ก้าวทันอาเซียน

Page 1

ÃÇÁ·Ø¡àÃ×èͧà¡ÕèÂǡѺÍÒà«Õ¹·Õ褹ä·ÂµŒÍ§ÃÙŒ!

อ่ื ง ว ย

ครบท ก ในเลม ุ เร เดี

10 ประเทศ สมาชิกอาเซียน

มาเตรียมความพรอม

Ò¾ à ¤³Ø À Ò¤

˹§Ñ ÊÍ×

เพี เพยี ง เพ

É Ò¾àÔ È

เพือ ่ เขาสูป  ระชาคมอาเซียนกันเถอะ! 㪌໚¹¢ŒÍÁÙÅ͌ҧÍÔ§ÊÓËÃѺ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ ¤ÃÙÍÒ¨Òàà¼Âá¾Ã‹»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ãËŒ¤¹ä·ÂàµÃÕÂÁµÑÇà¾×èÍࢌÒÊÙ‹ »ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹ àÊÃÔÁ IQ áÅФÇÒÁÃÙŒÃͺµÑÇ

1169 69-.




·íÒäÁคนไทย ต้อง

“ก้าวทันอาเซียน”

ในปี พ.ศ. 2510 ประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ ได้ร่วมกันจั ดตั้ง “สมาคมประชาชาติแห่ง เอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้” หรือที่รู้จั กกันดี ว่า “อาเซียน” ซึ่งนับ เป็นก้าวแรกของการพั ฒนาภูมิภาคนี้ ให้เจริ ญ ก้าวหน้าในด้านต่างๆ อาเซียนได้ดา� เนินการเรื่อยมาจนกระทั ่งในปัจจุ บนั ประเทศสมาชิกอาเซียนทั ้ง 10 ประเทศ ได้มีเป้าหมายร่วมกันในการผลักดันอาเซียนให้ก้าวสู่การเป็น “ประชาคมอาเซียน” ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งจะ เป็นการยกระดับองค์กรให้มีความเข้มแข็งขึ้น สร้างความร่วมมือระหว่างกันในทุกๆ ด้าน เพิ่มขี ดความสามารถ ในการแข่งขัน และเพิม่ อ�านาจในการต่อรองให้ได้มาซึง่ ผลประโยชน์รว่ มกัน ท�าให้สามารถแข่งขันกับภูมภิ าคอื่น ของโลกได้ นอกจากนีก้ ารเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนยังท�าให้สังคมไทยมีความเป็นพหุวัฒนธรรมมากขึ้น คนไทย ทุกคนจึงต้องหันมาตระหนักถึงความเป็นชาติ และต้องเรียนรูเ้ กีย่ วกับประเทศสมาชิกอาเซียนในด้านต่างๆ ให้ ลึกซึ้งและรอบด้าน เนือ่ งจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั ้ ง 10 ประเทศนั้นล้วนแตกต่างกันทั ้ งในด้านวัฒนธรรม ความเชื ่ อ และวิ ถีชี วิต ประชาคมอาเซียนจึงเป็นการร่วมมือกันเพือ่ ให้พี่ นอ้ งชาวอาเซียนอยูอ่ ย่างดี และมีความสุข ท่ามกลางความแตกต่างเหล่านี้ อีกทั ้ งยังสามารถร่วมมือกันสร้างสรรค์และพั ฒนาให้ภูมิภาคเอเชี ยตะวันออก เฉียงใต้มคี วามเป็นอันหนึง่ อันเดี ยวกัน ท�าให้จับมือกันเพือ่ ก้าวเดินในเวทีโลกได้อย่างภาคภูมิ ใจและมีเสถี ยรภาพ


