How it works รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน

Page 1

รถยนต์ รถกระบะ และจกั รยาน

เจาะลึกทุกซอกทุกมุม

รถยนตบนถนนทำงานกันอยางไร



รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน


รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง แปล : จารุยศ สุวรรณบัตร

ISBN : 978-616-527-172-1

ราคา : 79 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 : มิถุนายน 2554 ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ c MILES KELLY PUBLISHING LTD of The Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex CM7 4SL, England c ลิขสิทธิ์ภาษาไทย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือ เล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไป เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบ ใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง ส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ

บรรณาธิการส�านักพิมพ์ : ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ประสานงานฝ่ายผลิต : อิสรีย์ แจ่มข�า ศิลปกรรม : ภรณีย์ สนองผัน, อัจฉรา ทับทิมงาม, นริศรา ช่อสลิด พิสูจน์อักษร : ศลิษา ลือพงศ์ไพจิตร, ชนาภัทร พรายมี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ : บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด : ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ : บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�าหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


First published in 2009 by Miles Kelly Publishing Ltd Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex, CM7 4SL Copyright © Miles Kelly Publishing Ltd 2009 This edition printed in 2009 Editorial Director: Belinda Gallagher Art Director: Jo Brewer Design Concept: Simon Lee Volume Design: Rocket Design Cover Designer: Simon Lee Indexer: Gill Lee Production Manager: Elizabeth Brunwin Reprographics: Stephan Davis, Ian Paulyn Consultants: John and Sue Becklake All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system, or transmitted by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder.

All panel artworks by Rocket Design The publishers would like to thank the following sources for the use of their photographs: Alamy: 17 DBURKE; 29 Motoring Picture Library Corbis: 7 (b) Clifford White; 11 Mike King; SMI; 21 Diego Azubella/epa; 23 Chris Williams/Icon/ SMI; 25 Transtock; 26 Walter G. Arce/ASP Inc.Icon 35 Thinkstock; 36 George Hall Fotolia: 15 Sculpies – Fotolia.com Getty Images: 30 Tim Graham; 33 James Balog Rex Features: 7 (c) The Travel Library; 9; 13 KPA/Zama; 19 Motor Audi Car CONGRESS; Science Photo Library: 6 (t) LIBRARY OF Arch ives Kelly s Mile All other photographs are from

www.FactsforprojectS.COM บริเวณขวาด้านบนของทุกหน้าจะมีลงิ ก์ เข้าอินเตอร์เน็ตเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ท่านเข้าไปชมได้ที่ www.factsforpro jects.com ชมภาพ ศึกษาข้อมูลเพิม่ เติม วิดีโอ ร่วมกิจกรรมแสนสนุก และลิงก์ ไปยังเว็บเพิม่ เติมมากมายโดยไม่เสียค่า ใช้จา่ ย ทัง้ หมดนีเ้ ป็นสิทธิข์ องท่าน และ ไม่ควรคัดลอกหรือน�าไปเผยแพร่เพือ่ จุด ประสงค์ทางการค้าเอาก�าไร หากท่านตัดสินใจใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน คอมพิวเตอร์ของท่าน มีข้อมูลที่ท่าน จ�าเป็นต้องรู้ดังนี้ • คอมพิวเตอร์ ไมโครซอฟท์ วินโดว์ XP หรือเวอร์ชั่นล่าสุด หรือแมคอินทอช ปฏิบัติการ OS X หรือเวอร์ชั่นล่าสุด

