ทฤษฎีดนตรีสำหรับมือกีต้าร์

Page 1

เรียนรูเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรีสำหรับมือกีตารแบบอาหารจานดวน

ทฤษฎีดนตรี Music Theory for Guitarist

Interval

Mode Scale Chord CAGED Basic Theory

สำหรับมือกีตาร

พรอม DVD

2 แผน ความยาว

3 ชั่วโมง

เรียนทฤษฎีที่ปฏิบัตไิ ดจริง สอนโดย Calo Guitarist

หนังสือ+DVD ราคาพิเศษ

199



ทฤษฎี ดนตรี ส�ำหรับมือกีต้ำร์


ทฤษฎีดนตรีส�ำหรับมือกีต้ำร์ ISBN ราคา พิมพ์ครั้งที่ 1

978-616-527-160-8 199 บาท ตุลาคม 2554

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำาส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ทำาสำาเนา ถ่ายเอกสาร หรือนำาไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางสำานักพิมพ์เท่านั้น

ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data อมรฤทธิ์ บุญศรี. ทฤษฎีดนตรี.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2554. 144 หน้า. 1. ดนตรี. l. ชื่อเรื่อง. 781 ISBN 978-616-527-160-8 คณะผู้จัดทำ� บรรณ�ธิก�รสำ�นักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน อมรฤทธิ์ บุญศรี ฝ่�ยดนตรี เอกรินทร์ ศุภรณ์พานิช ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ประชา ธนะฤกษ์ พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประส�นง�นฝ่�ยผลิต ณัฐพงษ์ พยัคคง ประส�นง�นสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่�ยก�รตล�ด ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จำากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณ� เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย : สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที ่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจำ�หน่�ยโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารเนชัน่ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ้ำา หน้าขาดหาย สำานักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


บทน�ำ ทฤษฎีดนตรีดูจะเป็นเรื่องที่ไกลตัว ส�ำหรับผู้ที่เริ่ม ฝึกเล่นดนตรีใหม่ๆ มักจะไม่เข้ำใจว่ำทฤษฎีคืออะไร หรือ มีประโยชน์อย่ำงไร ผู้เขียนจะขอยกตัวอย่ำงกำรน�ำทฤษฎี ดนตรีไปใช้งำนใน 2 ลักษณะง่ำยๆ คือ 1. น�ำไปใช้แต่งเรียบเรียงหรือเขียนเพลงเป็นตัวโน้ต 2. น�ำไปใช้ปฏิบัติเป็นเครื่องมือให้เกิดเสียง จำกกำรที่ผู้เขียนเคยเขียนคอลัมน์ Music Theory และ Arranging ในนิตยสำร Guitarist ฉบับดั้งเดิม โดย ทยอยลงในแต่ละฉบับอย่ำงต่อเนื่อง มีเนื้อหำครอบคลุม หลำยประเด็น ผู้ที่ติดตำมอ่ำนสำมำรถท�ำควำมเข้ำใจได้ ทีละขัน้ ตอนโดยละเอียด ซึง่ งำนในลักษณะดังกล่ำว จะเน้น กำรน�ำไปใช้ในแบบแรก ส�ำหรับสื่อกำรสอนชุดนี้ จะเน้นกำรน�ำทฤษฎีไปใช้ ปฏิบัติส�ำหรับกำรเล่นกีต้ำร์ โดยได้หยิบยกประเด็นหลักๆ และส�ำคัญ เป็นทฤษฎีเพื่อกำรปฏิบัติโดยใช้กีต้ำร์ในกำร สำธิตประกอบค� ำ อธิ บ ำย แต่ ก็ มี ก ำรปู พื้น ฐำนเบื้ องต้ น ไว้พอสมควร เพื่อให้บุคคลทั่วไปที่ไม่มีควำมรู้ในทฤษฎี ดนตรี เ ข้ ำ ใจได้ และยั ง เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ นั ก ดนตรี ที่ ไ ม่ เคยเรียนดนตรีมำก่อน กำรฟังค�ำอธิบำยในวิดีโอ แล้ว เปิ ด หนั ง สื อ ตำมไปแต่ ล ะหั ว ข้ อ ที่ พู ด ถึ ง ในขณะนั้ น จะ ท�ำให้ท�ำควำมเข้ำใจเนื้อหำได้ง่ำย และยิ่งสะดวกขึ้นถ้ำ ผู้ที่ศึกษำมีพื้นฐำนในกำรอ่ำนโน้ตอยู่บ้ำง


