Basic
สำหรับผูเริ่มตนเรียนรูการเลนกีตารดวยตนเอง ใช ไดทั้งกีตารโปรงและกีตาร ไฟฟา
Guitar ËÑ´àÅ‹¹¡ÕµŒÒà àº×Íé §µŒ¹
พรอม
VCD
สอนเลน ภายในเลม
สอนตั้งแตเริ่มตน จนสามารถเล น เป น เพลง ไดอยางสนุกสนาน
for the beginner เหมาะสำหรับผูที่ตองการเริ่มตนเรียนรูการเลนกีตารดวยตนเอง
คอรด 50 เพลงฮิต
จากคาย GMM
GRAMMY
99
Basic Guitar
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น ISBN 978-616-527-214-8 ราคา 99 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2554 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำาส่วนหนึ่ง ส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ทำาสำาเนา ถ่ายเอกสาร หรือนำาไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต และเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง สำานักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ คณะผู้จัดทำา บรรณาธิการสำานักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ฝ่ายดนตรี เอกรินทร์ ศุภรณ์พานิช ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ประชา ธนะฤกษ์ พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประสานงานฝ่ายผลิต วราลี สิทธิจินดาวงศ์ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ, วันศิริ ทองใบ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จำากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที ่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com
จัดจำาหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารเนชัน่ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ้ำา หน้าขาดหาย สำานักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
TALK TO YOU ในปัจจุบนั ดนตรีเข้ามามีบทบาทกับชีวติ ประจ�าวัน ของเรามากขึ้น ไม่ว่าจะในฐานะผู้ฟังหรือผู้เล่น เพราะ สภาพแวดล้อมทางสังคมอยู่ในภาวะตึงเครียด จึงท� าให้ คนมากมายหันมาเล่นดนตรีเพือ่ ผ่อนคลายความตึงเครียด นัน้ โดยเครือ่ งดนตรีทกี่ า� ลังเป็นทีน่ ยิ มในปัจจุบนั ก็คอื กีตา้ ร์ ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีที่ราคาถูก หาซื้อได้ง่าย และวิธีการเล่น ก็ไม่ได้ซับซ้อนอะไรมากมาย สามารถฝึกฝนได้ด้วยตนเอง ทั้งยังน�าไปประกอบอาชีพได้อีกด้วย สื่อการสอนชุดนี้ได้รวบรวมเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ การเล่นกีต้าร์เบื้องต้น พร้อม 50 โน้ตเพลงฮิตจากค่าย GMM Grammy ส�าหรับฝึกฝนควบคูก่ นั ไป โดยทางทีมงาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะสามารถเรียนรู้หลักการ พื้นฐาน วิธีการเล่น และการฝึกฝนทักษะผ่านสื่อการสอน “หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น” ชุดนี้ได้เป็นอย่างดี ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส
CONTENTs Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวโน้ตและคอร์ด.................1
