Modern Manufacturing

Page 1

001-Mo Cover-Feb2015-260115-2.pdf 1 26/1/2558 23:32:49

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

144 M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Vol.12 No.144 FEBRUARY 2015

C

www.factoryeasy.com www.mmthailand.com

เปดใจ ดร.อรรชกา สีบุญเรือง… แมทัพหญิงแหงวงการอุตสาหกรรมไทย ขับเคลื่อนองคกรสูความสำเร็จอยางยั่งยืน ดวยแนวทางการเพิ่มผลผลิต

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตดวย การลดความเสียหายในงานโลหะ เกาะติดการอนุรักษพลังงานระบบอากาศอัด ในภาคอุตสาหกรรม


002_AD_HOF.pdf 1 11/28/2014 8:36:38 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

*รายละเอียดเพิมเติม


003.pdf 1 1/26/2015 7:52:39 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


004_AD_GTmover.pdf 1 1/20/2015 10:15:41 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD_Avera.pdf 1 1/13/2015 3:12:39 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Untitled-1.pdf 1 8/20/2014 10:36:50 AM

C & SLC Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits:

- Highly efficient Mouvex principle design - Seal-less design - Self-priming with strong suction power - Dry-run capabilities - Ideal for low and high viscosities - Clean-in Place (CIP) and Sterilize-in-Place (SIP)

Application:

- Dairy & yogurt - Cereals

- Beverages, wine and beers - glucofe

- Sauces & chocolate - Cosmetics

P Series Rotary Vane Pumps Features and Benefits:

C

- Highly efficient sliding vane techonology - Self-adjusting vanes sustain perfomance - Self-priming - Line stripping capabilities - Dry-run capabilities - Ideal for thin or non-lubricating, viscous, abrasive and corrosive fluids

M

Y

CM

MY

CY

Application:

- Energy - Pulp & paper

CMY

K

- Food - Bitumen

- Biofuels

- Chemical

A Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits:

- Highly efficient - Exceptional self-priming capabilities - No adjustments required - Transfers viscous, non-lubricating, volatile or delicate fluids

HYGHSPIN DF- Hygienic high-pressure twin screw pumps. Features and Benefits:

- Differential pressures up to 50 bar - Double-suction pump with 2 product inlets and 1 outlet - Abrasion-free non-contact screws even at high pressure differential - Pumping of aqueous and higly viscous fluids - Hygienic sealing by form rings — no dead spaces - FDA approved elastomers in different qualities

Application :

- Beverage industry - Bakery products - Breweries - Confectionery - Delicatessen industry - Dairies & milk industry - Cosmatics & pharmaceuticmls - Cottage cheese - Cream

Application: - Asphalt - Fuel

- Paint & coating - Solvents

- Heavy fuel oil - Emulsions

- Inks & glues - Molasses

ABAQUE™ Series Peristaltic Hose Pumps Features and Benefits:

- Seal-less design - Reversible pump - Dry-run capabilities - Self-priming capabilities

Application:

- Chemical processing - Industrial water treatment - Municipal water treatment - Mining

- Food - Paints and coatings - Ceramics - Filter press equipment

COPCO CHEMTECH CO., LTD.

89/76 RK Park, Hathairat Rd., Bangchan, Klongsamwa, Bangkok 10510, THAILAND Tel. : +66(0) 2171-5391-2 (Auto), 081-700-8756 Fax. : +66(0) 2171-5287 , +66(0) 2548-7323 E-mail : coct@copcochemtech.co.th Website : www.copcochemtech.co.th


005_AD_ABB.pdf 1 10/28/2014 5:13:24 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD_Virtus.pdf 1 1/14/2015 11:39:51 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


009_AD_Ziargus.pdf 1 1/26/2015 7:13:55 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

VACON 速 100 FLOW INTELLIGENT PROCESS CONTROL VACON速 100 FLOW is an AC drive dedicated to improving flow control in Water & Wastewater and Building Automation applications. It combines the core functionality of VACON速 100 with dedicated functions that are specifically designed with flow control application processes in mind. VACON 100 FLOW is available in a number of frame sizes with either IP21/UL Type 1or IP54/UL Type 12 approved enclosures. It has a power range of 0.55 kW/0.75 HP to 160 kW/250 HP and a voltage range of 230 V to 500 V.


010_AD_United.pdf 1 1/26/2015 3:39:24 PM

AIR COMPRESSORS AIR DRYER MICROFILTERS เซาทเทิรน ครอส | เครื่องอัดลม | เครื่องทำลมแหง | เครื่องกรองลมใหสะอาด อีกหนึ่งผลิตภัณฑคุณภาพสูงจาก ประเทศออสเตรเลีย

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

SOUTHERN CROSS SCREW AIR COMPRESSORS

บริการออกแบบระบบลมอัดที่แหงสะอาดบริสุทธิ์สำหรับ เครื่องคัดแยกสีเมล็ดขาว อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมทั่วไป

-

บริการบำรุงรักษา ฉุกเฉิน 24 ชม. ทุกวัน พรอมมีอะไหลของแทจากโรงงานผูผลิต - ขาย - เชา - สัญญาบริการรายป - ตรวจซอม - อะไหลของแททุกยี่หอ

เปนเครื่องอัดลมแบบโรตารี่สกรูขับโดยตรง ไมมีชุดเกียร ขนาดมอเตอร 3 - 540 แรงมา หรือ 2 - 400 กิโลวัตต ปริมาณลมอัด 9 - 2624 cfm. แรงดัน up to 13 barg ชุดอัดลม Screw 5/6 อายุการใชงานมากกวา 15 ป มอเตอรประสิทธิภาพสูง TEFC IP 55 กันฝุนละออง 100% มีทั้งชนิดหลอลื่นดวยน้ำมันและชนิดไรน้ำมัน Oil Free สามารถทำงานไดดีในสภาพรอนชื้น - ฝุนละอองมาก

เครื่องทำลมแหง “แหงพิเศษ” แบบ Desiccant, PDP-70 oC

เครื่องทำลมแหง Refrigerated, PDP+3 oC

ชุดกรองฝุน ดักน้ำ-น้ำมัน ละเอียด 0.01 Micron/0.001 ppm

INTEGRATED INDUSTRIAL & ENGINEERING CO., LTD. บริษัท อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

1122 ซ.วชิระธรรมสาธิต 57 ถ.สุขุมวิท 101/1 บางจาก พระโขนง กรุงเทพฯ 10260 Tel : 0-2746-3400 (Auto) Fax : 0-2746-4440 E-mail : iieth@truemail.co.th


AD_Proshop.pdf 1 1/8/2015 4:08:05 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


012_AD AMDA.pdf 1 6/3/2013 5:03:55 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


©© 2014 Siemens Product Lifecycle Management Software Inc. All rights reserved. Siemens and the Siemens logo are registered trademarks of Siemens AG. All other logos, trademarks or service marks used herein are the property of their respective owners.

ขอเชิญร่วมงาน Thailand Industrial Machinery Roadshow Series 2015 วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม 2558 ณ El Grande Room, Amata Spring Country Club และ วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม 2558 ณ นิคมอุตสาหกรรม 304 จังหวัดปราจีนบุรี ตั้งแต่เวลา 8.30 น. เป็นต้นไป

พร้อมรับของรางวัลมากมาย ภายในงาน ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com 02 692 3090-4 ต่อ 114

ความจำ�เป็นของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมให้ทันโลกปัจจุบัน Industry Breakthrough Position Brief.

OEMs ในกลุม่ ธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ได้มกี ารแข่งขันเพือ่ เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพของรถยนต์ โดยมีปจั จัย การประหยัดน�ำ้ มันเป็นสองเท่าและการลดมลพิษทางอากาศลงครึง่ นึงเป็นปัจจัยหลักทีข่ บั เคลือ่ นท�ำให้เกิดการเปลีย่ น แปลงในระบบส่งก�ำลังและโครงสร้างของรถยนต์ ดังนัน้ ระบบอิเล็คทรอนิกส์และซอฟท์แวร์ตา่ งๆ ถูกน�ำมาใช้ในรถยนต์ เพิ่มมากขึ้นควบคู่ไปกับการเติบโตของตลาดรถยนต์ทั่วโลก เพือ่ ให้อยูร่ อดในตลาดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง Tier1 Suppliers ต้องปรับตัวเพือ่ ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิด ขึ้น ซึ่ง Tier 1 Suppliers ต้องการ การประมวลผลโปรแกรม (Program Execution) เพื่อท�ำให้สามารถที่จะผลิต สินค้าให้ตรงตามเวลา และตามงบที่วางไว้ รวมถึงได้มาตรฐานตามที่ก�ำหนดไว้ ยิ่งไปกว่านั้น Tier 1 Suppliers ต้องปรับปรุงระบบอิเล็คทรอนิกส์และซอฟท์แวร์เพื่อรองรับการผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนมากขึ้นและความหลาก หลายของสินค้าที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นเพื่อที่จะผลิตและส่งไปในตลาดโลก Suppliers ต้องการระบบที่ง่ายและได้มาตรฐาน 1. ปรับปรุงการออกแบบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบ 2. เพิ่มความสามารถในการพัฒนาโปรดักส์บางชิ้นที่ถูกใช้ในหลายระบบ 3. ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก 4. เพิ่มความสามารถในการมองเห็นการประมวลผลโปรแกรมรวมถึงปัจจัยเสี่ยง ทีมต่างๆ ทั้ง เครื่องกล อิเล็คทรอนิกส์ และ ระบบซอฟท์แวร์ต้องท�ำงานร่วมกันอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ Siemens PLM เรียกแนวคิดนี้ว่า Execution Program Innovation ซึ่งเป็นรูปแบบที่เป็นตัวขับเคลื่อนหลักในการ เพิ่มความร่วมมือกันระหว่างแผนกต่างๆ รวมถึงการตัดสินใจร่วมกัน ด้วยรูปแบบนี้ Tier 1 Suppliers สามารถที่ จะเข้าใจและทราบถึงผลกระทบที่เกิดจากการตัดสินใจที่เกิดขึ้นในระบบวงจรคุณภาพรวมถึงต้นทุน

2014_Breakthrough_AutoEng_Advertorial_A4.indd 1

Strategies to achieve fuel efficiency and emission standards Improving efficiency of the drivetrain

59%

Lightweighting vehicles Greater reliance on embedded software to control systems

48% 42%

Investing in hybrid technology

39%

Investing in electric drive technologies

30%

Improving battery performance

30%

Investing in fuel cell technology

29%

Other

7%

0% All respondents

20%

40%

60%

Percentage of respondents, n = 218

Source: “How Prepared is the Automotive Industry? Solutions for Meeting Fuel Efficiency and Emissions Standards.” January, 2014. Aberdeen Group, Inc.

Siemens PLM ได้ชว่ ยเหลือ Tier1 Suppliers รายใหญ่ทวั่ โลก ในการผลิตสินค้าให้ได้ตรงตามเวลา ตามงบประมาณ และตามมาตรฐานที่วางไว้ ถ้าคุณอยากเรียนรู้วิธีการเอาชนะความท้าทายในอุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถ ดาวน์โหลด white paper ได้ที่ bit.ly/autoinnovations

1/12/2015 4:55:44 PM


ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฏในนิตยสารมีจำ� นวนมากและ มีการเปลีย่ นปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถประกาศความ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�ำเป็น ทางนิตยสารจะ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนที่มีการกล่าวอ้างถึง ในบทความหากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปแล้ว ทาง นิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�ำ้

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในนิตยสาร ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com

การสมัครสมาชิก ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�ำระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ทโี่ ทรศัพท์ 0-2731-119194 ต่อ 103 หรือ อีเมล marketing@mmthailand.com

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร ทีมงานนิตยสารยินดีรบั ฟังความคิดเห็นและค�ำติชมเกีย่ วกับเนือ้ หาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ำมาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อ และทีอ่ ยูส่ ำ� หรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิป์ รับแต่ง ถ้อยค�ำ ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อได้ทั้งทางจดหมาย ตามทีอ่ ยูข่ องนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com

ค�ำประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาห กรรมและการบริหารธูรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็น บทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิด กรณีการละเมิดลิขสิทธิข์ นึ้ ทางนิตยสารจะไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อความ ผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏในนิตยสารเล่มนี้เป็นความ คิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จำ� เป็นต้องเป็นความคิด เห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

2014 COPYRIGHT AND TRADEMARK

As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE

You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.greenworld@gmail.com

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP

You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 27311191-94 ext. 103 of at e-mail address : marketing@mmthailand. com

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR

The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat. greenworld@gmail.com

THE MANIFEST OF COPYRIGHT

The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.

Copyright© © Green World Publication Co., Ltd.

CopyRight02.indd 14

23-Apr-14 5:41:15 PM


029_HItachi.pdf 1 6/12/2014 3:55:11 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


CONTENTS 30

FEBRUARY 2015 VOL.12 No.144

www.mmthailand.com | www.factoryeasy.com

MODERN MANUFACTURER COVER STORY

โชเซ่น เทคโนโลยี ศูนย์รวมโซลูชั่นกล้องจุลทรรศน์ชั้นน�ำ พร้อมตอบทุกโจทย์อย่างมืออาชีพ

34

แม่ทัพหญิงแห่งวงการอุตสาหกรรมไทย

INTERVIEW เปิดใจ ดร.อรรชกา สีบุญเรือง…

49

52

44

ไทย ออโต ทูลส์… ฐานการออกแบบและ สร้าง แม่พิมพ์อุปกรณ์จับยึดครบวงจรของ คนไทย100%

ขับเคลื่อนองค์กรสู่ความส�ำเร็จอย่างยั่งยืน ด้วยแนวทางการเพิ่มผลผลิต

อุตสาหกรรมไทย… ยกระดับสู่ฮับด้านเทคโนโลยีโลหการ

PLANT MANAGER

56

ELECTRIC TREND

การอนุรักษ์พลังงานระบบอากาศอัด ในภาคอุตสาหกรรม

VERTICAL SCOOP

59

การประยุกต์ใช้ระบบ RFID ย่านความถี่ UHF: สำ�หรับอุตสาหกรรมยา

ENERGY ALEART

INDUSTRIAL TREND

PRODUCTIVITY BOOSTER 38 พัฒนาบุคลากรอย่างไรให้ทันการ เปลี่ยนแปลง 40 เติมพลังขับเคลื่อนเพื่อเพิ่ม ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร UP-TO-DATE 24 COMMUNITY UPDATE 28 SITUATION 95 INDUSTRIAL AGENDA SOURCING CORNER 20 SUPPLIERS INDEX 104 PURCHASING CATALOGUES 107 EDITOR’S PICK

16 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

16-17 Content-Jan2015.indd 16

1/26/2015 10:31:10 PM


หการ

ออกแบบเพื่อการปองกันมอเตอรที่ดีที่สุด พรอมสามารถแสดงคาตางๆ ครบถวน

• ขณะมอเตอรทำงาน : ปองกันดวยเงื่อนไข โปรเทคชั่น กระแสของมอเตอร • ขณะมอเตอรหยุดทำงาน : ตรวจสอบคาความเปนฉนวนของมอเตอร

TECHNICAL MATTER 62 R&D CORNER

สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ย่อยสลายน�้ำมันปิโตรเลียม

67 PRINCIPLE

การเพิ่มผลผลิตด้วยการลดความเสียหายในงานโลหะ

70 GURU

การเคลือบผิว (ตอนจบ)

72 WHITE PAPER

ข้อแนะน�ำเกี่ยวกับ EMI ในการออกแบบ แผ่นวงจรพิมพ์

HORIZONTAL COMPETENCY 76 ALTERNATIVE ENERGY

วิเคราะห์ Feed-in Tariff คสช.: การแข่งขันแบบชุมชน ไร้แต้มต่อ Feed-in Tariff Analysis: Local Communities Compete without Extra Handicap

80 BOTTOM LINE

คุณสมบัติที่โดดเดน

• ระดับการคุมครองมอเตอรขั้นสูง (High Level Protection Class) • ปองกันมอเตอรดานกระแสที่ครบถวน (Current based protection) - กระแสมอเตอรเกิน (Over Current) - กระแสมอเตอรต่ำ (Under Current) - กระแสมอเตอรขาดเฟส (Phase Loss) - เฟสเขามอเตอรผิดปรกติ (Reverse Phase) - กระแสมอเตอรไมสมดุล (Unbalance) - โรเตอรของมอเตอรไมหมุน (Locked Rotor) - กระแสของมอเตอรกระชากรุนแรง (Shock/Stall) - มอเตอรกระแสรั่ว (Ground Fault) • ปองกันมอเตอรอุณหภูมิสูง (Sensed by PT100) • ตรวจสอบคาความเปนฉนวนของมอเตอรไดขณะ มอเตอรหยุดการทำงานทุกครั้ง • แสดงผลคาตางๆ โดยจอ LED สีแดง สามารถแยกจอไดดวยสายยาว 2 เมตร - แสดงคาการใชกระแสเปนตัวเลข (Load Current) - แสดงคากระแสที่รั่วเปนตัวเลข (Earth Current) - แสดงคาความเปนฉนวนเปนตัวเลข (Insulation resistance) - แสดงคาเวลาการทำงานสะสม เปนตัวเลข (Accumulated working time) - แสดงคาเปอรเซ็นตการทำงานของโหลดเปน บารกราฟ (% Load factor Round Bar graph) • มาตรฐานการสื่อสารสงออกเปน 4—20mA. • สามารถเพิ่มการสื่อสารขอมูล การใชงานผานเขาระบบคอมพิวเตอร • Option 1 : สื่อสารผานเขาอุปกรณอื่นๆ ไดโดย Module RTU/Modbus • Option 2 : Motor Working Recorder & Motor Communication with Program.

มุมมองทางเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อการซื้อของขวัญ Economic Viewpoint on Gift Purchase

83 INDUSTRAIL MARKETING

กลยุทธ์ 10 ด้านส�ำหรับปี 2015 ของ Gartner (ตอนที่ 1) Gartner’s 10 Strategies for the Year 2015 (Part 1)

86 FACTORY 3.0

แนวความคิดระบบนิเวศอุตสาหกรรม กรณีศึกษา เกาะจูล่ง สิงคโปร์ Ecosystem Concept in Industrial Areas: a Case Study of Jurong Island, Singapore

89 REAL TIME

แนวคิดการปิดใช้งานอุปกรณ์ไอทีในช่วงวันหยุดยาว Idea on Turning off IT Devices during Long Holidays

92 LOGISTIC DESIGN

การพัฒนาหลักสูตรด้านโลจิสติกส์รบั บริบทของประชาคมอาเซียน Development of Logistics Course to Respond to AC Context

16-17 Content-Jan2015.indd 17

1/26/2015 10:31:16 PM


เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลาดพร้าว 107 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสาร 0-2769-8120 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com ที่ปรึกษา: ผศ.ดร.ธารา ชลปราณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถาวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมการผู้จัดการ: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร: จิรภัทร ข�ำญาติ เลขานุการกองบรรณาธิการ: จิดาภา แจ้งสัจจา กองบรรณาธิการ: ณัฐกฤตา พืชนุกลู , คาวี สุขสาลี, สาวิตรี สินปรุ คอลัมนิสต์: พิชัย ถิ่นสันติสุข, ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง, พิชญ์ รอดภัย, ฉันทมน โพธิพิทักษ์, ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ, นเรศ เดชผล หัวหน้าฝ่ายศิลปกรรม: วรพจน์ บุญเกตุ ฝ่ายศิลปกรรม: กิตติศักดิ์ ม้วนทอง, ธนวัฒน์ เชียงโญ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหารฝ่ายขาย: พัชร์สิตา ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสา โสภิณ, พรเลขา ปั้นนาค ประสานงานฝ่ายโฆษณา: วิไลพร รัชชปัญญา ฝ่ายบัญชี: เข็มพร นิลเกษ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: ภัทรานิษฐ์ เจริญผลจันทร์ เว็บมาสเตอร์: เชิดศักดิ์ แก้วอุทัย พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์ 0-2731-1155-60 โทรสาร 0-2731-0936 Owner : Green World Media (Thailand) Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8120 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Secretary: Jidapa Janksatja Editorial Staff: Nutgritta Puechnukul, Kawee Suksalee, Sawitree Sinpru Columnists: Phichai Tinsuntisook, Dr.Sittichai Farangthong, Pete Rotpai, Chantamon Potipituk, Natawudh Pintongkum, Nares Dechpol Art-Director: Worapot Boonyakate Graphic Designers: Kittisak Mounthong, Tanawat Chaingyo, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Khemporn Nilget Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Webmaster: Chedsuk Kelwuthai Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936 ฝากหรือแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณาธิการ โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์ 0-2769-8120 E-mail: jirapat.greenworld@gmail.com Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket

จิรภัทร ข�ำญาติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail : jirapat.k@greenworldmedia.co.th Vol.12 No.144 FEBRUARY 2015

12th ANNIVERSARY MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ติดตามทิศทางอุตสาหกรรมไทยโดยการนำ�ของ

ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมหญิง… ดร.อรรชกา สีบุญเรือง สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน “กระทรวงอุตสาหกรรมจะให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล โดยมุง่ เน้นในเรือ่ งการสร้างความโปร่งใส ความรวดเร็ว และความถูกต้องในการปฏิบตั งิ าน เพือ่ สนองต่อความต้องการของผูป้ ระกอบการและประชาชน โดยกระทรวง อุตสาหกรรมได้ปรับปรุงกฎหมายไปแล้วหลายฉบับ ซึง่ เป็นการลดขัน้ ตอนการให้บริการเพือ่ เอือ้ อ� ำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตให้กับผู้ประกอบการ…” ใจความตอนหนึง่ จากบทสัมภาษณ์ของ ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ในคอลัมน์ EXCLUSIVE INTERVIEW ซึ่ง ดร.อรรชกา เปิดโอกาสให้นิตยสาร MODERN MANUFACTURING ได้สัมภาษณ์ถึงความท้าทายใน การก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้น�ำในวงการอุตสาหกรรม แนวทางการสร้างความเชื่อมั่นผู้ประกอบการไทย ทิศทางการเติบโตของ ภาคอุตสาหกรรมไทยในอนาคต รวมทั้ง นโยบายภาคอุตสาหกรรมขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซียน ไม่ควรพลาด นะคะ ฉบับนี้ ชวนคุณผู้อ่านเยี่ยมชม บริษัท ไทย ออโต ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด ในคอลัมน์ PLANT MANAGER กันค่ะ ไปเจาะลึกเบื้องหลังความส�ำเร็จในธุรกิจแม่พิมพ์กันนะคะ ในคอลัมน์ VERTICAL SCOOP เรื่องขับเคลื่อนองค์กรสู่ความ ส�ำเร็จอย่างยั่งยืนด้วยแนวทางการเพิ่มผลผลิต จะน�ำหลากแนวคิดทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของการเพิ่มผลผลิตมา บอกกันค่ะ และทีส่ ำ� คัญหนึง่ ในเครือ่ งมือของการเพิม่ ผลผลิต คือ มาตรฐานอุตสาหกรรม ซึง่ คุณธวัชชัย หล่อวิจติ ร ACTING MANAGER BUSINESS SUSTAINABILITY MANAGEMENT DEPARTMENT แห่งสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ จะ มาบอกเล่าเรื่องราวของมาตรฐาน ISO 900: 2015 และ ISO 14001: 2015 อยู่ในระหว่างการปรับปรุงร่างมาตรฐานโดย ISO และคาดว่าจะประกาศใช้ประมาณเดือนกันยายน ปี ค.ศ.2015 นี้ ติดตามต่อภายในเล่มนะคะ อีกหนึ่งกิจกรรมส�ำหรับนักอุตสาหกรรมที่ไม่ควรพลาดในเดือนนี้ คือ งาน MODERN MANUFACTURING FORUM งานสัมมนาและงานแสดงสินค้า เพื่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ซึ่งจัดโดย บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด ปีนี้ก้าวขึ้น สูป่ ที ี่ 8 แล้วนะคะ โดยรับฟังสาระจากวิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญ จากสถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ และสถาบันไทย-เยอรมัน และ บูธแสดงสินค้าอุตสาหกรรมที่หลากหลาย วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เดือนกุมภาพันธ์นี้ พบกับสัมมนาใน 2 หัวข้อ คือ BOOST UP THE MACHINE PERFORMANCE และพัฒนาหัวหน้างาน STYLE TWI (TRAINING WITHIN INDUSTRIAL) พบกันที่ พัฒนากอล์ฟ สปอร์ท คลับแอนด์ รีสอร์ท จ.ชลบุรี โดยคุณผู้อ่านสามารถเข้าร่วมงานโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 0 2731 1191 นะคะ จิรภัทร ข�ำญาติ บรรณาธิการบริหาร

18 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

018_DECEMBER_2014.indd 18

1/26/2015 11:18:33 PM


AD_Abex.pdf 1 1/26/2015 1:51:35 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


SUPPLIER INDEX | February 2015

หน้า 1, 30-33

ชื่อบริษัท

โทรศัพท์

E-mail / Website

ข้อมูลบริษัท

บริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัด

0-2736-2122

www.chosen.co.th

“See More…Measure More”

2

โฮฟ คออินดัส บจก.

0-2284-1100

www.hofcorindus.co.th

Hof Hydraulic สินค้าไทย มาตรฐานโลก

4

จีทีซี บจก.

0-2651-5551

www.getece.com

“COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENTS FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED รถยก รถลาก และอุปกรณ์ขนย้าย คลอบคลุมทุกความ ต้องการในอุตสาหกรรม”

5

เอวีร่า จ�ำกัด

0-2681-5050

www.avera.co.th

Offering The Best Alternative!

6

คอปโก้ เคมเทค บจก.

0-2171-5391-2

www.copcochemtech.co.th

ผู้เชี่ยวชาญด้านปั้มอุตสาหกรรม อาหาร ยา เคมีคอล ของกินของใช้ ยี่ห้อ WILDEN, MOUVEX, QUATTRO FLOW, JUNG

7

เอบีบี บจก.

0-2665-1000

www.abb.com

ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�ำหรับระบบไฟฟ้าแรงสูงและไฟฟ้าแรงต�่ำ

8

เวอร์ทสั บจก.

0-2876-2727

www.virtus.co.th

ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�ำลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก

9

ไซ-อาร์กัส บจก.

0-2319-9933

www.zi-argus.com

Industrial Automation, Everything Under Control

10

อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด์ เอ็นจิเนีย ริ่ง จ�ำกัด

0-2746-3400

iieth@truemail.co.th

เพาเวอร์ซีสเต็ม เครื่องอัดลม เครื่องท�ำลมแห้ง เครื่องกรองลมให้สะอาด อีกหนึ่ง ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงจากกลุ่มประเทศยุโรป ประเทศอิตาลี

11

โปรชอป เซนเตอร์ บจก.

0-2181-2317

www.ProshopThai.com

ผู้น�ำเข้าอุปกรณ์ท�ำความสะอาดอับดับ 1 ของโลกจากประเทศเยอรมัน

12

แอมด้า บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

13

ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ บจก.

0-2693-2090-4

www.hitachi-sunway-is.com

Hitachi Sunway... End To End PLM Solutions Provider

15

ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.

0-2632-9292

www.hitachi.co.th

SOCIAL INNOVATION, IT’S OUR FUTURE

17

บีทีที ยูไนเต็ด บจก.

0-2586-8733

www.BTTunited.com

จ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�ำ่ ครบวงจร

19

เอเบ็กซ์ ไฮดรอลิคส์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2397-9200

www.abexhyd.com/th

21

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

www.interlink.co.th

คอมพิวเตอร์ น�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมา ติดตั้ง

22

อินโนเวชั่น กรุ๊ป (ประเทศไทย) บจก.

0-2375-5197

www.elastomer-polymer.com

“Innovation Group“Polymer Technology Solutions Provider”

23

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

25

ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�ำเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�ำงานในเครื่องจักรและ เครื่องยนต์ชั้นน�ำของโลก

27

ไทร์เนอร์ยี่ อินสทรูเม้นท์ บจก.

0-2645-4588

www.trinergy.co.th

จ�ำหน่ายเครื่องมือวัดและทดสอบ

29

โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.

39

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

43

อิพรอส (ประเทศไทย) บจก.

0-2252-0005

http://thai.tech-dir.com/th

47

ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด

48

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้ำ, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�ำของประเทศไทย

64

ทีเอชเค บจก.

0-2751-3001

www.thk.com/th

ASEAN Customer Support

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71 www.inb.co.th

ผู้แทนจ�ำหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

ริททัล จ�ำกัด

0-2704-6580-8

www.rittal.com/th-en/

Rittal ­– The System. Faster – better – everywhere.

115

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�ำเข้า และจัดจ�ำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�ำหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและ ทุกกลุ่มอุตสาหกรรม

116

อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.

0-2721-1801-8

www.alphac.co.th

- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.

0-2150-7808-10 www.motology.co.th

0-2910-9728-29 www.tat.co.th

ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�ำลัง SKF

ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี Technological Solutions For You

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�ำถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�ำให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว

20 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

020.indd 20

1/26/2015 7:03:03 PM


AD_Interlink.pdf 1 7/30/2014 11:15:16 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Innovation Group_Ad.pdf 1 1/13/2015 3:16:58 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AW20150105_EIL_PrintAD_outline cs5.pdf 1 1/14/2015 11:26:40 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


COMMUNITY UPDATE

February 2015

เอสซีจีซื้อนวัตกรรมและเทคโนโลยีในนอร์เวย์

GT Mover ยกทัพสินค้าโชว์งาน

TH Industrial Fair 2015

GT Mover ร่วมออกบูทงาน Thailand Industrial Fair 2015 ณ ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมแห่งชาติไบเทค บางนา ระหว่าง วันที่ 5-8 กุมภาพันธ์ 2558 ทั้งนี้ ผู้ประกอบการจะได้พบกับสินค้าอุตสาหกรรมมากมาย และเรียนเชิญทุกท่านเข้าเยี่ยม ชมบูธ GT Mover และร่วมเป็นส่วนหนึ่งกว่า 15 ปีแห่งความส�ำเร็จ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ยักทัพสินค้า Material Handling Equipmetns มาให้ทุก ท่านได้ชมและเลือกพิจารณาเพือ่ น�ำมาใช้ให้เหมาะสมกับอุตสาหกรรม อีกทัง้ ยังมีสนิ ค้า พิเศษส�ำหรับโรงงานเฉพาะด้าน พร้อมทั้งภายในงานยังมีกิจกรรมและของแจกอีก มากมาย บริษัทฯ จึงมั่นใจว่าเราสามารถตอบสนองทุกความต้องการของอุตสาหกรรม ของท่านได้

คุณกานต์ ตระกูลฮุน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอสซีจี เปิดเผยว่า บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด ได้เข้าซือ้ หุน้ ในส่วนแรกร้อยละ 51 ของบริษทั Norner Holding AS หรือ Norner Group และจะเข้าซือ้ หุน้ ในส่วนทีเ่ หลืออีกร้อยละ 49 ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 คิดเป็นมูลค่า รวม 340 ล้านบาท ส�ำหรับการเข้าถือหุน้ ทัง้ หมด โดย Norner Group เป็นศูนย์นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทมี่ คี วามเชีย่ วชาญด้านวัสดุและพอลิเมอร์ ตัง้ อยูท่ เี่ มืองสแตททาเล ประเทศนอร์เวย์ ปัจจุบนั ให้บริการด้านค�ำปรึกษาซึง่ ครอบคลุมตัง้ แต่กระบวนการผลิตพอลิเมอร์ (Polymerization) จนถึงการขึน้ รูปพลาสติก (Plastics Application) ส�ำหรับการใช้งานหลากหลายประเภท อาทิ พลาสติกส�ำหรับอุตสาหกรรมน�ำ้ มันและแก๊ส ท่อและบรรจุภณ ั ฑ์ตา่ งๆ นอกจากนี้ Norner Group ยังมีหอ้ งทดลองทางวิทยาศาสตร์ทคี่ รบครัน รวมถึงความพร้อมด้านนักวิจยั และเจ้าหน้าที่ เทคนิค นับเป็นหนึง่ ในบริษทั ชัน้ น�ำด้านการวิจยั และพัฒนาพลาสติกระดับโลก เอสซีจยี งั เดินหน้าขยายธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์ในอาเซียน โดยบริษทั กลุม่ สยามบรรจุภณ ั ฑ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่างบริษทั เอสซีจี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และ Rengo Company Limited ประเทศญีป่ นุ่ ในสัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 70 และ 30 ตามล�ำดับ ได้เข้าถือหุน้ ร้อย ละ 90 ในบริษทั PT Indoris Printingdo หรือ Indoris มูลค่ากิจการรวม 290 ล้านบาท โดย เป็นส่วนของหนีส้ นิ จ�ำนวน 60 ล้านบาท ซึง่ Indoris เป็นผูผ้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์คณ ุ ภาพสูงทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากลูกค้าซึง่ เป็นบริษทั ข้ามชาติทมี่ ฐี านการผลิตในประเทศอินโดนีเซีย ผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่เป็นสินค้าทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูง (High Value Added Products: HVA) อาทิ กล่องออฟ เซต ปัจจุบนั มีกำ� ลังการผลิต 8,000 ตันต่อปี โรงงานตัง้ อยูท่ เี่ มือง Tangerang ห่างจากกรุง จาการ์ตา้ ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 40 กิโลเมตร ทัง้ นี้ ในปี 2556 ทีผ่ า่ นมา Indoris มียอด ขายรวม 153 ล้านบาท

Money Expo 2015...ชูแนวคิด Beautiful ASEAN

งานมหกรรมการเงินการลงทุนครบวงจรแห่งปี ประจ�ำปี 2558 Money Expo 2015 ต้อนรับการรวมตัวของ AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้วยแนวคิดการจัดงาน ‘Beautiful ASEAN’ เพือ่ สะท้อนถึงความสวยงามของ อาเซียนทีเ่ กิดจากการรวมตัวของสมาชิก 10 ประเทศ ซึง่ ธนาคาร สถาบันการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ฯ บริษทั หลัก ทรัพย์ บริษทั จัดการกองทุน บริษทั ประกันชีวติ ประกันภัย โบรกเกอร์ทอง สัง่ จองพืน้ ทีจ่ ดั งาน 6 ภูมภิ าคทัว่ ประเทศ คุณสันติ วิรยิ ะรังสฤษฎ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษทั มีเดีย แอสโซซิเอตเต็ด จ�ำกัด และวารสาร ‘การเงินธนาคาร’ ในฐานะ ประธานจัดงานมหกรรมการเงิน Money Expo 2015 เปิดเผยว่า วารสารการ เงินธนาคาร ก�ำหนดจัด งานมหกรรมการเงินประจ�ำปี 2558 หรือ Money Expo 2015 งานมหกรรมการเงิน การลงทุนครบวงจรตลอดปี 2558 ทัง้ หมด 6 ครัง้ ใน 6 ภูมภิ าคทัว่ ประเทศ ครอบคลุม ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค ตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และภาคใต้ เพือ่ เปิดโอกาสให้ธรุ กิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมและประชาชนทัว่ ไปในทุกภูมภิ าค ได้เข้าถึงแหล่งเงินและแหล่งทุนได้อย่างเท่าเทียมกัน ซึง่ จะช่วยเพิม่ สภาพคล่องกระตุน้ เศรษฐกิจในแต่ละภูมภิ าคด้วย แนวคิดในการจัด งานมหกรรมการเงิน Money Expo 2015 ในปีนกี้ ค็ อื ‘Beautiful ASEAN’ เพือ่ ต้อนรับ การรวมตัวของประชาคมเอาเซียน ASEAN Economics Community หรือ AEC 10 ประเทศ ทีจ่ ะรวมกันเป็น หนึง่ เดียวในวันสิน้ ปี 2558 โลโก้หรือสัญลักษณ์ของงานภายใต้แนวคิด Beautiful ASEAN จึงออกมาเป็นสีสนั สวยงามของดอกไม้ประจ�ำชาติของ 10 ชาติอาเซียน 24 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P24,26_COMMUNITY UPDATE_26-1-58.indd 24

26/1/2558 23:11:55


MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P24,26_COMMUNITY UPDATE_26-1-58.indd 25

25

26/1/2558 23:11:55


RS Components เปิดตัว ซอฟต์แวร์ DesignSpark PCB หนุนการท�ำงานของวิศวกร

มร.เอริค เค เอช ลี ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคนิคการตลาด เอเชียแปซิฟคิ RS Components เปิดเผยว่า อาร์เอส คอมโพเน็นส์ (อาร์เอส) แบรนด์การค้าของ อิเล็กโทรคอมโพ เน็นส์ พีแอลซี (LSE:ECM) ผูจ้ ดั จ�ำหน่ายสินค้าชัน้ น�ำของโลกส�ำหรับวิศวกร ได้มกี ารเปิด ตัวซอฟต์แวร์ DesignSpark PCB รุน่ ใหม่ซงึ่ ได้รบั รางวัลซอฟต์แวร์การพัฒนาอุปกรณ์ ต้นแบบอย่างเร็วส�ำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ เป็นการสนับสนุนการท�ำงานของวิศวกร ในขัน้ ตอนการออกแบบให้มปี ระสิทธิภาพดีขนึ้ ทางซอฟต์แวร์ DesignSpark PCB เวอร์ชนั่ 7.0 จึงได้เพิม่ คุณสมบัตใิ หม่ตามค�ำเรียกร้องของผูใ้ ช้งาน ทัง้ นี้ คุณสมบัตใิ หม่เหล่านีจ้ ะเพิม่ ความง่ายในการใช้งานส�ำหรับผูอ้ อกแบบมากขึน้ ได้แก่ 1.) เพิม่ ขีดความสามารถในการจัดการหมายเลขชิน้ ส่วน Enhanced Part Number ท�ำให้ มัน่ ใจว่าบัญชีรายการอุปกรณ์ (BOM) ของผูอ้ อกแบบจะด�ำเนินการแล้วเสร็จในทุกขัน้ ตอน ต่างๆ ของการออกแบบ 2.) เส้นทางการร่าง หรือ Sketch Route ทีร่ า่ งประมาณการ แนวทางและอนุญาตให้กลไกต่างๆ จัดท�ำเส้นทางวงจรทีด่ ที สี่ ดุ ช่วยลดเวลาในการน�ำผล งานใหม่ทไี่ ด้ออกสูต่ ลาดได้เร็ว ขึน้ ทัง้ ในรูปแบบของแนวทางโครงสร้างและร่าง PCB (ผัง วงจรและรูปแบบการจัดวางอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์) และ 3.) เพิม่ รูปแบบไฟล์ ODB++ ส�ำหรับส่งออกตามทีถ่ กู เรียกร้องจากสังคมผูใ้ ช้งาน DesignSpark และเสียงสนับสนุนโดย กลุม่ ผูผ้ ลิต PCB ด้วย “Design Spark มาพร้อมกับคุณสมบัตกิ ารบันทึกรายการเปลีย่ นแปลงหรือ ‘DSPCB Change Log’ ซึง่ จะบันทึกคุณสมบัตใิ หม่และแก้ไขปัญหาของแต่ละเวอร์ชนั่ และเป็นจุด อ้างอิงทีไ่ ด้รบั ความนิยมของวิศวกรทีต่ อ้ งการทราบข้อมูลเกีย่ วกับซอฟต์แวร์หรือเฝ้าตรวจ สอบสถานะล่าสุดตลอดเวลา”

เชลล์มองผ่านเลนส์สู่เมืองแห่งอนาคต

เชลล์ ร่วมกับผูเ้ ชีย่ วชาญจากหลายหน่วยงานชัน้ น�ำ เผยผลการศึกษาล่าสุด เกีย่ วกับเมืองแห่งอนาคต เน้นสร้างความเข้าใจถึงวิถกี ารใช้พลังงานของเมืองใหญ่ๆ รวมไปถึงร่วมกัน ท�ำความเข้าใจถึงผลกระทบจากการขยายตัวของเมือง คุณอัษฎา หะรินสุต ประธานกรรมการบริหาร บริษทั เชลล์ในประเทศไทย จ�ำกัด เปิดเผยในโอกาสเป็นประธานเปิดงานสัมมนาหัวข้อ ‘เชลล์มองผ่านเลนส์สเู่ มืองแห่งอนาคต’ (New Lense on Future Cities) ซึง่ เป็นโครงการความร่วมมือในการศึกษาแนวโน้มเมืองแห่งอนาคตระหว่างเชลล์ กับกระทรวงพลังงาน และศูนย์อ์ อกแบบและพัฒนาเมือง (Urban Design and Development Centres) ว่า เป็นเวลา 40 กว่าปีมาแล้วทีเ่ ชลล์ศกึ ษาความเป็นไปได้ของสังคม เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อม เป็นมุมมองเพือ่ ร่วมหาทางออกสร้างสรรค์ ให้กบั ประเทศ เพราะการออกแบบและพัฒนาเมืองในวันนี้ ส่งผลกระทบต่อการใช้ชวี ติ ของคนในเมืองและความต้องการใช้ทรัพยากรในทศวรรษหน้า ไม่วา่ เรือ่ งน�ำ้ พลังงาน อาหาร ที่ เชือ่ มโยงและพึง่ พากันอย่างเห็นได้ชดั จากการคาดการณ์ขององค์การสหประชาชาติ ประชากรจะเติบโตจาก 7 พันล้านคนในปัจจุบนั เป็น 9 พันล้านคนในกลางศตวรรษนี้ เหมือนกับจะมีประชากรแบบอินเดีย จีนเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 70 ในแต่ละสัปดาห์ ก่อให้เกิดความตึงเครียดทางด้านอุปทานน�ำ้ อาหาร พลังงานทีจ่ ะรุนแรงในค.ศ.2030 “แบบจ�ำลองสถานการณ์ของเชลล์ แสดงว่าจะเพิม่ ความต้องการน�ำ้ อาหาร พลังงานราว 40% ท�ำให้ตอ้ งมองรวมผูว้ างผังเมืองออกแบบอินฟราฯ เพือ่ ให้ใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ให้เมืองเหมาะกับการอยูอ่ าศัยมากยิง่ ขึน้ ” 2626 MODERN MODERNMANUFACTURING MANUFACTURINGMAGAZINE MAGAZINE

P24,26_COMMUNITY UPDATE_26-1-58.indd 26

26/1/2558 23:11:55


AD_Parker-1.pdf 1 1/14/2015 11:32:44 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD_Trinergy.pdf 1 1/22/2015 1:19:41 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

• 6 โมเดล ขนาด 850 วัตต รองรับเอาทพุทแรงดันไฟฟาในชวง 20V ถึง 150 V, เอาทพุทกระแสไฟฟาในชวง 42A ถึง 5.6A • ขนาดกะทัดรัด 1U ซึ่งเปนอุปกรณกำลังไฟฟาสูงที่มีขนาดเล็กที่สุด • รองรับ 2 auxiliary outputs รองรับการสงสัญญาณไปยังอุปกรณ ภายนอก ชวยลด ความจำเปนในการใชอุปกรณอื่นๆ เพิ่มเติม • Analog input แบบ isolated ชวยลด สัญญาณรบกวน

• มีอินเตอรเฟสพื้นฐานที่หลากหลายมา พรอมกับตัวเครื่อง เชน LAN, USB, GPIB, RS232 และ RS485 เปนตน • สามารถควบคุมแหลงจายกำลังไฟฟาให ทำงานดวย แรงดันไฟฟาคงที่กระแส ไฟฟาคงที่ หรือ กำลังไฟฟาคงที่ได • รองรับการดำเนินการดวยคำสั่งเพื่อลด ระยะเวลาในการสั่งการ • การควบคุมผานอินเตอรเฟสดวยคอนโทรล เลอรเพียงตัวเดียวสามารถควบคุม ไดสูงสุดถึง 30 เครื่อง • Foldback mode สามารถโปรแกรมดีเลย ในการปดการดำเนินการเอาทพุท เพื่อปองกัน อุปกรณที่ตอบสนองตอแรงดันไฟฟาหรือกระแสไฟฟาที่ต่ำไมใหเสียหาย • มีระบบดานความปลอดภัยในตัวเครื่องที่ หลากหลาย เชน ระบบปองกันแรงดัน ไฟฟาเกิน ปองกันแรงดันไฟฟาต่ำกวาเกณฑ ปองกัน กระแสไฟฟาเกิน ปองกัน อุณหภูมิเกิน ปองกันลูปอันเกิดจากการตอพวงกันหลายเครื่องและ อุปกรณล็อค เอาทพุท ใชแหลงจายกำลังไฟฟากระแสตรง 2268 เปนสวนหนึ่งในการควบคุม ระบบ นอกเหนือจากการขับโหลดแลว ยังมี auxiliary อีก 2 เอาทพุทสามารถ จายใหกับวงจรภายนอกได ชวยลดความจำเปนในการใช แหลงจายกำลังไฟฟา ในจุดอื่นๆ รวมทั้งรองรับ การเชื่อมตอดวย interlock ทำใหปดเอาทพุทของแหลง จายไดทันทีที่สภาวะความไมปลอดภัย ถูกตรวจพบ