ปลอดภัยไว้ก่อน เมือ่ ท่านใช้อนิ เตอร์เน็ต โปรดตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าท่านปฏิบัติตามค�าแนะน�า ดังต่อไปนี้ • ขออนุญาตผู้ปกครองก่อนเข้าใช้ • อย่าให้ขอ้ มูลส่วนบุคคล เช่น ชือ่ ทีอ่ ยู่ อีเมลของท่าน • หากเว็บไซต์ให้ท่านเข้าใช้หรือกรอก ข้อมูลโดยใช้ชอื่ หรืออีเมล ให้ปรึกษาผู้ เมื่อลิงก์เข้าไม่ได้ ปกครองก่อน www.factsforprojects.com จะได้รบั • หากท่านได้รบั อีเมลจากคนแปลกหน้า การตรวจสอบเป็นประจ�าเพื่อให้มั่นใจ ให้บอกผูใ้ หญ่และอย่าตอบข้อความ ว่าให้บริการข้อมูลแก่ท่านได้ บางครั้ง นั้นกลับ เว็บไซต์อาจแสดงข้อความว่าไม่ทา� งาน • อย่านัดพบคนทีค่ ยุ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต หากเป็นกรณีนี้ ให้ท่านลองเข้าอีกครั้ง เป็นอันขาด และแรม 512 เมกะไบต์ • บราวเซอร์ เช่น Microsoft®Internet Explorer 7, Firefox 2.X หรือิ Safari 3.X • ต่ออินเตอร์เน็ตผ่านโมเดม (แนะน�า 56 Kbps) หรือบรอดแบนด์ที่เร็วกว่า • บัญชีเข้าใช้อินเตอร์เน็ตของผู้ให้ บริการ (ISP) • การ์ดเสียงเพื่อใช้ฟังเสียง

ส�านักพิมพ์ Miles Kelly ไม่รบั ผิดชอบว่า ข้อมูลในเว็บไซต์ที่นอกเหนือจากของ ทางส�านักพิมพ์จะเหมาะสมหรือถูกต้อง เด็กควรอยูใ่ นความดูแลของผูป้ กครอง ขณะใช้อินเตอร์เน็ต และไม่ควรพูดคุย ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

www.mileskelly.net info@mileskelly.net


สารบั ญ แรกเริ่มเรื่องรถ

6

จักรยานเสือภูเขา

8

จักรยานเสือหมอบ

10

จักรยานยนต์ท่องเที่ยว

12

จักรยานยนต์ซูเปอร์ไบค์

14

รถเก๋ง

16

รถยนต์ซูเปอร์สปอร์ต

18

รถแข่งฟอร์มูล่าวัน

20

รถแดรกสเตอร์

22

รถยนต์ออฟโรด ขับเคลื่อนสี่ล้อ

24

รถแข่งแรลลี

26

รถกระบะ

28

รถขนส่งมวลชน

30

รถพ่วง

32

รถลาก

34

รถดับเพลิง

36

อภิธานศัพท์

38

ดัชนี

40


รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน

เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง


แรกเริ่มเรื่องรถ

มนุษย์ประดิษฐ์ลอ้ มาใช้รว่ ม 6,000 ปีมาแล้วในแถบ

จักรยานล้อโต ช่วง ค.ศ. 187 0-1879 ติดคั ยียบไว้ที่ล ้อหน้า ใช้ระบบปั่นโดยตรงไม่ ใช้นโเห ซ่

เอเชียตะวันตก แรกเริ่มนั้นล้อถูกน�ามาใช้เป็นแป้นหมุน ส�าหรับขึน้ รูปเครือ่ งปัน้ ดินเผาเท่านัน้ เมือ่ 3,500 ปีทแี่ ล้ว มนุษย์น�าล้อมาใช้กับเกวียนและรถศึกที่เทียมด้วยม้า วัว หรือแรงงานทาส ต้องใช้เวลาอีกกว่า 3,300 ปี ทีเดียวในการประดิษฐ์พาหนะติดล้อที่ ใช้เครื่องยนต์ ซึ่ง ก่อนหน้านัน้ จักรยานก็ ได้ถอื ก�าเนิดขึ้นแล้ว รุน่ นี้ยงั ไม่มี คันเหยียบ เราต้องเอาเท้าไสรถไปกับพื้น ต่อมารถส่วน บุคคลจึงเริม่ เข้ามา ตัง้ แต่นนั้ เราก็มงุ่ หน้าอย่างเดียวไม่ เหลียวหลังกลับ ยกเว้นเราจะอยากรู้ว่าใครตามเรามา

ยขึ้น หรือ เกียร์จักรยานช่วยให้เราปั่นได้ง่าเท่ านั้น ง ่ นึ งห า ่ ไม่ก็เร็วขึ้นอย่างใดอย จานโซ่สีแดง หมุน 1 รอบ เกียร์สีเขียว จานโซ่ สีเขียวจะหมุน 2 รอบ