เราคนไทยในฐานะหนึง่ ในประเทศผู้น�าที่ ร่วมก่อตั้งอาเซียนและ เป็นประเทศที่มีศักยภาพในการสร้างประชาคมอาเซียนขึ้นนั้น จ�าเป็น อย่างยิ่งที่ จะต้องมีการปูพื้นฐานและเสริ มสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ อาเซียน ทั ้ งการท�าความรู้จั กกับอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถปรั บตัวและด�ารงชี วิ ตอยู่ในสังคมแห่ง การพั ฒนาซึ่งเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายของประชาคมอาเซียน รวมถึงเพื่อให้คนไทยพร้อมรับโอกาสดี ๆ มากมายที่จะเกิดขึน้ แก่ตนเอง สังคม และประเทศชาติต่อไป ด้วยความตระหนักดี ถงึ ผลประโยชน์และการเปลีย่ นแปลงที่จะเกิดขึน้ ในสังคมไทยในการก้าว เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอสจึงขอเป็นพลังส�าคัญในการเตรียมคนไทยทุกคนให้ มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยได้จัดท�าหนังสือ “ก้าวทั นอาเซียน” ขึ้น เพื่อ เป็นการปูพื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน เพราะต้องการให้คนไทยพร้อม รับมือกับการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตอย่างรูเ้ ท่าทั น และสามารถด�ารงชี วิตอย่างมีความสุข ภายใต้ “ประชาคมอาเซียน” หากคนไทยทุกคนพร้อมใจกันก้าวสูป่ ระชาคมอาเซียน ประเทศไทยก็จะเปลีย่ นแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้น ความสุขและความส�าเร็จก็จะเกิดขึ้นกับพี่ น้องชาวไทยได้อย่างแน่นอน

ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส มาร่วมแบ่งปันและสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ ได้ที่ editor_kids@misbook.com


ÊÒúÑÞ á´§

´Í¡ªº Ò

รอบรูเรื ่ องอาเซียน

อาเซียนคืออะไร จุ ดเริ่มต้นของอาเซียน แผนที่ประเทศสมาชิกอาเซียน ตราสัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน ค�าขวัญประจ�าอาเซียน เพลงประจ�าอาเซียน ส�านักงานใหญ่และหัวหน้าสมาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา ตัวอย่างการด�าเนินงานที่ผ ่านมาของอาเซียน

7 7 8 9 9 9 10 12 13 13 14


จากสมาคมอาเซียนสูการเปนประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน การเตรียมความพร้อมของประชาชนสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

16 18 20 22

ประเทศสมาชิกอาเซียน ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา

24 34 44 52 62 72 80 90 100 110


รอบรูเรื ่ องอาเซียน

6


อาเซียนคืออะไร อาเซี ย น มีชื่ อเต็มว่า

สมาคมประชาชาติ แห่ ง เอเชี ยตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) เป็นการรวมกลุ่มประเทศ ในแถบเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างกันทั ้ งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ซึ่งเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในภูมิภาค เน้นการพั ฒนาชี วิ ตความเป็นอยู่ของประชากรในประเทศสมาชิกให้มีระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นนอกภูมิภาคได้

จุดเริม่ ต้นของอาเซียน

เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ ณ วังสราญรมย์ ประเทศไทย เพื่อก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ขึ้น และในเวลาต่อมาก็มีประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 5 ประเทศ คือ บรูไน 7 มกราคม พ.ศ. 2527 เวียดนาม 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ลาว 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 พม่า 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 กัมพูชา 30 เมษายน พ.ศ. 2542 ดังนั้นในปัจจุ บันอาเซียนจึงมีประเทศสมาชิกทั ้ งหมด 10 ประเทศ

7


แผนที่ประเทศ สมาชิกอาเซียน

8


ตราสัญลักษณ์อาเซียน

สีแดง

สีเหลือง

หมายถึง ความกลาหาญ และความกาวหนา

หมายถึง ความเจริ ญรุงเรื อง

ÊÕ¢ÒÇ

สีนéÓเงิน

asean

หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง

หมายถึง ความบริ สุทธิ์

ความหมาย ตรงกลางเป็นรูปรวงข้าว 10 รวง มัดรวมกัน หมายถึง ประเทศสมาชิกทั ้ ง 10 ประเทศรวมกันเป็นหนึง่ เดี ยว