SITUATION

February 2015 FEBRUARY 2015

กสอ. เร่งพัฒนาวิสากิจชุมชนไทย พัฒนาเป็นหุ้นส่นทางธุรกิจกับญี่ปุ่น กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เร่งพัฒนาวิสาหกิจชุมชนส่งท้ายปี หวังเทียบชัน้ ญีป่ นุ่ รุกจับ มือเมืองมินะมิโบโซ อันดับ 1 เมืองแห่งวิสาหกิจชุมชนของ ประเทศ ร่วมผลักดันส่งเสริมสนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการไทย และผูป้ ระกอบการญีป่ นุ่ เกิดความร่วมมือกันเพือ่ พัฒนาไปสู่ การเป็นหุ้นส่วนทางด้านธุรกิจ และสามารถด�ำเนินกิจการ ร่วมกันได้ ดร. อรรชกา สีบญ ุ เรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า วิสาหกิจชุมชนถือว่าเป็นกลุม่ กิจการทีม่ คี วามส�ำคัญ ต่อการเสริมสร้างฐานเศรษฐกิจของประเทศในระดับท้องถิน่ มาโดยตลอด ซึง่ ปัจจุบนั มีจำ� นวนวิสาหกิจชุมชนทัว่ ประเทศ กว่า 1.28 ล้านราย (ข้อมูล: กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรม ส่งเสริมการเกษตร) โดยส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ประเภทการ แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารมากทีส่ ดุ รองลงมาเป็น ผลิตภัณฑ์ ผ้าทอหรือเสือ้ ผ้า และข้าว เป็นต้น ทัง้ นี้ การพัฒนาและยกระดับวิสาหกิจชุมชนจ�ำเป็นต้อง

ได้รับความร่วมมือจากหลายๆ ภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน ตลอดจนหน่วยงานจากต่างประเทศ เพือ่ การศึกษา ตลาด ท�ำความเข้าใจความต้องการของผูบ้ ริโภคทัง้ ในและ ต่างประเทศ เพือ่ การขยายฐานการจัดจ�ำหน่ายจนสามารถ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนและสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ให้เข้มแข็งอีกด้วย ส�ำหรับการร่วมมือกันเพือ่ การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ของทั้ง 2 ประเทศ ในครั้งนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม โดย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ลงนามฯ กับเมืองมินะมิโบโซ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นท้องถิ่นที่ 10 โดยมีคุณ อาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และคุณ ยูทากะ อิชอิ ิ ท่านนายกเทศมนตรีเมืองมินะมิโบโซ ประเทศ ญี่ปุ่น ร่วมลงนาม ทั้งนี้ ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม ให้เกียรติเป็นประธาน เมื่อเร็วๆ นี้ ณ ห้องชุณหะวัณ ชั้น 3 อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม พระราม 6 กรุงเทพฯ

กระทรวงแรงงานเดินหน้าบูรณาการตรวจแรงงาน ย�้ำ

ประเทศไทยต้องพ้นจาก Tier 3 ภายในปี 2558

กระทรวงแรงงาน จัดท�ำแผนเชิงปฏิบัติการบูรณา การเพื่อแก้ข้อกล่าวหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน โดยมุ่ง หวังให้ประเทศไทยต้องหลุดพ้นจากการถูกจัดล�ำดับเป็น Tier 3 ใน TIP Report ภายในปี 2558 พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงาน ได้สั่งการให้จัดท�ำแผนเชิงปฏิบัติกา รบูรณาการเพื่อแก้ข้อกล่าวหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน มีเป้าหมายให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากการถูกจัดล�ำดับ เป็น Tier 3 ใน TIP Report ภายในปี ๒๕๕๘ ซึ่งมุ่งเน้น การบู ร ณาการระหว่ า งกรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ้ ม ครอง แรงงานที่ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งการตรวจแรงงานประมง ทะเลและกรมการจัดหางาน รับผิดชอบ ในเรื่องการตรวจ แรงงานต่างด้าว เพื่อให้เกิดผลการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม และแก้ ป ั ญ หาเรื่ อ งการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายแรงงานที่ คุ ้ ม ครองเหยื่ อ ที่ อ ่ อ นแอเพราะขาดบุ ค ลากรและงบ

ประมาณ โดยให้ชุดตรวจปฏิบัติการ (Task Force) ด�ำเนิน การตรวจแรงงานเร่งด่วน คุณพีรพัฒน์ พรศิริเลิศกิจ อธิบดีกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน เปิดเผยว่า กรมฯ เป็นเจ้าภาพหลักใน การตรวจแรงงานในกิ จ การประมงทะเลในพื้ น ที่ ที่เ สี่ ย ง ได้แก่ จังหวัดสมุทรสาคร ชลบุรี ชุมพร สงขลา และปัตตานี ซึ่งกรมฯ ได้มอบหมายให้สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัด จัดท�ำแผนการตรวจแรงงานตามแผนงานดังกล่าว โดยให้ประสานส�ำนักงานจัดหางานจังหวัดเข้าร่วมด�ำเนิน การตรวจแรงงานและ ให้บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด และให้รายงานผลการปฏิบัติงานในระบบคอมพิวเตอร์ของ กรมเมื่อสิ้นสุดการตรวจในแต่ละวัน นอกจากนี้จะต้องจัด ท�ำรายงานเสนอผู้บริหารเมื่อสิ้นสุดการตรวจตามแผนงาน กรมฯ จะรายงานผลการตรวจแรงงานให้ทราบต่อไป

‘ไทย - รัสเซีย’ เดินหน้าฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ

กระตุ้นการค้าการลงทุน สองฝ่ายให้สูงขึ้น

คุณเดนิส แมนทูรอฟ (H.E. Mr. Denis V. Manturov) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรมและการ ค้าของรัสเซีย ได้เข้าพบหารือกับ พลเอกฉัตรชัย สาริกั ลยะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ของไทย พร้อมด้วย คุณอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง พาณิชย์ โดยรัสเซียสนใจจะซื้อสินค้าเกษตรและอาหาร จากไทยเพิม่ ขึน้ รวมทัง้ ยางพารา โดยในส่วนของยางพารา จะซื้อจ�ำนวน 80,000 ตัน ในช่วงแรก และเพิ่มเป็น 200,000 ตันในช่วงต่อไป พลเอกฉั ต รชั ย สาริ กั ล ยะ รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ในการประชุมครั้งนี้ ทั้ง สองฝ่าย เน้นย�ำ้ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและรัสเซียอันดี และยาวนานกว่า 117 ปีและพร้อมที่จะยกระดับความ สัมพันธ์ในทุกด้านอย่างต่อเนื่อง โดยรัสเซียแสดงความ สนใจที่จะซื้อสินค้าเกษตรและอาหารจากไทยเพิ่มขึ้น โดย เฉพาะ ยางพารา ที่ต้องการซื้อจากไทยจ�ำนวน 80,000 ตัน ในระยะแรกและระยะต่อมาจะเพิ่มขึ้นเป็น 200,000 ตันเพื่อรองรับตลาดการผลิตรถยนต์ของรัสเซียที่คาดว่า จะสามารถผลิตได้ 3 ล้านคัน ในปี 2559 และไทยพร้อมที่ จะเป็นแหล่งส�ำรองอาหารและสินค้าเกษตรให้รสั เซีย อาทิ สินค้าข้าว ยางพารา สินค้าประมง ผักและผลไม้ ตลอด จนสินค้า อุตสาหกรรม อาทิ ชิ้นส่วนยานยนต์ ยางรถยนต์ ซึ่งทั้งสองฝ่ายไม่เพียงแต่สนับสนุนการซื้อขายโดยตรง เท่านั้น แต่พิจารณาให้มีการร่วมลงทุนระหว่างกันอีกด้วย โดยเฉพาะในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชิน้ ส่วนทีไ่ ทย มีศักยภาพ ทัง้ สองฝ่ายให้มกี ารจัดคณะแลกเปลีย่ นผูแ้ ทนการค้า/ ภาคเอกชน ระหว่างกัน เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลีย่ น ข้อมูลและเป็นการสร้างความคุน้ เคยกับตลาดของทัง้ สอง ฝ่ายและไทยเชิญชวนให้รสั เซียมาร่วมออกงานแสดงสินค้า ในไทย ซึ่งมีหลายกิจกรรมในปี 2558 เพื่อโอกาสในการ ขยายการค้าการลงทุนระหว่างกัน ในขณะเดียวกัน ทั้งสองฝ่ายตระหนักถึงความจ�ำเป็น เร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาด้านการเงินการธนาคารที่เป็น ตัวขับเคลื่อนที่จะอ�ำนวยความสะดวกให้การค้าขายสอง ฝ่ายคล่องตัวมากขึน้ โดยเสนอให้จดั ตัง้ กลไกช�ำระเงิน โดย ใช้เงินสกุลของแต่ละประเทศเป็นตัวกลางช�ำระเงิน แทน เงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ ซึง่ ทัง้ สองฝ่ายอาจพิจารณาใช้สกุล เงินหยวนเป็นตัวกลาง และจะมีการส่งคณะผู้แทนจาก ธนาคารไทยไปหารือกับธนาคารรัสเซีย และเจรจาจัดท�ำ MOU ระหว่างกันต่อไป

28 28 MODERN | MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINEMAGAZINE

P28,29_SITUATION UPDATE_26-1-58.indd 28

26/1/2558 23:19:40


AD_Motology.PDF 1 8/1/2014 3:25:44 PM

ส.อ.ท. จับมือ สปป.ลาว ยกระดับผูป้ ระกอบการ ด้วยมาตรฐาน GS1 ประยุกต์ใช้ส่งเสริมธุรกิจ

สถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ร่วม กับ ศูนย์ยั่งยืนมาตรฐาน และตรวจสอบคุณภาพแห่งชาติ กรมมาตรฐาน และ วัดแท็ก กระทรวงวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จัดพิธี ลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือ (MOU) ด้านการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมสนับสนุน การพัฒนาเกี่ยวกับการใช้ระบบมาตรฐานสากล (GS1 System) ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวว่า การลง นาม MOU ในครั้งนี้เป็นเสมือนจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะร่วมมือกันช่วยเหลือและยกระดับผู้ ประกอบการลาว และผู้ประกอบการไทยที่ส่งสินค้าเข้าไปจ�ำหน่ายในประเทศลาว ผู้ ประกอบการสามารถพัฒนาตนเองโดยเริม่ จากการเสริมสร้างองค์ความรูแ้ ละน�ำเทคโนโลยี ระบบบาร์โค้ดติดลงบนบรรจุภัณฑ์สินค้าเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและส่งออกใน ตลาดสากล เป็นการยกระดับธุรกิจและการค้าของประเทศได้อย่างมีเสถียรภาพ “GS1 Thailand ในฐานะผู้ควบคุมและผลักดันการใช้งานเทคโนโลยี บาร์โค้ดและ RFID ด้วยมาตรฐาน EPC (Electronic Product code) เพื่อน�ำไปใช้ในงานด้านโลจิสติ กส์และซัพพลายเชน รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะได้เห็นความร่วมมือของทั้ง 2 หน่วยงาน ระหว่าง ศูนย์ยงั่ ยืนมาตรฐาน และ ตรวจสอบคุณภาพแห่งชาติ กรมมาตรฐาน และ วัดแท็ก กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สปป.ลาว และ GS1 Thailand สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการ ให้มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นถึงความส�ำคัญของการศึกษาเทคโนโลยี บาร์โค้ด RFID ให้สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้สง่ เสริมธุรกิจได้อย่างยัง่ ยืนแต่บดั นีเ้ ป็นต้นไป” ประธาน ส.อ.ท. กล่าว

ผลิตภัณฑ ระบบสงถายกำลัง SKF

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

สถาบันเพิ่มผลผลิต ประกาศเกียรติคุณ 4 องค์กรคุณภาพ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ในฐานะส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ได้ประกาศชื่อ 4 องค์กรคุณภาพ ทั้งเอกชนในภาคการผลิตและภาคบริการ และองค์กรรัฐในภาคการผลิต ซึ่งสามารถคว้ารางวัล ‘การบริหารสู่ความเป็นเลิศ หรือ Thailand Quality Class – TQC ประจ�ำปี 2557 เพื่อยืนยันความเป็นเลิศในการบริหารจัดการองค์กสรที่ทัดเทียมระดับ มาตรฐานสากล โดยในปีนี้ไม่มีองค์กรใดสามารถพิชิต รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award – TQA คุณสมภพ อมาตยกุล ประธานคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ พร้อมด้วย ดร.สันติ กนกธนาพร ผู้อ�ำนวยการสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ในฐานะกรรมการและ เลขานุการคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ และ ดร. เอมอมร ค�ำนุช ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ถ่ายภาพร่วมกับผู้บริหารจาก 4 องค์กรคุณภาพที่ได้รับ รางวัลบริหารสู่ความเป็นเลิศ (Thailand Quality Class - TQC) ได้แก่ บริษัท เคาน์เตอร์ เซอร์วิส จ�ำกัด ธุรกิจ 7-eleven บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด บริษัท ปตท.สผ. สยาม จ�ำกัด และสายออกบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ในงานแถลงข่าวผลรางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award - TQA) ประจ�ำปี 2557 ซึ่งจัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือข่ายของกระทรวง อุตสาหกรรม ในฐานะส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ส�ำหรับในปีนี้ไม่มีองค์กรใดผ่าน เกณฑ์และได้รับรางวัล TQA ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด เมื่อเร็วๆ นี้

P28,29_SITUATION UPDATE_26-1-58.indd 29

MOTOLOGY (THAILAND) CO., LTD. 55/26 Moo 4 Buengkhamphroi, Lamlukka, Pathumthani 12150 Thailand. Tel : 0-2150-7808-10 Fax : 0-2150-7811 E-mail MODERN: sales@motology.co.th MANUFACTURING MAGAZINE | 29 Website : www.motology.co.th

26/1/2558 23:19:45


COVER STORY COVER STORY

โชเซ่น เทคโนโลยี

ศูนย์รวมโซลูชั่นกล้องจุลทรรศน์ชั้นน�ำ พร้อมตอบทุกโจทย์อย่างมืออาชีพ

กล้องจุลทรรศน์ ถือเป็นอุปกรณ์ช่วยงานที่มีขีดความสามารถในการตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยวัตถุ หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยตาเปล่า กล้องจุลทรรศน์จึงเป็นอุปกรณ์ ที่มีความส�ำคัญกับภาคส่วนต่างๆ ทั้งการศึกษา การแพทย์ ภาคธุรกิจ ตลอดจนภาคอุตสาหกรรม และอื่นๆ ซึ่งปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์ได้มีการพัฒนาไปมาก เพื่อรองรับการใช้งานในรูปแบบต่างๆ ที่มีความซับซ้อนและต้องการความละเอียดรอบคอบมากยิ่งขึ้น มีการผสานเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้ สอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าที่นับวันจะเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง

คุณวรพจน์ รื่นเริงวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัด

บริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัดผู้น�ำเข้ากล้องจุลทรรศน์ และการวัดขนาด อย่างเป็นทางการที่มีตัวเลือกหลากหลาย เปี่ยมด้วยความคุ้มค่า โดยมีกล้อง และสินค้าให้ทดลองมากกว่า 100 รุ่น จากหลายประเทศชั้นน�ำ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ฮ่องกง จีน สวิสเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อินเดีย นับว่าเป็น แหล่งรวมโซลูชั่นกล้องจุลทรรศน์ที่มีความหลากหลายและครบวงจรเป็นอย่าง ยิ่ง ตั้งแต่กล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็กแบบพกพา ไปจนถึงกล้อง 3D Profile และกล้องความละเอียดสูงระดับนาโน

ท�ำความรู้จักกับโชเซ่น เทคโนโลยี

บริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัดก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ภายใต้การ บริหารงานของคุณวรพจน์ รื่นเริงวงศ์ กรรมการผู้จัดการ เริ่มต้นจากการ ด�ำเนินธุรกิจน�ำเข้าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ด้วยความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของคุณวรพจน์ผสานกับประสบการณ์การท�ำงานให้กับบริษัทด้านไอทีมาก่อน ท�ำให้คุณวรพจน์ตัดสินใจหันมาท�ำธุรกิจของตนเอง คุณวรพจน์ กล่าวว่า แรกเริ่มก่อตั้งบริษัทฯ นั้น มีการน�ำเข้าอุปกรณ์ Air Card หรืออุปกรณ์อินเตอร์เน็ตไร้สายด้วยซิมการ์ดโทรศัพท์มือถือ ที่สามารถ เข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้ทุกที่ โดยไม่ต้องพึ่งพาสัญญาณ Wifiโดยจับมือธุรกิจ ร่วมกับบริษัทดีแทคผู้ให้บริการเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์ ในขณะนั้นก็ยัง ด�ำเนินธุรกิจน�ำเข้าอุปกรณ์ไอทีประเภทอื่นด้วย จนกระทั่งระยะเวลาผ่า นไป อั นเนื่ องมาจากความไม่ห ยุด นิ่งของการ พัฒนาด้านเทคโนโลยี และโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์ไอทีต่างๆ ที่มีกระแส ความนิยมเพียงชั่วคราว ไม่แน่นอน และมีกระแสความนิยมใหม่ๆ เข้ามาแทนที่ ตลอดเวลา ท�ำให้คุณวรพจน์ ตัดสินใจเบนเข็มทิศธุรกิจไปสู่ตลาดอุตสาหกรรม มากขึ้น และนี่คือจุดเปลี่ยนครั้งส�ำคัญ ของบริษัทฯ

จากงานด้านไอที... สู่งานอุตสาหกรรม

การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ น�ำไปสู่การริเริ่มธุรกิจน�ำเข้ากล้องจุลทรรศน์ เพื่อ ตอบสนองการใช้งานในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศ ด้วยความต้องการ ที่จะประยุกต์ใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยู่ เข้ากับอุตสาหกรรม กล้องจุลทรรศน์ คุณวรพจน์จึงท�ำการส�ำรวจตลาด และได้พบกล้องจุลทรรศน์ แบรนด์ Dino-Lite ซึ่งเป็นกล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็ก อันดับหนึ่งของโลก และ ได้น�ำเข้ามาจ�ำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์แรกๆ จากจุดเริ่มต้นการเปิดตัวในภาคอุตสาหกรรม และโอกาสที่ได้เรียนรู้ความ ต้องการการใช้งานของลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น จึงน�ำมาสู่แนวคิดในการ สรรหาเทคโนโลยีกล้องจุลทรรศน์เพื่อการใช้งานที่แตกต่าง จึงเริ่มน�ำเข้า กล้องจุลทรรศน์เพื่อการส่องชิ้นงานโลหะ หลั ง จากนั้ น ก็ เ กิ ด การพั ฒ นาไปสู ่ ก ารการน� ำ เข้ า เทคโนโลยี เ พื่ อ การ วิเคราะห์ภาพที่มีมาตรฐานมากขึ้น ด้วยการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์โดยมีผู้ ประกอบการในประเทศอินเดียที่เสนอแนวคิดการใช้ซอฟต์แวร์ในการวิเคราะห์ ร่ ว มกั บ กล้ อ งจุ ล ทรรศน์ เ พื่ อ การวิ เ คราะห์ โ ลหะ สามารถตอบโจทย์ ค วาม ต้องการของลูกค้าในประเทศได้ ท�ำให้บริษัทฯ เป็นผู้จัดจ�ำหน่ายไม่กี่รายใน ประเทศที่สามารถท�ำได้ นอกจากนั้นสินค้ายังมีราคาที่ไม่สูงมากนัก คุ้มค่าต่อ การลงทุน เพราะมีลักษณะการใช้งานที่หลากหลายมากที่สุด ซอฟต์ แ วร์ ที่ ว ่ า นี้ มี ชื่ อ ว่ า MetImageถู ก น� ำ ไปใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลาย ในอินเดีย ทั้งภาคอุตสาหกรรม และหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนมหาวิทยาลัย ส�ำหรับประเทศไทย MetImage มีหน่วยงานต่างๆ ด้านอุตสาหกรรมโลหะ น�ำ ไปใช้งานแล้ว ไม่ว่าจะเป็นสถาบันการศึกษา โรงงานอุตสาหกรรมด้านโลหะ รายใหญ่ๆของประเทศ เป็นต้น

30 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE Mo-Cover Story-Feb2015.indd 30

26/1/2558 23:33:30


MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Mo-Cover Story-Feb2015.indd 31

| 31 26/1/2558 23:33:30


COVER STORY คุณวรพจน์ กล่าวว่า นี่คืออีกหนึ่งก้าวของการพัฒนางานที่ส�ำคัญ เพราะ โดยปกติแล้ว การส่องกล้องด้วยตาเปล่าอาจให้ผลที่คลาดเคลื่อน แต่การน�ำ ซอฟต์แวร์มาช่วยงานนั้น จะท�ำให้ได้ผลการวิเคราะห์ที่แม่นย�ำและมีมาตรฐาน มากยิ่งขึ้น แต่การพัฒนาและต่อยอดธุรกิจยังไม่หยุดเพียงแค่นั้น นอกจากผู้ใช้งาน ซอฟต์ แ วร์ จ ะซื้ อ ซอฟแวร์ ไ ปใช้ กั บ กล้ อ งที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ยั ง มี ลู ก ค้ า บางรายที่ ต้องการให้ทางบริษัทฯ จัดหาอุปกรณ์กล้องจุลทรรศน์ที่มีการใช้งานร่วมกับ ซอฟแวร์แบบส�ำเร็จรูป จึงเกิดการน�ำเทคโนโลยีกล้องจากประเทศญี่ปุ่น ที่ชื่อ ว่า Meijiซึ่งเป็นแบรนด์รายใหญ่อันดับ 3 ของญี่ปุ่น และเป็นแบรนด์ที่มียอด ขายที่ดีที่สุดในสหรัฐอเมริกา มาใช้ร่วมกับซอฟต์แวร์ MetImage เกิดเป็น การผสมผสานเทคโนโลยีที่ลงตัว และเป็นการดึงเอาคุณสมบัติที่ดีของกล้อง จากญี่ปุ่นและซอฟต์แวร์วิเคราะห์จากอินเดียเข้าไว้ด้วยกัน นี่คือความก้าวหน้าของบริษัทฯ ที่มีมาอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานความมุ่ง มั่นที่จะสรรหาโซลูชั่นด้านกล้องจุลทรรศน์ที่ดีที่สุด เพื่อสนับสนุนการใช้งาน ของผู้ประกอบการในประเทศ ที่มีความต้องการใช้งานในรูปแบบต่างๆ ใน ราคาที่ย่อมเยา และให้ประสิทธิภาพการท�ำงานสูง

ผู้จัดจ�ำหน่ายกล้องจุลทรรศน์ที่หลากหลาย เปี่ยมด้วย คุณค่า

ตลอดระยะเวลา 13 ปี ของการด�ำเนินกิจการ บริษัทฯ ได้รับความไว้ วางใจจากผู้ผลิตกล้องจุลทรรศน์หลากหลายยี่ห้อจากประเทศต่างๆ ทั่วโลกให้ เป็นผู้แทนจ�ำหน่ายในประเทศไทยอาทิ • Dino-Lite: กล้องจุลทรรศน์ระบบดิจิตอล ที่มีขนาดเล็ก ถูกออกแบบ มาส�ำหรับพกพาได้สะดวก ซึ่งกล้องยี่ห้อนี้เป็นลิขสิทธิ์การคิดค้นและวิจัยจาก ประเทศไต้หวัน ด้วยรูปลักษณ์ที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษให้มีขาดเล็กใกล้เคียง กับปากกา จึงท�ำให้สินค้ายี่ห้อดังกล่าวได้รับรางวัล iF Product Design Award จากเยอรมัน และอื่นๆ มากมายทั่วโลก

นอกจากนั้น ยังสามารถใช้งานได้ด้วยการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์หรือ หน้าจอโทรทัศน์เพื่อการแสดงผล ทั้งยังสามารถบันทึกภาพที่เป็นภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหวได้อีกด้วย • Meiji: จากบริษัทเมจิ เทคโน จ�ำกัด ผู้ผลิตกล้องจุลทรรศน์รายใหญ่ ที่สุด 1 ใน 3 ของประเทศญี่ปุ่นที่มีคุณภาพระดับโลก และเป็นกล้องจุลทรรศน์ ญี่ปุ่นรายเดียวที่ผลิตทุกชิ้นส่วนในญี่ปุ่น 100% มีการส่งออกไปยังตลาดแถบ อเมริกาและยุโรป และบริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัด ได้รับการแต่งตั้งให้ เป็นผู้แทนจ�ำหน่ายในตลาดอุตสาหกรรมรายแรกในประเทศไทย • Huvitz:

กล้องจุลทรรศน์อันดับ 1 จากประเทศเกาหลีใต้ เป็นแบรนด์ รายใหญ่ที่สุดในเกาหลี มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในโรงงานส่วนใหญ่ใน เกาหลีใต้ ก่อตั้งขึ้นจากการสนับสนุนของรัฐบาลเกาหลีใต้ ที่ต้องการให้มีหน่วย งานที่ผลิตกล้องจุลทรรศน์ของประเทศ ทั้งยังเป็นผู้ผลิตกล้องตรวจสายตา ที่ ขายดีที่สุดในโลก และจักษุแพทย์ทั่วโลกเลือกใช้อีกทั้งยังเป็นผู้ผลิตเลนส์และ เครื่องท�ำเลนส์อันดับต้นๆของโลกที่ป้อนสู่ตลาดอุตสาหกรรมกล้องจุลทรรศน์ นอกจากนั้น ยังมีสุดยอดนวัตกรรมได้แก่ กล้องจุลทรรศน์แบบ 3D Profile ที่สามารถท�ำการวิเคราะห์ด้วยภาพ แบบไร้ขีดจ�ำกัดด้านมุมมอง สามารถจับ หมุนพลิก ขยายภาพ แต่งแสงเงา ดูและวัดความสูงและความลึกได้ทั้งนี้ กล้ อ งจุ ล ทรรศน์ แ บรนด์ H uvitzมี ก ารใช้ ง านอย่ า งแพร่ ห ลายในโรงงาน อุตสาหกรรมชั้นน�ำของประเทศเกาหลีใต้แทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น Samsung, LG, Hyundai และอื่นๆ • Accuvision: Accuvision Technology Inc. บริษัทผู้ผลิตเครื่อง ตรวจสอบและคัดแยกชิ้นงานด้วยกล้องอัตโนมัติ สุดยอดของโลก อันดับหนึ่ง ในไต้หวัน และเป็นผู้ผลิตเครื่องมือตรวจสอบระบบแสงอัตโนมัติ ที่ให้ความ แม่นย�ำด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง สามารถช่วยแก้ไขปัญหาการตรวจสอบนอต สก รู ทองแดง อุปกรณ์จับยึดทั่วไป อุปกรณ์ขนาดเล็ก ชิ้นส่วนอุปกรณ์ส�ำหรับ รถยนต์ และชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความละเอียดสูง

32 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE Mo-Cover Story-Feb2015.indd 32

26/1/2558 23:33:31


- ATOMS Precision เครื่องมือวัดขนาดด้วยการประมวลภาพโดยอัตโนมัติจากสวิสเซอร์แลนด์ วัดชิ้นงานได้แม่นย�ำให้ความเที่ยงตรงสูงถึง 5 ไมครอน และท�ำงานได้รวดเร็ว ใช้เวลาเพียง 1-3วินาที ในการวัดเป็น 100 จุด และวัดได้ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนจุด ประหยัดที่สุดในเทคโนโลยีการวัดแบบเดียวกันกว่า 2-3เท่าเป็นการรวบรวม เทคโนโลยีการวัดต่างๆ เข้าด้วยกันท�ำให้สามารถเปรียบเทียบความคลาด เคลื่อนกับตัวต้นแบบ และบอกได้ทันทีว่าชิ้นงานใช้ได้หรือผิดพลาดอย่างไร โดยแสดงเป็นไฟสีเขียว สีเหลือง หรือสีแดง อัตโนมัติสามารถดึงไฟล์ต้นแบบ มาจาก CAD Drawing ได้ และส่งออกเป็น CAD ได้ด้วย • MetImage: เป็นซอฟแวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างโลหะอันดับ 1 จากประเทศอินเดีย ที่ใช้งานง่าย รวดเร็ว และแม่นย�ำ สามารถวิเคราะห์ โครงสร้างเหล็กได้เกือบทุกรูปแบบ สามารถสร้างรายงานผลการวิเคราะห์ได้ และส่งออกผ่านโปรแกรม Microsoft Word, Excel ได้ทันที ปัจจุบันมีองค์กร และหน่ ว ยงานต่ า งๆ ในประเทศไทยน� ำ ซอฟต์ แ วร์ นี้ ไ ปใช้ ง านแล้ ว ได้ แ ก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) กรมสรรพาวุธทหาร เป็นต้น นอกจากสินค้าแบรนด์ต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นแล้วนั้น บริษัทฯ ยังเป็น ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยกล้ อ งจุ ล ทรรศน์ อี ก มากมายหลากหลายแบรนด์ ที่ มี ใ ห้ เลื อ กสรรตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า อาทิ MIRUC, METROLOGY, ZATURN และอื่นๆ อีกมากมาย จึงเรียกได้ว่า บริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัด เป็นแหล่งรวมโซลูชั่นด้านกล้องจุลทรรศน์ที่ครบวงจรมากที่สุดในประเทศไทย อย่างแท้จริง

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผสานกับเสริมจุดแข็งด้านบริการ

คุณวรพจน์ กล่าวถึงแผนกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจในปี 2558 นี้ว่า บริษัทฯ เน้นส่งเสริมการด�ำเนินงานในโครงการต่างๆ และการพัฒนาการตลาด โดยการจัดหากล้องจุลทรรศน์ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถท�ำงานได้ด้วย ระบบอัตโนมัติมากขึ้น เพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่หลากหลาย และเป็นทาง เลือกที่ดีที่สุดให้ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมไทย ทั้งนี้ ด้วยความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ มี บริษัทฯ จึงยินดีให้ ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนการตัดสินใจซื้อ มีสินค้าพร้อมส่งทันทีและจ�ำหน่าย ในราคาที่เหมาะสมและคุ้มค่าการลงทุน ที่ส�ำคัญเมื่อสินค้าเกิดปัญหา บริษัทฯ ยินดีเปลี่ยนสินค้าให้ใช้งานก่อน และนี่คือจุดเด่นในการให้บริการของบริษัทฯ

บริษัท โชเซ่น เทคโนโลยี จ�ำกัด ถือเป็นบริษัทน้องใหม่ในวงการกล้องจุลทรรศน์เพื่องานอุตสาหกรรม ในประเทศไทย ที่เน้นตอบโจทย์การใช้งานของลูกค้าที่หลากหลาย ภายใต้สโลแกน ‘See More… Measure More’ นั่นคือ การมีสินค้าให้เลือกใช้งานมากมาย ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานมากที่สุดด้วย ผลิตภัณฑ์คุณภาพดีและประสิทธิภาพการท�ำงานสูง จากบริษัทผู้ผลิตชั้นน�ำระดับโลกนั่นเอง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Mo-Cover Story-Feb2015.indd 33

| 33 26/1/2558 23:33:32


EXCLUSIVE INTERVIEW

เปิดใจ ดร.อรรชกา สีบุญเรือง…

แม่ทัพหญิงแห่งวงการ อุตสาหกรรมไทย หากเอ่ยถึงผู้นำ� หญิงที่โดดเด่นซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกไม่ว่าจะเป็น ‘อินทิรา คานธี’ อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของ อินเดีย อีกท่านหนึ่ง คือ ‘อังเกลา โดโรเทอา แมร์เคิล’ อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศเยอรมนี หรือ ‘สิริมาโว บันดารานัยเก’ อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศศรีลงั กา ผูน้ ำ� ทัง้ 3 ท่าน นับได้วา่ เป็นนักการเมืองหญิงทีท่ รงอิทธิพลเป็นอย่าง ยิ่งในยุคสมัยนั้นๆ ส�ำหรับ ‘ดร.อรรชกา สีบุญเรือง’ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมคนล่าสุด หนึ่งในแม่ทัพคนส�ำคัญในการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน ก็เป็นผู้น�ำหญิงซึ่งก�ำลังเป็นที่น่าจับตามองเป็นอย่างยิ่ง เปิดใจ ‘ดร.อรรชกา’ สุภาพสตรีหมายเลข 1... แห่งวงการอุตสาหกรรมไทย

ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ได้เปิดใจกับนิตยสาร MODERN MANUFACTURING ถึงความท้าทายในการก้าวขึ้นสู่การเป็น ผู้นำ� ในวงการอุตสาหกรรมว่า “ความท้าทายครั้งแรกในวงการอุตสาหกรรม คือ การเข้าด�ำรงต�ำแหน่งที่ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จนก้าวขึ้น มานัง่ ในต�ำแหน่งเลขาธิการและก็คลุกคลีอยูใ่ นวงการอุตสาหกรรมมาโดยตลอด ซึง่ ในช่วงระยะเวลาของการท�ำงาน ได้เรียนรูก้ บั หลากปัญหา หลากรูปแบบ รวม ทั้งในช่วงวิกฤติต่างๆ ทั้ง วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ ปัญหาสึนามิที่เกิดขึ้นทั้งใน ประเทศไทยและประเทศญี่ ปุ ่ น ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ้ ป ระกอบการในภาค อุตสาหกรรมเป็นอย่างยิ่ง แต่ก็ผ่านพ้นมาได้ด้วยดี ทุกสถานการณ์ล้วนเป็นการ สั่งสมประสบการณ์และความรู้ ความช�ำนาญให้เพิ่มขึ้นด้วยกันทั้งนั้น”

จุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญส�ำหรับเส้นทางสู่ความ ส�ำเร็จของ ดร.อรรชกา นั้น เริ่มต้นจาก การเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงส�ำคัญในแวดวง อุตสาหกรรมมานานกว่า 30 ปี และก้าวขึ้น สู่ต�ำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของส�ำนักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ส�ำนักงานคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) รอง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และอธิบดีกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม ก่อนขึ้นรับต�ำแหน่ง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมในปัจจุบัน

“คติในการท�ำงานทีน่ ำ� มาใช้อยูเ่ สมอ คือ ต้องรูจ้ ริง กระชับ รวดเร็ว โปร่งใส และถูกต้อง เช่น กรณีเกิดเหตุการณ์ไฟฟ้าไหม้โรงงานอุตสาหกรรมต้องมีการ รายงานอย่างทันท่วงที ด้วยการส่งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเข้าไปตรวจสอบแล้ว กลับมารายงานผลที่เกิดขึ้นเพื่อหาหนทางปรับปรุง แก้ไข โดยไม่ให้เกิดปัญหา กับโรงงานอื่นๆ อีกเพื่อสร้างความเชื่อมั่นกับผู้ประกอบการทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ” จากคติการท�ำงานในเบื้องต้น ทั้งการท�ำงานเชิงรุก รู้จริง กระชับ รวดเร็ว ความโปร่งใส และถูกต้องผสานกับท่านปลัดได้หยิบยกแนวคิดจากการศึกษา ธรรมะหรือหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน โดยเฉพาะ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ยิง่ เป็นสิง่ เกือ้ หนุนให้การท�ำงานของท่านผ่านพ้นไปได้ดว้ ย ดีและมีประสิทธิภาพ “คนท�ำงานทุกคนต่างก็ปรารถนาทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จในการท�ำงานด้วย กันทุกคน ดังนั้น ธรรมะจึงเหมาะสมส�ำหรับผู้ปฏิบัติงาน ประโยชน์จากการท�ำ สมาธิท�ำให้ใจเย็นลง ไม่เครียด และช่วยเกิดปัญญา สามารถแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าได้ โดยเทคนิคหนึ่งที่ใช้ คือ การนั่งสมาธิอย่างสม�่ำเสมอ” ดร.อรรชกา กล่าวเสริม ในบทบาทของปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ดร.อรรชกา ได้เผยถึงแนวทาง การสนับสนุนผูป้ ระกอบการไทย ทัง้ แผนการสร้างความเชือ่ มัน่ ต่อผูป้ ระกอบการ ทิศทางการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งนโยบายการขับเคลื่อนภาค อุตสาหกรรมสู่ AC อย่างน่าสนใจ

สร้างความเชื่อมั่นผู้ประกอบการไทย ภารกิจเพื่อนักอุตสาหกรรม

การวางแผนเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักอุตสาหกรรมในปี 2558 ท่าน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เล่าว่ากระทรวงอุตสาหกรรมจะให้ความส�ำคัญใน การด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล โดยมุ่งเน้นในเรื่องการสร้างความโปร่งใส ความรวดเร็ว และความถูกต้องในการปฏิบัติงาน เพื่อสนองต่อความต้องการ ของผูป้ ระกอบการและประชาชน โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้ปรับปรุงกฎหมาย ไปแล้วหลายฉบับ ซึ่งเป็นการลดขั้นตอนการให้บริการเพื่อเอื้ออ�ำนวยความ สะดวกในการพิจารณาอนุญาตให้กับผู้ประกอบการ อาทิ กรมโรงงานอุตสาห กรรมได้ลดขั้นตอนในการพิจารณาอนุญาตโรงงานจากเดิม 90 วัน เหลือ 30 วัน ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคมเป็นต้นมา ส่งผลให้การอนุญาตประกอบกิจการ และขยายกิจการมีจ�ำนวน 3,160 โรงงาน ก่อให้เกิดมูลค่าการลงทุน 352,253 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 115,424 คน แสดงให้เห็นว่าผู้ประกอบการ

34 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

034-037_Exclusive-Interview.indd 34

1/26/2015 7:15:42 PM


ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

034-037_Exclusive-Interview.indd 35

| 35

1/26/2015 7:15:44 PM


มีความมั่นใจในเศรษฐกิจของประเทศ ท�ำให้ภาคเอกชนตัดสินใจลงทุนขยาย กิจการมากขึ้น ในส่วนของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้ปฏิรูประบบการ อนุญาตและก�ำกับดูแลการท�ำเหมืองแร่จากเดิม 97 วัน เหลือ 45 วัน และใน ส่วนของส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมก็ได้ปรับปรุงขั้นตอนการ อนุ ญ าตเพื่ อ ลดระยะเวลาในการออกใบอนุ ญ าตรั บ รองคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุตสาหกรรมจากเดิม 43 วัน เหลือ 26 วัน นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม ยังได้ดำ� เนินการจัดท�ำ ‘คู่มือบริการส�ำหรับประชาชน’ เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ในการขออนุญาตให้กบั ประชาชนและผูป้ ระกอบการ ตามร่าง พ.ร.บ.การอ�ำนวย ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ…... เพื่อลดการใช้ ดุลยพินจิ ของเจ้าหน้าทีแ่ ละเพือ่ เป็นมาตรฐานในการให้บริการ ตลอดจน อ�ำนวย ความสะดวกในการขออนุญาตต่างๆ ให้กับประชาชน ส�ำหรับการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรและผู้ประกอบการ กระทรวงอุตสาหกรรมได้เข้าไปมีส่วนร่วม เช่น การให้ความช่วยเหลือและแก้ ปัญหาความเดือดร้อนของชาวไร่อ้อยในฤดูการผลิตปี 2556/2557 ให้ได้รับค่า อ้อยทีค่ มุ้ ค่ากับต้นทุนการผลิต รวมทัง้ การด�ำเนินโครงการสนับสนุนสินเชือ่ เป็น เงินทุนหมุนเวียนแก่ผปู้ ระกอบการยาง โดยการสนับสนุนดอกเบีย้ ร้อยละ 3 เพือ่ ให้ผู้ประกอบการน�้ำยางข้นรับซื้อผลผลิตยางส่วนเกินนจากเกษตรกรในช่วงที่ ผลผลิตยางออกสู่ตลาดมาก ตลอดจน ได้ด�ำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อผู้ ประกอบการผลิตภัณฑ์ยางเพื่อใช้ในการขยายก�ำลังการผลิต/ปรับเปลี่ยน เครื่องจักรการผลิต โดยสนับสนุนสินเชื่อผ่อนปรนจากธนาคารออมสินให้แก่ผู้ ประกอบการ นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมยังมีการพัฒนาผูป้ ระกอบการ SMEs และ OTOP ให้สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์

ชุมชน หรือ มผช. โดยตั้งเป้าหมายที่จะสร้างผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP ให้สามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานและได้รับ มผช. จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5,000 ราย ทั่วประเทศ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ ด้วยการเพิ่มรายได้เพื่อเพิ่มก�ำลัง ซือ้ ในประเทศ ซึง่ กระทรวงอุตสาหกรรมได้สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร เชื่อมโยงต้นน�ำ้ กลางน�ำ้ และปลายน�้ำ ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้สามารถ แข่งขันได้ และสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าเกษตร ซึง่ เป็นสินค้าหลักทีส่ ำ� คัญและ สร้างรายได้ให้กบั กลุม่ เกษตรกรทีถ่ อื เป็นกลุม่ ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ รวมถึงมาตรการเพิ่มการค้าภายในภูมิภาคในกลุ่มอาเซียน โดยเฉพาะกลุ่ม ประเทศ CLMV คือ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม ซึ่งถือได้ว่าเป็น กลุ่มประเทศที่เศรษฐกิจเริ่มมีการเติบโตและการขยายตัวสูง นอกจากนี้ ยังมีการยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการ และพัฒนาไปสู่ คลัสเตอร์อตุ สาหกรรมเพือ่ สร้างความเข้มแข็งทีย่ งั่ ยืน โดยในส่วนของการพัฒนา ศักยภาพด้านการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการ มีแนวทางการด�ำเนินงาน อาทิ การสร้างความเข้มแข็งของผู้ประกอบการ SMEs โดยเน้นการปรับปรุง ประสิทธิภาพและมาตรฐานการผลิตเพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าและยกระดับการ ผลิตไปสู่มาตรฐานสากล การส่งเสริมการสร้างทรัพย์สินทางปัญญา การ สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม ส่วนการยกระดับคลัสเตอร์อตุ สาหกรรม มีแนวทาง การด�ำเนินงาน อาทิ การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่คลัสเตอร์อุตสาหกรรม ที่มีอยู่เดิม โดยพัฒนาประสิทธิภาพ และผลิตภาพแก่ผู้ประกอบการภายใน คลัสเตอร์ รวมทั้งพัฒนาระบบการบริหารจัดการกระบวน การผลิตและการเชื่อมโยง การผลิตภายในคลัสเตอร์ การส่งเสริมและพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมใหม่ อุตสาหกรรมอนาคต รวมถึงอุตสาหกรรมทีเ่ ชือ่ มโยงภาคการผลิตกับภาคบริการ

36 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

034-037_Exclusive-Interview.indd 36

1/26/2015 7:15:46 PM


ไม่วา่ จะเป็นคลัสเตอร์กลุม่ อุตสาหกรรมสีเขียว เช่น พลังงานทดแทน พลังงานสะอาด การคัดแยกวัสดุ เพื่อรีไซเคิล คลัสเตอร์ กลุ่มอุตสาหกรรมสุขภาพ เช่น อาหารสุขภาพ เครื่องส�ำอาง เครื่องมือแพทย์ เภสัชภัณฑ์ เป็นต้น เพื่อตอบสนองต่อทิศทางการ พัฒนาภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไปสู่การให้ ความส�ำคัญกับการเติบโตสีเขียวและการมีคณ ุ ภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น

ทิศทางการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม ไทยในอนาคต

ดร.อรรชกา กล่าวต่อว่า ภาคอุตสาหกรรมไทย ถือเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลือ่ นการเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมอาหาร รวมถึงอุตสาห กรรมทีใ่ ช้วตั ถุดบิ จากเกษตร เช่น อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ และอุตสาหกรรมผลิต พลังงานจากพืช เป็นต้น นอกเหนือจากสินค้าด้าน การเกษตรแล้ว ประเทศไทยยังมีศกั ยภาพด้านสินค้า อุปโภคบริโภคถือได้วา่ เป็นแหล่งผลิตทีส่ ำ� คัญอีกหนึง่ แหล่งด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีการเติบโตของ อุตสาหกรรมสนับสนุนเพื่อรองรับการเติบโตของ ภาคอุตสาหกรรมและปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ท�ำให้อตุ สาหกรรมสนับสนุน มีบทบาทและความส�ำคัญต่อการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น เช่น อุตสาหกรรมเครือ่ งจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเครือ่ งจักรกล อุตสาหกรรม แม่พิมพ์ เพื่อปรับกระบวนการผลิตสู่ระบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติ รวมถึง การพัฒนาต่อยอดไปสู่อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง จาก ศักยภาพในอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีเข้มข้น อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ น�ำไปสู่การต่อยอดไปสู่อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น อุตสาหกรรม อากาศยาน อุตสาหกรรมรถไฟฟ้า และอุตสาหกรรมดิจิทัล เป็นต้น นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีทรัพยากรพื้นฐานที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะแรงงานฝีมือไทยที่มี ความละเอียด ประณีตและต้นทุนแรงงานที่ต�่ำกว่าเมื่อเทียบระหว่างค่าจ้างกับ ทักษะฝีมือ จึงท�ำให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน เข้มข้นอีกด้วย

นโยบายภาคอุตสาหกรรมขับเคลื่อนประเทศไทย... สู่ประชาคมอาเซียน

การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ASEAN Community หรือ AC ดร.อรรชกา เล่าด้วยความมุง่ มัน่ ว่า การรวมกลุม่ ของสมาชิกอาเซียนทีม่ เี ป้าหมายในการสร้าง ให้สมาชิก 10 ประเทศรวมกันเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน โดยมีการเปิด เสรีทั้งด้านการค้าและการลงทุนจะท�ำให้มีประชากรรวมกันกว่า 600 ล้านคน และหากรวม ASEAN + 3 (ประเทศจีน ญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้) และ ASEAN + 6 (ประเทศจีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์) จะท�ำให้มปี ระชากร รวมถึงกว่า 2,000 ล้านคนของประชากรโลก ซึ่งถือเป็นตลาดเศรษฐกิจขนาด ใหญ่ที่เป็นที่หมายปองของผู้ผลิตทั่วโลก ส�ำหรับการพัฒนาหรือปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมของไทย เพื่อรองรับการเข้า สู่ AC ภาคอุตสาหกรรมไทยจะต้องให้ความส�ำคัญกับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านการผลิต โดยการพัฒนายกระดับประสิทธิภาพการผลิตโดย ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนามาตรฐาน การบริหารจัดการโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทาน การจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่เหมาะสม เป็นต้น บวกกับประเทศไทยมีความได้เปรียบด้านที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ไทยทีต่ งั้ อยูร่ ะหว่างประเทศทีม่ ขี นาดเศรษฐกิจใหญ่ของโลกสองประเทศ คือ จีน และอินเดีย และรายล้อมด้วยประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ส่งผลให้ไทย

เสมือนเป็นศูนย์กลางของอนุภูมิภาคในด้านภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ โดยเป็นประตู สูอ่ าเซียนซึง่ อุดมไปด้วยตลาด ทรัพยากรและแรงงาน ประกอบกับไทยมีจดุ แข็ง ในเรื่องของการคมนาคมขนส่งทั้งทางบก ทางอากาศ และทางเรือ ที่สามารถ เชือ่ มโยงทัง้ ภายในภูมภิ าค อนุภมู ภิ าค และระหว่างภูมภิ าคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นผลจากการลงทุนด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เพื่อรองรับการ ผลิต การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง อย่ า งไรก็ ต าม ประเทศไทยยั ง คงต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาและลงทุ น ในระบบ โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน รองรับการ เชื่อมโยงในภูมิภาคนี้ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีและ ต้อนรับนักลงทุนต่างชาติ รวมทั้งภาคการผลิตของไทยยังมีความพร้อมในด้าน Supply Chain ที่ครบวงจรตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำและมีอุตสาหกรรมการผลิต ที่หลากหลาย จึงท�ำให้ภาคอุตสาหกรรมไทยสามารถใช้ประโยชน์จากการเข้าสู่ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้เป็นอย่างดี ดร.อรรชกา กล่าวทิง้ ท้ายถึงว่า ปัจจุบนั สือ่ ถือเป็นกระจกสะท้อนสภาพของ สังคม เปรียบเสมือนเครือ่ งมือทีม่ บี ทบาทส�ำคัญต่อการสร้างค่านิยม เจตคติ การ รับรู้ของประชาชนในสังคมและมียังผลต่อการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ สื่อน�ำ เสนอข้อมูลข่าวสารออกมาในลักษณะใด สภาพสังคมย่อมแสดงออกมาใน ลักษณะนั้นเช่นกัน เพราะในปัจจุบันมีการติดตามข่าวสาร มีการเรียนรู้ พัฒนา และพยายามเจาะหาข้อมูลใหม่ๆ ทั้งมาตรการสนับสนุนผู้ประกอบการ โอกาส ในการท�ำธุรกิจในการพัฒนา ทัง้ นีส้ อื่ ก็เป็นอีกช่องทางหนึง่ ทีจ่ ะประชาสัมพันธ์ให้ ภาคอุตสาหกรรมไทยเป็นที่รู้จักและยอมรับในระดับสากลได้เช่นกัน ดังนัน้ หากสือ่ มวลชนท�ำหน้าทีใ่ นการน�ำเสนอแบบอย่างของนักอุตสาหกรรม ที่ประสบความส�ำเร็จ หรือการเป็นต้นแบบในการแก้ไขปัญหา เพื่อก้าวเข้าสู่นัก อุตสาหกรรมแนวหน้า ก็จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อภาคอุตสาหกรรมของไทย เนื่องจากเป็นประสบการณ์ตรงที่นักอุตสาหกรรมได้เรียนรู้และฝ่าฟันไปสู่ความ ส�ำเร็จ ด้วยความมุง่ มัน่ อันแรงกล้าผสานกับประสบการณ์ทสี่ งั่ สมมาอย่างยาวนาน ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาหลายสมัย เป็นแรงหนุนส�ำคัญให้ ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นผู้น�ำทัพอุตสาหกรรมในยุคแห่งการแข่งขันได้ อย่างมั่นคง และน�ำพาอุตสาหกรรมไทยก้าวสู่ผู้น�ำอย่างยั่งยืน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

034-037_Exclusive-Interview.indd 37

| 37

1/26/2015 7:15:49 PM


PRODUCTIVITY BOOSTER

ลง

บสังคม องคนใน องค์กร

เปลี่ยน ร์ นแปลง

แม้แต่ นแปลง

นความ ยา โดย ามารถ

ที่ไม่ลับ

งด่วนที่ ห้ทุกคน วตัง้ ทิง้

ำความ

พัฒนาบุคลากรอย่างไร ให้ทันการเปลี่ยนแปลง เราทุกคนต่างก็รู้ว่า การมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงเป็นเรื่องส�ำคัญของชีวิต แต่จะมี สักกี่คนที่ลุกขึ้นมาออกก�ำลังกายในทันที จนกลายเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน คน ส่วนมากจะรู้ว่าเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ แต่ไม่คิดว่าสิ่งนั้นเป็นเรื่องเร่งด่วน ของชีวิต จึงยังไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง...เรื่องธรรมดาที่ไม่ธรรมดา

ในโลกยุคปัจจุบันจะเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นไป อย่างรวดเร็ว โดยผ่านกลไกการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ น�ำพาเทคโนโลยีและรูปแบบสังคมสมัยใหม่ ข้อมูลจ�ำนวนมาก แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และแนวโน้มที่จะ เกิดขึน้ ในอนาคต เช่น ความขัดแย้งและความหลากหลายของ คนในองค์กรจะเพิม่ สูงขึน้ จากความแตกต่างของอายุ เชือ้ ชาติ และรูปแบบการใช้ชีวิต นอกจากนี้ อัตราการใช้อินเทอร์เน็ต ที่เพิ่มมากขึ้น ยิ่งเป็นตัวผลักดันให้องค์กรต้องหันมาปรับ เปลี่ยนการบริหาร การตลาด และการบริการ โดยน�ำเอา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้อย่างจริงจัง หลายองค์กรชั้นน�ำในระดับโลก ที่มีความแข็งแกร่งทั้ง ฐานะทางการเงินและส่วนแบ่งทางการตลาด ก็พลาดท่าตกต�ำ่ ลงเพราะละเลยที่จะปรับเปลี่ยนองค์กรให้ทันต่อการเปลี่ยน แปลง ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่โนเกีย ผู้ผลิตฟิล์ม ชื่อดังอย่างโกดัก แม้กระทั่งไอบีเอ็มที่เคยเป็นผู้น�ำในตลาด คอมพิวเตอร์

ในความเป็นจริงแล้วช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ส�ำหรับการ เปลี่ยนแปลง คือ ช่วงเวลาที่องค์กรเข้มแข็งที่สุดแต่กลับเป็น ช่วงเวลายากทีส่ ดุ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง เพราะความส�ำเร็จทีม่ อี ยู่ จะท�ำให้คนในองค์กรละเลย และเข้าใจว่ายังไม่ถึงเวลาที่จะ เปลี่ยนแปลง

ท�ำไมคนถึงต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

หากเราลองพิจารณาดูจะพบว่าอันทีจ่ ริงแล้วคนเราไม่ได้ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เพราะทุกคนต่างก็รู้ดีว่าทุกสิ่งทุก อย่างย่อมมีการเปลีย่ นแปลง แม้แต่ตวั เราเองก็ยงั ต้องเปลีย่ น แปลงอยู่ตลอดเวลา แต่สิ่งที่คนต่อต้าน คือ ‘การถูกเปลี่ยน แปลง’ โดยพื้นฐานแล้วคนเราจะไม่ชอบการถูกบังคับ ยิ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ตนเองไม่ต้องการด้วยแล้วก็จะยิ่งเกิด การต่อต้าน ผู้บริหารระดับสูงจะรู้สึกดีกับโครงการปรับปรุงต่างๆ ที่ น�ำมาสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นกับองค์กร เพราะเป็น สิง่ ทีต่ นเองตัง้ ใจเข้าใจ และเห็นความส�ำคัญ แต่ในทางกลับกัน

หัวข้อการอบรม การวิเคราะห์และปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร เทคนิคการปรับปรุงวิธีการท�ำงาน Balanced Scorecard เครื่องมือแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ การเพิ่มผลิตภาพด้วยทีม การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีและยั่งยืน

วันเวลา 17 มีนาคม 2558 18-19 มีนาคม 2558 25-26 มีนาคม 2558 26 มีนาคม 2558 31 มีนาคม 2558

พนักงานอาจจะรู้สึกต่อต้าน ไม่เต็มใจ เพราะถูกบังคับให้ เปลี่ยนแปลงจากสิ่งที่ตัวเองคุ้นเคย หากผู้บริหารเข้าใจถึง หลักจิตวิทยา โดยพยายามสร้างแรงจูงใจแทนการออกกฎข้อ บังคับท�ำให้พนักงานยอมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงด้วยตัวเอง เพราะ เล็งเห็นถึงประโยชน์ และเข้าร่วมกิจกรรมก็จะสามารถลดการ ต่อต้านได้

ลงมือเปลี่ยน เริ่มอย่างไร

John P.Kotter ได้อธิบายถึงมุมมองในการบริหารการ เปลีย่ นแปลงไว้อย่างน่าสนใจ ผ่านหนังสือเรือ่ ง Our Iceberg Is Melting ซึง่ เป็นเคล็ดทีไ่ ม่ลบั ทีจ่ ะท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ที่นำ� ความส�ำเร็จมาสู่องค์กรได้ โดยก้าวแรกที่ส�ำคัญ คือ การ สร้าง Sense of Urgency ทั้งนี้ คนส่วนมากมักจะเข้าใจถึงความส�ำคัญที่จะต้อง เปลีย่ นแปลง หรือมี Sense of Necessity แต่ยงั ไม่เห็นความ จ�ำเป็น และไม่รู้สึกถึงความเร่งด่วนที่ต้องเปลี่ยนแปลง หรือ ไม่มี Sense of Urgency ตัวอย่างหนึ่งในการสร้าง Sense of Urgency ผ่านเรือ่ งเล่าของนกเพนกวินชือ่ เฟรด ทีต่ อ้ งการ บอกให้ทกุ คนบนภูเขาน�ำ้ แข็งหันมาสนใจแก้ไขปัญหาภูเขาน�ำ ้ แข็งจะแตกในฤดูหนาว จากการที่ธารน�้ำใต้ภูเขาแข็งตัว โดย การจ�ำลองสถานการณ์น�ำเอาน�้ำใส่ในขวดแล้วตั้งทิ้งไว้หนึ่ง คืนจนถึงรุง่ เช้าขวดน�ำ้ ก็แตกออก ท�ำให้นกเพนกวินตัวอืน่ เห็น ถึงความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขสิ่งที่จะเกิดขึ้น ค�ำถามง่ายๆ อย่าง ‘Why now?’ หรือ ‘ท�ำไมต้องเปลีย่ น ตอนนี?้ ’ เป็นเรือ่ งยากและส�ำคัญมากทีจ่ ะต้องสือ่ สารให้คนใน องค์กรเกิดความเข้าใจ เพื่อน�ำความส�ำเร็จที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงมาสู่องค์กร แล้ว... วันนี้คุณออกก�ำลังกายแล้ว หรือยัง จากการบรรยายในหัวข้อ ‘Leading Employee through Change... พัฒนาบุคลากรอย่างไร ให้ทันการเปลี่ยนแปลง’ โดย คุณอภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา Productivity Talk วันพุธที่ 29 ตุลาคม 2557 ข้อมูลเพิ่มเติม: www.ftpi.or.th หรือ http://www.ftpi.or.th/portals/0/Public/PublicTraining2557/ public_month_57.html

38 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Productivity_038.indd 38

1/26/2015 10:02:49 PM


010_AD Compomax.pdf 1 6/28/2013 6:51:34 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


พยากร งมนุษย์ าย ก็จะ

PRODUCTIVITY BOOSTER

ก็ตามที่ องจักร

ไร อัน าร อัน

oading

erating

เติมพลังขับเคลื่อน เพื่อเพิ่มประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักร Boost up Overall Equipment Effectiveness: OEE

แนวคิดที่ว่า วันนี้ต้องดีกว่าเมื่อวานนี้ และวันพรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี้ เป็นแนวคิดที่จะท�ำให้องค์กรมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจาก ความใส่ใจในการเพิ่มผลิตภาพการท�ำงาน และส่งผลให้องค์กรมีความ สามารถในการแข่งขันได้

หากมี ารหยุด กพร่อง

เป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจัยหรือทรัพยากรที่ส�ำคัญที่สุดที่จะท�ำให้การ เพิ่มผลิตภาพเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ นั่นก็คือ ทรัพยากรบุคคล แต่หากจะ กล่าวถึงทรัพยากรในโรงงานอุตสาหกรรม สิ่งที่ส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า ทรัพยากรบุคคลนั่นก็คือเครื่องจักร เพราะเครื่องจักรมีบทบาทส�ำคัญใน การช่วยลดภาระงานของมนุษย์ และเพิ่มผลิตภาพของการท�ำงานนั่นเอง ฉะนั้น การดูแลรักษาเครื่องจักรให้สามารถท�ำงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ ไม่มีอุปสรรคของการช�ำรุดหรือเสียหาย ก็จะส่งผลให้ประสิทธิภาพการ ด�ำเนินงานสูงตามไปด้วย

องมีขั้น

นักงาน

อ.มงคล ปากองวัน วิทยากรที่ปรึกษา ส่วนบริหารการผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

ผลโดย

ท้ายคือ จักรอยู่

องจักร ดภาระ

ยะเวลา

ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร: OEE

ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (Boost up Overall Equipment Effectiveness: OEE) เป็นเสมือนตัวชี้วัดที่สำ� คัญของเครื่องจักร องค์กร ใดก็ตามที่มีเครื่องจักรเป็นองค์ประกอบ จ�ำเป็นต้องเรียนรู้และท�ำความ เข้าใจเรื่องการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร อาจกล่าวได้ว่า เมื่อ ใดทีผ่ ใู้ ช้งานเครือ่ งจักรไม่สามารถวัดประสิทธิผลการท�ำงานของเครือ่ งจักร ได้ ก็จะไม่สามารถปรับปรุงให้เครือ่ งจักรมีประสิทธิภาพการท�ำงานทีด่ ขี นึ้ ได้ การวัดประสิทธิภาพโดยรวมของเครือ่ งจักร เป็นแนวทางในการตรวจ สุขภาพของเครื่องจักรเพื่อให้ทราบว่าเครื่องจักรมีความบกพร่องหรือไม่ อย่างไร อันจะส่งผลถึงกระบวนการผลิตและคุณภาพงานด้วย การวัด ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรจ�ำเป็นต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวชี้วัด ทีเ่ กีย่ วข้อง 3 ประการ อันประกอบไปด้วย อัตราการเดินเครือ่ ง ประสิทธิภาพ การเดินเครื่อง และอัตราคุณภาพ 1. อัตราการเดินเครื่อง (Availability Rate: A) คือ การแสดงความพร้อมของเครือ่ งจักรในการท�ำงาน เป็นการเปรียบ เทียบระหว่างเวลาเดินเครื่อง (Operation Time) กับเวลารับภาระงาน (Loading Time)

อัตราการเดินเครื่อง = เวลารับภาระงาน - เวลาทีเ่ ครือ่ งจักรหยุด เวลารับภาระงาน = เวลาเดินเครื่อง เวลารับภาระงาน 2. ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง (Performance Efficiency: P) คือ การแสดงสมรรถนะเครือ่ งจักรในการท�ำงาน เป็นการเปรียบเทียบ ระหว่างเวลาเดินเครื่องสุทธิ (Net Operating Time) กับเวลาเดินเครื่อง (Operating Time) ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง = อัตราความเร็วในการท�ำงาน x อัตราการท�ำงานสุทธิ = เวลามาตรฐาน x จ�ำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ x รอบเวลาจริง รอบเวลาจริง เวลาเดินเครื่อง = เวลามาตรฐาน x จ�ำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ เวลาเดินเครื่อง = เวลาเดินเครื่องสุทธิ เวลาเดินเครื่อง

40 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Productivity_040-042.indd 40

1/26/2015 7:17:41 PM


3. อัตราคุณภาพ (Quality Rate) คือ การแสดงความสามารถในการผลิตของดีตรงตามข้อก�ำหนดของ ลูกค้าต่อจ�ำนวนของที่ผลิตได้ทั้งหมด อัตราคุณภาพ = จ�ำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ - จ�ำนวนชิ้นงานที่ผลิตไม่ได้ตามที่ก�ำหนด จ�ำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ = จ�ำนวนชิ้นงานดี จ�ำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ โดยสามารถค�ำนวณหาประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรได้จากสมการ: ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE) = อัตราการเดินเครื่อง (A)X ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง (P)X อัตราคุณภาพ (Q) ในการค�ำนวณค่าประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร แต่ละโรงงาน จ�ำเป็นต้องพิจารณาว่ากระบวนการผลิตของท่านเป็นแบบต่อเนื่องหรือไม่ หากมีกระบวนการผลิตที่ต่อเนื่อง จ�ำเป็นจะต้องค�ำนวณค่าประสิทธิภาพ

AW_MO_Productivity_040-042.indd 41

ทั้งกระบวนการ นั่นคือ หากเครื่องจักรตัวใดตัวหนึ่งเกิดปัญหาก็จะส่งผล กระทบต่อการหยุดชะงักของทั้งกระบวนการนั่นเอง ตรงข้ามกับกระบวน การผลิตแบบไม่ต่อเนื่องสามารถค�ำนวณแต่ละเครื่องจักร เนื่องจากเมื่อ เครือ่ งจักรตัวใดเกิดการบกพร่องตัวอืน่ ก็ยงั สามารถท�ำงานต่อไปได้นนั่ เอง

แนวทางการปรับปรุงประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักร

ในการปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรเป็นเรื่องที่ท�ำได้ ไม่ยากเพียงแต่ตอ้ งอาศัยความร่วมมือจากบุคคลากรภายในองค์กร อีกทัง้ ยังต้องมีขั้นตอนการด�ำเนินงานที่ชัดเจน ซึ่งแนวทางในการปรับปรุง ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร ได้แก่ 1. ปรับทัศนคติพนักงาน จุดแรกของการปรับปรุงและพัฒนา คือ การยอมรับว่ามีปญ ั หา หรือ ยอมรับว่างานทีท่ ำ� อยูใ่ นปัจจุบนั ยังไม่ดพี อและสามารถปรับปรุงให้ดกี ว่าเดิม ได้ พนักงานจะต้องมีทศั นคติทดี่ แี ละความพึงพอใจทีจ่ ะปรับปรุงงานและเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน และไม่คดิ ว่าการเพิม่ ผลิตภาพเป็นการเพิม่ ภาระงาน

1/26/2015 7:17:41 PM


2. วัดปริมาณความสูญเสียให้ชัดเจน ในกระบวนการท�ำงาน หากไม่มกี ารวัดและประเมินความเสียหายอย่าง ถูกต้องก็จะไม่สามารถแก้ไขหรือปรับปรุงให้ถูกจุด 3. มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาโดยผู้ใช้งานเครื่องจักร สนับสนุนการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกระดับและทุกคน ไม่ปล่อยให้ เป็นหน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่งหรือแผนกใดแผนกหนึ่ง 4. วิเคราะห์ข้อมูลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ผูป้ ฏิบตั งิ านจ�ำเป็นต้องวิเคราะห์เป็น เพือ่ น�ำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง และแก้ไขอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นีเ้ ราต้องวิเคราะห์ได้วา่ ปัจจัยใดทีท่ ำ� ให้ประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักรมีค่าที่ตำ�่ แล้วจึงค่อยๆ แก้ปัญหาในจุดนั้น

พื้นฐาน 4 ประการส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานเครื่องจักร

หากสภาพการท�ำงานมีบรรยากาศของความยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ เป็นสาเหตุที่ส�ำคัญของการที่ท�ำให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรต�่ำ สุดท้าย คือ เครื่องจักรต้องเสียหาย อันก่อให้เกิดการสูญเสียโอกาสใน การผลิตสินค้าและสร้างรายได้ไปโดยใช่เหตุ จึงจ�ำเป็นต้องคอยสอดส่อง การช�ำรุดของเครือ่ งจักรอยูเ่ สมอๆ ซึง่ การช�ำรุดดังกล่าวสามารถแบ่งออก เป็น 2 สาเหตุด้วยกัน คือ 1.) การช�ำรุดตามธรรมชาติ และ 2.) การช�ำรุด แบบมีตัวเร่ง ผูป้ ฏิบตั งิ านจ�ำเป็นต้องทราบว่าการช�ำรุดทัง้ 2 ลักษณะนัน้ เป็นอย่างไร และต้องมีความเข้าใจถึงสาเหตุการช�ำรุดด้วย ซึ่งผู้ปฎิบัติหรือผู้ใช้งาน เครือ่ งจักรเป็นบุคคลทีต่ อ้ งคลุกคลีหรือสัมผัสกับเครือ่ งจักรโดยตรง ฉะนัน้ การรู้ปัญหาและสามารถแก้ไขความผิดปกติโดยพื้นฐานของเครื่องจักรได้ จะเป็นการลดภาระงานของช่างซ่อมบ�ำรุงหรือวิศวกรได้ทางหนึง่ ซึง่ ผูป้ ฏิบตั ิ งานจะต้องมีพื้นฐานทักษะทั้ง 4 ประการดังต่อไปนี้ 1. สามารถรักษาสภาวะทีเ่ หมาะสมของเครือ่ งจักร ได้แก่ การบ�ำรุง รักษาประจ�ำวัน การตรวจสอบตาระยะเวลา การบ�ำรุงและเปลี่ยนอะไหล่

ตามระยะเวลา ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นกิจกรรมพื้นฐานที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถ ท�ำได้เอง 2. สามารถปรับตั้งสภาวะที่เหมาะสมของเครื่องจักร ผู้ปฏิบัติงาน จ�ำเป็นต้องมีความเข้าใจโครงสร้างการท�ำงานของเครือ่ งจักรให้อยูใ่ นสภาวะ ที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็น ความดัน ความเร็ว อุณหภูมิ ความชื้น และอื่นๆ 3. สามารถทราบได้ถงึ ความผิดปกติของเครือ่ งจักร ผูใ้ ช้งานเครือ่ ง จักรจ�ำเป็นต้องทราบความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรผ่านการท�ำงาน และการบ�ำรุงรักษาประจ�ำวัน อาทิ การสั่นสะเทือน การสึกหรอ มีการรั่ว ไหล มีการแตกร้าว เป็นต้น 4. สามารถแก้ไขสิง่ ผิดปกติได้เบือ้ งต้น หากไม่สามารถท�ำการซ่อมแซม ได้เองโดยเบื้องต้นก็จะต้องรายงานความเสียหายหรือความผิดปกตินั้นๆ ให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบได้ ขัน้ ตอนทัง้ 4 ขัน้ ตอนทีก่ ล่าวมา เป็นขัน้ ตอนทีส่ ง่ เสริมการพัฒนาทักษะ และเพิม่ ศักยภาพของพนักงานให้มคี วามเชีย่ วชาญในการใช้งานเครือ่ งจักร ได้โดยตรง ทั้งนี้ ฝ่ายซ่อมบ�ำรุงเองก็จ�ำเป็นต้องพัฒนาทักษะของตัวเองให้ สูงขึ้นตามไปด้วย เมื่อทุกคนสามารถดูแลรักษาเครื่องจักรได้ด้วยตนเอง แล้ว ก็จะส่งผลให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรอยู่ในระดับสูงด้วย เช่นกัน การที่จะเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด คือ การมีส่วน ร่วมของทุกคน ทุกภาคส่วนขององค์กร โดยมีเป้าหมายเดียวกันทีช่ ัดเจนที่ จะมุง่ พัฒนาให้องค์กรก้าวไปข้างหน้าอย่างเป็นรูปธรรม และจะต้องปรับปรุง และพัฒนานาอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ การพัฒนาคน วิธกี ารปฏิบตั ิ ตลอดจนบ�ำรุง รักษาเครื่องจักรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

42 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Productivity_040-042.indd 42

1/26/2015 7:17:42 PM


015_AD_Ipros.pdf 1 1/14/2015 3:26:59 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


INDUSTRIAL TREND

อุตสาหกรรมไทย

ยกระดับสู่ฮับด้านเทคโนโลยีโลหการ ปัจจุบนั อุตสาหกรรมโลหการและการขึน้ รูปชิน้ ส่วนเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญส�ำหรับอุตสาหกรรม การผลิตขนาดใหญ่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักร โลหการ และ เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความยั่งยืนให้อุตสาหกรรมขนาด กลางและขนาดเล็ก ต้องอาศัยการเรียนรู้แนวทางและกระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า ผ่านการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการขับเคลื่อนศักยภาพของประเทศให้สูง ขึ้นได้อย่างไร 44 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P44-46_INDUSTRIAL TREND_26-1-58.indd 44

26/1/2558 17:38:10


ผู้ที่ไขข้อสงสัยได้ยอดเยี่ยมที่สุด คือ บรรดาเหล่ากรูแห่งวงการอุตสาหกรรมไทย

คุณดวงรัตน์ อุดมสมพร ผู้จัดการอาวุโสส่วนงานธุรกิจ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด กล่าวในงาน การประชุม Metallurgy Forum ครั้งที่ 3 ในงาน METALEX 2014 ที่ ผ่านมา ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ภายใต้หวั ข้อ การยกระดับอุตสาหกรรมโลหการไทยด้วยการ วิจัยและพัฒนาว่า อุตสาหกรรมโลหการและการขึ้นรูปชิ้น ส่วนนับว่ามีความสามารถในการทีจ่ ะพัฒนาให้เป็นศูนย์กลาง การพั ฒ นาเครื่ อ งจั ก รกลและโลหการในอาเซี ย น ซึ่ ง ประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกล่าวนีม้ าเป็นระยะ เวลานาน ประกอบกับในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา มีนัก ลงทุนต่างชาติเข้ามาตั้งฐานการผลิตเครื่องจักรกลและ ผลิตภัณฑ์โลหะในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ นักลงทุนจากประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ การพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุปกรณ์ และส่วนประกอบต่างๆ ประเทศไทยยังคงมีอุปสรรคหลาย ประการในการที่จะพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมให้ ทั ด เที ย มกั บ ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งจั ก รกลรายใหญ่ ๆ ของโลก เนื่องจากขาดการสนับสนุน ทั้งด้านนโยบายและมาตรการ ทางภาษีในประเทศที่ท�ำให้ต้นทุนการผลิตเครื่องจักรใน ประเทศสูงกว่าการน�ำเข้าเครื่องจักรส�ำเร็จรูปมาขาย เช่น การช�ำระภาษีหัก ณ ที่จ่ายร้อยละ 3 ขณะที่การน�ำเข้าชิ้น ส่วนหรือชุดควบคุมเครื่องจักรยังต้องเสียภาษีน�ำเข้าไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 10 เป็นต้น ทั้งนี้ อุตสาหกรรมโลหการและการขึ้นรูปชิ้นส่วนยังมี ประเด็ น ที่ ต ้ อ งติ ด ตามที่ อ าจมี ผ ลต่ อ การเติ บ โตของ อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า โดยประเด็นทีค่ งจะหลีกเลีย่ ง ไม่ได้ คือ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 ซึ่ง จะมีผลต่อผูป้ ระกอบการทัง้ ในด้านบวกและด้านลบ โดยผล ในด้านบวก ได้แก่ การน�ำเข้าสินค้าและวัตถุดิบที่จะมีราคา ถูกลง เนือ่ งจากไม่มอี ปุ สรรคในด้านภาษี ขณะทีก่ ารส่งออก สินค้าของไทยไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนก็จะมีราคาทีถ่ กู ลงเช่นกัน นอกจากนี้ ยังเป็นโอกาสในการขยายการลงทุน ของผู้ประกอบการไทยในประเทศสมาชิกอาเซียนที่น่าจะมี ความคล่องตัวมากขึน้ รวมถึงการหาพันธมิตรทางธุรกิจการ ค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน รศ.ดร.กอบบุญ หล่อทองค�ำ นายกสมาคมการกัดกร่อน โลหะและวั ส ดุ ไ ทยกล่ า วเสริ ม ว่ า อุ ต สาหกรรมโลหะใน ประเทศไทยถือเป็นอุตสาหกรรมที่ยังมีโอกาสในการเติบโต ที่ดี เนื่องจากมีแนวโน้มขยายตัวตามความต้องการของ

อุ ต สาหกรรมไม่ ว ่ า จะเป็ น อุ ต สาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมเครือ่ งจักรกล ตลอดจน การลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ด้านระบบสาธารณูปโภค และการขนส่งของภาครัฐ อย่างไรตาม ในการด�ำเนินธุรกิจท่ามกลางภาวะการ แข่งขันภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงจ�ำเป็น ต้องอาศัยการวิจัยและพัฒนามาเป็นกลยุทธ์ที่ส�ำคัญ เพื่อ สร้ า งอ� ำ นาจการต่ อ รองและมาตรฐานสิ น ค้ า เพื่ อ ให้ อุ ต สาหกรรมของไทยสามารถก้ า วรุ ด หน้ า ต่ อ ไปในเวที ตลาดโลก ด้ า นผศ.ดร.เอกสิ ท ธิ์ นิ ส ารั ต นพร ผู ้ อ� ำ นวยการ สถาบันวิจยั โลหะและวัสดุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้กล่าว เสริมว่า อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมในประไทย ทีด่ ำ� เนินธุรกิจทางด้านงานโลหะและขึน้ รูปชิน้ ส่วนโลหะ นับ ว่าเป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญส�ำหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่จำ� นวน มาก ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลและโลหการ อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องใช้ ไฟฟ้า และอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ มีบทบาทส�ำคัญ อย่างยิง่ ในด้านการก่อให้เกิดการจ้างงาน สร้างรายได้เข้าสู่ ประเทศ และขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย อย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้งนี้ จากสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงของตลาดการค้า ในปัจจุบนั ฉะนัน้ องค์กรทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จได้ในระยะ ยาว และสามารถก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้น�ำธุรกิจได้นั้นจะต้อง อาศั ย การพั ฒ นาและเปลี่ ย นแปลงตนองค์ ก รให้ มี ประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ ตลาดโลก ทั้งนี้ การขับเคลื่อนประเทศไทยให้ก้าวสู่สังคม ฐานความรู้ด้วยกลไกการวิจัยและพัฒนา ทั้งการวิจัยและ พั ฒ นาเพื่ อ สร้ า งนวั ต กรรมใหม่ การวิ จั ย และพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ไม่ว่าจะเป็น แรงงาน ช่างฝีมือ ทุกระดับ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการยกระดับในสิง่ ต่างๆ ทีไ่ ด้ กล่าวไว้ในบริบทข้างต้น เพือ่ เป็นสิง่ ส�ำคัญในการพัฒนาเรือ่ ง ของผลิตภัณฑ์อันจะน�ำไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์ที่ดีและเป็น ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมต่างๆ ในอนาคต นอกจากนี้ การ ขับเคลื่อนประเทศไทยต้องอาศัยแนวความคิด เทคนิคการ ผลิต ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยปรับเปลี่ยน และพัฒนาสินค้าให้มีความสามารถในการแข่งขันกับต่าง ประเทศได้

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P44-46_INDUSTRIAL TREND_26-1-58.indd 45

| 45

26/1/2558 17:38:12


INDUSTRIAL TREND

มองต่างมุม พลิกธุรกิจ สู่โอกาส… บนแนวทางแกะด�ำท�ำธุรกิจ

นอกเหนือจากความรูด้ า้ นเทคโนโลยีโลหการทีบ่ รรดาเหล่านักกรูทไี่ ด้น�ำมา แชร์ให้ฟงั แล้ว..ต่อจากนี้ เป็นการบรรยายจากคุณประเสริฐ เอีย่ มรุง่ โรจน์ ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับแนวคิด ‘แกะด�ำท�ำธุรกิจ’ ว่าเหตุใดจึงเป็นทางเลือก และทางรอดส�ำหรับผู้ประกอบการและประเทศไทยในวันนี้ ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลิตภัณฑ์

คุณประเสริฐ เอี่ยมรุ่งโรจน์ ผู้ก่อตั้ง บริษัท แกะด�ำ ท�ำธุรกิจ จ�ำกัดเปิดเผยว่า บริษัทด�ำเนินธุรกิจรับปรึกษา โดยท�ำงานบนแนวคิด Contrarian Thinking Discipline ซึ่งเป็นรูปแบบการคิดแบบสวนทางคือ การใช้ความคิด สร้างสรรค์เป็นเครือ่ งมือสร้างนวัตกรรมทางความคิด เมือ่ ความคิดสร้างสรรค์ท�ำงานร่วมกับตรรกะจะก่อให้เกิด โอกาสใหม่ทางธุรกิจ “พวกเราไม่ ใ ช่ บ ริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาทั่ ว ไป แต่ เ ราเป็ น Change Catalyst ช่วยสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยการ ออกแบบ Game Changing Idea ท�ำให้ลกู ค้าครอบครอง สนามการแข่งขันของตัวเอง สร้างกติกาที่เอื้อประโยชน์ กับตัวเอง นีเ่ ป็นโมเดลทีข่ บั เคลือ่ นให้ธรุ กิจก้าวไปข้างหน้า พร้อมการเติบโตที่ยั่งยืน” จากกว่า 35 ปี ในการด�ำเนินธุรกิจ คุณประเสริฐกล้า พูดว่า “ผมเจอคนเป็นหมื่นแล้วผมอยากจะสรุปว่าคนไทย ส่วนใหญ่ในประเทศมีกระบวนความคิดที่ไม่สร้างสรรค์ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการจ�ำแนกออกมาได้ 2 ข้อ ซึ่งประกอบ ด้วยดังนี้ 1. ระบบการศึกษา ทุกท่านจะต้องผ่านระบบการ ศึกษาด้วยระบบเดียวกัน คือ เป็นระบบการศึกษาที่ให้คน ไทยเชื่อและท่องจ�ำอย่างเดียว บวกกับระบบการศึกษา ของคนไทยเริ่มถดถอยอย่างมีนัยส�ำคัญ 2. ระบบอาวุโส ตัง้ แต่เริม่ ท�ำงานเป็นพนักงานทุกครัง้ ที่เดินเข้าห้องประชุมจะสังเกตเห็นได้ว่า คนที่เข้าร่วม ประชุมจะต้องนัง่ เก้าอีต้ ามต�ำแหน่งงาน ซึง่ ในทีป่ ระชุมคน ทีม่ อี ายุนอ้ ยกว่าไม่สามารถแสดงความคิดเห็นทีข่ ดั แย้งบน พื้นฐานของเหตุผล และยังเป็นสิ่งที่ฉุดให้ประเทศไม่เดิน หน้าและไม่พัฒนาได้ ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้ประเทศไทยมี การค้าขายอยู่บนหลักการลอกเลียนแบบ (Copy & Development) ซึ่งจะเห็นได้ว่าในช่วงประมาณ 20 ปีที่ผ่าน มา ถือเป็นวงจรที่ทำ� ร้ายตัวเอง

ท�ำไมต้องท�ำตัวเป็นแกะด�ำ

คุณประเสริฐกล่าวต่อว่า “เมื่อกว่า 40 ปีที่ผ่ามา ประเทศไทยแข่งกับประเทศสิงคโปร์ ทุกวันนี้มาแข่งกับ ประเทศเวียดนาม แต่ประเทศเวียดนามก็กำ� ลังจะแซงหน้า ไป เพราะประชากรในประเทศยังอยู่ ‘วงจรของการท�ำซ�ำ้ ’ คนไทยมีปญ ั หามากทีส่ ดุ คือ ต่อต้านการเปลีย่ นแปลง กลัว การเปลีย่ นแปลงเป็นทีส่ ดุ นีเ่ ป็นพืน้ ฐานและปัจจัยทีท่ ำ� ให้ คนไทยไม่สามารถเดินหน้าไปสู่สังคมโลกได้ เพราะโลกนี้ เปลี่ยนแปลงเร็วมาก” คนไทยใช้อดีตเป็นเครือ่ งมือในการเดินเข้าไปสูอ่ นาคต เปรียบได้กบั การขับรถแล้วมองแต่กระจกหลัง โลกเปลีย่ น ไปวิธีคิดต้องเปลี่ยนตาม อย่าคิดว่าท�ำแค่นี้ก็สบายแล้ว

ไปท�ำงานทีไ่ หนเอาแบบเดิมตลอด เพราะความส�ำเร็จของ มนุษย์ไม่ได้ใช้ประสบการณ์มาการันตี ว่าจะประสบความ ส�ำเร็จเสมอ เพราะถ้าส�ำเร็จเสมอทุกคนคงจะไม่มีปัญหา อย่างทุกวันนี้ “จึงเป็นค�ำถามเกิดขึ้นว่าท�ำไมประเทศไทยซึ่งเป็น ประเทศที่มีทรัพยากรที่มีคุณภาพแต่ถูกแซงหน้า ก็เพราะ ระบบ Copy & Development ด้วยปัจจัยที่กล่าวในข้าง ต้นจึงท�ำให้มีวิธีคิดนี้ขึ้นเรียกว่า ‘วิธีคิดแบบแกะด�ำ’ โดย ทุกคนมีสมองทั้ง 2 ข้าง อยากจะใช้ชีวิตให้มีความเจริญ รุ่งเรือง ก้าวหน้า ต้องใช้สมองทั้ง 2 ข้าง แต่คนส่วนใหญ่ ของประเทศนี้ใช้สมองแค่ข้างเดียว คือ สมองข้างซ้ายซึ่ง สมองได้มกี ารประมวลเป็นตรรกะและเหตุผล แต่ถา้ คุณใช้ สมองแค่ขา้ งเดียวขอแสดงความเสียใจด้วย ชีวติ คุณจะวน เป็นวงกลม ทั้งการใช้สมองสองข้างเป็นสิ่งที่มันเกิดก็คือว่า เรา สามารถคิดเป็นองค์รวมได้ และผลลัพธ์ คือ ท�ำให้สามารถ คิดแตกต่างอย่างมีเหตุและมีผล เช่น ศูนย์การค้าแห่งหนึง่ เมื่อเลี้ยวเข้าลานจอดรถของศูนย์การค้าป้ายระบุให้เลี้ยว ขวาหรือเลี้ยวซ้ายก็ได้ แต่รถส่วนมากจะเลี้ยวขวาเกือบ 100% เนือ่ งจากทุกคนถนัดขวา สมมุตวิ า่ วันนัน้ ตนมาเป็น คนที่ 5 ซึ่งก่อนหน้านี้มีรถ 4 คันเลี้ยวขวาไป โดยช่อง จอดรถมี 3 ช่อง แต่ถา้ เลีย้ วขวาไปไม่ทจี่ อดรถแน่นอน ผม จึงสร้างจินตนาการอีกถ้าทีจ่ อดรถทางด้านซ้ายสมมุตวิ า่ มี 1 ช่อง ผมเป็นคนเดียวที่เลี้ยวซ้ายรับประกันได้ที่จอดรถ มีแน่นอน ซึ่งปฏิบัติมาแบบนี้มากว่า 20 ปีแล้ว”

วิธีคิดแบบธุรกิจแกะขาว...