. ตัวโน้ต.....................................................................................................2 . คอร์ด.......................................................................................................5 Chapter 2 ข้อมูลที่ควรรู้ก่อนการเล่นกีต้าร์..................................7 . ส่วนประกอบของกีต้าร์............................................................................8 . การตั้งสายกีต้าร์....................................................................................10 . ท่านั่งและการวางมือ.............................................................................12 . การจับปิ๊กและการดีดกีต้าร์...................................................................16 Chapter 3 พื้นฐานการเล่นกีต้าร์......................................................19 . โน้ตบนคอกีต้าร์.....................................................................................20 . ตารางคอร์ดส�าหรับกีต้าร์.......................................................................21 . ลักษณะการจับคอร์ด.............................................................................23 . การวางนิ้วในการจับคอร์ด.....................................................................24 . การฝึกคอร์ดต่อเนื่อง.............................................................................28 . การจับคอร์ดแบบ Close Form...........................................................30 . การเปลี่ยนนิ้วในการกดคอร์ดเพื่อให้ได้คอร์ดใหม่.................................38 . เทคนิคการเกากีต้าร์ (Picking)..............................................................40 . การตีคอร์ดกีต้าร์...................................................................................41 . การเล่นเพลง.........................................................................................43
50 เพลงฮิต GMM Grammy Lonely Valentine
72
งมงาย
112
Sticker
52
จากพ่อถึงลูก
60
ก้อนเนื้อข้างซ้าย
56
เจ็บทุกทาง
114
ขอบคุณที่มีเธอ
96
ใจหาย
148
คนที่เธอไม่รัก
68
ช่องว่าง
74
คนเบื้องหลัง
120
ช่างไม่รู้เลย
142
คนไม่มีแฟน
128
ถ้าหากไม่รัก
106
ค�าขอสุดท้าย
144
ทั้งรักทั้งเหนื่อย
82
ค�าตอบของหัวใจ
130
เธอคือดวงใจของฉัน
46
ค�าถามที่ต้องตอบ
124
ปฏิเสธไม่ได้ว่ารักเธอ
58
Calories Blah Blah Bodyslam เสก โลโซ
Klear & วสันต์ โชติกุล เอ็ม อรรถพล เอ็ม อรรถพล
เบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์ Da Endorphine ปั๊บ โปเตโต้
อ๊อฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ์
Bodyslam พลพล
Basher Zeal
ปนัดดา เรืองวุฒิ Peacemaker โรส-ศิรินทิพย์ หาญประดิษฐ์ Instinct
อ๊อฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ์ Clash Feat. Kal
ปลุกฉันได้ไหม
80
ไม่รักไม่เป็นไร
104
ปอดแหก
84
ไม่รู้จักฉัน ไม่รู้จักเธอ
146
เปราะบาง
86
ยิ่งรู้จักยิ่งรักเธอ
116
ฝากความยินดี
64
รักทุกฤดู
62
รักแท้...ยังไง
118
รักเธอสุดหัวใจ
92
รักไม่ได้ ไม่ใช่ไม่รัก
98
โลโซ 3 ช่า
78
กัน The Star 6 ป้าง นครินทร์ Bodyslam Clash
แหนม-รณเดช วงศาโรจน์ Pop Calories Blah Blah & Da Endorphine Basher
ฝุ่น
134
