How it works ท่องโลกอวกาศ

Page 1

ทองโลก

อวกาศ เจาะลึกทุกซอกทุกมุม

ยานอวกาศทำงานอยางไร



ท่องโลก

อวกาศ


ท่องโลกอวกาศ เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง แปล : จารุยศ สุวรรณบัตร

ISBN : 978-616-527-170-7

ราคา : 79 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 : มิถุนายน 2554 ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ c MILES KELLY PUBLISHING LTD of The Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex CM7 4SL, England c ลิขสิทธิ์ภาษาไทย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือ เล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไป เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบ ใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง ส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ

บรรณาธิการส�านักพิมพ์ : ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ประสานงานฝ่ายผลิต : อิสรีย์ แจ่มข�า ศิลปกรรม : ภรณีย์ สนองผัน, อัจฉรา ทับทิมงาม, นริศรา ช่อสลิด พิสูจน์อักษร : ศลิษา ลือพงศ์ไพจิตร, ชนาภัทร พรายมี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ : บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด : ชลพิชา ครื้นจิต, มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ : บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�าหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


First published in 2009 by Miles Kelly Publishing Ltd Bardfield Centre, Great Bardfield, Essex, CM7 4SL Copyright © Miles Kelly Publishing Ltd 2009 This edition printed in 2009 Editorial Director: Belinda Gallagher Art Director: Jo Brewer Design Concept: Simon Lee Volume Design: Rocket Design Cover Designer: Simon Lee Indexer: Gill Lee Production Manager: Elizabeth Brunwin Reprographics: Stephan Davis, Ian Paulyn Consultants: John and Sue Becklake All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system, or transmitted by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder.

ACKNOWLEDGEMENTS

All panel artworks by Rocket Design The publishers would like to thank the following sources for the use of their photographs: Corbis: 9 Bettman; 13 Roger Ressmeyer Rex Features: 15 Everett Collection; 25 33 Sipa Press; 35 Scaled Composites Denis Cameron; Science Photo Library: 6; 11 Ria Novosti; 21 NASA; 29 European Space Agency; 37 NASA All other photographs are from NASA and Miles Kelly Archives

www.FactsforprojectS.COM บริเวณขวาด้านบนของทุกหน้าจะมีลงิ ก์ เข้าอินเตอร์เน็ตเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ท่านเข้าไปชมได้ที่ www.factsforpro jects.com ชมภาพ ศึกษาข้อมูลเพิม่ เติม วิดีโอ ร่วมกิจกรรมแสนสนุก และลิงก์ ไปยังเว็บเพิม่ เติมมากมายโดยไม่เสียค่า ใช้จา่ ย ทัง้ หมดนีเ้ ป็นสิทธิข์ องท่าน และ ไม่ควรคัดลอกหรือน�าไปเผยแพร่เพือ่ จุด ประสงค์ทางการค้าเอาก�าไร หากท่านตัดสินใจใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน คอมพิวเตอร์ของท่าน มีข้อมูลที่ท่าน จ�าเป็นต้องรู้ดังนี้ • คอมพิวเตอร์ ไมโครซอฟท์ วินโดว์ XP หรือเวอร์ชั่นล่าสุด หรือแมคอินทอช ปฏิบัติการ OS X หรือเวอร์ชั่นล่าสุด

