พรอม
2 DVDs
เลนกีตารสำเนียงฝรั่ง
บันไดแหงความสำเร็จ เผยทุกเทคนิค เลนใหดูทุกเม็ด
กับพี่หมู คาไล
การใช Am
การผสมโนตจากอ็อกเทฟอื่นๆ การจิ้มสาย (Tapping) ระหวางดันสาย Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode การเลนโซโลผสมโนตในคอรด
Guitar Mode Diagram Note & Tab Symbol
เลนกีตารสำเนียงฝรั่ง เลนกีตารสำเนียงฝรั่ง
กับพี่หมู คาไล กับพี่หมู คาไล
ศิริศักดิ์ ศิริโชตินันท์
เล่นกีต้าร์สำ�เนียงฝรั่ง Blues Rock ISBN ราคา พิมพ์ครั้งที่ 1
978-616-527-169-1 240 บาท กุมภาพันธ์ 2554
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำ�นักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำ�ส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ทำ�สำ�เนา ถ่ายเอกสาร หรือนำ�ไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางสำ�นักพิมพ์เท่านั้น
ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ศิริศักดิ์ ศิริโชตินันท์. เล่นกีต้าร์สำ�เนียงฝรั่ง Blues Rock.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2554. 128 หน้า.
1. กีต้าร์. 2. กีต้าร์ไฟฟ้า. l. ชื่อเรื่อง.
787.87 ISBN 978-616-527-169-1 คณะผู้จัดทำ� บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน ศิริศักดิ์ ศิริโชตินันท์ เรียบเรียงเนื้อหา เอกรินทร์ ศุภรณ์พานิช ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ประชา ธนะฤกษ์ พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประสานงานฝ่ายผลิต วราลี สิทธิจินดาวงศ์ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จำ�กัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช
จัดพิมพ์โดย : สำ�นักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com
จัดจำ�หน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารเนชัน่ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ้ำ� หน้าขาดหาย สำ�นักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อสำ�นักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
INTRODUCTION สวัสดีชาวมือกีตา้ ร์ เราได้มโี อกาสมาพบ กันอีกครัง้ ในอีกรูปแบบหนึง่ เพราะดนตรีไม่มวี นั สิน้ สุด มีเรือ่ งที่จะแนะน�ำบอกเล่ากันได้แบบไม่รู้ จบ
เพราะฉะนั้นนี่เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ผมจะน�ำ เอาสิง่ ทีผ่ มรู้ ประสบการณ์จากการท�ำงานด้านนี้ และ การได้พบปะคนทีม่ คี วามรูด้ า้ นดนตรีในเครือ่ งดนตรี หลายชนิดมาบอกเล่าเป็นเกร็ดความรู้ อย่างน้อยก็ จะท�ำให้เรารู้ถึงวิธีการ เทคนิคต่างๆ ของความเป็น สากลได้เร็วยิ่งขึ้น ท�ำให้เราสามารถพัฒนาจากฐาน ไปสู่ยอดได้อย่างมั่นคงและถูกต้อง อาจจะรู้สึกเบื่อ บ้าง แต่ทุกคนควรจะอดทน หมั่นสังเกตและฝึกฝน เพราะผมเคยผ่านประสบการณ์นี้มาแล้ว และพบ ว่ า มั น ส� ำ คั ญ อย่ า งมากต่ อ การฝึ ก ฝนต่ อ ไปในวั น ข้างหน้า ความส�ำเร็จรอทุกคนอยู่ ผมขอเป็นก�ำลังใจ ให้ครับ
