้เกิดประโยชน์ด้านการเกษตรในพื้นที่ต่างๆ กลยุทธ์ที่ 1.4 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาคารชลประทาน เพื่อเพิ่มความจุในการกักเก็บน้ํา และเพิ่มพื้นที่ ชลประทาน อาคารชลประทาน ในปัจจุบันอาจมีความสามารถกั กเก็บได้ไม่เต็มที่ เพราะมีตะกอนสะสมอยู่เป็น จํานวนมากทําให้เกิดปัญหาตื้นเขิน ส่งผลให้ในช่วงฤดูแล้งเกิดปัญหาขาดแคลนน้ํา ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของประชาชน มีปัญหาการแย่งน้ําเกิดขึ้น เนื่องจากประชาชนปลูกข้าวนาปรังหลายพันไร่ในพื้นที่ใต้เขื่อน ขณะที่ในช่วงฤดูฝนกลับมีปัญหาน้ําท่วมพื้นที่ ใต้เขื่อนอยู่เป็นประจํา การปรับปรุงเพิ่มความจุอ่างเก็บน้ําเดิม (ขนาดใหญ่และขนาดกลาง) จะช่วยเพิ่มปริมาณการกักเก็บน้ํา และลดปัญหาต่างๆ ได้ กลยุทธ์ที่ 1.5 แสวงหาความร่วมมือและร่วมทุนจากภาคีในการพัฒนาแหล่งน้ํา การดําเนินงานพัฒนาแหล่งน้ํา กรมชลประทานไม่จําเป็นต้องดําเนินการเพียงลํา พัง สามารถแสวงหา ความร่วมมือ หรือการร่วมทุนจากหน่วยงานอื่นในรูปแบบต่างๆ ได้ดังนี้ ให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุนศึกษา ออกแบบ จัดหาแหล่งเงินลงทุนก่อสร้าง และ ดําเนินการโครงการชลประทานขนาดใหญ่และขนาดกลางตามแผนแม่บทการพัฒนาตามลุ่มน้ํา (ตามแนวทาง PPP : Public Private Partnership ภายใต้กรอบพระราชบัญญัติร่วมทุน) แสวงหางบประมาณบูรณาการร่วมกับจังหวัด และท้องถิ่น (Matching Fund) ในการพัฒนาโครงการ ศึกษาความเป็นไปได้ของความร่วมมือแบบประชารัฐในการพัฒนาโครงการชลประทาน ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการความร่วมมือจากต่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 1.6 ดําเนินงานโครงการพระราชดําริให้เต็มระบบ การดําเนินงานโครงการพระราชดําริ สามารถดําเนินการได้เร็ว ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน สามารถแก้ไขความเดือดร้อนเรื่องของประชาชนได้ ทั้งนี้การดําเนินงานโครงการบางส่วนยังขาดระบบส่งน้ําทํา ให้ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากระบบชลประทานได้เต็มประสิทธิภาพ ดังนั้น ในแนวทางการดําเนินงานนี้ จะต้องครอบคลุม 2 ลักษณะคือ ก่อสร้างระบบส่งน้ําในโครงการเดิม ก่อสร้างโครงการพระราชดําริใหม่แบบครบวงจร ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ.พ.ศ. 2560 - 2564 14 แผนยุแผนยุ ทธศาสตร์ กรมชลประทาน 2560-2564
8
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการ ตามวัตถุประสงค์การใช้น้ํา แผนภาพที่ 2 : กรอบแนวคิดการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําอย่างบูรณาการ Strategy design Model : การบริหารจัดการน้้าอย่างบูรณาการควรพิจารณาตั้งแต่การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพอาคารชลประทาน จัดการส่งน้้าที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีน้าที่มีคุณภาพ และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับพื้นที่ชลประทานได้อย่างเหมาะสม พร้อมการ ทบทวนและประเมินความเหมาะสมเพื่อปรับปรุงแนวทางการด้าเนินงานต่อไป
ทบทวนความคุ้มค่า ทางเศรษ กิจ
ขยายผล เพิ่มบทบาท JMC เพื่อให้พื้นที่ในเขตชลประทาน มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงกว่าพื้นที่นอกเขตชลประทาน JMC 3 JMC 2 JMC 1
พื้นที่ / พืช / อุปโภคบริโภค / นิเวศ / อุตสาหกรรม / อื่นๆ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การวางแผน จัดการน้ํา
เกษตร
ต่อยอด
ชลประทาน กระทรวงเกษตร อื่นๆ
ตลาด
ควบคุม คุณภาพน้้า
การบริหาร จัดการน้้า
ปรับปรุง อาคาร ใช้ระบบ ICT
ต่อยอด JMC วางแผนส่งน้้า
ที่มา : การวิเคราะห์ของคณะที่ปรึกษา
การบริหารจัดการน้ํา เกี่ยวข้องกับการจัดหาและพัฒนา การจัดสรรและใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ รวมตลอดถึงการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ําให้คงอยู่และมีใช้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาอันเกิดจาก ทรัพยากรน้ําทั้งด้านปริมาณและคุณภาพให้หมดไป โดยหลักแล้วจะต้องดําเนินการให้สอดผสมผสานแบบรวม เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือที่เรียกกันว่า “การดําเนินการแบบบูรณาการ” ด้วยหลายวิธี หลายเทคนิค และผู้คน ในสั ง คมทุ ก ชุ ม ชนยอมรั บ จึ ง จะนํ า ไปสู่ ก ารจั ด การหรื อ แก้ ปั ญ หาต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ น้ํ า ได้ อ ย่ า งสั ม พั น ธ์ กั น ในภาวะปัจจุบันเราต้องบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรน้ํา โดยมีวิธีคิดและดําเนินงานหลายด้านอย่างเป็นระบบ เป็นองค์รวม มองเห็นเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นแล้วค้นหาแนวทางแก้ไขอย่างเป็นระบบครบวงจร ทั้ง นี้ก ารบริห