สนุกคิด ใกล้ชิดอาเซียน

Page 1

ไทย

อินโดนีเซีย

มาเลเซีย

สิงคโปร

ฟลป ิ ปนส

บรูไน

เวียดนาม

ลาว

กัมพูชา

พมา

ÁãËÒ¡Œ ¾ÒŒ ²ÑÇ乡ÒÅÈÊ¡ÑÍÙ ÂÒÀàÒ¾¢Í§à´¡ç ä

rning a e L d e s a B Brain

«ÂÕ ¹¡¹Ñ ච·Â Í Ð!

Ò¾àÔ ÈÉ 79.-

ÃÒ¤

è



สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน กัญญาณัฐ กรีประเสริฐกุล, ชนาภัทร พรายมี ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน ออกแบบรูปเล่ม พุทธิรา มาสาซ้าย ภาพประกอบ เกรียงไกร ท้วมมัย, ชนิกานต์ กิตติปฎิมาคุณ, พุทธิรา มาสาซ้าย, วณิชยา ตันเจริญลาภ พิสูจน์อักษร ชนาภัทร พรายมี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้ โฆษณา เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส

55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร : 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�ำหน่ายโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2739-8000 โทรสาร : 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


ก้าวเข้าสู่

ประชาคมอาเซียน VS Brain-Based Learning สร้างคน สร้างชาติ

ความร่วมมือระหว่างกันของประเทศในเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้เริ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2510 เมื่อผู้น�ำจาก 5 ประเทศได้ร่วมกันจั ดตั้งกลุ่มความร่วมมือภายใต้ ชื ่ อ “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” หรือที่รู้จั กกันดี ว่า “อาเซียน” ซึ่งนับ เป็นก้าวแรกของการพั ฒนาภูมิภาคสู่การมีศักยภาพและมีบทบาทในเวทีโลก

ปัจจุ บันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ และมีเป้าหมายร่วมกัน ในการผลักดันสมาคมอาเซียนให้ก้าวสู่การเป็น “ประชาคมอาเซียน” ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งจะ

ท�ำให้ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดความเข้มแข็งในด้านต่างๆ ทั้งด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม เราคนไทยในฐานะหนึง่ ในประเทศผู้น�ำที่ร่วม

ก่อตัง้ อาเซียนและเป็นประเทศที่มบี ทบาทในการสร้างประชาคมอาเซียนให้เข้มแข็งขึน้ นัน้ จ�ำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งสิ่งส�ำคัญในเบื้องต้นคือ

การท�ำความรู้จักกับอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อให้สามารถรับมือและด�ำรง ชีวิตอยู่ในสังคมของการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรู้เท่าทันและมีความสุข

2


ในส่วนของเด็กและเยาวชนไทย ซึง่ จะเติบโตขึน้ มาเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพั ฒนา และเพิม่ พูนศักยภาพด้านต่างๆ ให้กบั ชาติและประชาคมอาเซียนนัน้ การปูพนื้ ฐานและเสริ มสร้าง ความเข้าใจเกีย่ วกับประชาคมอาเซียนถือว่าส�ำคัญอย่างมาก เพราะจะท�ำให้เด็กและเยาวชนไทยทุกคน สามารถปรับตัวและเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลีย่ นแปลงที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต ด�ำรงชี วิตอยู่ ใน สังคมแห่งการพั ฒนาซึ่งเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายของประชาคมอาเซียนได้ นอกจากนีก้ ารเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนจะท�ำให้สังคมไทยมีความเป็นพหุวัฒนธรรม มากขึ้น เด็กและเยาวชนไทยทุกคนจึงต้องหันมาตระหนักถึงความเป็นชาติ และเรียนรู้

เกีย่ วกับประเทศสมาชิกอาเซียนในด้านต่างๆ อย่างลึกซึง้ และรอบด้าน เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ อันดีระหว่างกัน ส่งผลให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้แม้จะมีชาติพันธุ์และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อีกทั ้ งยังท�ำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทั ้ งหมดสามารถจั บมือกันเพื่อก้าวเดินในเวทีโลกอย่าง ภาคภูมิ ใจและมีเสถี ยรภาพ