น�้าชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์
ฝุ่นละออง
94
น�้าชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์
พรหมลิขิต
138
เตชินท์
เพลงพิเศษ
89
Zeal
มือที่ไร้ไออุ่น
132
เสก โลโซ
ไม่มีตรงกลาง
108
พั้นช์-วรกาญจน์ โรจนวัชร
Big Ass อ๊อฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ์ Big Ass
กิ่ง The Star 5 Clash
จิรากร สมพิทักษ์
วางมือบนบ่า น�้าตาก็ไหล
126
แสนล้านนาที
66
เบล สุพล
หนาวกว่าทุกคืน
70
หวังดีประสงค์รัก
100
ให้รักเดินทางมาเจอกัน
102
กะลา
VieTrio Feat. กัน The Star 6 Da Endorphine
ให้เวลากับน�้าตาแค่วันเดียว
76
อกหัก
110
อยากรู้...แต่ไม่อยากถาม
136
อย่าร้อนตัว
122
อยู่คนเดียว
50
โรส-ศิรินทิพย์ หาญประดิษฐ์ Bodyslam Calories Blah Blah เอ็ม อรรถพล
เบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์
อยู่อย่างเหงาๆ Peacemaker
เฮ้อ
กัน The Star 6
140 48
CHAPTER 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวโน้ตและคอร์ด
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวโน้ตและคอร์ด ตัวโน้ต ตัวโน้ต คือสิ่งขั้นพื้นฐานที่ควรรู้ในการเล่นเครื่องดนตรีทุกประเภท เนื่องจากตัวโน้ตเป็น เครื่องหมายที่ใช้บันทึกแทนเสียงต่างๆ ของดนตรี มีความส�าคัญคือ ท�าให้ทราบถึงระดับของเสียง เช่น เสียงสูง-เสียงต่�า หรือเสียงสั้น-เสียงยาว โดยดูจากต�าแหน่งของตัวโน้ตที่อยู่บนบรรทัด 5 เส้น และกุญแจประจ�าหลัก ระดับเสียงของตัวโน้ตสากลที่เราคุ้นเคยมี 7 เสียงด้วยกันคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โดยมีการใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนเสียงเหล่านี้เรียงตามล�าดับคือ C D E F G A B นั่นเอง
1 C โด
2 D เร
3 E มี
4 5 6 F G A ฟา ซอล ลา
7 B ที
8 C โด
ตัวอย่าง บันไดเสียง C Major (C Major Scale) โดยเรียงตามระดับเสียงของตัวโน้ตที่เป็นสากล นอกจากระดับเสียงข้างต้นแล้วยังมีระดับเสียงทีแ่ ยกย่อยลงไปอีก โดยเสียงเหล่านีม้ สี ถานะ ท�าให้บนั ไดเสียงหลักทัง้ 7 มีเสียงทีส่ งู ขึน้ หรือต่า� ลงครึง่ เสียง ในทีน่ จี้ ะใช้คยี บ์ อร์ดเป็นภาพอธิบาย เสียงต่างๆ เพือ่ แสดงให้เห็นถึงล�าดับของระดับเสียงอย่างชัดเจนและง่ายต่อการท�าความเข้าใจมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งเมื่อน�าระดับเสียงต่างๆ มาเทียบกับคีย์บอร์ดแล้ว ภาพที่ออกมาจะมีลักษณะดังนี้
2
Basic Guitar
C# D# Db Eb
C
D
F# G# A# Gb Ab Bb
E
F
G
A
C# Db
B
C
D
ภาพระดับเสียงของตัวโน้ตต่างๆ บนคีย์บอร์ด หมายเหตุ เครื่องหมาย “b” (อ่านว่า แฟล็ต) ท�าให้เสียงนั้นๆ ต่�าลงครึ่งเสียง และ เครื่องหมาย “#” (อ่านว่า ชาร์ป) ท�าให้เสียงนั้นๆ สูงขึ้นครึ่งเสียง จากภาพอธิบายได้ว่า แต่ละระดับเสียงนั้นจะห่างกัน 1 เสียงเต็ม เช่น ระหว่างเสียงโด (C) กับเสียงเร (D) จะห่างกัน 1 เสียง โดยจะเป็นเช่นนี้ในทุกระดับเสียงยกเว้นระหว่างเสียงมี (E) กับเสียงฟา (F) และระหว่างเสียงที (B) กับเสียงโด (C) เนื่องจากระหว่างเสียงทุกเสียงจะมี ตัวทีค่ นั่ อยูต่ รงกลางระหว่างเสียงต่างๆ ซึง่ ตัวคัน่ เหล่านัน้ เรียกได้วา่ เป็นครึง่ หนึง่ ของเสียงทีต่ วั คัน่ นั้นๆ อยู่ระหว่างกลาง เช่น ระหว่างเสียงโด (C) กับเสียงเร (D) มีตัวคั่นที่มีสัญลักษณ์ C#/Db อยู่ ซึง่ หมายถึงเสียงโดจะเพิม่ ขึน้ ครึง่ เสียง (C#) หรือเสียงเรจะลดลงครึง่ เสียง (Db) นัน่ เอง ดังนัน้ เราจึงสามารถสรุปได้ดังนี้ ห่างกันครึ่งเสียง C# C
