เรือ
และเรือดำน้ำ เจาะลึกทุกซอกทุกมุม
เหลาเรือทำงานอยางไร
เรือ
และเรือด�ำน�้ำ
เรือ
และเรือด�ำน�้ำ เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง แปล : จารุยศ สุวรรณบัตร
ISBN : 978-616-527-173-8
ราคา : 79 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 : มิถุนายน 2554 ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ c MILES KELLY PUBLISHING LTD of The Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex CM7 4SL, England c ลิขสิทธิ์ภาษาไทย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือ เล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไป เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบ ใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง ส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ
บรรณาธิการส�านักพิมพ์ : ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ประสานงานฝ่ายผลิต : อิสรีย์ แจ่มข�า ศิลปกรรม : ภรณีย์ สนองผัน, อัจฉรา ทับทิมงาม, นริศรา ช่อสลิด พิสูจน์อักษร : ศลิษา ลือพงศ์ไพจิตร, ชนาภัทร พรายมี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ : บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด : ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ : บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com
จัดจ�าหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
First published in 2009 by Miles Kelly Publishing Ltd Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex, CM7 4SL Copyright © Miles Kelly Publishing Ltd 2009 This edition printed in 2009 Editorial Director: Belinda Gallagher Art Director: Jo Brewer Design Concept: Simon Lee Volume Design: Rocket Design Cover Designer: Simon Lee Indexer: Gill Lee Production Manager: Elizabeth Brunwin Reprographics: Stephan Davis, Ian Paulyn Consultants: John and Sue Becklake All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system, or transmitted by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder.
ACKNOWLEDGEMENTS All panel artworks by Rocket Design The publishers would like to thank the following sources for the use of their photographs: vel; Corbis: 16 Andy Newman/epa; 18 Atlantide Phototra z owit Lefk er 27 Paul A. Souders; 29 Lest Fotolia: 6 (b) Alexander Rochau; 7 (b) Snowshill; 9 Forgiss; 11 linous; 33 Aaron Kohr Rex Features: 13 Neale Haynes; 15 Stuart Clarke; verett Disney/E 21 Sipa Press; 23; 31 Sipa Press; 37 c.W.nck Photo Library: 7 (c) Bernard van Dierendo ld Science Photo Library: 34 Alexis RosenfeArch ives Kelly s Mile from are All other photographs