ธงอาเซียน

ธงอาเซียนมีพื้นธงเป็นสีน�้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคงของประเทศสมาชิก ตรงกลางมีตราสัญลักษณ์อาเซียน

ค�าขวัญประจ�าอาเซียน

“หนึง่ วิ สัยทั ศน์ หนึง่ อัตลักษณ์ หนึง่ ประชาคม” One Vision, One Identity, One Community

9


เพลง»ÃШíÒอาเซียน เนื้อเพลง

The ASEAN Way

Raise our flag high, sky high Embrace the pride in our heart ASEAN we are bonded as one Look’in out to the world. For peace, our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream we care to share Together for ASEAN we dare to dream we care to share for it’s the way of ASEAN.

10

The

ASEAN

Way

The

ASEAN

Way

The

ASEAN

Way


กรมอาเซียนได้จัดการประกวดเพลงประจ�าอาเซียนในปี พ.ศ. 2551 ซึง่ เพลงของประเทศไทยได้รบั คัดเลือก ให้เป็นเพลงประจ�าอาเซียน มีชื่ อเพลงว่า “The ASEAN Way” แต่งโดยนายกิตติคุณ สดประเสริ ฐ (ท�านองและเรียบเรียง) นายส�าเภา ไตรอุดม (ท�านอง) และนางพยอม วลัยพั ชรา (เนื้อร้อง)

เนื้อเพลงภาษาไทย

วิถีแห่งอาเซียน

พลิ้วลู่ลม โบกสะบัด ใต้หมู่ธงปลิวไสว สัญญาณแห่งสัญญาทางใจ วันที่เรามาพบกัน อาเซียนเป็นหนึง่ ดังที่เราปรารถนา เราพร้อมเดินหน้าไปตรงนั้น หล่อหลอมจิ ตใจให้เป็นหนึง่ เดี ยว อาเซียนยึดเหนีย่ วสัมพั นธ์ ให้สังคมนีม้ ีแต่แบ่งปัน เศรษฐกิจมั่นคงก้าวไกล

The

ASEAN

Way

The

ASEAN

Way

The

ASEAN

Way

11


ส�านักงานใหญ†และหัวหน้าสมาคมอาเซียน

สมาคมอาเซียนมีส�านักงานใหญ่ คือ สํานักเลขาธิการอาเซียน ตั้งอยู่ที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการประสานงานและด�าเนินงานต่างๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายตามโครงการหรือกิจกรรมที่วางแผนไว้ โดยมีเลขาธิการอาเซียนเป็นหัวหน้าใหญ่ในการดูแล และควบคุมงาน เลขาธิการอาเซียนจะหมุนเวียนกันไปตามตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวแรกของประเทศ สมาชิก มีวาระในการด�ารงต�าแหน่ง 5 ปี และเมื่อครบวาระแล้วจะไม่สามารถต่ออายุได้ เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุ บันคือ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ตัวแทนจากไทย ด�ารง ต�าแหน่งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 จนถึง พ.ศ. 2555 หลังจากนั้นจึงเป็นตัวแทนจากเวียดนาม ซึง่ อยูใ่ นระหว่างการเสนอชื ่ อนายเลเลืองมีงเป็นผูด้ �ารงต�าแหน่งเลขาธิการอาเซียนคนต่อไป asean

asean

ส�าหรับหน่วยงานที่ทา� หน้าที่ประสานงานและดูแลติดตามผลการด�าเนินงานในประเทศต่างๆ คือ สํานักงาน อาเซียนแหงชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงการต่างประเทศของแต่ละประเทศสมาชิก โดยหน่วยงานที่ รับผิ ดชอบของประเทศไทยคือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

