Short note หลักภาษาไทย

Page 1

ั่ ใจกอ นลงสนามสอบ อานงาย เขา ใจงาย มน

ั้ ประถม-มธั ยม ั เรียนชน ั นก สำหรบ

สสี ดใส นา อา น นา เรยี นรู

สรุปสาระสำคัญของหลักภาษาไทยในลักษณะการ Short Note เนนใจความสำคัญที่ควรรู สำหรับทบทวนและสรางพื้นฐาน ความรูหลักภาษาไทย เพื่อการใชงานที่ถูกตอง และมีประสิทธิภาพ เขาหองสอบไดอยางมั่นใจ สีสวยสดใส อานงาย สบายตา ขนาดเลมกะทัดรัด พกติดตัวไวทบทวนไดทุกที่ เสรมิ ความรู ัว ส อ อานทบทวน เตรียมต ISBN 978-616-430-078-1

9

786164

300781

หมวด คู มือเร�ยน-สอบ ราคา 100 บาท

สำหรับนักเรียนชั้นประถม-มัธยม

àÅ‹Áà´ÕÂÇ ¼‹Ò¹©ÅØÂ

สรุปสาระสำคัญของหลักภาษาไทยสำหรับใชทบทวนและเตรียมตัวสอบ สำหรับนักเรียนชั้นประถม-มัธยม



àÅ‹Áà´ÕÂÇ ¼‹Ò¹©ÅØÂ

1


ISBN 978-616-430-078-1 ราคา 100 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำ ส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและ เครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านัน้ ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ บรรณาธิการบริหาร ผู้เขียน พิสูจน์อักษร ศิลปกรรม ประสานงานฝ่ายผลิต ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ ฝ่ายการตลาด

ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ฝ่ายวิชาการภาษาไทย ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส บุหลัน จิตวงศ์ ศิรินทรา วัชรเดชสุวรรณ ชนาภัทร พรายมี ชนาภัทร พรายมี วราลี สิทธิจินดาวงศ์

จัดท�ำโดย บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2826-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษ สลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบ เปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบนหรือ ติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)

2

กรณีต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมาก

กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


คำค นนำ ภาษาไทยเป็นภาษาประจ�ำชาติที่คนไทย ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทั้งยังเป็น เครื่องมือที่ส�ำคัญในการเรียนรู้สาขาวิชาต่างๆ เพื่อพัฒนา ความรู้ ความคิด เพิ่มพูนทักษะและความสามารถให้สูงขึ้น หนังสือ SHORT NOTE หลักภาษาไทย เป็นการ รวบรวมเนื้อหาพื้นฐานของหลักภาษาไทยซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญ ในการเรียนและการสอบ อธิบายด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ไม่ซับซ้อน ท�ำให้สามารถท�ำความเข้าใจและน�ำไป ใช้ได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา รับประกันว่าหากมีหนังสือเล่มนี้ติดตัวไว้เสริมความรู​ู้ ความเข้าใจหลักภาษาไทย จะติดต่อสื่อสารหรือเข้าห้องสอบ ก็มั่นใจ ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่มุ่งหวังแน่นอน

ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส

3


สารบัญ พยัญชนะไทย

6

สระ

8

ตัวสะกด

10

พยางค์และค�ำ

12

ค�ำเป็น ค�ำตาย

14 วรรณยุกต์และการผันวรรณยุกต์

15

ค�ำควบกล�้ำ อักษรน�ำ

18

ค�ำประสม ค�ำซ้อน ค�ำซ�้ำ

20

ค�ำสมาส ค�ำสนธิ

24

4


ชนิดของค�ำ

31

ค�ำพ้อง

42

ประโยค

44

ค�ำราชาศัพท์

53

การใช้พจนานุกรม

61

เครื่องหมายวรรคตอน 63 ส�ำนวน สุภาษิต ค�ำพังเพย

74

ค�ำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ

77

ค�ำที่มักสะกดผิด

78

ความงามในภาษา

87

โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย 95

5


พยัญชนะไทย พยัญชนะต้น

มี 44 รูป แบ่งเป็น 3 หมู่ เรียกว่า ไตรยางศ์ คือ อักษรกลาง อักษรสูง และ อักษรต�่ำ

อักษรกลาง มี 9 ตัว ได้แก่

กจฎฏดตบปอ

หลักการจ�ำ ไก่ จิก เด็ก ตาย (เฎ็ก ฏาย) บน ปาก โอ่ง

อักษรสูง มี 11 ตัว ได้แก่

ขฃฉฐถผฝศษสห หลักการจ�ำ ผี ฝาก ถุง ข้าว สาร ให้ ฉัน

อักษรต�่ำ มี 24 ตัว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด อักษรต�่ำคู่ มี 14 ตัว ได้แก่