เกียร์สีส้ม จานโซ่สีส้ม จานเล็กจะหมุน 3 รอบ

ตะเกียบหลัง

คันเหยียบ

สลับตำแหน่งโซ่ ระหว่างจานโซ่ที่ติด ไว้กับล้อหลังได้

บนถนนมีอะไร ต์ จักรยานถีบ รถติดศตเควรรื่อรษงยทีนต่ 19์และพาจัหนกรยะสาน่วนใยนหญ่

ปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อปลาย เป็นถนนลูกรัง เป็นหลุม ยังคงลากด้วยแรงงานสัตว์ ถนนก็ยัง หรอื ไฟฟ้า และสว่ น อนา�้ เปน็ บ่อ รถยนต์ยคุ แรกๆ ใช้พลังงานไ ใหญ่ยังเป็นรถเทียมม้าที่ผลิตด้วยมือ

ผลิตเอาไว้ ได้ ใช้ถ้วนหน้า ในปี ค.ศ. 1908 บริษัทฟอร์ดมอเตอร์ของ

สหรัฐอเมริกาได้เปิดตัวสายการผลิตแบบต่อเนื่อง ที่ท�าให้ผลิตรถยนต์แบบเดียวกันได้ทีละมากๆ โดยประกอบจากชิ้นส่วนส�าเร็จรูป นับแต่นั้นราคา รถยนต์ก็ถูกลง ผู้คนก็ต้องการซื้อมากขึ้น ก่อนช่วง ค.ศ. 1950-1959 รถบางคันยังมีขนาดใหญ่ บุหนัง และชุบโครเมียมเป็นมันวาว การผลิตรถจ�านวนมาก เริ่มจริงจังในช่วง ค.ศ. 1960-1969 ต้นทุน การผลิตรถถูกลง อย่างรถวีดบั เบิลยูบเี ทิล (VW Beetle) หรือรถมินิ (Mini) 6

รถมินิของอังกฤษไม่เพียงแต่มีขนาดเล็กเท่านั้น แต่ยังเป็นแฟชั่นและสัญลักษณ์ในช่วง ค.ศ. 1960-1969


>>> รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน <<< ข้อมูลพาหนะต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ www factsforprojects com

พวงมาลัย

ก้าวไปไม่หยุดยั้ง

แกนพวงมาลัย เฟืองบรรทัด

เมื่อพาหนะบนท้องถนนมีประสทิ ธิภาพและนา่ เชือ่ ถือมากขึ้น

เฟืองเฉียง เหล็กหัวต่อ รางรถ ล้อหน้า

การหมุนพวงมาลัยทำให้ เฟืองบรรทัดเคลื่อนที่ตามไป ทางซ้ายหรือขวา ก้านคันส่ง ล้อหน้า กลไกบังคับล้อแทบจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย ร่วมศตวรรษแล้ว

ยนตรกรรมใหม่ๆ ได้ถือก�าเนิดขึ้น ทุกวันนี้เราจึงมีรถบร รทุกขน สินค้าขนาดยักษ์ รถฉกุ เฉิน เช่น รถดบั เพลงิ หรือรถลาก รถส ะเทนิ น�า้ สะเทนิ บก และรถกระบะส�าหรับขนของแทบทกุ ประเภท รถมเี กียร์ หลายระดับ เบรกดีขึ้น สมรรถนะเครื่องยนต์ทนทานขึ ้น ระบบ กันสะเทอื นนุ่มขึ้น ทั้งหมดนี้เพื่อท�าให้ยานยนต์ทรงส มรรถนะ และขับขี่ได้สบาย ไม่ว่าจะขับรถแล่นฉิวไปห้างสรรพส ินค้า กับครอบครัว ขี่จักรยานหกคะเมนตีลังกา ก้าวขึ้นรถโ รงเรียน หรือขับช้าๆ ไปตามถนนทสี่ ดุ แสนจะโล่ง ยานยนตบ์ นท้ องถน พัวพันอยูก่ บั ชีวติ ประจ�าวันของเราอย่างแยกไมอ่ อกเลยท น เี ดียว

การแข่งขันเริ่มขึ้นแล้ว!

รูปแบบการเดินทางใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นว่าคนเรา

ชอบไปถึงทีห่ มายก่อนคนอืน่ การแข่งขันจักรยานและกีฬาแข่งรถ จึงได้รับความนิยมจากแรลลีสู่สนามแข่งขัน จนไปถึงแข่งรถ แดรกสเตอร์ การแข่งขันฟอร์มลู า่ วันทุกวันนีม้ สี ดุ ยอดรถความเร็วสูง ราคาร่วมสิบล้านบาทมาซิ่งแข่งกันโดยมีผู้ชมมากที่สุดในโลก

รถพ่วงขนาดมหึมาน�ามาใช้ในการขนส่งสินค้าข้าม ดินแดนเวิ้งว้างของออสเตรเลีย

รถยนต์ตา่ งๆ มีประวตั คิ วามเปน็ มายา วนานร่วมศตวรรษ แต ่ เ มื่ อ เชื้ อ เพ ลิ ง ซา กดึ ก ด� า บร รพ ์ เ ริ ่ ม สภาวะโลกร้อนที่ทวีตัวขึ้นเรื่อยๆ เรา ร่ อ ยห รอ แล ะ จะใช้ชีวิตโดยไม่มี พาหนะเหล่านีไ้ ด้หรือไม่

ผู้ชมมากกว่าหกร้อยล้านคน เฝ้าชมการแข่งขันฟอร์มูล่าวัน ทางโทรทัศน์ 7


จักรยานเสือภูเขา รูปทรงของจักรยานแทบจะไม่เปลีย่ น

เลยร่วมกว่าร้อยปีแล้ว เราประกอบ จักรยานโดยใช้ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ง่ายๆ อย่างคันบังคับ ล้อและแกนล้อ ลูกรอก เกียร์ และสปริง เป็นต้น จักรยาน ยังท�าให้ผู้ปั่นได้ออกก�าลังกาย รักษา สุขภาพอีกต่างหาก เพราะจักรยานไม่มี เครื่องยนต์และไม่มีควันจากท่อไอเสีย ไม่สร้างมลพิษ จักรยานจึงถือเป็นมิตร ที่แสนดีกับสิ่งแวดล้อมเสมอ

จักรยานคันแรกพัฒนาขึ้นในประเทศ คาดการณ์ว่าจักรยานไฟฟ้าจะเป็นที่นิยม เยอรมนี แ ละฝรั่ ง เศสช่ ว ง ค.ศ. มากขึ้ น อี ก หลายเท่ า มี ห ลั ง คาใสคล้ า ย ฟองสบู่ติดตั้งไว้เพื่อกันฝน 1810 -1819 แต่ ไม่มคี นั เหยียบ ผูข้ ี่ จะต้ อ งไสเท้ า ไปกั บ พื้ น เพื่ อ ให้ ร ถ เคลื่อนไป สปริงกันสะเทือน เวลาที่ ล้อหลังกระแทก โครงล้อ จะยกตัวขึ้นและบิดสปริง ขนาดใหญ่ นี้ เ พื่ อ ลดแรง มือเปลีย่ นเกียร์ อุปกรณ์ กระแทก ทีเ่ รียกว่า ตัวสับ จะเลือ่ น โซ่ไปด้านข้างจากจานโซ่ หนึง่ ไปอีกจานหนึง่ เพือ่ ชุดตีนผี เปลี่ยนเกียร์

การแข่งขันจักรยานเสือภูเขากลายเป็น กีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการเมื่อ ปี ค.ศ. 1996 ร้อยปีให้หลังจากการ แข่งขันจักรยานแบบปกติ จานโซ่สีเขียวขนาด กลางหมุน 2 รอบ (เกียร์ต่ำ)

ตะเกียบหลัง

อนาคตจะเป็นอย่างไร

รู้ไว้ใช่ว่า

จานโซ่สีแดง หมุน 1 รอบ คันเหยียบ

จานโซ่สีส้มขนาด เล็กหมุน 3 รอบ (เกียร์สูง)