ปลอดภัยไว้ก่อน เมือ่ ท่านใช้อนิ เตอร์เน็ต โปรดตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าท่านปฏิบัติตามค�าแนะน�า ดังต่อไปนี้ • ขออนุญาตผู้ปกครองก่อนเข้าใช้ • อย่าให้ขอ้ มูลส่วนบุคคล เช่น ชือ่ ทีอ่ ยู่ อีเมลของท่าน • หากเว็บไซต์ให้ท่านเข้าใช้หรือกรอก ข้อมูลโดยใช้ชอื่ หรืออีเมล ให้ปรึกษาผู้ เมื่อลิงก์เข้าไม่ได้ ปกครองก่อน www.factsforprojects.com จะได้รบั • หากท่านได้รบั อีเมลจากคนแปลกหน้า การตรวจสอบเป็นประจ�าเพื่อให้มั่นใจ ให้บอกผูใ้ หญ่และอย่าตอบข้อความ ว่าให้บริการข้อมูลแก่ท่านได้ บางครั้ง นั้นกลับ เว็บไซต์อาจแสดงข้อความว่าไม่ทา� งาน • อย่านัดพบคนทีค่ ยุ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต หากเป็นกรณีนี้ ให้ท่านลองเข้าอีกครั้ง เป็นอันขาด และแรม 512 เมกะไบต์ • บราวเซอร์ เช่น Microsoft®Internet Explorer 7, Firefox 2.X หรือิ Safari 3.X • ต่ออินเตอร์เน็ตผ่านโมเดม (แนะน�า 56 Kbps) หรือบรอดแบนด์ที่เร็วกว่า • บัญชีเข้าใช้อินเตอร์เน็ตของผู้ให้ บริการ (ISP) • การ์ดเสียงเพื่อใช้ฟังเสียง

ส�านักพิมพ์ Miles Kelly ไม่รบั ผิดชอบว่า ข้อมูลในเว็บไซต์ที่นอกเหนือจากของ ทางส�านักพิมพ์จะเหมาะสมหรือถูกต้อง เด็กควรอยูใ่ นความดูแลของผูป้ กครอง ขณะใช้อินเตอร์เน็ต และไม่ควรพูดคุย ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

www.mileskelly.net

info@mileskelly.net


สารบั ญ ออกท่องอวกาศ . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 จรวดวี-2 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 ดาวเทียมสปุตนิก 1 . . . . . . . . . . . . . . . 10 ดาวเทียมเอ็กซ์พลอเรอร์ 1 . . . . . . . . . . . 12 ยานวอสตอก 1 . . . . . . . . . . . . . . . . . 14 จรวดแซตเทิรน์ 5 . . . . . . . . . . . . . . . . 16 ยานไพโอเนียร์ 11 . . . . . . . . . . . . . . . . 18 ยานวอยเอจเจอร์ 2 . . . . . . . . . . . . . . .20 กระสวยอวกาศ. . . . . . . . . . . . . . . . . .22 ยานแมกเจลแลน . . . . . . . . . . . . . . . .24 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล . . . . . . . . .26 ยานแคสสิน-ี ฮอยเกนส์. . . . . . . . . . . . . .28 ยานสปิรติ และยานออปพอร์ทนู ติ ี . . . . . . . .30 ยานวีนสั เอ็กซ์เพรส . . . . . . . . . . . . . .32 ยานสเปซชิปวัน . . . . . . . . . . . . . . . . .34 สถานีอวกาศนานาชาติ . . . . . . . . . . . . .36 อภิธานศัพท์ . . . . . . . . . . . . . . . . . .38 ดัชนี . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .40


ท่องโลก

อวกาศ เรื่อง : สตีฟ พาร์คเกอร์ ภาพประกอบ : อเล็กซ์ แพง


ออกท่องอวกาศ

นานมาแล้ว สมัยที่ตามท้องถนนยังไม่มี ดวงไฟ โคมส่อง หรือแม้แต่แสงเทียน มีก็แต่ ไฟเรืองๆ จากไม้ฟืน มนุษย์โบราณจึงมีเวลาที่ จะแหงนมองดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ และจุดเล็กๆ ส่องประกายดารดาษบนแผ่นฟ้า ยามค�า่ คืน ในความมืดลีล้ บั ข้างบนนัน้ มีเรือ่ งราว ต�านานของเทพเจ้าและผีสางมากมายให้เล่าขาน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1610 กล้องโทรทรรศน์ท�าให้ จุดเล็กๆ เหล่านี้ ใหญ่ขนึ้ นักดาราศาสตร์เริม่ ตระหนักว่ายังมีอีกโลกที่ห่างไกล เคลื่อนที่ อยู่ ในอาณาจักรว่างเปล่า เวิ้งว้าง ที่เรียก กันว่า “อวกาศ” วงโคจรพงึ่ พา สมดุลของแรง ทัง้ สองนี้