www.FactsforprojectS.COM บริเวณขวาด้านบนของทุกหน้าจะมีลงิ ก์ เข้าอินเตอร์เน็ตเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ท่านเข้าไปชมได้ที่ www.factsforpro jects.com ชมภาพ ศึกษาข้อมูลเพิม่ เติม วิดีโอ ร่วมกิจกรรมแสนสนุก และลิงก์ ไปยังเว็บเพิม่ เติมมากมายโดยไม่เสียค่า ใช้จา่ ย ทัง้ หมดนีเ้ ป็นสิทธิข์ องท่าน และ ไม่ควรคัดลอกหรือน�าไปเผยแพร่เพือ่ จุด ประสงค์ทางการค้าเอาก�าไร หากท่านตัดสินใจใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน คอมพิวเตอร์ของท่าน มีข้อมูลที่ท่าน จ�าเป็นต้องรู้ดังนี้ • คอมพิวเตอร์ ไมโครซอฟท์ วินโดว์ XP หรือเวอร์ชั่นล่าสุด หรือแมคอินทอช ปฏิบัติการ OS X หรือเวอร์ชั่นล่าสุด
ปลอดภัยไว้ก่อน เมือ่ ท่านใช้อนิ เตอร์เน็ต โปรดตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าท่านปฏิบัติตามค�าแนะน�า ดังต่อไปนี้ • ขออนุญาตผู้ปกครองก่อนเข้าใช้ • อย่าให้ขอ้ มูลส่วนบุคคล เช่น ชือ่ ทีอ่ ยู่ อีเมลของท่าน • หากเว็บไซต์ให้ท่านเข้าใช้หรือกรอก ข้อมูลโดยใช้ชอื่ หรืออีเมล ให้ปรึกษาผู้ เมื่อลิงก์เข้าไม่ได้ ปกครองก่อน www.factsforprojects.com จะได้รบั • หากท่านได้รบั อีเมลจากคนแปลกหน้า การตรวจสอบเป็นประจ�าเพื่อให้มั่นใจ ให้บอกผูใ้ หญ่และอย่าตอบข้อความ ว่าให้บริการข้อมูลแก่ท่านได้ บางครั้ง นั้นกลับ เว็บไซต์อาจแสดงข้อความว่าไม่ทา� งาน • อย่านัดพบคนทีค่ ยุ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต หากเป็นกรณีนี้ ให้ท่านลองเข้าอีกครั้ง เป็นอันขาด และแรม 512 เมกะไบต์ • บราวเซอร์ เช่น Microsoft®Internet Explorer 7, Firefox 2.X หรือิ Safari 3.X • ต่ออินเตอร์เน็ตผ่านโมเดม (แนะน�า 56 Kbps) หรือบรอดแบนด์ที่เร็วกว่า • บัญชีเข้าใช้อินเตอร์เน็ตของผู้ให้ บริการ (ISP) • การ์ดเสียงเพื่อใช้ฟังเสียง
ส�านักพิมพ์ Miles Kelly ไม่รบั ผิดชอบว่า ข้อมูลในเว็บไซต์ที่นอกเหนือจากของ ทางส�านักพิมพ์จะเหมาะสมหรือถูกต้อง เด็กควรอยูใ่ นความดูแลของผูป้ กครอง ขณะใช้อินเตอร์เน็ต และไม่ควรพูดคุย ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
www.mileskelly.net info@mileskelly.net
สารบั ญ เมือ่ เรือร้างท่า
6
เรือยอชต์
8
เรือแข่งคาตามารัน
10
เจ็ตสกี
12
เรือเร็วเครือ่ งยนต์พว่ งท้าย
14
เรือยนต์นอกชายฝั่ง
16
เรือไฮโดรฟอยล์
18
เรือโฮเวอร์คราฟต์ทางทหาร
20
เรือโฮเวอร์คราฟต์ขนส่งผูโ้ ดยสาร
22
เรือส�าราญ
24
เรือขนส่งสินค้า
26
เรือบรรทุกตูค้ อนเทนเนอร์
28
เรือบรรทุกน�า้ มัน
30
เรือบรรทุกเครือ่ งบิน
32
เรือด�าน�า้
34
เรือใต้นา�้ ลึก
36
อภิธานศัพท์
38
ดัชนี
40
เรือ
และเรือด�ำน�้ำ
เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง
เมื่อเรือร้างทา่
มนุษย์คนแรกนั่งบนต้นไม้ที่โค่นลงลอยไป
