อากาศยาน เจาะลึกทุกซอกทุกมุม
กลไกการบินทำงานอยางไร
อากาศยาน เจาะลึกทุกซอกทุกมุม
กลไกการบินทำงานอยางไร
อากาศยาน
อากาศยาน เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง แปล : จารุยศ สุวรรณบัตร
ISBN : 978-616-527-174-5
ราคา : 79 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 : มิถุนายน 2554 ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ c MILE KELLY PUBLISHING LTD of The Bardfied Centre, Great Bardfield, Essex CM7 4SL, England c ลิขสิทธิ์ภาษาไทย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือ เล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไป เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบ ใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง ส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ
บรรณาธิการส�านักพิมพ์ : ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ประสานงานฝ่ายผลิต : อิสรีย์ แจ่มข�า ศิลปกรรม : ภรณีย์ สนองผัน, อัจฉรา ทับทิมงาม, นริศรา ช่อสลิด พิสูจน์อักษร : ศลิษา ลือพงศ์ไพจิตร, ชนาภัทร พรายมี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ : บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด : ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ : บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com
จัดจ�าหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
First published in 2009 by Miles Kelly Publishing Ltd Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex, CM7 4SL Copyright © Miles Kelly Publishing Ltd 2009 This edition printed in 2009 Editorial Director: Belinda Gallagher Art Director: Jo Brewer Design Concept: Simon Lee Volume Design: Rocket Design Cover Designer: Simon Lee Indexer: Gill Lee Production Manager: Elizabeth Brunwin Reprographics: Stephan Davis, Ian Paulyn All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system, or transmitted by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder.
