คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์

Page 1

คูมือเลมนี้จะทำใหคุณเลือกกินอาหารเสริมอยางฉลาด!

อาหาร เสริม ฉบับสมบูรณ

รวมขอมูลงานวิจยั ดานโภชนาการ

แรธาตุ สมุนไพร วิตามิน

รค กนั โ

ร ูจริง!

ดีย ว

ปร�ญญาเอกทางด านสารธรรมชาติทางการแพทย เทคโนโลยีชว� ภาพ จ�ฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย

มงาม ปอง ควา

บ ใ น เ ลมเ

คร

ดร.เร�งฤทธ�์ สัปปพันธ

สขุ ภาพ

ประโยชน ความจำเปน ผลขางเคียง การพิจารณาเลือกใชผลิตภัณฑเสริมอาหาร อยางเหมาะสมกับตนเอง และไมตกเปนเหยือ1 ของการโฆษณา!

240.-



พรมมิ สมุนไพรจากอายุรเวทต้านอัลไซเมอร์ ฟักข้าว ผลไม้ไลโคปีนสูงกว่ามะเขือเทศ 70 เท่า กลูต้าไธโอนขาวได้จริงหรือ รวมผลิตภัณฑ์ลดความอ้วนครบทุกกลไก แคลเซียมรูปแบบที่ดูดซึมดีที่สุด ขาดไอโอดีนไม่รู้ตัว อาคาอิเบอร์รี่ ต้านอนุมูลอิสระอันดับ 1 รวมงานวิจัยด้านโภชนาการจากทั่วโลก และกว่า 100 เรื่องในเล่ม

ดร.เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์ ปริญญาเอกทางด้านสารธรรมชาติทางการแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์ ISBN ราคา

978-616-527-392-3 240 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�านักพิมพ์เท่านั้น

ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์. คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2556. 368 หน้า. 1. อาหารเสริม. 2. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร. I. ชื่อเรื่อง. 613.2 ISBN 978-616-527-392-3 คณะผู้จัดท�ำ บรรณำธิกำรส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์ ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน พิสูจน์อักษร ชนาภัทร พรายมี ประสำนงำนฝ่ำยผลิต วราลี สิทธิจินดาวงศ์, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสำนงำนสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ำยกำรตลำด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณำ เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�ำหน่ำยโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารทีซไี อเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)

กรณีต้องการสั่งซื้อจำานวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


ค�าน�า ในปัจจุบนั นีว้ ทิ ยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามากขึน้ ส่งผลให้ผคู้ นมีความรู้ ในด้านสุขภาพมากขึ้น ดูแลตัวเองดีขึ้น จึงมีอายุเฉลี่ยสูงกว่าคนในอดีต คนใน อดีตนัน้ คิดแค่เพียงว่าขอให้มชี วี ติ รอด แต่คนในปัจจุบนั คิดว่าขอให้มสี ขุ ภาพดี อย่างไรก็ตามการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบันซึ่งมีแต่การแข่งขัน ทุกคนต้องเร่งรีบ ทัง้ เรือ่ งการเรียน การท�างาน การเดินทาง หรือรูปแบบการบริโภคอาหารแบบตะวันตก จนไม่มเี วลาให้ความส�าคัญกับอาหารดังทีค่ วรจะเป็น ด้วยเหตุนคี้ นเป็นจ�านวน มากจึงแสวงหาสิง่ ทีจ่ ะช่วยให้ตนเองมีสขุ ภาพดี ซึง่ ก็คอื ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร นั่นเอง นับวันผลิตภัณฑ์เสริมอาหารยิ่งได้รับความนิยมมากขึ้น มีการผลิต ออกมาหลายรูปแบบ มีมูลค่าตลาดในไทยราวสองหมื่นล้านบาท และมีการ เจริญเติบโตสูงขึน้ 10% ทุกปี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจึงมีการโฆษณาเพือ่ ขายสินค้า บ้างก็อวดอ้างสรรพคุณเกินความเป็นจริงว่าสามารถใช้รกั ษาโรคได้สารพัด และ จ�าหน่ายในราคาสูงเอาเปรียบผู้บริโภค ท�าให้ผู้ที่ไม่รู้เท่าทันหลงซื้อผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารทีไ่ ม่มคี ณ ุ ภาพ ไม่มปี ระสิทธิภาพ เสียเงินในราคาแพงเกินควร และ ในบางครั้งนอกจากจะไม่ได้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์เสริมอาหารดังกล่าวแล้ว กลับได้รับโทษหรือพิษจนเกิดอันตรายถึงชีวิตได้ สาเหตุที่ผู้คนตกเป็นเหยื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารก็เพราะว่า ขาดหนังสือทีใ่ ห้ความรูท้ แี่ ท้จริงซึง่ เขียนในรูปแบบทีอ่ า่ นง่าย โดยพบว่าหนังสือ วิชาการมีเนื้อหายากเกินกว่าบุคคลทั่วไปจะเข้าใจได้ ส่วนบทความที่เขียนใน รูปแบบที่เข้าใจง่ายก็มักแฝงด้วยโฆษณาเกินความจริงเพื่อขายสินค้าทางอ้อม ผู้เขียนจึงน�าข้อมูลหลักฐานทางวิชาการมาเขียนในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เพื่อให้ ผูบ้ ริโภคได้มคี วามรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับประโยชน์ ความจ�าเป็น ความ คุ้มค่าเงิน ผลข้างเคียง ตลอดจนสามารถจับผิดผู้โฆษณาอวดอ้างสรรพคุณ เกินจริงของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีมากมายในท้องตลาดได้ เพื่อผู้บริโภค จะได้มีความรู้ในการพิจารณาเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างเหมาะสม กับตนเองและไม่ตกเป็นเหยื่อของการโฆษณา ดร.เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์