ตำมแม่น�้ำ ต่อมำจึงได้น�ำขอนไม้มำมัดต่อกัน เป็นแพ หลังจำกนั้นจึงเริ่มคว้ำนท่อนไม้ ให้ เป็นรูตรงกลำงท�ำเป็นเรือแคนู นับเป็นจุดเริม่ ต้น ปรำกฏกำรณ์ของมนุษยชำติ นับพันปีก่อนที่ จะมีรถหรือเครือ่ งบิน พ่อค้ำทัง้ หลำยขนสินค้ำ ล�ำ้ ค่ำล่องไปตำมแม่นำ�้ หรือแนวชำยฝัง่ ในขณะที่ นักส�ำรวจหลำยต่อหลำยคนเดินทำงเบิกโลก ข้ำมมหำสมุทร ลงหลักปักฐำนยังดินแดนใหม่ เมืองต่ำงๆ ผุดขึ้นตำมแนวชำยฝั่ง สำยน�้ำจึง เป็นเส้นทำงคมนำคมเส้นส�ำคัญนับแต่นั้น 3. เมือ่ น�า้ หนักของนา�้ ทีถ่ กู แทนทีเ่ ท่ากับ น�า้ หนักของเรือ เรือจะลอย
น�า้
เรือ 1. เรือดันน�า้ ไปดา้ นข้าง หรือแทนทีน่ า�้ จ�านวนหนึง่
2. น�า้ ทีถ่ กู แทนทีจ่ ะสร้าง แรงพยุงหรือแรงลอยตวั
จะจมหรือจะลอย อาร์คิมีดิสแห่งยุคกรีกโบราณคือผู้ค้นพบ ความจริงทางวิทยาศาสตร์วา่ เหตุใดเรือจึงลอย วัตถุทถี่ กู ปล่อยลงน�า้ จะดันน�า้ ไปด้านข้างหรือ แทนที่น�้านั่นเอง น�้าจะดันกลับด้วยแรงพยุง เท่ากับน�้าหนักของน�้าที่ถูกแทนที่ไป หาก วัตถุลอยต�่าได้ที่ แรงดันของน�้าที่ถูกแทนที่ ก็จะพอดีกับน�้าหนักของวัตถุนั้น วัตถุก็ จะลอย ซึ่งก้อนหินหนักๆ จมก็เพราะว่า น�า้ หนักของก้อนหินนีม้ ากกว่าน�า้ หนักของ น�้าที่ถูกแทนที่ไปนั่นเอง 6
แบบ นคมุ เรอื ไดค้ รบทกุ รูป ้ า ด อง ส าย ้ พ ม ้ ไ ใช ั ก คนพายเรอื คาย พาย บงั คบั เลยี้ ว และหยดุ เรอื ไมว่ า่ จะเปน็
ไม้พายกับ ใบเรือ หากต้องการล่องเรือไปทีไ่ หนสักแห่ง เราต้องใช้แรงขับเคลือ่ น
สองมือมนุษย์จึงเป็นเสมือนไม้พายเล่มแรกที่จุ่มลงน�้า แขน ครึ่งหนึ่งวิดทวนกระแสน�้า ต่อมาก็มีไม้พายและไม้กรรเชียง ซึ่งมีผิวหน้าตัดที่ใหญ่ขึ้น แต่ก็ยังต้องออกแรงมากอยู่ดี ใบเรือ จึงเริ่มใช้มากว่า 5,000 ปีแล้วเพื่อดักแรงลม ถึงอย่างนั้น ไม้กรรเชียงยังคงจ�าเป็นอยู่ เพราะใบเรือที่ออกแบบมาให้ใช้ เดินทางยามมีลม หรือไม่ก็ต้องใช้วิธีพลิกใบเรือทวนลม ซึ่งยัง ไม่มีในสมัยนั้น จนกระทั่งอีก 4,000 ปีต่อมา
ล�าเรือส สายระ ูงตระหง่านม แบบฉบ โยงระยางต ักมี เป็นที่น ับ ทุกวัน าม ิยมอย่า นี้ยังคง งแพร่ห ลาย
>>>
เรือและเรือด�ำนำ้�
<<<
เรียนรู้และค้นพบเรื่องราวของเรือทุกล�าที่อวดโฉมในหนังสือเล่มนี้ ให้มากขึ้นไปอีกที่ www.factsforprojects.com
ใบจักรชนะเลิศ! เครื่องยนต์ไอน�้าเป็นปัจจัยผลักดันการปฏิวัติอุตสาหก รร
มใน ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 และตน้ ศตวร รษที่ 19 ก็นา� มาใชก้ บั เรือในเวลา ต่อมาไมน่ านนัก เรือกลไฟในช่วงบกุ เบกิ นั ในสมยั นัน้ มาปรบั ใชเ้ ป็นใบจักรเรอื นั น้ น�าระหัดวิดน�า้ ทีน่ ยิ มใช้กนั กปร ออกแบบใบจักรหรือเกลยี วนา�้ ซึง่ น�า ะดษิ ฐ์จา� นวนหนึง่ ไดท้ ดลอง หลกั น�้ามาดัดแปลงใช้ในวิธีกลับกัน ปี ค.ศ เกลยี วของอาร์คมิ ดี สิ ทีใ่ ช้วดิ . 1845 ราชนาวีแห่งอังกฤษน�า เรืออะเลกโตที่ใช้ระหัดวิดน�้ามาแข่ง กับเรื ชิงอย่างใบจักรชนะสบายๆ และนับ อแรตเลอร์ที่ใช้ใบจักร ผู้เข้า ตั้งแต่นั้นใบจักรก็ชนะเลิศ!