คฅฆชซฌฑฒทธพฟภฮ

หลักการจ�ำ พ่อ ค้า ฟัน ทอง ซื้อ ช้าง ฮ่อ อักษรต�่ำเดี่ยว มี 10 ตัว ได้แก่

งญณนมยรลวฬ

หลักการจ�ำ งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริม วัด โม ฬี โลก

6

[SHORT NOTE : หลักภาษาไทย] 6


มี 21 เสียง <จาก 44 รูป เหลือเพียง 21 เสียง เพราะ บางรูปมีเสียงซ�้ำกัน>

ก /ก/ ข ฃ ค ฅ ฆ /ค/ ง /ง/ จ /จ/ ช ฌ ฉ /ช/ ซ ส ศ ษ /ซ/ ด ฎ /ด/ ต ฏ /ต/ ท ถ ธ ฑ ฒ ฐ /ท/ น ณ /น/ บ /บ/

ป พ ผ ภ ฟ ฝ ม ย ญ ร ล ฬ ว อ ห ฮ

/ป/ /พ/ /ฟ/ /ม/ /ย/ /ร/ /ล/ /ว/ /อ/ /ฮ/

พยัญชนะต้นควบ

คือ พยัญชนะ 2 ตัวแรกของค�ำที่ออกเสียง พร้อมกัน โดยพยัญชนะตัวแรกจะเป็น ก ข ค ต ป ผ พ พยัญชนะตัวที่ 2 เป็น ร ล ว คือ กร กล กว ขร ขล ขว คร คล คว ตร ปร ปล ผล พร พล

7 7


สระ สระ

มี 21 เสียง แบ่งเป็น 2 ชนิด ตามลักษณะการออกเสียง คือ

สระเดี่ยว

มี 18 เสียง แบ่งเป็นสระเสียงสั้น 9 เสียง สระเสียงยาว 9 เสียง

เสียงสั้น /อะ/ /อิ/ /อึ/ /อุ/ /เอะ/ /แอะ/ /โอะ/ /เอาะ/ /เออะ/

เสียงยาว /อา/ /อี/ /อือ/ /อู/ /เอ/ /แอ/ /โอ/ /ออ/ /เออ/

สระประสมหรือสระเลื่อน มี 3 เสียง คือ เอี ย <เกิดจาก อี+อา> เอื อ <เกิดจาก อือ+อา> อั ว <เกิดจาก อู+อา> 8

[SHORT NOTE : หลักภาษาไทย] 8

ท�ำให้ อ ว ย เป็นพยัญชนะ ที่เป็นสระได้ คือ อ <ในสระเอือ> ว <ในสระอัว> ย <ในสระเอีย>


สระเกิน ได้แก่ อ�ำ ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ อ�ำ คือ สระอะ + ม

เช่น จ�ำ = จ + อะ + ม

ไอ คือ สระอะ + ย

เช่น ไส = ส + อะ + ย

ใอ คือ สระอะ + ย

เช่น ใส = ส + อะ + ย

เอา คือ สระอะ + ว

เช่น เกา = ก + อะ + ว

มีแม่กมเป็นเสียงสะกด มีแม่เกยเป็นเสียงสะกด มีแม่เกยเป็นเสียงสะกด มีแม่เกอวเป็นเสียงสะกด

ฤ <อ่านว่า รึ>

คือ พยัญชนะต้น ร + สระอึ เช่น ฤดี

ฤๅ <อ่านว่า รือ>

คือ พยัญชนะต้น ร + สระอือ เช่น ฤๅษี

ฦ <อ่านว่า ลึ>

คือ พยัญชนะต้น ล + สระอึ

ฦๅ <อ่านว่า ลือ>

คือ พยัญชนะต้น ล + สระอือ

9 9


ค�ำประสม ค�ำซ้อน ค�ำซ�้ำ ค�ำประสม

คือ การน�ำค�ำมูลที่มีความหมายต่างกัน ตั้งแต่ 2 ค�ำขึ้นมาประสมเป็นค�ำใหม่ โดยค�ำใหม่ ที่ได้มีเค้าความหมายเดิม