CONTENTs
สารบัญ
ก่อนเข้าสู่บทเรียน Chapter 1 ทบทวนเรื่องเพนทาโทนิกและการดันสาย
1 5
Exercise 1
6
Chapter 2 การผสมโน้ตจากอ็อกเทฟอื่นๆ
9
Exercise 2.1
Exercise 2.2
Chapter 3 การดันสายแบบดันลง
Exercise 3
10 10
11
12
Chapter 4 การจิ้มสาย (Tapping) ระหว่างดันสาย
Exercise 4.1
Exercise 4.2
13
Chapter 5 การใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode
14 14
15
16
Chapter 6 การใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode บนทางเดินคอร์ดแบบบลูส์
17
Exercise 5
Exercise 6
Chapter 7 ลูกโซโล่พื้นฐาน
19
21
Exercise 7.1
22
Exercise 7.2
23
Exercise 7.3
23
Chapter 8 การฝึกดันสายขึ้นครั้งละ 1/4 เสียง บนต�ำแหน่งเดียว
25
Exercise 8.1
26
Exercise 8.2
26
Chapter 9 การฝึกดันสายขึ้นครั้งละ 1/4 เสียง กับ Backing Track 27
Exercise 9
28
Chapter 10 การเล่น A Major Pentatonic Scale บนคอร์ด A7 29 Exercise 10.1 30 Exercise 10.2 30 Exercise 10.3 31 Exercise 10.4 31 Exercise 10.5 32 Exercise 10.6 32 Chapter 11 โน้ต b5 33
Exercise 11
Chapter 12 Lick 1 (Am)
34
35
Exercise 12.1
36
Exercise 12.2
36
Exercise 12.3
37
Exercise 12.4
37
Exercise 12.5
37
Chapter 13 Lick 2 (A7)
Exercise 13.1
39
40
Exercise 13.2 40 Exercise 13.3 41 Exercise 13.4 41 Chapter 14 Lick 3 (โน้ตตัวที่ 6 ใน Dorian Mode) 43
Exercise 14.1
44
Exercise 14.2
44
Exercise 14.3
45
Exercise 14.4
45
Exercise 14.5
46
Exercise 14.6
46
Exercise 14.7 47 Exercise 14.8 47 Exercise 14.9 48 Exercise 14.10 48 Chapter 15 Lick 4 (Tapping + Hammer on, Pull off) 49
Exercise 15.1
50
Exercise 15.2 Chapter 16 การใช้โน้ต 6 และ b7
51
53
54
Exercise 16
Chapter 17 Arpeggio
Exercise 17.1
55
56
Exercise 17.2
57
Exercise 17.3
58
Chapter 18 Arpeggio + Chromatic
59
Exercise 18.1
60
Exercise 18.2
61
Chapter 19 การเล่นโซโล่ผสมโน้ตในคอร์ด
Exercise 19
63
64
Chapter 20 การใช้โน้ตนอกคอร์ดในบันไดเสียงเมเจอร์ 65 ภาคผนวก : โหมดต่างๆ 67
C Major Scale Mode
วิธีคิดโหมด Ionian และ Dorian
วิธีคิดโหมด Phrygian และ Lydian
วิธีคิดโหมดแบบอื่นๆ ของ Dorian, Phrygian และ Lydian 77
วิธีคิดโหมด Mixolydian, Aeolian และ Locrian
Guitar Mode Diagram
68
73
79
Ionian 84
Mixolydian
Dorian 87
Aeolian 99
Phrygian
Lydian 93
90
Locrian
75
83
96 102
Note & Tab Symbol
107
108
สัญลักษณ์บนบรรทัด Tab
ก่อน
เข้าสู่บทเรียน