ารจั ดการน้ํา อย่า งบู ร ณาการในรูป แบบของกรมชลประทานควรพิ จ ารณาตั้ งแต่ก าร ปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพอาคารชลประทาน โดยมีการนําเทคโนโลยีท่ีทันสมัยเข้ามาช่วยในการจัดการส่ง น้ําเพิ่มประสิทธิภาพ ควบคู่กับการวางแผนการส่งน้ํา การกระจายน้ําให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ และ เป็นไปตามนโยบายที่กําหนด และให้กลุ่มผู้ใช้น้ํา หรือ JMC เข้ามาร่วมวางแผน เพื่อบริหารจัดการน้ําร่วมกัน ทั้งนี้นอกจากการกระจายน้ําให้ ทุกภาคส่วนแล้วยังต้องดําเนินการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ให้มีน้ําใช้ที่มี คุณภาพทั้งในการใช้อุปโภค บริโภค และอุตสาหกรรม นอกจากนี้ควรเพิ่มการทบทวนความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ หรือประเมินความเหมาะสมเพื่อปรับปรุงแนวทางการบริหารจัดการน้ําต่อไป
แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
กรมชลประทาน 9 15
ตารางที่ 3 : เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เป้าประสงค์ SG2 การบริหารจัดการน้ํา โดยให้ทุกภาคส่วนได้รับน้ํา ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและ เป็นธรรม ตามปริมาณน้ํา ต้นทุนที่มีในแต่ละปี (อุปโภค บริโภค เกษตร อุตสาหกรรม และรักษา ระบบนิเวศ)
SG3 การปรับเปลี่ยน การใช้น้ําภาคเกษตรมี ประสิทธิภาพมากขึ้น SG4 เพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจทางการเกษตร ในพื้นที่ชลประทาน
ตัวชี้วัด K6 ร้อยละของพื้นที่บริหารจัดการน้ําในเขต ชลประทานได้รับน้ําตามปริมาณน้ําต้นทุนที่มีใน แต่ละปี (หน่วย: ร้อยละ) *K7 ปริมาณน้ําที่จัดสรรให้ตามวัตถุประสงค์การ ใช้น้ํา (หน่วย: ล้าน ลบ.ม.) K8 ร้อยละของอ่างเก็บน้ําและทางน้ําชลประทาน ที่มีคุณภาพน้ําได้เกณฑ์มาตรฐานกลางของกรม ชลประทาน (หน่วย: ร้อยละ) K9 อัตราการใช้ที่ดินในเขตก่อสร้างจัดรูปที่ดิน เพิ่มขึ้น (Cropping intensity) (หน่วย: ร้อยละ) *K10 อัตราการใช้น้ําในภาคการเกษตรด้วยการ บริหารจัดการน้ําและการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้น้ํา *K11 ปริมาณผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่เป้าหมาย (หน่วย: กิโลกรัมต่อไร่)
กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2.1 ปรับปรุง ซ่อมแซม บํารุงรักษา อาคารชลประทานอย่างมีส่วนร่วม เพื่ออยู่ใน สภาพพร้อมใช้งาน กลยุทธ์ที่ 2.2 วางแผนและส่งน้ําอย่างมีส่วนร่วม เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้รับน้ําอย่างทั่วถึงและเป็น ธรรม กลยุทธ์ที่ 2.3 ควบคุมคุณภาพน้ําของลุ่มน้ําใน แหล่งน้ําชลประทาน และรักษาระบบนิเวศ กลยุทธ์ที่ 2.4 ปรับราคาค่าน้าํ ดิบ (อุปโภค– บริโภค และอุตสาหกรรม) ให้สะท้อนต้นทุนที่ แท้จริง กลยุทธ์ที่ 2.5 จัดรูปที่ดิน และจัดระบบน้ําใน พื้นที่ชลประทานร่วมกับเกษตรกร
กลยุทธ์ที่ 2.6 จัดสรรน้ําให้สอดคล้องกับนโยบาย พื้นที่การเกษตร (Zoning) และการเกษตรแปลง ใหญ่ กลยุทธ์ที่ 2.7 ศึกษาวิจัยการลดการใช้น้ําของ ภาคการเกษตร K12 ร้อยละความสําเร็จของการจัดทําระบบงาน กลยุทธ์ที่ 2.8 ทบทวน ประเมินผลโครงการ วิธีการและฐานข้อมูลสําหรับการประเมินผล ลงทุนของกรมชลประทานเดิม ตามระยะเวลาที่ โครงการ EIRR /ผลตอบแทนทางการเงิน FIRR เหมาะสม และประสิทธิภาพการชลประทาน DPR และการ ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจด้านการเกษตร ของระบบชลประทาน (B/C Ratio) *K13 มูลค่าทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรในพื้นที่ ชลประทาน(ค่าตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ของ โครงการ (EIRR) *K14 ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจด้านการเกษตร ของระบบชลประทาน (ค่าตอบแทนต่อค่าลงทุน ของโครงการ (B/C Ratio)
หมายเหตุ : นําเสนอโดยคณะที่ปรึกษา
*K7 ปริมาณน้ําที่จัดสรรให้ตามวัตถุประสงค์การใช้น้ําควรสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา *K10 สามารถวัดได้เมื่อมีการจัดทําข้อตกลงการใช้ข้อมูลร่วมกับสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร *K13 และ K14 จะดําเนินการหลังจากที่ K12 ดําเนินการสําเร็จ
ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564 16 แผนยุแผนยุ ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
10
