ฝึกเขียนโน้ตดนตรี

Page 1



    

  

   

   


ISBN ราคา พิมพ์ครั้งที่ 1

978-616-527-331-2 49 บาท กุมภาพันธ์ 2555

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำาส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ทำาสำาเนา ถ่ายเอกสาร หรือนำาไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางสำานักพิมพ์เท่านั้น

ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ คณะผู้จัดทำ� บรรณ�ธิก�รสำ�นักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ฝ่�ยดนตรี เอกรินทร์ ศุภรณ์พานิช ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประส�นง�นฝ่�ยผลิต ณัฐพงษ์ พยัคคง ประส�นง�นสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่�ยก�รตล�ด ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จำากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณ� เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจำ�หน่�ยโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารเนชัน่ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ้ำา หน้าขาดหาย สำานักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


จากส�านักพิมพ์ การบันทึกโน้ตบนบรรทัด 5 เส้น เป็นจุดเริ่มต้นที่ส�าคัญ ส�าหรับนักดนตรีมอื ใหม่ ซึง่ การบันทึกโน้ตหรือการเขียนโน้ตเปรียบ เสมือนกับการเขียนตัวอักษรในภาษาดนตรี หนังสือเล่มนีม้ เี นือ้ หาเกีย่ วกับทฤษฎีดนตรีสากลขัน้ พืน้ ฐาน ที่จ�าเป็นต้องรู้ส�าหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ทางดนตรีมาก่อน เช่น บรรทัด 5 เส้น ตัวโน้ต กุญแจเสียง การบันทึกโน้ต ตัวอย่าง การใช้กุญแจเสียงในการบรรเลงเครื่องดนตรี เป็นต้น และยังมี บรรทัด 5 เส้นส�าหรับฝึกเขียนโน้ต ซึ่งไม่ยากอย่างที่คิด หากฝึก เขียนและอ่านอย่างสม�่าเสมอ ก็จะพัฒนาไปสู่การเป็นนักดนตรี ในระดับที่สูงขึ้นได้ต่อไปในอนาคต ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส


สารบัญ Basic Music Theory ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน

ระดับเสียง บรรทัด 5 เส้น เส้นน้อย ห้องและเส้นกั้นห้อง กุญแจเสียง กุญแจเสียงและการบันทึกโน้ต ตัวอย่างการใช้กุญแจเสียงในการบรรเลงเครื่องดนตรี ตัวโน้ต เครื่องหมายแปลงเสียง ค่าของตัวโน้ต โน้ตประจุด ตัวหยุด เครื่องหมายก�าหนดจังหวะ

ฝึกเขียนโน้ตดนตรี

1

2 3 3 4 5 6 6 10 13 14 16 17 18

21


Basic

Music Theory

ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน


ระดับเสียง ระดับเสียง (Pitch) เป็นการอ้างถึงความสูง-ต�า่ ของเสียง ซึง่ มีการจัดเรียงระบบเสียงมาตัง้ แต่ ครั้งโบราณกาล นับตั้งแต่ที่พิธากอรัส (Pythagoras) นักปราชญ์ชาวกรีกได้คิดค้นพัฒนาระบบการ แบ่งเสียงโดยอาศัยเครื่องโมโนคอร์ด (Monochord) และสังเกตฮาร์โมนิก (Harmonic) ต่างๆ ที่ เกิดขึน้ การดีดสายทีข่ งึ ตึงพบว่าเสียงทีเ่ กิดขึน้ นัน้ มีระบบทีแ่ น่นอน ไม่วา่ จะขึงสายเป็นระดับเสียงใด ก็ตาม นั่นเป็นจุดเริ่มของแนวคิดเรื่องระดับเสียง บันไดเสียง และการประสานเสียงในยุคต่อๆ มา ภาพแสดงพิธากอรัสกับการค้นคว้าเรื่องระดับเสียงดนตรี