ดาวเทียม

แรงดึงของ แรงโน้มถ่วงโลก

แรงของดาวเทียม พยายามทจี่ ะไป ตามเส้นตรง วงโคจรของโลกเกิด จากแรงสองแรง ร่วมกนั นัน่ คือแรง ทางตรงและดงึ ลง ของแรงโน้มถ่วง

โลก

ปคี .ศ. 1635 โคลด เมลอ ง ได้ร่างภาพดวงจันทร์ ที่เขาเห็นผ่าน กล้องโทรทรรศน์ โดยละเอียด

สวู่ งโคจร นติน ช่วงต้นศตวรรษที่ อค20วาคุมคณคริดวู่ชาเคาวรืรั่อสงจเซักียรอนาย่มางจคอรวนสดนแตั้นหนีกฎ

ซีออลคอฟสกี ได้เสน ะวนไปรอบๆ ดาวเคราะห์ของเรา แรงโนม้ ถ่วงของโลกออกไปสูว่ งโคจร แล 20-1929 วิศวกรชาวอเมริกัน “ไม่รู้จบ” ได้อย่างไร ช่วง ค.ศ. 19 ิจริงด้วยการประดิษฐ์จรวด ิบัต นาม โรเบิร์ต กอดเดิร์ด ลองเริ่มปฏ ่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) จรวด งั้ ที ล�าแรกทคี่ วบคุมได้ ช่วงสงครามโลกคร มาใหเ้ ป็นอาวุธท�าลายลา้ ง บบ เดินทางไกลลา� ใหญ่นามวี-2 ซึง่ ออกแ กทมี่ นุษย์สร้างขนึ้ ไดอ้ อก นิ้ แร ไดป้ รากฏสูส่ ายตาชาวโลก เปน็ วัตถุช ตร) โลเม ไปท่องอวกาศ (ความสูงกว่า 100 กิ

แข่งกันไกลถึงนอกโลก “สงครามเย็น” ช่วง ค.ศ. 1950-1959 เป็นการ

ประชันขันแข่งพลานุภาพระหว่างประเทศอภิมหาอ�านาจทัง้ สอง นัน่ คือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ใน “สมรภูมิ อวกาศ” ครัง้ นี้ สหภาพโซเวียตท�าคะแนนล่วงหน้าไปได้กอ่ น สามแต้ม ด้วยการส่งดาวเทียม มนุษย์ และสถานีอวกาศ ขึ้นไปโคจรรอบโลก ฟากสหรัฐอเมริกาก็ไม่น้อยหน้าส่ง โครงการระยะยาวและพัฒนาจรวดทีท่ รงพลังทีส่ ดุ ตามมา นั่นคือ จรวดแซตเทิร์น 5 ส่งมนุษย์คนแรกไปเยือนโลกอื่น เมือ่ ยานอพอลโล 11 ลงจอดบนดวงจันทร์ในปี ค.ศ. 1969 6

ดวงจันทร์ อพอลโลทงั้ 8 ล�าไปยัดง6 ครงั้ าน าย พ 5 ์ น ิ ร ท ตเ แซ จรวด 972 ลงจอดทงั้ หม ระหว่างปคี .ศ. 1968-1


>>>

ทอง ่ โลกอวกาศ

<<<

เปิดโลกการเรียนรู้ให้กว้างยิ่งขึ้นกับยานอวกาศทุกล�าที่อยู่ในหนังสือเล่มนี้ที่ www.factsforprojects.com

ภาพนีล อาร์มสตรอง มนุษย์คนแรก ที่เหยียบดวงจันทร์สะท้อนให้เห็น จากกะบังหน้าหมวกของนักบินและ ช่างภาพอีกท่านนาม บัซ อัลดริน