จานโซ่ถูกเชื่อมติดกับล้อหลัง สลับตำแหน่งโซ่ระหว่าง จานโซ่ที่ติดไว้กับล้อหลังได้

โซ่ และจานเกยี ร์ทำ� งำนอย่ำงไร

จานโซ่ลอ้ หลังจักรยานนัน้ มีจา� นวนซีเ่ ฟืองไม่เท่ากัน ถ้า เป็นเกียร์ตา�่ เวลาทีจ่ านโซ่ดา้ นหน้า (เชือ่ มติดกับคันเหยียบ) หมุน 1 รอบจะเท่ากับจานโซ่ล้อหลัง (เชื่อมกับล้อรถ) หมุน 2 รอบ เราจะไปได้ไม่ไกลมากเวลาปัน่ จานโซ่หน้า 1 รอบ แต่จะปั่นได้ง่ายขึ้น ถ้าเกียร์สูง โซ่จะเลื่อนไปอยู่ ที่จานโซ่จานเล็ก หากจานโซ่หน้าหมุน 1 รอบ จานโซ่ เล็กจะหมุน 3 รอบ ดังนั้น เราก็จะไปได้ไกลขึ้น แต่ปั่น ยากขึ้นเช่นกัน เราเปลี่ยนเกียร์เพื่อให้ปั่นด้วยแรงและ ความเร็วคงที่ โดยเลือกปรับระดับที่เหมาะกับตัวเรา

8

สายเคเบิลเกียร์ โซ่จักรยาน

ชุดจานสับ

คันเหยียบ คันเหยียบจะเป็นตัวหมุน จานโซ่ที่มีฟันเฟืองกินเข้าไปพอดีกับ ช่องว่างของลูกโซ่ ท�าให้ไม่ลื่นหลุดเวลา หมุนจานโซ่ด้านหลัง


>>> รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน <<< มาเรียนรู้การใช้เกียร์เพิ่มเติมกันได้ที่ www factsforprojects com

ลิมปิก จอห์น ึง อ โ ่ น ั ป ก ั น 5 8 19 ถ ปี ค.ศ. ยปัน่ จักรยานเร็ว ลัง ด โ ก ล โ ิ ต ิ ถ ส ง า ้ ร ห ่ ู ย โฮเวิร์ด ส โดยให้จักรยานอติดอยู่ ่ น ั ป า เข . ม ช ./ ึ่ง 245 กม วยขนาดใหญ่ ซวิธีนี้ช่วย ร ก ง ร ท ม ล ง ั บ ก จ กระ มเร็วสูงข้างหน้า ีเดียว า ว ค ย ว ้ ด ง ่ ิ ่ ี ว ท ถ ร กับ ้เขาได้มากท ลดแรงต้านลมให

มือเปลีย่ นเกียร์ คันโยก บนแฮนด์จกั รยานนีจ้ ะมี สายเคเบิลเชื่อมต่อกับ มือเปลีย่ นเกียร์ ปกติฝง่ั ซ้ายจะเปลีย่ นเกียร์หน้า ฝั่งขวาจะเปลี่ยนเกียร์ หลัง จักรยานเสือภูเขา มีเกียร์มากถึง 27 เกียร์ ทีเดียว ต�ารวจส ใช้จักรยานไจนโรามบินบางแห่ง ของบริษัทเซกเว

สายเคเบ

ย์

ิล

จักรยานไจโร

จักรยานไจโรมีล้อเล็กๆ ติดอยู่ที่แท่น ทัง้ สองด้าน เมือ่ เราโน้มตัวไปข้างหน้า เครื่องยนต์ที่ติดตั้งอยู่ที่ล้อจะติดและ ท�าให้รถเคลือ่ นไปได้ เมือ่ เอียงคันบังคับ ไปด้านข้าง เครื่องยนต์จะเร่งเร็วขึ้น เพือ่ เลีย้ วโค้ง วงล้อจิ๋วหมุนเร็วมากที่ เรียกว่า ไจโรสโคป (gyroscope) จะฝังอยู่ด้านในแท่นยืน มีไว้ใช้ ปรับความเร็วของเครื่องยนต์ เพือ่ ให้จกั รยานทรงตัวอยูไ่ ด้

สายเคเบิล สำหรับเปลี่ยน เกียร์ ท่อล่าง

ยางตะปุ่มตะป า่� ยึดเกาะ ถนน

ปี ค.ศ. 2007 มาร์คสั สโตเคล ซิ่งจักรยาน มาตรฐานเร็วได้ถึง 210 กม./ชม. ขณะที่ เขาป่นั ลงมาจากภูเขา ลาดชัน ณ ประเทศชิลี ผ้าเบรก