www.FactsforprojectS.COM บริเวณขวาด้านบนของทุกหน้าจะมีลงิ ก์ เข้าอินเตอร์เน็ตเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ท่านเข้าไปชมได้ที่ www.factsforpro jects.com ชมภาพ ศึกษาข้อมูลเพิม่ เติม วิดีโอ ร่วมกิจกรรมแสนสนุก และลิงก์ ไปยังเว็บเพิม่ เติมมากมายโดยไม่เสียค่า ใช้จา่ ย ทัง้ หมดนีเ้ ป็นสิทธิข์ องท่าน และ ไม่ควรคัดลอกหรือน�าไปเผยแพร่เพือ่ จุด ประสงค์ทางการค้าเอาก�าไร หากท่านตัดสินใจใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน คอมพิวเตอร์ของท่าน มีข้อมูลที่ท่าน จ�าเป็นต้องรู้ดังนี้ • คอมพิวเตอร์ ไมโครซอฟท์ วินโดว์ XP หรือเวอร์ชนั่ ล่าสุด หรือแมคอินทอร์ช ปฎิบัติการ OS X หรือเวอร์ชั่นล่าสุด
ACKNOWLEDGEMENTS All panel artworks by Rocket Design ces The publishers would like to thank the following sour for the use of their photographs: Alamy: 30 Emil Pozar III Aviation Images: 32 M Wagner Corbis: 17 Aero Graphics, Inc.; 21 Bettmann; pa; 23 Hulton-Deutsch Collection; 25 Antonio Cotrim/e 29 Handout/Reuters Fotolia: 9 Charles Shapiro; 13 Igor Zhorov Getty Images: 36 Johnny Green in; Rex Features: 6 Jonathan Hordle; 7 Hugh W. Cow 15 C.WisHisSoc/Everett; 27 All other photographs are from Miles Kelly Archives
ปลอดภัยไว้ก่อน เมือ่ ท่านใช้อนิ เตอร์เน็ต โปรดตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าท่านปฏิบัติตามค�าแนะน�า ดังต่อไปนี้ • ขออนุญาตผู้ปกครองก่อนเข้าใช้ • อย่าให้ขอ้ มูลส่วนบุคคล เช่น ชือ่ ทีอ่ ยู่ อีเมลของท่าน • หากเว็บไซต์ให้ท่านเข้าใช้หรือกรอก ข้อมูลโดยใช้ชอื่ หรืออีเมล ให้ปรึกษาผู้ เมื่อลิงก์เข้าไม่ได้ ปกครองก่อน www.factsforprojects.com จะได้รบั • หากท่านได้รบั อีเมลจากคนแปลกหน้า การตรวจสอบเป็นประจ�าเพื่อให้มั่นใจ ให้บอกผูใ้ หญ่และอย่าตอบข้อความ ว่าให้บริการข้อมูลแก่ท่านได้ บางครั้ง นั้นกลับ เว็บไซต์อาจแสดงข้อความว่าไม่ทา� งาน • อย่านัดพบคนทีค่ ยุ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต หากเป็นกรณีนี้ ให้ท่านลองเข้าอีกครั้ง เป็นอันขาด และแรม 512 เมกะไบต์ • บราวเซอร์เช่น Microsoft®Internet Explorer7, Firefox 2. X หรือิ Safari 3.X • ต่ออินเตอร์เน็ตผ่านโมเดม (แนะน�า 56 Kbps) หรือบรอดแบนด์ที่เร็วกว่า • บัญชีเข้าใช้อินเตอร์เน็ตของผู้ให้ บริการ (ISP) • ซาวการ์ดเพื่อใช้ฟังเสียง
ส�านักพิมพ์ Miles Kelly ไม่รบั ผิดชอบว่า ข้อมูลในเว็บไซต์ที่นอกเหนือจากของ ทางส�านักพิมพ์จะเหมาะสมหรือถูกต้อง เด็กควรอยูใ่ นความดูแลของผูป้ กครอง ขณะใช้อินเตอร์เน็ต และไม่ควรพูดคุย ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
www.mileskelly.net