12


กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนร่างกฎหมายเพื่อให้ประเทศสมาชิกประพฤติ ปฏิบตั อิ ยูใ่ นกฎระเบี ยบที่รว่ มกันสร้างขึน้ ซึง่ มีผลต่อการสร้างความมั่นคงและเพิม่ ประสิทธิภาพให้องค์กร พร้อมที่จะก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน โดยต้องการให้อาเซียนใกล้ชิดกับประชาชนและสามารถ สร้างประโยชน์ ให้กับประชาชนได้สูงสุด ประเทศสมาชิกจะได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน มีการพึ่งพาอาศัย กันระหว่างประชาชนในภูมิภาค กฎบัตรอาเซียนประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ประกอบด้วยบทบัญญัติ 13 บท 55 ข้อ โดยมีเนื้อหาที่แสดงถึงความก้าวหน้าของอาเซียน เช่น ก�าหนดภาษาอังกฤษให้เป็นภาษา ราชการของอาเซียน

อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา อาเซียน+3 (ASEAN Plus Three) เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกอีก 3 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุน และเกาหลี ใต เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ขณะที่หลายประเทศประสบปัญหาวิ กฤตการณ์การเงินในเอเชี ย จึงเกิดการรวมกลุ่มเพื่อร่วมกัน แก้ ไขปัญหาและฟื้นฟูเศรษฐกิจ หลังจากนั้นจึงได้จัดการประชุ มสุดยอดอาเซียน+3 ขึ้นทุกปี อาเซียน+6 (ASEAN Plus Six) คือ การรวมกลุม่ กันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และประเทศ นอกภูมิภาคอีก 6 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุน เกาหลี ใต (สมาชิกอาเซียน+3) ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย เพื่อให้เกิดความมั่นคงและเพิ่มอ�านาจต่อรองทางเศรษฐกิจกับประเทศนอกกลุ่มอย่างสหภาพยุโรป หรือ EU (European Union) และมีศักยภาพในการแข่งขันในเวที เศรษฐกิจโลก

13


ÍԹⴹÕà«Õ ทีต่ งั้

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) หรืออินโดนีเซีย เป็นประเทศ หมูเ่ กาะที่ ใหญ่ที่สดุ ในโลก ตัง้ อยูบ่ ริ เวณเส้นศูนย์สตู ร ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนและทวีป ออสเตรเลีย ทิศ เหนือติดกับรัฐซาราวักและรัฐซาบาห์ของมาเลเซีย ทิศใต้ตดิ กับมหาสมุทร อินเดี ย ทิศตะวันออกติดกับปาปัวนิวกินแี ละมหาสมุทรแปซิฟกิ และทิศตะวันตกติดกับ ช่องแคบมะละกาและมหาสมุทรอินเดี ย

เมืองหลวง

จาการ์ตา (Jakarta) เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียน วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 เป็นหนึง่ ในประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน

34


พื้นที่

ประมาณ 1,919,440 ตารางกิโลเมตร (รวมทั ้ งส่วนที่เป็นแผ่นดินและผืนน�้า) เป็นประเทศที่ ใหญ่ที่สุด ในเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งออกเป็น 5 เกาะใหญ่ คือ ชวา สุมาตรา กาลิมันตัน (บนเกาะบอร์เนียว) สุลาเวสี และอิเรียนจายา (ปาปัว)

ธงชาติ ธงชาติอินโดนีเซียเรี ยกว่า “ซังเมราหปูติห (Sang Merah Putih)” มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม ผืนผ้า พื้นธงแบ่งออกเป็น 2 ส่วนในแนวนอน ส่วนบนเป็นสีแดง (หมายถึง ความกล้าหาญและ อิสรภาพ) ส่วนล่างเป็นสีขาว (หมายถึง ความ บริ สุทธิ์ยุติธรรม)