D# D
Db
F# E
Eb
ห่างกันครึ่งเสียง
F
G# G
Gb
A# A
Ab
B
C
Bb
3
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
ระดับเสียงหลัก C D E F G A B
เสียงที่สูงขึ้น (ครึ่งเสียง) เสียงที่ต่�าลง (ครึ่งเสียง) B C# Db D# Eb F E F# Gb G# Ab A# Bb C
หมายเหตุ สังเกตได้ว่าจะมีบางเสียงที่เป็นเสียงเดียวกัน คือ C# = Db D# = Eb F# = Gb G# = Ab A# = Bb
4
Basic Guitar
คอร์ด คอร์ด คือเสียงประสานทีเ่ กิดจากการน�าตัวโน้ต 3 ตัวขึน้ ไปมารวมกัน ท�าให้เกิดเสียงพร้อมกัน เราสามารถแบ่งคอร์ดออกเป็นกลุ่มได้ โดยเทียบกับบันไดเสียง C Major (C Major Scale) ตาม จ�านวนตัวโน้ตที่มาประกอบได้ดังนี้ 2-Note Chord เช่น Diad หรือ Dyad ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1 และ 5 3-Note Chord เช่น Triad (ทรัยแอด) ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-3-5 4-Note Chord เช่น Sixth Chord ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-3-5-6 และ Seventh Chord ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-3-5-7 Extended Chord เป็นคอร์ดที่สร้างขึ้นจากคอร์ดที่เกินจาก Seventh Chord ขึ้นไป โดย มีการขยาย (Extension) เสียงออกไปด้วยโน้ตตัวที่ 9-11-13 เช่น Ninth Chord ประกอบด้วย โน้ตตัวที่ 1-3-5-7-9 คอร์ดมาตรฐานทีใ่ ช้เป็นพืน้ ฐานหลักในการประสานเสียงคือ Triad ซึง่ มี 4 ประเภท ได้แก่ Major, Minor, Diminished และ Augmented โดยมีโครงสร้างเปรียบเทียบกับบันไดเสียง C Major (C Major Scale) ได้ดังนี้ Major ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-3-5 เช่น C Minor ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-b3-5 เช่น Cm Diminished ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-b3-b5 เช่น Cdim หรือ C๐ Augmented ประกอบด้วยโน้ตตัวที่ 1-3-#5 เช่น C+ ตัวเลขต่างๆ นั้นหมายถึง ล�าดับของตัวโน้ตที่อยู่บนบันไดเสียง C Major (C Major Scale) เช่น โครงสร้างสูตรของเมเจอร์คือ 1-3-5 สมมติว่าก�าหนดให้ Root คือ C (Root หมายถึง ตัวโน้ตที่เป็นชื่อคอร์ด เช่น Root ของคอร์ด C ก็คือ C, Root ของคอร์ด Am ก็คือ A) และเมื่อ เทียบกับบันไดเสียง C Major แล้วจะพบว่าเลข 1 คือต�าแหน่งของ C (นับต�าแหน่งที่ 1 โดยเริ่ม จาก Root) เลข 3 คือต�าแหน่งของ E และเลข 5 คือต�าแหน่งของ G ดังนั้น คอร์ด C จึงมีสูตร คือ C-E-G นั่นเอง
5
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
Major C (C - E - G) D (D - F# - A) E (E - G# - B) F (F - A - C) G (G - B - D) A (A - C# - E)
Minor Cm (C - Eb - G) Dm (D - F - A) Em (E - G - B) Fm (F - Ab - C) Gm (G - Bb - D) Am (A - C - E)
Diminished Cdim (C - Eb - Gb) Ddim (D - F - Ab) Edim (E - G - Bb) Fdim (F - Ab - Db) Gdim (G - Bb - Db) Adim (A - C - Eb)
B (B - D# - F#)
Bm (B - D - F#)
Bdim (B - D - F)