สารบัญ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่างจากยาอย่างไร.......................................3 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจ�าเป็นหรือไม่................................................9 พิษจากการรับประทานอาหาร........................................................15 ธุรกิจผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร..........................................................19 การโฆษณาอาหาร.........................................................................23 ข้อห้ามในการโฆษณาเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร......................29 การแสดงข้อความกล่าวอ้างเกีย่ วกับหน้าทีข่ องสารอาหาร...............31 ต้องดูที่ฉลาก...............................................................................35 ฉลากของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและคุณภาพ หรือมาตรฐานด้านจุลินทรีย์.........................................................38 ข้อก�าหนดปริมาณเชือ้ จุลนิ ทรียแ์ ละโลหะหนัก.................................43 สารพิษและสารปลอมปนในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน....45 ระบบคุณภาพผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร.............................................49 ค�าเตือนและข้อห้ามใช้..................................................................52 ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร........................54 การขาดวิตามินและแร่ธาตุ............................................................56 วิตามินและแร่ธาตุรวม..................................................................59 วิตามิน........................................................................................63 วิตามินเอ...................................................................................64 วิตามินบี 1...................................................................................69 วิตามินบี 2...................................................................................71 วิตามินบี 3...................................................................................73 วิตามินบี 5...................................................................................75 วิตามินบี 6...................................................................................77 วิตามินบี 7 (ไบโอติน)...................................................................81


วิตามินบี 9 (โฟเลต).........................................................................83 วิตามินบี 12...................................................................................90 วิตามินซี..........................................................................................92 วิตามินดี...........................................................................................99 วิตามินอี.......................................................................................104 วิตามินเค...........................................................................................106 แร่ธาตุ...........................................................................................108 แคลเซียม...................................................................................111 โครเมียม...................................................................................123 ซีลีเนียม ...................................................................................125 ทองแดง ...................................................................................127 เหล็ก........................................................................................129 สังกะสี......................................................................................132 ไอโอดีน ......................................................................................142 โปรตีน.........................................................................................148 สาหร่ายสไปรูลนิ า่ .................................................................................152 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทสมุนไพร........................................157 กระชายด�า...............................................................................159 กระเทียม...................................................................................161 กวาวเครือ..............................................................................164 สารสกัดจากถั่วเหลือง..............................................................166 พรมมิ.........................................................................................168 แปะก๊วย...................................................................................173 ขมิน้ ชัน......................................................................................178 ฟักข้าว......................................................................................181 สารสกัดจากเมล็ดองุ่น..............................................................188 เรสเวอราทรอล....................................................................................189