เพลาใบจักร หมนุ ใบจกั ร
ตลบั ลูกปืนกันรุน
ใบจกั ร ตลบั ลูกปื นกันน�า้
แรงขับ ใบจกั รหมุนเกลยี วผา่ นนา�้ ไปขา้ งหน้า ดันน�า้ กลับมาด้วยแรงมหาศาล
นายท้ายเรอื อาจเป็นคนคอยคดั ท้ายเรอื ก็จ ริง แต่ เป็นผูม้ อี า� นาจสูงสุดในการออกคา� สัง่ กปั ตัน
เพลาใบพัด เชือ่ มไปยัง เครอื่ งยนต์
ใบจกั รมมุ ด้านขา้ ง
ใหญ่กว่าและเร็วกว่า เรอื ประเภทใหบรม่ๆรทหลกุ น�ายา้ มัล�นาเชพงิ ฒั พานาณมาชิ ย์
เรือยนต์ท่องเที่ยวเป็น น่ เรอื เสมือนโรงแรมส่วนบุคคล ต่อเนอื่ ง เช แต่ช่วง ค.ศ. 1860-1869 ้ง เพียบพร้อมด้วยสิ่งอ�านวย ทีพ่ ัฒนามาตั รื่องบินทางการทหาร และเรือบรรทุกเค ความสะดวกครบครัน 9 เป็นต้น ตั้งแต่ช่วง ค.ศ. 1920-192 าร เรา าก หากจะพูดถึงเรือในเชิงสันทน ่มีเงินถุง ที ก็มีเรือยนต์สุดหรูส�าหรับคน น้อยก็ อย เงินถัง หรือคนที่เบี้ยน้อยห รเดินเรอื กา อาจจะเป็นเจต็ สกแี ละเรอื ใบ งั คับการ อ้ งบ จะสะดวกขนึ้ หากเรือนัน้ มีห ครนั เชน่ รบ พร้อมดว้ ยอปุ กรณร์ นุ่ ใหม่ค วเทียม าศดา เรดาร์ คลนื่ โซนาร์ แผนทอี่ าก และจีพีเอส เรื่อยๆ เนื่องจากน�้ามันแพงขึ้นช้อย่างจริงจัง มาใ เราจึงควรน�าใบเรือกลับก กระแสน�้าซัดสูง มหาสมุทรที่เชี่ยวกรา ยังคงท้าทาย และพายุแปรปรวนจะ รณ์ให้พัฒนา เหล่าชาวเรือผู้ช�านาญกาได้เป็นอย่างดี ยิ่งๆ ขึ้นไปในอนาคต 7
เรือยอชต์
รู้ไว้ใช่ว่า
มำกกว่ำ 5,000 ปีมำแล้ว เรื่องรำว
ทัง้ หมดเริม่ ต้นขึน้ ทีแ่ ม่นำ�้ ไนล์แห่งอียปิ ต์ โบรำณ ผู้คนอำศัยลมให้พัดเรือไป ข้ำงหน้ำ หำกให้ยอ้ นไปไกลกว่ำนัน้ เรำใช้ ไม้พำย กำรล่องเรือย่อมสบำยกว่ำกำร พำยเรือ แต่ก็ ได้แค่เวลำมีลมเท่ำนัน้ เรือ ยอชต์เป็นเรือเพรียวเล็ก น�ำ้ หนักเบำ เรำ ใช้เพือ่ ควำมบันเทิงเริงรมย์ หรือแข่งขัน มำกกว่ำที่จะใช้ขนสัมภำระจ�ำนวนมำก
จนกระทั่งเมื่อ 1,100 ปีที่แล้ว เรือใบจะ มี ใบเรือใหญ่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ ใช้ แรงลมดันเท่ำนัน้ ต่อมำเรำจึงประดิษฐ์ ใบเรือสำมเหลี่ยมตะแคงที่เหวี่ยงไปมำ เพื่อดักแรงลมได้จำกทุกทิศทุกทำง
ใบเรอื นา้ ผนื ห
ใบเรือท�างานอย่างไร