หนังสือ “สนุกคิด ใกล้ชดิ อาเซียน” เป็นหนังสือที่สำ� นักพิมพ์เอ็มไอเอสได้สร้างสรรค์ ขึ้น เนือ่ งจากต้องการเป็นก�ำลังส�ำคัญในการเตรี ยมเด็กและเยาวชนไทยทุกคนให้เติบโต อย่างรู้เท่าทั น “ประชาคมอาเซียน” โดยหนังสือเล่มนีจ้ ะท�ำให้ได้รู้จั กกับอาเซียนและประเทศ สมาชิกอาเซียนในด้านต่างๆ ดังนี้

เรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนในหัวข้อ มาท�ำความรู้จักอาเซียนกัน จุ ดเริ่มต้นของอาเซียน แผนที่ประเทศสมาชิกอาเซียน ตราสัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน ค�ำขวัญประจ�ำอาเซียน

เรียนรู้เกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน ในหัวข้อ ธงประจ�ำชาติ เมืองหลวง ค�ำทั กทายเมื่อพบหน้ากัน ชุ ดประจ�ำชาติ ดอกไม้ประจ�ำชาติ สัตว์ประจ�ำชาติ สถานที่ท่องเที่ยว อาหารประจ�ำชาติ หน่วยเงิน

เมื่อได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว ขั้นต่อมาก็จะเป็น กิจกรรมเสริ มทั กษะเพื่อเพิ่ม “ศักยภาพทางสมอง” ให้กับ เด็กและเยาวชนไทย ท�ำให้เกิดการ พั ฒนาทางความคิดและสติปัญญาได้อย่างสมวัย เพราะทางส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอสตระหนักดี ว่า

การบริหารสมองผ่านกิจกรรมทีด่ แี ละสร้างสรรค์นนั้ คือส่วนส�ำคัญในการเพิม่ ความสามารถ ในการเรียนรู้ ช่วยให้สมองท�ำงานอย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังเพิ่มความสามารถในด้านการ จดจ�ำ และเสริมสร้างสมาธิได้เป็นอย่างดี 3


การส่งเสริ มและพั ฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพทางสมองนัน้ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ที่จะต้องอาศัย

การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการท�ำงานของสมอง หรือที่เรียกว่า Brain-Based

Learning (BBL) มาเป็นเครื่องมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรูแ้ ละกระบวนการอื่นๆ

ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งทางส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอสได้วางแนวทางกิจกรรมที่สอดคล้องกับการท�ำงานของ สมองไว้ดังนี้

จ�ำนวน เรียนรู้และฝึกนับตัวเลข

ได้อย่างแม่นย�ำ รวมถึงสามารถ แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับตัวเลขได้ จับคู่ เชื ่ อมโยงความสัมพั นธ์ของ คน สัตว์ สิง่ ของ หรือเหตุการณ์ตา่ งๆ ตามเงื่อนไขที่ก�ำหนดให้ได้ เรียงล�ำดับ พิจารณาได้ว่าสิ่งใด มาก่อน สิง่ ใดมาหลัง ตามลักษณะการ จั ดประเภทหรือเงือ่ นไขที่กำ� หนดให้ได้ จัดหมวดหมู่ แยกแยะประเภทของ สิ่งต่างๆ ตามชนิดและลักษณะของ สิ่งเหล่านั้นได้ สังเกต ฝึกสมาธิ ให้แน่วแน่เพื่อ พิจารณาสิ่งต่างๆ ได้อย่างละเอียด ถี่ถ้วน คาดคะเน เดาเหตุ การณ์ ห รื อ ความน่ า จะเป็ น ตามเงื่ อ นไขที่ แตกต่างกันได้

เปรียบเทียบ ระบุได้ว่าสิ่งที่ก�ำหนด

ให้เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่และ อย่างไร ทิ ศ ทาง รู ้ ทิ ศ ทางและสามารถ เคลื่ อ นไหวไปตามทิ ศ ทางนั้ น ได้ อย่างถูกต้องและแม่นย�ำ