ผลงำนที่ผ่ำนมำ 1. หัดอ่าน Tab & Note เล่นตามเพลงด้วยกีต้าร์โปร่ง (Calo 1) เป็นการรวมเพลงจำานวน 50 เพลง (รวมเพลงชุดที่ 1) ที่เคยแกะ และเขียน Note & Tab ไว้ใน Guitarist Magazine ชุดนี้เพลง ส่วนใหญ่เป็น Finger Style ที่เน้นเล่นกีต้าร์ตัวเดียว

2. กีตา้ ร์โปร่งเทคนิค (Calo 2) เป็นการสอนเทคนิคพิเศษทีห่ ลากหลาย ของการเล่นกีต้าร์โปร่ง

3. กีต้าร์คลาสสิคเทคนิค (Calo 3) เป็นการสอนการเล่นกีต้าร์สไตล์ คลาสสิคเบื้องต้น

4. เล่นตามเพลงสากลด้วยกีต้าร์โปร่ง 1 (Calo 4) เป็นเพลงที่เล่น เหมือนแผ่นในสไตล์ Folk Song ที่ใช้เล่นตาม Coffee Shop สมัย ก่อนมาจนถึงปัจจุบนั โดยแกะแบบละเอียดทุกเม็ด และเรียบเรียง จุดสำาคัญของเพลงให้ ใหม่ในบางจุด เพือ่ ให้เล่นด้วยกีตา้ ร์ตวั เดียวได้


5. เล่นตามเพลงสากลด้วยกีต้าร์โปร่ง 2 (Calo 5) เป็นชุดที่ต่อจาก ชุด เล่นตามเพลงสากลด้วยกีต้าร์โปร่ง 1

6. เล่นกีต้าร์ไฟฟ้าเป็นใน 50 ชั่วโมง (Calo 6) เป็นการปูพื้นฐาน การเล่นกีต้าร์ไฟฟ้าอย่างเป็นขั้นตอน สำาหรับผู้ที่ไม่เป็นเลยหรือ พอเล่นได้บ้างแล้ว เพื่อให้สามารถอ่านโน้ตและเล่นเป็นเพลงใน ขั้นเริ่มต้นได้

7. Tab&Note เล่นตามเพลงด้วยกีตา้ ร์โปร่ง/ไฟฟ้า (Calo 7) เป็นการ รวมเพลงจำานวน 50 เพลง (รวมเพลงชุดที่ 2) ที่เคยแกะและเขียน Note&Tab ไว้ใน Guitarist Magazine โดยสอนทั้งกีต้าร์โปร่งและ กีต้าร์ไฟฟ้า ชุดนี้มีทั้งเพลงที่เป็น Finger Style และ Flatpick Style

8. หัดเล่นกีต้าร์โปร่ง Finger Style (Calo 8) เป็นชุดพื้นฐานสำาหรับ ผู้ที่ส นใจการเล่น กี ต้าร์ โปร่ งโดยใช้ นิ้ ว ดี ด สำาหรั บ ผู้ เริ่ ม ต้ น ที่ ไม่ ทราบว่าจะใช้นิ้วมือขวาอย่างไร และมีเพลงที่ใช้สัญลักษณ์การใช้ นิ้วมือขวาให้ฝึกโดยเฉพาะ