คําอธิบายกลยุทธ์เพิ่มเติม กลยุทธ์ที่ 2.1 ปรับปรุง ซ่ อมแซม บํารุงรักษาอาคารชลประทานอย่างมี ส่วนร่วม เพื่ออยู่ในสภาพพร้อม ใช้งาน การดําเนินการบํารุงรักษาอาคารชลประทาน และระบบส่งน้ําให้อยู่ในสภาพดี อยู่เสมอ โดยดําเนินการ ก่อนฤดูการส่งน้ําทั้งช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง กลยุทธ์ที่ 2.2 วางแผนและส่งน้ําอย่างมีส่วนร่วมเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้รับน้ําอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม วางแผน ควบคุ ม จั ด ทํ า รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การจั ด สรรน้ํ า และวางแผนควบคุ ม งานเกษตร ชลประทาน พิจารณาตรวจสอบ การวางแผนการจัดสรรน้ํา การส่งน้ําและการระบายน้ําเพื่อการเพาะปลูก การ อุปโภค-บริโภค ควบคุมการใช้น้ําร่วมกับโครงการชลประทานจังหวัด และโครงการส่งน้ําและ บํารุงรักษา งานพัฒนาการใช้น้ําในแปลงนา สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ํา ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อประเมินผลการ หาวิธีการส่งน้ําให้ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ 2.3 ควบคุมคุณภาพน้ําของลุ่มน้ําในแหล่งน้ําชลประทาน และรักษาระบบนิเวศ การควบคุมและรักษาคุณภาพน้ําในแหล่ งน้ําให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ ของแต่ภาคส่วน รวมทั้ง การรักษาสมดุลระบบนิเวศให้อยู่ในเกณฑ์ที่กําหนด กลยุทธ์ที่ 2.4 ปรับราคาค่าน้ําดิบ (อุปโภค–บริโภค และอุตสาหกรรม) ให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง การกําหนดราคาค่าน้ําที่เหมาะสม ตามต้นทุนที่แท้จริง และเป็นปัจจุบัน กลยุทธ์ที่ 2.5 จัดรูปที่ดิน และจัดระบบน้ําในพื้นที่ชลประทานร่วมกับเกษตรกร การจัดระบบน้ําและจัดรูปที่ดิน เพื่อประโยชน์เกษตรกรรม การดําเนินงานต่อจากระบบชลประทาน หลักสู่การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา เป็นการแพร่กระจายน้ําให้ทั่วถึงทุกแปลงและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2.6 จัดสรรน้ําให้สอดคล้องกับนโยบายพื้นที่การเกษตร (Zoning) และการเกษตรแปลงใหญ่ การจัดสรรน้ําให้ภาคการเกษตร ตามนโยบายของกระทรวง เพื่อการเพาะปลูกที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2.7 ศึกษาวิจัยการลดการใช้น้ําของภาคการเกษตร การศึกษาวิจัยด้านการเกษตรให้สามารถระบุพืชเพาะปลูกที่เหมาะสม หรือแนวทางการเพาะปลูกที่ เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ สอดรับกับนโยบายการเกษตรต่างๆ กลยุทธ์ที่ 2.8 ทบทวน ประเมินผลโครงการลงทุนของกรมชลประทานเดิม ตามระยะเวลาที่เหมาะสม จัดทําระบบงาน วิธีการและฐานข้อมูลสําหรับการประเมินผลโครงการ EIRR / ผลตอบแทนทาง การเงิน FIRR และประสิทธิภาพการชลประทาน DPR และการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ด้านการเกษตรของระบบชลประทาน (B/C Ratio) ให้พร้อมสําหรับการประเมิน ประเมินผลโครงการโดยหาค่าผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ (EIRR) / ผลตอบแทนทางการเงิน (FIRR) และประสิทธิภาพการชลประทานจากค่าดรรชนีแสดงผลการส่งนํ้า (DPR) ประเมินโครงการโดยวิเคราะห์หาอัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนและเงินลงทุน (B/C Ratio) แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
กรมชลประทาน 11
17
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การป้องกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา แผนภาพที่ 3 : กรอบแนวคิดลําดับการป้องกันความเสียหายและการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา
ที่มา : การวิเคราะห์ของคณะที่ปรึกษา
ขั้นตอนการบริหารจัดการภัยพิบัติที่สําคัญ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ก่อนเกิดเหตุ - เน้นไปที่ มาตรการป้องกันภัย 2) ระหว่างเกิดเหตุ – การจัดการในช่วงเกิดภัยพิบัติ และ 3) หลังเกิดเหตุ - มาตรการฟื้นฟู และเยียวยาพื้นทีห่ รือผู้ประสบภัย ปัจจุบันพบว่า มีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการภัยพิบัติ และหลายหน่วยงานมีการ ดําเนินการที่ค่อนข้างคล้ายกัน ทั้งนี้ หากใช้หลักการของการบริหารจัดการภัยพิบัติเข้ามาช่วยในการกําหนด ขอบเขต และบทบาทการทํางานจะพบว่า บทบาทของกรมชลประทานจะอยู่ ที่ในขั้นตอนก่อนเกิดเหตุ หรือใน ส่วนของการป้องกันเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสิ่งก่อสร้างเพื่อป้องกันภัย การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ หรือ เครื่องมือในการคาดการณ์ หรือแจ้งเตือนสถานการณ์ต่างๆ และการบริหารจัดการน้ําเพื่อป้องกัน หรือลด ผลกระทบ เป็นต้น ทั้งนี้ ในส่วนของขั้นตอนระหว่างเกิดเหตุและหลังเกิดเหตุนั้น กรมชลประทานอาจไม่มีอํานาจหน้าที่ใน การดําเนินการโดยตรง แต่จะเป็นการช่วยเหลือและสนับสนุนหน่วยงาน หรือพื้นที่ต่างๆ ในการบรรเทาภัยอัน เกิดจากน้ําเป็นสําคัญ
ทธศาสตร์ กรมชลประทาน 2560 - 2564 18 แผนยุ แผนยุ ทธศาสตร์ กรมชลประทานพ.ศ. พ.ศ. 2560-2564
12
ตารางที่ 4 : เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3
เป้าประสงค์ SG5 ความสูญเสียทาง เศรษฐกิจที่ลดลง อันเนื่องมาจากอุทกภัย และภัยแล้ง