คุ ณประเสริ ฐ กล่ า วเสริ ม ถึ ง วิ ธีคิ ด แบบแกะขาวใน ประเทศส�ำหรับธุรกิจค้าขายว่า ประชากรในกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในศูนย์การค้า เวลาเดินเที่ยว เดินไป ซื้อของในซุปเปอร์มาร์เก็ตซึ่งจะสังเกตได้ว่าทุกวันเสาร์อาทิตย์ ประชาชนจะมีการซือ้ มากกว่าวันปกติ จึงท�ำให้ควิ ทีเ่ คาเตอร์รบั ช�ำระสินค้ายาว แต่เมือ่ หันไปดูขวามือจะเห็น เคาเตอร์แรกเขียนว่า รับช�ำระสินค้าไม่เกิน 10 ชิ้น จ่าย เงินสด ซึ่งจะเห็นได้ว่าลูกค้าที่ต่อคิวยาวนั้นในแต่ละปีได้ ซือ้ สินค้าทีม่ มี ลู ค่าไม่ตำ�่ กว่า 2 แสนบาท ซึง่ ทางศูนย์การค้า กลับไม่ใส่ใจลูกค้าที่ซื้อสินค้าจ�ำนวนมาก แต่กลับไปใส่ใจ ลูกค้ารายย่อยที่ซื้อสินค้าจ�ำนวนชิ้นและไม่ซื้อเป็นประจ�ำ ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่ากระบวนการท�ำธุรกิจแบบนี้เรียก ‘แกะขาว’ โดยกระบวนการท�ำธุรกิจแบบนีจ้ ะท�ำให้ประเทศ ไม่มพี ฒ ั นาการ และจะเห็นได้วา่ ศูนย์การค้าธุรกิจแบบแกะ ขาวมีทั้งเมือง เพราะธุรกิจแบบแกะขาวจะมีกระบวนการ คิดสมองซ้ายอย่างเดียว คือ คิดแต่เรื่องของเงินเป็นหลัก จึงเป็นเหตุผลที่บังคับให้เดินวน แล้วก็ท�ำให้คุณภาพชีวิต ของผู้บริโภคในประเทศนี้ไม่ได้รับการดูแล

เส้นทางการเริ่มต้นเป็นแกะด�ำ... คิดและปรับอย่างไร

คุณประเสริฐกล่าวต่อว่า “แค่คดิ ได้กม็ คี วามส�ำเร็จไป ครึ่งหนึ่งแล้ว คนเราต่างกัน หนังสือบางเล่มบอกว่า รวย 100 ล้านตอนอายุ 35 ปีต้องท�ำอย่างไร แต่ในความเป็น จริงมันเป็นไปไม่ได้ ไม่เช่นนั้นคนที่อ่านจบก็รวยกันหมด แล้ว คนในโลกนี้ไม่เหมือนกัน ท�ำไมต้องใช้เส้นทางเดินไป สู่ความส�ำเร็จเส้นเดียวกัน ซึ่งเป็นไปไม่ได้ สิ่งที่ถูกคือไป ค้นตัวเองก่อนว่าเป็นอย่างไร รู้ไหมว่าท�ำธุรกิจมาทุกวันนี้ ตัวตนเป็นอย่างไร คนจ�ำนวนมากไม่รู้ แล้วจะรู้ได้อย่างไร ว่าสิ่งที่ท�ำอยู่ผิดหรือถูก” ส�ำหรับ การด�ำเนินธุรกิจแกะด�ำจะต้องมีการปรับ 4 ข้อดังนี้ คือ 1.Fair Process ในการวัดผลลัพธ์การท�ำงาน ซึ่งจะเกิดได้จากคนที่เป็นผู้น�ำต้องมี 2.คุณธรรม 3.ความ ซือ่ สัตย์ และ 4.ต้องมีความสามารถขับเคลือ่ นธุรกิจสูค่ วาม ส�ำเร็จ ท�ำงานต้องเกิน 100% เพราะคนไทยท�ำงานแบบ พอผ่ า น เหตุ ที่ ค นไทยต้ อ งท� ำ งานเกิ น 100% ไม่ ใ ช่ มาตรฐานสูงไป แต่เพราะไทยเป็นประเทศเปิด และอยู่ใน สังคมโลกที่มีการท�ำงานกันเกิน 100% ทั้งนั้น ‘แกะด�ำท�ำธุรกิจ’ เป็นแนวการคิดอย่างแตกต่าง อย่างมีเหตุและมีผล ไม่ว่าท�ำธุรกิจอะไรก็ตาม เมื่อมอง เห็นโอกาสในการท�ำธุรกิจทีค่ นอืน่ มองข้ามไป แล้วกล้าลงมือ ท�ำเป็นคนแรก จะส่งผลให้ประสบผลส�ำเร็จในชีวิตอย่างที่ ไม่เคยคาดคิดมาก่อน ในแบบที่ไม่เคยคิดว่าจะประสบ ความส�ำเร็จขนาดนั้น “หลักความคิดแบบแกะด�ำคือ ความคิดแบบข้อเท็จ จริง เป็นสามัญส�ำนึก ท�ำในสิ่งที่เป็นไปได้ คนส่วนใหญ่ใน ประเทศไม่ยอมอยู่กับข้อเท็จจริง ชอบอยู่กับอดีต กฎ กติกา ข้อเท็จจริงคือ วันนี้ยืนอยู่ตรงนี้แล้วจะเดินไปข้าง หน้าด้วยวิธแี บบเก่าได้ไหม เป็นไปไม่ได้ เพราะใช้ไม่ได้ และ คิดจากสามัญส�ำนึก เช่น ตามโรงแรมน�้ำกระป๋องในตู้เย็น ขาย 50 บาท ไม่มีใครเคยหยิบดื่มกัน ท�ำไมไม่แจกให้ฟรี ไปเลย ไม่ใช่การคิดเรือ่ งใหม่ แต่คนส่วนมากทีเ่ ป็นแกะขาว กลัวการเปลี่ยนแปลง เมื่อวิธีคิดเปลี่ยน ตัวเราก็จะเดิน ไปบนเส้ น ทางใหม่ คนส่ ว นใหญ่ เปลี่ ย นช้ า มาก คนที่ เปลี่ยนแปลงง่ายที่สุดคือ SMEs แต่ SMEs ต้องรู้ว่าตัว เองมีจุดแข็งอะไร ที่จะสามารถชนะบริษัทใหญ่ได้” คุณ ประเสริฐกล่าวทิ้งท้าย มุมมองใหม่ที่ผู้ประกอบการไม่ควรพลาด แนวคิดที่ ท�ำให้ SMEs เติบโตแบบก้าวกระโดด คิดค�ำถาม ค้นค�ำ ตอบ พบตัวตนแล้วจะประสบความส�ำเร็จ อย่าง ‘แกะด�ำ ท�ำธุรกิจ’

46 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P44-46_INDUSTRIAL TREND_26-1-58.indd 46

26/1/2558 17:38:13


AD_Thailand Lighting fair.pdf 1 1/26/2015 7:09:59 PM

THAILAND

lighting fair

PROVINCIALELECTRICITY ELECTRICITYAUTHORITY AUTHORITY PROVINCIAL

เจาภาพการจัดงาน

รวมขับเคลื่อนโดย

THE COMPLETE LIGHTING SOLUTION IN THAILAND AND AEC

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

19 – 21 การไฟฟาสวนภูมิภาค รวมกับ Messe Frankfurt Messe Frankfurt ผู  จ ั ด งานแสดงสิ น ค า ระดั บ โลก ขอเรี ย นเชิ ญ ผูประกอบการรวมเปนสวนหนึงของ งานแสดงสินคา THAILAND THAILAND LIGHTING LIGHTING FAIR FAIR

2558

µÔ´µ‹Í 0-2641-5483 µ‹Í 100, 112, 117 info@thailandlightingfair.com ผูจัดงาน

ผูสนับสนุนหลัก

สนับสนุนโดย

สนับสนุนโดย

ผูสนับสนุน


AD_TAT.pdf 1 1/20/2015 10:23:42 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD_T.N..pdf 1 1/22/2015 9:36:27 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


PLANT MANAGER

ไทย ออโต ทูลส์

ฐานการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ อุปกรณ์จับยึดครบวงจรของคนไทย100%

โดย ดร.พยุง ศักดาสาวิตร ประธานกรรมการบริหาร บริษทั ไทย ออโต ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด

“เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ต้องการ การผลิตปริมาณมาก บริษัทฯ ได้น�ำเข้า นวัตกรรมล่าสุด คือ เครื่องปั๊มโลหะ Transfer Press Machine ขนาด 2,000 ตัน ที่ท�ำงาน ด้วยระบบอัตโนมัติ นับเป็นเทคโนโลยีน�ำเข้าตัวแรกของบริษัทคนไทยที่มีความทันสมัยที่สุด สามารถผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ได้ถึงชั่วโมงละ 1,200 ชิ้น ใช้แรงงานเพียง 2 คนในการควบคุม ท�ำให้ได้ชิ้นงานออกมาเสร็จทันตามเวลาที่ก�ำหนด ด้วยคุณภาพมาตรฐานสากล นอกจากนี้ ยัง มีเครื่องปั้มขึ้นรูปชิ้นส่วนแบบ Progressive ขนาด 800 ตัน และเครื่อง Laser Cut ใช้ส�ำหรับ ตัดเหล็กเพื่อทดลองแม่พิมพ์เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด โดยสามารถตัดเหล็กได้ตั้งแต่ขนาด ความหนา 1 ม.ม. จนถึงความหนา 12 ม.ม.” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P49-51_PLANT MANAGER_TAT.indd 49

49

26/1/2558 9:53:16


PLANT MANAGER

กลุ่มบริษัท ไทย ออโต ทูลส์ ด�ำเนินธุรกิจออกแบบและ สร้างแม่พิมพ์ อุปกรณ์จับยึดและผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สัญชาติไทยแท้ๆ ภายใต้การบริหารงานของ ดร.พยุง ศักดา สาวิตร ประธานกรรมการบริหาร เปิดโอกาสให้ทีมงาน MODERN MANUFACTURING เยี่ยมชมโรงงานของ บริษัท ไทย ออโต ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด ซึ่งตั้งอยู่ที่ ต.บางคูหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี พร้อมเผย เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตในทุกขั้นตอน บนพื้นที่ 10,000 ตารางเมตร

จากจุดเริ่มต้น... ถึงวันนี้

ดร.พยุง ศักดาสาวิตร กล่าวว่า บริษทั ไทย ออโต้ ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2536 ด้วยพนักงานเพียง 10 คนเท่านั้น รับสร้างแม่พิมพ์โลหะ และงานผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ของรถยนต์ ด้วยทุนจดทะเบียน เริ่มต้น 1 ล้านบาท โดยโรงงานแห่งแรกตั้งอยู่ที่ถนนริม คลองประปา กรุงเทพมหานคร และในปีพ.ศ.2547 ได้ย้าย และขยายฐานการผลิตโรงงานไปตั้งอยู่ที่ ต.คูบางหลวง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี ด้วยทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท พร้อมยกระดับฐานการผลิตให้ก้าวไปอีกขั้นเพื่อให้ทัดเทียม กับผู้ผลิตในประเทศญี่ปุ่น และในปี พ.ศ.2555 ได้เพิ่มทุน จดทะเบียนอีก รวมเป็น 500 ล้านบาท พร้อมขยายฐาน

การผลิ ต ให้ ค รบวงจร พร้ อ มน� ำ เทคโนโลยี แ ละ เครื่ อ งจั ก รอั น ทันสมัยควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ มาใช้ใน การผลิต นับเป็นเวลากว่า 20 ปีที่บริษัทฯ เจริญเติบโตและมี การขยายงานมาอย่างต่อเนื่อง มีการวางโครงสร้างการ บริหารธุรกิจ โดยขยายส่วนงานและก่อตั้งบริษัทในต่าง จังหวัดเพื่อเสริมความคล่องตัวทางธุรกิจทางหนึ่ง และ เป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้าอีกทางหนึ่ง พร้อมก�ำหนดบทบาทหน้าที่ในการผลิต ดังนี้ 1. บริษัท ไทย ออโต้ ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด (TAT) ท�ำหน้าที่ในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์และเป็นส�ำนักงานใหญ่ 2. บริษัท ไทย ออโต ทูลส์ (ปทุมธานี) จ�ำกัด (TATP) ท�ำหน้าที่ดูแลการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์โลหะ และ อุปกรณ์จับยึด 3. บริษัท ไทย ออโต ทูลส์ (ชลบุรี) จ�ำกัด (TATC) ท�ำหน้าทีใ่ นการผลิตหม้อลมเบรกรถยนต์ และโรงชุบสี EDP 4. บริษัท ไทย ออโต ทูลส์ (อิสเทิร์น) จ�ำกัด (TATE) ท�ำหน้าที่ในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ รองรับการผลิตใน ปริมาณมาก ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ออกแบบ และสร้างแม่พิมพ์ อุปกรณ์จับยึด และเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วน รถยนต์ส�ำหรับรถยนต์รุ่นต่างๆ จากบริษัทผู้ผลิตรถยนต์

รายใหญ่มากมาย การันตีได้จากความสามารถและมาตรฐาน การผลิตระดับสากลทัดเทียมผูผ้ ลิตจากประเทศญีป่ นุ่ เรียก ได้ ว ่ า มี ค ว า ม พ ร ้ อ ม แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ร อ ง รั บ อุตสาหกรรมยานยนต์ที่เติบโตอย่างต่อเนื่องได้ในทุกมิติ

เทคโนโลยีขนั้ สูงเพือ่ ประสิทธิภาพการผลิต

บริษัท ไทย ออโต้ ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด ได้รับความ ไว้วางใจจากผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์จากประเทศญี่ปุ่นในการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง และองค์ความรู้ในการ ออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ และน�ำเทคโนโลยีอันทันสมัยที่ ผ่านการยอมรับในระดับสากลมาใช้ในกระบวนการผลิต มากมาย เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ต้องการ การ ผลิตปริมาณมาก บริษัทฯ ได้น�ำเข้านวัตกรรมล่าสุด คือ เครือ่ งปัม๊ โลหะ Transfer Press Machine ขนาด 2,000 ตัน ที่ท�ำงานด้วยระบบอัตโนมัติ นับเป็นเทคโนโลยีน�ำเข้าตัว แรกของบริษัทคนไทยที่มีความทันสมัยที่สุด สามารถผลิต ชิ้นส่วนรถยนต์ได้ถึงชั่วโมงละ 1,200 ชิ้น ใช้แรงงานเพียง 2 คนในการควบคุม ท�ำให้ได้ชนิ้ งานออกมาเสร็จทันตามเวลา ที่ก�ำหนด ด้วยคุณภาพมาตรฐานสากล นอกจากนี้ ยังมี เครื่องปั้มขึ้นรูปชิ้นส่วนแบบ Progressive ขนาด 800 ตัน และเครื่อง Laser Cut ใช้ส�ำหรับตัดเหล็กเพื่อทดลอง

50 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P49-51_PLANT MANAGER_TAT.indd 50

26/1/2558 9:53:17


PLANT MANAGER

แม่พิมพ์ เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด โดยสามารถตัดเหล็กได้ ตั้งแต่ขนาดความหนา 1 ม.ม. จนถึงความหนา 12 ม.ม. นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังได้นำ� ระบบการผลิตที่เรียกว่า Just in Time มาใช้ ซึง่ เป็นระบบทีใ่ ช้ในโรงงานผลิตรถยนต์ รายใหญ่อันดับหนึ่งของญี่ปุ่น เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพ ให้กระบวนการผลิต ทั้งยังลดการสูญเสียและสามารถส่ง มอบสินค้าให้แก่ลูกค้าได้ตรงเวลา นอกจากเครื่ องจั กรอั นทั นสมั ยแล้ ว บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ น�ำซอฟท์แวร์ที่สามารถรองรับการออกแบบแม่พิมพ์และ อุปกรณ์จบั ยึด โดยการแสดงผลแบบ 3 มิติ ทัง้ CAM, CAD, CEA พร้อมระบบ Simulation ที่ช่วยเพิ่มความแม่นย�ำ ลดระยะเวลาและท�ำให้กระบวนการสร้างแม่พมิ พ์และอุปกรณ์ จับยึดสมบูรณ์แบบมากที่สุด

การพัฒนาคน... นโยบายเพื่อความยั่งยืน

ด้ ว ยเล็ ง เห็ น ว่ า การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ที่ สุ ด และมี ประสิทธิภาพสูงสุดนั่นก็คือ การพัฒนาด้านบุคคล อันมี บทบาทส�ำคัญในการเป็นรากฐานของการพัฒนาองค์กร สังคมและประเทศชาติ กลุม่ บริษทั ไทยออโต้ทลู ส์ จึงมีนโยบาย ในการส่ ง เสริ ม และผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด เป็ น องค์ ก รแห่ ง การ เรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม

บริษทั ฯ วางรูปแบบการท�ำงานทีเ่ รียกว่า Training for the Trainer หรือระบบพี่สอนน้องเป็นการถ่ายทอดองค์ ความรู ้ แ ละทั ก ษะในการท� ำ งานให้ แ ก่ พ นั ก งานใหม่ โ ดย พนักงานผู้ช�ำนาญการให้สามารถเรียนรู้และปฏิบัติการได้ คล่องแคล่วและมีความช�ำนาญเฉกเช่นเดียวกัน ด้วยวิธี Learning by Doing คือ การพัฒนาบุคลกรและงานไป พร้อมๆ กัน ทั้งยังมอบโอกาสทางการเรียนรู้ให้แก่พนักงาน ด้วยการส่งไปศึกษาดูงาน และเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิต ยังประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย นอกจากพนักงานในองค์กรแล้ว บริษัทฯ ยังมอบองค์ ความรู้ให้แก่เยาวชนรุ่นใหม่ ด้วยการรับนักศึกษาจาก สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลเข้ามารับการฝึกงาน ด้วยมุ่ง หวังที่จะผลิตบัณฑิตผู้ปฏิบัติการ เพื่อรองรับการเติบโต ของอุตสาหกรรมในประเทศไทยในอนาคตต่อไป

ขับเคลื่อนธุรกิจสู่การเป็นฐาน การผลิตในเวทีโลก

ดร.พยุง กล่าวว่า แม้ประเทศไทยจะไม่ใช่ประเทศผูผ้ ลิต รถยนต์เหมือนดังเช่นประเทศญี่ปุ่น แต่ประเทศไทยนับว่ามี

ศักยภาพในการเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนให้แก่บริษัทผู้ผลิต รถยนต์ชนั้ น�ำต่างๆ ได้ เนือ่ งจากประเทศไทยมีหว่ งโซ่อปุ ทาน ที่เอื้ออ�ำนวยต่อการเป็นฐานการผลิต มีแหล่งทรัพยากรที่ หลากหลายและเอื้อประโยชน์ต่อการผลิตอย่างครบวงจร ท�ำให้นกั ลงทุนต่างชาติมคี วามสนใจลงทุนในประเทศไทย ส่ง ผลให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ใน ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ที่ ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้น�ำด้านการออกแบบและสร้างแม่ พิมพ์ อุปกรณ์จับยึดและชิ้นส่วนยานยนต์คุณภาพสูงใน อาเซียน ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย และบุคลากรที่มีคุณภาพ ด้วยประสบการณ์ที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน พร้อมด้วย บุ ค คลากรที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถ มี ทั ก ษะและความ เชี่ ย วชาญสู ง ทั้ ง ยั ง มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การที่ ดี ใ ช้ เทคโนโลยีทที่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพสูง จึงไม่นา่ แปลกใจ ที่บริษัท ไทย ออโต้ ทูลส์ แอนด์ ดาย จ�ำกัด จะได้รับความ ไว้ใจและความเชือ่ ถือจากผูผ้ ลิตรถยนต์ชนั้ น�ำของโลก

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P49-51_PLANT MANAGER_TAT.indd 51

51

26/1/2558 9:53:21


ELECTRIC TREND

ะบบ D ย่านความถี่ UHF: ส�ำหรับอุตสาหกรรมยา ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ข้อเปรียบเทียบการใช้งาน RFID ในย่านความถี่ UHF กับย่าน ความถี่ HF และการเลือกลงทุนแบบผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี RFID และ บาร์โค้ด เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้เทคโนโลยีและลด ต้นทุนค่าใช้จา่ ยของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาทีม่ คี วามส�ำคัญต่อ ผูบ้ ริโภคในอนาคต

56 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P56-58_ELECTRIC TREND.indd 56

26/1/2558 23:18:56


รูปที่1: แสดงการใช้งาน RFID ส�ำหรับบ่งชี้ข้อมูลผลิตภัณฑ์ยา ที่มา: www.rxtrace.com/2010/04/rfid-is-dead-at-unit-level-in-pharma.html/

รูปที่2: แสดงการใช้งานระบบการอ่านข้อมูลของ RFID ในระยะไกล

ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี RFID ส�ำหรับย่านใช้ งานความถี่ UHF ของภาคส่วนอุตสาหกรรม เพื่อป้องกัน ความปลอดภัยของผู้บริโภคและปกป้องผลก�ำไรของบริษัท การน�ำระบบ RFID มาใช้นั้น ผู้ประกอบการต้องสามารถ ตัดสินใจต่อสิ่งที่เป็นหัวใจส�ำคัญ ได้แก่ โปรโตคอล / ย่าน ความถี่ใช้งาน อาทิ ความถี่สูง (High Frequency: HF) หรือความถี่สูงพิเศษ (Ultra High Frequency: UHF) โปรโตคอลของย่านความถี่ HF มีการใช้งานที่ยาวนานกว่า ย่านความถี่ UHF ส่วนย่านความถี่ UHF Gen 2 เป็น มาตรฐานที่ยอมรับในปัจจุบันที่พัฒนาคุณสมบัติการท�ำงาน ที่ขาดหายไปจากรุ่นก่อนของมาตรฐานตามที่ก�ำหนด การพัฒนาย่านความถี่ UHF Gen 2 มีการพัฒนาอย่าง รวดเร็วมาก แต่ขอ้ มูลทีเ่ ปิดเผยต่อสาธารณชนต่อเทคโนโลยี ดังกล่าวนี้ยังมีน้อยมากๆ ส่งผลให้เกิดความสับสนต่อการ เลือกใช้ความถี่ใช้งานในภาคอุตสาหกรรมระหว่างย่าน ความถี่ HF หรือ UHF โดยการใช้งาน RFID/UHF มี คุณสมบัติ ดังนี้ คือ ไม่นิยมใช้สินค้าประเภทของเหลวและ มีส่วนประกอบเป็นโลหะ ทั้งนี้ เพราะคุณลักษณะของสินค้า ดังกล่าว ส่งผลต่อการท�ำงานที่ผิดพลาดของ RFID เป็น อย่างมาก แสดงการติดตัง้ แท็ก RFID ของผลิตภัณฑ์ยา ดัง รู ป ที่ 2 โดยแท็ ก สามารถอ่ า นได้ ใ นระยะบริ เ วณใกล้ ๆ นอกจากนี้ อัตราความเร็วในการอ่านข้อมูลของย่าน UHF ที่มากถึง 500% ซึ่งสูงกว่าอัตราความเร็วในการอ่านของ ย่านความถี่ HF และแท็กในย่านความถี่ RFID/UHF มีคา่ ใช้ จ่ายน้อยกว่าแท็กในย่านความถี่ HF และทนต่อสัญญาณ รบกวนได้ดี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID สามารถให้ข้อมูลที่ ส�ำคัญของผลิตภัณฑ์ เช่น การสต็อกสินค้า การจัดการสินค้า คงคลัง วันและเวลาการผลิต การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย แรงงาน การป้องกันการปลอมแปลงของผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้

ศูนย์กระจายสินค้าที่ใช้แรงงานเป็นจ�ำนวนมากและมีค่าใช้ จ่ายในการด�ำเนินงานค่อนข้างสูง การใช้งาน RFID สามารถ ลดต้นทุนค่าแรงงานมากกว่า 30% การปลอมแปลงเป็น ปัญหาระดับโลกของทุกๆ อุตสาหกรรมและมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ อย่างน่าเป็นห่วง ดังนั้น การตรวจสอบมักจะต้องใช้ความ เชีย่ วชาญทางเทคนิคเป็นอย่างมาก ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการยึดสินค้าปลอมเพิม่ ขึน้ เป็น 3 เท่าในช่วงเวลา 5 ปี และ ในยุโรปเกิดความเสียหายจากสินค้าปลอมและการละเมิด ลิขสิทธิ์เป็นจ�ำนวนเงินมากกว่า 100 ล้าน โดยสินค้าที่ถูกยึดในปี 2004 เพิ่มขึ้น 12% จากในช่วง ปี 2003 และผลกระทบต่อก�ำไรและความปลอดภัยของผู้ บริโภคในอุตสาหกรรมยา คือ องค์การอนามัยโลก (WHO) ประมาณการถึงจ�ำนวนยาปลอมทีเ่ พิม่ มากขึน้ เป็น 10% ของ เภสัชกรรมทั่วโลกและผลกระทบของจ�ำนวนยาปลอมใน ประเทศก�ำลังพัฒนาทีม่ จี ำ� นวนมากถึง 25% RFID ให้ขอ้ มูล ที่ส�ำคัญในการตรวจสอบสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใน อุตสาหกรรมยา RFID ป้องกันการปลอมแปลงและเกิด ประโยชน์สำ� หรับผูบ้ ริโภคและผูผ้ ลิตรวมไปถึงผูป้ ระกอบการ การเลือกใช้ RFID ต้องค�ำนึงถึงความได้เปรียบทางธุรกิจ เปรียบเทียบกันทั้ง 2 ความถี่ที่กล่าวมาข้างต้น หากซัพพลายเออร์เลือกใช้ความถี่ที่แตกต่างกันตาม ประเภทของงานทีต่ อ้ งการก็จำ� เป็นต้องใช้โครงสร้างพืน้ ฐาน ทั้งในย่านความถี่ UHF และ HF ส�ำหรับการอ่านข้อมูลจาก แท็ก สถานการณ์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ทั้ง 2 ย่านความถี่ ส่งผล ให้ ค ่ า ใช้ จ ่ า ยของบริ ษั ท ในการสนั บ สนุ น ฮาร์ ด แวร์ แ ละ ซอฟต์แวร์แอพลิเคชันและแท็กข้อมูลมีคา่ เพิม่ มากขึน้ UHF เป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด ส�ำหรับการติดตามสินค้าบนแท่นการ ล�ำเลียงในอุตสาหกรรม ดังรูปที่ 2 ขณะที่ย่านความถี่ HF เหมาะส�ำหรับการใช้งานเฉพาะ ‘Item Level’ ในระยะใกล้ๆ หรือ ที่เรียกว่า ‘Near-Field’ ดังรูปที่ 3 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P56-58_ELECTRIC TREND.indd 57

57

26/1/2558 23:18:56


อธิบายคุณลักษณะของกราฟการจัดการที่ส�ำคัญของ ผลิตภัณฑ์ยาในแต่ละช่วงเวลาการผลิตของผู้ผลิตไปจนถึง ผู้ค้าส่งขนาดกลางและขนาดย่อมของกราฟรูปที่ 4 ดังต่อ ไปนี้ คือ กราฟล�ำดับแรกแสดงค่าใช้จา่ ยเริม่ ต้นของผูผ้ ลิตทีค่ อ่ น ข้างสูงมากกว่าผู้ค้าส่ง เนื่องจากผู้ผลิตจะเสียค่าใช้จ่ายไป กับมาตรฐานการจัดการด้าน GMP (Good Manufacturing Practice) ส�ำหรับการผลิตยาที่มีระบบประกันคุณภาพ เพื่อ ให้เกิดความปลอดภัยและมั่นใจต่อการบริโภค ดังนั้น ค่าใช้ จ่ายทีส่ งู มากตัง้ แต่สถานทีต่ งั้ ของสถานประกอบการ ระบบ การผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพได้ ม าตรฐานทุ ก ขั้ น ตอนและความ ปลอดภัย ตัง้ แต่เริม่ ต้นวางแผนการผลิต ระบบควบคุมตัง้ แต่ วัตถุดิบระหว่างการผลิต การจัดเก็บ การควบคุมคุณภาพ และการขนส่งจนถึงผูบ้ ริโภคมีระบบบันทึกข้อมูล ตรวจสอบ และติดตามผลคุณภาพผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ ค่าใช้จา่ ยของแท็ก RFID ทีผ่ ผู้ ลิตจ�ำเป็นต้อง เสียค้าใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ หลังจากการใช้งานในช่วงเริม่ ต้น กราฟ ล�ำดับที่ 2 แสดงค่าใช้จา่ ยลดลงส�ำหรับผูค้ า้ ส่ง ซึง่ บ่งชีว้ า่ ผล ตอบแทนการลงทุนที่ดีและก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ส�ำหรับ การน�ำ RFID มาใช้ในกระบวนการค้าส่ง กราฟล�ำดับที่ 3 แสดงค่าใช้จา่ ยของร้านขายยาแบบ ‘Chain Pharmacy’ หรือ ‘Chain Store’ ทีเ่ ป็นของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่/ศูนย์การค้า/ ร้านสะดวกซือ้ ได้แก่ เคาเตอร์แบรนด์และสินค้าของบริษทั ไว้ ในร้านเดียว ซึง่ การติดตัง้ RFID ในช่วงเริม่ ต้นจะมีคา่ ใช้จา่ ย ทีส่ งู มาก เพราะจ�ำนวนมากของ ‘Chain Pharmacy’ ทีม่ กี าร ติดตัง้ ระบบดังกล่าวนี้ แต่ในระยะยาวนัน้ จะได้รบั ผลตอบแทน การลงทุนในเชิงบวกในคลังสินค้าเช่นเดียวกับผูค้ า้ ส่ง แต่จะ ประสบปัญหาความซับซ้อนของการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายช่วงปลาย (Post-Deployment Costs) ส�ำหรับผู้ผลิตยาและผู้ค้าส่ง เมื่อเทียบระหว่างเทคโนโลยี RFID กับบาร์โค้ด ซึ่งค่าใช้จ่ายของผู้ผลิตจะลดลงมาก เพราะหมึกพิมพ์บาร์โค้ดมีราคาถูกกว่าแท็ก RFID แต่ค่าใช้ จ่ายของผู้ค้าส่งในระยะยาวจะสูงขึ้น ส�ำหรับการจัดเก็บ ข้อมูลของหมายเลขผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องอ่านบาร์โค้ดที่ จ�ำเป็นต้องมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งส่งผลต่อการด�ำเนินการมี ประสิทธิภาพต�่ำ ส่วนในของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่แบบ ‘Chain Pharmacy’ อาจจะมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ มากขึน้ เช่นเดียว กับผู้ค้าส่ง โดยเฉพาะในศูนย์กระจายสินค้าเท่านั้น ดังนั้น การแก้ปัญหาของการใช้บาร์โค้ดขึ้นอยู่กับการติดตั้งและ ปรับปรุงซอฟแวร์ เพื่อรองรับผลกระทบเชิงลบที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ในทางปฏิบัตินั้น การผสมผสานของ RFID และบาร์ โค้ด ที่ส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่เหมาะสม แสดงดังรูปกราฟที่ 6 คือ กราฟล�ำดับแรก ผูผ้ ลิตจะมีคา่ จ่ายคงทีข่ องการกระบวน การผลิต ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั การเลือกใช้งานระหว่างบาร์โค้ดหรือ แท็ก RFID เป็นส�ำคัญ กราฟล�ำดับที่ 2 ผู้ค้าส่งจะมีค่าใช้ จ่ายสูงขึน้ ของการใช้งานในช่วงเริม่ ต้น เนือ่ งจากการใช้รว่ ม กันของเครือ่ งอ่าน RFID และเครือ่ งอ่านบาร์โค้ดแบบ 2 มิติ ค่าใช้จา่ ยคงทีข่ องผูค้ า่ ส่งขึน้ อยูก่ บั สะท้อนค่าใช้จา่ ยทีส่ งู ขึน้ ของบาร์โค้ดเท่านั้น (ค่าใช้จ่ายระบบ RFID จะมีค่าสูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับบาร์โค้ด) เพราะผู้ค้าส่งจ�ำเป็นต้องใช้ กระบวนการของเทคโนโลยีทมี่ คี วามซับซ้อนมากขึน้ ในแต่ละ ขั้นตอนของการอ่านข้อมูลของตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ยา ส่วน กราฟในล�ำดับสุดท้ายของห้างค้าปลีกแบบ ‘Chain Pharmacy’ จะมีค่าใช้จ่ายในช่วงเริ่มต้นที่สูงมากเป็นพิเศษ

รูปที่3: แสดงการใช้งานระบบการอ่านข้อมูลของ RFID ในระยะใกล้ ที่มา: www.slideshare.net/cpqd/i-international-workshop-rfid-and-iot-dia-20-new-types-of-rfid-tags-and-readers-dr-chris-diorio

รูปที่ 4: แสดงกราฟผลกระทบการใช้งาน RFID ของผู้ผลิต ผู้ค้าส่งขนาดกลางและขนาดย่อม

รูปที่ 5: แสดงกราฟผลกระทบการใช้งานบาร์โค้ดของผู้ผลิต ผู้ค้าส่งขนาดกลางและขนาดย่อม

รูปที่6: แสดงกราฟผลกระทบการใช้งาน RFID และบาร์โค้ดของผู้ผลิต ผู้ค้าส่งขนาดกลางและขนาดย่อม

เนื่องจากการลงทุนในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของทั้ง สองเทคโนโลยี ซึ่ ง ค่ า ใช้ จ ่ า ยคงที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ ผู ้ ค ้ า ส่ ง เนือ่ งจากการใช้กระบวนการทีซ่ บั ซ้อนมากขึน้ ของเทคโนโลยี เช่นเดียวกัน ส�ำหรับแต่ละขั้นตอนของการอ่านข้อมูลตัวบ่ง ชี้ของผลิตภัณฑ์ยาของทั้งสองเทคโนโลยี

การเลือกลงทุนแบบเทคโนโลยีเชิงเดี่ยวหรือแบบผสม ผสานจะเกิ ด ความคุ ้ ม ค่ า และลดต้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยของ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาและผลประโยชน์ผบู้ ริโภคจะได้รบั นอกเหนือไปจากความปลอดภัย จึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ นักลงทุนควรเลือกลงทุนอย่างเหมาะสมเป็นส�ำคัญ

58 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P56-58_ELECTRIC TREND.indd 58

26/1/2558 23:18:57


ENERGY ALERT

การอนุรักษ์พลังงานระบบ อากาศอัดในภาคอุตสาหกรรม ระบบอากาศอัดเป็นระบบที่มีความส�ำคัญในอุตสาหกรรมการผลิตหลายประเภท เช่น อุตสาหกรรม อาหาร โลหะ อโลหะ ไม้ สิ่งทอ กระดาษ เคมี เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วโรงงานอุตสาหกรรมนิยมใช้ระบบ อากาศอัดในกระบวนการผลิตหลายกระบวนการ เช่น การใช้ลมขับกระบอกสูบเครือ่ งพิมพ์ผา่ การพ่น สีรถยนต์ เป็นต้น เพราะลมเป็นพลังงานสะอาดและไม่มีอันตราย ระบบอากาศอัดเป็นระบบที่ใช้พลังงาน ไฟฟ้ามากเนื่องจากต้องการความดันของอากาศอัดสูงและต้นทุนการผลิตอากาศอัดจะยิ่งสูงขึ้นหาก มีการรั่วไหลในระบบ ระบบอากาศอัดที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปแบ่งเป็นประเภท ดังนี้

คุณอัศวิน อัศวุตมางกุร วิศวกรช�ำนาญการพิเศษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน 1. เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ เป็นเครื่องอัดอากาศ ที่มีประสิทธิภาพสูง ยิ่งมีจํานวนขั้น (Stage) เพิ่มขึ้นยิ่งมี ประสิทธิภาพสูง ส่วนใหญ่ใช้เพียง 2 ขั้น เครื่องอัดอากาศ แบบระบายความร้อนด้วยน�้ำจะมีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบ ระบายความร้อนด้วยอากาศ เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ เหมาะสมกับการรับโหลดที่ไม่สม�่ำเสมอได้ดี เนื่องจากมี อุปกรณ์ Un-Load ที่ดีการใช้อุปกรณ์ Un-Load น้อยมาก เมือ่ เทียบกับเครือ่ งแบบอืน่ ๆ การควบคุมยังสามารถทําเป็น แบบ Multi steps ในช่วงการเดิน Part Load จะให้ ประสิทธิภาพดี 2. เครือ่ งอัดอากาศแบบโรตารีส่ กรู เป็นเครือ่ งทีม่ กี าร สึกหรอน้อยเนื่องจากตัวสกรูไม่ได้สัมผัสกัน การอัดอากาศ มีประสิทธิภาพพอสมควรแต่โครงสร้างเป็นตัวสกรูทําให้มี อัตราส่วนความดันคงที่ เครื่องอัดอากาศแบบโรตารี่สกรู เหมาะกับการรับโหลดเต็มพิกัดและสม�่ำเสมอ จึงจะให้ ประสิทธิภาพที่ดีได้ 3. เครื่องอัดอากาศแบบหอยโข่ง เป็นเครื่องอัด อากาศทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงพอควร เหมาะกับระบบทีม่ คี วาม ต้องการอากาศมาก

มาตรการการอนุรักษ์พลังงาน ระบบอากาศอัดในภาคอุตสาหกรรม

ส�ำหรับการอนุรักษ์พลังงานระบบอากาศอัดในภาค อุตสาหกรรม ซึ่งมี 2 มาตรการหลักในการด�ำเนินงาน ประกอบด้วย 1.มาตรการด้าน House Keeping เป็นมาตรการที่ไม่มี เงินลงทุนหรือใช้เงินลงทุนน้อย เช่น 1.1 การลดการรัว่ ไหลของระบบอากาศอัดควรจะมีการ ตรวจสอบการใช้งานของอุปกรณ์ทใี่ ช้งานอากาศอัดตามจุด

ต่างๆ ของโรงงาน เช่น จุดต่อข้อสาย ข้องอต่างๆ ซึ่งถ้า หากอุปกรณ์ดังกล่าวมีการเสื่อมสภาพจะก่อให้เกิดการสูญ เสียอากาศรั่วไหลตามจุดต่างๆได้ ส่งผลให้เครื่องอัดอากาศ ท�ำงานหนักกว่าปกติและสูญเสียพลังงานไฟฟ้าโดยเปล่า ประโยชน์ 1.2 หลายโรงงานใช้ลมเป่าเป็นจ�ำนวนมากนอกเหนือ จากการใช้ในเครือ่ งจักร โดยส่วนใหญ่ลมเป่าใช้ขอ้ ต่อจ�ำนวน มากกับสายอ่อนหลายชนิด ขนาดของท่อเป่ามีขนาดใหญ่

เกินความจ�ำเป็น บางจุดใช้สายเปลือยเป่า โดยไม่มีหัวลม ไม่มีระเบียบปฏิบัติการใช้งานลมเป่าให้กับพนักงาน ซึ่งเป็น สาเหตุให้เกิดการสูญเสียพลังงาน การส�ำรวจรอยรั่วของ ท่อส่งลมสามารถท�ำได้ง่ายๆ โดยการใช้น�้ำสบู่ทาที่บริเวณ ผิวท่อส่งลมและฟังเสียงลมรั่ว หรือสังเกตจากฟองอากาศ บริเวณที่มีรอยรั่ว บางโรงงานมีการเดินเครื่องตัวเปล่าโดย ไม่ได้ปิดเครื่องอัดอากาศหลังเลิกงาน ดังนั้น ควรจะมีการ ออกกฎระเบียบเวลาเปิดปิดและมีการติดตามด�ำเนินงาน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P59-60_ENERGY ALEART.indd 59

59

26/1/2558 23:20:04


1.3 ตรวจสอบการปิดวาล์วลมหลังเลิกใช้งาน เนือ่ งจาก หลังเลิกใช้งานหากไม่ได้ท�ำการปิดวาล์วลมก่อนออกจากถัง พักลม ในเช้าวันท�ำการถัดไปก่อนเริ่มเดินเครื่อง ลดอัดจะ รัว่ ไหลออกจากถังพัก โดยสามารถสังเกตเปรียบเทียบได้จาก Pressure Gauge หลังเลิกงาน และวันท�ำการในวันถัดไป ระดับแรงดันอาจลดลงเหลือศูนย์บาร์หากไม่ได้ปิดวาล์วลม ท�ำให้ช่วงเริ่มเดินเครื่องอัดอากาศต้องสิ้น เปลืองพลังงานในการอัดอากาศให้เต็มถัง 1.4 การเปลี่ ย นระบบคั ด แยกซอง เปล่าจากการใช้อากาศอัดเป็นพัดลม เป็น มาตรการลดการใช้เครื่องอัดอากาศที่ไม่ เหมาะสม บางโรงงานมีการคัดแยกซอง เปล่าที่ไม่ได้บรรจุโดยใช้ ชุดเป่าซองเปล่า โดยการติ ด ตั้ ง ระบบอากาศอั ด เป่ า ซอง เปล่า ด้านหลังเครื่องห่อผลิตภัณฑ์ตลอด เวลา ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการปะปนของซอง เปล่าบรรจุไปกับกล่องผลิตภัณฑ์ ซึ่งอาจ เกิดขึน้ ได้เนือ่ งจากพนักงานบรรจุผลิตภัณฑ์ ด้วยความรวดเร็ว จึงมีโอกาสที่จะหยิบ ซองเปล่าบรรจุลงในกล่องผลิตภัณฑ์ด้วย จากการทดลองปิดระบบการท�ำงานระบบ อากาศอัดส�ำหรับเป่าซองเปล่า และใช้ พัดลมก�ำลังวัตต์ต�่ำเป่า พบว่ามีความแรง เพียงพอที่จะเป่าซองเปล่าออกไปได้ รวม ทั้งใช้พลังงานน้อยกว่ามาก 1.5 การลดความดั น ในการผลิ ต อากาศอัด ซึ่งหากผลิตอากาศอัดที่ความ ดันสูงเกินความจ�ำเป็นในการใช้งาน ก็จะเป็นการสูญเสีย พลังงานไฟฟ้าในการอัดอากาศ โดยการอัดอากาศที่สภาวะ ความดันต่างๆ กัน จะใช้พลังงานไฟฟ้าในการอัดอากาศไม่ เท่ากัน หากลดความดันในการผลิตอากาศลงทุก 1 bar จะ สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ 7 – 13 เปอร์เซ็นต์ 2. มาตรการด้าน Process Improvement เป็นมาตรการ ทีต่ อ้ งใช้เทคโนโลยีและเงินลงทุน เช่น 2.1 มาตรการลดอุณหภูมกิ อ่ นเข้าเครือ่ งอัดอากาศ เช่น การย้ายเครือ่ งอัดอากาศออกจากห้องทีม่ คี วามร้อนสูง เช่น ติดตั้งใกล้กับ Boiler ซึ่งก่อให้เกิดอุณหภูมิรอบพื้นที่การใช้ งานสูง ท�ำให้เครื่องอัดอากาศได้รับอากาศร้อนน�ำไปอัด อากาศให้ได้ความดันตามที่ตั้งไว้ ซึ่งจะส่งผลให้เครื่องอัด อากาศต้องท�ำงานเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้ความดันตามที่ก�ำหนด เนือ่ งจากการอัดอากาศร้อนจะได้อากาศปริมาณน้อย เทียบ กับการอัดอากาศที่อุณหภูมิต�่ำ ดังนั้น ควรจะย้ายไปติดตั้ง ในบริเวณที่มีการถ่ายเทอากาศดี 2.2 การปรับปรุงท่อเมนส่งจ่ายอากาศอัด บางโรงงาน เดินท่อลมภายในโรงงานแบบท่อเดีย่ วหรือลักษณะก้างปลา ท�ำให้เกิดการสูญเสียพลังงานในการอัดลมให้เกิดความเพียง พอต่อการใช้งาน ในการเดินท่อลมที่ดีนั้น ควรมีการเดินท่อ ลมแบบวงแหวน เพื่อให้ลมอัดจากส่วนที่มีการใช้งานน้อย ไปชดเชยลมส่วนที่มีการใช้งานมาก เพื่อลดปัญหาความดัน ตกและไม่จ�ำเป็นต้องผลิตอากาศอัดที่มีความดันสูงเกิน ความจ�ำเป็น ส่งผลให้เกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายในการ ผลิตอากาศอัดที่ใช้ในกระบวนการผลิต

2.3 การจัดโหลดเครือ่ งอัดอากาศให้เหมาะสมกับความ ต้องการ ยกตัวอย่างเช่น โรงงานมีการเดินเครือ่ งอัดอากาศ จ�ำนวน 2 เครื่อง ขนาดใหญ่ ที่ความดันอากาศ 9 bar และ ขนาดกลาง ที่ ค วามดั น อากาศ 7 bar จากการตรวจ วิเคราะห์การใช้พลังงานทั้ง 2 เครื่อง พบว่าเปอร์เซ็นต์การ ตัดต่อไม่เหมาะสม เนื่องจากเครื่องอัดอากาศขนาดใหญ่มี

การท�ำงานและตัดการท�ำงานในสัดส่วน 60:40 ซึ่งการตัด ต่อการท�ำงานที่เหมาะสมควรมีสัดส่วนที่ 75:25 การที่ เครื่องอัดอากาศมีการตัดโหลดนั้นหมายความว่าไม่มีการ ผลิตอากาศอัดออกมา แต่ เ ครื่ อ งอั ด อากาศยั ง ใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า บางส่ ว น ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ ของพิกดั การใช้งานจริงในการเดิน โหลด ดังนั้น หากจัดโหลดและให้เครื่องอัดอากาศท�ำงาน เต็มประสิทธิภาพก็จะเป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้ามาก เท่านั้น ทั้งนี้เปอร์เซ็นต์เดินโหลดไม่ควรเกิน 85 เปอร์เซ็นต์ เพราะจะท�ำให้เครื่องอัดอากาศท�ำงานมากเกินไป จากการ ตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน โหลดของเครื่องอัดอากาศมี น้อย ท�ำให้เครื่องอัดอากาศท�ำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ ประกอบกั บ ความดั น อากาศอั ด ที่ ใ ช้ ไ ม่ แ ตกต่ า งกั น มาก สามารถรวมโหลดทั้งสองเข้าด้วยกัน แล้วใช้เครื่องใหญ่ เดินเครื่องตัวเดียว และปรับระดับความดันให้เหมาะสม กับความต้องการในแต่ละจุดการใช้งาน

ต่อตัน ต่อตารางเมตร ต่อลิตร... ตัวชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน

นอกจากการอนุรักษ์พลังงานในเครื่องอัดอากาศ หรือ ในเครื่องจักรอื่นๆ การเปรียบเทียบค่าการใช้พลังงานต่อ หน่วยผลผลิต (Specific Energy Consumption: SEC) ซึ่ง เป็นตัวชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานในระดับรายผลผลิต โดย วัดปริมาณพลังงานที่ใช้เทียบกับหน่วยนับของผลผลิตทาง กายภาพ เช่น ต่อตัน ต่อตารางเมตร ต่อลิตร เป็นต้น ทั้งนี้

เป็นการวัดประสิทธิภาพพลังงานในระดับมูลฐานที่สุดใน ระดับโรงงานหรือกลุ่มโรงงานที่มีผลผลิตเหมือนกัน ด้วยโรงงานอุตสาหกรรมในหมวดเดียวกันสามารถแบ่ง ได้หลายประเภทซึ่งแต่ละประเภทก็จะมีโครงสร้างการใช้ พลังงานที่แตกต่างกันไป โดยโรงงานอาจจะมีกระบวนการ ผลิ ต ชนิ ด เดี ย วหรื อ จะมี ห ลายกระบวนการผลิ ต ภายใน โรงงานก็ได้ โดยจะท�ำให้โครงสร้างการใช้ พลังงานมีความซับซ้อนมากขึน้ ไปอีก ซึง่ ส่ง ผลให้การตรวจวัดการใช้พลังงาน หรือการ จะเปรียบเทียบการใช้พลังงานต้องมีข้อ จ�ำกัดและบ่งใช้ค่อนข้างชัดเจน ทั้งนี้ การเปรียบเทียบที่ดีจ�ำเป็นต้อง เปรียบเทียบกระบวนการผลิตหรือผลิตภัณฑ์ ทีท่ ดั เทียมกัน ซึง่ หลายโรงงานยังไม่มคี วาม พร้อมในข้อมูลส่วนนี้มากนัก เช่น โรงงาน ทีม่ มี ากกว่าหนึง่ กระบวนการผลิต แม้วา่ จะ มีข้อมูลการใช้พลังงานรวม แต่อาจจะไม่มี ข้ อ มู ล ปริ ม าณการใช้ พ ลั ง งานแยกตาม กระบวนการผลิต ข้อมูล SEC ของโรงงาน ซึง่ ประเมินจาก ปริมาณการใช้พลังงานของ โรงงานรายวัน หรือรายเดือน หรือรายปี หารด้วยปริมาณผลผลิตของช่วงระยะเวลา เดี ย วกั น จึ ง เป็ น SEC ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ได้มาจากการผลิตหลายกระบวนการและ หลากหลายผลิตภัณฑ์ซึ่งท�ำให้ไม่สามารถ น�ำข้อมูลทีไ่ ด้นนั้ ๆไปเปรียบเทียบกับค่า SEC ของโรงงานทีม่ กี ระบวนการผลิตชนิดเดียว

ลดค่าใช้จ่าย... ด้วยสูตรค�ำนวนการใช้ พลังงานในโรรงาน

พลังงานทั้งหมดที่โรงงานใช้ประกอบด้วย (1) พลังงานส่วนกลางทีร่ ะบบสนับสนุนการผลิตใช้ เช่น ระบบแสงสว่าง ระบบบริการกลางฯ พลังงานส่วนนี้ค่อน ข้างคงทีแ่ ม้ผลผลิตจะเพิม่ หรือลดลง ต่อไปจะเรียกพลังงาน ส่วนนี้ว่า ภาระฐาน (Base Load) (2) พลังงานส่วนผันแปรกับปริมาณผลผลิต ดังนั้น พลังงานที่โรงงานใช้แสดงได้ด้วยสมการ (ดังรูปสูตรค�ำนวนการใช้พลังงานในโรรงาน)

โดยกลยุทธ์ที่จะช่วยท�ำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้ก็คือ 1. การลดภาระฐาน (Base load) ซึ่งเป็นการลดต้นทุน คงที่ (fixed cost) 2. การลดค่าดัชนีการบริโภคพลังงานจ�ำเพาะ (Specific Energy Consumption: SEC) ซึ่งเป็นการลดต้นแปรผัน (Variable cost) การประเมินว่าโรงงานใดมีค่า SEC เหมาะสมหรือไม่ ให้เปรียบเทียบ SEC ของโรงงานนั้นกับค่า SEC มาตรฐาน หรือเปรียบเทียบกับ SEC ของโรงงานเองในแต่ละช่วงเวลา ว่ามีการปรับปรุงค่า SEC ดีขึ้นหรือไม่

60 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P59-60_ENERGY ALEART.indd 60

26/1/2558 23:20:05


ดร. สมเกียรติ เตชกาญจนารักษ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ธนาภรณ์ โกราษฎร์ หัวหน้าห้องปฏิบัติการโลหะวิทยา เชิงวิศวกรรม ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

อ. สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking

Mark Cundle, Global Head of Technical Marketing, RS Components

TECHNICAL MATTER P.62

R&D CORNER

PRINCIPLE

“…สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ย่อยสลายน�้ำมัน ปิโตรเลียม ภายใต้ชื่อ ‘KEEEN’ เป็น ชีวบ�ำบัดภัณฑ์ ซึ่งประกอบไปด้วย กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยน�้ำมัน กว่า 8 สาย พันธุ์ เอนไซม์ และสารเร่งย่อยสลาย ทางชีวภาพ ท�ำให้มีคุณสมบัติในการ ท�ำความสะอาด และสามารถย่อยสลาย โมเลกุลน�้ำมัน สารอินทรีย์ หรือสิ่ง สกปรกต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในเวลาเดียวกัน ซึ่งถือได้ว่าเป็น เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรมในการบ�ำบัด ของเสียก่อนปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ… ”เคลื่อนที่ได้…”

“...ในกระบวนการทางโลหะวิทยา การ ปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยเครื่อง มือทางวิศวกรรมอุตสาหกรรม (IE Techniques) มีการน�ำเสนอเป็นกรณี ศึกษาอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจากขั้น ตอนการท�ำงานของกระบวนการทาง โลหะวิทยามีเงื่อนไขก�ำหนดสถานะตั้ง ต้นที่เป็นการควบคุมกระบวนการที่ ชัดเจน มีค่าตัวเลขที่ตรวจวัดได้ด้วย เครื่องมือวัดที่มีหลากหลาย ในขณะที่ กระบวนการท�ำงาน แม้มีความซับซ้อน ในเชิงเทคนิค แต่ก็สามารถสร้างความ สัมพันธ์ของเหตุและผลให้เข้าใจได้ไม่ ยาก...”

สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ย่อยสลายน�้ำมัน ปิโตรเลียม

��������-2015.indd 61

P.67

การเพิ่มผลผลิตด้วยการลดความ เสียหายในงานโลหะ

P.70

GURU

การเคลือบผิว (ตอนจบ) “...กรณีของความต้องการกัดผิว วัสดุออกไปจ�ำเป็นต้องให้ได้ Lons มี ประจุพลังงานจ�ำนวนหนึ่งที่มากพอ ถ่ายทอดให้แก่อะตอมของผิววัสดุ เมื่อ Lons ถูกยิงเข้ากระทบกับผิวของ วัสดุนั้น (เปรียบเทียบได้กับการแทงลูก บิลเลียด) ซึ่งจะเกิดการกระแทกต่อ เนื่องไปยังอะตอมข้างเคียงให้สั่น คลอนไปด้วยและจะท�ำให้อะตอมส่วน หนึ่งซึ่งอยู่นอกสุดของผิวที่มี โมเมนตัมมากพอจะหลุดลอยออกจาก วัสดุไป...”

P.72

WHITE PAPER

ข้อแนะน�ำเกี่ยวกับ EMI ในการ ออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์ “...EMI เป็นเกณฑ์ที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง ในการออกแบบโครงร่างบอร์ด ถ้า หากปล่อยความมั่นใจไปกับการจัดเส้น ทางวงจรโดยอัตโนมัติ และการตรวจ สอบด้วยกฎการออกแบบก็เหมือนกับ การทิ้งโครงงานให้มีปัญหาในภายหลัง การใส่ใจต่อประเด็น EMI ที่ต้องเผชิญ ในการออกแบบและการสร้างโซนการ ท�ำงานโดยรวมเอาเส้นวงจรต่างๆ มา จัดเส้นทางโดยอัตโนมัติได้ ก็จะ เป็นการเพิ่มคุณค่าในการออกแบบ เหมือนกับทักษะของผู้เชี่ยวชาญ...”

1/26/2015 9:23:37 PM


R&D CORNER | ดร. สมเกียรติ เตชกาญจนารักษ์

สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์

ย่อยสลายน�ำ้ มันปิโตรเลียม ปัจจุบนั น�ำ้ ทิง้ จากสถานประกอบการอุตสาหกรรมทีม่ กี ารใช้นำ�้ มันปิโตรเลียม โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากสถานี บริการน�ำ้ มันทีย่ งั ไม่มรี ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีไ่ ด้มาตรฐาน ก่อให้เกิดปัญหาแหล่งน�ำ้ เสือ่ มโทรม เนือ่ งจากในน�ำ้ ทิง้ มีปริมาณน�ำ้ มันเจือปนและลอยปกคลุมผิวน�ำ้ ท�ำให้การผ่านเข้าออกของแสงแดดและออกซิเจนเป็นไปได้ ยาก มีผลเสียต่อสิง่ มีชวี ติ ต่างๆ ในน�ำ้ และห่วงโซ่อาหาร นอกจากนี้ ในน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงยังมีโลหะหนัก ซึง่ อาจเจือปนในแหล่งน�ำ้ ใช้สำ� หรับการอุปโภคบริโภคของมนุษย์ได้

62 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P62-63_R&D CORNER.indd 62

26/1/2558 23:12:22


KEEEN สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ฯ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ปัจจุบนั ได้มกี ารใช้เทคโนโลยีชวี ภาพและไบโอรีมดิ เิ อชัน่ (Bioremediation) มาใช้ในการจัดการบ�ำบัดคราบน�ำ้ มันปน เปื้อน โดยการเติมสารเร่งกระบวนการย่อยสลายทาง ชีวภาพที่มีอยู่ในธรรมชาติ เทคโนโลยีไบโอรีมิดิเอชั่น อาศัย พืน้ ฐานความรูท้ วี่ า่ ส่วนประกอบต่างๆ ของน�ำ้ มันปิโตรเลียม สามารถย่ อ ยสลายได้ ด ้ ว ยกระบวนการทางชี ว ภาพใน ธรรมชาติ โดยจุลนิ ทรียท์ อี่ าศัยอยูใ่ นบริเวณทีม่ กี ารปนเปือ้ น ของน�้ำมันเพื่อน�ำไปใช้ในการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ บริษทั ไฮกริม เอนไวรอนเมนทอล แอนด์ รีเสิรช์ จ�ำกัด เป็ น บริ ษั ท ที่ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ การน� ำ เข้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จุลินทรีย์ ก�ำจัดคราบน�้ำมันจากต่างประเทศ ซึ่งผลิตภัณฑ์ ดังกล่าว เป็นสารชีวภาพที่ปลอดภัยต่อมนุษย์ และไม่เป็น อันตรายต่อสิง่ แวดล้อม การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จลุ นิ ทรียก์ ำ� จัด คราบน�ำ้ มันจากต่างประเทศมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง และผลิตภัณฑ์ยงั ไม่ตอบโจทย์ปญ ั หาของลูกค้าอย่างแท้จริง ทางบริษัทฯ จึงได้ร่วมทุนวิจัยกับศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีแห่งชาติ ในการวิจยั และพัฒนาเพือ่ เลือกสายพันธุ์ แบคทีเรียท้องถิ่นที่ย่อยสลายคราบน�้ำมันปนเปื้อนได้ และ น�ำเทคโนโลยีชวี ภาพทีท่ นั สมัยมาใช้ในการผลิตแบคทีเรียใน ระดับอุตสาหกรรมเพื่อใช้ในการบ�ำบัดของเสียที่มีคราบ น�ำ้ มันปนเปื้อน จากผลการวิจัยและพัฒนาท�ำให้เกิดผลิตภัณฑ์ สาร ชี ว บ� ำ บั ด ภั ณ ฑ์ ย ่ อ ยสลายน�้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย ม ภายใต้ ชื่ อ ‘KEEEN’ เป็นชีวบ�ำบัดภัณฑ์ ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่ม จุลินทรีย์ย่อยน�้ำมัน กว่า 8 สายพันธุ์ เอนไซม์ และสาร เร่งย่อยสลายทางชีวภาพ ท�ำให้มีคุณสมบัติในการท�ำความ สะอาด และสามารถย่อยสลายโมเลกุลน�้ำมัน สารอินทรีย์ หรื อ สิ่ ง สกปรกต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในเวลา เดี ย วกั น ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น เทคโนโลยี ที่ ต อบโจทย์ ค วาม ต้องการของภาคอุตสาหกรรมในการบ�ำบัดของเสียก่อน ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ KEEEN นับว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ที่สามารถตอบโจทย์ เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และร่วมตอบโจทย์สำ� คัญของ ทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคครั ว เรื อน ที่ ต้ องการปรั บ กระบวนการผลิต การท�ำงาน การใช้ชีวิต ให้เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม โดย KEEEN มีคณ ุ สมบัตทิ สี่ ามารถขจัด บ�ำบัด และเยียวยา (Cleaning and Remediation) ภายในขั้น ตอนเดียว KEEEN ถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมแห่งพลังขจัด คราบน�้ำมัน และบ�ำบัดสิ่งแวดล้อมในขั้นตอนเดียว อันจะ สร้างปรากฏการณ์ใหม่ในอุตสาหกรรมไทย

คุณสมบัติของสารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ฯ

สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ยอ่ ยสลายน�ำ้ มันปิโตรเลียมอยูใ่ นรูป ของเหลวประกอบด้วยจุลลินทรีย์ผสมสารประกอบเกลือ (Inorganic Salts) สารรักษาสภาพจุลนิ ทรีย์ (Preservatives) และสารลดแรงตึงผิว (Biodegradable Surfactants) หลักการส�ำคัญของการย่อยสลายน�ำ้ มันปิโตรเลียมด้วย สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ฯ คือ กลุม่ จุลนิ ทรียท์ นี่ ำ� มาใช้เป็นจุลนิ ทรีย์ ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ไม่ละลายน�้ำ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนต่างๆ ทีม่ อี ยูใ่ นน�ำ้ มันปิโตรเลียม รวมถึงน�ำ้ มัน และไขมันต่างๆ ซึง่ สารเหล่านีเ้ มือ่ ถูกย่อยแล้วจะเปลีย่ นรูป เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และสารอินทรียท์ ลี่ ะลายน�ำ้ ทีไ่ ม่ เป็นพิษต่อคน สัตว์ และสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ กลุม่ จุลนิ ทรีย์ ดังกล่าว ยังมีคณ ุ สมบัตทิ คี่ งทน ไม่ตาย หรือเสียสภาพไปเมือ่ อยู่ในของเหลวที่มีสารลดแรงตึงผิวผสมอยู่ สารชีวบ�ำบัด ภัณฑ์ฯ มีอายุการใช้งานทีย่ าวนานเป็นทีย่ อมรับ เมือ่ ถูกบรรจุ ในภาชนะระหว่างรอการน�ำไปใช้งาน และเมือ่ ถูกน�ำไปใช้กลุม่ จุลินทรีย์ดังกล่าว สามารถกลับมาเจริญเติบโต และเพิ่ม จ�ำนวนอย่างรวดเร็วจนมีจ�ำนวนเพียงพอต่อการย่อยสลาย ของเสียต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในเวลาทีเ่ หมาะสม

คุณประโยชน์ตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม

โดยส่วนใหญ่แล้ว ในอุตสาหกรรมเมื่อมีปริมาณการ ผลิตเพิ่มสูงขึ้น จ�ำเป็นต้องเพิ่มจ�ำนวนพนักงาน เพื่อท�ำให้ กระบวนการผลิตสูงขึน้ ปรากฏการณ์ดงั กล่าวก่อให้เกิดของ เสียเพิ่มมากขึ้น ท�ำให้มีภาระค่าใช้จ่ายในการบ�ำบัดสูงขึ้น นวัตกรรมนี้ เป็นการปฏิวัติรูปแบบอุตสาหกรรมเดิม โดย ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่แฝงอยู่ในอุตสาหกรรม (Hidden Cost) ซึง่ นักวิชาการเรียกว่า ค่าใช้จา่ ยสิง่ แวดล้อม (Environmen-

tal Cost) การน�ำนวัตกรรมนีม้ าประยุกต์ใช้ คือ ขจัด-บ�ำบัดและเยียวยา มาใช้ในอุตสาหกรรม ท�ำให้ลดค่าใช้จ่ายที่ซ�้ำ ซ้อนในการบ�ำบัดของเสียเหล่านั้น ยกตัวอย่างเช่น ลดค่า ความสกปรกของน�้ำเสียก่อนเข้าระบบบ�ำบัดรวม หรือท�ำให้ ลดเวลาในการบริหารจัดการของเสีย หรือการป้องกันปัญหา น�้ ำ มั น ปนเปื ้ อ นในระหว่ า งกระบวนการผลิ ต ในภาค อุ ต สาหกรรม หรื อ การแก้ ป ั ญ หาคราบน�้ ำ มั น ในภาค อุตสาหกรรม ท�ำให้ลดภาระค่าใช้จ่ายในการส่งก�ำจัดของ เสีย หรือแม้กระทั่งการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นที่เกิดจากหมัก หมมในระบบบ�ำบัดของเสียในห้องน�้ำในอาคารส�ำนักงาน คอนโดมิเนียม ฯลฯ นอกจากนี้ ยังใช้เป็นเครื่องมือช่วยให้ อุตสาหกรรมปรับกระบวนการเป็นการผลิตสีเขียว (Green Industry) สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ฯ ‘KEEEN’ ได้รับรางวัลระดับ นานาชาติ ได้แก่ รางวัลเหรียญทองด้านนวัตกรรม ในงาน ประกวดนวัตกรรมระดับอาเซียน ภายในงาน ITEX 2012 ซึง่ จัดขึน้ ณ ประเทศมาเลเซีย รางวัล ‘The Best Invention in Technology’ จากประเทศญี่ปุ่น และรางวัล ‘The Best Invention in Environment’ จากประเทศจีน เนื่องจาก เป็นนวัตกรรมขจัดคราบน�้ำมันและบ�ำบัดสิ่งแวดล้อมในขั้น ตอนเดียว ท�ำให้ลดค่าใช้จ่ายที่ซำ�้ ซ้อนในการบ�ำบัดของเสีย นั บ ว่ า เป็ น นวั ต กรรมที่ ช ่ ว ยผู ้ ป ระกอบการ หรื อ นิ ค ม อุตสาหกรรมสบายใจได้ว่า กระบวนการท�ำงานในโรงงาน สามารถใส่ใจสิ่งแวดล้อมได้ และเป็นมิตรกับชุมชน ท�ำให้ มลภาวะลดลงและสามารถช่วยเพิม่ มูลค่าเศรษฐกิจ รวมทัง้ สามารถน�ำธุรกิจสีเขียวเป็นจุดขายใหม่ให้กับธุรกิจได้

หากคุณมีเรื่องราวงานวิจัยที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อแวดวงอุตสาหกรรม ซึ่งต้องการเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม ติดต่อได้ที่ 0 2731 1191 ต่อ 115 หรือ jirapat.k@greenworldmedia.co.th ทุกพลังของความคิด จะเป็นแรงบันดาลใจเพือ่ น�ำไปต่อยอดและก่อเกิดประโยชน์อย่างมากมาย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P62-63_R&D CORNER.indd 63

63

26/1/2558 23:12:24


AD_THK-02-2015.pdf 1 1/15/2015 9:37:08 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD_INB.pdf 1 12/23/2014 1:39:54 PM

A cost effective series of the well-established model HSR has been newly added. Optimal for the general linear guide market such as for conveyance systems!

Cost effective Type (Ct Grade) of LM Guide Debuts

HSR (Ct Grade) C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

HSR Ct = Cost Effective Type (Ct Grade) of LM Guide A cost effective series of the model HSR. Optimal for the general linear guide market such as for conveyance systems or replaces HIWIN. • Cost effective • Versatility • Short delivery time HSR Ct = LM Guide ราคาสบายใจ HSR Ct เปนรุนยอยจาก หมวดยอดนิยม HSR ที่มีราคาประหยัด และเหมาะกับตลาด Linear Guide ทั่วๆไป เชน งานระบบ conveyor เลื่อนชิ้นงานเขา-ออก ที่ไมตองการความละเอียดมาก หรือ ใชทดแทนยี่หอไฮวิน • ราคาประหยัด • คุณสมบัติหลากหลาย เชน รับแรงได 4 ดาน เหมาะกับการใชงาน ทั่วๆ ไป และมีความสามารถในการดูดซับคา Error ขณะวิ่งไดดี • สินคาพรอมจัดสง


AD_Rittal.pdf 1 1/21/2015 5:18:01 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

RITTAL LTD.

122/1 Krungthep-Kreetha Road Kwaeng Sapansoong Khet Sapansoong Bangkok 10250 Thailand Phone : +66 (0) 2704 6580-8 Fax : +66 (0) 2704 6589


ธนาภรณ์ โกราษฎร์ |

PRINCIPLE

การเพิ่มผลผลิตด้วยการ ลดความเสียหายในงานโลหะ โดยพื้นฐานการเพิ่มผลผลิตหรือผลิตภาพ คือ สัดส่วนระหว่างต้นทางและปลายทางของการ ผลิต แน่นอนว่าที่ปลายทางของการผลิตย่อมประกอบด้วยผลิตผลที่สมบูรณ์ พร้อมด้วย ผลิตผลทีบ่ กพร่อง (Rejects) บทความนีข้ อมุง่ ไปทีก่ ารเพิม่ ผลผลิตด้วยการลดปริมาณผลิตผล ที่บกพร่องลง โดยใช้องค์ความรู้ทางโลหะวิทยามาเป็นเครื่องมือ

แนวทางการปฏิ บั ติ ที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม ผลผลิ ต อย่างมีประสิทธิภาพ

การเพิ่มผลผลิตด้วยการปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ มีความทันสมัย ความรวดเร็ว การลดขั้นตอนที่ไม่ก่อให้เกิด ผล และการประยุกต์ใช้กระบวนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เป็นแนวทางการปฏิบัติที่ส่งผลโดยตรงต่อการ เพิ่มผลผลิต ร่วมด้วยการปรับทัศนคติและปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการท�ำงานทั้งในส่วนที่อยู่บนสายการผลิต โดยตรงและส่วนที่อยู่ในสายงานการบริหาร เป็นอีกส่วน หนึ่งที่สนับสนุนให้การผลิตเกิดพลวัตและการพัฒนาไป ในทางที่เหมาะสม แต่หากพิจารณในแง่มุมทางเทคนิค เทคโนโลยีที่ถูกน�ำมาใช้ในสายการผลิตล้วนมีการออกแบบ และพัฒนาขึ้นมาเพื่อผลลัพธ์และประสิทธิภาพสูงสุดภาย

ใต้เงือ่ นไขการท�ำงานแบบหนึง่ แต่เมือ่ น�ำเข้าสูก่ ระบวนการ ในเชิงปฏิบัติ การปรับให้ใช้ได้จริง (Implementation) การ ปรับให้ท�ำงานได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ การปรับให้อยู่ ในเงื่อนไขที่จะสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมร่วมกันในกลไก และสายโซ่ ข องการท� ำ งานที่ สั ม พั น ธ์ กั น นั้ น เงื่ อ นไขที่ เปลี่ยนแปลงไปสามารถเกิดขึ้นได้และล้วนมีความจ�ำเป็น ไม่ด้อยไปกว่ากัน ในกระบวนการทางโลหะวิ ท ยา การปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิตด้วยเครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหกรรม (IE Techniques) มีการน�ำเสนอเป็นกรณีศึกษาอยู่เป็น จ�ำนวนมาก เนื่องจากขั้นตอนการท�ำงานของกระบวนการ ทางโลหะวิทยามีเงื่อนไขก�ำหนดสถานะตั้งต้นที่เป็นการ ควบคุมกระบวนการที่ชัดเจน มีค่าตัวเลขที่ตรวจวัดได้ด้วย

เครื่องมือวัดที่มีหลากหลาย ในขณะที่กระบวนการท�ำงาน แม้มีความซับซ้อนในเชิงเทคนิค แต่ก็สามารถสร้างความ สัมพันธ์ของเหตุและผลให้เข้าใจได้ไม่ยาก

การลดปัญหาความสูญเสียในกระบวนการ อบชุบ (Heat Treatment)

การเกิ ด ความเสี ย หาย (Failures/Defects) ทุ ก กรณี สามารถหาสาเหตุได้ด้วยเครื่องมือพื้นฐาน ได้แก่ แผนภูมิ ก้างปลา (Cause & Effect Analysis) การล�ำดับความ ส�ำคัญของปัญหาด้วยแผนภูมิแท่ง (Pareto Diagram) การ วิเคราะห์ความบกพร่องและผลกระทบ (Failure Mode & Effect Analysis; FMEA) หรือด้วยเทคนิคและเครื่องมือ อืน่ ๆ ซึง่ ในบทความนีจ้ ะขอเสนอกรณีตวั อย่าง การลดปัญหา MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P67-69_PRINCIPLE.indd 67

67

26/1/2558 23:35:38


ความสูญเสียในกระบวนการอบชุบ (Heat Treatment) ซึ่ง เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีพื้นฐานในอุตสาหกรรมด้านโลหะที่ แม้จะมีการเรียนการสอนวิชาการอบชุบ (หรือส่วนมากทีพ่ บ คือ การชุบแข็งเหล็ก) อย่างแพร่หลายในทั้งสถาบันการ ศึ ก ษาและในการฝึ ก อบรมพั ฒ นาบุ ค ลากร แต่ ใ นทาง ปฏิ บั ติ ความบกพร่องที่เกิดจากการไปด�ำเนินงานตามขั้น ตอนทางทฤษฎียังปรากฏอยู่โดยทั่วไป โดยเนื้อหาเชิงเทคนิคส่วนหนึ่งในบทความนี้เป็นการ อ้างอิงจากการบรรยายหัวข้อ Quenching and Tempering of Steels – Method, Applications and Practical Problems โดย Dr.Tomasz Babul นักโลหะวิทยาชาวโปแลนด์ ที่ ได้บรรยายในเรื่องเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงการอบชุบและ วิศวกรรมพื้นผิวเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไทย จัดโดยศูนย์ เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2555 ไว้นา่ สนใจ จึงขอน�ำมาสรุปแทรกเพือ่ เป็นประโยชน์ดงั นี้ เนือ่ งจากงานอบชุบปรับปรุงสมบัตทิ างกล (Mechanical Properties) ของโลหะ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นปรับปรุงสมบัตโิ ลหะ ในกลุม่ เหล็กกล้า (Steels) ขัน้ ตอนการท�ำงาน คือ การให้ความ ร้อนและการท�ำให้เหล็กเย็นตัวลง การขยายตัวเมือ่ เหล็กได้ รับความร้อนและการหดตัวเมือ่ มีอณ ุ หภูมลิ ดลง คือ ปัจจัย หลักทีม่ ผี ลต่อการเกิดความบกพร่อง (Defects) ของชิน้ งาน อบ ซึ่งกรณีที่ชิ้นงานผ่านการอบชุบแล้วมีความบกพร่อง หมายถึง ไม่สามารถท�ำให้เกิดสมบัตทิ างกลได้ตามต้องการ เช่น ในกรณีทสี่ ภาวะการชุบแข็งรุนแรงเกินไป ทีอ่ าจเป็นผล โดยตรงจากการเย็นตัวทีร่ วดเร็วเกินไป แม้เป็นทีเ่ ข้าใจว่าการ ชุบแข็งด้วยวิธเี ย็นตัวเร็วท�ำให้เหล็กมีคา่ ความแข็ง (Hardness) สูง แต่หากชิน้ งานแข็งเกินไป อาจเกิดสภาวะแข็งเปราะ (Brittleness) หรือสิน้ เปลืองเครือ่ งมือกัดกลึง (Toolings) หรือ เมือ่ มีแนวโน้มว่ามีความแข็งมากเกินไปอาจมีผลให้เกิดสภาพ บิดเบีย้ ว (Distortion) และเสียรูป (Deformation) จากการ เย็นตัวทีร่ วดเร็วเกินไปทัง้ ชิน้ งาน บางบริเวณทีเ่ ป็นต�ำแหน่ง วิกฤตหรือแม้ยอมให้เกิดขึน้ ได้ในบางบริเวณแต่กลับไม่เป็นไป ในบริเวณทีก่ ำ� หนดไว้ เป็นต้น ในทางกลับกัน หากการเย็นตัวเกิดขึน้ ไม่รวดเร็วพอ เหล็ก ที่ได้มีความแข็งต�่ำกว่าที่ต้องการ การน�ำไปใช้งานย่อมไม่ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ทตี่ อ้ งการ ทัง้ ความแข็งทีเ่ มือ่ ต�ำ่ เกิน ไป การรองรับแรงกดเฉพาะบริเวณทีส่ ง่ ผลต่อการรองรับการ เสียดสี (Abrasion) การทนทานต่อการสึกหรอ (Wear Resistance) ตามทีไ่ ด้ออกแบบไว้ยอ่ มเป็นไปได้ยาก รวมทัง้ ความ แข็งแรง ความต้านทานแรงดึง (Tensile Strength) ความ ต้านทานแรงดัด (Bending Strength) ทีม่ คี า่ แปรผันตามกัน กับความแข็งที่เกิดขึ้นจากการอบชุบล้วนมีค่าด้อยกว่าที่ ต้องการ ในท้ายสุด ไม่วา่ ความแข็งหรือผลจากการด�ำเนินการอบ ชุบที่มีการตรวจสอบ ตรวจวัดค่าในขั้นตอนการผลิตล�ำดับ ก่อนหรือหลังขัน้ ตอนอบ หรือแม้แต่เมือ่ ชิน้ งานนัน้ ถูกประกอบ ร่วมในอุปกรณ์พร้อมใช้งานแล้ว ซึง่ เมือ่ ตรวจพบว่าไม่ถกู ต้อง และปรากฏเป็นความเสียหายระหว่างเตรียมใช้ ระหว่างใช้ หรือหลังการใช้งาน ผลิตภัณฑ์ยอ่ มเสียหาย น�ำไปสูก่ ารผลิต ทดแทน การด�ำเนินกระบวนการซ�ำ้ การซ่อมแก้ไข หรือการ ผลิตขึน้ ใหม่ ล้วนเกิดผลทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อสายการ ผลิตและผลิตภาพ

3 แนวทางปฏิบตั เิ พือ่ หลีกเลีย่ ง ความสูญเสียในกระบวนการอบชุบ

ดร.บาบุล ได้สรุปทีม่ าของปัญหาทีอ่ ยูใ่ นเกณฑ์ทเี่ พียงแค่ มีความเข้าใจก็สามารถปรับปรุงรูปแบบการท�ำงานเพือ่ หลีก เลีย่ งปัญหาเหล่านัน้ ได้ โดยน�ำเสนอเป็น 3 กลุม่ ใหญ่ พร้อม แนวทางปฏิบตั ิ ได้แก่

1. กลุ่มที่เป็นความบกพร่องเกี่ยวกับโครงสร้างและ รู ป ทรงของชิ้ น งาน ส่ ว นมากพบว่ า เกิ ด ขึ้ น จากการ ออกแบบรูปทรงชิน้ งานทีไ่ ม่มมี ติ ทิ สี่ มมาตรเพียงพอ ชิ้นงาน ทีเ่ หมาะส�ำหรับกระบวนการอบชุบควรมีการก�ำหนดรูปทรง ให้สามารถกระจายน�้ำหนัก มีภาคตัด (Cross-Sectional Dimensions) ที่หนาและบางอยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสม ใน กรณีที่ชิ้นงานมีบริเวณที่มุม สัน หรือข้อที่แคบ จ�ำเป็นอย่าง ยิ่งที่จะต้องท�ำให้ต�ำแหน่งเหล่านั้นมน เพิ่มระยะรัศมีความ โค้งของมุมและข้อให้มากเท่าที่จะท�ำได้ แต่หากด้วยข้อ จ�ำกัดของรูปทรงที่จ�ำเป็นต้องคงไว้เช่นนั้น การอบคลาย เครียด (Stress Relief) หรือการอบอ่อน (Annealing) จ�ำเป็นต้องเพิ่มขึ้นในขั้นตอนก่อนเข้าสู่กระบวนการอบชุบ หลัก เพื่อหลีกเลี่ยงความแตกต่างของอัตราการขยายตัว ระหว่างส่วนทีก่ ว้างและส่วนทีแ่ คบบนชิน้ งานให้ได้มากทีส่ ดุ ซึ่ ง อาจะท� ำ ให้ ชิ้ น งานเกิ ด การบิ ด เบี้ ย วหรื อ แตกร้ า ว (Cracks) ได้ หรือในกรณีที่จ�ำเป็น อาจต้องมีการปรับปรุง องค์ประกอบในการอบชุบ ได้แก่ เลือกใช้ชนิดเหล็กที่มี คุณลักษณะเหมาะสมกับเงือ่ นไขการอบชุบหรืออบชุบได้งา่ ย

ขึ้น การเลือกใช้นำ�้ มันชุบแข็ง (Quenching Medium) สูตร เฉพาะ หรือของเหลวเพือ่ การเย็นตัวทีม่ คี ณ ุ สมบัตชิ ว่ ยควบคุม อัตราการเย็นตัวของเหล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพและลด โอกาสความเสียหายจากการบิดเบี้ยวและแตกร้าวตามรูป แบบทีก่ ล่าวถึงได้มากขึน้ 2. กลุ่มที่ความบกพร่องในด้านคุณภาพของเหล็ก เนือ่ งจากเหล็กทีใ่ ช้ในงานวิศวกรรมมีหลายชนิด หลายเกรด หลายมาตรฐานอ้างอิง และหลากหลายราคา ทัง้ ทีถ่ กู ระบุวา่ เป็นเหล็กชนิดเดียวกันและมีคุณลักษณะเทียบเท่ากันทุก ประการ สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้อง คือ คุณภาพของเหล็ก (Quality) หมายถึง ปริมาณการปนเปือ้ นของธาตุ (Impurities) และ สารประกอบกลุม่ อโลหะ (Non-Metallic Inclusions) ทีไ่ ม่ พึงประสงค์ ความสม�ำ่ เสมอของโครงสร้างในระดับจุลภาค ที่มาจากกระบวนการผลิตขั้นต้น และการมีสภาพความ บกพร่องทางโลหะวิทยาติดตามมาตัง้ แต่ในขัน้ ตอนการผลิต ขัน้ ต้น เช่น ปรากฏบริเวณทีม่ กี ารสูญเสียคาร์บอน (Decarburizng/Decarbonising) การมีตำ� หนิบนพืน้ ผิว (Surface Defects) หรือหากการขึ้นรูปขั้นต้นเป็นกระบวนการหล่อ

68 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P67-69_PRINCIPLE.indd 68

26/1/2558 23:35:40


ธนาภรณ์ โกราษฎร์ |

PRINCIPLE

แก๊สที่ก�ำหนดล้วนเป็นปัจจัยหลักที่ท�ำให้การอบชุบเกิด ผลดีขึ้นได้จากการไหลเวียนและเกิดปฏิกริยาทางเคมีได้ ทัว่ ทุกพืน้ ผิวบนชิน้ งานตามต้องการ ในขณะทีป่ จั จัยหลักของ การควบคุมบรรยากาศ ถือเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด หมายถึง ส่วนผสมของแก๊สที่ถูกต้อง อัตราการป้อนแก๊ส ล�ำดับการ ป้อนแก๊ส เป็นต้น

เทคนิคการก�ำหนดอุณหภูมิ ให้เหมาะสมกับชิ้นงาน

การก�ำหนดอุณหภูมิสูงสุดให้กับชิ้นงานไม่เหมาะสม หมายถึ ง ค่ า อุ ณ หภู มิ ค งที่ (Soaking Temperature) ส�ำหรับขั้นตอนการท�ำให้เหล็กกล้ามีโครงสร้างจุลภาคเป็น ออสเทไนท์ (Austenite) หรืออุณหภูมิออสเทเนไทซิง (Austenetizing) กรณีที่ต�่ำเกินไป โครงสร้างออสเทไนท์ ไม่เกิด หากสูงเกินไปท�ำให้เกิดการโตของเกรน (Grain Growth) ไม่เป็นผลดีกับสมบัติทางกล ในทางตรงกันข้าม หากนานเกินไปสามารถท�ำให้เกิดการโตของเกรนได้เช่นกัน ในขั้ น ตอนการเย็ น ตั ว หากเย็ น เร็ ว หรื อ ช้ า เกิ น ไป ผลลั พ ธ์ ย ่ อ มไม่ เ ป็ น ไปตามต้ อ งการ ชนิ ด และอุ ณ หภู มิ ของเหลวที่เป็นตัวกลางในการชุบแข็ง ระบบการหมุนเวียน ของเหลว (Circulation) ภายในอ่างชุบ ล้วนจ�ำเป็นต้องมี ติดตั้งและท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่หากเย็นตัว ด้วยลม (Air Quenching) ความรุนแรงของลม ความ เหมาะสมของทิศทางลม เนื่องจากชิ้นงานส่วนที่ใกล้พัดลม ย่อมได้รับผลการเย็นตัวมากกว่าปลายลม อัตราการเย็น ตัวที่เกิดขึ้นเหมาะสมหรือต้องไม่รุนแรงเกินไปจนถึงระดับ ที่ท�ำให้เกิดการบิดเบี้ยว หรือการแตกร้าวจากการหดตัว และเย็นตัวของเหล็กต่างบริเวณในอัตราที่ต่างกันมากๆ ได้ การต้องอบคืนตัว (Tempering) ภายหลังการชุบแข็ง ที่เมื่อเว้นระยะเวลานานเกินไป ไม่เป็นผลดีกับชิ้นงานนัก ควรด�ำเนินขั้นตอนให้ต่อเนื่องที่สุด โดยเฉพาะกับเหล็กกล้า เครื่องมือ (tool steels) บางชนิดที่ต้องท�ำการอบคืนตัว มากกว่า 1 ครั้ง เพราะการท�ำให้เหล็กร้อนขึ้นและเย็นตัว ลงซ�้ำหลายๆ ครั้ง ยิ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่อการแตก ร้าวและบิดเบี้ยว เหล็กแม้น�ำขึ้นจากอ่างชุบ อุณหภูมิยังคง สูงอยู่ ถือว่าเหล็กมีสภาพที่เหมาะกับการน�ำเข้าสู่การให้ ความร้อนได้ซ�้ำมากกว่าปล่อยให้เหล็กเย็นตัวลงถึงหรือ ใกล้อุณหภูมิห้อง ทั้งนี้ เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการปล่อยให้ เหล็กเข้าสู่สภาพที่มีความเค้นตกค้าง (Residual Stress) อาจส่งผลเสียกับเหล็กได้ ต�ำหนิและข้อบกพร่องทีเ่ กิดจากกระบวนการหล่อ (Casting Defects) ยังมีให้ได้อา้ งอิงอีกหลายกรณี ซึง่ ในกรณีนี้ การ ตรวจสอบติดตามเพือ่ ควบคุมคุณภาพเหล็กตัง้ แต่ขนั้ ตอนการ จัดหา การเลือกใช้เหล็กทีม่ เี อกสารรับรองคุณภาพนัน้ มีความ จ�ำเป็น รวมทั้งความเข้าใจในเรื่องโลหะวิทยาส�ำหรับฝ่าย ปฏิบตั กิ ารอบชุบ ทีต่ อ้ งเข้าใจว่าเหล็กแต่ละเกรดเมือ่ มีรปู แบบ การอบชุบทีแ่ ตกต่างกัน การน�ำเข้าด�ำเนินการพร้อมกันในเตา เดียวกันจึงเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งพิจารณาเช่นกัน แม้ในหลายกรณี พบว่าการควบคุมอุณหภูมิภายในเตาจะไม่แตกต่างกันมาก เนือ่ งจากอยูภ่ ายในเงือ่ นไขความคลาดเคลือ่ นของอุณหภูมทิ ี่ ยอมให้เกิดขึน้ ได้ (ค่า ± ของระดับอุณหภูมทิ ตี่ อ้ งการ) คาบเกีย่ ว กัน แต่เมื่อมีปัจจัยอื่นเพิ่มขึ้น เช่น รูปทรงชิ้นงานที่อาจมี ต�ำแหน่งวิกฤตร่วมอยูด่ ว้ ย และการมีจดุ บกพร่องจากการขึน้ รูปขัน้ ต้นปรากฏอยูบ่ า้ ง แต่ไม่ชดั เจนนัก เหล่านีเ้ ป็นส่วนทีช่ ว่ ย ขยายผลไปสูป่ ญ ั หาในการอบชิน้ งานทีผ่ ลิตจากเหล็กต่างเกรด ต่างชนิดกัน พร้อมกัน ให้มโี อกาสเกิดขึน้ ได้มากขึน้ 3. กลุ่มที่เป็นความบกพร่องในขั้นตอนการท�ำงาน อบชุบ ในกรณีที่ข้อมูลทางทฤษฎีมีมากเพียงพอที่ผู้ปฏิบัติ

จะด�ำเนินการในส่วนของเตาได้อย่างถูกต้อง แต่การวาง จัดเรียงชิ้นงานภายในเตาโดยขาดความเข้าใจที่ถูกต้องนั้น ยังคงน�ำไปสู่ปัญหาได้อีกหลายประการ ได้แก่ การที่ชิ้นงาน ขนาดใหญ่หรือมีรูปทรงที่ส่วนหนึ่งต้องแบกน�้ำหนักของอีก ส่วนหนึ่งไว้ ในสภาพปกติอาจไม่ปรากฏปัญหาใดๆ แต่ภาย ใต้สภาวะภายในเตา เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เหล็กร้อนถึงระดับ ที่ ส มบั ติ ท างกลลดลงในค่ า วิ ก ฤตพอที่ ก ารแบกน�้ ำ หนั ก ภายในชิ้นงานเริ่มเกิดผล การบิดงอและการแตกร้าวอาจ เกิดขึ้นได้ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการจัดเรียงชิ้นงาน (Retort) หลีกเลี่ยงการวางพิงกัน การเว้นที่ว่างระหว่างชิ้นงาน อย่างเหมาะ และวางชิ้นงานในทิศทาง และต�ำแหน่งที่ถูก ต้องต่อการแบกน�้ำหนักของชิ้นงานเอง คือ วิธีการช่วย หลีกเลี่ยงปัญหาได้ ในกรณีเดียวกัน การจัดเรียงชิ้นงานส�ำหรับการอบชุบ ที่ต้องควบคุมบรรยากาศภายในเตาด้วยแก๊ส (Atmosphere Furnce) ทีก่ �ำหนดเพือ่ ให้แก๊สท�ำปฏิกริ ยิ ากับชิน้ งาน การมีช่องว่างระหว่างชิ้นงานที่เพียงพอ ป้องกันการเกิดจุด อับของการไหลเวียนของแก๊ส ความร้อนและบรรยากาศ

ในเชิงโลหะวิทยา การวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะกรณีใน กระบวนการผลิตด้านโลหะวิทยามีความซับซ้อน แต่หาก ในสายการผลิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านโลหะ เพื่อ การวางแผนการผลิตร่วมกับกระบวนการตรวจติดตามและ ควบคุมการผลิตอย่างได้ผล เป็นการใช้วิศกวรรมแบบสห สาขาอย่างเต็มประสิทธิภาพ ผลลัพธ์จะไม่เพียงการเพิ่ม ผลิตภาพ อัตราการผลิตสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง แต่ที่ ส�ำคัญมากกว่า คือ การสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ผู้ ใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ สี ายการผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพด้วยโครงสร้างการ ท�ำงานในสายการผลิตที่ให้ความส�ำคัญกับการใช้ความรู้ ทางเทคนิ ค อย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ก้ า วไปสู ่ อ งค์ ก รฐานความรู ้ (Knowledge-Based Manufacturing) ซึ่งย่อมช่วยให้ กิจการพัฒนาไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการขยายตลาด ได้ต่อไป