Augmented Caug (C - E - G#) Daug (D - F# - A#) Eaug (E - G# - B#) Faug (F - A - C#) Gaug (G - B - D#) Aaug (A - C# - E#) Baug (B - D# - Fx) *Fx = F Double Sharp
ชื่อคอร์ดและสัญลักษณ์ ชือ่ คอร์ดและสัญลักษณ์ (Chord Symbol) จะประกอบด้วยอักษรตัวใหญ่และอักขระ หรือ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่น�ามาต่อท้าย (Suffix) โดยใช้แบบย่อเพื่อให้กระชับ เช่น C Major ย่อได้เป็น C C Minor ย่อได้เป็น Cm C Diminished ย่อได้เป็น Cdim หรือ C๐ C Augmented ย่อได้เป็น Caug หรือ C+
6
Basic Guitar
CHAPTER 2 ข้อมูลที่ควรรู้ ก่อนการเล่นกีต้าร์
7
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
Chapter 2 ข้อมูลที่ควรรู้ก่อนการเล่นกีต้าร์ ส่วนประกอบของกีต้าร์ ก่อนอื่นเรามาดูกันว่า กีต้าร์ที่เราเล่นอยู่นี้ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
ลูกบิด
หัวกีต้าร์
(Tuning Keys)
(Head)
นัท
(Nut)
เฟร็ต
(Frets) ฟิงเกอร์บอร์ด
(Fingerboard)
โพรงเสียง
(Sound Hole) หย่อง
(Saddle) สะพานรองสาย
(Bridge)
8
คอกีต้าร์
จุดบอกต�าแหน่ง
(Neck)
(Position Markers)
ที่รองปิ๊ก
(Pick Guard) ล�าตัวกีต้าร์
(Body)
Basic Guitar ส่วนหัวกีต้าร์ (Head) ลูกบิด (Tuning Keys) มีหลายลักษณะ ทัง้ แบบทีห่ นั ไปด้านหลังตัง้ ฉากกับตัวกีตา้ ร์ และ แบบทีข่ นานไปกับตัวกีตา้ ร์ กีตา้ ร์บางตัวมีลกู บิดทัง้ 6 ตัวอยูด่ า้ นเดียวกัน หรือบางตัวอยูค่ นละด้าน ด้านละ 3 ตัวก็มี ลูกบิดมีไว้ส�าหรับหมุนปรับระดับเสียง โดยหากต้องการให้เสียงที่สูงขึ้น ให้หมุน ลูกบิด “ตามเข็มนาฬิกา” และหากต้องการให้มีเสียงที่ต่�าลง ให้หมุนลูกบิด “ทวนเข็มนาฬิกา” นัท (Nut) อยู่ที่ส่วนบนสุดของฟิงเกอร์บอร์ด เป็นที่รองรับสายกีต้าร์ให้ยกสูงขึ้นมาจาก ฟิงเกอร์บอร์ด มีความส�าคัญต่อการเล่นกีตา้ ร์คอื ถ้าหากนัทสูงเกินไป สายกีตา้ ร์กจ็ ะอยูส่ งู ขึน้ มาจาก ฟิงเกอร์บอร์ดมาก ท�าให้ไม่สะดวกในการกดสายกีตา้ ร์ แต่ถา้ หากนัทต่า� เกินไป อาจท�าให้สายกีตา้ ร์ สัมผัสกับเฟร็ตได้ เสียงทีอ่ อกมาก็จะไม่ได้มาตรฐาน โดยทัว่ ไปนัทจะสูงประมาณ 2 มิลลิเมตร เรา สามารถใช้ตะไบถูกบั ฐานของนัทได้ในกรณีทนี่ ทั สูงเกินไป ในทางตรงกันข้าม ถ้าหากนัทเตีย้ เกินไป เราก็สามารถน�าเศษกระดาษหรือเศษไม้มารองใต้ฐานได้เช่นกัน ส่วนคอกีต้าร์ (Neck) ฟิงเกอร์บอร์ด (Fingerboard) เป็นส่วนทีใ่ ช้ในการเล่นโน้ตต่างๆ ของกีตา้ ร์ และเป็นตัวที่ ใช้ยดึ เฟร็ตไว้ อีกทัง้ ยังเป็นส่วนทีป่ ระดับด้วยลวดลายต่างๆ เพือ่ เพิม่ ความสวยงาม ฟิงเกอร์บอร์ด มีทั้งลักษณะที่เป็นแบบราบ ซึ่งส่วนมากจะเป็นกีต้าร์คลาสสิก และแบบโค้งที่ด้านหลังเล็กน้อย เช่น กีต้าร์ไฟฟ้าและกีต้าร์โฟล์ก เพื่อให้ทาบได้พอดีกับส่วนโค้งของนิ้วมือ เฟร็ต (Frets) เป็นส่วนทีใ่ ช้ในการก�าหนดตัวโน้ตและเสียงของกีตา้ ร์ โดยเฟร็ตจะแบ่งเป็น ช่องต่างๆ และเสียงในแต่ละช่องก็จะแตกต่างกันไปด้วย ซึ่งเสียงจะสูงหรือต่�านัน้ ขึ้นอยู่กับการกด สายกีต้าร์ในช่องเฟร็ตที่ต่างกันออกไป จุดบอกต�าแหน่ง (Position Markers) เป็นจุดบนฟิงเกอร์บอร์ด โดยจะอยู่ในเฟร็ตที่ 3, 5, 7, 9, 12, 15, 17, 19, 21 และ 24 เพื่อความสะดวกและง่ายต่อการหาตัวโน้ตในต�าแหน่ง ต่างๆ โดยจะสามารถสังเกตได้ง่ายในขณะยืนเล่นกีต้าร์ ส่วนล�าตัวกีต้าร์ (Body) โพรงเสียง (Sound Hole) คือรูที่อยู่ด้านหน้าของตัวกีต้าร์ มีหน้าที่ในการรับเสียงที่เกิด จากการสั่นของสายกีต้าร์ แล้วสะท้อนเสียงนั้นออกมาดังก้องกังวาน ที่รองปิ๊ก (Pick Guard) เป็นส่วนที่ใช้ส�าหรับป้องกันไม่ให้ปิ๊กขูดกับล�าตัวของกีต้าร์ หย่อง (Saddle) เป็นส่วนที่ติดอยู่กับสะพานรองสาย เพื่อรองรับสายกีต้าร์ทั้ง 6 สาย ควรมีความสูงที่เหมาะสมเนื่องจากมีผลต่อการเล่นกีต้าร์เช่นเดียวกับนัท สะพานรองสาย (Bridge) เป็นตัวทีย่ ดึ สายให้ตดิ กับล�าตัวของกีตา้ ร์ มีหลายลักษณะและ หลายรูปแบบ ซึ่งจะแตกต่างกันตามประเภทและรูปแบบของกีต้าร์ 9
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
การตั้งสายกีต้าร์ การตั้งสายกีต้าร์เป็นสิ่งที่มีความส�าคัญมาก หากสายกีต้าร์หย่อนหรือตึงเกินไปจะท�าให้ เสียงทีด่ ดี ออกมาไม่ตรงตามมาตรฐาน เสียงเพีย้ น และไม่นา่ ฟัง ผูฝ้ กึ ทีเ่ พิง่ เริม่ เล่นกีตา้ ร์เป็นเครือ่ ง ดนตรีชิ้นแรกนั้น โดยมากจะยังไม่สามารถตั้งสายเองได้ และไม่สามารถฟังออกว่าเสียงกีต้าร์ของ เรานั้นตรงหรือยัง เพราะฉะนั้นควรให้เพื่อนฝูงหรือคนรู้จักที่เล่นกีต้าร์เป็นช่วยตั้งสายให้ก่อน ซึ่ง ถ้าหากผู้ฝึกมีความสามารถในการแยกแยะระดับเสียงได้ดีพอก็จะสามารถตั้งสายเองได้ การตั้งสายกีต้าร์สามารถท�าได้หลายวิธี ซึ่งจะใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับ ความสะดวกของแต่ละคน 1. การตั้งสายโดยการเทียบเสียงของสายกีต้าร์แต่ละสาย ส�าหรับผู้ที่เริ่มหัดเล่นกีต้าร์ อาจยังไม่มีอุปกรณ์ส�าหรับการตั้งสายหรือเทียบเสียง ซึ่งเรา สามารถตั้งสายจากการเทียบเสียงของสายกีต้าร์แต่ละสายได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1.1 ปรับสายกีต้าร์สาย 6 ให้เป็นเสียง E (เสียงมี) หรือใกล้เคียงที่สุด โดยอาจให้ผู้ที่มี ประสบการณ์ช่วยเริ่มตั้งสายให้ หรือกะประมาณในระดับเสียงที่เราพอใจให้ใกล้เคียงที่สุด หรือ เทียบเสียงจากกีต้าร์ตัวอื่นๆ ก็ได้เช่นกัน 1.2 วางนิ้วไว้เฟร็ตที่ 5 ของสาย 6 จะได้ระดับเสียงของสาย 5 (A) ที่เป็นสายเปล่า 1.3 วางนิ้วไว้เฟร็ตที่ 5 ของสาย 5 จะได้ระดับเสียงของสาย 4 (D) ที่เป็นสายเปล่า 1.4 วางนิ้วไว้เฟร็ตที่ 5 ของสาย 4 จะได้ระดับเสียงของสาย 3 (G) ที่เป็นสายเปล่า 1.5 วางนิ้วไว้เฟร็ตที่ 4 ของสาย 3 จะได้ระดับเสียงของสาย 2 (B) ที่เป็นสายเปล่า 1.6 วางนิ้วไว้เฟร็ตที่ 5 ของสาย 2 จะได้ระดับเสียงของสาย 1 (E) ที่เป็นสายเปล่า
10
Basic Guitar 2. การตั้งสายโดยการเทียบเสียงกับเปียโน โน้ตสายเปิดทั้ง 6 สายของกีต้าร์นั้น จะมีระดับเสียงเหมือนกับโน้ตทั้ง 6 ตัวบนคีย์บอร์ด หรือเปียโน โดยเริ่มจากปรับสาย 6 ของกีต้าร์ให้เข้ากับเสียง E ต่�าของเปียโน แล้วตั้งสายอื่นๆ เทียบเสียงกับเปียโนเรียงตามล�าดับ ดังภาพ
3. การตั้งสายโดยใช้ส้อมเสียง (Tuning Fork) วิธีนี้เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ได้มาตรฐาน โดยส้อมเสียงที่นิยมใช้ในการตั้งเสียงคือ ส้อมเสียง A หรือเสียงลานั่นเอง วิธีการคือ ใช้ส้อมเสียงบริเวณที่เป็นง่าม 2 ง่าม เคาะกับอะไรก็ได้เพื่อให้เกิด เสียง จากนัน้ ให้นา� ปุม่ ทีอ่ ยูด่ า้ นล่างของส้อมเสียงไปแนบกับสะพานรองสายหรือบอดีด้ า้ นหน้าของ กีต้าร์ ซึ่งกีต้าร์จะช่วยขยายเสียงของส้อมเสียงนั้น จากนั้นให้ปรับกีต้าร์สายที่ 5 โดยให้เสียงที่ดีด ออกมาตรงหรือใกล้เคียงกับเสียงของส้อมเสียง ซึ่งก็คือเสียงลานั่นเอง ส่วนที่เคาะให้เกิดเสียง