แขนใบจะเป็นตัวขึงใบเรือเพือ่ รับลม เมือ่ ลมปะทะ จะดันเรือไปทัง้ ข้างหน้าและด้านข้างเพียงเล็กน้อย เรือจะไม่เคลือ่ นทีไ่ ปด้านข้างเพราะรูปทรงของล�า เรือและกระดูกงูใหญ่ชว่ ยต้านเอาไว้ ใบเรือจะมี รูปทรงเป็นมุมโค้งเหมือนปีกเครือ่ งบิน ลมจะพัดผ่าน มุมโค้งนีไ้ ด้เร็วกว่าพัดผ่านช่วงล่างของใบ (ดูหน้า 19) เพือ่ ลากเรือไปตามทาง ใบเรือ ลม
ล�าเรือ เรือถูกดัน ไปด้านหน้า
ต้นทุนพลังงำนในปัจจุบนั รำคำแพง แต่ แรงลมนั้นฟรี นักออกแบบเรือก�ำลัง พยำยำมสร้ำงเรือบรรทุกสัมภำระล�ำใหญ่ โดยใช้ทั้งเครื่องยนต์และใบเรือ
เสากระโดงเรือ เสาทีต่ งั้ ตระหง่านนีเ้ รียกว่า เสา กระโดงเรือ มีไว้สา� หรับ ยึดยอดใบเรือและขึงใบ เรือให้ตรงดิง่
ุดในโลกคือ หนึ่งในเรือยอชต์ที่ล�าใหญ่ที่สะโดงเรือ มัลทีสฟาลคอน มีเสากร ใบ ยาว สูงถึง 58 เมตร มีใบเรือ 15 ฟุตบอล 88 เมตร ยาวเท่ากับสนาม เลยทีเดียว
แรงดันลม ท�าให้เรือเอียง ไปด้านข้าง
อนาคตจะเป็นอย่างไร
ปี ค.ศ. 1989 ทอว์น ีพ ล่องเรือข้ามมหาสมุทูพอต อายุ 77 ปี เพียงล�าพัง ใช้เวลารรแอตแลนติก วม 72 วัน ดาดฟา้ เรอื
กระดูกงูชว่ ยต้าน ไม่ ให้ลมผลักเรือ ไปด้านข้าง จึง ท�าให้เรือแล่นไป ด้านหน้าได้ กระดกู งู
8
เรือและเรือด�ำนำ้�
>>>
<<<
เยี่ยมชมหนึ่งในเรือยอชต์ล�าใหญ่และหรูหราตระการตาที่สุดได้ที่ www.factsforprojects.com
ใบเรือ เรือยอชต์บางล�ามี ใบเรือ ใบเดียว บางล�าก็มีถึง 20 ใบหรือ มากกว่านั้น ใบเรือนี้ท�ามาจาก ผ้าใบที่ทนทานมาก ไม่ฉีกขาด หรืออาจจะเป็นเส้นใยธรรมชาติ เช่น ฝ้ายหรือป่าน (ลินิน) หรือ เส้นใยสังเคราะห์ เช่น ไนลอน และโพลีเอสเตอร์ เป็นต้น แขนใบ ไม้หรือท่อแขน ใบนีจ้ ะเชือ่ มติดกับบริเวณ ปลายใบเรือด้านล่าง แขน ใบสามารถหมุนไปรอบๆ ตามทิศทีล่ มพัดได้ ใบเรอื หลกั
เรือที่มีใบเรือใหญ่ที่สุด ต้องยกให้ คลิปเปอร์ ” ที่ขนใบชาและเครื่องเทศ จากเอเชียตะวันออกไปยัง ยุโรปและอเมริกาเหนือ เรือคัตตีซาร์กออกจากท่า ครั้งแรกปี ค.ศ. 1869 มี ใบเรือถึง 30 ใบ ขนาด พื้นที่รวมทั้งสิ้น 3,000 ตารางเมตร ใหญ่กว่า สนามเทนนิส 10 สนาม รวมกันเสียอีก
สายระยาง เชือกชนิด ต่างๆ จะช่วยขึงเสา กระโดงเรือ (สายตรึง) และขยับใบเรือ (สาย เคลือ่ น) สายระยางนี้ จะท�ามาจากเส้นใยที่ แข็งแรง เรียบลืน่ และ เป็นเชือกพวน
นกั เลน่ วนิ ดเ์ ซริ ฟ์ เร ไดถ้ งึ 90 กม./ง่ ความเรว็ ชม.