ลักษณะของค�ำประสม ค�ำที่น�ำมาประสมเป็นค�ำไทย เช่น ดีใจ น�้ำตา ค�ำไทยกับค�ำต่างประเทศ เช่น ของขลัง (ไทย + เขมร) ค�ำภาษาต่างประเทศทั้งหมด เช่น รถเก๋ง (บาลีสันสกฤต + จีน) ค�ำที่ขึ้นต้นด้วย การ ความ นัก ช่าง ผู้ ที่ เครื่อง เรื่อง โรง หมอ จัดเป็นค�ำประสม เช่น การบ้าน ความรัก นักร้อง ผู้ใหญ่ โรงเรียน หมอฟัน ค�ำประสมบางค�ำเกิดจากค�ำไทยกับค�ำบาลี สันสกฤต ประสมเข้าด้วยกันจึงคล้ายค�ำสมาส แต่ไม่ใช่คำ� สมาส เช่น ผลไม้ ทุนทรัพย์ พลเมือง ค�ำสมาสต้องเกิดจาก ค�ำบาลีสันสกฤต ประสมกันเท่านั้น

20

[SHORT NOTE : หลักภาษาไทย] 20


ค�ำซ้อน

คือ การน�ำค�ำมูล 2 ค�ำขึ้นไปมาซ้อนเข้าคู่กัน เพื่อให้ เกิดความหมายใหม่หรือความหมายใกล้เคียงกับความหมายเดิม มี 2 ชนิด คือ

ค�ำซ้อนเพื่อความหมาย ความหมายเหมือนกันซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต ทรัพย์สิน สูญหาย ความหมายคล้ายกันซ้อนกัน เช่น ใจคอ เขตแดน ขัดขวาง ความหมายตรงข้ามกันซ้อนกัน เช่น สูงต�่ำ ชั่วดี ตื้นลึกหนาบาง

ค�ำซ้อนเพื่อเสียง ความหมายและเสียงใกล้เคียงกันซ้อนกัน เช่น เคร่งเครียด ห้องหับ เฉิดฉาย ค�ำที่ไม่มีความหมายแต่มีเสียงคล้ายค�ำหลักซ้อนกัน เพื่อให้ คล้องจอง เช่น บ้าบอคอแตก โกหกพกลม ขนมนมเนย ค�ำที่ไม่มีความหมายแต่มีเสียงคล้ายกันตั้งแต่ 2 ค�ำขึ้นไป มาซ้อนกันแล้วเกิดความหมายขึ้น เช่น ลอกแลก สะเปะสะปะ ประนีประนอม

21 21


ค�ำพ้อง ค�ำพ้อง

คือ ค�ำที่มีรูปเขียนหรือเสียงอ่านเหมือนกัน แต่มีความหมายต่างกัน แบ่งเป็น 4 ชนิด คือ 1

ค�ำพ้องรูป คือ ค�ำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน แต่อ่าน ออกเสียงและมีความหมายต่างกัน การอ่านออกเสียงให้ ถูกต้องนัน้ ต้องพิจารณาบริบทว่าค�ำค�ำนัน้ หมายความ ถึงอะไร เช่น

สระ อ่านว่า สะ หมายถึง แอ่งน�้ำ หรือช�ำระล้าง

อ่านว่า สะ-หระ หมายถึง เสียงในภาษา

เพลา อ่านว่า เพ-ลา หมายถึง เวลา 2

อ่านว่า เพลา หมายถึง แกนส�ำหรับสอดในดุมรถ

ค�ำพ้องเสียง คือ ค�ำที่มีเสียงอ่านเหมือนกัน แต่มี รูปเขียนและความหมายต่างกัน เช่น

ค�ำว่า บาด บาท บาศ บาศก์ และบาตร อ่านว่า บาด เหมือนกัน แต่รูปเขียนและความหมายต่างกัน บาด หมายถึง ท�ำให้เกิดบาดแผลหรือรอยขีดข่วน บาตร หมายถึง ภาชนะรับอาหารของพระสงฆ์ บาศก์ หมายถึง ลูกเต๋า บาท หมายถึง มาตรเงิน เท้า บาศ หมายถึง บ่วง

42

[SHORT NOTE : หลักภาษาไทย] 42


3

ค�ำพ้องทัง้ รูปและเสียง หรือเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า “ค�ำหลายความหมาย” หมายถึง ค�ำที่มีรูปเขียนและเสียงอ่านเหมือนกัน แต่มีความหมาย แตกต่างกัน เช่น

แกะ อ่านว่า แกะ หมายถึง 1 สัตว์ 4 เท้า รูปร่างคล้ายแพะ แต่มีขนเป็นปุยหนา ใช้ท�ำเครื่องนุ่งห่ม 2 เอาเล็บมือค่อยๆ แคะเพื่อให้หลุดออก