โปรแอนโธไซยานิดิน..................................................................191 เห็ดหลินจือ...................................................................................194 น�า้ มันปลา...................................................................................196 โอเมก้า-6 และโอเมก้า-9.............................................................206 พรีไบโอติกส์และโพรไบโอติกส์....................................................210 ยีสต์..........................................................................................220 มิลค์ ทิสเซิล............................................................................221 โสม......................................................................................224 ผลิตภัณฑ์อาหารลดน�้าหนัก......................................................226 แอล-คาร์นิทีน........................................................................228 อินนูลินและไฟเบอร์..............................................................238 กาแฟลดความอ้วน.............................................................241 สารสกัดจากถั่วขาว....................................................................245 สารสกัดจากพริก.........................................................................247 สารสกัดจากชาเขียว..................................................................249 สารสกัดจากตะบองเพชร...........................................................251 ไคโตซาน..................................................................................252 สารสกัดจากส้มแขก...............................................................254 ตรีผลา......................................................................................256 ลิวซีน........................................................................................262 ฟีนลิ อะลานีน.............................................................................264 พรุนสกัด...................................................................................266 ไฟโตสเตอรอล.............................................................................268 ถัว่ เหลืองลดคอเลสเตอรอล...........................................................274 เลซิตนิ .......................................................................................277 น�า้ มันดอกค�าฝอย.........................................................................279 คลอโรฟิลล์................................................................................280


อัลฟัลฟา..............................................................................282 เอนไซม์......................................................................................283 เด็กกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร.....................................................285 สารทีช่ ว่ ยลดความดันโลหิต..........................................................288 สารอาหารต้านอนุมูลอิสระและชะลอความชรา..........................291 กลูต้าไธโอน.............................................................................293 คอลลาเจน.................................................................................296 โคเอนไซม์ควิ เทน.........................................................................300 ทับทิม......................................................................................305 โกจิเบอร์ร.ี่ ...................................................................................310 น�า้ มันร�าข้าว...............................................................................313 เบต้าแคโรทีน......................................................................315 แอสตาแซนธิน..................................................................319 ลูทีนและซีแซนทีน......................................................................323 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารส�าหรับสตรีอายุ 40 ปีขึ้นไป.......................327 กลูโคซามีน..............................................................................330 กระดูกอ่อนฉลาม.......................................................................332 หูฉลาม......................................................................................334 น�้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส............................................................335 ทริปโทเฟน.................................................................................337 อาคาอิเบอร์รี่...........................................................................340 อันตรกิริยาระหว่างพืชสมุนไพรและยา........................................342 ตารางสรุปประโยชน์ของสารอาหาร............................................345 ตรวจสุขภาพตนเอง....................................................................346 ตารางแสดงปริมาณวิตามินที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน..........348 ตารางแสดงปริมาณแร่ธาตุที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน..........349 ประวัติผู้เขียน.......................................................................353





ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ต่างจากยาอย่างไร หลายคนเกิดความสับสนว่าผลิตภัณฑ์เสริมอำหำรแตกต่างกับยำ อำหำรเสริม หรืออำหำรอย่างไร เพราะมักจะเห็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารวาง ขายในร้านขายยา หรือเข้าใจว่าผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเป็นอาหารทีร่ บั ประทาน แทนอาหารปกติได้ จึงขอน�ารายละเอียดมาอธิบายดังนี้ อำหำร ตามมาตรา 4 ในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ก�าหนด นิยามค�าว่า อาหาร หมายความว่าของกินหรือเครื่องค�้าจุนชีวิต ได้แก่ 1. วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือน�าเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือในรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึง ยา วัตถุออกฤทธิต์ อ่ จิตและประสาท หรือ ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี 2. วัตถุที่มุ่งหมายส�าหรับใช้ หรือใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส ยำ ตามมาตรา 4 ในพระราชบัญญัตยิ า พ.ศ. 2510 แก้ไขเพิม่ เติมโดย พระราชบัญญัตยิ า (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 ก�าหนดนิยามค�าว่า ยา หมายความว่า 1. วัตถุที่รับรองไว้ในต�ารายาที่รัฐมนตรีประกาศ 2. วัตถุที่มุ่งหมายส�าหรับใช้ในการวินิจฉัย บ�าบัด บรรเทา รักษา หรือ ป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์ 3. วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งส�าเร็จรูป 4. วัตถุที่มุ่งหมายส�าหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการ กระท�าหน้าที่ใดๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์ คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์