การแล่นเรือใบ โครงเรือและผนังผนึกน�า้ โครงรูปตัว ยูชว่ ยให้ลา� เรือ (ตัวถังหลักของเรือ) แกร่งและคงรูปเอาไว้ ได้ โดยมีรเู พือ่ รักษาน�้าหนักเรือ ผนังผนึกน�้าจะ เป็นเหมือนฝาก�าแพงแบ่งล�าเรือให้ เป็นห้องๆ
ปี ค.ศ. 1948 นิวแมน ดาร์บี ประดิษฐ์กระดาน โต้คลืน่ ขึน้ มา โดยการตรึงใบเรือและเสากระโดง ไว้ด้วยข้อต่อหมุนได้ที่เชื่อมกับเรือท้องแบน ขนาดเล็ก ผูข้ บั จะยึดแขนใบทัง้ สองไว้และบิด ใบเรือให้เอียงรับลม ผู้แล่นเรือจะโน้มตัวไป ตามกระดาน และคอยเอนหลังกลับมา เพื่อ ไม่ ให้กระดานหงายท้อง 9
เรือ แข่งคาตามารัน คำตำมำรัน คือเรือใบที่มีล�ำเรือ 2 ล�ำ
ขนำดเท่ำๆ กัน มักได้เปรียบเรือท้องเดีย่ ว ปกติทั่วไป เช่น ตัวเรือกว้ำงกว่ำมำกจน ท�ำให้คว�่ำยำก ส่วนของล�ำเรือจะเรียกว่ำ “วำกำส (vakas)” ซึง่ วำกำสนีจ้ ะมีดำดฟ้ำ เรือหนึ่งแห่งหรือมำกกว่ำหนึ่งเรียกว่ำ “อำกำส (akas)” เป็นตัวเชื่อมล�ำเรือและ เป็นทีต่ งั้ ของเสำกระโดง คำตำมำรันใช้งำน กันในแถบเอเชียใต้มำร่วมศตวรรษแล้ว แต่เริ่มเป็นที่ยอมรับให้เป็นกำรแข่งขัน อย่ำงเป็นทำงกำรในช่วง ค.ศ. 19701979 นี้เอง
รู้ไว้ใช่ว่า
ช่วง ค.ศ. 1690-1699 โจรสลัดมือสมัครเล่น อย่ำง วิลเลียม แดมเปียร์ ได้แถลงวิธกี ำรท�ำเรือ แคนูสองชั้นที่อ่ำวเบงกอล มหำสมุทรอินเดีย แต่ช่ำงสร้ำงเรือก็ ไม่ ได้น�ำแบบที่เขำกล่ำวมำใช้ จนกระทั่ง นำธำเนียล เฮอร์เรสชอฟฟ์ สร้ำง เจ้ำคำตำมำรันขึ้นในปี ค.ศ. 1876-1877
ตามารันขนาดใหญ่ คา 9 97 -1 70 19 ศ. ค. ง ว ่ ่ ช ตั้งแต ่นิยมในฐานะเรือเร็ว ่ทีติดตั้งเครื่องยนต์กลายเป็นที าหนะแม้แต่รถบรรทุก ยานพ ข้ามฟากส�าหรับพาผู้คนและมทะเลคึกคะนองได้นุ่มนวล ขนาดใหญ่ๆ แล่นเรือในยา เรือไฮโดรฟอยล์ และปลอดภัยกว่า
ใบเรือ คาตามารันจะ มีใบเรือทีใ่ หญ่กว่าเรือ ท้องเดี่ยว เพราะว่า ทรงตัวบนน�า้ ได้เสถียร กว่า
แขนใบ
ท้องเรือเดี่ยวและท้องเรือ คู่ท�างานอย่างไร เรือท้องเดีย่ วอาจจะคว�า่ ได้หากเราบรรทุกสัมภาระ มากและมีเสากระโดงเรือสูงเกินไป เรือท้องเดีย่ วทีม่ ี กระดูกงูเรือยาวจะทรงตัวได้ดกี ว่า เพราะกระดูกงูนี้ จะช่วยถ่ายน�า้ หนักลงไปด้านล่าง ด้านบนจึงคว�า่ ยาก ขึน้ คาตามารันและไตรมารัน (เรือทีม่ สี ามท้อง) จะ มีฐานทีก่ ว้างกว่า ดาดฟ้าเรือใหญ่กว่าเพือ่ บรรทุก ลูกเรือ ผูโ้ ดยสาร และอุปกรณ์ตา่ งๆ เรือท้องเดีย่ ว
เรือท้องเดีย่ วทีม่ กี ระดูกงูยาว
เรือสามท้องไตรมารัน
ราวจบั