9. หัดเล่นกีต้าร์ด้วยการอ่าน Tab (Calo 9) เป็นชุดที่สอนการอ่าน Tab เพื่ อ ฝึ ก เล่ น กี ต้ า ร์ โดยมี สั ญ ลั ก ษณ์ Tab ที่ ห ลากหลาย แตกต่างกันมากมาย และมีการแสดงตัวอย่างจากเพลงเพือ่ ให้เห็น วิธีเล่นจริง

10. หัดเล่นกีต้าร์ Chord (Calo 10) สอนให้เห็นการทำางานของ มือขวาในการตีคอร์ด และมือซ้ายในการจับและเปลี่ยนคอร์ดให้ ต่อเนื่อง ฝึกตีคอร์ดโดยใช้ Rhythm Pattern กับเนือ้ เพลงทีม่ คี อร์ด กำากับ รวมทัง้ อธิบายความรูส้ าำ คัญเกีย่ วกับคอร์ด และรวมตารางคอร์ด สำาเร็จรูปไว้ด้วย

11. หัดเล่นกีต้าร์ด้วยการอ่าน NOTE (Calo 11) สอนการอ่าน และเล่นโน้ต จากที่อ่านโน้ตไม่เป็นเลยโดยเรียนรู้สัญลักษณ์ต่างๆ แบบละเอียด เหมาะสำาหรับผูเ้ ล่นกีตา้ ร์ทตี่ อ้ งการฝึกเล่นโน้ตอย่าง จริงจัง และนำาไปใช้งานแบบหลากหลาย

12. โน้ตกีตาร์เพลงพระราชนิพนธ์ (Calo 12) เป็นการเรียบเรียง เพลงพระราชนิพนธ์ ซึ่งบรรเลงโดยกีต้าร์คลาสสิคเพียงตัวเดียว ในแบบ Finger Style เหมาะสำาหรับนักศึกษาดนตรีนำาไปฝึกซ้อม เพิ่มพูนความรู้ หรือนักดนตรีนำาไปบรรเลงเดี่ยว

หากมี ข้ อ เสนอแนะใดๆ หรื อ สนใจเนื้ อ หาที่ น อกเหนื อ ไปจากเรื่ อ งที่ อ ยู่ ใ น สื่อการสอนชุดนี้ กรุณาส่งอีเมลมาที่ calo@caloguitarist.com หรือหากมีข้อสงสัยอยาก จะโทรมาคุยหรือสอบถาม ก็ติดต่อผมได้ที่เบอร์ 08-6538-6271 หรือแวะไปเยี่ยมชมได้ที่ เว็บไซต์ www.caloguitarist.com สุดท้ายต้องขอขอบคุณทุกท่านที่ให้การสนับสนุน Calo


C A L O

Guitarist


CONTENTs ความรู้พื้นฐาน

2

1. ค�ำศัพท์

2

2. ชื่อโน้ต ระดับเสียง ค่ำโน้ตและค่ำตัวหยุด

4

3. เครื่องหมำยแปลงเสียง (Accidental)

6

4. เครื่องหมำยก�ำหนดจังหวะ (Time Signature)

7

5. หน่วยวัดระยะห่ำงระหว่ำงโน้ต

9

6. ค�ำเติมหน้ำจ�ำนวนนับ

9

10

1. ควำมหมำยของขั้นคู่

10

2. กำรนับระยะขั้นคู่

10

3. ชนิดหรือประเภทของขั้นคู่

11

4. ตัวอย่ำงกำรเรียกชื่อขั้นคู่เป็นภำษำอังกฤษ

11

5. ลักษณะเสียงของขั้นคู่

ขั้นคู่ (Interval)

11

6. ขั้นคู่ไดอำโทนิกและขั้นคู่โครมำติก

12

7. ตำรำงแสดงขั้นคู่

12


บันไดเสียง (Scale)

14

1. ควำมหมำยของบันไดเสียง

14

2. กำรเรียกชื่อบันไดเสียง

14

3. ประเภทของบันไดเสียง

14

4. เครื่องหมำยก�ำหนดบันไดเสียง (Key Signature)