ร่อนลง ณ ดาวเสาร์ ปี ค.ศ. 2004 ยานส�ารวจอวกาศ

แคสสินี-ฮอยเกนส์ เดินทางถึง ดาวเสาร์ หลงั จากเรมิ่ ออกเดนิ ทาง เมือ่ 7 ปีกอ่ น ยานฮอยเกนส์ลงจอด แล้วปลดออกจากยานแม่แคสสินี แผ่นก�าบังความร้อนปอ้ งกันไม่ให้ และร่อนรม่ ชูชพี ลงทีด่ วงจนั ทรบ์ ริวาร ยานถูกเผาระหว่างเขา้ สู่ ดวงใหญ่ของดาวเสาร์ชื่อ “ไททัน” ชัน้ บรรยากาศของไททนั นับเป็นระบบการท�างานอัตโนมัติ ที่ไม่มีอุปสรรคเลย

ฮอยเกนส์รอ่ นลงยังไททนั

ร่มชูชพี ใหญแ่ ละเล็กช่วยให้ ฮอยเกนส์รอ่ นลงจอดช้าๆ

ฮอยเกนส์ลงจอดบนไททนั

สถานอี วกาศ จา� นวนมาก รนวานาชาตเิ ปน็ ทที่ า� งานเฉพา ะ มถงึ เปน็ โรงแร มสา� หรบั นกั ทกอ่ จิ ของนกั วทิ ยาศาสตร์ งอวกาศชวั่ ครา วดว้ ย

เต็มอวกาศ ทุกวันนี้ การเดินทางไปสถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) ก�าลังเป็นประเด็นที่

อยู่ในความสนใจ แต่กลุ่มยานส�ารวจอวกาศเดินทางไปได้ไกลกว่านั้นมากแล้ว ยานเหล่านี้ไปเยือนดาวเคราะห์ที่อยู่รอบดวงอาทิตย์ของเรามาครบทุกดวง รวมถึงดวงจันทร์บริวารทั้งหลาย หรือวัตถุที่เล็กกว่านั้นด้วย เช่น ดาวเคราะห์ น้อยหรืออุกกาบาต การค้นพบนีท้ า� ให้เราได้เข้าใจว่าจักรวาลเป็นมาอย่างไร แต่ ทีเ่ ห็นจะเป็นเรือ่ งใกล้ตวั และใช้ได้จริงในชีวติ ประจ�าวันของพวกเราคือ ดาวเทียม นับร้อยดวงที่โคจรรอบโลกของเราช่วยเชื่อมสัญญาณโทรทัศน์ โทรศัพท์ และ การสื่อสารทางคอมพิวเตอร์ ช่วยพยากรณ์อากาศ เฝ้าติดตามสภาวะโลกร้อน และปฏิบัติภารกิจสอดแนม ็นมาเมื่อ 50 ปีก่อนอีกต่อไป เป คย เ ่ ที ง ดั า ่ ปล งเ า ่ ว ด้ ไ ม่ ศไ อวกา กิดขึ้นอีกบ้างหนอ แล้ว 50 ปีข้างหน้าจะมีอะไรเ 7


จรวดวี-2 จรวดวี-2

เป็นจรวดล�ำแรกที่มี ขนำดใหญ่และเดินทำงไกล บินขึ้นครั้ง แรกสุดเมื่อปี ค.ศ. 1942 ช่วงระหว่ำง สงครำมโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 19391945) หลังจำกสงครำมจบลง วี-2 เป็นจรวดล�ำแรกทีอ่ อกสูอ่ วกำศ แต่ ไม่ ได้ ไปถึงวงโคจรของโลก จรวดอวกำศ รุ่นหลังๆ ก็มักจะยึดวี-2 เป็นแม่แบบ ในกำรออกแบบจรวด

รู้ไว้ใช่ว่ำ “ดอกไม้ ไฟ” ถือเป็นจรวดล�ำแรก ใช้ ดินปืนเป็นเชื้อเพลิง คิดค้นขึ้นที่จีน ประมำณ ค.ศ. 1050 ส่วนจรวดล�ำแรก ที่ ใช้เชื้อเพลิงเหลว โรเบิร์ต กอดเดิร์ด ส่งขึ้นไปในปี ค.ศ. 1926 พุ่งขึ้นสูงแค่ 12 เมตรเท่ำนั้น!