ปุ่มที่ใช้แนบที่ตัวกีต้าร์
11
หัดเล่นกีต้าร์เบื้องต้น 4. การตั้งสายโดยใช้หลอดเทียบเสียง (Pitch Pipe) หลอดเทียบเสียงเป็นอุปกรณ์ในการตัง้ สายของกีตา้ ร์อกี วิธหี นึง่ โดย หลอดเทียบเสียงจะมีท่อเล็กๆ เรียงต่อกัน 6 ท่อ ซึ่งจะมีตัวโน้ตก�ากับไว้ใน แต่ละท่อ วิธกี ารเทียบเสียงคือ เป่าหลอดเทียบเสียงโดยจะเริม่ เป่าจากเสียง ใดก่อนก็ได้ แล้วจึงปรับสายกีตา้ ร์ให้ตรงกับเสียงทีด่ งั ออกมาจากหลอดเทียบ เสียงนั้น เช่น เมื่อเราเป่าโน้ต A (เสียงลา) ที่หลอดเทียบเสียงแล้ว จากนั้น ให้ปรับกีต้าร์สายที่ 5 โดยให้เสียงที่ดีดออกมานั้นตรงหรือใกล้เคียงกับเสียง ที่ดังออกมาจากหลอดเทียบเสียง ซึ่งก็คือเสียงลานั่นเอง 5. การตั้งสายโดยใช้เครื่องตั้งสาย (Electronic Tuner) การใช้เครือ่ งตัง้ สายกีตา้ ร์เป็นอีกวิธหี นึง่ ทีเ่ หมาะส�าหรับผูเ้ ริม่ หัดเล่น กีตา้ ร์ เนือ่ งจากเป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้คอ่ นข้างง่าย โดยเครือ่ งตัง้ สายจะเป็นตัวตรวจ สอบความถีข่ องโน้ตแต่ละตัวของสายกีตา้ ร์ซงึ่ จะมีคา่ คงที่ ก่อนอืน่ เราจะต้อง เลือกว่าจะเริ่มปรับจากโน้ตตัวใดหรือกีต้าร์สายใดก่อน จากนั้นให้ตั้งค่าที่ตัว เครื่องให้เป็นโน้ตตัวนั้น แล้วน�าเครื่องตั้งสายไปไว้ใกล้ๆ กับกีต้าร์ หากสาย ที่เราตั้งมีเสียงที่ตรงตามตัวโน้ตแล้ว เข็มที่หน้าปัดของเครื่องจะอยู่กึ่งกลาง พอดี แต่หากเป็นเครื่องรุ่นใหม่ก็จะแสดงผลเป็นตัวโน้ตนั้นๆ เลย
ท่านั่งและการวางมือ ท่านั่ง ท่าทางการนัง่ เรียกได้วา่ เป็นสิง่ ส�าคัญทีค่ วรค�านึงถึงอีกอย่างหนึง่ เนือ่ งจากหากนัง่ ไม่ถกู ต้อง ก็อาจส่งผลต่อการเล่นกีต้าร์หรือมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ ในปัจจุบันมีอุปกรณ์เสริมส�าหรับการ นั่งเล่นกีต้าร์มากมาย ซึ่งเราสามารถเลือกน�ามาใช้เพื่อเพิ่มความถนัดและความสะดวกสบายใน ขณะนั่งเล่นกีต้าร์ได้ตามความเหมาะสม อุปกรณ์เสริมส�าหรับการนั่งเล่นกีต้าร์ 1. ทีว่ างเท้า (Footstool) เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้สา� หรับวางเท้าในขณะนัง่ เล่นกีตา้ ร์ ซึง่ กีตา้ ร์จะ ท�ามุมทีเ่ หมาะสมส�าหรับการนัง่ เล่นพอดี (ประมาณ 45 องศา) โดยให้วางเท้าซ้ายลงบนทีว่ างเท้า แล้ววางกีต้าร์ไว้บนขาซ้าย ซึ่งท่านี้จะท�าให้สามารถควบคุมสายกีต้าร์และสะดวกในการจับคอร์ด ต่างๆ ที่ฟิงเกอร์บอร์ด
12
Basic Guitar ผูห้ ญิงอาจไม่สะดวกในการนัง่ ท่านีใ้ นกรณีทใี่ ส่กระโปรงค่อนข้างสัน้ ให้หบุ หัวเข่าด้านขวา เข้ามาทางด้านซ้ายในระดับทีส่ ะดวกและเหมาะสม โดยส้นเท้าขวาอาจเปิดขึน้ เล็กน้อย และล�าตัว ด้านล่างของกีต้าร์จะวางอยู่บนหน้าขาขวา
2. Guitar Rest เป็นอุปกรณ์เสริมอีกประเภทหนึ่งในกรณีที่ไม่มีที่วางเท้า (Footstool) โดยการวาง Guitar Rest ไว้บนขาด้านซ้าย เพื่อยกกีต้าร์ให้สูงขึ้นท�ามุมที่เหมาะสมส�าหรับการ เล่นกีต้าร์ Guitar Rest มีหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมหรือขึ้นอยู่กับ ความสะดวกและความพอใจของแต่ละคน
13
Basic
ËÑ´àÅ‹¹¡ÕµŒÒà àº×Íé §µŒ¹
Guitar