การปกครอง

ปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดี เป็นประมุข แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 33 จั งหวัด โดยมี 5 เขต ปกครองพิเศษ ได้แก่ จาการ์ตา อาเจะห์ ยอกยาการ์ตา ปาปัว และ ปาปัวตะวันตก แต่ละจั งหวัดมีเมืองหลวงหรือเมืองเอกเป็นของตนเอง

35


ภูมิอากาศ

ร้อนชื ้ นแบบศูนย์สตู ร ฝนตกชุ กตลอดทั ้งปี มี 2 ฤดูกาล

ฤดูรอน ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม) (เดือนพฤศจิ กายนถึงเดือนเมษายน)

เศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ทรัพยากรที่ส�าคัญคือ น�้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ สินคานําเขา – น�้ามัน เหล็ก สิ่งทอ สินคาสงออก - ก๊าซธรรมชาติ แร่ธาตุ ถ่านหิน

»ÃЪҡÃ

ประมาณ 240 ล้านคน (พ.ศ. 2554) ส่วนใหญ่เป็นชาวชวา

ศาสนา

ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจ�าชาติ (87%) รองลงมาคือ ศาสนาคริ สต์ (9.5%) และศาสนาฮินดู (1.8%)

หน่วยเงิน

รูเปยหอินโดนีเซีย (Indonesian Rupiah: IDR) อัตราแลกเปลี่ยน 1000 รูเปียห์อินโดนีเซีย ประมาณ 3 บาทไทย (กรกฎาคม พ.ศ. 2555)

วันชาติ

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันประกาศเอกราชจากเนเธอร์แลนด์

36


ชุดประจ�าชาติ ผู้ชายสวมเสื้อคอปิด นุ่งโสร่งพื้นเมือง สวมหมวกกลมท�าจากผ้าสักหลาด ผู้หญิงสวมชุ ดเคบายา (Kebaya) เป็นเสื้อแขนยาวเข้ารูป ผ่าหน้า คอแหลม เข้าชุ ดกับผ้าโสร่งพื้นเมืองหรื อที่ เรี ยกว่า ผ้าบาติก ยาวคลุมข้อเท้า สีสันสวยงาม มี ผ้ายาวคล้องคอ

อาหารประจ�าชาติ นาซิ โกเรง (Nasi Goreng) เป็นข้าวผัดของอินโดนีเซีย โดยจะ ผัดกับซอสและมีเครื่องเคียงต่างๆ อยู่ รอบจาน เช่น ไข่ดาว ข้าวเกรียบ กุ ้ง

37


´Í¡¡ÅŒÇÂäÁŒÃÒµÃÕ

ดอกไม้ประจ�าชาติ ดอกกลวยไมราตรี (Moon Orchid) ดอกมีลกั ษณะคล้ายปีกผี เสือ้ ล�าต้น สัน้ กว่ากล้วยไม้ทั่วไป ดอกบานยาวนาน ที่สุดเมื่อเที ยบกับกล้วยไม้พั นธุ์อื่นๆ

สัตว์ประจ�าชาติ มังกรโคโมโด (Komodo Dragon) มีลักษณะคล้ายตัวเงินตัวทองของไทย แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก ดุร้ายและกินเนื้อเป็นอาหาร

38


การทักทาย ทั กทายกันด้วยการยื่ นมือทั้ ง 2 ข้างมาสัมผัสกัน เรียกว่า “สลาม” ซึง่ เป็นการทั กทายของศาสนาอิสลาม ยกเว้นผูช้ ายกับผูห้ ญิงที่ ไม่ควรสัมผัส มือกัน

ภาษาราชการ ภาษาอินโดนีเซีย

ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซีย

ค�าอ่าน

ค�าแปล

Selamat pagi

เซอลามัต ปากี

สวัสดี ตอนเช้า

Selamat siang

เซอลามัต เซียง

สวัสดี ตอนกลางวัน

Selamat sore

เซอลามัต โซเร่

สวัสดี ตอนเย็น

Selamat tinggal

เซอลามัต ติงกาล

ลาก่อน

Apa kabar?