อนำคตจะเป็นอย่ำงไร

สหรั ฐ อเมริ ก ำก� ำ ลั ง วำงแผนสร้ ำ ง เครือข่ำยดำวเทียม “สตำร์ วอร์ส” ใน อวกำศ ไว้ ใช้ตรวจจับมิสไซล์ของศัตรู เพื่อที่จะยิงโต้ตอบกับฝ่ำยตรงข้ำมได้

หัวรบ บริเวณหัวจรวดจะ บรรจุระเบิดอมาตอลที่มี ส่วนผสมของระเบิดทีเอ็นที หรือไตรไนโตรโทลูอีนไว้ เกือบ 1 ตัน

หัวจรวด ถังเชือ้ เพลิง ถัง ออกซิไดเซอร์

หัวสูบเชือ้ เพลิง และออกซิไดเซอร์ หัวเทียน จุดประกำยไฟ ให้เชือ้ เพลิง ห้องสันดำปซึง่ เชือ้ เพลิง จะเผำไหม้ในนี้ หัวไอพ่น

จรวดท�ำงำน อย่ำงไร

แก๊สทีเ่ ผำไหม้ จะสร้ำงแรงขับ

จรวดใช้หลักการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์นั่นคือแรง กิรยิ าและแรงปฏิกริ ยิ า ขณะทีจ่ รวดระเบิดแก๊สเผาไหม้ ออกทางด้านหลัง แรงระเบิดนีก้ จ็ ะดันจรวดไปข้างหน้า ปัญหาอยูท่ กี่ ารเผาไหม้จะต้องใช้ออกซิเจน แต่ในอวกาศ ไม่มีอากาศ เมื่อไม่มีอากาศย่อมไม่มีออกซิเจน จรวด จึงต้องใช้ออกซิเจนเหลวหรือใช้สารเคมีทอี่ ดุ มไปด้วย ออกซิเจนชื่อว่า ออกซิไดเซอร์ 8

ปี ค.ศ. 19 ควำมเร51 วี-2 ท�ำลำย ็ว ส ปกติคว เท่ำนี้บินขึ้นไป ถิติควำมสูงที่ ย ำมเร็วท 2 ี่ใช้กันเว ังอวกำศได้สบำ 13 กม. จะเริ่มต ล ย ้นที่ 100 ำบินขึ้นอวกำศ ๆ กม. ระบบควบคุม จรวดตระกูล วี-2 สมัยแรกจะเลีย้ วไปตาม เส้นทางทีต่ งั้ ไว้แต่แรก รุน่ หลังจึงเริม่ ใช้สญ ั ญาณวิทยุ ถังเชือ้ เพลิง ถังส่วนบนจะบรรจุ จากภาคพืน้ ดินคอยบังคับ ส่วนผสมของของเหลวเกือบ 4 ตันเอาไว้ 3 ใน 4 เป็นเอทา นอลซึง่ เป็นแอลกอฮอล์ชนิด ไป หลังจำกส่งจรวดวี-2 ขึ้นโดยใช้ หนึง่ ทีเ่ ผาไหม้ได้ดี แต่ตอ้ งใช้ ” จรวดจะใช้ หำงเสือลม ำง ใน อุณหภูมทิ สี่ งู มาก ส่วนทีเ่ หลือ ลมจำกไอพ่นบังคับทิศททำงได้ จะเป็นน�า้ ไว้ใช้รกั ษาอุณหภูมิ สมัยนั้นวี-2 จัดว่ำเดิน ำงลม ท ศ ิ การเผาไหม้ไม่ให้มากเกินไปนัก เร็วพอตัว ใบพัดคุมท นเป็น งำ ำ � ท บริเวณแพนหำงก็ เสมือนหำงเสือเช่นกัน


>>>

ทอง ่ โลกอวกาศ

<<<

ค้นพบควำมจริงที่อยำกรู้กับจรวดวี-2 ได้ที่ www.factsforprojects.com

ถึงเวลำปล่อยวี-2

จรวดวี-2 บินขึ้นไปได้ แค่ 65 วินำทีเท่ำนั้น แต่เวลำเพียงเท่ำนี้ก็ขึ้น ไปได้สูงถึง 80 กม. แล้ว จำกนั้นจึงตกลงมำยัง โลกและระเบิด ห่ำงจำก จุดทอี่ อกตวั ไป 300 กม.