info@mileskelly.net
สารบั ญ ก่อนจะออกบิน
6
บอลลูน
8
เครือ่ งร่อน
10
เครือ่ งบินร่อน
12
เครือ่ งบินตระกูลไรต์
14
เซสนา 172 สกายฮอว์ก
16
เครือ่ งบินคาเมลปีกสองชัน้
18
ไรอัน เอ็นวายพี เกียรติยศแห่งเซนต์หลุยส์
20
เครือ่ งบินขับไล่ซเู ปอร์มารีน สปิตไฟร์
22
เครือ่ งบินชอร์ตซันเดอร์แลนด์ เอส.25
24
แฮร์รเิ ออร์ จัมป์เจ็ต
26
ล็อกฮีด ซี-130 เฮอร์ควิ ลิส
28
นอร์ธธรอป บี-2 สปิรติ บอมเบอร์
30
แอร์บสั เอ380
32
เอฟ-35บี ไลต์นงิ
34
โบอิง้ ซีเอช-47 ชินกุ
36
อภิธานศัพท์
38
ดัชนี
40
อากาศยาน
เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง
ก่อนจะออกบิน
ความฝันอยากจะบินได้เหมือนนก มีมานานตั้งแต่ รุ่นปู่ย่าตาทวดของเราแล้ว มีหลายคนเคยพยายามน�า ขนนกหรือผืนผ้ามาท�าเป็นปีกติดแขน และกระโดดพุง่ จาก หน้าผาหรือยอดโบสถ์ โบกปีกสะบัดสุดความสามารถ แต่ไม่มี ใครเคยบินได้ หลายต่อหลายคนตกลงมาถึงตาย เราจึงเริม่ คิดได้วา่ ถึงจะมีปกี กล้ามเนือ้ มนุษย์กอ็ อ่ นแอ เกินกว่าจะพยุงร่างให้บินได้ ดังนั้น เครื่องจักรและ เทคโนโลยีจึงเป็นตัวช่วยสานฝันของเราให้เป็นจริง
ทรงแอโรฟอยล์ที่ ผิวด้านบนเป็น สันโคง้
สันโคง้ ของปกี สรา้ ง “แรงยก”
อากาศไหลผ่านปกี เรว็ กวา่ ท�าใหแ้ รงดันต�า่
อากาศดันเข้ามา ผลักไปข้าง ท�าให้เกิด “แรงต้าน” เครื่องยนต์สร้างแรงงข หน้าเกิด “แร ับ”
ยานเหาะ ตกลงมา เพราะ งโ “แร น้มถ่วง”
งโน้มถ่วง แรงขับ และ แรงทั้งสี่คือ แรงยกใหแร้เครื่องบินเคลื่อนที่ แรงต้าน ท�า
นกคือผู้สร้างแรงบันดาลใ จ ให้แก่มนุษย์
ลอยละลิ่ว นิ ทคี่ นกลมุ่ แรกทงิ้ แผน่ ด ้ ว ล าแ ี ม ป ย ้ อ งร อ ส า ว่ เปน็ เวลาก นกลมุ่ นคี้ อื นกั บอลลนู นนั่ เอง พวกเขาลอย
ยไป บนิ สแู่ ผน่ ฟา้ ค วัน แต่ถึงกระนนั้ กล็ อ ้ น ็ เป อ รื งห โม ว ่ ั ช น ็ เป อยู่ได้นาน อ่ มานกั บนิ รุน่ บกุ เบกิ ได ี ต ป ย อ ร้ ้ ั น น ่ า เท ไป ั ด พ น ไดแ้ คท่ ที่ ลี่ ม ผา้ ขึน้ นบั เปน็ เครือ่ งรอ่ ื น ะผ ล ้ แ ไม ่ น แผ าก ะจ ว่า สร้างพาหน นโคง้ ของปกี นกทเี่ รียก ่ ว ส บ แบ น ี ย เล ย โด ง เอ ต ลา� แรกนนั่ ร้างแรงยก พวกเขาสงั เก ส ่ ื อ พ าเ ม l)” oi of er (a ์ ล รง “แอโรฟอย ร เพื่อสร้างสมดุลและแ งไ า ่ ย อ ว ั ต ม ้ งุ อ รื ห ด ิ บ น เห็นว่าปีก าง แต่เมื่อไม่มีพลังงา ท ศ ิ ะท ล แ ว ็ เร ม วา ค ม ุ ที่ใช้ควบค ้าได้ไม่นาน พวกเขาก็ลอยอยู่บนฟ
เครื่องบินออกตัวแล้ว ปี ค.ศ. 1903 พี่น้องตระกูลไรต์จากเดย์ตัน มลรัฐโอไฮโอ