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ ก่อนเข้าสู่บทเรียน สือ่ การสอนชุดนีเ้ ป็นเรือ่ งเกีย่ วกับการฝึกส�ำเนียงการ เล่นกีตา้ ร์ให้ดขี นึ้ ซึง่ อิงวิธกี ารเล่นกีตา้ ร์แบบบลูสอ์ ยูม่ าก ทัง้ นี้ การฝึกส�ำเนียงนั้นต้องอาศัยการฝึกฟังอย่างมากด้วยเช่นกัน เพราะหลายๆ อย่างไม่สามารถเขียนเป็นโน้ต (Note) และ แท็บ (Tab) ให้เข้าใจได้ทั้งหมด เนื่องจากมีรายละเอียดที่โน้ต ไม่สามารถบอกได้ เช่น ช่วงเสียงที่แคบกว่าครึ่งเสียง การเล่น โน้ตสั้นหรือท�ำให้ฟังดูห้วนๆ การเล่นหน่วงจากค่าโน้ตปกติ การเล่นแบบ Shuffle fill การดันสายขึ้นจากที่ดันขึ้นไปแล้ว ในจังหวะสุดท้ายหรือช่วงเสี้ยววินาที เพื่อให้ได้ส�ำเนียงเอื้อน ของกีต้าร์ ซึ่งผู้ฝึกต้องตั้งใจดูและฟังผู้สอนเพื่อให้เกิดความ เข้าใจตรงกัน อย่างไรก็ตาม ทางทีมงานก็ได้พยายามเขียนโน้ตและ แท็บในทุกๆ แบบฝึกหัด และทุกรายละเอียดที่จะสามารถ ท�ำได้อย่างเต็มที่ สัญลักษณ์บางอย่างนัน้ อาจไม่เป็นสากลแต่ก็ พยายามทีจ่ ะสือ่ ออกมาให้ใกล้เคียงตามการเล่นจริงมากทีส่ ดุ ดังนัน้ ขอให้ผฝู้ กึ เข้าใจว่าไม่ควรน�ำไปถกเถียงกับผูอ้ นื่ เกีย่ วกับ เรือ่ งสัญลักษณ์ตา่ งๆ เพราะไม่ใช่สงิ่ ตายตัว ในส่วนของการเล่น เทคนิคต่างๆ ที่ไม่ใช่การดีด เช่น Hammer on, Pull off และ Tapping ในสื่อการสอนชุดนี้จะระบุไว้ในกรณีที่ควรจะเล่น ด้วยวิธีนั้น แต่ผู้ฝึกก็สามารถใช้วิธีอื่นๆ ได้ตามถนัดเช่นกัน หรือในกรณีที่ไม่ได้ระบุไว้ ก็สามารถใช้เทคนิคดังกล่าวได้ ในส่วนของทฤษฎีที่แทรกอยู่ในแบบฝึกหัดต่างๆ นั้น อาจเป็นเรื่องเข้าใจยากส�ำหรับผู้ที่ไม่เคยศึกษามาก่อน ดังนั้น จะขออธิบายบางส่วนคร่าวๆ เกีย่ วกับการใช้คอร์ด สเกล และ โหมดในสื่อการสอนชุดนี้
2
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
พื้นฐานดนตรีบลูส์นั้นจะใช้คอร์ดอยู่ 3 คอร์ด ทุกคอร์ดเป็นคอร์ดชนิดเดียวกัน คือ Dominant 7 และใช้คอร์ดที่ 1 4 และ 5 ของบันไดเสียง ส่วนสเกลและโหมดทีใ่ ช้ในสือ่ การสอนชุดนี้ มี Minor Pentatonic Scale, Major Pentatonic Scale, Dorian Mode และ Mixolydian Mode คีย์หรือบันไดเสียงที่ใช้สอนคือ A โน้ตที่ใช้เล่นทับบนคอร์ดทั้งสามจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มที่เป็น Dominant คือเล่น A Major Pentatonic และ A Mixolydian ลงบนคอร์ด A7 และ E7 2. กลุ่มที่เป็น Minor คือเล่น A Minor Pentatonic และ A Dorian ลงบนคอร์ด D7 เพราะฉะนั้น ถ้าผู้สอนบอกว่า A7 หมายถึงเราจะเล่นโน้ตในกลุ่ม A Mixolydian หรือ A Major Pentatonic ลงบนคอร์ด A7 แต่ถ้าผู้สอนบอกว่า Am หมายถึงเราจะเล่นโน้ตในกลุ่ม A Minor Pentatonic และ A Dorian ลงบนคอร์ด D7 ในส่วนนี้ทางทีมงานเกรงว่าจะเกิดการสับสนจึงขอ อธิบายตรงส่วนนี้ก่อน ฉะนั้นควรจ�ำง่ายๆ ว่า หากเอ่ยถึง Am หมายถึงเล่นบนคอร์ด D7 เพราะ ไม่มีคอร์ด Am บนทางเดินคอร์ด
3