5. เปรียบเทียบโครงสร้ำงบันไดเสียงเมเจอร์กับบันไดเสียงไมเนอร์

3 ประเภท

6. บันไดเสียงเมเจอร์ (Major Scale)

18

19

7. บันไดเสียงไมเนอร์ (Minor Scale)

23

8. ควำมสัมพันธ์ของเมเจอร์คีย์กับไมเนอร์คีย์

35

9. บันไดเสียงเพนทำโทนิก (Pentatonic Scale)

36

16

โหมด (Mode)

39

1. โหมดในบันไดเสียงเมเจอร์

39

2. โหมดในบันไดเสียงไดอำโทนิก

40

3. จ�ำนวนของโหมดขึ้นอยู่กับแพทเทิร์นของขั้นคู่ในสเกล

43

4. ตัวอย่ำงโหมดต่ำงๆ

44

5. ตัวอย่ำงกำรประยุกต์ใช้โหมดกับทำงนิ้วแบบ 3 โน้ตต่อสำย 54


คอร์ด (Chord)

63

1. ควำมหมำยของคอร์ด

63

2. รำกของคอร์ด

63

3. กำรสร้ำงคอร์ดพื้นฐำน

63

4. ตำรำงตัวประกอบในคอร์ด

64

5. กำรแบ่งกลุ่มคอร์ด

65

6. รูปคอร์ดและโครงสร้ำงคอร์ด

72

7. กำรพลิกกลับคอร์ด (Chord Inversion)

116

8. คอร์ดในบันไดเสียง (Diatonic Chord)

118

9. คอร์ดแพทเทิร์น

120

การใช้งาน CAGED

125

125

1. รู้จักระบบ CAGED

2. ระบบ CAGED เปรียบเทียบกับบันไดเสียงเพนทำโทนิก

3. กำรใช้ CAGED กับบันไดเสียงเมเจอร์และโหมดในบันไดเสียงเมเจอร์ 129

128



ทฤษฎี ดนตรี ส�ำหรับมือกีต้ำร์


เข้ำสู่ บทเรียน


ทฤษฎี ดนตรี ส�ำหรับมือกีต้ำร์

ควำมรู้พื้นฐำน 1. ค�ำศัพท์ 1.1 Staff กับ Stave

คือ บรรทัด 5 เส้น ใช้สำ� หรับบันทึกทำงดนตรี ในภำษำอังกฤษแบบอังกฤษใช้คำ� ว่ำ Stave แต่ในภำษำอังกฤษแบบอเมริกันใช้ค�ำว่ำ Staff (Staves เป็นรูปของพหูพจน์)

1.2 Measure กับ Bar

ค�ำว่ำ Measure ใช้เรียกแทนห้องของดนตรี เป็นมำตรฐำนที่ใช้ในแบบอเมริกัน ส่วนค�ำว่ำ Bar เป็นค�ำที่ใช้ในแบบอังกฤษ

1.3 Note กับ Tone (ในควำมหมำยที่เกี่ยวกับเสียง)

ในภำษำอังกฤษแบบอังกฤษ ค�ำว่ำ Note หมำยถึงสัญลักษณ์โน้ตที่ใช้เขียน และยังรวมถึง เสียงเอำไว้ด้วย ส่วนในภำษำอังกฤษแบบอเมริกัน จะแยกว่ำ Note ส�ำหรับโน้ตที่ใช้เขียน และ Tone ส�ำหรับเสียง Tone ยังหมำยรวมถึงคุณภำพของเสียง (Tone Quality) ได้ด้วย ตัวอย่ำงเช่น ควำมใส หรือควำมทุ้ม (อย่ำงเช่นปุ่ม Tone บนเครื่องเล่นซีดีหรือวิทยุ)