ก�ำลังเตรียมยิงจรวดวี-2

ตวั ถงั เพรยี วลม

จรวดวี-2 พุง่ ออกจากแท่นยิงรูปทรง คล้ายกับโต๊ะตัวเตีย้ ทีท่ า� จากเหล็กกล้า สร้างมาเป็นพิเศษ และใช้รถบรรทุก กว่า 30 คันขนแท่นยิงและอุปกรณ์ ต่างๆ ทีจ่ า� เป็นมายังเขตปล่อยจรวด ทีม่ กั จะซ่อนอยูใ่ นป่า จะมีรถบรรทุก และรถพ่วงพิเศษยาวเกือบ 15 เมตร น�า้ หนัก 11 ตัน ไว้ขนตัวจรวดวี-2 โดย เฉพาะ เจ้าหน้าทีป่ ล่อยจรวดจะใช้เวลา 90 นาที เพือ่ เตรียมลานยิง เตรียม จรวดวี-2 เชือ้ เพลิง และระบบน�าร่อง จากนัน้ ก็จะสัง่ หัวรบระเบิดให้ทา� งาน

ห้ อ งเผาไหม้ หั ว ฉี ด ขนาดจิ๋ ว กว่า 1,200 หัว จะฉีดเชือ้ เพลิง เข้ามายังห้องนี้ซึ่งมีออกซิเจนไว้ คอยเผาไหม้เชือ้ เพลิง

หัวสูบเชอื้ เพลิง

ใบพดั คุมทิศทำงลม

ถังออกซิเจนเหลว ถังด้าน ล่างบรรจุออกซิเจนเกือบ 5 ตัน ถังจะเย็นและมีแรงดัน มหาศาลจนออกซิเจนกลัน่ ตัวเป็นของเหลวแทนทีจ่ ะ เป็นแก๊ส

หัวไอพ่น

เชือ้ เพลิงส�ำหรบั ขับเคลือ่ นหวั สูบ

ระหว่ำงช่วงสงครำมโลกครั้งที่ 2 จรวดวี-2 กว่ำ 3,000 ล�ำ ถูกยิงออกไปโจมตีศัตรู

แพนหำง 9


ดำวเทียมสปุตนิก 1 รู้ไว้ใช่ว่ำ

วันที่ 4 ตุลำคม ค.ศ. 1957 มีขำ่ วหนึง่

ที่ท�ำให้โลกต้องตะลึง นั่นคือข่ำวของ ดำวเทียมดวงแรกทีข่ นึ้ ไปอยูบ่ นอวกำศ ดำวเทียมสปุตนิก1 ถูกส่งไปกับจรวด อำร์-7 เซมยอร์กำ ขึ้นไปโคจรรอบโลก นับเป็นสปุตนิกตัวแรกที่ ได้ทดลองใช้ เครือ่ งจักรและวิทยำกำรสมัยใหม่ ในอวกำศ สปุตนิกอยู่ได้ 3 เดือน จำกนัน้ จึงเผำไหม้ ไประหว่ำงที่ตกมำยังโลก

สปุตนกิ 1 ส่งสัญ ก่อนที่แบตเตอร ญำณวิทยุออกมำ 22 วัน ยังโคจรได้อีก 1, ี่จะหมด แต่ถึงกระนั้นก็ 440 ร รวมกว่ำ 60 ล้ำอบ เป็นระยะทำง นกิโลเมตร