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P67-69_PRINCIPLE.indd 69

69

26/1/2558 23:35:41


GURU

การเคลือบผิว (ตอนจบ)

ได้ทงิ้ ท้ายไว้ในตอนทีผ่ า่ นมาว่าเราจะคุยกันถึงเรือ่ งของ Sputtering ในฉบับนี้ ซึง่ ก็คอื Sputtern ในภาษาเยอรมันทีก่ ลายพันธุ์ มาจากอังกฤษ ดังนัน้ ถ้าใครจับต�ำราเยอรมันในเรือ่ งนี้ นอกจากจะพบกับค�ำว่า Sputter แล้ว อาจพบกับค�ำว่า Sputterdeposition, Sputterveschichtung, Kathodezerstaeubung หรือ Aufstaeuben บ้างในความหมายทางเทคนิคเดียวกัน

การศึกษา: 2508 2511 2514 2517 2524

โรงเรียนสระแก้ว จัวหวัดสระแก้ว วิทยาลัยเทคนิค ไทย-เยอรมันขอนแก่น เตรียมวิศวฯ จาก Institut fuer auslaendische Fachhochschulbewerber ของแคว้น Niedersachsen ณ เมือง Hannover สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต Dipl.-Ing. (FH) in Gas-, Water-, Heating-and Cooling System จาก University of Applied sciences, เมือง Braunschweig-Wolfenbuettel สหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต Dipl.-Ing. in Energy & Process Engineering จาก Technical University of Berlin กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอมัน

การท�ำงาน: 2517-2518 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�ำบริษัท Hermann Ehlert KG. เมือง Hildesheim, สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2522-2523 TA ช่วยค้นคว้างานวิจัยของ Prof.Dr.Helmut Knapp จาก Thermodynamic Inst. ของ Technical University of Berlin. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2524-2525 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�ำบริษัท Schaeler Engineering GmbH, กรุง Berlin สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2525-2527 อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ 2527-2539 หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2539-2542 รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ ส�ำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2542-2547 รั ก ษาการผู ้ อ� ำ นวยการ ศู น ย์ บ ริ ก ารเทคโนโลยี สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปราจีนบุรี 2552-2556 ผู ้ แ ทนกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส มาคมวิ ศ วกรเคมี แ ละไบโอเทคโนโลยี เยอรมัน (DECHEMA e.V) ในประเทศไทย ปัจจุบัน

ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking

Source: http://www.school-labs.com/

สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)

กระบวนการนีจ้ ริงๆ แล้ว เป็นกระบวนการทางฟิสกิ ส์ใน การท�ำให้เกิดฝุน่ ผง ละอองหรือฝอย โดยละอองในกรณีนคี้ อื อะตอมซึง่ หลุดออกจากผิวของแข็งทีถ่ กู กระหน�ำ่ ยิงด้วย Ions พลังงานสูง (ส่วนใหญ่จะใช้ Ions ของก๊าซเฉื่อย) จนไปล่อง ลอยอยู่ในสถานะก๊าซ พฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการทางฟิสิกส์นี้ถูกน�ำมา ประยุกต์ใช้ในทางเทคนิคได้หลากหลายรูปแบบตามวัตถุ ประสงค์การใช้งาน เช่น เพื่อช่วยในการวิเคราะห์หาองค์ ประกอบทางเคมีของชิ้นงาน (อาทิ Mass spectrometry) เพื่องานกัดผิวงาน (Plasmaaetzen = Reactive – ion eteching) และเพื่อการเคลือบผิวงาน กรณีของความต้องการกัดผิววัสดุออกไปจ�ำเป็นต้องให้ ได้ Ions มีประจุพลังงานจ�ำนวนหนึ่งที่มากพอถ่ายทอดให้แก่ อะตอมของผิววัสดุ เมื่อ Ions ถูกยิงเข้ากระทบกับผิวของ วัสดุนั้น (เปรียบเทียบได้กับการแทงลูกบิลเลียด) ซึ่งจะเกิด การกระแทกต่อเนื่องไปยังอะตอมข้างเคียงให้สั่นคลอนไป ด้วยและจะท�ำให้อะตอมส่วนหนึ่งซึ่งอยู่นอกสุดของผิวที่มี โมเมนตัมมากพอจะหลุดลอยออกจากวัสดุไป ผลที่จะได้จาก Sputtern ขึ้นอยู่กับตัวแปรหลักๆ คือ พลังงานจลน์และมวลของ Ions อีกทั้ง พลังงานยึดเหนี่ยว ของอะตอมทีผ่ วิ วัสดุและมวลของอะตอมนัน้ ด้วย เพือ่ ทีจ่ ะต่อย

เอาอะตอมของวัสดุให้หลุดออกจะต้องให้ Ions มีพลังงาน (ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุ) อย่างน้อยประมาณ 30-50 eV ถ้าได้สูงกว่าระดับนี้ขึ้นไปผลลัพท์ที่ได้ก็จะเพิ่มสูงขึ้น แต่เมื่อ เพิ่มพลังงานให้ Ions มากเกินไป ผลลัพท์จาก Sputter จะ ไม่ดีขึ้น ทั้งนี้ เพราะพลังงานจะเสียไปจากการถ่ายทอดสู่ชั้น อะตอมที่ลึกลงไปในเนื้อวัสดุซึ่งไม่ส่งผลมาที่ผิวของงานแต่ อย่างไร

Sputter deposition

ละอองอะตอมทีล่ อ่ งลอยอยูใ่ นสถานะก๊าซอันเป็นผลของ พฤติกรรมจากกระบวนการทางฟิสิกส์ดังกล่าวข้างต้นนั้น หากสามารถท�ำให้มันเกาะตัวลงบนผิวงานได้ก็จะเกิดชั้น บางๆ เคลือบติดอยู่ที่ผิวงานนั้น แต่มันจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ ความดั น ก๊ า ซในห้ อ งเคลื อ บของกระบวนการนั้ น ต�่ ำ กว่ า บรรยากาศในระดับทีล่ ะอองอะตอมสามารถแพร่ไปถึงผิวงาน ได้โดยไม่ชนเข้ากับอะตอมของก๊าซอืน่ ๆ ทีห่ ลงเหลืออยูใ่ นห้อง เคลือบเสียก่อน ซึ่งนั้นก็หมายความว่า เราจะต้องมีการปรับ ให้ระยะอิสระเฉลี่ย (Mittlere freie Weglaenge = Mean free path) ของอนุภาคก๊าซให้มีระยะอย่างน้อยเทียบเท่า ระยะห่างระหว่างสารเคลือบและชิ้นงาน กรณีที่สารเคลือบ กับชิ้นงานห่างกันประมาณ 30 cm จ�ำเป็นต้องปรับความดัน

70 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Guru-070-071.indd 70

1/26/2015 7:19:53 PM


1. ท่อป้อนก๊าซ (>>10-2mbar) 2. ท่อดูด 3. Anode 4. ชิ้นงานที่ถูกเคลือบด้วยสารเคลือบ 5. สารเคลือบ 6. Cathode 7. แผงป้องกัน 8. ไฟฟ้าก�ำลังสูง ขั้นตอนเคลือบของกระบวนการ A. อาร์ก้อนอะตอมถูกท�ำให้เป็น Ion B. อาร์กอน Ion ประจุบวกกระแทก เข้ากับผิวของสารเคลือบ C. อนุภาคของสารเคลือบ

รูปที่ 5: แสดงให้เห็นถึงหลักการท�ำงานของ DC-Cathode Sputtering

ก๊าซไม่ให้สูงกว่าประมาณ 2x10-4 mbar มิฉะนั้นอาจได้ผิว เคลือบทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ำ�่ ลง (ศึกษาลึกลงไปในเรือ่ งของฟิสกิ ส์ พลังงานสูง, particle physics = Teilchenphysik) ต้นก�ำเนิด Ions ส่วนใหญ่ที่ใช้จะเป็นแบบการคลาย ประจุไฟฟ้ากระแสตรงในก๊าซ ซึ่งในเยอรมันเรียก DCSputtern และอังกฤษเรียก direct current sputtering ทั้งนี้ ก็เนื่องจากว่ามีกระแสไฟฟ้าจาก Ions บวกปะทะเข้า กับสารเคลือบตลอดเวลา รูปที่ 5 แสดงให้เห็นถึงหลักการท�ำงานของ DC - Cathode Sputtering ไฟฟ้ากระแสตรงหลายกิโลโวล์ลถูกต่อ เข้าที่ขั้ว Cathode และ Anode ของเครื่อง ภายในห้อง เคลือบถูกเติมเต็มด้วยก๊าซเฉื่อย (ส่วนใหญ่ใช้อาร์กอน) ที่ ความกดดันใต้บรรยากาศประมาณ 10-2 mbar เมื่อเดิน เครื่องจะเกิดประกายประจุไฟฟ้า ซึ่งก็คือ อีเล็คตรอน จาก ขั้ว Cathode ที่ก่อให้เกิด Ions กับอะตอมของก๊าซเฉื่อยใน ห้องเคลือบเป็นพลาสม่าและ Ions นีจ้ ะเป็นตัวกระเทาะเอา อนุภาคสารเคลือบที่ขั้ว Cathode ออกไปเคลือบติดบนผิว งานที่ขั้ว Anode ถ้าใช้สนามแม่เหล็กช่วยควบคุมพลาสม่า ณ ต�ำแหน่ง Cathode ด้วยจะช่วยท�ำให้ประสิทธิภาพการเคลือบเพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกันก็สามารถลดอุณหภูมิของชิ้นงานลงได้ด้วย (100-200 oC) ทั้งนี้ เพราะ Secondary electron จะไม่ชน เข้ากับชิ้นงาน หากใช้ Reactive Gas ให้หอ้ งเคลือบแทนก๊าซเฉือ่ ยจะ ท�ำให้อนุภาคสารเคลือบที่ล่องลอยอยู่ในก๊าซนั้นเกิดการจับ ตัวกับ Reactive Gas ท�ำให้สามารถสร้างชั้น คาร์ไบด์, ไน ไตร, ออกไซด์ ฯลฯ บนผิวงานได้ Sputter deposition จัดเป็นเทคนิคการเคลือบผิวที่ ส�ำคัญมาเป็นเวลานานจนเกิดการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี ออกไปอีกมากมายหลายรูปแบบ ทั้งนี้ ก็ด้วยเป้าหมายและ

วัตถุประสงค์ของงานที่ต้องการแตกต่างกันไป ซึ่งโดยพื้น ฐานแล้วนอกจาก DC-Sputtern แล้วยังมีเทคโนโลยีอื่นๆ อีก อาทิ (1) HF – Sputtern ที่ใช้ความถี่สูง ซึ่งอังกฤษเรียก radio frequency sputtering (2) Ionenenstrahlsputtern หรื อ Ion beam assisted deposition

(3) Maganetronsputtern หรือ Megnetron sputtering และ (4) Reaktives Sputtern หรือ Reactive sputtering เราคุยกันเกี่ยวกับเทคโนโลยี PVD เพื่อการเคลือบผิว มา 3 ตอน ซึ่งไม่ลึกจนเกินไปที่จะเข้าใจได้ หวังว่าจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่านอยู่บ้างไม่มากก็น้อยครับ... สวัสดี​ี

เอกสารอ้างอิง Rudolf Sautter ; “Fertigungsverfahren” Vogel Fachbuch – Kamprath Reihe 1. Aufl.1997 Vogel Verlg und Druck GmbH & Co.KG, Wüüurzburg Germany www.wikipedia.de ; “Beschichtung” “Physikalische Gasphasenabscheidung” “Thermisches Verdampfen” “Lichbogen” “Sekundarion-Massenspektrometrie” “Ionengestuetzte Deposition” “Ionenimplantation” “Teilchenphysik” Sulzer Metco ; “Plasmages tüuütze Oberfläachenbeschichtung 2010 Die Bibliothek der Technik 329 Verlag Moderne Industrie Freising, Germany www.plasma.de ; “Beschichten mittels Sputterverfahren”

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Guru-070-071.indd 71

| 71

1/26/2015 7:19:57 PM


WHITE PAPER | Mark Cundle

การออกแบบ PCB ทีเ่ หมือนกับทักษะของผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยพิจารณาถึงการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า โดยการ ออกแบบและแก้ไขให้ถกู ต้องตัง้ แต่เริม่ ต้นจะช่วยลดต้นทุนการผลิต การทดสอบ และการออกแบบสร้างบอร์ดซ�ำ้ อีก ประเด็นทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) และ การรบกวน (Interference) ต่างก็เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ต่อการออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์ (PCB) ถ้าหากเราค�ำนึงถึง ประเด็นเหล่านี้มาตั้งแต่แรกตามขั้นตอนของการวางโครง ร่างบอร์ด (Board Layout) ก็จะสามารถช่วยลดปัญหาโดย รวมได้จริง ซึง่ แหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้า (Power Supply) ต่างๆ ล้ ว นเป็ น ต้ น เหตุ ข องการรบกวนที่ ส ่ ง ผลให้ ส มรรถนะที่ ออกแบบไว้ลดลง และยังข้ามไปรบกวนอุปกรณ์ภายนอกอืน่ ๆ ในขณะเดียวกันสัญญาณของมันเองยังไปรบกวนส่วนอื่น ภายในวงจรและลดสมรรถนะของระบบอีกด้วย บทความนี้ จะมาท�ำความรูจ้ กั เกีย่ วกับหน้าทีข่ องระบบ

และการพิ จ ารณาถึ ง เส้ น วงจร ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การรบกวน (Noisy Lines) และเส้นวงจรทีไ่ วต่อการรบกวน (Sensitive Lines) ทีม่ อี ตั ราส่วนของสัญญาณต่อการรบกวน (S/N) ต�ำ่ ภายใต้ความสัมพันธ์กับส่วนอื่นๆ ซึ่งจะช่วยให้การวางโครง ร่างบอร์ดสามารถท�ำได้อย่างเหมาะสมที่สุด และเป็นการ หลีกเลีย่ งปัญหาต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ อีกภายหลังการออกแบบ แม้ว่าเราจะสามารถขจัดการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Interference: EMI) ออกไปในภายหลัง ได้ โดยการเพิ่มตัวกรองสัญญาณไว้ในจุดที่เกิดการรบกวน หรือใช้วัสดุโลหะปิดคลุม (Metal Enclosure) เพื่อกีดขวาง การแผ่รังสี แต่วิธีการนี้อาจจะเป็นทางเลือกที่มีราคาแพง

อีกทั้ง ยังเพิ่มเวลาและเพิ่มต้นทุนของกระบวนการ พัฒนาไปจนถึงการทดสอบและการอออกแบบสร้างบอร์ด ซ�้ำอีก ผลกระทบทีร่ มิ ขอบ (Edge Effects) และคอนเน็ก เตอร์ ได้กลายเป็นส่วนส�ำคัญในประเด็น EMI เมื่อมีการ ออกแบบสร้างบอร์ดซ�้ำอีกก็ยังต้องเกี่ยวข้องกับเส้น I/O (อินพุต/เอาต์พตุ ) อยูต่ อ่ ไป ดังนัน้ การน�ำเอาผลกระทบจาก EMI ไปพิจารณาตัง้ แต่ชว่ งเริม่ ต้นของการออกแบบบอร์ด ก็ จะสามารถเพิม่ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ขนั้ สุดท้ายได้อย่างมีนยั ส�ำคัญ และหลีกเลีย่ งอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยไม่ทนั ตัง้ ตัว

72 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P72-74_WHITE PAPER.indd 72

26/1/2558 23:20:49


คุณวรรณวดี อัศว์สิเ ต�ำแหน่ง กรรมการผ บริษัท นครไชยศรีอุต

ภาพที่ 1: วงความร้อนในการออกแบบการแปลงผันพลังงานจากบริษัท Linear Technology

แหล่งจ่ายก�ำลัง

โครงร่างของบอร์ดในทุกโครงงานที่จะเป็นตัวตัดสินว่า แหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้า (Power Supply) นั้นจะประสบผล ส�ำเร็จหรือล้มเหลว โดยดูจากการท�ำงานของส่วนต่างๆ ทีม่ ี ต่ อ EMI และพฤติ ก รรมทางความร้ อ นที่ เ กิ ด ขึ้ น การ ออกแบบโครงร่างของแหล่งจ่ายก�ำลังแบบสวิตชิ่งนั้นไม่ใช่ เรื่องยาก แต่บ่อยครั้งที่เรื่องนี้ถูกปล่อยละเลยจนกระทั่งไป ถึงกระบวนการออกแบบ โครงร่างบอร์ดทีส่ ร้างไว้ดตี งั้ แต่เป็นต้นแบบครัง้ แรกนัน้ ไม่ได้ทำ� ให้ต้นทุนเพิ่มขึ้นแต่อย่างใด แต่ในความเป็นจริงนั้น กลับช่วยรักษาทรัพยากรเอาไว้ได้ ทัง้ จากการสร้างตัวกรอง EMI การชีลด์ทางกล การใช้เวลาทดสอบด้าน EMI และ การทดลองใช้ PCB โดยแหล่งจ่ายแบบสวิตชิ่งสามารถแผ่ รังสีดว้ ยความถีท่ สี่ ง่ ผลกระทบต่อวิทยุทวี่ างอยูใ่ กล้ๆ ได้ แต่ ถ้าหากโครงร่างบอร์ดที่ได้รับการออกแบบมาดีจะสามารถ หลีกเลี่ยงความต้องการชีลด์ในระบบได้ ปัญหา EMI มาจากการเปลีย่ นแปลงในลูปกระแสอย่าง รวดเร็ว ดังนั้น เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาลูปร้อน (Hot Loops) เหล่ า นี้ หรื อ หากต้ อ งการความมั่ น ใจว่ า จะไม่ เ กิ ด การ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วในลูปกระแส จะต้องคิดสร้างใหม่ ด้วยการออกแบบให้ต่างไปจากเดิมทั้งหมด แบบแผนของ แหล่งจ่ายก�ำลังที่สร้างความแตกต่างได้ เช่น ใช้ Buck Converter หรือ Fly Back Converter ที่จะสร้างความต่าง ในลูปกระแสสลับแต่ก็ต้องท�ำด้วยความระมัดระวังในจุดนี้ เพราะบางครั้งการใช้เทคนิควิธีภายในเลเยอร์ของบอร์ดก็ สามารถช่วยเรื่องนี้ได้ โดยน�ำมาใช้เป็นชีลด์ป้องกันผลกระ ทบจากการแผ่รังสีต่างๆ และลดการใช้ตัวกรองหรือการ ใช้โลหะปิดคลุมที่มีราคาแพง โดยต้องสร้างความมั่นใจว่า ลูปเหล่านี้ถูกขจัดออกไปด้วยวิธีการต่อเลเยอร์ที่มีความ ต่างกัน และขจัดออกไปจากเส้นวงจรที่ไวต่อการรบกวนที่ มีอัตราส่วน S/N ต�ำ่ รวมทั้งช่วยลดผลกระทบต่อสายก�ำลัง (Power Lines) ในขณะที่ระบบหยุดนิ่ง

เส้นสัญญาณ

ปัญหาใหญ่ส�ำหรับเส้นสัญญาณ (Signal Line) คือ การ รบกวนจากพิน I/O ซึ่งมักเกิดจากสายอากาศขนาดใหญ่ และในการออกแบบเดียวกันนั้น การสวิตชิ่งของสัญญาณ ทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับส่วนที่เป็นริมขอบ (Edge) เดียวกันและ ยังสามารถสร้างสัญญาณยอดแหลม (Spike) มารบกวน

อย่างมากในช่วงเวลาปกติ ยิ่งเมื่อวงจรต้องท�ำงานภายใต้ อัตราสัญญาณนาฬิกาที่เร็วมากขึ้น สัญญาณเหล่านั้นยิ่งมี ความส�ำคัญต่อการแก้ไขงานออกแบบบอร์ดเพิ่มขึ้น การไขว้แทรก (Crosstalk) จากสภาพคาปาซิทีฟและ อินดักทีฟที่เกิดขึ้นเนื่องจากการขนานกันของเส้นตัวน�ำใน ช่วงสั้นๆ การรบกวนที่เกิดขึ้นนี้จะเป็นสัดส่วนกับระยะที่ ตัวน�ำขนานกัน ความถี่ แอมปลิจูดของแรงดันไฟฟ้าจาก แหล่งจ่าย และอิมพีแดนซ์ทเี่ ป็นปัญหา และจะเป็นส่วนกลับ กันกับช่วงที่ตัวน�ำถูกแยกออกจากกัน ปัญหานีส้ ามารถลดลงได้ ด้วยการเก็บเส้นตัวน�ำทีก่ อ่ ให้ เกิดการรบกวนออกไปจากเส้นที่ไวต่อการรบกวน และหลีก เลี่ยงการเดินเส้นวงจรที่ก่อการรบกวนไปอยู่ที่ริมขอบของ บอร์ ด ให้ จั ด เส้ น ตั ว น� ำ ที่ ก ่ อ การรบกวนไปอยู ่ เ ป็ น กลุ ่ ม เดียวกันโดยที่มีเส้นกราวด์อยู่ล้อมรอบ ซึ่งจะช่วยลดการ รบกวนจากการคัปปลิง้ เข้ากับกราวด์มากกว่าทีจ่ ะไปคัปปลิง้ กับสายสัญญาณอื่นๆ อีกทั้งยังมีความส�ำคัญต่อเส้น I/O ในกรณีที่การสวิตชิ่งเป็นสาเหตุท�ำให้เกิดการรบกวนและ สามารถแผ่รังสีออกไปจากระบบ สัญญาณทีอ่ าจจะเป็นปัญหาท�ำให้เกิดการรบกวน ก็ควร ที่จะน�ำกลับลงกราวด์โดยจัดไปไว้ที่ด้านล่าง ซึ่งวิธีการนี้จะ ช่วยลดอิมพีแดนซ์ ลดแรงดันไฟฟ้ารบกวน และลดพื้นที่ การแผ่รังสี

Clock Tree เครือข่ายการจ่ายสัญญาณนาฬิกา

แหล่งก�ำเนิดการรบกวนอันดับสาม คือ วงจรออสซิล เลเตอร์ เมื่อออสวิลเลเตอร์มีการแกว่งสัญญาณแบบ Railto-Rail รวมทั้งความถี่หลักมูลและฮาร์มอนิกส์ต่างก็ถูกน�ำ ส่งไปที่ด้านเอาต์พุต มีข้อแนะน�ำก็คือ ให้เก็บคริสตัลและตัว ถังของวงจรแยกออกไปจากองค์ประกอบอื่นและเส้นวงจร บน PCB รวมทั้งการท�ำพื้นที่ลูปให้มีขนาดเล็ก ซึ่งจะช่วย หลีกเลี่ยงปัญหานี้และป้องกันสัญญาณไปคัปปลิ้งกับองค์ ประกอบอืน่ เช่น อินดักเตอร์ขนาดใหญ่ โดยส่วนมาก EMI จะเกี่ยวข้องกับปัญหาการไขว้แทรกที่เกิดขึ้นรอบๆ คริสตัล ดังนัน้ ให้รกั ษาระยะระหว่างออสซิลเลเตอร์กบั องค์ประกอบ อืน่ เอาไว้อย่างน้อย 2 ชัว่ โมง เพือ่ ลดความไวต่อการรบกวน ที่มักจะเกิดขึ้นกับส่วนใดส่วนหนึ่งภายในโซน (จะกล่าวถึง โซนในหัวข้อต่อไป)

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P72-74_WHITE PAPER.indd 73

73

26/1/2558 23:20:51


ภาพที่ 2: วงความร้อนเดียวกันในแผนภาพแผงวงจร

สายอากาศแผ่รังสี

เส้นทางวงจรที่มีระยะประมาณ 8 ชั่วโมง หรือยาวกว่า นี้จะไม่สามารถยับยั้งการเป็นรูปแบบของสายอากาศที่แผ่ รังสีในแถบคลื่น FM แต่เราสามารถแก้ปัญหานี้ได้ไม่ยาก เพียงแค่หลีกเลีย่ งการท�ำเส้นสัญญาณทีย่ าว และยุตกิ ารเป็น สายอากาศด้วยการต่อรีซิสเตอร์อนุกรมไว้เป็นตัวหน่วง โดยไม่ทำ� ให้การถ่ายโอนข้อมูลให้ชา้ ลงวิธกี ารจัดท�ำโครงร่าง บอร์ดนี้สามารถป้อนกลับไปที่ Netlist (ส่วนด�ำเนินการทาง ข้อมูลการต่อองค์ประกอบทางอิเล็กทรอนิกส์) ไว้เป็นข้อมูล ส�ำหรับกระบวนการสร้างซ�ำ้ ในแบบเดียวกัน เส้นทางวงจรที่หักมุมแหลมมากๆ สามารถแผ่รังสีออก มาจากจุดที่เกิดมุมนั้นได้ ดังนั้น การตรวจสอบด้วยกฎของ การออกแบบจะเหมือนเป็นการปักธงไว้เป็นจุดสังเกตใน เรื่องนี้ เส้นทางวงจรที่หักมุมยังท�ำให้เกิดความเสี่ยงต่อ ผลผลิตของกระบวนการ ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงปัญหานี้ เพื่อให้ได้ประโยชน์เพิ่มขึ้น

โซน

การจัดโซนของส่วนที่ท�ำงานเหมือนกันให้เป็นกลุ่ม เดียวกัน จะท�ำให้เห็นถึงความต้องการของโครงร่างบอร์ด ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยการจัดองค์ประกอบทางแอนะลอก ทัง้ หมดให้อยูใ่ นพืน้ ทีห่ นึง่ ของบอร์ดแล้วท�ำชีลด์ปอ้ งกัน โดย การแยกออกจากกราวด์เพลน (Ground Plane) หรือ ออกแบบเส้นกราวด์ส�ำหรับป้องกันโซนจากภาคก�ำลังหรือ วงจรทางดิจิทัล ซึ่งจะช่วยลดความไวต่อการรบกวน วิธี

การนีย้ งั ช่วยให้มเี วลาส�ำหรับการออกแบบในพืน้ ทีท่ างแอนะ ลอกของบอร์ดได้มากขึ้น โดยที่องค์ประกอบทางดิจิทัลมี ความไวต่อการรบกวนน้อยลง ส�ำหรับข้อแนะน�ำในการ ปฏิบัติที่คล้ายกัน คือ ให้จัดองค์ประกอบของภาคก�ำลังไป อยู่ในพื้นที่หนึ่งของบอร์ดก็จะหนีพ้นจากความไวต่อการ รบกวนจากองค์ประกอบอื่นๆ ได้อย่างแน่นอน

มุมแหลมจนเกินไป แต่สิ่งเหล่านี้อาจจะไม่ได้ช่วยอะไรเกี่ยว กับ EMI ที่ผู้ออกแบบต้องเผชิญแต่ประเด็นที่ควรเอาใจใส่ คือ เส้นที่มีความอ่อนไหว เส้นทางสัญญาณที่ขนานกันและ แนวเส้นยาวๆ และการหาวิธีการท�ำให้เกิดความเหมาะสม ทีส่ ดุ แบบแมนวลจะมีนยั ส�ำคัญต่อการช่วยเพิม่ คุณภาพและ สมรรถนะของการออกแบบ

การจัดเส้นทางวงจรโดยอัตโนมัติ

EMI เป็นเกณฑ์ทสี่ ำ� คัญอย่างหนึง่ ในการออกแบบโครง ร่างบอร์ด ถ้าหากปล่อยความมั่นใจไปกับการจัดเส้นทาง วงจรโดยอัตโนมัติ และการตรวจสอบด้วยกฎการออกแบบ ก็เหมือนกับการทิง้ โครงงานให้มปี ญ ั หาในภายหลัง การใส่ใจ ต่อประเด็น EMI ทีต่ อ้ งเผชิญในการออกแบบและการสร้าง โซนการท�ำงานโดยรวมเอาเส้นวงจรต่างๆ มาจัดเส้นทาง โดยอัตโนมัติได้ ก็จะเป็นการเพิ่มคุณค่าในการออกแบบ เหมือนกับทักษะของผู้เชี่ยวชาญ

เครื่องมือส�ำหรับการจัดเส้นทางวงจรแบบอัตโนมัติ (Auto Routing) ดูเหมือนว่าจะสามารถให้ความช่วยเหลือ ด้วยการน�ำเอาปัจจัยต่างๆ มาพิจารณา และใช้เป็นข้อ ก�ำหนดในการท�ำงานของเครือ่ งมือ การจัดเส้นทางวงจรโดย อัตโนมัติให้เป็นโซนบนบอร์ดจะช่วยให้กระบวนการท�ำโครง ร่างบอร์ดท�ำได้รวดเร็วขึ้น ขณะเดียวกันยังช่วยลดเวลาที่ ต้องใช้ในการออกแบบเพื่อลดผลกระทบจาก EMI ให้เหลือ น้อยทีส่ ดุ บางครัง้ การจัดเส้นทางวงจรโดยอัตโนมัตอิ าจจะ ไม่มีการปรับปรุงเส้นสัญญาณที่ยาว หรือปล่อยให้เส้นที่ ก่อการรบกวนวิง่ อยูใ่ กล้กบั จุดทีอ่ อ่ นไหวต่อการรบกวน โดย เฉพาะอย่างยิง่ ในจุด I/O หากเราสามารถรับรูถ้ งึ ผลกระทบ จาก EMI ที่มีอยู่ในเส้นวงจรเหล่านี้ ก็จะช่วยขัดเกลาการ ออกแบบโดยอัตโนมัติให้ดียิ่งขึ้นได้ ยกตัวอย่างการใช้ซอฟต์แวร์เครื่องมือในการจัดเส้น ทางวงจรโดยอัตโนมัติที่มี Design Rule Checking หรือ การตรวจสอบด้วยกฎการออกแบบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจ ว่าเส้นทางวงจรจะไม่อยูใ่ กล้กนั จนเกินไป และเส้นโค้งไม่หกั

ข้อแนะน�ำทุกอย่างที่กล่าวมานั้น สามารถช่วยให้การ ออกแบบเป็นไปอย่างเหมาะสมและหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิด ต้นทุนจากการออกแบบสร้างบอร์ดซ�้ ำใหม่ การเพิ่มตัว กรองสัญญาณและการใช้โลหะปิดคลุม การพิจารณาถึง EMI อย่างถูกต้องตั้งแต่ตอนเริ่มต้นออกแบบบอร์ด จะ สามารถช่วยลดต้นทุนและควบคุมการออกแบบและผลิต ให้อยู่ในช่วงเวลาที่ก�ำหนด เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดเท่า ที่จะท�ำได้

74 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

P72-74_WHITE PAPER.indd 74

26/1/2558 23:20:51


พิชัย ถิ่นสันติสุข / PHICHAI TINSUNTISOOK (royal@royalequipment.co.th; http://www.royalequipment.co.th) ประธานกลุ่มบริษัท ราชาอีควิปเมนท์ จ�ำกัด และประธานกลุ่มอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย President, Royal Equipment Co., Ltd. Chairman, Renewable Energy Industry Club of Federation of Thai Industries (F.T.I.)

พิชญ์ รอดภัย / PETE ROTPAI (pr150286@gmail.com) นักวิเคราะห์เศรษฐกิจ การเงิน การลงทุน และผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐกิจ การลงทุน โครงสร้างการเงิน และการธนาคาร การศึกษา : บธ.บ. สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เกียรตินิยม) และ MSc. in Finance, University of York, UK.

ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ/ NATAWUDH PINTONGKUM (natawudh@hotmail.com) Head of Marketing, Interlink Communication PCL. นักการตลาดรุ่นใหม่ผู้อยู่เบื้องหลังหลากหลายแบรนด์ดัง และเป็นคนแรกๆ ที่ Intergrated การตลาดรวมกับระบบไอที จบการศึกษาทั้งด้านการตลาด เศรษฐศาสตร์ และไอที ทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้ง ยังได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษจากสถาบัน การศึกษาชั้นน�ำ และเป็นที่ปรึกษาด้านการตลาดให้กับหลายองค์กร

P.76

ALTERNATIVE ENERGY

P.80

BOTTOM LINE

P.83

INDUSTRIAL MARKETING

“คอลัมน์นี้จึงเป็นแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ สะท้อนความคิดความ เห็นจากภาคเอกชนอย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์ โดยตรงกับนักลงทุนหรือผู้ที่สนใจลงทุนในธุรกิจนี้ เนื่องจาก พลังงานทดแทนเป็นทั้งธุรกิจ สาธารณูปโภค การลงทุน และความ มั่นคงของรัฐ ดังนั้น หากเกิดความ เปลี่ยนแปลงใดๆ ย่อมส่ง ผลกระทบโดยตรงกับส่วนรวม”

“ว่าด้วยเรื่องบทวิเคราะห์วิจารณ์ข่าวสารและปรากฏการณ์ด้าน เศรษฐกิจ – การเงินที่เกิดขึ้นในแวดวงธุรกิจ และอุตสาหกรรมทั่ว โลกอย่างรอบด้าน เพื่อเป็นข้อมูลส�ำหรับผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมน�ำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องกับธุรกิจ”

“มุมมองด้านการตลาด บทวิเคราะห์ เทคนิค ข้อมูลที่น่าสนใจ รวม ทั้ง กลยุทธ์ทางการตลาดที่หลากหลายเพื่อผู้ประกอบการยุคใหม่ได้ น�ำไปปรับใช้ ต่อยอด เพื่อก้าวเข้าสู่ความเป็นผู้น�ำ และชิงความได้ เปรียบทางการตลาดอย่างยั่งยืน”

HORIZONTAL COMPETENCY ดร. ฉันทมน โพธิพิทักษ์ อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ การศึกษา: สถ.บ. เกียรตินิยม (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถ.ม. (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร Ph.D. (Urban Environmental Management) Asian Institute of Technology ประสบการณ์: ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านมุมมองทัศนียภาพ ประสบการณ์มากกว่า 9 ปี นเรศ เดชผล / NARES DECHPOL (orange_smallfish@hotmail.com, www.orangesmallfish.com) หนึ่งในผู้บริหารเว็บไซต์ชื่อดังของเมืองไทย ผู้คร�่ำหวอดในวงการไซเบอร์และไอที อีกทั้ง ยังเป็นผู้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้การหลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน

ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง / DR.SITTICHAI FARANGTHONG (farlangthong@hotmail.com) ผู้อ�ำนวยก�ำรหลักสูตรบริห�ำรธุรกิจมห�ำบัณฑิต วิทย�ำลัยเซ�ำธ์อีส์บ�ำงกอก และกรรมก�ำรสอบวิทย�ำนิพนธ์ มห�ำวิทย�ำลัยร�ำชภัฏสวนสุนันทา อาจารย์พิเศษวิทย�ำลัยของรัฐ และที่ปรึกษ�ำสม�ำคมภัตต�ำค�ำรไทย ทั้งยังเป็นคอลัมนิสต์พิเศษให้กับหนังสือพิมพ์และนิตยส�ำรต�่ำงๆ อีกม�ำกม�ำย

��������-2015.indd 63

P.86

FACTORY 3.0

P.89

REALTIME

P.92

LOGISTIC DESIGN

“แนวคิดของอุตสาหกรรมที่เน้นศูนย์กลาง คือ สังคมและชุมชน ซึ่ง นอกจากภาคอุตสาหกรรมจะเน้นในตัวผลิตภัณฑ์แล้ว ยังต้องส่ง เสริมคุณค่าและใส่ใจต่อส่วนรวม รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งปัจจุบัน โลกยุค 3.0 เป็นโลกยุคการสื่อสาร และสังคมเป็นหลัก ที่จ�ำเป็นจะ ต้องมุ่มเน้นในภาคส่วนรวม พร้อมใส่ใจในสังคมและสิ่งแวดล้อม”

“เท่าทันการเปลี่ยนแปลง รับรู้ข้อมูลเตือนภัย และก้าวไปพร้อมกับ การพัฒนาทางเทคโนโลยีด้านไอที อินเทอร์เน็ต และการสื่อสาร เพื่อ การใช้งานเครื่องมือไอทีอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป้าหมาย คือ การน�ำไปสนับสนุน และประยุกต์ใช้กับองค์กรในการลดต้นทุนและ เพิ่มพูนผลผลิต”

“การแข่งขันของธุรกิจปัจจุบันนับวันจะมีทวีความรุนแรงขึ้น ดังนั้น ธุรกิจะต้องมีการออกแบบระบบการโลจิสติกส์ ที่สามารถตอบโจทย์ ทางธุรกิจที่ยากขึ้นด้วยส่วนผสมที่หลากหลาย มิใช่มุ่งเน้นเพียงลด ต้นทุนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ องค์กรด้วย”

1/26/2015 9:23:58 PM


ALTERNATIVE ENERGY |

พิชัย ถิ่นสันติสุข

วิเคราะห์ Feed-in Tariff คสช.: การแข่งขันแบบชุมชนไร้แต้มต่อ

Feed-in Tariff Analysis: Local Communities Compete without Extra Handicap แปดปีเห็นจะได้ที่การส่งเสริมพลังงานทดแทนของไทยใช้ระบบแอดเดอร์ (Adder) และใช้มาตลอดแปดปีโดยไม่มีการปรับ เปลี่ยนโครงสร้างหลัก ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียมากมาย มีบ้างที่ภาครัฐเสียค่าโง่ และก็มีบ้างเหมือนกันที่ภาคเอกชนโง่ คิด ง่ายๆ เองว่าอัตราที่รัฐก�ำหนดมาต้องคืนทุนได้ จึงต้องหมดตัวกันไปเป็นค่าโง่... วันนี้ธุรกิจพลังงานทดแทนไม่จ�ำกัด กลุม่ ธุรกิจ ใครสนใจและเรียนรูก้ ก็ า้ วสูธ่ รุ กิจได้ จะเรียกพลังงานทดแทนว่าเป็น ‘ธุรกิจมหาชน’ ก็คงไม่ผดิ แต่ผทู้ จี่ ะประสบ ความส�ำเร็จได้คงต้องอาศัยวิสัยทัศน์ เงินทุน และสิ่งส�ำคัญที่สุด คือ ความรู้จากการเรียนรู้ธุรกิจพลังงานทดแทน ซึ่ง เปรียบเสมือนเหรียญสองหน้ามีทั้งบวกและลบ อยู่ที่ว่าใครจะมองเหรียญด้านไหน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2557 กพช. (คณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ)ได้มีการเห็นชอบอัตราส่งเสริม พลังงานทดแทนระบบ FiT: Feed-in Tariff แบบลูกผสม กล่าวคือ มีการน�ำอัตราเงินเฟ้อมาค�ำนวณร่วมด้วย ซึ่งเรียก ชื่อตามภาคพื้นยุโรปว่า FiT Premium หลายคนดีใจแต่อีก หลายคนก็เสียใจ ส�ำหรับผูเ้ ขียนแล้วคงต้องตอบว่าดีมากกว่า ร้าย FiT Premium’58 ฉบับต้อนรับสู่ AEC นี้เป็นการส่ง สัญญาณว่า ภาครัฐตัง้ ใจให้เชือ้ เพลิงพลังงานทดแทนใดเติบโต หรือเพียงแค่คงอยู่ ตามมาดูกันว่าภาครัฐคิดอย่างไร หน้าตาของอัตรารับซื้อไฟฟ้าใหม่แบบลูกผสมระหว่าง Adder + Feed-in Tariff โดยตั้งชื่อใหม่ให้ดูไพเราะว่า ‘FiT Premium’ (เอฟไอที พรีเมียม) ก่อก�ำเนิดเกิดมาในสมัย คสช. อัตรานีไ้ ม่รวมถึงพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ซงึ่ ได้ประกาศอัตรา รับซื้อไฟฟ้าแล้ว แบบติดตั้งบนพื้นดินหรือชื่อที่เข้าใจง่ายใน วงการก็คือ Solar Farm (โซล่าร์ฟาร์ม) อัตราส่งเสริมหน่วย ละ 5.66 บาท เป็นเวลา 20 ปีแบบไม่มีการ Floating ใดๆ ซึ่งคาดว่าจ�ำนวนกว่า 50% ของโครงการอาจจะมีการขาย เปลี่ยนมือสู่นักลงทุนเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับหุ้นของตน ในตลาดนั่นเอง ‘FiT Premium’ ไม่ทนั จะประกาศอย่างเป็นทางการ ทาง เร็กกูเลเตอร์ (Regulator) ก็ลดค่า FT ลงถึง 10 สตางค์ต่อ หน่วย ท�ำให้ผู้ที่มีรักแท้กับระบบ Adder เดิม เริ่มเงียบไป ตามๆ กัน ส่วนผู้ขายไฟฟ้าด้วยระบบ Adder เดิม รายได้ก็ จะลดลงหน่วยละ 10 สตางค์หลังจากขึ้นมากว่า 1 บาทใน เวลาไม่กปี่ ี เพือ่ ให้ผทู้ ไี่ ม่ใช่แฟนพันธุแ์ ท้พลังงานทดแทน (Renewable Energy) เข้าใจง่ายขึ้น จะขอให้ข้อมูลเพิ่มเติมจาก ตารางเท่าที่ได้รับฟังมา ดังนี้ 76 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Alternative Energy-076-079.indd 76

1/26/2015 9:33:53 PM


10. อัตราเงินเฟ้อขั้นพื้นฐาน (Core Inflation Rate) เป็น ส่วนบวกเพิ่มจากอัตราปกติประมาณ 1.5 - 2 % ส�ำหรับ ชีวมวลแล้วราคาเชื้อเพลิงเฉลี่ยปรับตัวสูงกว่าอัตรานี้ มาก คงต้องมีการปรับปรุงอัตราใหม่ทุกๆ 3 ปี นอกจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติให้ประกาศใช้ FiT Premium เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2557 แล้วยังมีความเห็นต่อท้ายที่ยากแก่การปฏิบัติและเกิด ความไม่เท่าเทียมกัน ดังนี้

1. FiT แบบคงที่ (Fixed) หมายถึง อัตรานีจ้ ะคงทีไ่ ปตลอด ระยะเวลาสัญญา ยกเว้นหากจะมีการแข่งขันด้านราคา (Bidding) ในกรณีสายส่งไม่เพียงพอต่อความต้องการก็ จะแข่งขันกันเฉพาะที่ตัวเลขคงที่นี้ 2. FiT แบบผันแปร (Variable) เป็นอัตราที่ผันแปรตาม Core Inflation (เงินเฟ้อขัน้ พืน้ ฐาน ไม่รวมราคาพลังงาน) อัตรานีก้ ระทรวงการคลังจะมีการประกาศทุกปี จึงไม่ตอ้ ง วิง่ เต้นให้เสียค่าใช้จา่ ย ตัวเลขเงินเฟ้อนีจ้ ะบวกเพิม่ อย่าง ต่อเนื่องเหมือนกับค่า FT ที่เพิ่มขึ้น แต่อัตราเงินเฟ้อ คงจะติดลบยาก นักลงทุนไม่ต้องห่วง ปัจจุบันอัตรานี้ เคลื่อนไหวอยู่ระหว่าง 1.5 - 2% แน่นอนกว่าหุ้นขึ้น-ลง เสียอีก โดยเริม่ คิดค�ำนวณให้กบั ผูท้ ขี่ ายไฟแบบ FiT Premium ในปีพ.ศ. 2560 เป็นต้นไป 3. อัตรา FiT ปัจจุบนั ทีย่ งั ไม่รวม Premium หากธุรกิจท่าน ดูตามตารางแนวนอนได้ค่า Premium เท่าไหร่ ก็ลอง บวกดู เช่น โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดไม่เกิน 1 MW ก็จะได้ FiT 5.34 บาทต่อหน่วย (kWh) และบวก Premium 50 สตางค์ต่อหน่วย ก็จะเท่ากับ 5.84 บาท เป็นเวลา 8 ปี หลังจากนั้นก็จะกลับมาที่อัตรา 5.34 บาทต่อหน่วยเช่น เดิม อย่าลืมว่าหากท่านขายไฟในปี พ.ศ.2560 ท่านก็จะ ได้บวกเพิ่มในอัตราเงินเฟ้อขั้นพื้นฐาน ยกเว้นพลังงาน ลมและพลังงานน�้ำ ซึ่งหมายรวมถึงพลังงานเซลล์แสง อาทิตย์ด้วย 4. ระยะเวลา ซึ่งตามมาตรฐานก็คือ 20 ปี ยกเว้นบ่อฝัง กลบขยะซึง่ ในระยะยาวจะลดการส่งเสริมลง เพือ่ ให้เป็น Zero Landfill โดยให้เหลือเฉพาะบ่อฝังกลบส�ำหรับขีเ้ ถ้า และกากของเสียทีย่ อ่ ยสลายไม่ได้ (Inert Waste) ในทีส่ ดุ แล้วคงต้องมีการฟื้นฟูบ่อฝังกลบขยะ (Rehabilitation) ทัว่ ประเทศเพือ่ ผลิตพลังงาน และคืนภูมทิ ศั น์ให้กบั ชุมชน