เครือ่ งบนิ ฟลายเยอร์ยุค บุกเบ ขอ งพนี่ อ้ งตระกูลไรตน์ นั้ น�้าหนกั เบา บอบบาง ประณีต ลมพัดนิดกิ เด ย ี แค่ในวันที่อากาศสดใสไร้มรส วก็ลอยไปแล้ว แต่การบินจ�ากัด ุมเท่านั้น
6
ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ติดตั้งเครื่องยนต์เบนซิน ท�าเอง ขนาดเล็ก น�้าหนักเบาที่เครื่องร่อน รุน่ ทดลองอย่างพิถพี ถิ นั เครือ่ งยนต์จะ ท�าให้ใบพัดหมุน เพือ่ สร้างแรงดันไป ข้างหน้าเรียกว่า แรงขับ ปีกของเครื่อง จะบิดตัวเพือ่ บังคับทิศทาง เครือ่ งยนต์ลา� ยาว ทรงชะลูดของทั้งคู่ล�านี้ไม่ ได้แค่ทะยานขึ้น สู่ฟ้า แต่ยังเปิดหน้าประวัติศาสตร์ ยุคใหม่ซึ่งเป็นยุคแห่งการเดินทาง ส�าราญใจ หากแต่แฝงไว้ด้วยอันตราย ยินดีต้อนรับสู่ “ยุคแห่งอากาศยาน”
>>>
อากาศยาน
<<<
อากาศยานทุกล�าที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ ผู้อ่านสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้ที่ www.factsforprojects.com
ฝ่าสมรภูมิรบ
ช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 1 (ค.ศ. 1914–1918) ขนาดเครือ่ งบิน
ใหญ่ขนึ้ แกร่งขึน้ บังคับได้ดงั ใจมากขึน้ และเชือ่ ใจได้ ผูค้ นเริม่ หันมาสนใจการบินและสร้างสถิตกิ ารบินกันมากขึน้ เมือ่ เกิด สงครามโลกครัง้ ที่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) ท�าให้เครือ่ งบินพัฒนา โดยเฉพาะเครื่องยนต์รุ่นใหม่ที่สร้างแรงขับได้มากขึ้น โดย เรียกชือ่ ตามแก๊สร้อนทีร่ ะเบิดออกมาจากท่อด้านหลังว่า ไอพ่น มุมหันเหควบคุมด้วยหางเสือ มุมหมุนควบคุม ด้วยปีกเล็กแก้เอียง
หางเสอื
สงครามโลกคร งั้ ท สปติ ไฟร์ (Suี่ p2 เปน็ ปมแหง่ ความขดั แยง้ ermarine Spit fire) เปน็ ตทวั เอมี่ เี ครอื่ งบนิ อยา่ งซเู ปอรม์ าร นี กของเหตกุ ารณ ค์ รงั้ นี้
ปีกเล็กแก้เอียง พืน้ บังคับปรับระดับ มุมกระดกควบคุมด้วย พืน้ บังคั บปรับระดับ
พืน้ ผิวควบคุมทัง้ สามนีท้ า� ให้ เครือ่ งบินเลีย้ วบนท้องฟ้าได้
ทะยานสู่ อนาคต
เมื่อช่วงเวลาสุขสงบกลับคืนมาสู่โลก
เครื่องบินแอร์บัส เอ380 ซูเปอร์จัมโบ้ เป็นรุ่นที่ทันสมัยและมีขนาดใหญ่ที่สุด ในบรรดาเครื่องบินพาณิชย์
ตร์ คยหยุดนิ่งประวัติศอาส ยป วงการอากาศยานไม่เนก าศตวรรษ อีกร้ ี การบินมีมายาวนา ็นว่อย่างไรกันนะ ข้างหน้าจะเป