จานเบรก แผ่นจานโลหะ ขนาดใหญ่มีพื้นที่มาก เพือ่ ให้ผา้ เบรกกดลงไป ได้หรือไว้รองรับผ้าเบรก รูที่มีอยู่ท�าให้จานเบรก เย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว จึง ไม่ทา� ให้เกิดความร้อนสูง เวลาเราเบรกกะทันหัน 9


จักรยานเสือหมอบ จักรยานเสือหมอบหรือจักรยาน

ทางเรียบถือเป็นเจ้าพาหนะเดินทาง ระยะไกลแห่งโลกจักรยาน จักรยานชนิดนี้ เบากว่ารถถีบหรือจักรยานเสือภูเขามาก ทัง้ ยังเรียบง่ายกว่าด้วย โอกาสทีช่ นิ้ ส่วน จะเสียก็นอ้ ยลง จักรยานทางเรียบชัน้ ยอด ปั่นกินระยะทางได้ถึง 200 กิโลเมตร ในหนึง่ วัน แม้วนั สภาพอากาศไม่เป็นใจ

รู้ไว้ใช่ว่า

จักรยานคันแรกวงล้อท�าจากไม้เนื้อแข็ง และเหล็ก ต่อมาจึงใช้ล้อท�าจากยางแข็ง ซึ่งไม่ค่อยจะสบายตัวเท่าไรนัก ล้อแบบ เติมลมยางถูกประดิษฐ์ขึ้นปี ค.ศ. 1887 โดย จอห์น บอยด์ ดันลอป เขาท�าขึน้ เพือ่ ใช้กับจักรยานของลูกชายเขา

แฮนด์จกั รยานแข่ง แฮนด์ทงี่ มุ้ ตัวลงมา ท�าให้นกั ปัน่ ต้องก้มหัวโน้มตัวไปข้างหน้า ท�าให้ต้านลมน้อยกว่าการนั่งหลังตรง อีกทั้งยังท�าให้ขาถีบคันเหยียบได้แรง ยิ่งขึ้นอีกด้วย

ลูกปืน จักรยานมาตรฐานจะมี ลูกปืนอยู่ 10 ชุด สองชุดอยูใ่ น คอจักรยาน เพื่อรองรับแฮนด์ จักรยานและตะเกียบหน้า คอจักรยาน

ตะเกียบหน

้า

ลูกปื นท�ำงำนอย่ำงไร

ลูกปืนจะช่วยให้ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ถูหรือ เสียดสีและสึกหรอน้อยลง อีกทั้งยังท�าให้ พลังงานกลแปลงเป็นความร้อนน้อยลง ลูกปืนจะมีลูกบอลโลหะแข็งที่ออกแบบให้ มีขนาดพอดีกับช่องระหว่างวงแหวนวงใน และวงนอกเรียกว่า “ราง” โดยลูกบอลนั้น จะกลิ้งไปทิศทางใดก็ได้ วิธีนี้ช่วยให้เหล็ก ไม่สึกหรออยู่เพียงต�าแหน่งเดียว และยัง ช่วยกระจายความร้อนจากการเสียดสีเพื่อ กันไม่ ให้ร้อนเกินไปอีกด้วย รางนอกจะหมุนเพื่อ เกลี่ยลูกบอลโลหะ

รางในจะติดอยู่กับ เพลาโดยไม่หมุน

ลูกบอลโลหะชุบโครเมียม กลิ้งไปทุกทิศทางโดยไม่ติดขัด เพลา

10

ยางหน้าแคบ หน้ายางบางและแคบ ความสูงของผนังยางนั้นน้อยกว่า ความกว้างของล้อ ช่วยให้เกาะถนน ดีขึ้น แต่เวลาขี่รถจะกระเด้ง


>>> รถยนต์ รถกระบะ และจักรยาน <<< เจาะลึกทุกเรื่องที่อยากรู้เกี่ยวกับจักรยานแข่งระดับโลกได้ที่ www Factsforprojects com