อาปา กาบาร์

สบายดี ไหม

Senang sekali bertemu dengan anda

เซอนัง เซอกาลี เบิ รเตอมู เดองัน อันดา

ยินดี ที่ ได้รู้จัก

39


ประเพณี áÅÐ วัฒนธรรม ที่ส�าคัญ 40

ระบ�าบารอง

(Barong Dance)

ระบ�าบารองเป็นการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของเกาะบาหลี เรื่องราวเกีย่ วกับ การต่อสู้ระหว่างฝ่ายดี และฝ่ายปิศาจ ซึ่งสุดท้ายฝ่ายดี ก็ ได้รับชัยชนะ


ประเพณีการถือศีลอด

(Sawm)

การถือศีลอดเป็นประเพณีของชาวมุสลิม ซึ่งอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีชาวมุสลิมมากที่สุด ในโลก ประเพณีนเ้ี กิดขึน้ ในเดือนรอมฎอนหรือเดือนที่ 9 ของปฏิทนิ อิสลาม โดยชาวมุสลิมต้องงด อาหารและน�้าดื่มตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก และท�าแต่ความดี เป็นการฝึกความ อดทนและเข้าถึงจิ ตใจของผู้ที่อัตคัดขัดสน ช่วยให้จิตใจขาวสะอาดและบริ สุทธิ์

วายัง ปูร์วา

(Wayang Purwa)

วายัง ปูร์วาเป็นวัฒนธรรมการเชิดหุ่นเงาที่ เก่าแก่ของอินโดนีเซีย ตัวหุน่ ท�าจากหนัง มีดวงไฟ อยูใ่ กล้ๆ กับจอที่ทา� จากผ้า เงาของหุน่ จะสะท้อน กับ แสงไฟแล้วปรากฏภาพขึ้นบนจอ

41


ÁÒàµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁà¾×èÍࢌÒÊÙ‹ »ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹¡Ñ¹à¶ÍÐ!

รอบรูเ รือ ่ งอาเซียน

อาเซียนคืออะไร จุดเริม ่ ตนของอาเซียน แผนทีป ่ ระเทศสมาชิกอาเซียน ตราสัญลักษณอาเซียน ธงอาเซียน คำขวัญประจำอาเซียน ภูมอ ิ ากาศ เพลงประจำอาเซียน สำนักงานใหญและหัวหนาสมาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน อาเซียนกับประเทศคูเ จรจา ตัวอยางการดำเนินงานทีผ ่ า นมาของอาเซียน

จากสมาคมอาเซียนสูก ารเปนประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมัน ่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน การเตรียมความพรอมของประชาชน สูก ารเปนประชาคมอาเซียน

เซอลามัต ปากี (สวัสดีตอนเชา)

ประเพณี และวัฒนธรรม

พรอมเรือ ่ งราวนารูข อง 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน

 ทีต ่ ง้ั  พืน ้ ที่  เมืองหลวง  ธงชาติ  การปกครอง  ภูมอ ิ ากาศ  เศรษฐกิจ  ประชากร  ศาสนา  หนวยเงิน  วันชาติ  ชุดประจำชาติ  อาหารประจำชาติ  ดอกไมประจำชาติ  สัตวประจำชาติ  ภาษาราชการ  การทักทาย  ประเพณีและวัฒนธรรมทีส ่ ำคัญ  สถานทีท ่ อ  งเทีย ่ วทีส ่ ำคัญ

สถานที่

“˹Öè§ÇÔÊÑ·Ñȹ ˹Öè§ÍѵÅѡɳ ˹Ö觻ÃЪҤÁ” One Vision, One Identity, One Community

กาวทันอาเซียน

169.-

ISBN 978-616-527-382-4

9

786165

273824

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com เสริมความรู

10 ประเทศ สมาชิกอาเซียน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.