1.4 Tone และ Semitone กับ Whole Step และ Half Step (ในควำมหมำยที่เกี่ยวกับ ขั้นคู่)

ในภำษำอังกฤษแบบอังกฤษใช้ค�ำว่ำ Tone (1 เสียง) และ Semitone (½ เสียง) ส�ำหรับ แบบอเมริกันใช้ค�ำว่ำ Whole Step (1 เสียง) และ Half Step (½ เสียง)

1.5 Solo, Soli และ Lead

Solo หมำยถึง กำรเล่นหรือร้องเดี่ยว โดยไม่ได้เล่นหรือร้องไปพร้อมคนอื่น Soli หมำยถึง กำรเล่นหรือร้องไปพร้อมๆ กัน เช่น กำร Soli ของ Sax หรือ Brass Section Lead หมำยถึง เสียงน�ำ ในกำร Soli จะมีเสียงน�ำ (Lead) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเสียงสูง จึงมัก จะอยู่ที่ Part บนสุดของ Section นั้น

2


Solo

  Alto        

Tenor I 8

Tenor II 8

Baritone

C

G7

    

    

     

          

  

  

  

Soli

  Alto       C

Tenor I 8

       

              Baritone   Tenor II 8

G7

                             

1.6 โน้ต Ti และ Ti Flat ในแบบเยอรมัน

โน้ต Ti แทนด้วยตัวอักษร H และโน้ต Ti Flat แทนด้วยตัวอักษร B

3


ทฤษฎี ดนตรี ส�ำหรับมือกีต้ำร์ 2. ชื่อโน้ต ระดับเสียง ค่ำโน้ตและค่ำตัวหยุด 2.1 ชื่อโน้ต

ตัวโน้ตพื้นฐำนมี 7 ตัว โดยมีชื่อเรียก Do, Re, Mi, Fa, Sol, La, Ti และมีตัวอักษรใช้ แทนชื่อโน้ตดังตำรำงต่อไปนี้ Syllable Name

Do

Re

Mi

Fa

Sol

La

Ti

Letter Name

C

D

E

F

G

A

B

Syllable Name ใช้ในกำรออกเสียงเรียกชื่อ ร้อง หรือเป็นภำษำพูด ส่วน Letter Name มักใช้สื่อสำรกันในภำษำเขียน

2.2 ระดับเสียง (Pitch)

โน้ตถูกบันทึกลงบนบรรทัด 5 เส้นเพือ่ แสดงระดับเสียงสูงต�ำ่ (Pitch) และมีชอื่ เรียกประจ�ำ ตำมต�ำแหน่งบรรทัดและช่องระหว่ำงเส้นบรรทัด ดังนี้

4

[Mi E

Fa F

Sol G

La A

Ti B

Do C

Re D

Mi E

Fa F

Sol G

La A

Ti B

Do C

Re D

Mi E

Fa F

Sol] G

          2 3 0 2 3 1  0  3  1 0   3 0 2 3 0   1  0  


  

b   b     2.3 ค่ำโน้ตและค่ำตัวหยุด (Note &Rest Value)      ตัวโน้ตจะใช้ควบคู่ไปกับตัวหยุด ซึ่งตัวหยุดเป็นช่วงเงียบของเสียงดนตรี โดยลักษณะที่   วงเวลำ (Duration) ของเสี   ยงโน้ตจำกตัวหนึ่ง     ว จะแทนช่ แตกต่ c Guitar   ำงกันของโน้ตหรือตัวหยุดแต่ละตั    ไปยังตัวถัดไป (Duration คือ ควำมยำวของเสียงหรือระยะเวลำที่เสียงเงียบ) b       b  b          gfgf   โน้ ต (Note)      ic Guitar   ตัวกลม ตัวขำว ตัวด�ำ  (Quarter Note) (Whole Note) (Half Note)                    ตัวหยุด (Rest)

ตัวหยุดโน้ตตัวขำว ตัวหยุดโน้ตตัวด�ำ    (Half Rest)    (Quarter Rest) b b gfgf gfgf         เขบ็ต 1 ชั ้น  2 ชั้น      โน้ต (Note)    เขบ็ต   (Eighth Note)  (Sixteenth Note)       ตัวหยุด (Rest)