for the beginner เหมาะสำหรับผูที่ตองการเริ่มตนเรียนรูการเลนกีตารดวยตนเอง
ในปจจุบนั ดนตรีเขามามีบทบาทกับชีวติ ประจำวันของเรามากขึน้ ไมวาจะในฐานะผูฟงหรือผูเลน เพราะสภาพแวดลอมทางสังคม อยูในภาวะตึงเครียด ทำใหผูคนหันมาเลนดนตรีเพื่อผอนคลาย ความตึงเครียดมากขึน้ โดยเครือ่ งดนตรีทก่ี ำลังเปนทีน่ ยิ มในปจจุบนั ก็คือกีตาร ซึ่งเปนเครื่องดนตรีที่มีราคาถูก หาซื้อไดงาย และวิธกี ารเลนไมซบั ซอน สามารถฝกฝนไดดว ยตนเอง ทัง้ ยังนำไป ประกอบอาชีพไดอีกดวย สื่อการสอนชุดนี้ไดรวบรวมเนื้อหาสาระการเลนกีตารเบื้องตน พรอมดวยบทเพลงสำหรับฝกฝนควบคูกันไปเพือ่ ใหทกุ ทานสามารถ เรียนรูหลักการพื้นฐาน วิธีการเลน และการฝกทักษะไดดวยตนเอง
รายชื่อ 50 เพลงฮิตจาก GMM
GRAMMY
Lonely Valentine (Calories Blah Blah) Sticker (Bodyslam) กอนเนื้อขางซาย (เสก โลโซ) ขอบคุณที่มีเธอ (Klear & วสันต โชติกุล) คนที่เธอไมรัก (เอ็ม อรรถพล) คนเบื้องหลัง (เอ็ม อรรถพล) คนไมมีแฟน (เบิรด-ธงไชย แมคอินไตย) คำขอสุดทาย (Da Endorphine) คำตอบของหัวใจ (ปบ โปเตโต) คำถามที่ตองตอบ (ออฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ) งมงาย (Bodyslam) จากพอถึงลูก (พลพล) เจ็บทุกทาง (Basher) ใจหาย (Zeal) ชองวาง (ปนัดดา เรืองวุฒิ) ชางไมรูเลย (Peacemaker) ถาหากไมรัก (โรส-ศิรินทิพย หาญประดิษฐ) ทั้งรักทั้งเหนื่อย (Instinct) เธอคือดวงใจของฉัน (ออฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ) ปฏิเสธไมไดวารักเธอ (Clash Feat. Kal) ปลุกฉันไดไหม (กัน The Star 6) ปอดแหก (ปาง นครินทร) เปราะบาง (Bodyslam) ฝากความยินดี (Clash) ฝุน (Big Ass)
ISBN 978-616-527-214-8
9
786165
272148
หัดเลนกีตารเบื้องตน
Contents ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับตัวโนตและคอรด ตัวโนต คอรด ขอมูลที่ควรรูกอนการเลนกีตาร สวนประกอบของกีตาร การตั้งสายกีตาร ทานั่งและการวางมือ การจับปกและการดีดกีตาร พื้นฐานการเลนกีตาร โนตบนคอกีตาร ตารางคอรดสำหรับกีตาร ลักษณะการจับคอรด การวางนิ้วในการจับคอรด การฝกคอรดตอเนื่อง
การจับคอรดแบบ Close Form การเปลี่ยนนิ้วในการกดคอรด เพื่อใหไดคอรดใหม เทคนิคการเกากีตาร (Picking) การตีคอรดกีตาร การเลนเพลง
ฝุนละออง (ออฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ) พรหมลิขิต (Big Ass) เพลงพิเศษ (กิ่ง The Star 5) มือที่ไรไออุน (Clash) ไมมีตรงกลาง (จิรากร สมพิทักษ) ไมรักไมเปนไร (แหนม-รณเดช วงศาโรจน) ไมรูจักฉัน ไมรูจักเธอ (Pop Calories Blah Blah & Da Endorphine) ยิ่งรูจักยิ่งรักเธอ (Basher) รักทุกฤดู (น้ำชา-ชีรณัฐ ยูสานนท) รักแท...ยังไง (น้ำชา-ชีรณัฐ ยูสานนท) รักเธอสุดหัวใจ (เตชินท) รักไมได ไมใชไมรัก (Zeal) โลโซ 3 ชา (เสก โลโซ) วางมือบนบา น้ำตาก็ไหล (พั้นช-วรกาญจน โรจนวัชร) แสนลานนาที (เบล สุพล) หนาวกวาทุกคืน (กะลา) หวังดีประสงครัก (VieTrio Feat. กัน The Star 6) ใหรักเดินทางมาเจอกัน (Da Endorphine) ใหเวลากับน้ำตาแควันเดียว (โรส-ศิรินทิพย หาญประดิษฐ) อกหัก (Bodyslam) อยากรู...แตไมอยากถาม (Calories Blah Blah) อยารอนตัว (เอ็ม อรรถพล) อยูคนเดียว (เบิรด-ธงไชย แมคอินไตย) อยูอยางเหงาๆ (Peacemaker) เฮอ (กัน The Star 6)