5. FiT Premium รอบนี้ภาครัฐส่งสัญญาณชัดเจนว่า จะ ส่งเสริมเชื้อเพลิงประเภท Bioenergy รวมทั้งแก้ไข ปัญหาขยะจากการก�ำหนดค่า Premium เป็นเวลา 8 ปี ตามอัตราลดหลั่นกันไป ส่วนปลายด้ามขวาน 3 จังหวัด ชายแดนใต้และ 4 อ�ำเภอในจังหวัดสงขลา ภาครัฐใจ กว้างให้ค่าไฟฟ้าเพิ่มอีก 50 สตางค์ต่อหน่วยเป็นเวลาถึง 20 ปี จากของเดิม คือ 1 บาทต่อหน่วยเพียง 7 ปีเท่านั้น 6. ขยะจากบ่อฝังกลบ (Sanitary Landfill) ส่วนขยะแบบ เทกอง (Open-Dumped Landfill) ถ้าอยากได้อัตราส่ง เสริมก็ต้องมีการปรับปรุงบ่อฝังกลบให้ดีก่อน อย่าลืมว่า อัตรา FiT มาจากค่าไฟฟ้าของคนทั้งประเทศ เพื่อน�ำมา ส่งเสริมให้ผลิตพลังงานทดแทนและรักษาสิ่งแวดล้อม 7. ก๊าซชีวภาพ หากมาจากน�ำ้ เสียและของเสีย คงไม่คอ่ ยมี ค�ำถาม แต่ถา้ เป็นพืชพลังงานก็คงต้องตอบค�ำถามมากมาย เท่าทีฟ่ งั มา ก็คอื เป็นการปลูกพืชเพือ่ ผลิตพลังงานโดยตรง อาทิ หญ้ายักษ์เนเปียร์ และพันธุไ์ ม้โตเร็วต่างๆ ส่วนท่าน ที่ปลูกพืชพลังงานเพื่อเป็นเชื้อเพลิงชีวมวลผลิตไฟฟ้า เช่น กระถินยักษ์ และไผ่ ก็ใช้อัตราชีวมวลไม่เกิน 1 MW ซึ่งเป็นอัตราเดียวกับก๊าซชีวภาพ (จากตารางข้างต้น) 8. พลังงานน�้ำ อาจไม่ใช่พลังงานเชิงพาณิชย์ เนื่องจาก พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นของรัฐ ภาคเอกชนจึงไม่มโี อกาสลงทุน 9. พลังงานลม เป็นพลังงานจากธรรมชาติ เช่นเดียวกับ พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ กระแสลมเฉลีย่ ในประเทศไทย ค่อนข้างต�่ำ และต้องใช้เวลาตรวจวัดลมกว่า 2 ปี จึงจะ สามารถตัดสินใจได้ว่า จะลงทุนหรือไม่ หากดูจากอัตรา FiT ที่ปรากฏ อาจหมายความว่าภาครัฐจะชะลอการส่ง เสริมพลังงานลมในประเทศไทย เนื่องจากมีผู้เสนอขาย เกินเป้าหมายแผนพัฒนาพลังงานทดแทน (AEDP) แล้ว แต่คงต้องดูกันต่อไปว่าจะลงทุนจริงๆ กี่เมกะวัตต์

“ได้เห็นชอบ การปรับปรุงรูปแบบจากการรับซื้อตาม ล�ำดับการยื่นข้อเสนอที่มีความพร้อมก่อน เป็นการคัดเลือก ข้อเสนอโครงการโดยใช้รูปแบบการแข่งขันทางด้านราคา (Competitive Bidding) โดยอัตรารับซื้อไฟฟ้าในรูป FiT จะ ใช้เป็นราคาเริม่ ต้นในระบบ Competitive Bidding ดังกล่าว โดยประโยชน์ที่ได้รับ คือ ภาครัฐสามารถก�ำหนดพื้นที่โซนนิ่ง ของโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนแต่ละเชื้อเพลิง ป้องกันการ แย่งชิงวัตถุดิบและสอดคล้องกับความสามารถการรองรับ ไฟฟ้าของระบบสายส่ง ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานด�ำเนินการ ออกประกาศหยุดรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ Adder โดยมีผลถัด จากวันที่ กพช.มีมติให้ออกระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรูปแบบ FiT ให้ แล้วเสร็จ ภายใน 30 มกราคม 2558 และเปิดให้มีประกาศ รับซื้อข้อเสนอขอขายไฟฟ้าใหม่ภายในไตรมาสแรกของปี 2558” หากมีการแข่งขัน (Bidding) กันจริงๆ แล้วก็ต้องระวัง จะเข้าต�ำรา “ปลาใหญ่กินปลาเล็ก” โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรง ไฟฟ้าชีวมวลในอนาคตก็อาจจะเหลือเพียงไม่เกิน 10 บริษัท ส่วนชุมชนและธุรกิจเอสเอ็มอี อย่าหวังมาแข่งขันเลย แค่ เตรียมเอกสารก็ไปไม่ถูกแล้ว แต่อาจจะมีอาชีพใหม่เกิดขึ้น นั่นคือ ยอมเป็นนอมินีให้บริษัทใหญ่ๆ ดูจะง่ายกว่า ยังมีปัญหาที่กระทรวงพลังงานต้องแก้ไขอีกมากมาย อาทิ การแย่งซื้อเชื้อเพลิงชีวมวลระหว่างอัตราส่งเสริม เก่าและใหม่ที่แตกต่างกัน แต่เมื่อมองภาพรวมแล้วต้อง ขอชม คสช. ที่ประกาศ FiT Premium มาเป็นของขวัญ รับปีแพะ และปัญหาคงต้องแก้ไขกันไป สงสัยอะไรอย่าง คิดเอาเอง มิฉะนัน้ แพะจะกลายเป็นหน่วยงานของรัฐ ท่าน สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ส�ำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ กระทรวงพลังงาน โทรศัพท์ 0-2140-6336 โทรสาร 0-2140-6289 หรือที่ส�ำนักนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) โทรศัพท์ 0-2612-1555 โทรสาร 0-26121364 หรืออีเมล์มาที่กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน reenergy.fti@gmail.com เรายินดีชว่ ยหาข้อมูลให้ทา่ นนัก อุตสาหกรรม งานเลีย้ งยังไม่เลิกรา กระทรวงพลังงานยังมีโครงการส่ง เสริมพลังงานทดแทนทยอยออกมาอีก ไม่วา่ ขยะอุตสาหกรรม หรืออาจจะมีเรือ่ งของความร้อนเหลือทิง้ จากโรงงาน (Waste Heat) ของท่าน รวมทั้งเทคโนโลยีใหม่ๆ ก็อาจจะได้น�ำมาส่ง เสริมร่วมกับ ‘FiT Premium’ ยุค คสช.ด้วย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Alternative Energy-076-079.indd 77

| 77

1/26/2015 9:33:58 PM


E

ight years with the Renewable Energy incentive called “Adder” has a lot of both advantages and disadvantages. Both government and private sector have to pay expense and stupidity. Some companies believe that the given rate could create the business. However, it doesn’t. Today, anyone can enter into renewable energy business, thus, can be called “RE is for everyone. “The successful enterprise has to rely on vision, capital and most importantly knowledge derived from learning of alternative energy business which is analogous as a twosided coin. It depends on which side it is looked on.

On December 15, 2014 EPPO (Energy Policy and Planning Office) approved to the hybrid FiT (Feed-in Tariff + Adder). This tariff includes core inflation rate into the calculation so called FiT Premium as in the European region. Many people are glad but plenty are sad. To me, it seems to be rather good than bad. This FiT premium does not include solar cell (Solar Farm) as it has been announced at 5.66 Baht per unit for 20 years without any floating. It is anticipated that more than half of the project may be sold to investors to increase more interest to the stock in stock market. “FiT Premium” has not yet been officially announced when the regulator decreases FT up to 0.10 baht per unit causing the admirers of original Adder to be silent. In the meantime, the earnings of those electricity vendors with original Adder also decreases 10 satang per unit after earning more than 1 baht within a few years. In this welcoming ASEAN Community issue, let’s take a look in FiT Premium 2015 which energies get higher support or just to maintain.

1. FiTF (Fixed FiT) is the fix incentive rate throughout contract unless, there is a bidding. In case the transmission line is inadequate. the bidding will be designated only by this fixed figure. 2. FiTv (Variable FiT) is vary from the core inflation rate (excluding energy price) which will be announced yearly by the Ministry of Finance. This rate is continuously increased between 1.5 - 2% which is positively than the stocks in the stock market. The FiTv is applied to those who start COD (Commercial Operation Date) in January 1, 2018 and later. 3. The current FiT does not include Premium yet. For example, a 1 MW Biomass power plant will earn FiT 5.34 Baht/kWh+FiT Premium 0.50 baht/ unit(kWh) = 5.84 baht/kWh for 8 Years. After 2017, the FiTv will vary on core inflation rate. 4. The 20 Years supporting period is the standard for most of energies unlike the landfill which the government promotes zero landfill campaign. The inert and ash waste landfill still remain. This campaign will rehab MSW and Industrial Waste Landfill to electricity and return the area back to the local communities nationwide. 5. The FiT Premium could be the signals from the government that they are promoting Bioenergy and solving the waste problem by giving the 8 years premium. The 4 sub-districts of

Feed-in Tariff (FiT) for Very Small Power Producer (VSPP) 2015 FiT Premium (Baht/unit)

FiT (Baht/unit) Install Capacity (MW)

FiTF

FiTV,2017

1) Waste to Energy (Integrated Management i.e. RDF) 3.21 Install Capacity ≤ 1 MW 3.13

FiT(1)

Support Period (Year)

Bio Energy Projects Located Support near Southern (8 First Border(2) Years) (Project Lifetime)

6.34

20

0.70

0.50

Install Capacity > 1-3 MW

2.61

3.21

5.82

20

0.70

0.50

Install Capacity > 3 MW

2.39

2.69

5.08

20

0.70

0.50

5.60

-

5.60

10

-

0.50 0.50

2) Landfill Waste 3) Biomass Install Capacity ≤ 1 MW

3.13

2.21

5.34

20

0.50

Install Capacity > 1-3 MW

2.61

2.21

4.82

20

0.40

0.50

Install Capacity > 3 MW

2.39

1.85

4.24

20

0.30

0.50

4) Biogas(Wastewater/Waste)

3.76

-

3.76

20

0.50

0.50

5) Biogas (Fuel Crops)

2.79

2.55

5.34

20

0.50

0.50

6) Hydro Energy Install Capacity ≤ 200 kW 7) Wind Energy

4.90

-

4.90

20

-

0.50

6.06

-

6.06

20

-

0.50

Remarks (1) This FiT applies to those projects who COD (Commercial Operation Date) within 2017. After that the FiTV applies. The FiTV varies by Core Inflation rate. The FiTV is applicable to Waste to Energy (Integrated Management), Biogas (fuel Crops) and Biomass only . (2) Projects located in 4 sub-districts in Songkla province (Jana, Taepa, Sabayoi, Na Tawee) Yala, Pattani and Narathiwat Provinces

78 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Alternative Energy-076-079.indd 78

1/26/2015 9:34:04 PM


พิชัย ถิ่นสันติสุข

| ALTERNATIVE ENERGY In the minute meeting of the National Energy Policy Office (NEPO) on December 15, 2014 it has minutes attached which is difficult to action and causes inequality as follows: “…approved to the adjustment buying electricity from renewable Energy according to the order of the proposal with readiness to be the selection of the proposal by using the competitive bidding. The incentive in form of FiT will be applied as the starting price in such competitive bidding system. The beneFiT is that the government can designate zoning area for each type of renewable energy power plant. This can prevent the feedstock deficiency and is harmonious with the ability to respond to electricity of the transmission line system. Energy Regulatory Commission (ERC) shall issue an announcement to stop buying electricity from Adder which will be effective on the date that NEPO made resolution to issue the regulation on electricity purchase from the electricity generating by renewable energy using FiT. The Adder will be finished within January 30, 2015. The new FiT Premium will make an announcement to submit the proposal within the first quarter of 2015…”

Songkhla Province, and 3 Provinces near the South Boarder can enjoy 50 satang/unit for the project lifetime. It is better than Adder 1 baht/ unit for only 7 years. 6. Landfill: In order to get the FiT, both Sanitary and open-dumped landfill have to improve their waste into the quality fuel. Remember that FiT funded by our electricity bill. We would want to support environmental preservation and renewable energy. 7. Biogas: When it comes from wastewater and waste from production line seem to have no doubt. The questions come when it comes from energy crops. Napier grass is a good biogas crop.

8. Hydro Power: Most Hydro Power belongs to the government. Most of private companies can hardly invest. 9. Wind Power: It is natural energy like solar cell. The average wind current in Thailand is rather low. It takes more than 2 years to collect wind data in order to make investment decision. This low FiT rate could mean that the government would like to slow down these projects. Let’s keep an eye on how many projects will survive. 10. Core Inflation Rate usually rises between 1.5 – 2%. For biomass feedstock, it should be readjust the rate every 3 years as the price go up quickly.

If there is the real bidding, be aware of “Big fish eats little fish” especially the biomass power plants in the future that may survive for 10 companies. Communities and SMEs are desperate in competition because they are unable to prepare complicated documents. A new occupation might be taken place, i.e. being a nominee of large companies which is much easier. There are lots of problems that Ministry of Energy has to solve, for instance, heavy completion in buying feedstock for Biomass among the Adder and FiT Premium producers. In the big picture, the government should be praised on its announcement of FiT Premium as a New Year gift. Problem solving has to be carried on and do not surmise when doubt, otherwise a state agency will become a scapegoat. For additional information, please contact Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Energy, Tel. 0 2140 6336, Fax 0 2140 6289 or at Energy Policy and Planning Office (EPPO) Tel. 0 2612 1364 or email to us at reenergy.fti@gmail.com, we are pleased to provide information to the industrialists. Ministry of Energy has continual promotion scheme for renewable energy projects, for example, incentive for industrial waste, waste heat from factory or new technologies. These may be promoted together with “FiT Premium” in the era of NCPO as well. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Alternative Energy-076-079.indd 79

| 79

1/26/2015 9:34:10 PM


BOTTOM LINE |

พิชญ์ รอดภัย

มุมมองทางเศรษฐศาสตร์ ที่มีต่อการซื้อของขวัญ

Economic Viewpoint on Gift Purchase ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่าหลายท่านคงเคยประสบปัญหาเดียวกันกับผูเ้ ขียนนัน่ คือปัญหาทีเ่ กิดจากการเลือกซือ้ ของขวัญให้กบั คนอืน่ ไม่ ว่าจะเป็นญาติพนี่ อ้ ง เพือ่ น คนทีท่ ำ� งาน หรือแม้กระทัง่ คนในครอบครัวของเราเองก็ตาม ซึง่ ส่วนมากเราทัง้ หลายจะต้อง ประสบกับปัญหานีท้ กุ ปี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเดือนธันวาคมซึง่ เป็นเดือนทีเ่ ต็มไป ด้วยเทศกาล เริม่ กันตัง้ แต่วนั พ่อซึง่ เป็นวันทีเ่ หล่าบรรดาลูกๆ มักจะหาซือ้ ของขวัญให้แก่พอ่ เทศกาลคริสต์มาสทีป่ จั จุบนั ได้ กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตคนไทยไปเรียบร้อยแล้ว แม้ว่า ประชาชนส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธก็ตาม ต่อมาคือ เทศกาลปีใหม่ซึ่งเป็นเทศกาลที่ผู้คนจับจ่ายใช้สอยซื้อของ ขวัญกันมากที่สุดเทศกาลหนึ่งของโลกเลยก็ว่าได้ ค�ำถามทีม่ กั จะเกิดขึน้ อยูเ่ สมอคงหนีไม่พน้ ค�ำถามทีว่ า่ ปีนี้ เราจะซื้อของขวัญให้ใครบ้าง เราควรจะซื้ออะไรหรือของ ขวัญแบบไหนทีจ่ ะเหมาะกับคนเหล่านัน้ พวกเขาจะชอบของ ขวัญที่เราเลือกให้หรือไม่ ยิ่งเวลาผ่านไปปีแล้วปีเล่าค�ำถาม เหล่านีก้ ย็ งิ่ ทวีความยากขึน้ ในทุกปี และยิง่ เวลาผ่านไปโอกาส ทีพ่ วกเราจะซือ้ ของขวัญทีต่ รงกับความต้องการของคนเหล่า นั้นก็ยิ่งยากมากขึ้นทุกที โดยถ้าเราลองมองย้อนกลับมาดูที่ ตัวเราเอง เราจะพบว่ามีของขวัญเป็นจ�ำนวนมากที่พวกเรา ได้รับจากเทศกาลต่างๆ ถูกวางทิ้งเอาไว้และไม่ได้นำ� ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์อะไรเลย ซึ่งสุดท้ายแล้วคงหนีไม่พ้นการถูกทิ้ง ลงถังขยะไป เมือ่ ลองมานัง่ คิดดูแล้วก็เห็นว่า จ�ำนวนของขวัญ ที่ถูกวางทิ้งไว้ของคนทั้งโลกน่าจะมีปริมาณรวมกันมากมาย มหาศาลเลยทีเดียว

‘A Deadweight Loss’ ว่าด้วยเรื่องคุณค่าที่สูญเสียไป

นักศึกษาแต่ละคนได้รับมา โดยใช้วิธีการว่าถ้าของขวัญชิ้นนี้ นักศึกษาต้องซื้อเอง นักศึกษาจะซื้อของขวัญเหล่านี้ในราคา เท่าไร ซึง่ ผลลัพธ์ทไี่ ด้ปรากฏว่ามูลค่าทีน่ กั ศึกษาประมาณการ ส�ำหรับของขวัญแต่ละชิ้นนั้นต�่ำกว่าราคาจริงที่ผู้ซื้อได้ซื้อมา จริง โดยราคาประมาณการที่ต�่ำกว่าราคาจริงนี้อาจเกิดจาก การที่ว่าของขวัญเหล่านั้นไม่ได้เป็นของขวัญที่ผู้รับต้องการ มูลค่าที่ผู้รับประมาณการราคาของของขวัญ เหล่านั้นจึงต�่ำกว่าราคาที่แท้จริงนั่นเอง ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นปรากฏว่า ราคาที่ผู้รับของขวัญประมาณการ คิดเป็นประมาณร้อยละ 90 ของ มูลค่าที่แท้จริงของสินค้าเหล่า นั้น โดยมูลค่าที่ต�่ำกว่าราคา ทีแ่ ท้จริงอีกร้อยละ 10 นัน้ ถูก เรียกโดยนักเศรษฐศาสตร์ ท่านนี้ว่าเป็น ‘A Deadweight Loss’ หรือก็คือ คุณค่าที่สูญเสียไปซึ่งเกิดขึ้น จากการได้รับของเหล่านั้นในรูป ของของขวัญ โดยคุณค่าทีส่ ญ ู เสีย ไปดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้นถ้าผู้รับได้

ในช่วงเทศกาลโดยเฉพาะอย่างยิง่ เทศกาลปีใหม่เป็นช่วง ที่อัตราการจับจ่ายใช้สอยของผู้คนเพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เพราะทุกคนก�ำลังอยู่ในอารมณ์สนุกสนานและมีความสุขใน ช่วงวันหยุดเทศกาล บ้างก็หาซื้อของขวัญ บ้างก็นัดเจอกับ ญาติหรือเพือ่ นฝูงเพือ่ มาสังสรรค์กนั บ้างก็หาซือ้ ของขวัญให้ ตัวเอง ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้นักวิชาการหลายคนมองว่าช่วง เทศกาลเป็นช่วงที่จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวม ซึ่งผู้เขียน เองก็ เ ชื่ อ ว่ า การที่ เ งิ น จ� ำ นวนมหาศาลถู ก น� ำ เข้ า สู ่ ร ะบบ เศรษฐกิจจะท�ำให้เศรษฐกิจถูกกระตุ้นและเติบโตขึ้น แม้จะ เป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ ก็ตาม แต่กม็ นี กั เศรษฐศาสตร์อยูท่ า่ นหนึง่ ทีม่ ชี อื่ ว่า Joel Waldfogel ได้วิเคราะห์ในเชิงเศรษฐศาสตร์และได้น�ำเสนอเอาไว้ อย่างน่าสนใจ โดยเขาได้ทำ� การสอบถามนักศึกษาในห้องเรียน เมื่อมหาวิทยาลัยได้กลับมาเปิดสอนอีกครั้งหลังจากเทศกาล ปีใหม่ โดยเขาได้ให้นักศึกษาลองประมาณราคาของขวัญที่ 80 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_Bottom-line-080-082.indd 80

1/26/2015 8:16:14 PM


รับเป็นเงินสดหรือแม้แต่เป็นบัตรของก�ำนัล (Gift Voucher) เนื่องจากผู้รับสามารถน�ำเงินดังกล่าวไปซื้อสิ่งของที่ผู้รับ ต้องการอย่างแท้จริงได้นั่นเอง

ของขวัญที่เพิ่มมูลค่าให้มากกว่ามูลค่าที่แท้จริง

ยิ่งไปกว่านั้น ของขวัญที่ไม่ใช่เงินสดที่ได้รับจากญาติพี่ น้อง (ไม่นับคนในครอบครัวจริงๆ เช่น พ่อ แม่ ลูก) นั้นเป็น ของขวัญที่ผู้รับมีความพึงพอใจน้อยที่สุด ขณะที่ของขวัญที่ ผูร้ บั ชืน่ ชอบมากทีส่ ดุ นัน้ มาจากคนรักและเพือ่ นฝูงนัน่ เอง ซึง่ ผลลัพธ์ที่ได้นี้ไม่น่าแปลกใจแต่อย่างใด เนื่องจากของขวัญที่ ได้จากญาติพี่น้องซึ่งส่วนใหญ่จะมีอายุที่แตกต่างกันจึงท�ำให้ ความชืน่ ชอบของผูใ้ ห้และผูร้ บั นัน้ ค่อนข้างแตกต่างกันไปด้วย สิง่ นีเ้ ป็นหนึง่ ในปัจจัยทีท่ ำ� ให้เกิดการสูญเสียคุณค่าจากการได้ รับของเหล่านั้นในรูปของของขวัญ จากที่กล่าวไปข้างต้นแล้วว่า ‘A Deadweight Loss’ คิดเป็นร้อยละ 10 ของมูลค่าที่แท้จริงของของขวัญ โดยการ สูญเสียทางเศรษฐศาสตร์มูลค่า 10 บาท จากของ ขวัญชิ้นละ 100 บาท อาจดูไม่มากมาย แต่อย่างใด แต่ถา้ ลองมองในเชิง เศรษฐกิจโดยรวมทีป่ ระเทศ ไทยมีการซือ้ ของขวัญให้

AW_MO_12_09_Bottom-line-080-082.indd 81

แก่กันในช่วงเทศกาลปีใหม่มีมูลค่าเป็นหลักพันล้านบาท การ สูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ที่ว่านี้จึงนับว่าไม่น้อยเลยทีเดียว นี่ ยังไม่รวมถึงของขวัญวันเกิดและของขวัญในเทศกาลอืน่ ๆ อีก มากมาย แต่อย่างไรก็ตาม การให้ของขวัญก็อาจไม่ได้ทำ� ให้เกิดการ สูญเสียแต่เพียงอย่างเดียว ในบางครั้งการให้ของขวัญแก่กัน ก็อาจท�ำให้มูลค่าของของขวัญชิ้นนั้นเพิ่มขึ้นมากกว่ามูลค่า ที่แท้จริงก็เป็นได้ อาทิเช่น ถ้าผู้รับไม่ทราบว่าแท้จริงแล้วตัว เองชอบอะไรซึ่งผู้เขียนเองก็เคยตกอยู่สถานการณ์แบบนี้มา ก่อน เมื่อตนเองได้รับของขวัญมาชิ้นหนึ่งซึ่งเป็นของขวัญที่ ตัวผูท้ ไี่ ด้รบั เองไม่เคยคิดจะซือ้ มาก่อน ครัน้ เมือ่ ได้ใช้ของขวัญ ชิน้ ดังกล่าวแล้วกลับรูส้ กึ ชืน่ ชอบเป็นอย่างมาก นัน่ เองทีท่ �ำให้ มูลค่าของของขวัญชิ้นดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นกว่าราคาที่แท้จริง นอกจากนี้ ยังมีอีกกรณีหนึ่งที่ของขวัญชิ้นนั้นจะมีมูลค่า ที่เพิ่มสูงขึ้นนั่นก็คือเมื่อของขวัญชิ้นดังกล่าวเป็นของที่ผู้รับ ไม่รวู้ า่ มีของแบบนีอ้ ยูห่ รือเป็นของทีผ่ รู้ บั ไม่สามารถซือ้ เองได้

หรือเป็นของทีผ่ รู้ บั สามารถหาซือ้ เองได้แต่จะต้องซือ้ ในราคา ที่สูงกว่ามาก เช่น ของขวัญที่ซื้อมาจากต่างประเทศ เป็นต้น นอกจากนี้ สิ่งที่อาจท�ำให้ของขวัญมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นได้อาจ มาจากตัวผู้ให้และวาระโอกาสในการให้ของขวัญชิ้นนั้น เช่น แหวนแต่ ง งานที่ ไ ด้ รั บ เป็ น ของขวั ญ ย่ อ มมี คุ ณ ค่ า แก่ ผู ้ รั บ มากกว่าเครื่องประดับชิ้นอื่นที่ซื้อหามาด้วยตัวเอง เป็นต้น ผลการศึกษาข้างต้นมิได้ให้ข้อสรุปว่า เราทุกคนไม่ควร ให้ของขวัญแก่ผอู้ นื่ ในช่วงเทศกาลต่างๆ หรือควรให้ของขวัญ เป็นเงินสดหรือ Gift Voucher แต่อย่างใด แต่ข้อสรุปที่ได้ น่าจะเป็นไปในแนวทางทีว่ า่ พวกเราทุกคนควรพยายามคิดหา ของขวัญที่เหมาะสมที่สุดให้แก่คนที่เราต้องการจะมอบของ ขวัญให้เพื่อลดการสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการให้ของขวัญที่ไม่ โดนใจผู้รับนั่นเอง

1/26/2015 8:16:28 PM


Starting with Father’s Day which is the day that children often buy a gift to their father, Christmas Day that has already become a part of the Thai life although most of Thai people are Buddhists and New Year which is one of the festivals in the world with the most gift purchase. The questions that have been asked year after year are: Whom are we going to buy gifts for? What is the kind of a gift that is suitable for each of them? Do the recipients of our gifts like them? Such questions become more difficult year by year and the chance that we can buy satisfying gifts for our recipients has become more and more difficult. If we look back to ourselves we may find that a lot of gifts receiving from various festivals are uselessly left and are eventually thrown away on. The number of gifts left by people over the world are, of course, a lot.

‘A Deadweight Loss’ Is the Loss of Value

During the festivals, particularly a New Year, it is the time that purchase rate apparently soars since everyone is in the pleasant and happy mood during holidays. Some people go shopping for buying gifts, some have a banquet with friends or relatives and some are choosing a gift to themselves. This makes many scholars view festivals as the good occasion for the economy as a whole. The author also agrees with them that a lot of money brought in the economic system will encourage economy to grow, although it is just a short time. There is an economist, however, named Joel Waldfogel who analyzes and gives an interesting presentation. He queried his students when they came back to the class after New Year by asking them to estimate the price of gifts that each of them had received by supposition that if they had to buy such gifts, at what price that made they decide to buy them. As a result, the estimate made by those students was lower than the actual price. This may be occurred because of the reason that such gifts are not wanted by the recipients. The estimates, therefore, are lower than the actual prices. According to the aforesaid result, the estimate made by the recipients is about 90% of the actual price of those gifts. Joel Waldfogel called the 10% of the estimate that is lower than the actual price as ‘A Deadweight Loss’ or the value that is lost because they are given as a gift. Such lost value will not take place if the

recipients obtain the gift in the manner of cash or gift voucher since they can spend such money to buy what they really need.

The Gift that Has More Value than Its Actual Price

Furthermore, the gift that is not cash obtaining from relatives (excluding those who are the real family members such as father, mother and children) is the gift with the least satisfaction of the recipients

T

he author believes that many of us may experience the problem of gift purchase for our relatives, friends or even those in our own family and most of us have to experience such problem for at least once a year, especially in December of which contains a lot of festivities.

while the gift that the recipients are fond of most is the one given by their lovers or close friends. Such result is not surprising at all since the gift obtaining from relatives whose most of them have different age, thus, the fondness of the givers and the recipients is also different. This is one of the factors that causes value loss of such gifts. As having already mentioned earlier that ‘A Deadweight Loss’ is about 10% of the actual price. The economic loss for Baht 10 from the gift with the price of Baht 100 seems not to be so much. But if we consider it in terms of overall economy we will see that the value of gifts people buy during New Year Festival is Baht billion, the economic loss as mentioned, thus, is not a little. The value of a birthday gift and the gift bought in other various occasions, however, is not included yet. Nevertheless, the presenting of gift may not only cause the loss but it can make a gain as well. For example, if the recipients have not been aware of their real fondness before and once they obtain a piece of gift which is the thing that they have never thought to buy it before they feel fond of it very much. This can make the value of such gift higher than the actual price of its. Besides, there still is another case that a piece of gift has more value, that is, the recipient has not been aware before about the existence of such thing or it is the thing that the recipient cannot buy by himself/herself or it is the thing that the recipient can buy by himself/herself but he/she has to pay much more, for instance, the gift that is sold only abroad. Moreover, what can make a gift have additional value may come from the giver oneself and the occasion of presenting such gift, for example, a wedding ring obtaining from the lover has certainly higher value than other ornaments bought by the recipient oneself. The aforesaid study result does not conclude that we should not give a gift to others during festivals or we should give a gift in the manner of cash or gift voucher. The conclusion, however, is likely that all of us should carefully think of the most suitable gift for the ones we would like to give them a gift in order to lessen the economic loss caused by presenting a gift that the recipient does not like.

82 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_Bottom-line-080-082.indd 82

1/26/2015 8:16:32 PM


ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ

| INDUSTRIAL MARKETING

กลยุทธ์ 10 ด้านส�ำหรับปี 2015 ของ Gartner (ตอนที่ 1)

Gartner’s 10 Strategies for the Year 2015 (Part 1)

Gartner เป็นบริษัทวิจัยทางด้านเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของสหรัฐอเมริกาก่อตั้งเมื่อปี 2001 โดยได้รับการยอมรับจากทั่วโลก การ พยากรณ์ครั้งนี้ Gartner ให้ความส�ำคัญกับพัฒนาการของ Digital Business ที่มีรูปแบบการท�ำงานผสมผสานระหว่างคนกับ เครื่องจักรในลักษณะ Digital-Driven and Human-Enabled Model ซึ่งหมายถึง การใช้ไอซีทีช่วยท�ำงานด้านการตลาดและ การขาย ส่วนการส่งมอบนั้นท�ำด้วยคน ซึ่งต่างจากยุคก่อนที่เป็น Labor-Driven and Digital-Enabled Model ซึ่งหมายถึง กิจการทีท่ ำ� งานด้วยคนแต่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นเครือ่ งมือเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ บทบาทของเครือ่ งจักรท�ำให้ลดการใช้แรงงาน คนลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างงานใหม่ ๆ เพื่อรองรับ Digital Business ขึ้นมาทดแทน By 2018, digital business will require 50 percent less business process workers and 500 percent more key digital business jobs, compared with traditional models. Digital business จะใช้คนท�ำงานน้อยกว่าเดิมถึงร้อยละ 50 ในขณะเดียวกันจะสร้างงานใหม่ที่เกี่ยวข้องกับ Digital business อย่างน้อย 5 เท่าตัว เมือ่ เทียบกับการท�ำธุรกิจแบบ เดิม พัฒนาการของสื่อสังคมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ อุปกรณ์พกพาก�ำลังเปลีย่ นพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในวงกว้าง วิถกี ารด�ำเนินชีวติ ของพวกเราจะเปลีย่ นแปลงอย่างมาก เรา ก�ำลังจะเห็นตูเ้ ย็นในบ้านสัง่ ซือ้ สินค้าอุปโภคบริโภคด้วยตัวเอง ได้ เครือ่ งจักรกลและหุน่ ยนต์จะท�ำหน้าทีจ่ ดั สินค้าตามสัง่ แล้ว อาศัยยานพาหนะไร้คนขับส่งสินค้าไปถึงบ้าน การเปลี่ยน

กระบวนการท�ำงานที่ใช้เครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์ลักษณะ เช่นนีเ้ ป็นตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ป็นสาเหตุลดการใช้แรง คนลง Gartner ใช้ค�ำว่า ‘Digital business’ เพื่อสื่อให้เห็น การเปลีย่ นแนวคิดของการท�ำธุรกิจในยุค Digital Economy จากนี้ไปคนเราจะท�ำธุรกรรมอยู่ในโลก 2 ใบ โลกใบหนึ่ง คือ โลกทางกายภาพ (Physical World) ทีพ่ วกเราคุน้ เคยกัน โลก อีกใบหนึ่ง คือ โลกไซเบอร์ (Cyber World) หรือโลกดิจิทัล (Digital World) สินค้าประเภทกายภาพ (Physical Products) ยังต้องผลิตและส่งให้ลกู ค้าจากต้นน�ำ้ สูป่ ลายน�ำ้ ทีอ่ าศัยกระบวน การท�ำงานในโลกกายภาพ คือ ต้องใช้คนท�ำงาน แต่การตลาด การซือ้ ขาย การช�ำระเงิน และการให้บริการหลังกายขาย รวม ทั้งบริการอื่นๆ เหมาะที่จะท�ำในโลกดิจิทัล Gartner

By 2017, a significant disruptive digital business will be launched that was conceived by a computer algorithm.

เราจะได้เห็นธุรกิจดิจิทัลที่โดดเด่นและถูกออกแบบจาก ความคิดนอกกรอบ (Disruptive digital business) จ�ำนวน มากภายในปี 2017 ซึ่งเป็นธุรกิจดิจิทัลที่ถูกขับเคลื่อนโดยอัล กอริทึมของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ นักลงทุนจะให้ความ สนใจลงทุนในธุรกิจดิจิทัลประเภทที่ใช้กลยุทธ์ทางการตลาด แบบดิจิทัลเป็นตัวน�ำและอาศัยระบบโลจิสติกทางกายภาพ แบบเดิมแต่มีประสิทธิภาพ (Digital-Driven and HumanEnabled Model) ธุรกิจดิจทิ ลั แนวใหม่นจี้ ะมีศกั ยภาพสูงกว่า ธุรกิจที่ค้าขายด้วยแนวคิดแบบเดิมๆ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_Industrial-marketing 3.0_083-085.indd 83

| 83

1/26/2015 7:22:10 PM


By 2018, the total cost of ownership for business operations will be reduced by 30 percent through smart machines and industrialized services.

Gartner ให้ความส�ำคัญกับ Smart machine และ Industrialized services มาก เนือ่ งจากมีศกั ยภาพทีช่ ว่ ยลดค่า ใช้จ่ายด�ำเนินการของธุรกิจลงได้ถึงร้อยละ 30 ตามการคาด หมายของ Gartner หรือพูดอีกนัยหนึ่ง เป็นวิธีที่จะช่วยท�ำให้ เกิด Productivity ได้เป็นอย่างมาก Smart machines ในที่ นี้หมายถึง ระบบใดๆ ที่สามารถสะสมองค์ความรู้ตา่ งๆ ท�ำให้ ท�ำงานในสิง่ ทีม่ นุษย์ทำ� ได้ หรืออาจเรียกได้วา่ เป็นเครือ่ งจักร อัจฉริยะที่อาศัยเทคโนโลยีประเภท Machine-to-Machine (M2M) ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีหุ่นยนต์หรือเทคโนโลยีที่ใช้ ในรถยนต์รุ่นใหม่ๆ ที่ขับเองได้

By 2020, developed world life expectancy will increase by 0.5 years due to widespread adoption of wireless health monitoring technology.

ชีวติ ของคนในประเทศพัฒนาจะยาวเพิม่ ขึน้ ประมาณครึง่ ปีจากการใช้เทคโนโลยีตรวจสอบสุขภาพไร้สายอย่างกว้าง ขวางและคาดว่าค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาโรค อย่างเช่น โรค เบาหวานสามารถลดลงกว่าร้อยละ 10 จากการใช้โทรศัพท์ มือถือ อุปกรณ์ตรวจวัดสุขภาพประเภทพกติดตัวหรือสรวมใส่ ตามข้อมือสามารถวัดการเต้นของหัวใจ ตรวจวัดอุณหภูมขิ อง ร่างกาย และอื่นๆ สามารถส่งข้อมูลผ่านระบบสื่อสารไร้สาย ไปให้ศนู ย์การแพทย์ได้อย่างแม่นย�ำ สถิตทิ งั้ หมดจะถูกจัดเก็บ ไว้ในคลาวด์เพือ่ ความสะดวกในการค้นคืนกลับมาใช้โดยแพทย์ พยาบาลและเจ้าของข้อมูลเอง ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ สุขภาพของประชาชนนัน้ ดีขนึ้ น�ำไปสูอ่ ายุขยั ทีย่ าวนานขึน้ ได้

G

artner is the large technological research company in USA which was established in 2001. It is acknowledged throughout the world. In this forecast, Gartner pays attention to the development of Digital Business with integrated work pattern between man and machine in the manner of Digital-Driven and Human-Enabled Model which means the application of ICT to support sales and marketing work while delivery is done by human. This is different from the past that is Labor-Driven and DigitalEnabled Model which means the activity that is done by human but counts on computer as a tool toward efficiency. The role of machine can significantly reduce the use of labor, meanwhile, creating new jobs to respond to Digital Business to replace.

By year-end 2016, more than $2 billion By 2018, digital business will require in online shopping will be performed 50 percent less business process workers exclusively by mobile digital assistants. and 500 percent more key digital Gartner พยากรณ์วา่ ภายในปี 2016 ธุรกิจออนไลน์มลู ค่า business jobs, compared with traditional กว่าสองพันล้านเหรียญสหรัฐจะท�ำผ่านอุปกรณ์พกพาที่มีตัว models. ช่วยให้ความสะดวก แม้แต่ผู้ที่ไม่ถนัดใช้เทคโนโลยีก็สามารถ ท�ำธุรกรรมออนไลน์ผา่ นมือถือได้

ระบบซอฟต์แวร์ที่ช่วยเหลือผู้บริโภคท�ำธุรกรรมผ่าน อุปกรณ์พกพา (Mobile Digital Assistant) นัน้ จะช่วยแนะน�ำ วิธที ำ� รายการทีต่ อ้ งใช้ประจ�ำ เช่น การบันทึกชือ่ ทีอ่ ยูแ่ ละเลข ที่บัตรเครดิต เป็นการลดขั้นตอนที่ผู้ซื้อต้องบันทึกข้อมูล ผ่านอุปกรณ์ทุกครั้งที่จะท�ำรายการลง เป็นวิธีหนึ่งที่จะสร้าง ความพึงพอใจให้ลูกค้าได้ การซื้อออนไลน์ที่จะท�ำเป็นประจ�ำ เป็นการซื้อของกินของใช้เข้าบ้าน ภายในอีกสองหรือสามปี ข้างหน้า การซือ้ ออนไลน์ทมี่ ขี นั้ ตอนสลับซับซ้อนกว่าและต้อง อาศัยการตัดสินใจ เช่น การเลือกซือ้ เครือ่ งเรียนให้บตุ รหลาน ก่อนเปิดภาคการเรียนใหม่หรือการเลือกสั่งอาหารเนื่องใน โอกาสพิเศษก็จะสามารถให้บริการได้ผ่าน Mobile Digital Assistant พัฒนาการการใช้อุปกรณ์พกพาเพื่อการซื้อสินค้า ออนไลน์จะท�ำให้ซอฟต์แวร์ประเภท Mobile Digital Assistants กลายเป็น Killer Application ภายในปี 2016 ตาม ค�ำท�ำนายของ Gartner

Digital business will require 50 percent less workers and will create new jobs related to digital business for at least 5 times, compared with the former business operation. The development of social media and technology concerning portable devices are going to broadly change human behavior. Our way of life will change a lot. We are going to see a refrigerator in a house orders consumer goods itself. Machineries and robots can arrange the goods as ordered and ride upon a vehicle without a driver to deliver the goods. The change of work process by using such computerized machineries is the example of the change that causes less workers. Gartner uses the term ‘Digital business’ to indicate the conceptual shift of business operation in the era of Digital Economy. From now on, people will do transactions in 2 worlds: one is the Physical World that we are familiar and another is the Cyber World or Digital World. Physical

products still have to be produced and delivered to customers from upstream to downstream by depending on working in the physical world, that is, still have to employ human, but marketing, transaction, payment and after sales service including other services are suitable to be done in the digital world.

By 2017, a significant disruptive digital business will be launched that was conceived by a computer algorithm.

We will see a lot of prominent and disruptive designs of digital business within 2017. It is the digital business mostly driven by algorithm of computer. Investors will pay attention to invest in the digital business that applies digital marketing strategy as a

84 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_Industrial-marketing 3.0_083-085.indd 84

1/26/2015 7:22:13 PM


and it is anticipated that the cost of medical treatment, for example, diabetes can be lessened more than 10 percent by adoption of a mobile phone, a portable health check device or a wristband device that can check heartbeat, body temperature and others, then accurately send the data through wireless communication system to medical center. All statistical data will be kept into cloud to be convenient for retrieving by a doctor, nurse and the data owners themselves. This will be a part that can support people’s better health and longer life.

By year-end 2016, more than $2 billion in online shopping will be performed exclusively by mobile digital assistants.

Gartner forecasted that within 2016, online business with value of USD two billion will be performed through portable devices with assistants for convenience. Even those who are unskillful with technology can perform online transaction through a mobile phone.

guide and relies on formerly physical logistics system with efficiency (Digital-Driven and Human-Enabled Model). Such modern digital businesses will contain higher potential than those that are operated by former concepts.

By 2018, the total cost of ownership for business operations will be reduced by 30 percent through smart machines and industrialized services.

Gartner pays much attention to smart machine and industrialized services since it contains potentiality to reduce business operating cost up to 30 percent according to the anticipation of Gartner or, in other words, it is the way to make much produc-

tivity. Smart machines herein means any systems that can accumulate body of knowledge that makes it able to work what humans can do or it can be called as a smart machine that relies upon Machineto-Machine (M2M) technology. For example, a robot technology or a technology applied to new models of automobile that can drive by itself.

By 2020, developed world life expectancy will increase by 0.5 years due to widespread adoption of wireless health monitoring technology.