อีกครั้ง ในช่วง ค.ศ. 1950-1959 การ บินเชิงพาณิชย์ได้เริ่มต้นขึ้น เครื่องบิน ไอพ่นขนส่งผูโ้ ดยสารขนาดใหญ่เทียวส่ง ผู้คนไปรอบโลกตามงานประชุมธุรกิจ หรือพักร้อนในต่างแดน เครือ่ งบินทางการ ทหารก็วอ่ งไวปราดเปรียวยิง่ ขึน้ พร้อมด้วย เทคโนโลยีกา� บังกายเพือ่ หลบหลีกเรดาร์ และมิสไซล์ตรวจจับความร้อน เครือ่ งบิน บางประเภทบินขึน้ และลงจอดได้ในแนว ดิ่งด้วยใบพัดหมุนแบบเฮลิคอปเตอร์ แล้วคอมพิวเตอร์ก็เข้ามามีบทบาทไม่ ต่างจากสิง่ ของเครือ่ งใช้อนื่ ๆ ระบบ “บิน ด้วยไฟฟ้า” ช่วยให้นกั บินและเครือ่ งบิน ท่องไปโดยไร้กังวล 7
บอลลูน
อันที่จริงบอลลูนไม่ ได้บินแต่มันลอย
ในบอลลูนจะมีอากาศร้อนที่ท�าให้ร้อน ด้วยหัวพ่นไฟ ความร้อนท�าให้อนุภาค ขนาดเล็ก (โมเลกุล) ของอากาศภายใน พืน้ ทีน่ นั้ กระจายตัวออก จึงเหลืออากาศ น้อยลง เมื่ออากาศในบอลลูนเบากว่า ข้างนอก บอลลูนจึงลอยขึ้น นักบิน ควบคุมบอลลูนขึ้นลงได้โดยการปรับ ระดับความแรงของไฟ แต่ทิศทางที่ บอลลูนจะลอยไปนั้นขึ้นอยู่กับกระแส ลมเพียงอย่างเดียว
อนาคตจะเป็นอย่างไร
รู้ไว้ใช่ว่า ผู้ที่เดินทางโดยใช้บอลลูนเป็นคนแรก คือ ปิลาร์ต เดอ โรซิเยร์ และฟรองซัว ลอรองต์ (ขุนนางยศมาควิสแห่งอาร์ ลองด์ ) ปี ค.ศ. 1783 ที่ประเทศ ฝรั่งเศส ทั้งคู่ท่องฟ้าข้ามปารีสเป็น ระยะทางกว่า 9 กิโลเมตร ลอยสูง 25 เมตร โดยมีสองพี่น้อง โจเซฟ และฌาร์ก มงโกลฟิเยร์ เป็นผูป้ ระดิษฐ์ บอลลูนนี้
นักวิทยาศาสตร์ ได้ทดลองติดบอลลูน อัดแก๊สฮีเลียมเข้ากับเป้ประจ�าตัวของ แต่ละคนพร้อมมอเตอร์ ไฟฟ้าและใบพัด โดยหวังว่าผู้คนจะบินไปไหนก็ ได้ตามใจ ปรารถนา
ช่องระบายลม
ลมร้อนระเบิดเข้าสู่บอลลูน กระบอกครอบ หัวพ่นไฟ แก๊สหุงต้ม กลายเป็นแก๊ส ข้างในปล่องนี้
หัวฉีด ท่อเชื้อเพลิง จากกระบอก สูบแก๊ส
คันโยก ควบคุม
ฐานหัวพ่นไฟ
หัวพ่นไฟท�างานอย่างไร
บอลลูนส่วนใหญ่จะมีหัวพ่นไฟที่ใช้แก๊สโพรเพน เป็นเชื้อเพลิง แก๊สนี้จะถูกควบแน่นให้กลายเป็น ของเหลว ของเหลวจะไหลไปตามท่อขดข้างใน กระบอกสูบทีท่ า� จากโลหะไปยังหัวพ่นไฟ ทีท่ อ่ ขด นีจ้ ะมีไฟคอยสุมให้รอ้ น จากนัน้ จะกลายเป็นแก๊ส ฉีดออกจากหัวฉีดมาผสมกับอากาศและติดไฟ 8
า้ ป์ ่าทที่ งุ่ หญ ก ว ั ต ส ิ ต ี ว ู ช ด ทอ่ ง เลือ หากอยากจะารขึ้นบอลลูนชมเป็นตัว แอฟริกา ก ีสา� หรับนักท่องเที่ยว ที่ด
ผ้าบอลลูน ส่วนประกอบหลักของ บอลลูนจะเป็นผ้าหุม้ ภายนอกเนือ้ เหนี ย ว ทนทานที่ เรี ย กว่ า ผ้ า บอลลูน ท�าจากผ้าเป็นเส้นๆ โค้ง มาต่อกัน เรียกว่า ผ้าชายธง เป็น ผ้าทีฉ่ กี ขาดยาก ท�าจากไนลอน คอ บอลลูน คือส่วนทีใ่ กล้กบั หัวพ่นไฟ จะท� า มาจากวั ส ดุ ที่ ท นไฟ เช่ น โนเมกซ์