ตัวหยุดโน้ตตัวกลม (Whole Rest)

หยุดโน้ตเขบ็ต 2 ชั้น    ตัว(Sixteenth Rest)  

ตัวหยุดโน้ตเขบ็ต 1 ชั้น (Eighth Rest)

         

       5


ทฤษฎี ดนตรี ส�ำหรับมือกีต้ำร์ 

b

 

           b 3. เครื่องหมำยแปลงเสียง (Accidental)     ใช้บังคับโน้ตให้b มีเสียงสูงขึ้นหรือต�่ำลง ดังนี้              Sharp (ชำร์ป) ท�ำให้เสียงสูงขึ้น ½ เสียง           ต) ท�ำให้เสียงต�่ำลง ½ เสี   ยง    Flat (แฟล็  บเบิลชำร์ป) ท�ำให้เสียงสูงขึ้น 1 เสียง    Double Sharp (ดั



   บเบิลแฟล็ต) ท�ำให้เสียงต�่ำลง 1 เสียง  Double Flat (ดั

         Natural (เนเชอรัล) ท�ำให้เสียงกลับเป็นปกติ ถ้ำก�ำกับโน้ตตัวไหน  ตัวนั้นเป็นตัวปกติ  ก็กดโน้ต

           

6



gfg


gf

gfgf

4. เครืgfgf ่องหมำยก�ำหนดจังหวะ (Time Signature)

เครือ่ งหมำยก�ำหนดจังหวะมี 2 ประเภท คือ อัตรำธรรมดำ (Simple Time) และอัตรำผสม (Compound Time) โน้ตตัวละ 1 จังหวะและจ�ำนวนจังหวะในห้องเพลงถูกก�ำหนดโดยเลขตัวบน และตัวล่ำงของเครื่องหมำยก�ำหนดจังหวะ โดยตัวบนบอกให้ทรำบจ�ำนวนจังหวะใน 1 ห้อง ส่วน ตัวล่ำงแทนค่ำโน้ตตัวละ 1 จังหวะ โดยแบ่งเป็นห้องละ 2, 3 และ 4 จังหวะ ดังนี้ อัตรำธรรมดำใน 1 จังหวะ สำมำรถแบ่งหน่วยจังหวะออกได้ทีละสอง

Duple ห้องหนึ่งมี 2 จังหวะ เช่น 2/4

 

1

 

2

1 &

2 &

   1

2

3

   1 &

2 &

3 &

Quadruple ห้องหนึ่งมี 4 จังหวะ เช่น 4/4

 

Triple ห้องหนึ่งมี 3 จังหวะ เช่น 3/4

 

 1 2 3 4

   

1 & 2 & 3 & 4 &

ตัวอย่ำงกำรแบ่งจังหวะของอัตรำธรรมดำ

  

 

    แบ่งหน่วยจังหวะออกได้ทีละสอง

7


ทฤษฎี ดนตรี ส�ำหรับมือกีต้ำร์

อัตรำผสมในชั้นแรกจะแบ่งหน่วยจังหวะออกเป็นสำม จำกนั้นจะแบ่งออกได้ทีละสอง

Duple ห้องหนึ่งมี 2 จังหวะ แบ่งเป็นจังหวะย่อยได้ 6 จังหวะ เช่น 6/8

 

1

 

2

1 2 3

   1

2

  

3

1 2 3

1

7 8 9

2

3

4

    1 2 3

4 5 6

7 8 9

10 11 12

ตัวอย่ำงกำรแบ่งจังหวะของอัตรำผสม

   8

4 5 6

Quadruple ห้องหนึ่งมี 4 จังหวะ แบ่งเป็นจังหวะย่อยได้ 12 จังหวะ เช่น 12/8

     