สละ อ่านว่า สะ-หละ หมายถึง 1 ขนเม่น 2 บริจาค 3 ชื่อปาล์มชนิดหนึ่งมักขึ้นเป็นกอคล้ายระก�ำ 4 ชื่อปลาทะเลที่ล�ำตัวแบนข้างและกว้างมาก 4

ค�ำพ้องความหมาย หรือค�ำไวพจน์ คือ ค�ำคนละค�ำกันแต่มคี วามหมาย เหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน

ภูเขา ภู ภูผา ไศล พนม สิงขร บรรพต คีรี ศิขริน ช้าง

คช สาร หัตถี หัสดี กรินทร์ กุญชร ไอยรา คเชนทร์ คชาธาร

43 43


ส�ำนวน สุภาษิต คำ� พังเพย ส�ำนวน

คือ ค�ำทีไ่ พเราะคมคาย เป็นค�ำพูดสัน้ กะทัดรัด แต่มีความหมายกว้างขวางลึกซึ้งชวนให้คิด เช่น • ก้างขวางคอ = เข้าไปขัดขวาง • เกลือจิ้มเกลือ

=

ไม่ยอมเสียเปรียบกัน แก้เผ็ดให้ สาสมกัน

• คมในฝัก

= มีความรู้ความสามารถแต่เมื่อยังไม่ ถึงเวลาก็ไม่แสดงออกมาให้ปรากฏ

• สู้ยิบตา

= สู้จนถึงที่สุด, สู้ไม่ถอย

• ช้างเท้าหลัง = หญิงเป็นผู้ตาม • คลุมถุงชน = จับชายหญิงที่ไม่คุ้นเคยรู้จักกันมา ก่อนแต่งงานกัน • แจงสี่เบี้ย

= อธิบายละเอียดชัดเจน

• หนามยอกอก = แทงใจอยู่ตลอดเวลา แสลงใจ • ผักชีโรยหน้า = การท�ำดีเพียงผิวเผิน • ไฟสุมขอน = อารมณ์ร้อนรุ่มที่คุกรุ่นอยู่ในใจ • ปากหอยปากปู = ชอบนินทา แม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย

74

[SHORT NOTE : หลักภาษาไทย] 74


โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ค�ำประพันธ์ คือ ค�ำที่

เรียบเรียงขึน้ ตามกฎแห่ง ฉันทลักษณ์ มีทงั้ ร้อยแก้ว และร้อยกรอง

ฉันทลักษณ์ คือ ต�ำรา

ว่าด้วยค�ำประพันธ์ ซึง่ มีลกั ษณะบังคับต่างกัน

องค์ประกอบของค�ำประพันธ์ 1

บท คือ ตอนๆ หนึ่งของค�ำประพันธ์

2

บาท คือ บรรทัดของค�ำประพันธ์

3

วรรค คือ เป็นส่วนที่แยกย่อยออกมาจากบาทอีกทีหนึ่ง

4

ค�ำหรือพยางค์ คือ เสียงทีเ่ ปล่งออกมาในครัง้ ๆ หนึง่

95 95


ลักษณะบังคับในการประพันธ์บทร้อยกรอง 1 พยางค์ คือ การก�ำหนดจ�ำนวนพยางค์หรือค�ำในแต่ละวรรค ของบทร้อยกรอง

2

คณะ คือ การบังคับจ�ำนวนค�ำ จ�ำนวนวรรค จ�ำนวนบาท หรือ จ�ำนวนบทของค�ำ

สัมผัส

3

สัมผัสพยัญชนะหรือสัมผัสอักษร คือ การใช้ค�ำที่มี พยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงเดียวกันมาอยู่ด้วยกัน สัมผัสสระ คือ การใช้ค�ำที่มีเสียงสระเดียวกันมาอยู่ด้วยกัน สัมผัสนอก คือ การบังคับให้มี “สัมผัสสระ” ซึ่งเป็นค�ำที่ มีเสียงคล้องจองกันจากวรรคหนึง่ ไปยังอีกวรรคหนึง่ ตามข้อ บังคับของบทร้อยกรอง สัมผัสใน คือ การมี “สัมผัสสระหรือสัมผัสพยัญชนะ” อยู่ในวรรคเดียวกัน ไม่บังคับว่าต้องมี แต่มีแล้วจะช่วยให้ ไพเราะยิ่งขึ้น

ค�ำครุ ค�ำลหุ ใช้ในฉันท์

4

ค�ำครุ ▷ ค�ำที่ออกเสียงหนักประสมด้วยสระเสียงยาวและไม่มี ตัวสะกด เช่น น้า บ่อ ▷ ค�ำที่มีตัวสะกด เช่น หิน ปัก ▷ ค�ำที่ประสมด้วยสระอ�ำ ใอ ไอ เอา เช่น จ�ำ ไป