3


วัตถุตาม 1, 2 หรือ 4 ไม่หมายความรวมถึง - วัตถุที่มุ่งหมายส�าหรับใช้ในการเกษตรหรือการอุตสาหกรรมตามที่ รัฐมนตรีประกาศ - วัตถุท่ีมุ่งหมายส�าหรับใช้เป็นอาหารส�าหรับมนุษย์ เครื่องกีฬา เครื่องมือเครื่องใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ เครื่องส�าอาง หรือเครื่องมือและ ส่วนประกอบของเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม - วัตถุที่มุ่งหมายส�าหรับใช้ในห้องวิทยาศาสตร์ส�าหรับการวิจัย การวิเคราะห์ หรือการชันสูตรโรคซึ่งมิได้กระท�าโดยตรงต่อร่างกายของมนุษย์ ผลิตภัณฑ์เสริมอำหำร (Dietary supplements) ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข (ฉบับที่ 293) พ.ศ. 2548 หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้รับประทาน นอกเหนือจากการรับประทานอาหารตามปกติ ซึง่ มีสารอาหารหรือสารอืน่ เป็น องค์ประกอบ อยู่ในรูปแบบเม็ด แคปซูล ผง เกล็ด ของเหลว หรือลักษณะอื่น ซึ่งมิใช่รูปแบบอาหารตามปกติ ส�าหรับผู้บริโภคที่คาดหวังประโยชน์ทางด้าน ส่งเสริมสุขภาพ โดยผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจัดเป็นอาหารก�าหนดคุณภาพหรือ มาตรฐาน และฉลากต้องได้รับอนุญาต การน�าไปใช้ซึ่งสารอาหารหรือสารอื่น ที่เป็นองค์ประกอบในที่นี้หมายถึง 1. วิตามิน กรดอะมิโน กรดไขมัน แร่ธาตุ และผลิตผลจากพืชหรือสัตว์ 2. สารเข้มข้น สารเมตาบอไลท์ ส่วนประกอบ หรือสารสกัดของสารใน 1 3. สารสังเคราะห์เลียนแบบสารตาม 1 หรือ 2 4. ส่วนผสมอย่างใดอย่างหนึง่ หรือหลายอย่างของสารใน 1, 2 หรือ 3 สารอืน่ หรือสิง่ อืน่ ตามทีส่ า� นักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศ ก�าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร ส�านักงานคณะกรรมการ อาหารและยา

4

คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์


ประกาศส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรือ่ ง ค�าชีแ้ จงประกาศกระทรวง สาธารณสุข (ฉบับที่ 309) พ.ศ. 2550 เรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (ฉบับที่ 2) ปัจจุบันผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมีการจ�าหน่ายแพร่หลายมากขึ้น โดยเฉพาะจ�าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคในลักษณะขายตรง และมีการโฆษณา เพื่อส่งเสริมการขายที่ท�าให้ผู้บริโภคเข้าใจว่าจ�าเป็นต้องรับประทาน หรือ โฆษณาอวดอ้างสรรพคุณว่ามีผลในการป้องกันและรักษาโรค อาจมีผลท�าให้ ผู้บริโภคที่หลงเชื่อค�าโฆษณาเหล่านั้นละเลยการดูแลรักษาสุขภาพ และเสีย โอกาสที่จะได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง ซึ่งจริงๆ แล้วผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร จัดเป็นอาหารไม่ใช่ยา จึงไม่มีสรรพคุณในการป้องกัน บ�าบัด หรือรักษาโรค และเป็นผลิตภัณฑ์ส�าหรับผู้บริโภคที่มีสุขภาพร่างกายปกติไม่ใช่ผู้ป่วย และ เป็นเพียงผลิตภัณฑ์ที่รับประทานนอกเหนือจากอาหารปกติส�าหรับผู้บริโภค ที่คาดหวังประโยชน์ทางด้านสุขภาพเท่านั้น ดังนั้นเพื่อลดและขจัดปัญหา ดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุข โดยส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึง ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 309) พ.ศ. 2550 เรือ่ ง ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร (ฉบับที่ 2) โดยก�าหนดให้มีข้อแนะน�าในการบริโภคและค�าเตือน เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดในการบริโภคไม่ถูกต้อง ซึ่งมีสาระส�าคัญดังนี้ 1. ให้ยกเลิกความใน (9) ของข้อ 10 แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 293) พ.ศ. 2548 เรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2548 2. ให้แสดงข้อแนะน�าในการบริโภคว่า “ควรกินอำหำรหลำกหลำย ครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนทีเ่ หมำะสมเป็นประจ�ำ” ด้วยสีและขนาดของตัวอักษร ที่เห็นได้ชัดเจน ซึ่งเป็นการปรับจากข้อความเดิมให้กระชับ 3. ให้แสดงค�าเตือน “ไม่มีผลในกำรป้องกันหรือรักษำโรค” ด้วย ตัวอักษรหนาทึบ เห็นได้ชัดเจน โดยแสดงอยู่ในกรอบ และสีของตัวอักษร ตัดกับสีพื้นของกรอบ 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 309) พ.ศ. 2550 เรื่อง คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์