2


บรรทัด 5 เส้น การบันทึกโน้ตดนตรีสากลจะใช้บรรทัด 5 เส้น (Staff) เป็นหลัก ซึง่ สัญลักษณ์ทางดนตรีตา่ งๆ จะ บันทึกไว้บนบรรทัด 5 เส้น หรือบริเวณใกล้เคียง ลักษณะของบรรทัด 5 เส้นจะเป็นเส้นตรงแนวนอน ขนานกัน มีระยะห่างระหว่างเส้นเท่ากัน ประกอบด้วยเส้นบรรทัดจ�านวน 5 เส้น และช่องบรรทัด 4 ช่อง ในการเรียกเส้นบรรทัดและช่องบรรทัดของบรรทัด 5 เส้น ให้นับจากเส้นล่างสุดเป็น บรรทัดที ่ 1 แล้วไล่ลา� ดับไปจนถึงเส้นบนสุด ส่วนช่องบรรทัดก็ให้นบั จากช่องล่างสุดไล่ไปยังช่องบนสุด เช่นเดียวกัน เส้น

ช่อง

5 4 3 2 1

4 3 2 1

เส้นน้อย เมือ่ ไล่โน้ตให้สงู หรือต�า่ ไปจนสุดบรรทัด 5 เส้นแล้ว เราสามารถไล่โน้ตให้สงู ขึน้ หรือต�า่ ลงได้อกี โดยการใช้เส้นน้อย (Leger Lines) ซึง่ เป็นเส้นตรงสัน้ ๆ วางขนานบรรทัด 5 เส้น ระยะห่างของเส้นน้อยนัน้ จะเท่ากับระยะห่างของบรรทัด 5 เส้น เราสามารถเพิม่ เส้นน้อยเท่าไรก็ได้ตามระดับเสียงทีเ่ ราต้องการ

3


ตัวอย่างการใช้เส้นน้อย

ห้องและเส้นกั้นห้อง ในการบันทึกโน้ตดนตรีสากลจะแบ่งเป็นห้องๆ (Measures) เพือ่ ง่ายต่อการดูและการจดจ�า แต่ละห้องเพลงจะถูกแบ่งโดยเส้นกั้นห้อง (Bar Lines) โดยเส้นนี้จะลากยาวตั้งแต่บรรทัดบนจนถึง บรรทัดล่าง MEASURES AND BAR LINES Bar Line

Measure 1

4

Bar Line

Measure 2

Measure 3


กุญแจเสียง กุญแจเสียง (Clef) เป็นตัวบอกระดับเสียงสูง-ต�า่ ของตัวโน้ตต่างๆ บนบรรทัด 5 เส้น การบันทึก โน้ตของเครือ่ งดนตรีสว่ นมากมักใช้กญ ุ แจเสียงซอล (G Clef) เป็นหลัก และใช้กญ ุ แจเสียงฟา (F Clef) ในเครื่องดนตรีที่มีเสียงต�่า กุญแจเสียงซอล (Treble Clef หรือ G Clef)

กุญแจเสียงซอลจะคาบอยู่บนเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น สังเกตการอ่านโน้ตโดยดูตัวโน้ต ที่คาบอยู่บนเส้นบรรทัดที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น จะเป็นโน้ตตัวซอล จากนั้นสามารถไล่ล�าดับเสียง สูง-ต�่า ดังนี้

G

A

B

C

D

E

F

G

กุญแจเสียงฟา (Bass Clef หรือ F Clef)

กุญแจเสียงฟาจะคาบอยู่บนเส้นที่ 4 ของบรรทัด 5 เส้น สังเกตการอ่านโน้ตโดยดูตัวโน้ต ที่คาบอยู่บนเส้นบรรทัดที่ 4 ของบรรทัด 5 เส้น จะเป็นโน้ตตัวฟา จากนั้นสามารถไล่ล�าดับเสียง สูง-ต�่า ดังนี้

F

G

A

F

E

D

C

B

A

G

5


ฝึกเขียน โน้ตดนตรี






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.