96

[SHORT NOTE : หลักภาษาไทย] 96


ค�ำลหุ ▷ ค�ำที่ออกเสียงเบาประสมด้วยสระเสียงสั้นและไม่มี ตัวสะกด เช่น ปะทะ สิ

ค�ำเอก ค�ำโท

5

ค�ำเอก พยางค์หรือค�ำที่มีรูปวรรณยุกต์เอกก�ำกับ เช่น รุ่ง ใส่ และค�ำตาย เช่น ชิด รบ ค�ำโท พยางค์หรือค�ำที่มีรูปวรรณยุกต์โทก�ำกับ เช่น เก้า ช้า

เอกโทษ โทโทษ

6

เอกโทษ ค�ำที่เดิมเขียนด้วยวรรณยุกต์โท แต่แปลงมาเขียน ด้วยวรรณยุกต์เอก โทโทษ ค�ำที่เดิมเขียนด้วยวรรณยุกต์เอก แต่แปลงมาเขียน ด้วยวรรณยุกต์โท

ค�ำเป็น ค�ำตาย

7

ค�ำเป็น ▷ ค�ำประสมด้วยเสียงยาวและไม่มีตัวสะกด เช่น กา แผ่ ▷ ค�ำสะกดด้วยแม่กง กน กม เกย เกอว เช่น ตึง จม ▷ ค�ำที่ประสมด้วยสระอ�ำ ใอ ไอ เอา เช่น ด�ำ ไป ค�ำตาย ▷ ค�ำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและไม่มีตัวสะกด เช่น จะ เกะ ▷ ค�ำที่สะกดด้วยแม่กก กด กบ เช่น ตัก ขุด

97 97


คุณค่าของวรรณคดี คุณค่าของวรรณคดีสามารถแยกออกได้ 3 ด้าน ดังนี้ 1 คุณค่าด้านอารมณ์ วรรณคดีที่ดีต้องสามารถ สื่ออารมณ์ได้ ต้องท�ำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์อย่างใด อย่างหนึ่งขณะที่อ่าน เช่น ตื่นเต้น โศกเศร้า เร้าใจ

2 คุณค่าด้านสติปัญญา ต้องเป็นวรรณกรรมที่ให้ ความรูใ้ นด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นด้านสังคม วัฒนธรรม ภาษา นอกจากวรรณคดีจะให้ความเพลิดเพลินแก่ ผู้อ่านแล้ว ยังให้คติและข้อคิดต่างๆ ซึ่งจะสะท้อน เรื่องราวในอดีตและเป็นสิ่งที่ให้คุณค่าด้านความคิด เสริมสร้างสติปัญญา และยกระดับจิตใจผู้อ่าน

3 คุณค่าด้านวัฒนธรรมและสังคม นักกวีมกั จะสะท้อนสังคม สมัยนัน้ ซึง่ ท�ำให้เราได้เห็นชีวติ ความเป็นอยูว่ ฒ ั นธรรมความเชือ่ และค่านิยมคนในสังคมได้รู้ถึงขนบธรรมเนียมประเพณีใน สังคมนั้น ซึ่งท�ำให้ผู้อ่านเกิดความจรรโลงใจอีกด้วย

111 111


เสรมิ ความรู ัว ส อ อานทบทวน เตรียมต

112


ั่ ใจกอ นลงสนามสอบ อานงาย เขา ใจงาย มน

ั้ ประถม-มธั ยม ั เรียนชน ั นก สำหรบ

สสี ดใส นา อา น นา เรยี นรู

สรุปสาระสำคัญของหลักภาษาไทยในลักษณะการ Short Note เนนใจความสำคัญที่ควรรู สำหรับทบทวนและสรางพื้นฐาน ความรูหลักภาษาไทย เพื่อการใชงานที่ถูกตอง และมีประสิทธิภาพ เขาหองสอบไดอยางมั่นใจ สีสวยสดใส อานงาย สบายตา ขนาดเลมกะทัดรัด พกติดตัวไวทบทวนไดทุกที่ เสรมิ ความรู ัว ส อ อานทบทวน เตรียมต ISBN 978-616-430-078-1

9

786164

300781

หมวด คู มือเร�ยน-สอบ ราคา 100 บาท

สำหรับนักเรียนชั้นประถม-มัธยม

àÅ‹Áà´ÕÂÇ ¼‹Ò¹©ÅØÂ

สรุปสาระสำคัญของหลักภาษาไทยสำหรับใชทบทวนและเตรียมตัวสอบ สำหรับนักเรียนชั้นประถม-มัธยม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.