เหตุผล บอกที่มาที่ ไปของสิ่งต่างๆ

ตามหลักการและความสัมพั นธ์ที่ สอดคล้องกันได้ กฎเกณฑ์ รู้หลักความเป็นจริ งของ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว แล้วสามารถ น�ำมาประยุกต์ ใช้ ในชี วิ ตประจ�ำวันได้ จับใจความ อ่านนิทานหรือเรื่องราว ที่กำ� หนดให้ แล้วสามารถตอบค�ำถาม หรือวิ เคราะห์ออกมาได้ จิ น ตนาการ ฝึกทั กษะด้านการ ลากเส้นและระบายสี รวมถึงเสริ มสร้าง ความคิดในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างอิสระ

เรารับรองว่า “สนุกคิด ใกล้ชดิ อาเซียน” จะเป็นพลังอันส�ำคัญในการเพิม่ ศักยภาพ ทางสมองให้กับ เด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรี ยมพร้อมส�ำหรั บการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ได้อย่างมั่นใจและรู้เท่าทั น

ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส

มาร่วมแบ่งปันและสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้ ที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับหนูน้อยได้ที่ editor_kids@misbook.com 4


มาท�ำความรู้จักอาเซียนกัน

อาเซี ย น มีชื่อเต็มว่า สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

(Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) เป็นการรวมกลุ่มประเทศ

ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม โดยปัจจุบันประเทศสมาชิกได้มีเป้าหมายร่วมกันใน การผลักดันอาเซียนให้กา้ วสูก่ ารเป็น “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ให้สำ� เร็จ ในปี พ.ศ. 2558 ซึง่ ได้วางรากฐานทีจ่ ะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จของการก่อตัง้ ประชาคมอาเซียน ไว้ 3 ประการ หรือที่เรียกว่า 3 เสาหลัก คือ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC)

2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community:

ASCC)

จุดเริ่มต้นของอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ได้ร่วมกันลงนาม ในปฏิญญากรุงเทพ ณ วังสราญรมย์ ประเทศไทย เพื่อก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ขึ้น และในเวลาต่อมาก็มีประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 5 ประเทศ คือ บรูไน เวียดนาม ลาว พม่ า และกั ม พู ช าตามล� ำ ดั บ ดั ง นั้ น ในปั จ จุ บั น อาเซี ย นจึ ง มี ป ระเทศสมาชิ ก ทั้งหมด 10 ประเทศ

5


แผนทีป่ ระเทศสมาชิกอาเซียน พม่า Myanmar

ลาว Laos เวียดนาม Vietnam

กัมพูชา Cambodia ไทย Thailand

บรูไน Brunei มาเลเซีย Malaysia

สิงคโปร์ Singapore

6

อินโดนีเซีย Indonesia

ฟิลิปปินส์ Philippines


ตราสัญลักษณ์อาเซียน

asean

ธงอาเซียน

สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน�้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง

ความหมาย ตรงกลางเป็นรูปรวงข้าว 10 รวง ถูกมัดรวมกัน หมายถึง ประเทศสมาชิกทัง้ 10 ประเทศ รวมกันเป็นหนึ่งเดียว

ธงอาเซียนมีพื้นธงเป็นสีน�้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง ของประเทศสมาชิก ตรงกลางมีตราสัญลักษณ์อาเซียน

ค�ำขวัญประจ�ำอาเซียน “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม”

One Vision, One Identity, One Community 7


ธงประจ�ำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน

8

อินโดนีเซีย (Indonesia)

มาเลเซีย (Malaysia)

สิงคโปร์ (Singapore)

ฟิลิปปินส์ (Philippines)

ไทย (Thailand)

บรูไน (Brunei)

เวียดนาม (Vietnam)

ลาว (Laos)

พม่า (Myanmar)

กัมพูชา (Cambodia)


เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศ

อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ไทย บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา

เมืองหลวง

จาการ์ตา (Jakarta) กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) สิงคโปร์ (Singapore) มะนิลา (Manila) กรุงเทพมหานคร (Bangkok) บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) ฮานอย (Hanoi) เวียงจันทน์ (Vientiane) เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) พนมเปญ (Phnom Penh)

ค�ำทักทายเมื่อพบหน้ากันของประเทศสมาชิกอาเซียน เซอลามัต ปากี

เซอลามัต ปากี

(Selamat Pagi)

(Selamat Pagi)