5


สารสกัดจากเมล็ดองุ่น สารสกัดจากเมล็ดองุ่น (Grape seed extracts) เป็นสารประเภท ฟีโนลิกซึ่งมีหลายตัว เช่น โปรไซยานิดิน (Procyanidins) โปรแอนโธไซยานิดิน (Proanthocyanidins) และโอลิโกเมอริค โปรไซยานิดนิ (Oligomeric procyanidins) ที่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ1 จึงช่วยลดความเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจและ หลอดเลือดด้วยการป้องกันการเกิดการเสียสภาพของไขมันในหลอดเลือด2 และช่วยให้เลือดไหลเวียนดี ไม่เกิดการขอด3 จากการวิจัยในอาสาสมัครผู้มีสุขภาพดีและผู้มี คอเลสเตอรอลสูง 17 คน พบว่าการรับประทานสารสกัด จากเมล็ดองุน่ 600 มิลลิกรัมต่อวัน ช่วยลดคอเลสเตอรอล ในกลุ่มอาสาสมัครผู้มีคอเลสเตอรอลสูงได้1 ในด้านความปลอดภัย สารสกัดจากเมล็ดองุ่นได้รับการรับรองความ ปลอดภัยจากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา ปริมาณที่แนะน�าส�าหรับการรับประทานสารสกัดจากเมล็ดองุ่นเพื่อ ต้านอนุมูลอิสระซึ่งส่งผลต่อความสดใสของผิวคือ 100 มิลลิกรัมต่อวัน เพื่อ ลดการขอดของเส้นเลือดคือ 200 มิลลิกรัมต่อวัน และลดคอเลสเตอรอลคือ 600 มิลลิกรัมต่อวัน Vinson, J. A., Proch, J., and Bose, P., 2001. Mega Natural gold grape seed extract: in vitro antioxidant and in vivo human supplementation studies. Journal of Medicinal Food. 4: 17-26. 2 Natella, F., et al., 2002. Grape seed proanthocyanidins prevent plasma postprandial oxidative stress in humans. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 50: 7720-7725. 3 Christie, S., et al., 2004. Flavonoid supplement improves leg health and reduces fluid retention in premenopausal women in a double-blind, placebo-controlled study. Phytomedicine. 11: 11-17. 1

188

คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์


เรสเวอราทรอล เรสเวอราทรอล (Resveratrol) เป็นสารที่พบในเมล็ดองุ่น ถั่วลิสง ผล หม่อน น�้าองุ่นแดงก็มีเรสเวอราทรอล แต่อาจจะมีน้อยกว่าไวน์แดงนิดหน่อย

ถั่วลิสง ปริมาณเรสเวอราทรอลต่ออาหาร 100 กรัม (ดัดแปลงจาก Hurst และคณะ)1

คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์

189


โอเมก้า-6 และโอเมก้า-9 น�้ามันปลาประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวโอเมก้า-3 ซึ่งมี 2 ชนิดคือ DHA และ EPA นอกจากกรดไขมันโอเมก้า-3 จะพบในน�า้ มันปลาแล้ว ยังสามารถพบ ในแหล่งอืน่ ได้ แต่จะเป็นโอเมก้า-3 ชนิดอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ DHA และ EPA เช่น แอลฟา ไลโนเลอิก (Alpha-linoleic Acid: ALA) เป็นกรดไขมันที่จ�าเป็น ร่างกายไม่ สามารถสร้างได้จึงต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น แหล่งของ ALA พบในผักใบ เขียวจัด วอลนัท คาโนล่า1, 2 (ดอกไม้สีเหลืองของต่างประเทศ นิยมน�ามา สกัดเป็นน�้ามัน) ถั่วเหลือง และร�าข้าว สัญลักษณ์สากลของ ALA จะใช้ C18: 3 n3 หมายความว่ามีคาร์บอน 18 ตัว และมีพันธะคู่ 3 ต�าแหน่ง และ เป็นกรดไขมันโอเมก้า-3 ALA ช่วยลดความเสีย่ งของโรคระบบหลอดเลือดและ หัวใจ ช่วยป้องกันการเกิดเบาหวาน3