ตัวชี้วัด K15 ร้อยละของพื้นที่ความเสียหายของพืช เศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภัยและ ภัยแล้ง (หน่วย: ร้อยละ) *K16 มูลค่าความเสียหายจากอุทกภัย และ ภัยแล้ง ในเขตพื้นที่ชลประทานลดลง (หน่วย: บาท) SG6 การคาดการณ์ K17 ระบบฐานข้อมูลน้ําและการคาดการณ์ สถานการณ์น้ํา สถานการณ์น้ําตามลุ่มน้ํา ที่เป็นระบบเดียวกันทั้ง มีความทันสมัยและ ประเทศสามารถเชื่อมต่อกับระบบ internet เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายของกรมชลประทาน ของชลประทานที่ทันต่อ อย่างทันต่อเหตุการณ์ เหตุการณ์ (Real-time) K18 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย ที่ได้รบั ข้อมูลการคาดการณ์สถานการณ์น้ําของ กรมชลประทานอย่างทันต่อเหตุการณ์ (หน่วย: ร้อยละ) หมายเหตุ : นําเสนอโดยคณะที่ปรึกษา
กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3.1 เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ํา คลองระบายน้ํา กลยุทธ์ที่ 3.2 พัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ําให้เป็นพื้นที่ น้ํานอง กลยุทธ์ที่ 3.3 พัฒนาประสิทธิภาพการจัดการน้ํา ในภาวะวิกฤต กลยุทธ์ที่ 3.4 ปรับปรุงระบบจัดการข้อมูลด้าน น้ําและระบบชลประทานให้ทันสมัยเป็นแบบ Real time กลยุทธ์ที่ 3.5 พัฒนาแบบจําลองพยากรณ์การ บริหารจัดการน้ําและอุทกภัย (RID Model) แบบบูรณาการทัง้ ภายใน-ภายนอก กลยุทธ์ที่ 3.6 ปรับปรุงระบบแจ้งเตือนภัย / คาดการณ์สถานการณ์น้ํา
*K16 – ข้อมูลที่จําเป็นต้องประสานกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหรือสืบค้นจากหนังสือสถิติสาธารณภัย ส่วน วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ศูนย์อํานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
คําอธิบายกลยุทธ์เพิ่มเติม กลยุทธ์ที่ 3.1 เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ํา คลองระบายน้ํา ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพคลองผันน้ํา เช่น เสริมคันดินกันน้ําล้นตลิ่ง พร้อมปรับปรุงโครงสร้างที่เป็น อุปสรรค เพื่อรองรับการระบายน้ํา และกักเก็บน้ํา ซึ่งการทํางานในพื้นที่ต้องเน้นการทําความเข้าใจและการมี ส่วนร่วมของชุมชนด้วย กลยุทธ์ที่ 3.2 พัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ําให้เป็นพื้นที่น้ํานอง การพัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ํา คือ ทุ่งนา ที่ลุ่ม ที่มีน้ําท่วมขังเป็นประจํา ให้เป็นพื้นที่กักเก็บน้ําหลากชั่วคราว ด้วยการควบคุมน้ําเข้าพื้นที่อย่างเป็นระบบ และบริหารจัดการน้ําที่กักเก็บไว้เพื่อประโยชน์ในการเพาะปลูก จากนั้นควบคุมการระบายน้ําออกจากพื้นที่ตามเวลาที่เหมาะสม กลยุทธ์ที่ 3.3 พัฒนาประสิทธิภาพการจัดการน้ําในภาวะวิกฤต การปรับปรุง คลองระบายน้ําและคลองธรรมชาติที่ทรุดโทรม การบรรเทาอุทกภัยของโครงข่ายคลอง ธรรมชาติ และโครงข่ า ยระบบชลประทาน อาคารต่ า งๆ รวมทั้ ง ประตู ร ะบาย ประตู รั บ น้ํ า เข้ า โครงการ ชลประทานต่างๆ ซึ่งการบริหารจัดการในภาวะวิกฤตทั้งภัยแล้ง และอุทกภัย
แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
กรมชลประทาน13
19
กลยุทธ์ที่ 3.4 ปรับปรุงระบบจัดการข้อมูลด้านน้ําและระบบชลประทานให้ทันสมัยเป็นแบบ Real time ข้ อ มู ล ทางไกลอั ต โนมั ติ (โทรมาตร) และหรื อ เครื่ อ งมื อ วั ด ระดั บ น้ํ า อื่ น เป็ น รู ป แบบเดี ย วกั น (Program) เชื่อมโยงข้อมูลกันได้ทั้งลุ่มน้ํา และเข้าสู่ระบบกลาง พัฒนา Application ที่ใช้งานง่าย (User Friendly) แจ้งเตือนภัย เรื่องระดับน้ําและการ ชลประทานในพื้นที่ กลยุทธ์ที่ 3.5 พัฒนาแบบจําลองพยากรณ์การบริหารจัดการน้ําและอุทกภัย (RID Model) แบบบูรณาการทั้ง ภายใน – ภายนอก การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลจากสถานีโทรมาตรของหน่วยงานที่ได้ดําเนินการแล้วเสร็จของ กรมชลประทาน และ/หรือเชื่อมโยงข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง เช่นกรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย สถาบั น สารสนเทศทรั พ ยากรน้ํ า และการเกษตร เข้ า สู่ ฐ านข้ อ มู ล ของกรมชลประทาน เพื่ อ ดําเนินการทดสอบข้อมูลคาดการณ์สถานการณ์น้ําตามแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ทั้งน้ําท่วม น้ําแล้ง กลยุทธ์ที่ 3.6 ปรับปรุงระบบแจ้งเตือนภัย / คาดการณ์สถานการณ์น้ํา การแจ้ ง เตื อ นภั ย จากน้ํ า เป็ น การให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สถานการณ์ น้ํ า หรื อ แจ้ ง สถานการณ์ ที่ จําเป็นต่อการรับรู้เกี่ยวกับภัยจากน้ํา แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือคาดว่าจะได้รับผลกระทบ เพื่อให้เตรียมพร้อม รับสถานการณ์ และสามารถอพยพ เคลื่อนย้ายไปสู่ที่ปลอดภัยได้ทันเวลา โดยทําการแจ้งเตือนประชาชน โดยตรง ผ่ า นทางสถานี โ ทรทั ศ น์ สถานี วิ ท ยุ วิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น โทรสาร โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และแจ้ ง เตื อ นผ่ า น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือหน่วยงานที่มีภารกิจโดยตรงในการป้องกันและบรรเทาภัย
ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564 20 แผนยุ แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
14
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การเสริมอํานาจประชาชนในระดับพื้นที่ (Empowering) การสร้างเครือข่าย และ การมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่ ว นในงานบริ ห ารงานจั ด การน้ํ า ชลประทาน (Networking Collaboration Participation) แผนภาพที่ 4 : กรอบแนวคิดการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม
Collaboration
Network
Strategy design Model : การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม (Networking Collaboration ลักษณะการท้างานกรมชลประทานจึงต้อง ครอบคลุม Cooperation-Facilitates-Participation (ประสานงานนโยบาย การปฏิบัติงานบูรณาการ การอํานวยการ และการสร้างการมีส่วนร่วม) เน้นการบูรณาการการ ด้าเนินงานตาม นโยบายและแผนชาติ ทั้งการพัฒนาพื้นที่ ชลประทาน การ บริหารจัดการน้้า และ การบรรเทาภัยจากน้้า กับหน่วยเกี่ยวข้อง
ส่วนราชการ ร่วมด้าเนินงาน ประชาชนผู้รับ ประโยชน์
ขยายการสร้างการ มีส่วนร่วม กับ ประชาชนทุกกลุ่ม นอกเหนือจากกลุ่ม ผู้ใช้น้า
ให้ความช่วยเหลือ อ้านวยการ สอนและสร้างความเข้าใจใน การใช้งาน บ้ารุงดูแลรักษา อาคาร หรือระบบชลประทาน ที่ส่งมอบถ่ายโอน
ปัจจุบันมีพื้นที่องค์กรผู้ใช้น้ํา 16,519,076 ไร่ จากพื้นที่ชลประทาน 24,534,640 ไร่ (67.33%)
อปท. กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ ลดแรงต่อต้าน หรือกีดกัน หรือกลุ่มอาสาสมัคร เอกชนไม่แสวงหาก้าไร การพัฒนาโครงการ ท้างาน แบบมวลชนสัมพันธ์ พัฒนา (NGO ความสัมพันธ์ ให้กลุ่มต่าง ร่วมเข้ามาท้างานเป็น เครือข่ายเดียวกัน
หมายเหตุ: ข้อมูลจํานวนองค์กรผู้ใช้น้ําชลประทานทุกประเภทที่ขึ้นบัญชี ในเขต สชป. 1-17 ณ 30 ก.ย. 58 จากการบรรยายพิเศษ การสัมมนาเพื่อ ติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบายและทิศทางการดําเนินงานใน อนาคต โดย ดร.ทองเปลว กองจันทร์ รองอธิบดีฝ่ายบํารุงรักษา
ที่มา : การวิเคราะห์ของคณะที่ปรึกษา
น้ําเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ต้องมีการบริหารจัดการทั้งปริมาณและคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมทั้งในระยะ สั้นและระยะยาว โดยภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและชุมชนในลุ่มน้ํา ควรต้องร่วมกันทบทวนและปรับปรุง กระบวนการจัดการ ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน บนฐานแห่งความเป็นจริงและสามารถปฏิบัติได้ โดย อาศัยข้อมูล ความรอบรู้และสติปัญญาของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่เข้าใจในปัญหา การจัดการน้ําในปัจจุบันควรมีกลไก สําคัญ ได้แก่ การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการทํางานแบบร่วมด้วยช่วยกัน ช่วยกันหารูปแบบและวิธีดําเนินการ แก้ปัญหาแบบบูรณาการในทุกมิติ จึงจะบังเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างยั่งยืนปราศจากความขัดแย้งในสังคม แผนภาพที่ 5 : กรอบแนวคิดลําดับการเพิ่มระดับการมีส่วนร่วม Strategy design Model : การเพิ่มระดับการมีส่วนร่วม เน้นการสร้างเครือข่ายเพื่อการท้างาน และเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ไม่ใช่เพียง การให้ข้อมูลข่าวสาร และรับ งความคิดเห็น
05 Empower 04 Collaborate การเสริมอ้านาจ แก่ประชาชน
ประชาชนมีโอกาสเข้า ร่วมท้างานกับภาครั
ร่วมมือ
Involve เกี่ยวข้อง
02 Consult
รับ งความคิดเห็น
01 Information ให้ข้อมูลข่าวสาร
ประชาชนมีโอกาสเข้าร่วม กระบวนการการตัดสินใจ ประชาชนแสดงความ คิดเห็นอย่างอิสระเสรี
ประชาชนรับรู้ เกี่ยวกับภาครั
กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
03
ให้ประชาชนมีบทบาท และร่วมในการตัดสินใจ
ล้าดับขั้นการสร้าง เสนอโครงการ เตรียมการ การมีส่วนร่วม ผู้ได้รับผลกระทบ L01 – L02 ผู้ใช้น้า
ก่อสร้าง
ใช้ประโยชน์
L01 L01 – L04
อื่น เช่น NGO
ที่มา : การวิเคราะห์ของคณะที่ปรึกษา แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564
กรมชลประทาน
15
21
หมายเหตุ : L01 คือ ระดับการมีส่วนร่วมขั้นที่ 1 การให้ข้อมูลข่าวสาร L02 คือ ระดับการมีส่วนร่วมขั้นที่ 2 รับฟังความคิดเห็น L03 คือ ระดับการมีส่วนร่วมขั้นที่ 3 เกี่ยวข้อง L04 คือ ระดับการมีส่วนร่วมขั้นที่ 4 ร่วมมือ L05 คือ ระดับการมีส่วนร่วมขั้นที่ 5 การเสริมอํานาจแก่ประชาชน