ท้ายเรือ บริเวณนี้ เป็ น ส่ ว นหลั ง หรื อ ท้ า ยสุ ด ของเรื อ มั ก จะมี ห างเสื อ ติ ด ไว้ เพื่อใช้คัดท้าย
พวงมาลยั
หางเส อื
เรือท้องคูค่ าตามารัน
กระดู ก งู จะช่ ว ยต้ า นแรงดั น ที่ ผลักเรือไปด้านข้าง ช่วยท�าให้เรือ เคลือ่ นทีไ่ ปข้างหน้าได้ 10
เรือและเรือด�ำนำ้�
>>>
<<<
ภาพบันทึกการแข่งขันคาตามารันอันเร้าใจรอให้คุณเข้าไปชมที่ www.factsforprojects.com
เสากระโดงเรืออัลลอย เสากระโดง ท�ามาจากอัลลอย หรือส่วนผสม ของโลหะและสสารอืน่ ๆ มักเป็น อะลูมเิ นียม เป็นท่อกลวงเบาและ แข็งแรงกว่าแท่งโลหะ
หนึ่งในเรือคาต คือ เฮมิสเฟียร์ ามารันรุ่นใหม่และใหญ่ที่สุด ย เสากระโดงสูง 52 าว 44 เมตร หนัก 500 ตัน 12 คน ด้วยความ เมตร บรรทุกผู้โดยสารได้ ห แคริบเบียน พร้อมรูหรามีระดับแล่นไปรอบทะเล ด้วยลูกเรือ 8 ค นค อยบริการ
กเกิดขึ้นปี ค.ศ. 2004 โล ใน ด ุ ส ่ ที ว ร็ เ ่ ี บท วจ ย ดี ดเ รว การล่องเรือ ย่างสตีฟ ฟอสเสต พร้อม นอ นา า ต� บ ดั ระ ย ั ภ จญ ผ ก ั วัน โดยน รันนาม เชเยน ใช้เวลา 58 มา ตา คา อ ื เร ใน คน 12 อ ื ลูกเร สถิติก็ถูกท�าลายลงโดยบรูโน กับอีก 9 ชั่วโมง แต่ปีต่อมา ใช้เวลา 50 วัน 16 ชั่วโมง เพย์รอน ด้วยเรือออเรนจ์ 2
นั โดย การแข่งเรอื คาตามารกเ กอร์ เน น ใชใ้ บเรือแบบสปิ
เรือสปินเนกเกอร์ คืออะไร
ท้องเรือน�า้ หนักเบา คาตามารันรุน่ ใหม่จะมีลา� เรือ ที่ท�าจากวัสดุน�้าหนักเบาแต่แข็งแรง เช่น ไฟเบอร์ กลาสหรือคาร์บอนไฟเบอร์คอมโพสิต เป็นต้น
หัวเรือ จุดนีเ้ ป็นส่วนหน้า โดยปลายหัวเรือจะแหลม และเพรี ย วลมเพื่ อ ให้ แหวกว่ายไปตามสายน�้า ได้งา่ ย
เรือสปินเนกเกอร์เป็นเรือใบขนาดใหญ่ ที่ใบเรือโป่งออกมาจนดูเหมือนบอลลูน ท�างานเช่นเดียวกับเรือใบปกติเมือ่ เคลือ่ นที่ ไปตามทิศทางลม แต่กม็ จี ดุ ทีต่ า่ งกับเรือใบ ทั่วไปตรงที่เรือสปินเนกเกอร์แล่นต้านลม ไม่ได้ นักแข่งจะต้องกางใบเรือตามทิศทาง ลม จากนั้นจึงจะพับใบเก็บ และใช้ใบเรือ ปกติเพื่อเดินทางต้านลมต่อไป 11
เจ็ตสกี เรือส่วนบุคคล
(PWC-Personal watercraft) มักเรียกกันว่ำ “เจ็ตสกี” หรือ “จักรยำนน�ำ้ ” เป็นลูกผสมระหว่ำง จักรยำนยนต์และเรือเร็ว โดยใช้น�้ำที่ “พุ่ง” ออกมำเป็นตัวขับเคลื่อน ท�ำให้ ท้องเรือไสไปบนผิวน�้ำ เจ็ตสกีมี ไว้เพื่อ ควำมบันเทิง แข่งขัน และขับขี่ผำดโผน แต่ถึงกระนั้นก็เป็นประโยชน์มำกเวลำ ฉุกเฉิน เช่น ช่วยคนที่ถูกคลื่นซัดออก ไปนอกชำยฝั่ง เป็นต้น