์ เพิลแมน อดัมส ม เฮ ด ิ ว เด 7 0 0 ิ ปี ค.ศ. 2 ามสูงบันทึกสถิต ว ค ย ว ้ ด า ้ ฟ ่ ู ส น า ทะย นที่ 9.7 กม. ของบอลลูนลมร้อ เชือกถ่ายน�้าหนัก เส้นเชือกแข็งแรงที่ เย็บเป็นตะเข็บระหว่างแถบผ้าบอลลูน ลงมาจนถึงขอบบอลลูน ช่วยกระจาย น�้าหนักตะกร้าโดยสารให้ทั่วผืนผ้า บอลลูน ดูคล้ายกับตาข่ายยักษ์ เรือเหาะรุ่นเก่าใช้แก๊ส ง่าย ปี ค.ศ. 1937 ไฟ ไฮโดรเจนที่น�้าหนักเบามาก แต่ก็ติดไฟ ได้ล ผคู้ นไป 36 ชีวิต นับเปุกท่วมเรือเหาะฮินเดนเบิร์ก คร่าชีวิต ็นการสิ้นสุดยุคสมัยขอ งเรือเหาะ
<<<
อากาศยาน
>>>
มาศึกษาประวัติศาสตร์และล�าดับเหตุการณ์ความเป็นมา ของบอลลูนกันได้ที่ www.factsforprojects.com
ช่องปล่อยลมออก ดึงเชือกปลดแถบผ้าบอลลูนเพื่อเปิดช่อง ระบายอากาศ เมื่อลมร้อนไหลออกไป บอลลูนจะแฟบลง หากลอยอยูบ่ อลลูนก็จะ ลดระดับลงมา
แก๊สฮีเลียม ท�าให้เรือเ
หาะลอยได ้
เรือเหาะยุคใหม่
บอลลูนและเรือเหาะน�า้ หนักเบากว่าเครือ่ งบิน เรือเหาะไม่ได้อัดด้วยลมร้อน แต่ใช้แก๊ส ฮีเลียมทีเ่ บามาก เช่นเดียวกับทีใ่ ช้กบั ลูกโป่ง เรือเหาะจะมีถงุ ปิดผนึกอยูข่ า้ งใน แต่ละถุง บรรจุฮเี ลียมไว้ นอกจากนีย้ งั มีใบพัดเพือ่ ขับ ให้เรือเหาะเคลือ่ นไปข้างหน้า มีหางเสือทีบ่ ดิ ซ้ายขวาให้เลีย้ วได้ หรือเคลือ่ นทีข่ นึ้ ลงได้ และ ยังมีหอ้ งโดยสารขนาดเล็กเรียกว่า กอนโดลา เส้นตัด เชือกทีเ่ ดินตามแถบผ้าบอลลูน และช่องระบายลมยาวลงไปถึงตะกร้า หากดึงออกหนึ่งเส้นก็จะเป็นการปลด แถบผ้าบอลลูนออกจากช่องปล่อยลม หรือเป็นการเปิดช่องระบายอากาศ คอบอลลูน
ปล่องบอลลูน
ปี ค.ศ. 1999 บอลลูนเดินทางรอบโลกโดยไม่หยุดพัก ครั้งแรกโดยเบิร์ตแรนด์ พิกการ์ด และไบรอัน โจนส์ ใช้เวลาเกือบ 20 วัน
หัวพ่นไฟ นักบินจะเปิดหัวพ่นไฟ ท�าให้เกิดลมร้อนข้างในบอลลูน เกิดเป็นเสียงค�ารามลัน่ แต่เมือ่ ปิด หัวพ่นไฟเมือ่ ใด การบินจะเป็นไป อย่างเงียบสงบ
ตะกร้าโดยสาร ตะกร้าสาน ด้วยไม้แบบดัง้ เดิมนี้ แข็งแรง น�้าหนักเบา และราคาถูก ทั้ง ยังช่วยลดแรงกระแทกเวลา แล่นลงจอดอีกด้วย 9
อากาศยาน ภาพประกอบชัดเจนเขาใจงาย • ชำแหละกลไกการทำงานภายใน • ภาพแสดงกลไกสำคัญครบถวน • อธิบายกระจางทุกเรื่องเทคโนโลยีอากาศยาน •
เปดโลกการเรียนรูเ รือ่ งอากาศยานกวาสิบหาชนิดไปพรอมกัน ตัง้ แตเครือ่ งบิน พืน้ ฐานยุคบุกเบิกไปจนถึงเครือ่ งบินทิง้ ระเบิดล้ำสมัย ทุกหนามีภาพอธิบายกลไก การทำงานของชิน้ สวนสำคัญ รวมถึงภาพแสดงการทำงานของระบบตางๆ เริม่ ตัง้ แตเครือ่ งบินบินขึน้ ไดอยางไร เจาะลึกทุกเรือ่ งราวความเปนมาและแนวโนม ในอนาคตของอากาศยานแตละประเภท
ISBN 978-616-527-174-5
9
786165
271745
ราคา 79 บาท