CHAPTER 1 ทบทวน เรื่อง เพนทาโทนิกและการดันสาย
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 1
ทบทวนเรื่องเพนทาโทนิกและการดันสาย บันไดเสียงเพนทาโทนิก (Pentatonic Scale) ใช้ในแนวดนตรีเกือบทุกประเภท และมี บทบาทมากในดนตรีบลูสแ์ ละร็อก ในบทนีเ้ ราจะน�ำบันไดเสียงเพนทาโทนิกมาเล่นให้เกิดส�ำเนียงทีด่ ี ส�ำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจเรื่องเพนทาโทนิก ควรท�ำความเข้าใจหรือศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ เพื่อง่ายต่อ การท�ำความเข้าใจในเรื่องอื่นๆ ที่มีเนื้อหาต่อเนื่องกัน หรืออาจติดตามได้จากสื่อการสอนชุด Pentatonic Scale โดยหมู คาไล ที่ได้ผลิตออกไปก่อนหน้านี้ก็ได้ ในขัน้ แรกเราจะจัดกลุม่ ของโน้ตในบันไดเสียงเพนทาโทนิกทีจ่ ะใช้บนคอกีตา้ ร์กอ่ น ต�ำแหน่ง ทีน่ ยิ มทีส่ ดุ ก็คอื Am Pentatonic ในช่วงเฟร็ตที่ 5-8 โดยเริม่ จากโน้ต 4 ตัวก่อน คือ G – A – C – D ตามภาพตัวอย่าง
Exercise 1
5 5
7 7
(b7) (b7)
(1) (1)
4 4
1/4 1/4
5 5
1/4 1/4
7 7
5 5
7 7
(b3) (b3)
1/4 1/4
1/4 1/4
7 7
5 5
1/4 1/4
7 7
ในสื่อการสอนชุดนี้เราจะใชเครื่องหมาย ในสื ่อการสอนชุ ดนี้เราจะใช ่องหมาย ตามด วยเศษสวนของเสี ยงทีเ่ตครื องดั นทั้งกับโนตและแท็บ ตามด วยเศษส วนของเสียงทีไ่ตมอสงดั นทั้งกับโนตและแท็ บ เพราะเครื ่องหมายตามปกติ ามารถบอกระดั บเสียงได เพราะเครื่องหมายตามปกติไมสามารถบอกระดับเสียงได
6
1/4 1/4
5 5
(4) (4)
1/4 1/4
5 5
1/4 1/4
1/4 1/4
7 7
5 5
1/4 1/4
7 7
1/4 1/4
5 5
1/4 1/4
7 7
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ จากนั้นก็เริ่มฝึกเล่นโน้ต C (b3) ดันสาย ¼ เสียง แล้วไปโน้ต D (4) หรือโน้ต A (1) ก็ได้ หรือการดันสายโน้ต G (b7) ¼ เสียง ไปหาโน้ต A ซึ่งการดันสาย ¼ เสียงนั้นอาจจะยากส�ำหรับ ผูท้ เี่ พิง่ เริม่ ฝึกกีตา้ ร์ เพราะในการฝึกกีตา้ ร์ทวั่ ๆ ไปนัน้ จะฝึกการดันสายโดยเทียบกับโน้ตของเครือ่ ง ดนตรีมาตรฐาน คือ ½ เสียงหรือ 1 เสียง หรือฝึกดัน 1 ½ เสียง ซึ่งเราสามารถเทียบโน้ตโดย การฟังเสียงโน้ตที่เราต้องการจะดันไปหาได้ เช่น ถ้าต้องการดันสายจากโน้ต A ช่องที่ 5 สาย 1 ไปครึ่งเสียง เราอาจจะดีดโน้ตช่องที่ 6 สาย 1 ก่อน เพื่อจ�ำระดับเสียงเอาไว้ จากนั้นก็ดีดโน้ตช่อง ที่ 5 สาย 1 แล้วจึงดันไปหาเสียงที่เราได้ฟังไปแล้ว (A#) หรือถ้าเราต้องการดันสาย 1 เสียงเต็ม เราก็ท�ำวิธีเดียวกัน แต่เปลี่ยนมาจ�ำเสียงช่องที่ 7 สาย 1 จากนั้นจึงฝึกดันสายจากช่องที่ 5 สาย 1 ไปยังระดับเสียงเดียวกับช่องที่ 7 สาย 1 หรือถ้าเราต้องการฝึกดันสาย 1 ½ เสียง เราก็เพิ่มไป อีก 1 ช่อง และสามารถใช้วิธีนี้ได้ ไม่ว่าต้องการฝึกดันสายจากช่องที่เท่าไร การดันสายให้ได้ส�ำเนียงที่ดีนั้น ต้องฝึกดันสายในระดับโน้ตที่ละเอียดกว่าเดิม ดนตรี บลูส์จะมีการดันสายเพียง ¼ เสียง ซึ่งต้องอาศัยการฟังที่ดี ส�ำหรับผู้เริ่มต้นควรฝึกดันสายแบบ ปกติให้ได้แม่นย�ำก่อนเพื่อฝึกการฟัง เมื่อฝึกดันสาย ¼ เสียง จะอาศัยจินตนาการเข้ามาช่วย ด้วย คือต้องดันไม่ให้ถึง ½ เสียง ในกรณีนี้ เราสามารถฟังเทียบกับโน้ต ½ เสียงได้ แต่เราจะ ต้องดันสายไม่ให้ถึง ½ เสียง และจินตนาการว่าครึ่งหนึ่งของ ½ เสียง ควรจะมีระดับเสียงเท่าไร เมื่อฝึกฝนได้แม่นย�ำแล้ว อาจจะฝึกดันสายในระดับที่ละเอียดกว่า ¼ เสียงขึ้นไปอีก โดยการน�ำ ไปใช้ในบทเพลงนั้นผู้เล่นต้องพิจารณาจากความเหมาะสม ซึ่งประสบการณ์จากการฝึกฝนและ การฟังเพลงส�ำคัญมาก การดันสายทีล่ ะเอียดมากๆ ไม่ควรใช้โน้ตทีท่ งิ้ เสียงนาน ควรเป็นโน้ตเกลา หรือผ่านไปยังโน้ตตัวอื่น ไม่เช่นนั้นเสียงจะเพี้ยน
7
CHAPTER 2 การผสมโน้ ต จากอ็อกเทฟอื่นๆ
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 2
การผสมโน้ตจากอ็อกเทฟอื่นๆ จากบทที่ 1 เราได้ฝึกดันสาย ¼ เสียงกับการเล่นโน้ต 4 ตัวในบันไดเสียงเพนทาโทนิก ไปแล้ว ในบทนี้เราจะผสมโน้ตจากอ็อกเทฟอื่นเข้าไปด้วย เพื่อให้ได้ส�ำเนียงที่แปลกออกไป
Exercise 2.1
5 8
Shuffle fill
1/4
1/4
7
5
7
1/4
1/4
5
7
5
7
5
7
7
5
(b7)
(b7)
จากแบบฝึกหัด ในห้องที่ 2 เป็นการเล่นโน้ตในอ็อกเทฟที่สูงขึ้น แต่ก็เป็นการดันสาย ¼ เสียงที่โน้ต b7 เหมือนกัน เมื่อฝึกได้คล่องแล้ว อาจลองฝึกดันสายในระดับเสียงที่แปลกออกไป เช่น ดันสาย ¾ เสียง (เท่ากับการดันสายสูงกว่า ½ เสียง ขึ้นไปอีก ¼ เสียง) เป็นต้น
Exercise 2.2 1/4
10
1/4
1/4
5
1/2
1/4
7
5
1/2
1/2
7
5
3/4
1/2
7
5
3/4
3/4
7
5
4/4
3/4
7
5
4/4
4/4
7
5
4/4
7
5
7
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
CHAPTER 3 การดั น สาย แบบดันลง
11
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 3
การดันสายแบบดันลง การดันสาย ไม่ว่าจะดันให้สูงขึ้นกี่ระดับเสียงก็ตาม เราสามารถดันขึ้นหรือดันลงก็ได้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่วิธีที่นิยมกันคือ ดันสายขึ้นส�ำหรับสายที่ 1–3 และดันสายลงส�ำหรับ สายที่ 4–6 ซึ่งไม่ได้เป็นกฎตายตัว แต่มีประโยชน์ที่ถ้าเราดันสายขึ้นในสายบนๆ เช่น สาย 6 หรือ ดันลงในสายล่าง เช่น สาย 1 สายกีต้าร์อาจหลุดออกนอกเฟร็ตได้ และการดันสายลงยังช่วยอุด สายที่อยู่ต�่ำกว่าไม่ให้มีเสียงรบกวนออกมาอีกด้วย
Exercise 3 1/4
1/4
bend down 5
5
1/4
1/4
1/4
7
5
1/4
5
1/4
7
7
1/4
1/4
5
bend up
7
5
7
5
7
1/4
1/4
12
5
5
bend up
7
5
7
1/4
8 7
10
8
1/4
1/4
10
8
1/4
10
8
1/4
1/4
bend up
1/4
8
10
10
8
10
1/4
1/4
bend up 8
7
1/4
1/4
1/4
1/4
1/4
bend up
8
5
bend down
1/4
1/4
1/4
1/4
1/4
1/4
3
bend down
10
1/4
8
10
8
10
10
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
CHAPTER 4
การจิ้มสาย (Tapping) ระหว่างดันสาย