ดำวเทียมสื่อสำรโคจรรอบโลกจะคอยรับส่ง สัญญำณวิทยุ เปรียบเสมือนอยูบ่ นยอดเสำสูง บุคคลแรกที่บังเกิดควำมคิดที่จะใช้ดำวเทียม สื่อสำร คือนักเขียนนิยำยวิทยำศำสตร์นำม อำร์เธอร์ ซี คลำร์ก (ค.ศ. 1917-2008) เมื่อปี ค.ศ. 1945

วงแหวนรูปตัวโอ วงแหวนที่ ใช้เชือ่ มระหว่างตัวถังด้านใน ท�าหน้าที่ปิดผนึกดาวเทียม ให้แน่นสนิท เพื่อรักษาแก๊ส ไนโตรเจนบริสทุ ธิใ์ ห้คงสภาพไว้

วงโคจรท�ำงำนอย่ำงไร

วงโคจร คือวิถีโค้งรอบวัตถุใดวัตถุหนึ่ง เช่น ดาวเทียมทีเ่ ดินทางรอบดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ หรือดวงดาว เป็นการทรงตัวสมดุลระหว่าง การเคลือ่ นทีไ่ ปข้างหน้าและตกลงมาข้างล่าง ในอวกาศวัตถุควรจะเคลือ่ นทีต่ รงไปเรือ่ ยๆ ถ้าไม่มแี รงใดมาขัด แต่แรงโน้มถ่วงของโลกนี่ ล่ะทีเ่ ป็นตัวมาขัด คอยดึงให้วตั ถุหมุนไปรอบๆ และตัวโลกทีอ่ ยูใ่ ต้วตั ถุกห็ มุนไปรอบๆ เช่นกัน หากความเร็วและความสูงของวัตถุนนั้ พอเหมาะ พอดี วัตถุนั้นก็จะต�่าลงอยู่อย่างนั้น แต่จะ ไม่มีวันตกลงสู่พื้น

ตัวถังด้ำนใน

พลังงานส�ารอง แบตเตอรี่ ขนาดเล็ ก ทั้ ง สามตั ว นี้ มี น�้าหนักพอๆ กับผู้ใหญ่ ตัวเล็ก 1 คน แบตเตอรี่ 2 ตัว คอยท�าหน้าที่ให้พลังงาน แก่เครือ่ งส่งสัญญาณวิทยุ ส่วนอีก 1 ตัวเป็นของพัดลม ควบคุมอุณหภูมิข้างใน

วัตถุพยำยำมจะ เคลือ่ นทีต่ รงไป แรงดึงของ แรงโน้มถ่วง

วงโคจรคือส่วนกำร ผสมระหว่ำงแรง หนีศนู ย์กลำงและ แรงสูศ่ นู ย์กลำง โลก

10

พดั ลมระ บำยอำกำ ศ

หลังจำกที่สปุตนิก 1 ถูกปล่อย ออกไปได้ 1 เดือน สปุตนิก 2 ก็ได้พำผู้โดยสำรคนแรกขึ้น ท่องจักรวำลนั่นคือเจ้ำตูบไลก้ำ ของเรำนั่นเอง

ช�ำแหละสปุตนิก 1


ทอง ่ โลกอวกาศ

>>>

อนำคตจะเป็นอย่ำงไร

ในอวกำศมีดำวเทียมที่ ใช้งำนอยู่กว่ำ 600 ดวง ร้อยกว่ำดวง “สิ้นอำยุกำร ใช้งำน” แล้ว รวมถึงเศษจรวด สถำนี อวกำศ และขยะอวกำศเก่ำๆ อีกนับพัน ดำวเที ย มแต่ ล ะดวงจะสร้ ำ งวงโคจร ของตัวเองขึ้นมำเพื่อหลบหลีกวัตถุที่ กล่ำวไปเหล่ำนี้

<<<

หำกอยำกลองฟังสัญญำณวิทยุของดำวเทียมสปุตนิกสักครั้งแวะเข้ำมำที่ www.factsforprojects.com

ตัวถังนอก ตัวถังครึง่ วงกลมทัง้ สอง ชิน้ นีท้ า� มาจากอัลลอย (ส่วนผสมของ โลหะ) อะลูมเิ นียมแมกนีเซียม และ ไทเทเนียม เชื่อมโดยใช้สลัก 36 ตัว