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่ง ระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ําที่สุด แต่เป็นระดับที่สําคัญ ที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่อง ต่างๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่างๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อต่างๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น 2. การรับ งความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริง และความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่างๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การ สํารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น 3. การเกี่ยวข้ อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะ แนวทางที่นําไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของ ประชาชนจะถูกนําไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ พิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทํางานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น 4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐ ในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดําเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่าย ประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น 5. การเสริมอ้านาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็น ผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่างๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอํานาจให้ประชาชน เป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นเรื่องละเอียดอ่อน สามารถทําได้หลายระดับและหลายวิธี ซึ่ง บางวิธีสามารถทําได้อย่างง่ายๆ แต่บางวิธีต้องใช้เวลา ขึ้นอยู่กับความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ค่าใช้จ่ายและความจําเป็นในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงต้องมี การพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน การรับฟังความคิดเห็น การเปิด โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาทักษะและศักยภาพของข้าราชการทุกระดับควบคู่กันไปด้วย
22
แผนยุ พ.ศ. 2560-2564 2560 – 2564 แผนยุททธศาสตร์ ธศาสตร์กรมชลประทาน กรมชลประทาน พ.ศ.
16
ตารางที่ 5 : เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป้าประสงค์ SG7 ยกระดับการมีส่วน ร่วมของประชาชน และ ชุมชนในพื้นที่ ไปสู่ระดับ การเสริมอํานาจการบริหาร จัดการการชลประทาน
SG8 เพิ่มเครือข่ายให้ ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้ใช้น้ํา (เครือข่ายผู้ใช้น้ําเกษตร อุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรม อื่นๆ) SG9 ได้รับการสนับสนุน จากท้องถิ่นและจังหวัดใน การพัฒนาโครงการ
ตัวชี้วัด K19 ร้อยละของจํานวนโครงการเกี่ยวกับการ พัฒนาแหล่งน้ําที่มีการดําเนินการแบบมีส่วนร่วม ในระดับการร่วมมือในงานชลประทาน (Collaboration Participation) (หน่วย: ร้อยละ) K20 ร้อยละของจํานวนโครงการเกี่ยวกับการ บริหารจัดการน้ําที่มีการดําเนินการแบบมีส่วน ร่วมในระดับการร่วมมือบริหารงานจัดการน้ําใน งานชลประทาน (Collaboration Participation) และ/หรือระดับการเสริมอํานาจ ประชาชนในพื้นที่ (Empowering) (หน่วย: ร้อยละ) K21 ร้อยละของจํานวนเครือข่ายผู้ใช้น้ําทุกภาค ส่วนที่เพิ่มขึ้น (หน่วย: ร้อยละ)
กลยุทธ์ กลยุทธ์ 4.1 เพิ่มอํานาจและสร้างการมีส่วนร่วม กลยุทธ์ 4.2 การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือ ในการทํางานกับภาคประชาชน และ NGO
กลยุทธ์ 4.3 จัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ําให้ครอบคลุมพื้นที่ ชลประทานที่พัฒนาแล้ว
K22 จํานวนโครงการของชลประทานที่สอดคล้อง กลยุทธ์ 4.4 การบูรณาการและส่งเสริมการมี กับแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ส่วนร่วมของภาคราชการ (หน่วย: โครงการ) (ส่วนราชการ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ท้องถิ่น) K23 งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากจังหวัด และท้องถิ่นให้ดําเนินโครงการของชลประทาน (หน่วย: บาท)
หมายเหตุ : นําเสนอโดยคณะที่ปรึกษา