13
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 4
การจิ้มสาย (Tapping) ระหว่างดันสาย การจิ้มสายเป็นอีกวิธีหนึ่งซึ่งให้ส�ำเนียงที่ต่างออกไป เสียงที่ได้จะเหมือนกับการเล่น Hammer on แต่จะได้ระยะห่างของเสียงมากกว่าโดยการใช้มือขวา เมื่อรวมกับการดันสายแล้ว ก็จะได้ส�ำเนียงอีกแบบหนึ่ง ต่อไปเป็นตัวอย่างของการเล่นเพนทาโทนิกแบบดันสายแล้วดีดปกติ เปรียบเทียบกับแบบที่มีการจิ้มสาย
Exercise 4.1
full
7
5
5 7
5
full
8
7
7
Exercise 4.2
14
full
hold bend
T 7
5
7
10
full
hold bend
T 7
5
7
12
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
CHAPTER 5
การใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode
15
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 5
การใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode การเล่นกีตา้ ร์ให้มสี ำ� เนียงบลูสน์ นั้ จ�ำเป็นต้องเข้าใจทีม่ าหรือโครงสร้างของโน้ตทีจ่ ะใช้ดว้ ย ซึ่งดนตรีบลูส์นั้นเราสามารถใช้โน้ตตัวที่ 3 ทั้งแบบไมเนอร์และเมเจอร์ได้ เราจึงสามารถใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode ควบคู่กัน (ส�ำหรับท่านที่ยังไม่เข้าใจเรื่อง Pentatonic Scale และ Mode สามารถหาความรูเ้ พิม่ เติมได้จากสือ่ การสอนชุด Pentatonic Scale และสือ่ การสอน ชุด Guitar Solo โดยหมู คาไล)
Exercise 5
Am Pentatonic
8
5
8
5
7
5
7
5
7
5
8
5
A Mixolydian Mode (ตัดโนตบางตัวออก)
16
9
5
8
5
7
6
7
5
7
4
7
5
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
CHAPTER 6
การใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode บนทางเดินคอร์ดแบบบลูส์
17
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 6
การใช้ Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode บนทางเดินคอร์ดแบบบลูส์ บทนี้จะเป็นการน�ำสเกลและโหมดจากบทที่แล้วมาใช้งานบนทางเดินคอร์ดแบบบลูส ์ ก่อนอื่นเรามารู้จักทางเดินคอร์ดของบลูส์ 12 ห้องกันก่อน ตารางทางเดินคอร์ดบลูส์ 12 ห้อง I
I
หรือ IV IV
IV V
V
หรือ IV
I
I
I
I
I
I
หรือ V
จากตารางจะเห็นทางเดินคอร์ดซึง่ อ่านจากซ้ายไปขวาทีละแถว แถวละ 4 ห้อง ใช้เลขโรมัน ในการแทนว่าเป็นคอร์ดที่เท่าไรของบันไดเสียงนั้น ยกตัวอย่างจากบันไดเสียง C จะมีโน้ต 7 ตัว คือ I
=C
II =
D
III =
E
IV
=F
V
=G
VI
=A
V II =
B
เมื่อได้ดังนี้แล้ว เราก็น�ำโน้ตตัวที่ I IV และ V มาเป็นรูทของคอร์ด แล้วเรียงล�ำดับตาม แบบตารางทางเดินคอร์ด จะได้ตัวอย่างดังนี้ บลูส์ 12 ห้องในคีย์ A
A7 D7 E7
D7 D7 D7
A7 A7 A7
A7 A7 E7
จากตารางเป็นตัวอย่างในคีย์ A ดังนัน้ คอร์ดที่ 1 จะเริม่ ที่ A เรียงตามล�ำดับเหมือนตัวอย่าง ในคีย์ C 18