สปุตนิก 1 ถูกส่งขึน้ ไปยงั อวกำศโดยสหภำพ โซเวยี ต ซึง่ ตอนนีแ้ ตกเปน็ ประเทศรสั เซียและ ประเทศเพอื่ นบ้ำนแล้ว สหรฐั อเมรกิ ำผูเ้ ป็น คูแ่ ข่งด้ำนอวกำศตวั ฉกำจถึงกับงงงัน และชำว อเมรกิ นั บำงค นยังคิดว่ำข่ำวนีเ้ ป็นเพียงกลลวง!

สปุตนิก 1 เปิด ยุคอวกำศด้วยก ศักรำชแห่ง ว่ำเครื่องจักรหรำรแสดงให้ประจักษ์ ือแ ก็เดินทำงออกไ ม้แต่มนุษย์เอง ป และรอดชีวิตกลยังวงโคจร ับมำได้ เสารับส่งสัญญาณ เสารับ ส่งสัญญาณวิทยุทั้งสี่ตัวนี้ ท�ามาจากก้านเรียวยาว กว่า 2 เมตร งสปุตนิก 1 เครื่องส่งสัญญำณขอ 7 กิโลกรัม ตัวเดียวหนักกว่ำ 3. 2 ประเภท ริบ ส่งสัญญำณวิทยุกะพ ริบแต่ละครั้ง คือแรงและเบำ กะพ ำที นำน ๐.3 วิน

ตัวถังใน

ตัวถังนอก ทนควำมร้อน

สปุตนิก 1 หนัก 84 กก. และมีเส้นผ่ำศูนย์กลำง 58 ซม. ขนำดประมำณลูกบอลชำยหำดลูกใหญ่

ควำมเร็วหลุดพ้น คืออะไร

ถึงคุณจะปล่อยยานอวกาศให้บินขึ้นไปได้ แต่ แรงโน้มถ่วงของโลกก็จะดึงยานกลับมาอีกครั้ง ยิ่งปล่อยขึ้นแรงเท่าไร ก็ยิ่งขึ้นได้สูงเท่านั้น แต่ อย่างไรก็ไปได้ไม่ไกลมาก จรวดเป็นเครื่องยนต์ ประเภทเดียวทีท่ รงพลังพอทีจ่ ะท�าให้ยานอวกาศ มีพลังเคลื่อนที่ได้มากพอที่จะหลุดพ้นจากแรง โน้มถ่วงของโลกและออกสู่อวกาศได้ในที่สุด หมายความว่าทีพ่ นื้ ผิวโลกเราต้องแล่นด้วยความเร็ว 11 กิโลเมตรต่อวินาที เราเรียกความเร็วระดับนี้ ว่า ความเร็วหลุดพ้น

จรวดอำร์-7 ถูกส่งขึน้ ไป ยอดหวั โดยมสี ปุตนิก 1 อยบู่ ริเวณ

11


ทองโลก

อวกาศ

ภาพประกอบชัดเจนเขาใจงาย • ชำแหละกลไกการทำงานภายใน • ภาพแสดงกลไกสำคัญครบถวน • อธิบายกระจางทุกเรื่องเทคโนโลยีอวกาศ •

เปดโลกการเรียนรูเ รือ่ งยานอวกาศสิบหาชนิดไปพรอมกัน ตัง้ แตจรวดสมัยบุกเบิกไปจนถึงยานสำรวจอวกาศรุน ลาสุด ทุกหนามีภาพอธิบายกลไกการทำงานของชิน้ สวนสำคัญ รวมถึงภาพ แสดงการทำงานของระบบตางๆ เริ่มตั้งแตยานอวกาศบินขึ้นสูวง โคจรของโลกไดอยางไร เจาะลึกทุกเรือ่ งราวความเปนมาและแนวโนม ในอนาคตของยานอวกาศแตละประเภท

ISBN 978-616-527-170-7

9

786165

271707

ราคา 79 บาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.