206

คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์


นอกจากโอเมก้า-3 แล้ว ยังมีกรดไขมันที่จ�าเป็นที่ร่างกายไม่สามารถ สร้างได้ ต้องได้รบั จากอาหารเท่านัน้ เช่น โอเมก้า-6 ตัวอย่างหนึง่ ของโอเมก้า-6 เช่น ไลโนเลอิก แอซิด (Linoleic Acid: LA) พบในไข่ ธัญพืช ไขมันสัตว์ ขนมปัง เมล็ดพืช น�้ามันดอกทานตะวัน น�้ามันข้าวโพด1, 2 สัญลักษณ์สากลจะใช้ C18: 2 n6 หมายความว่ามีคาร์บอน 18 ตัว และมีพันธะคู่ 2 ต�าแหน่ง และเป็น กรดไขมันโอเมก้า-6 โอเมก้า-6 เป็นสารตั้งต้นในการสร้าง แกมมา ไลโนเลอิก ซึ่งแกมมา ไลโนเลอิกก็เป็นโอเมก้า-6 ตัวหนึ่ง ช่วยต้านการเกาะกันของเกล็ดเลือด ลด หลอดเลือดอุดตันในสมองและเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจ และช่วยเพิ่มความจ� า ส�าหรับผูป้ ว่ ยอัลไซเมอร์ หากขาดโอเมก้า-6 จะท�าให้ผวิ แห้ง เกล็ดเลือดเกาะตัว กีดขวางการไหลเวียนของโลหิต ก่อให้เกิดความดันโลหิตสูง แนะน�าให้รับประทานโอเมก้า-6 ปริมาณ 14-17 กรัมต่อวัน4 ซึ่งการ รับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของโอเมก้า-6 เช่น น�้ามันพืช ธัญพืช ก็ได้รับ โอเมก้า-6 เพียงพอแล้ว โอเมก้า-9 เป็นกรดไขมันที่ร่างกายสามารถสร้างได้เอง จึงไม่จ�าเป็น ต้องได้รับจากอาหาร โอเมก้า-9 ยังสามารถพบได้ในผลมะกอก น�้ามันมะกอก ตัวอย่างหนึ่งของโอเมก้า-9 เช่น โอเลอิก แอซิด (Oleic acid) สัญลักษณ์สากล จะใช้ C18: 2 n9 หมายความว่ามีคาร์บอน 18 ตัว และมีพันธะคู่ 2 ต�าแหน่ง และเป็นกรดไขมันโอเมก้า-9 หน้าที่ของโอเมก้า-9 คือช่วยให้ผิวชุ่มชื้น ไม่แห้ง และป้องกันหัวใจตายจากหลอดเลือดอุดตัน เนื่องจากร่างกายสามารถสร้าง โอเมก้า-9 ได้ จึงไม่แนะน�าให้รับประทานจากอาหาร

คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์

207


เบต้าแคโรทีน เบต้าแคโรทีนเป็นสารอาหารประเภทวิตามินที่ละลายในน�้ามัน พบ ได้ในผักใบเขียวและผลไม้สีส้ม เหลือง และแดง เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเปลี่ยน เป็นวิตามินเอ จึงช่วยในการมองเห็น และปรับสภาพสายตาให้เห็นได้ในที่มืด ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูกและฟัน ป้องกันอันตรายที่เกิดจากสภาวะ แวดล้อมเป็นพิษ ต้านอนุมูลอิสระและป้องกันการเกิดมะเร็ง สร้างและรักษา เนื้อเยื่อผิวหนัง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย และการเจริญเติบโต ของร่างกาย