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ เมื่อได้ทางเดินคอร์ดของบลูส์ 12 ห้องในคีย์ A แล้ว เราสามารถใช้บันไดเสียงทั้งสองชนิด กับแต่ละคอร์ดได้ดังนี้
Exercise 6 A Mixolydian / A7 Am Pentatonic / D7 A Mixolydian / A7 A Mixolydian / A7 Am Pentatonic / D7 Am Pentatonic / D7 A Mixolydian / A7 A Mixolydian / A7 A Mixolydian / E7 Am Pentatonic / D7 A Mixolydian / A7 A Mixolydian / E7 จากตารางเป็นวิธีการใช้โหมดและสเกลกับทางเดินคอร์ดแบบบลูส์อย่างง่ายๆ ในขณะที่ เล่นคอร์ด E7 อาจเน้นการเล่นโน้ต 9 ของ A Mixolydian หรือโน้ต B เพื่อสร้างความแตกต่าง ในการโซโล่บนคอร์ดทั้งสามชนิดก็ได้
19
CHAPTER 7 ลูกโซโล่พื้นฐาน
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ CHAPTER 7
ลูกโซโล่พื้นฐาน บทนี้เป็นการฝึกส�ำเนียงกับลูกโซโล่ที่น�ำไปใช้ได้ทั่วไปในเพลงบลูส์ มีทั้งแบบเมเจอร์และ ไมเนอร์ ซึ่งย้อนกลับมาฝึกเรื่องการดันสาย ¼ เสียงในลูกโซโล่แบบบลูส์
Exercise 7.1 A7 3
A7
3
full
5
6
7
10 7
Am7 3
5
6
8
Am7
3
full
22
7
5
5
10 7
5
5
8
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ Exercise 7.2 A7 H
7
5
5
5
6
8
Am7
H
10 7
4
5
5
5
8
10
Exercise 7.3 1/4
H 5
8
1/4
1/4
5
H 5
8
1/4
5
1/4
H 5
8
1/4
1/4
5
H 5
1/4
8
5
23
\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\
ขอขอบคุณศิลปินทั้งไทยและต่างประเทศที่ยอมรับเรา กรุงเทพฯ
ภูเก็ต
ตุ๋ย มิวสิค 081-624-9790 Music Society 02-656-6744 JJ_55 087-828-1146 Music Exchange 02-255-9918 Music Selector 081-487-6618 Music Group 089-681-8157 Music Practice 02-895-4118-9 ChateeO 086-620-3795 I M G 086-323-6176 i Guitar 084-123-3033 เชน มิวสิค 084-122-6242
Harmonic Music 086-891-6740
Music Guide 081-354-2010
เชียงราย
มีนบุรี ชลบุรี
The Mach Shop 087-938-7516
ขอนแก่น
Music Plus 082-737-4582 T-Music Zone 083-356-4727
กาญจนบุรี
ระยอง
Music Easy 089-161-7874
อยุธยา
สยามกลการ 081-513-5987 Yamaha Music 081-513-5987
นครศรีธรรมราช
ตรัง
NKS Music 075-319-188
เทพ มอร์แกน 081-082-6999
Mc Music
Wizard Music 083-183-9422 Music Mania 074-262-171 สาธิต มิวสิค 081-990-0878
Head Room Music 085-556-6617 Nott Music 081-171-4345 ร.ร.ดนตรีเอกสังคีตและศิลปะ 081-700-5314
ชำ�นาญ มิวสิค 089-295-8847
DD Music 089-722-8212
สกลนคร โคราช
Best Music 086-648-1853 แสวง มิวสิค 081-789-9998 โคราช มิวสิค 081-790-8326 ByHeart Music 086-730-4710
เชียงใหม่
พัทลุง
สงขลา
นราธิวาส
สุราษฎร์ธานี
นนทบุรี
เพชรบูรณ์ สุรินทร์
กีฬาสยาม 086-262-3256 City Music 087-277-2123 Maximum Sound 089-850-6440 สุราษฎร์การดนตรี 081-370-4827
แบรนด์ไทยผลิตจากคนไทยดังไกลยังต่างประเทศ
บ.นิยมศิลป์ 081-178-9177 25