อินโดนีเซีย เซอลามัต ปากี

มาเลเซีย ซินจ่าว

หนีห่าว

กูมุสตา

สวัสดี

(Ni Hao)

(Kumusta)

(Sawasdee)

สิงคโปร์ สะบายดี

ฟิลิปปินส์ มิงกะลาบา

ไทย ซัวซไดย

(Selamat Pagi)

(Xin Chao)

(Sabaidee)

(Mingalar Par)

(Suasadei)

บรูไน

เวียดนาม

ลาว

พม่า

กัมพูชา 9


ชุดประจ�ำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน อินโดนีเซีย มาเลเซีย

ชุดประจ�ำชาติของผู้หญิง เรียกว่า “เคบาย่า (Kebaya)”

สิงคโปร์

ชุดประจ�ำชาติของผู้ชายเรียกว่า “บาจู มลายู” ชุดประจ�ำชาติของผู้หญิงเรียกว่า “บาจู กูหรง”

ฟิลิปปินส์

ผู้ชายสวมใส่ตามเชื้อชาติ ส่วนผู้หญิงสวมชุดลายบาติก ชุดประจ�ำชาติของผู้ชายเรียกว่า “บารองตากาล็อก” ชุดประจ�ำชาติของผู้หญิงเรียกว่า “บาลินตาวัก” 10


ไทย

บรูไน

ชุดประจ�ำชาติของผู้ชายเรียกว่า “ชุดไทยพระราชทาน” ชุดประจ�ำชาติของผู้หญิงเรียกว่า “ชุดไทยพระราชนิยม”

ชุดประจ�ำชาติของผู้ชายบรูไนคล้าย กับชุดประจ�ำชาติของผู้ชายมาเลเซีย

เวียดนาม

ลาว

ชุดประจ�ำชาติเวียดนาม เรียกว่า “อ่าว หญ่าย (Ao Dai)”

เสื้อชุดประจ�ำชาติของผู้ชายลาวคล้ายกับ เสื้อชุดประจ�ำชาติของผู้ชายไทย

พม่า

กัมพูชา

โสร่งพื้นเมืองของพม่า เรียกว่า “ลองยี (Long Yi)”

ชุดประจ�ำชาติกัมพูชา เรียกว่า “ซัมปอต (Sampot)”

11


กฎเกณฑ์

22

จิน

าร ตนาก

เขียนชื่อประเทศสมาชิกอาเซียนตามรอยประ และระบายสี ให้สวยงาม


ระบายสีเพื่อนๆ อาเซียนให้สวยงาม แล้วเขียนค�ำขวัญอาเซียนตามรอยประ

ทิศท

าง

จินตนาการ

23


สังเกต

เน าดคะ

โยงเส้นจับคู่ภาพสัญลักษณ์ของพม่า อีกครึ่งหนึ่งที่หายไปให้ถูกต้อง

1 ธงชาติพม่า

2 สัตว์ประจ�ำชาติ: เสือโคร่ง

3 สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ: พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง

4 อาหารประจ�ำชาติ: โมฮิงกา

32


ให้เลือกระบายสีเฉพาะสิ่งที่เป็น สัญลักษณ์ของมาเลเซียเท่านั้น

จัดห

มวดห

มู่

จินตนาการ

33


เรียงล�ำดับ

วาม ค จ ใ จับ

อ่านข้อความด้านบน แล้วเลือกเส้นทางที่ถูกต้อง เพื่อเดินทางจากสิงคโปร์ไปฟิลิปปินส์

วันนี้เพื่อนชาวสิงคโปร์จะเดินทางไปฟิลิปปินส์ โดยเขาได้นั่งรถยนต์ไปสนามบิน แล้วจึงนั่งเครื่องบินไปลงที่ฟิลิปปินส์ จากนั้นจึงต่อเรือเพื่อไปยังเกาะที่พักของเขา ระหว่างทาง เขาเห็นปะการังใต้ท้องทะเลที่สวยงาม จากนั้นเขาได้ผ่านเกาะแห่งการท�ำนา ซึ่งมีกระบือส่งยิ้ม ให้เขาอยู่ และแล้วเขาก็ถึงเกาะที่พัก โดยมีเพื่อนชาวฟิลิปปินส์รอต้อนรับ