4 5 6

Triple ห้องหนึ่งมี 3 จังหวะ แบ่งเป็นจังหวะย่อยได้ 9 จังหวะ เช่น 9/8

 

 

ในขัน้ แรกแบ่งหน่วยจังหวะออกเป็นสำม

จำกนั้นแบ่งออกได้ทีละสอง


5. หน่วยวัดระยะห่ำงระหว่ำงโน้ต ระยะห่ำงของระดับเสียงโน้ตมีหน่วยเป็น Semitone (Half Step) คือครึ่งเสียง (½ Tone) และ Tone (Whole Step) คือหนึ่งเสียง (1 Tone) โดยที่ 2 Semitone จะเท่ำกับ 1 Tone 1 Semitone (Half Step) = 1 ช่องของกีต้ำร์ 1 Tone (Whole Step) = 2 ช่องของกีต้ำร์

6. ค�ำเติมหน้ำจ�ำนวนนับ มีค�ำเติมหน้ำมำกกว่ำหนึ่งค�ำที่น�ำมำใช้บอกจ�ำนวน ซึ่งมำจำกภำษำที่ต่ำงกัน (ส่วนใหญ่ มำจำกภำษำละตินและกรีก) หรือสะกดด้วยวิธีที่แตกต่ำงกันในแต่ละค�ำ ดังนี้

ค�ำน�ำหน้ำ

จ�ำนวน

semi, hemi, demi

1/2

uni

1

bi, di

2

tri, ter

3

tetra, tetr, tessera, quadri, quadr

4

pent, penta, quinqu, quinque, quint

5

sex, sexi, hex, hexa

6

hept, hepta, sept, septi, septam

7

oct, octa, octo

8

non, nona, ennea

9

dec, deca

10

hendca, undec, undeca

11

dodeca

12 (จากเว็บ http://gwydir.demon.co.uk/jo/numbers/words/intro.htm) 9


ทฤษฎีดนตรี สำหรับมือกีตาร

หลายครั้งที่เราอยากรูเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรี วา เรือ่ งนัน้ เรือ่ งนีเ้ ปนอยางไร แตไมกลาถามหรือไมมี ใคร ใหถาม คูมือชุดนี้จึงเปรียบเสมือนการเปดโลกทัศน ทางดนตรีสำหรับผูที่ ไมรูจะไปถามใครที่ไหน งานชุดนี้เปนเหมือนอาหารจานดวน ถาเริ่มตนมา เปนทฤษฎีเต็มรูปแบบเลย กวาจะเอาไปใชไดคนจะเบือ่ เสีย กอน จึงจัดทำแบบคูมือการใชที่สะดวกใช แมไมไดสอน โดยเริ่มตั้งแตตนแตก็ยังเปนเนื้อหาเบื้องตนอยู เพื่อให งายตอการทำความเขาใจสำหรับคนที่ไมมพ ี น้ื ฐานทฤษฎี ดนตรีมากอนเลย (แตควรมีพน้ื ฐานโนตอยูบ า ง) ใชเปน หนังสืออางอิงก็ได หยิบใชงายและสะดวก สงสัยอะไร ก็หยิบขึน้ มาเปดดู นักดนตรีท่ไี มเคยเรียนดนตรี หากเกิด คำถามก็หยิบขึน้ มาเปดดู จะเจอคำตอบ ขอแนะนำวิธีทำความเขาใจสื่อการสอนชุดนี้ การ อธิบายในวิดีโอแตละหัวขอ ใหเปดหนังสือตามไปแตละ หัวขอทีพ ่ ดู ถึงในขณะนัน้ จะทำใหมองเห็นภาพและเขาใจ ไดงายขึ้น

ความรูพื้นฐาน

ขั้นคู

บันไดเสียง โหมด

คอรด การใชงาน CAGED

ISBN 978-616-527-160-8

ทฤษฎีดนตรีสำหรับมือกีตาร DVD : 2 แผน ราคา : 199 บาท

9

786165

271608

ตัวอยางใน DVD


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.