สเกลที่นิยมใช้ ในเพลงร็อคมากที่สุด
PENTATONIC SCALE
“สเกลเพนทาโทนิก (Pentatonic Scale)” สามารถนำ�ไปเล่นกับเพลงได้หลากหลายสไตล์ หากรู้ วิธีการใช้แล้ว ผู้เล่นสามารถสร้างแนวทางใหม่ๆ ในการเล่นกีต้าร์ได้หลากหลายรูปแบบ ส่งผลให้สำ�เนียงชัดเจน และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สือ่ การสอนชุดนีเ้ หมาะสำ�หรับผูท้ ตี่ อ้ งการพัฒนาฝีมอื การเล่นกีตา้ ร์ให้ช�ำ นาญและแม่นยำ�มากขึน้ เนือ้ หา ประกอบไปด้วยพื้นฐานที่สำ�คัญเกี่ยวกับการเล่นกีต้าร์ โดยจะเน้นการทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างและการใช้ งานของ “สเกลเพนทาโทนิก” เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีแบบฝึกหัดที่เข้าใจง่าย ซึ่งผู้สอนก็มีเทคนิคและวิธีการ สอนอย่างละเอียด จนผู้เรียนสามารถเล่นตามและพัฒนาเป็นนักกีต้าร์มืออาชีพต่อไปในอนาคต
ราคาชสุดือ+ลวะิดีโอ2ซ4ีดี 04 แบผ่นาท หนัง
เลนกีตารสำเนียงฝรั่ง สวัสดีชาวมือกีตา ร เราไดมโี อกาสมาพบกันอีกครัง้ ในอีก รูปแบบหนึง่ เพราะดนตรีไมมวี นั สิน้ สุด มีเรือ่ งทีจ่ ะมาแนะนำ บอกเลากันไดแบบไมรูจบ เพราะฉะนั้นนี่เปนอีกครั้งหนึ่งที่ ผมจะนำเอาสิ่งที่ผมรู ประสบการณจากการทำงานดานนี้ และการไดพบปะคนที่มีความรูดานดนตรี ในเครื่องดนตรี หลายชนิดมาบอกเลาเปนเกร็ดความรู อยางนอยก็จะทำให เรารูถ งึ วิธกี าร เทคนิคตางๆ ของความเปนสากลไดเร็วยิง่ ขึน้ ทำใหเราสามารถพัฒนาจากฐานไปสูย อดไดอยางมัน่ คงและ ถูกตอง อาจจะรูสึกเบื่อบาง แตทุกคนควรจะอดทน หมั่น สังเกตและฝกฝน เพราะผมเคยผานประสบการณนม้ี าแลว และพบวามันสำคัญอยางมากตอการฝกฝนตอไปในวันขางหนา ความสำเร็จรอทุกคนอยู ผมขอเปนกำลังใจใหครับ
กับพี่หมู คาไล
ตัวอยางใน DVD
CONTENTs ทบทวนเรื่องเพนทาโทนิกและการดันสาย การผสมโนตจากอ็อกเทฟอื่นๆ การดันสายแบบดันลง การจิ้มสาย (Tapping) ระหวางดันสาย การใช Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode การใช Am Pentatonic Scale กับ Mixolydian Mode บนทางเดินคอรดแบบบลูส ลูกโซโลพื้นฐาน การฝกดันสายขึ้นครั้งละ 1/4 เสียงบนตำแหนงเดียว การฝกดันสายขึ้นครั้งละ 1/4 เสียงกับ Backing Track การเลน A Major Pentatonic Scale บนคอรด A7 โนต b5 Lick: Am/A7/โนตตัวที่ 6 ใน Dorian Mode/ Tapping + Hammer on, Pull off
ISBN 978-616-527-169-1
786165
271691
ภาคผนวก
C Major Scale Mode วิธีคิดโหมด Ionian และ Dorian วิธีคิดโหมด Phrygian และ Lydian วิธีคิดโหมดแบบอื่นๆ ของ Dorian, Phrygian และ Lydian วิธีคิดโหมด Mixolydian, Aeolian และ Locrian Guitar Mode Diagram Note & Tab Symbol
เลนกีตารสำเนียงฝรั่ง Blues Rock DVD : 2 แผน ราคา : 240 บาท
9
การใชโนต 6 และ b7 Arpeggio Arpeggio + Chromatic การเลนโซโลผสมโนตในคอรด การใชโนตนอกคอรดในบันไดเสียงเมเจอร