แครอท เบต้าแคโรทีน 1 โมเลกุลสามารถย่อยได้เป็นวิตามินเอ 2 โมเลกุล1 แต่ร่างกายสามารถเปลี่ยนเบต้าแคโรทีนเป็นวิตามินเอและดูดซึมได้เพียง 1 ใน 3 ของเบต้าแคโรทีนที่ได้รับ ดังนั้นหากรับประทานยอดแคหรือผักใบเขียว เข้มอื่นๆ ก็จะได้รับเบต้าแคโรทีน และร่างกายจะเปลี่ยนให้เป็นวิตามินเอได้ โดยปกติคนที่รับประทานผักและผลไม้มักจะไม่ขาดเบต้าแคโรทีน แต่พบว่า ผู้ป่วยล�าไส้อักเสบจะขาดเบต้าแคโรทีน2 คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์

315


ตารางโภชนาการไม่ได้ก�าหนดปริมาณเบต้าแคโรทีนที่ร่างกายควร จะได้รับในแต่ละวันเอาไว้ แต่จากการศึกษาประชากร 500,000 คนที่อาศัย ในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และบางประเทศในยุโรป พบว่าได้รับ เบต้าแคโรทีนจากอาหารเฉลี่ย 2-7 มิลลิกรัมต่อวัน3 ส�านักงานคณะกรรมการ อาหารและยาของสหรัฐอเมริกาแนะน�าว่า คนปกติควรได้รับเบต้าแคโรทีน ประมาณ 5.2 มิลลิกรัมต่อวัน ส่วนสถาบันมะเร็งแห่งชาติสหรัฐอเมริกาแนะน�า ว่า ควรได้รบั เบต้าแคโรทีนประมาณวันละ 6 มิลลิกรัม ส�านักงานคณะกรรมการ อาหารและยาของไทยแนะน�าว่า ควรได้รับเบต้าแคโรทีนวันละ 4.8 มิลลิกรัม มีรายงานว่าการรับประทานสารแคโรทีน 200 มิลลิกรัมเป็นเวลา 6 เดือนไม่ ปรากฏอาการข้างเคียงใดๆ กระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกาได้จัดอันดับอาหาร ที่มีเบต้าแคโรทีนสูง 10 อันดับดังนี้4

หากร่างกายได้รบั เบต้าแคโรทีนมากเกินไปจะมีอาการตัวเหลืองเรียกว่า Carotenemia คือตัวเหลืองโดยเฉพาะปลายมือและเท้า ซึ่งไม่เป็นอันตราย แต่อย่างใด เพียงแต่หยุดบริโภคเบต้าแคโรทีนสักพักอาการนี้ก็จะหายไปเอง5 316

คู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์


คูมือเลมนี้จะทำใหคุณ รูจริง กินเปน

เห็นผล!

คูมืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ

รวบรวมข อมูลงานว�จัยด านโภชนาการจากทั่วโลกเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ เสร�มอาหารทีค่ วรรู นำมาเข�ยนในรูปแบบทีเ่ ข าใจง าย เพือ่ ให ผบ ู ร�โภคได มคี วามรูค วามเข าใจทีถ่ กู ต องเกีย่ วกับประโยชน ความจำเป น ความคุ มค าเง�น ผลข างเคียง ตลอดจนสามารถ จับผิดผู โฆษณาอวดอ างสรรพคุณเกินจร�งของผลิตภัณฑ เสร�มอาหารซ�ง่ มีมากมายในท องตลาด เพือ่ ให ผบ ู ร�โภคมีความรู ในการพิจารณาเลือกใช ผลิตภัณฑ เสร�มอาหารอย างเหมาะสม กับตนเอง และไม ตกเป นเหยื่อของการโฆษณา!

พรมมิ สมุนไพรจากอายุรเวทตานอัลไซเมอร

ขาดไอโอดีนไมรูตัว อาคาอิเบอรร่ี ตาน อนุมูลอิสระ อันดับ 1

และ

Vitamin Vitamin Vitamin

รวมผลิตภัณฑลดความอวนครบทุกกลไก

Vitamin

ฟ กขาว ผลไมไลโคปนสูงกวามะเขือเทศ 70 เทา กลูตา ไธโอนขาว ไดจริงหรือ แคลเซียมรูปแบบที่ดูดซึมดีที่สุด

อีกหลายขอสงสัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑเสริมอาหาร ที่รวบรวมจากงานวิจัยดานโภชนาการจากทั่วโลก 240.-

ISBN 978-616-527-392-3

9 786165 273923

สุขภาพ

ผลิตโดย สำนักพิมพ เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

www.MISbook.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.