คําอธิบายกลยุทธ์เพิ่มเติม กลยุทธ์ที่ 4.1 เพิ่มอํานาจและสร้างการมีส่วนร่วมกับประชาชน และชุมชนในพื้นที่ 4.1.1 การให้ความรู้และข้อมูลตั้งแต่ก่อนเริ่มโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ได้รับ ผลกระทบจากโครงการ รวมทั้งการสร้างความตระหนักถึงทรัพยากรน้ําที่มีอยู่อย่างจํากัด 4.1.2 การรับฟังความคิดเห็นและการเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมในงานชลประทานและแก้ไข ปัญหาน้ําในพื้นที่ 4.1.3 ให้อํานาจกลุ่มผู้ใช้น้ําทั้งในระดับชุมชน ลุ่มน้ําย่อย ลุ่มน้ําใหญ่ในการจัดสรรการใช้น้ําในระดับ พืน้ ที่ 4.1.4 การพัฒนาเครือข่ายคณะกรรมการจัดการชลประทานให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ชลประทาน และ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายฯ ที่จัดตั้งแล้ว
แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564
กรมชลประทาน
17
23
กลยุทธ์ที่ 4.2 การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการทํางานกับภาคประชาชน และ NGO 4.2.1 การให้ความรู้และข้อมูล ตั้งแต่ก่อนเริ่มโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ รวมทั้งการสร้างการ ตระหนักถึงทรัพยากรน้ําที่มีอย่างจํากัด 4.2.2 การรับฟังความคิดเห็นและการเปิดโอกาส และให้เข้ามามีส่วนร่วมในงานชลประทานและแก้ไข ปัญหาน้ําในพื้นที่ 4.2.3 การส่งเสริมสนับสนุน (การจัดสรรงบประมาณ) ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการศึกษาผลกระทบใน การดําเนินโครงการ กลยุทธ์ที่ 4.3
จัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ําให้ครอบคลุมพื้นที่ชลประทานที่พัฒนาแล้ว
กลยุทธ์ที่ 4.4
การบูรณาการและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคราชการ (ส่วนราชการ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ท้องถิ่น) 4.4.1 พัฒนาหน่วยงานชลประทานในระดับพื้นที่เพื่อสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานในระดับจังหวัด/กลุ่ม
จังหวัด 4.4.2 การบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด/ งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้ง แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านน้ํา ให้มีความเชื่อมโยงกับแผนงานกรมชลประทาน 4.4.3 เสริมสร้างความเข้าใจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการให้คําปรึกษาและความรู้แก่ ผู้ดูแล รักษาโครงการชลประทานขนาดเล็ก (โครงการถ่ายโอน) และการก่อสร้างแหล่งน้ําที่เชื่อมโยงกับโครงการของ กรมชลประทาน
24
แผนยุ ทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564 แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
18
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ (Turnaround to Intelligent Organization) แผนภาพที่ 6 : กรอบแนวคิดการพัฒนาสู่องค์กรอัจฉริยะ Strategy design Model : องค์กรอัจฉริยะ (Intelligent Organization) คือ การสนธิพลังขององค์กร (Synergy) คน องค์ความรู้ และวิธีการท้างานบน านดิจิทัล โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและสารสนเทศ Continual Learning Management Intelligence & Adaptability Good Cooperation & Collaboration
คน (People)
Knowledge Management ข้อมูลและ Digital-based Management องค์ความรู้ R&D : from Problems to Revolutions (Info and Knowledge)
Intelligent Organization Technology-based for Automatic Work Environment (Science & Technology, ICT)
เทคโนโลยี (Technology)
วิธีการ (Process)
มีกระบวนการท้างานที่ทันสมัย เปลี่ยนแปลงได้เร็ว ท้างานในลักษณะของเครือข่าย และสามารถ ท้างานข้ามสายงานได้เป็นอย่างดี
ที่มา : การวิเคราะห์ของคณะที่ปรึกษา
ภายใต้พลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน การทํางานรูปแบบเดิมอาจไม่สามารถตอบสนองต่อ ปัจจัยและความท้าทายต่างๆ ที่เข้ามามีบทบาทต่อการทํางานมากขึ้น การปรับเปลี่ยนไปสู่องค์กรอัจฉริยะ (Intelligent Organization) จึงถือว่ามีความสําคัญต่อการพัฒนาศักยภาพขององค์กรในภาพรวมให้สามารถ รับมือกับความท้าทายจํานวนมากที่เข้ามา ในขณะเดียวกันสามารถตอบสนองต่อเป้าหมายขององค์กรได้ องค์กรอัจฉริยะ เป็นแนวคิดของการสนธิพลังขององค์กร (Synergy) ทั้งในส่วนของคน องค์ความรู้ และ วิธีการทํางานบนฐานดิจิทัล ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย โดยองค์กรอัจฉริยะ ประกอบไปด้วย 1. บุคลากร (People) : บุคลากรจะต้องมีความใฝ่รู้ มีองค์ความรู้ที่สามารถนํามาปรับใช้ในการทํางาน ต่างๆ ได้ มีทักษะในการทํางานร่วมกันกับผู้อื่นในลักษณะเครือข่ายได้ 2. ข้อมูลและองค์ความรู้ (Information and Knowledge) : องค์กรจะต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีความพร้อมในเรื่องของการจัดการองค์ความรู้ การจัดการงานบนฐานดิจิทัล หรือแม้แต่การวิจัยที่ สามารถตอบสนองความต้องการในด้านต่างๆ และในขณะเดียวกันสามารถนําผลที่ได้มาต่อยอดและ สร้างสรรค์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็นรูปธรรม 3. กระบวนการ (Process) : เป็นองค์กรที่มีรูปแบบและกระบวนการทํางานที่มีความทันสมัย มีความ ยืดหยุ่น เปลี่ยนแปลงรูปแบบการทํางานได้อย่างรวดเร็วตามสถานการณ์ ในขณะเดียวกันองค์กรจะต้อง มีกระบวนการที่สนับสนุนให้บุคลากรสามารถทํางานข้ามสายงานได้ (Cross–Disciplinary) รวมถึง ส่งเสริมให้เกิดการทํางานในลักษณะของเครือข่ายที่เชื่อมโยงกันในด้านต่างๆ ได้ 4. เทคโนโลยี (Technology) : องค์กรจะต้องมีการสร้างสภาพแวดล้อมที่ช่วยสนับสนุนให้สามารถนํา เทคโนโลยีสมัยใหม่มาปรับใช้กับการทํางานทั้งหมดภายในองค์กรได้ ทั้งในส่วนของวิทยาศาสตร์แ ละ เทคโนโลยี (Science & Technology) หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นต้น แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564