เริ่มต้น

สิ้นสุด

48


เขียนเครื่องหมาย ลงในช่องว่างของอาหารประจ�ำชาติ ที่ตรงกับชื่อเมืองหลวงของประเทศนั้นๆ และเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องว่างของอาหารประจ�ำชาติที่ไม่ตรงกับชื่อเมืองหลวง

สังเกต

กฎเกณฑ์

1

จาการ์ตา (Jakarta) 2

สิงคโปร์ (Singapore) 3

พนมเปญ (Phnom Penh) 4

กรุงเทพมหานคร (Bangkok) 5

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) 6

บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)

8

ฮานอย (Hanoi) 7

เวียงจันทน์ (Vientiane) 9

มะนิลา (Manila)

เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) 49


อินโดนีเซีย

ไทย

มาเลเซีย

สิงคโปร

ฟลป ิ ปนส

บรูไน

เวียดนาม

ลาว

พมา

กัมพูชา

àÃÕ仡Ѻ¹Ã¡Ô¨¡ÃÃÁàÊÃÔ ÍÙé Òà«Õ¹áÅлÃÐà·ÈÊÁÒªÔ¡ ¾ÃŒÍÁʹءʹҹ Á·Ñ¡ÉСÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ ÊèÕ Í´¤ÅŒÍ§¡Ñº¡Ò÷ӧҹ ¢Í§ÊÁͧ ËÃ×Í·Õàè ÃÕÂ¡Ç‹Ò Brain-Based Learning ( ) «Ö§è ¡Ô¨¡ÃÃÁã¹àÅ‹Á¹Õ¨é Ð໚¹¾ÅѧÍѹÊÓ¤ÑÞ㹡ÒÃà¾ÔÁè ÈÑ¡ÂÀÒ¾ ·Ò§ÊÁͧãËŒ¡ºÑ à´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ä·Â à¾×Íè àµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ ÊÓËÃѺ¡ÒáŒÒÇࢌÒÊÙ»‹ ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹䴌Í‹ҧṋ¹Í¹ BBL

È · à Ð Ã » Ñ º àÃÕ¹ÃÙŒà¡ÕèÂǡѺÍÒà«Õ¹ àÃÕ¹ÃÙŒà¡ÕèÂÒàÇ«¡Õ¹ ÁÒ·Ó¤ÇÒÁèŒÙ ¡Ñ ÍÒà ÊÁÒªÔ¡Í¨ÓªÒµÔ ¨´Ø àÃÁèÔ µ¹Œ ¢Í§ÍÒà««ÂÕ ÂÕ ¹¡¹Ñ á¼¹·»èÕ ÃÐà·ÈÊÁÒª¡Ô ¹ µÃÒÊÞÑ Å¡Ñ É³Í Òà«ÂÕ ÍÒà«ÂÕ ¹ ¹ ¸§ÍÒà«ÂÕ ¹ ¤Ó¢ÇÞÑ »ÃШÓÍÒà«ÂÕ ¹

Â Ò Å Ë ¡ Ò Å Ë º Ñ ¡ » ä Œ Ù Ã ¹ Ò ¹ Â Õ ¹ à à Ê Ã Ò ¡ Ø ¡ ¹ Ð Ê¡Ô¨¡ÃÃÁàÊÃÔÁ·Ñ¡¾É·Ò§ÊÁͧ Ò À  ¡ Ñ È Á è Ô ¾ à¾×èÍà à©Å·ŒÒÂàÅ‹Á!

¾ÃŒÍÁ

79.-

สนุกคิด ใกล ชิดอาเซียน 1

294877

731825

¸§»ÃÐ Åǧ àÁÍ× §Ë ÒÂàÁÍè× ¾ºË¹ÒŒ ¡¹Ñ ¤Ó·¡Ñ · ¨ÓªÒµÔ ª´Ø »ÃÐ »Œ ÃÐ¨ÓªÒµÔ ´Í¡äÁ Ð¨ÓªÒµÔ ÊµÑ Ç» à ·èÕ Í‹ §à·ÂèÕ Ç Ê¶Ò¹·»ÃÐ¨ÓªÒµÔ ÍÒËÒà §¹Ô ˹Nj Âà

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com เสริมความรู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.