ัง านเสือหมอบก็ย ัง ย ร ก ั จ 9 3 19 0 3 . 19 ้อหล มาจนถึงช่วง ค.ศ ียร์ ผู้ปั่นจะต้องลงมาเปลี่ยนล ไม่มีมือเปลี่ยนเกจานโซ่ขนาดต่างๆ ด้วยตัวเอง ทั้งล้อกับ

อานที่นั่ง อานยาว หน้าแคบนี้ ท�าให้ขา ของนักปั่นเคลื่อนที่ ขึ้นลงได้สะดวก โดย ไม่ต้องเสียดสีกับสัน อาน

เครื่อ งบิ น ขับ เคลื่อ นโด ยใช ้ แ รงคน เช่น กอสซาเมอร์ คอนดอร์ และ อัลบาทรอสจะให้นกั บินถีบคันเหยียบ คล้ายกับจักรยาน เพื่อปั่นใบพัด เพราะกล้ามเนื้อขาแข็งแรงที่สุดใน ร่างกาย

ท่อนอนอัลล

อย ท่อล่าง

ซีล่ อ้ ล้อส่วนใหญ่จะมีซลี่ อ้ ทีท่ า� จากโลหะ หรืออะลูมิเนียมประมาณ 28 ถึง 36 ซี่ กลไกการท�างานคือคอยดึงขอบล้อเข้ามา ข้างใน ไม่ใช่ดันให้ออกไปข้างนอก

ก้านบันได

ยียบ จักรยานที่มีคันเห์ขึ้นใน คันแรกประดิษฐ 69 โดย ชว่ ง ค.ศ. 1860-18ะ ห มุ น คั นเหยีย บ นั้ นจ ไมต่ อ้ ง ลอ้ หนา้ โดยตรง พึ่งโซ่หรือเกียร์

จักรยำนประเภทลู่

การแข่งขันประเภทลูจ่ ดั ว่าเป็น “การแข่งขัน ฟอร์มูล่าวัน” ของเจ้าสองล้อปั่นนี้เลยก็ ว่าได้ ชิน้ ส่วนทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ จะคัดสรรมา เพื่อสร้างจักรยาน เช่น พลาสติก โลหะ และคาร์บอนไฟเบอร์ เพือ่ ความแข็งแกร่ง ชั้นเลิศและน�้าหนักที่เบาที่สุด ทุกส่วน ของจักรยานรวมถึงนักปั่นจะต้องต้าน ลมให้นอ้ ยทีส่ ดุ อย่างหมวกทรงหยดน�า้ ที่นักปั่นสวมใส่อยู่นี้ เป็นต้น

ขอบล้อ ขอบล้อจะท�าจาก อัลลอยน�้าหนักเบาที่เป็น โลหะผสม เช่น อะลูมเิ นียม

ปี ค.ศ. 1899 ชาร์ลส์ มินทอร์น เมอร์ฟี เป็นคนแรกที่ปั่นจักรยาน 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) โดยใช้เวลาไม่ถึง 1 นาที ถ้าระบุให้ละเอียดก็คือ 57.75 วินาที

สิงห์คะนองลู่ก้มห

ัวต�่าเพื่อลดแรงต้า

น 11


รถยนต์ รถกระบะ และจกั รยาน ภาพประกอบชัดเจนเขาใจงาย • ชำแหละกลไกการทำงานภายใน • ภาพแสดงกลไกสำคัญครบถวน • อธิบายกระจางทุกเรื่องยนตรกรรม •

เปดโลกการเรียนรูไปพรอมกัน เกีย่ วกับการทำงานภายในของยานยนตร บนทองถนนกวาสิบหาชนิด ตัง้ แตจกั รยานเสือภูเขาไปจนถึงรถแขงแรลลี่ ทุกหนามีภาพอธิบายกลไกการทำงานหลังชิน้ สวนสำคัญ เริม่ ตัง้ แตการทำงาน ของเกียร ทุกหัวขอบอกทีม่ าที่ไปและเกร็ดความรูข องรถแตละชนิด อีกทัง้ ยังมีลงิ คเว็บไซตเขาสูโ ลกการเรียนรูท น่ี า ตืน่ ตาตืน่ ใจ หาขอมูลเพิม่ เติมในเรือ่ ง ทีส่ นใจได ไรขดี จำกัด

ISBN 978-616-527-172-1

9

786165

271721

ราคา 90 บาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.