กรมชลประทาน
19 25
ตารางที่ 6 : เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด SG10 เป็นองค์กรอัจฉริยะ K24 ร้อยละของผู้ใช้น้ําและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่ยอมรับในความเป็นองค์กรอัจฉริยะของ กรมชลประทาน (หน่วย: ร้อยละ)
กลยุทธ์ กลยุทธ์ 5.1 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ กรอบแนวคิดและความสามารถ (Knowledge Worker) กลยุทธ์ 5.2 ขับเคลื่อนให้เป็นองค์กรอัตโนมัติ กลยุทธ์ 5.3 พัฒนาการทํางานโดยระบบดิจิทัล
หมายเหตุ : นําเสนอโดยคณะที่ปรึกษา
คําอธิบายกลยุทธ์เพิ่มเติม กลยุทธ์ที่ 5.1 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ กรอบแนวคิดและความสามารถ (Knowledge Worker) พัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Continuing Learning) ด้วยระบบ และการวางแผน พัฒนาบุคลากรในทุกระดับชั้น มีความสามารถริเริ่ม สร้างสรรค์ ต่อยอดความรู้ และเสริมสร้างคุณค่าในการทํางาน Value Creation Culture ด้วยฐานการจัดการองค์ความรู้ที่เป็นระบบ พัฒนาบุคลากรให้มีการทํางานเชิงรุก และไม่ยึดติดกับความสําเร็จในอดีต (Paradigm / Broad Mindset /Proactive) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากงานวิจัยไปสู่การปฏิบัติ และการนํานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ งานให้บรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร (High Performance) การจัดการองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมน้ํา และองค์ความรู้การบริหารจัดการต่างๆ อย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง
26
กลยุทธ์ที่ 5.2
ขับเคลื่อนให้เป็นองค์กรอัตโนมัติ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ในการควบคุมระยะไกลในการบริหารจัดการน้ํา ตลอดถึงการ พัฒนาแหล่งน้ํา เพิ่มการกักเก็บน้ํา และระบบการส่งน้ําที่มีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสีย การใช้เครื่องจักรสมองกล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
กลยุทธ์ที่ 5.3
พัฒนาการทํางานโดยระบบดิจิทัล ส่งเสริมนวัตกรรม / การบริหารจัดการองค์ความรู้ (KM) ส่งเสริมการต่อยอดและนํา นวัตกรรมหรือองค์ความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ พัฒนารูปแบบการทํ างานและสร้างวัฒนธรรมการทํางานโดยใช้ระบบดิจิทัล (Digital Platform) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (MIS, GIS, Big Data) ปรั บปรุง การสื่ อ สาร การเผยแพร่ การให้ข้ อมู ลต่ างๆ แก่ป ระชาชนในรู ปแบบดิจิ ทั ล Internet, Social Media
แผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 – 2564 แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560-2564
20
กรมชลประทาน
27
ปร สทธผ
ุ า บร าร
ปร สทธ า
์ร
าร นาแ นา ่ นที่ ปร ทาน ตา ศ ย า ุ นา
OpO10
ปร นยุทธศาสตร์ที่
รย ที่ ุ สรา
SG2 ารบร าร ารนา ย ทุ า ส น รบนา ที่ ี ุ า ยา ท่ แ ปนธรร ตา ปร า นาตนทุนที่ ี นแต ป
ปร นยุทธศาสตร์ที่
SG4 ่ าทา ศร ทา าร ตร น นที่ ปร ทาน OpO11
า ส สียทา ศร น น่ า า ุท ย แ ยแ
OpO12
OpO13
SG9 รบ ารสนบสนุน า ท ่น แ น าร นา ร าร
SG8 ่ ร าย รบ ุ ทุ ุ ผ นา
SG7 ย ร บ าร ีส นร ปร า น แ ุ น น นที่ ปสร บ าร สร านา าร บร าร าร าร ปร ทาน
าร สร านา ปร า น นร บ นที่ ารสรา ร าย แ าร ี ส นร ทุ า ส น น าน บร าร าน ารนา ปร ทาน
SG10 ปน ์ ร รย
ารปรบ ป ่ยี นส ์ ร รย
ปร นยุทธศาสตร์ที่
่ ุ า ารบร าร าย นป 79
ปร นยุทธศาสตร์ที่
SG6 าร า าร ์ส าน าร ์นา ี า ทนส ยแ า ุ ปา าย ปร ทานที่ทนต ตุ าร ์
SG5 ที่
-
านนา Water Security) ่
ารป น า สีย าย แ สนบสนุน ารบรร ทา ย น า นา
า ่น
าร ่ ปร สทธ า ารบร าร ารนา ยา บร า าร ตา ต ุปร ส ์ าร นา
์ร
ปร ทาน ศ
4. แผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ ร
SG3 ารปรบ ป ี่ยน าร นา า ตร ีปร สทธ า า น
SG1 ีแ บ นาแ ีปร า นาที่ าร ่ ่ นที่ ปร ทาน
แ
ปร นยุทธศาสตร์ที่
สยทศน์ :
แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. 2560 - 2564
นา
21