รู้ไว้ใช่ว่า เจ็ตสกีล�ำแรกประดิษฐ์ขึ้นโดยพนักงำน ธนำคำรและนักขับขี่จักรยำนยนต์ วิบำก ไฟแรงนำม เคลย์ตัน จำคอบสัน ในช่วง ค.ศ. 1970-1979 โดยได้บริษทั คำวำซำกิ บริษัทผู้ผลิตจักรยำนยนต์เจ้ำควำมเร็ว และทรงพลังมำรับหน้ำที่ผลิตอีกด้วย
เดอ มาริกชาลา (Count ปี ค.ศ. 2002 เคาท์อัลบาโร ชายของกษัตริย์แห่งสเปน าน Alvaro de Marichalar) หล สกี 12 ชม./วัน เดินทางจาก ต ใช้เวลา 4 เดือน โดยขับขี่เจ็ ามทะเลเมดิเตอเรเนียนไปยัง เมืองโรม ประเทศอิตาลี ข้ มมหาสมุทรแอตแลนติก มุ่งสู่ ช่องแคบยิบรอลตา แล้วจึงข้า ิกา ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ใช้ ไมอามี ประเทศสหรัฐอเมร เดียวเท่านั้น เจ็ตสกีเพียงล�า คันบังคับ
เครือ่ งยนต์
เปลือกแฟริงหนา้
เพลาขับ ระหัด
น�า้ ถูกดูด เข้าไปทางช่อง
ท่อระบาย
น�า้ จะถูกดันออกมาจากหัวฉีด อย่างเร็ว ดันให้เจ็ตสกี ไปข้างหน้า
ขดู ไมก้ นั
เครื่องพ่นนา้� ท�างาน อย่างไร
เครือ่ งยนต์ เจ็ตสกีบางล�าจะใช้ เครื่องยนต์เบนซินสี่จังหวะ บ้างใช้แบบสองจังหวะ (ดูหน้า ระหัดจะดูดน�้าจากใต้ท้องเรือเข้ามาและใช้ 14) เครือ่ งยนต์จะติดตัง้ ต�า่ เพือ่ แรงดันสูงอัดน�า้ ให้ออกไปทางหัวฉีดด้านหลัง ให้ตวั เรือทรงตัวดีขนึ้ ไม่ทา� ให้ แรงน�า้ ทีถ่ กู อัดจะพวยพุง่ ออกมาทางด้านหลัง เรือคว�่า ดันให้เรือไปข้างหน้า หัวฉีดจะมีสายเคเบิลเชือ่ ม กับคันบังคับ เมือ่ หักคันบังคับไปทางซ้ายหัวฉีด ก็จะหันไปทางซ้าย ผูข้ บั ขีย่ งั คุมเจ็ตสกีดว้ ยการ “โน้มตัว” เหมือนอย่างจักรยานยนต์ได้อกี ด้วย ท้องเรอื 12
อนาคตจะเป็นอย่างไร
เจ็ตสกีบำงล�ำจะมีรม่ ชูชพ ี ขนำดเล็กติด อยู่ เพื่อให้ผู้ขับขี่ซิ่งทะยำนสู่ยอดคลื่น และกระตุกร่มชูชีพให้เรือลอยกลับลง มำ จำกนั้นม้วนร่มเก็บ แล้วเริ่มสู้คลื่น อีกสักตั้ง!
เรือ
และเรือดำน้ำ ภาพประกอบชัดเจนเขาใจงาย • ชำแหละกลไกการทำงานภายใน • ภาพแสดงกลไกสำคัญครบถวน • อธิบายกระจางทุกเรื่องยนตรกรรม •
เปดโลกการเรียนรูเ รือ่ งระบบการทำงานของเรือสิบหาชนิด ไปพรอมกัน ตัง้ แตเรือแขงคาตามารันไปจนถึงเรือดำน้ำใตทะเลลึก ทุกหนามีภาพอธิบายกลไกการทำงานของชิ้นสวนสำคัญ รวมถึงภาพ แสดงการทำงานของระบบตางๆ เริม่ ตัง้ แตเรือนัน้ ลอยไดอยางไร ทุกหัวขอ เจาะลึกเรือ่ งราวความเปนมาและแนวโนมในอนาคตของเรือทุกรูปแบบ อีกทั้งยังมีลิงคเว็บไซตเขาสูโลกการเรียนรูที่นาตื่นตาตื่นใจ หาขอมูล เพิม่ เติมในเรือ่ งทีส่ นใจได ไรขดี จำกัด
ISBN 978-616-527-173-8
9
786165
271738
ราคา 90 บาท