The life of people in developed countries will be more lasting about 0.5 years due to widespread adoption of wireless health monitoring technology

Software system that assists a consumer to perform transaction through a portable device (Mobile Digital Assistant) will suggest the way to make a list to be regularly used, for example, recording a name, address and number of a credit card to lessen the procedure that buyers have to record data through a device every time they make a list. It is a way to create satisfaction to customers. Regular online purchase is the purchase of consumer goods. Within the next couple years, more complicated procedure of online purchase that needs decision, for instance, choosing to buy educational aid for children before a new term begins or choosing to order food on special occasion can be done through Mobile Digital Assistant. The development of portable devices adoption for online purchase will make Mobile Digital Assistants software become Killer Application within 2016 according to the forecast of Gartner. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_Industrial-marketing 3.0_083-085.indd 85

| 85

1/26/2015 7:22:16 PM


FACTORY 3.0 |

ดร.ฉันทมน โพธิพิทักษ์

แนวความคิดระบบนิเวศอุตสาหกรรม

กรณีศึกษา เกาะจูล่ง สิงคโปร์ Ecosystem Concept in Industrial Areas: a Case Study of Jurong Island, Singapore ในทศวรรษทีผ่ า่ นมา มีการสะท้อนของ ความยัง่ ยืนและกล่าวถึงอนาคตของ การพัฒนาเพือ่ มนุษย์เกิดขึน้ มากมาย หลังจากเกิด รายงาน Brundtland ปี ค.ศ.1987 และได้ขยายเป็นวงกว้างใน แนวคิดทีว่ า่ เพือ่ ความต้องการของ ยุคปัจจุบนั โดยตอบสนองและเป็น ประโยชน์ตอ่ ยุคอนาคต ในแนวทางของการวางผังแบบอุตสาหกรรมที่ค�ำนึงถึง ระบบนิเวศ แนวทางที่น�ำมาใช้คือ ระบบภูมินิเวศวิทยา (Landscape Ecology) และระบบอุตสาหกรรมนิเวศวิทยา (Industrial Ecology) เมือ่ มีการพัฒนาเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาโดยระบบภูมินิเวศวิทยา จะเน้นไปที่ ทีว่ า่ งควบคูก่ บั กระบวนการและการเปลีย่ นแปลงของสภาพ แวดล้อม โดยค�ำนึงถึง ถนน ทางเดิน จุดเชื่อมต่อที่เน้น เป็นการผสมผสาน โดยออกแบบให้สามารถเข้าถึงกับการ เปลีย่ นแปลงอันรวดเร็วได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงปี ค.ศ. 1980 – 1989 ส่วนแนวคิดระบบอุตสาหกรรมนิเวศวิทยา จะค�ำนึงถึงแนวความคิดแบบ ‘End of Pipe’ ของการ ควบคุมมลพิษและค�ำนึงถึงระบบนิเวศ ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว ระบบอุตสาหกรรมจะเกิดการรบกวนกับระบบธรรมชาติ ดังนั้น การเพิ่มปัจจัยและพลังงานจากผู้ผลิตและผู้บริโภคสู่ การหมุนเวียนน�ำกลับมาใช้ใหม่ เป็นสิ่งส�ำคัญต่อระบบ อุตสาหกรรมนิเวศวิทยา ในกรณีของโซนอุตสาหกรรม เกาะจูล่ ง ซึง่ เน้นทีก่ ารใช้ ประโยชน์ของพื้นที่ว่างและรูปแบบทางภูมิสถาปัตยกรรม ผ่านการวางผังโซนอุตสาหกรรม ทัง้ ในรูปแบบถนน ทางเดิน จุดเชื่อมต่อ โดยทุกส่วนจะเชื่อมโยงกับระบบธรรมชาติ สภาพแวดล้อมอย่างเป็นมิตร

ภูมิสถาปัตยกรรมเกื้อกูล เป็นการแก้ปัญหาแนวคิดระบบอุตสาหกรรม นิเวศวิทยา

ภูมสิ ถาปัตยกรรมเกือ้ กูล ถูกก�ำหนดเป็นการบูรณาการ ส�ำหรับระบบภูมินิเวศวิทยา (Landscape Ecology) และ ระบบอุตสาหกรรมนิเวศวิทยา (Industrial Ecology) โดยที่ 86 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_FACTORY 3.0_083-85.indd 86

1/26/2015 8:07:49 PM


ระบบภูมินิเวศวิทยา (Landscape Ecology) เน้นที่ระบบ นิเวศธรรมชาติ และแนวทางในการลดผลกระทบต่อระบบ นิเวศจากเมืองและการพัฒนาอุตสาหกรรม ส่วนระบบ อุตสาหกรรมนิเวศวิทยา (Industrial Ecology) จะเป็นการ ค�ำนึงถึงการคิดซ�ำ้ เพื่อระบบอุตสาหกรรมนิเวศวิทยา เช่น การลดขยะ และลดมลภาวะ

คิดซ�้ำกับโซนอุตสาหกรรมนิเวศวิทยา ของเกาะจู่ลง สิงคโปร์

ทีก่ ล่าวมาแล้วว่า โซนอุตสาหกรรมของเกาะจูล่ ง สิงคโปร์ มีแนวคิดหลักจากการบูรณาการส�ำหรับ ระบบภูมนิ เิ วศวิทยา (Landscape Ecology) และ ระบบอุตสาหกรรมนิเวศวิทยา (Industrial Ecology) โดยทีร่ ะบบภูมนิ เิ วศวิทยา (Landscape Ecology) โดยออกแบบค�ำนึงถึงถนน ทางเดิน จุดเชื่อมต่อ ที่เน้นเป็นการผสมผสาน โดยเป็นแบบผสานเกื้อกูลกัน

ในปี ค.ศ.1998 จึงมีการร่วมมือกัน โดยก�ำหนดเป็นการ ออกแบบโซนอุตสาหกรรมนิเวศวิทยาของเกาะจูล่ง ภายใต้ การวิเคราะห์ของแผนกสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยแห่ง ชาติสิงคโปร์ โดยเริ่มจากโซนอุตสาหกรรมการผลิตน�้ำมัน ถึงแม้ว่ามีการก�ำหนดมาตรการการป้องกันมลพิษและการ ใช้สาธารณูปโภค สาธารณูปการในโซนอุตสาหกรรมให้มี ความเพียงพอ การน�ำเสนอแนวความคิดใหม่และนวัตกรรม ใหม่ ถูกน�ำมาก�ำหนดในการพัฒนาเพื่ออนาคตการเปลี่ยน แปลงขแงสิงคโปร์

แนวคิดนิเวศยั่งยืนในเกาะจูล่ง

การรวมกันจากเกาะเล็กๆ 7 เกาะเป็นเกาะขนาดใหญ่ ซึ่งมีการก�ำหนดการสร้างขึ้นใหม่ของระบบนิเวศ และจะก่อ ให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมทางทะเล เป็นโจทย์ ที่ทางสิงคโปร์จะต้องท�ำเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นระบบ

การรวมเป็นหนึ่ง

ข้อได้เปรียบของการพัฒนาโซนอุตสาหกรรมเกาะจูล่ง คือ สามารถท�ำได้ด้วยการรวมเป็นหนึ่งเดียวที่ท�ำได้อย่าง เป็นระบบ มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่ส�ำคัญ รองรับ ไม่ว่าจะเป็นอาหาร น�้ำดื่ม ห้างร้าน คลินิก และส่วน พักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งสามารถผสานรวมกันได้ดีระหว่างโซน อุตสาหกรรมเดิมกับโซนอุตสาหกรรมใหม่

เชื่อมโยงระบบปิโตรเลียมไว้ด้วยกัน

โรงงานที่ตั้งในเกาะจูล่ง จะใช้ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการด้วยกันด้วยระบบโครงข่ายการบริการ เมือ่ มี การใช้งาน ทางเชื้อเพลิงปิโตรเลียมจะสามารถใช้งานได้ อย่างเพียงพอและสามารถส่งไปยังผูใ้ ช้งานโดยรอบได้อย่าง เพียงพอเช่นกัน

อุตสาหกรรมน�้ำมันในสิงคโปร์

ไลน์อุตสาหกรรมทางด้านเคมีและวิทยาศาสตร์ถือเป็น อันดับสองของอุตสาหกรรมการผลิตของสิงคโปร์ ซึง่ รองลง มาจากอุตสาหกรรมการผลิตกระแสไฟฟ้า ไลน์อตุ สาหกรรม ทางด้านเคมีและวิทยาศาสตร์ในสิงคโปร์ ได้แก่ น�้ำมัน ปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ เคมีภัณฑ์เฉพาะ การปรุงและผลิตยา เวชภัณฑ์สุขภาพ อาหาร เครื่องดื่ม โดยอุตสาหกรรมทาง ด้านเคมีและวิทยาศาสตร์ มีถงึ 22 % ของอุตสาหกรรมหลัก ทั้งหมดของสิงคโปร์ ในขณะที่การลงทุนทางอุตสาหกรรม ทางด้านเคมีและวิทยาศาสตร์ สูงถึง 40 % ของอุตสาหกรรม หลักทั้งหมดของสิงคโปร์ และเกาะจูล่งก็เป็นเกาะที่วางผัง ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาไลน์ อุ ต สาหกรรมทางด้ า นเคมี แ ละ วิทยาศาสตร์นี้ ในกรณีศกึ ษา โซนอุตสาหกรรมของเกาะจูลง่ สิงคโปร์นี้ ความรู้ ความเข้าใจทางระบบนิเวศวิทยา โดยเฉพาะระบบ ภูมินิเวศวิทยา (Landscape Ecology) แบบเกื้อกูล ควรจะ ได้ประยุกต์ในส่วนของภาคการออกแบบและการวางแผน ซึ่งเป็นเหมือนการท�ำนาย คาดการณ์ ถึงการใช้ทรัพยากรที่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และส่วนของระบบอุตสาหกรรม นิเวศวิทยา (Industrial Ecology) ซึ่งใช้ทรัพยากรในการ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอย่างเข้าใจกับสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เป็นการวิเคราะห์การวางผังที่วางและการใช้พื้นที่อย่าง คุ้มค่าของการวิเคราะห์ ถนน ทางเดิน จุดเชื่อมต่อ ซึ่งจะ ท� ำ ให้ ภ าคอุ ต สาหกรรมสามารถเข้ า กั บ สภาพแวดล้ อ ม โครงสร้างและประโยชน์ใช้สอยของภูมสิ ถาปัตยกรรม ตลอด จนหลักการวางผังนิเวศวิทยาอย่างยัง่ ยืน แนวทางนีส้ ามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ในโซนอุตสาหกรรมใหม่ของไทยที่ก�ำลัง พัฒนาสู่อาเซียนเพื่อความยั่งยืนได้อีกแนวทางหนึ่ง

I

n the past decade, there have been many reflections on sustainability and the future of human development after the Brundtland Report of 1987. The widespread definition of sustainable development describes the path of progress which ‘‘meets the needs of the present generation without compromising the ability of future generations to meet their own needs’’.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_FACTORY 3.0_083-85.indd 87

| 87

1/26/2015 8:07:52 PM


local infrastructure and all essential supporting facilities, including food and beverage outlets, convenience stores, a medical clinic, and recreational facilities. The latest ecologically sound and environmentally beneficial measures can be more easily incorporated than with an existing industrial park.

Petrochemical links

Companies located at Jurong Island share common infrastructure and facilities and are linked by a network of service-pipes. As processes are linked, feedstock can be sourced directly from nearby plants of other companies. Likewise, output may be easily dispatched to end-users in the vicinity.

The petrochemical industry in Singapore

Two emerging ecological planning approaches, landscape ecology and industrial ecology, are applied here as alternative ways of planning industrial areas. As an area rapidly developed in less than 20 years, landscape ecology focuses on ‘‘spatial pattern intertwined with processes and changes’’. Through applying the patch–corridor–matrix model of land mosaic, the landscape ecological analysis provides a spatial dimension, which could be applied to the environment with intensive human disturbance. Arising in the late 1980s, another emerging approach, industrial ecology, goes beyond the traditional ‘‘end of pipe’’ idea of pollution control, and tries to foster ‘‘thinking like an ecosystem’’. Industrial ecology attracts attention despite its blurry meaning and contradictory terminology. In most of the industrial systems today, the speed of composition and decomposition of products is not as balanced as in natural systems. Therefore, increasing the material and energy flow from producers and consumers to recyclers becomes an important issue in industrial ecology. In the case study of Singapore’s Jurong Island industrial park, the issue of spatial scales and landscape patterns of industrial symbiosis were illustrated through planning interventions. By applying the patch–corridor–matrix model of land mosaic to the planning proposal of Jurong Island Eco-industrial Park, we intended to provide possible spatial configurations for different components of the industrial system, which is to be integrated with the natural system as a whole.

scape, is proposed for integrating landscape ecology and industrial ecology. Landscape ecology is mainly focused on the natural ecosystem and ways to reduce the negative ecological effects of urban and industrial development. Industrial ecology, on the other hand, attempts to rethink the industrial environment as an ecosystem with the intention to reduce waste and pollution.

The nurtured landscape - landscaping as buffer and solution to industrial ecology.

One of the advantages of developing Jurong Island is the ease of industrial containment within a single land mass. Jurong Island is designed with

A new landscape typology, the nurtured land-

Rethinking the eco-industrial park for Singapore’s Jurong Island

The following case studies for the eco-industrial park of Singapore’s Jurong Island integrate some concepts in industrial ecology and landscape ecology such as patch–corridor–matrix patterns and the idea of nurtured landscape. In 1998, Singapore’s JTC Corporation approached the Department of Architecture, National University of Singapore to sponsor a studio program to investigate new ideas in developing the Jurong Island petrochemical industrial park as an eco-industrial park. Although steps had been taken to incorporate measures of safe pollution levels and efficient sharing of resources and facilities, new ideas and innovations were expected for the future development of the island.

Ecological issues in Jurong Island

The consolidation of seven small islands into one large island obviously entails the destruction of existing island ecologies and causes disturbance to the surrounding sea environment.

Industrial containment

The chemical and life sciences industry ranks after the electronics industry as the second largest industry in Singapore’s manufacturing sector. The chemical and life sciences industry includes petroleum, petrochemicals, specialty chemicals, pharmaceuticals, healthcare and food and beverage. The industry is currently targeted as an area for primary investment and growth. The chemical and life sciences industry contributed about 22% to the total manufacturing output while investment commitments in the chemical and life sciences industry accounted for around 40% of total investment commitments. Jurong Island is planned to be the primary hub for the expansion of this sector. In this situation, the knowledge of ecology, especially landscape ecology with the concept of the nurtured landscape, should be applied to the skills of design and planning, which are based on the prediction, evaluation and design of optimum resource uses, patterns and processes. The two ecological approaches bring in an analytical framework for the planning of industrial areas by looking at the spatial configurations and material processes across industrial landscape using the patch–corridor–matrix analysis. The whole industrial setting could be restructured and become more compliant with the structures and functions of the landscape or region through the ecological planning principles. This can be the alternative way to apply in the new industrial area of Thailand, that will be the sustainable ASEAN in the near future.

แหล่งที่มา Perry Pei-Ju Yang and Ong Boon Lay, (2004), Applying ecosystem concepts to the planning of industrial areas: a case study of Singapore’s Jurong Island, Journal of Cleaner Production, 12 (1) 1011–1023.

88 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_12_09_FACTORY 3.0_083-85.indd 88

1/26/2015 8:07:54 PM


นเรศ เดชผล

| REAL TIME

แนวคิดการปิดใช้งานอุปกรณ์ไอที

ในช่วงวันหยุดยาว Idea on Turning off IT Devices during Long Holidays

ในทุกๆ ปีจะมีช่วงเทศกาลส�ำคัญๆ ที่องค์กรส่วนใหญ่จ�ำเป็นจะต้องหยุดกิจการ ชัว่ คราวตามนโยบายของรัฐและก็ถอื เป็นโอกาสอันดีทพี่ นักงานจะได้หยุดพักยาวๆ สักครั้งเพื่อประจุพลังงานให้กับชีวิตก่อนที่จะกลับมาสู้งานต่ออีกครั้ง อันที่จริงแล้ววันหยุดต่อเนื่องหลายวันของบ้านเรามีอยู่ ไม่กี่ครั้ง ไม่ว่าจะเป็นวันหยุดเทศกาลประจ�ำปี เช่น เทศกาล สงกรานต์ และวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ในบางปีวันหยุด นักขัตฤกษ์ก็อาจหยุดต่อเนื่องกับวันเสาร์อาทิตย์จนเป็นวัน หยุดยาวเลยก็มี ซึ่งยังไม่รวมวันหยุดอื่นๆ ที่ผู้ประกอบการ อาจพิจารณาเป็นวันหยุดงานเป็นพิเศษกับพนักงาน เช่น ตรุษ จีน เป็นต้น และก็ไม่ใช่ทุกองค์กรที่จะหยุดกิจการของตนใน ช่วงเทศกาล บางองค์กรทีจ่ ะต้องเปิดด�ำเนินการหรือให้บริการ อยู่ตลอดเวลาก็อาจจะทยอยหรือสลับให้พนักงานได้หยุด ชดเชยในวันอื่นแทน ส�ำหรับพนักงานผู้เสียสละปฏิบัติงานใน ช่วงที่พนักงานคนอื่นได้หยุดนั้นก็ย่อมจะได้รับพิจารณาผล ตอบแทนอย่างสมน�้ำสมเนื้อตามแต่เจ้าของกิจการจะเห็นว่า สมควร ในช่วงหยุดยาวนั้นอุปกรณ์ไอทีและคอมพิวเตอร์ที่เคย เปิดใช้งานหนักอย่างต่อเนือ่ งก็ควรถึงเวลาทีจ่ ะได้พกั ด้วยเช่น เดียวกัน เนื่องจากเมื่อมีการเปิดใช้งานติดต่อกันเป็นเวลา นานๆ อุปกรณ์เหล่านี้ก็ย่อมจะมีความร้อนสูงขึ้นเป็นปกติ ซึ่ง ก็ส่งผลต่อการอายุการใช้งานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ของ อุปกรณ์นนั้ ๆ ไม่เฉพาะแต่อปุ กรณ์ไอทีและคอมพิวเตอร์เท่านัน้ อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ เช่น ปลั๊กไฟ ตู้เย็น เครื่องท�ำร้อน เครื่อง ปรับอากาศ รวมทั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ที่ได้เปิดใช้งานตลอด ในช่วงเวลาท�ำงานก็ควรที่จะได้รับการปิดพักบ้าง แม้จะเป็น เพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆ ก็ตาม อันที่จริงแล้วบริษัทควรก�ำหนดเป็นระเบียบให้ชัดเจนถึง ข้อปฏิบัติในการปิดเปิดอุปกรณ์ไอทีและอุปกรณ์ไฟฟ้าของ องค์กร เพราะนอกจากจะช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ แล้วยังเป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในช่วงที่ไม่มีความ จ�ำเป็นต้องใช้งาน และที่ส�ำคัญก็คือเป็นการป้องกันอัคคีภัยที่ อาจจะเกิดขึ้นในช่วงวันหยุดซึ่งเป็นวันที่ไม่มีใครอยู่ดูแลอีก ด้วย

หากจะปิดต้องท�ำสิ่งใดบ้าง

แน่นอนว่าหน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการปิดใช้งานอุปกรณ์ ไอทีขององค์กรนั้นย่อมเป็นหน้าที่หลักของฝ่ายไอทีโดยตรง และการจะปิดอุปกรณ์ไอทีใด ๆ ในบริษทั นัน้ ก็จำ� เป็นต้องมีการ ประชุมและปรึกษาหารือเพื่อได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้า งานหรือผู้ใช้งานเสียก่อน เพราะหากท�ำไปโดยพลการก็อาจ ส่งผลกระทบและกลับกลายเป็นว่าสิง่ ทีไ่ ด้นนั้ ไม่คมุ้ เสียเอาเสีย เลย อย่างไรก็ตาม หากได้รับไฟเขียวให้สามารถด�ำเนินการ ได้ ผู้ที่ได้รับมอบหมายก็ควรจะต้องท�ำด้วยความรอบคอบ และระมัดระวังอย่างมาก โดยเริม่ ด�ำเนินการจากส่วนทีส่ ำ� คัญ ที่สุดเสียก่อนดังต่อไปนี้ - ท�ำการส�ำรอง (Backup) ข้อมูลส�ำคัญๆ ไว้ในที่ ปลอดภัยเสียก่อน อย่างที่ทราบกันดีว่าในบรรดาทรัพย์สิน ด้านไอทีทั้งหมดนั้น ข้อมูลมีความส�ำคัญและมีราคาแพงที่สุด ข้อมูลบางอย่างต้องใช้ต้นทุน เวลา บุคลากร และทรัพยากร ต่างๆ ในการจัดท�ำค่อนข้างมาก การท�ำข้อมูลสูญหายจึงเป็น เรื่องที่ยากจะยอมรับได้ ข้อมูลบางแผนกอาจเกี่ยวข้องกับ ความอยู ่ ร อดของบริ ษั ท เช่ น แผนกบั ญ ชี ห รื อ แผนกที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดังนั้น การจัดล�ำดับความ ส�ำคัญก่อนหลังและความถี่ในการท�ำส�ำรองข้อมูลในแต่ละ ส่วนงานจึงต้องมีอยูใ่ นแผนงานอย่างชัดเจน ซึง่ ตามความเป็น จริงแล้ว บริษัทควรมีนโยบายในการท�ำส�ำรองข้อมูลอย่าง สม�่ำเสมอ ไม่ใช่การท�ำส�ำรองข้อมูลเฉพาะแต่ช่วงเวลาก่อน จะหยุดยาวเท่านั้น - การปิดเครื่องบริการหรือเครื่องแม่ข่าย (Server) แต่ละบริษทั มีการใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์บริการหรือเครือ่ งแม่ ข่ายจ�ำนวนมากน้อยไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับรายละเอียดในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทนั้น ๆ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องบริการไฟล์ หรือเครื่องแชร์ไฟล์ (File Server), เครื่องบริการอีเมล (Mail Server), เครื่องบริการระบบบัญชี (Accounting Server)

และเครื่องบริการแชร์ปริ้นเตอร์ (Print Server) เป็นต้น ซึ่ง การที่พนักงานคนใดจะเข้าใช้เครื่องบริการแม่ข่ายเหล่านี้ก็ ย่อมต้องมีการเปิดสิทธิ์โดยก�ำหนดรหัสผ่านส�ำหรับ Sign in เพือ่ เข้าระบบการใช้งานเสียก่อน และฝ่ายไอทีจะเป็นผูร้ บั ผิด ชอบด�ำเนินการตั้งค่าตาม Policy ที่ได้จัดไว้ แน่นอนว่าควร ต้องมีการส�ำรอง (Backup) ฐานข้อมูลรายการรหัสผ่าน ส�ำหรับเข้าใช้งานเครื่อง Server ของพนักงานเก็บไว้อย่าง สม�่ำเสมอ ซึ่งก็รวมไปถึงการท�ำส�ำรองข้อมูลก่อนที่จะเข้าสู่ ช่วงหยุดยาวด้วยเช่นกัน ส�ำหรับชุดรายการรหัสผ่านของผูด้ แู ล (Administrator) เองก็ต้องได้รับการส�ำรองข้อมูลไว้ด้วยและถือเป็นข้อมูลที่มี ความส�ำคัญสูงสุดที่จะต้องจัดเก็บไว้ให้เป็นความลับ อย่างไร ก็ตาม ก่อนหยุดยาวผู้ดูแลก็ควรที่จะทดสอบปิดเปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์บริการหรือเครื่องแม่ข่ายทั้งหมดดูก่อนสักครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบหาข้อบกพร่องหรือความผิดปกติ หาก พบปัญหาก็จะได้มีเวลาเพียงพอในการแก้ไขนั่นเอง - การปิดอุปกรณ์ Network อีกหนึ่งอุปกรณ์ไอทีที่จะ มองข้ามไปไม่ได้นั้นก็คือ อุปกรณ์ Network ซึ่งโดยปกติ อุปกรณ์ส่วนนี้จะมีการเปิดใช้งานอยู่เกือบตลอดเวลาอยู่แล้ว เช่น สวิตช์ (Switch), เราเตอร์ (Router) และ แอคเซสพอยต์ (Access point) เป็นต้น ส�ำหรับแอคเซสพอยต์นั้นนอกจาก จะปิดเพื่อท�ำการพักการใช้งานแล้ว ยังเป็นการป้องกันผู้ไม่ ประสงค์ดีเจาะเข้าระบบอินเทอร์เน็ตในช่วงที่ผู้ดูแลไม่อยู่อีก ด้วย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Real time-089-091.indd 89

| 89

1/26/2015 10:04:40 PM


- เครื่องส�ำรองไฟ (UPS) ส�ำหรับอุปกรณ์ไอทีและ คอมพิวเตอร์ใดๆ ที่จ�ำเป็นต้องเปิดใช้งานอยู่ตลอดเวลาและ ไม่สามารถที่จะปิดการท�ำงานในช่วงหยุดยาวได้ก็ควรที่จะมี เครื่องส�ำรองไฟติดตั้งไว้ด้วย ซึ่งก่อนที่จะหยุดยาวนั้น ผู้ดูแล จะต้องท�ำการตรวจสอบให้แน่ชดั เสียก่อนว่าอุปกรณ์ดงั กล่าว ยังสามารถเก็บไฟได้อยูห่ รือไม่ และหากไฟดับจริงจะสามารถ น�ำพลังงานไฟฟ้ามาใช้งานได้นานเท่าใด เพียงพอกับระยะ เวลาที่ต้องการหรือไม่ - อัปเดตแพตช์ (Patch) ก่อนวันหยุดยาว ผู้ดูแลงาน ไอทีควรท�ำการอัปเดตแพตช์ซอฟต์แวร์ต่างๆ ในบริษัทเสีย ก่อน ทั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ แอปพลิเคชั่น และ ซอฟต์แวร์แอนติไวรัส เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น กับซอฟต์แวร์สำ� หรับใช้งานก่อนที่วันเปิดท�ำการจะมาถึง แนวคิดเรือ่ งการปิดใช้งานอุปกรณ์ไอทีในช่วงหยุดยาวนัน้ มีความส�ำคัญมาก แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญยิง่ กว่า ก็คอื การเตรียมการ ทัง้ นี้ จะต้องมีการพูดคุยกับพนักงานผูเ้ กีย่ วข้องทัง้ หมดเพือ่ ที่ การด�ำเนินการจะไม่กระทบกับการท�ำงาน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งกับองค์กรที่ธุรกิจต้องท�ำงานตลอดเวลา ไม่สามารถหยุด ได้ และหากผู้ดูแลระบบไอทีเองจ�ำเป็นต้องหยุดยาวก็ต้องหา ผู้รับผิดชอบงานส่วนนี้แทนเพื่อให้ธุรกิจด� ำเนินต่อไปได้ไม่ สะดุด อีกช่องทางหนึ่งก็คือ ในบางกรณีควรมีการตั้งค่าให้ผู้ ดูแลระบบไอทีสามารถเชื่อมต่อระยะไกลจากภายนอก (Remote Access) เข้ามาจัดการแก้ไขปัญหาไอทีภายในบริษัท ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ดูแลระบบไอทีก็ต้องมีการก�ำหนด Policy ในการ Remote Access อย่างรัดกุมด้วยเช่นเดียวกัน

I

n each year, there will be the holidays that most organizations have to temporarily cease operation according to the government’s policy which is a good chance for employees to have a long holiday to refresh themselves before they come back to work again.

As a matter of fact, there are just a few long holidays in our country in each year, for instance, Songkran Festival, and New Year celebration. In some years, there may be a holiday that is connected to Saturday and Sunday until it becomes a long weekend. This does not yet include other holidays that some entrepreneurs designate to be a special holiday of their firm, for example, Chinese New Year Festival, and so on. Likewise, not every organization that ceases its operation during some festivals as some of them have to open operation or provide service all the time, so they may have to let their employees have day off one after another or by alternation. For 90 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Real time-089-091.indd 90

1/26/2015 10:04:45 PM


the employees who dedicate to work on holidays while the others are off, they deserve to get a reward as the entrepreneurs see it is appropriate. During a long holiday, it is about time for the computers and IT devices that have been turned on for heavy and continual use to have a rest as well since when they are turned on for a continual use their temperature will be normally high which affects to their useful life for not only computers and IT devices but other electric instruments, for instance, the plug of a refrigerator, heater, air conditioner including others that are turned on all the time as well. Thus, they should be occasionally turned off even though it will be only a short period. In fact, a company should set an apparent regulation on a procedure to turn on and turn off electric appliances and IT devices because apart from useful life extension of those instruments it can also save electric power during the non-working period. Importantly, it is the way to prevent fire that might happen during the holidays that there is nobody at the office.

What should be done if IT devices will be turned off?

Certainly, the duty and responsibility on turning off IT devices is directly on IT Department and to turn off any IT devices in the company needs to hold a meeting and discussion to get approval from the supervisor or the user first, otherwise it might have an impact and become unworthy. However, if it is approved to perform, the one who is assigned to do should carefully perform by starting from the most important part as follows: - Backup Significant Data in the Safe Place First: As we know well, the data are the most expensive and important among all IT assets. Some data need a lot of capital, time, personnel and resources to prepare, the loss of data, thus, is hardly to accept. The data of some departments may involve in the survival of the company, for instance, Accounting Department’s or the ones that are concerning with product development. Prioritization and frequency on backup in each department, thus, need to be apparently in the work plan. As a matter of fact, a company should have a policy on constant backup, not just doing it when the company is going to have a long holiday. - Turning of Server: The number of computers or servers used in each company is not the same. It depends upon the details for business operation of such companies, no matter they are File Server, Mail Server, Accounting Server, Print Server, and so on. Any personnel who are going to use these servers have to be registered as a user with a password to

sign in to enter into the system first and IT Department will be in charge of settings according to the Policy as arranged. Of course, there should be a constant backup for the database of password to use Server of personnel including the reserve of the data before a long holiday too. The password list of an administrator has to have a backup too and it is deemed as the most significant data that have to be kept in secret. However, before a long holiday, an administrator should test to turn off and on all computers or servers for at least one time to find out defect and abnormality. In case of discovering a problem, there will be enough time for fixing it. - Network: Another IT device that cannot be overlooked is Network. Normally, such device is turned on for use almost all the time, for example, switch, router, access point, and so on. For access point, besides it is turned off to cease operation, it is also the way to prevent a malicious person to hack the internet system during the absence of an administrator as well. - Uninterruptible Power Supply (UPS): For any computer or IT devices that need to always be turned on for use and cannot be turned off during a long holiday, the UPS should be installed to them. Before

a long holiday, an administrator has to clearly check if such devices can still keep electricity and in case of power outage, how long can it bring reserved power for use? Is it adequate to the period required? - Patch: Before a long holiday, an administrator of IT should update software patches in the company, both application operation software system and antivirus software to lessen the risk that might happen to the software for use before a long holiday comes. The idea on turning off IT devices during a long holiday is very important but the arrangement is more important. There must be a talk with all concerned personnel in order that the operation will not affect the work, especially to the business organization that has to work all the time without cessation. If an IT administrator oneself has to take a long leave, it needs to find another person to take over this job to make business can be carried on. Another way is that in some cases there should be the setting that an administrator can connect to from the distance (Remote Access) in order to be able to solve the problem occurred within the company. However, an administrator also has to carefully set the Policy for Remote Access. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Real time-089-091.indd 91

| 91

1/26/2015 10:04:49 PM


LOGISTICS DESIGN |

สิทธิชัย ฝรั่งทอง

เมื่อเร็วๆ นี้ ผู้เขียนได้มีโอกาสไปเป็นกรรมการผู้เชี่ยวชาญภายนอกในการสอบดุษฎีนิพนธ์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตในหัวข้อเกี่ยวกับเรื่อง ‘การบริหารและพัฒนาหลักสูตร ด้านโลจิสติกส์เพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน’ ซึง่ ในวันนัน้ ผูเ้ ขียนได้ให้ขอ้ เสนอแนะความคิด เห็นไปหลายประเด็น จึงมีความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า จะต้องเผยแพร่ความคิดดังกล่าวออกไปเป็นวง กว้าง เนื่องจากยังมีสถานศึกษาบางแห่งขาดการพัฒนาหลักสูตรดังกล่าวให้เข้ากับบริบทของ ประชาคมอาเซียน และเป็นการบริหารหลักสูตรเชิงธุรกิจที่หวังผลก�ำไรมากจนเกินไป ท�ำให้ขาด ดุลยภาพทางด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิตหรือมหาบัณฑิตที่ ต้องการได้ออกสู่สังคมและธุรกิจ

การพัฒนาหลักสูตร ด้านโลจิสติกส์รับบริบท ของประชาคมอาเซียน Development of Logistics Course to Respond to AC Context ก่อนอืน่ หากย้อนมองกลับไปจะพบว่า ในอดีตสถาบันอุดมศึกษาและ ระดับอาชีวะศึกษามีการพัฒนาเปิดหลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ท่าม กลางกระแสโลกาภิวัตน์ และรองรับตลาดแรงงานของธุรกิจที่มีความ ต้องการแรงานด้านโลจิสติกส์ตงั้ แต่ระดับปฏิบตั กิ ารไปจนถึงผูบ้ ริหาร จึง ท�ำให้สถาบันศึกษาหลายแห่งเปิดหลักสูตรสาขาดังกล่าวเกิดขึ้นเป็น จ�ำนวนมากทัง้ ๆ ทีไ่ ม่มคี วามพร้อมศักยภาพทางด้านอาจารย์ อุปกรณ์การ เรียนการสอนและสื่อการสอน

4 ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาและบริหารหลักสูตร การจัดการโลจิสติกส์

ส�ำหรับการพัฒนาและการบริหารหลักสูตรดังกล่าวไม่ควรเป็นเชิง ธุรกิจที่ไม่มากจนเกินไป ซึ่งจะต้องมีนวัตกรรมหลักสูตรและการบริหาร หลักสูตรให้เข้ากับบริบทของประชาคมอาเซียน ผู้เขียนขอเสนอแนะ ปรับปรุง ดังนี้ 1. การพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) เป็นการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตรเดิมที่มีอยู่ให้มีความ สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยจะต้องตอบสนองความต้องการของคนในสังคม และสอดคล้องกับการพัฒนาของประเทศและสังคมโลกด้วย ซึง่ หลักสูตร และรายวิชาเดิมที่เน้นโลจิสติกส์เพียงอย่างเดียวจะไม่เพียงพออีกต่อไป แล้ว แต่จะต้องเป็นโลจิสติกส์และซัพพลายเชนทีจ่ ะต้องเชือ่ มโยงเข้าด้วย กันในทุกมิติทั้งระดับธุรกิจ ประเทศ และระดับโลก

ตัวอย่างเช่น ควรบรรจุรายวิชาเกี่ยวกับภาษาอาเซียนลงในหลักสูตร Green Logistics and Supply Chain หลักสูตรปริญญาตรี โท เอก ควร มีการเชื่อมโยงกัน ควรระบุวิชานโยบายและการบริหารโลจิสติกส์และ ซัพพลายเชนระดับประเทศ หรือวัดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ก่อนจบการศึกษา เป็นต้น จึงจะท�ำให้การจัดการของธุรกิจอยูร่ อดและเกิด ความสามารถทางการแข่งขัน โดยเฉพาะเน้นสาขาความเชี่ยวชาญอย่าง ใดอย่างหนึ่งที่โดดเด่น บางแห่งยังขายฝันเรื่องโลจิสติกส์เพียงอย่างเดียว เนื้อหารายวิชาไม่สะท้อนความเป็นจริงในการด�ำเนินธุรกิจและอาเซียน 2. ผู้สอน (Instructor) ต้องมีการเปลีย่ นระบบความคิดในระบบการสรรหาและคัดเลือกแบบ เดิมเป็นแบบใหม่ที่จะต้องมีการสรรหา คัดเลือก และตรวจสอบคุณวุฒิว่า จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาการ มี ประสบการณ์ในสาขาวิชาดังกล่าว มีผลงานทางวิชาการ รวมทั้งมีวิธีการ ผลักดันให้ผเู้ รียนสามารถคิดวิเคราะห์วจิ ยั ด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน และจัดให้มีผู้สอนเป็นที่ปรึกษาดูแลการท�ำวิจัยของนักศึกษาจนจบการ ศึกษาได้ ซึ่งผ่านมาไม่เคยมีปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้เลย อีกทั้งสัดส่วน อาจารย์ต่อนักศึกษาก็ไม่ได้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาก�ำหนด 3. สื่อและอุปกรณ์การสอน (Instruction Media) ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมและเทคโนโลยีต่างๆ ที่ต้องน�ำมาใช้ในงานด้าน โลจิสติกส์และซัพพลายเชนเพื่อฝึกฝนเพิ่มพูนให้เกิดทักษะทั้งภาคทฤษฎี

92 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Logistic-092-094.indd 92

1/26/2015 8:04:23 PM


และปฏิบัติหรือลดข้อผิดพลาดในการท�ำงาน โดยสถาบันการศึกษาอาจไม่ จ�ำเป็นจะต้องจัดหาอุปกรณ์มากนัก เพียงแต่จะต้องมีการเชือ่ มโยงกับภาค ธุรกิจในเรื่องโปรแกรมและระบบเทคโนโลยี เช่น อาจน�ำนักศึกษาไปท�ำ สหกิจศึกษา ให้สถานประกอบการส่งผู้เชี่ยวชาญมาร่วมสอนกับอาจารย์ ประจ�ำ เป็นต้น 4. การตลาดและการประชาสัมพันธ์ (Marketing and Public Relation) นับได้ว่ามีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการบริหารหลักสูตรดังกล่าว ซึ่ง สถาบั น การศึ ก ษาหลายแห่ ง มี ก ารทุ ่ ม งบประมาณทางการตลาดและ ประชาสัมพันธ์จำ� นวนมหาศาล แต่หากมีการบริหารหลักสูตรทั้ง 3 ปัจจัย แรกเป็นอย่างดี แทบไม่ต้องมีการท�ำการตลาดและประชาสัมพันธ์เลย เพราะความน่าเชื่อถือและคุณภาพของหลักสูตรสามารถน�ำมาเป็นจุดขาย

โฆษณาประชาสัมพันธ์ได้ แต่ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามักอวดอ้างเกินจริงเมื่อ เข้าศึกษาต่อแล้วต้องผิดหวังไม่ได้ตรงตามความประสงค์ จึงเกิดการบอก ต่อในแง่ลบ อย่างไรก็ดี ปัจจัยที่ทำ� ให้การบริหารหลักสูตรของมาเลเซียประสบผล ส�ำเร็จในปี 2013 พบว่า ทักษะของผู้เรียนและประสบการณ์การท�ำงาน ฝากไว้ให้คิด หมดเวลาแห่งการหลอกลวงต้องอยู่บนความจริง ไม่ต้องรอ ให้สวรรค์สง่ คนทีเ่ ก่งลงมาเกิดและคืนสิง่ ทีข่ าดหายไปจากระบบการบริหาร การศึกษากลับสูส่ งั คมและประเทศชาติ ซึง่ สถาบันการศึกษาจะต้องบริหาร หลักสูตรดังกล่าว โดยพัฒนาสร้างคนให้เก่งมีความรูค้ วามสามารถผ่านการ จัดการเรียนการสอนและท�ำวิจัย ซึง่ ผลทางตรง คือ สถาบันการศึกษาเกิด ความน่าเชื่อและยอมรับ ส่วนผลทางอ้อมจะท�ำให้ธุรกิจเกิดความสามารถ ทางการแข่งขันทั้งระดับธุรกิจ ประเทศ อาเซียน และระดับโลก MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Logistic-092-094.indd 93

| 93

1/26/2015 8:04:27 PM


First of all, if we look back we will find that in the past universities and vocational colleges opened the course on logistics management amid the stream of globalization and to respond to the business requirement on logistics personnel from operational to managerial level. This makes many educational institutions open such course in spite of unavailability on instructors and teaching instruments and media.

4 Recommendations to Develop and Administer Logistics Management Course

For developing and administering such course, it should not be too much business and there must be course innovation and administration to be in line with the context of AC. The author would like to give recommendations for development as follows: 1. Curriculum Development It is an improvement or change the former curriculum to be more complete and it has to respond to the requirement of people in society and to be in line with the development of the country and the world as well. The former curriculum and each subject that focus on only logistics will not be adequate anymore. It has to be logistics and supply chain that link together in every dimension and all levels: business, country and the world. For example, there should be the subject concerning ASEAN languages in the curriculum of Green Logistics and Supply Chain. The curriculum of bachelor’s, master’s and doctoral degree should be connected each other and should specify the subject on logistics policy and supply chain at country level or measure the ability to use English before graduation and so on to make business

R

ecently, the author had a chance to be an independently expert committee member on the doctoral dissertation examination of a student of Suan Dusit Rajabhat University on the subject of “Logistics Course Development and Administration to Respond to Enter into ASEAN Economic Community.” On that day the author had made several comments. The author, thus, would like to publicize such comments to be widespread as some educational institutions have lacked in development of such course to be harmonious with the context of AEC and the management of such course aims too much on profit causing the deficiency of teaching quality and the quality of graduates to serve business and society.

survive and competitive capability, especially focusing on any prominent skill. Some educational institutions still sell a dream on logistics only regardless of the content in each subject that does not reflect the reality of business operating and ASEAN.

2. Instructor The conception of the former recruitment and selection must be changed to be a new one of which contains recruitment, selection and examination the qualification in order that an instructor must be the person with knowledge and capability to transmit academic content, experience in such subject, academic works including the way to push the student to be able to analyze on logistics and supply chain. The instructor has to be a mentor of students on doing research until they graduate. There has never been such phenomenon while the instructors and students have not been in line with the standard as designated. 3. Instruction Media No matter they are the programs and technologies to be applied in logistics and supply chain in order to practice and manifold both theoretical and practical skill or to lessen mistake at work, an institution may not need to provide many instruments. There must only be connection with business sector on programs and technologies, for instance, the student may be brought to perform cooperative education or a company may be asked to send an expert to give instruction in conjunction with a regular instructor, and so on. 4. Marketing and Public Relations Marketing and public relations are absolutely necessary for administering such curriculum. Many educational institutions spend a lot of marketing and public relations budget. Yet, if the first 3 factors of curriculum are well administered, marketing and public relations are hardly necessary since reliability and quality of curriculum can be a good selling point. Today, some educational institutions often exaggerate causing the students to disappoint when they attend to study. Therefore, a negative word of mouth disperses. However, the factor that make the curriculum of Malaysia successful in 2013 is the skill and work experience of students. This is left to think over. The time of deception is over. The curriculum must be based on the truth. Do not await the heaven to send a talent and return the missing thing from educational management system to the society and country. Educational institutions have to manage such curriculum by developing competent persons through instruction and research. The direct result is that educational institutions will be acknowledged and reliable while the indirect one is that businesses have competitiveness at the country, ASEAN and the world level.

94 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

AW_MO_Logistic-092-094.indd 94

1/26/2015 8:04:28 PM


FEBRUARY 2015

INDUSTRIAL AGENDA

INDUSTRIAL AGENDA FEBRUARY 2015

สวั ส ดี ค ่ ะ ผู ้ ป ระกอบการในภาคอุ ต สาหกรรม ส� ำ หรั บ ฉบั บ ประจ� ำ เดื อ นแห่ ง ความรั ก นี้ INDUSTRIAL AGENDA มี กิ จ กรรมมาน� ำ เสนอเช่ น เดิ ม ค่ ะ 5-8 กุมภาพันธ์ 2558

12 กุมภาพันธ์ 2558

25 กุมภาพันธ์ 2558 การจัดซื้อและบริหาร MRO & OFFICE SUPPLIES

THAILAND INDUSTRIAL FAIR 2015 และ FOOD PACK ASIA 2015

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าและการประยุกต์ใช้ INVERTER ในโรงงานอุตสาหกรรม

งานแสดงเทคโนโลยี เครื่องจักรเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องใช้ ตลอดจนวัสดุ และการบริการเพื่ออุตสาหกรรม การผลิตครบวงจร เป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้นักอุตสาหกรรม ได้พบ และเลือกสรรเทคโนโลยีลา่ สุด เครือ่ งจักรกลทันสมัย และบริษัทผู้นำ� ทางด้านเทคโนโลยีโดยตรง พร้อมกันนี้ ภายในงานยังเพียบพร้อมด้วยกิจกรรมทาง ธุรกิจที่หลากหลาย Best Time for Your Products, Service and Technology Sourcing สัมผัสกองทัพสินค้า อุตสาหกรรมหลากหลายแบรนด์ดงั ทัง้ ไทยและอินเตอร์กว่า 500,000 รายการ ร่วมจัดเต็มในราคา ‘Shock Price’ ลด กระหน�่ำสุดๆ 30-70 % เพื่อผู้ประกอบการนักธุรกิจ นัก อุตสาหกรรม วิศวกรและนักจัดซื้อทั่วประเทศและภูมิภาค อาเซียน

งานสั ม มนาและงานแสดงสิ น ค้ า ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบ การภาคอุตสาหกรรม เพื่อสะท้อนให้ผู้ประกอบการได้รับ ทราบถึ ง มาตรฐานการติ ต ตั้ ง ทางไฟฟ้ า และน� ำ มา งานสัมมนาและงานแสดงสินค้าส�ำหรับผูป้ ระกอบการภาค ปรับปรุงในโรงงานอุตหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อุตสาหกรรม เพือ่ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรม ให้เกิดการเรียนรูใ้ นการบ�ำรุงรักษา ซ่อมแซมและปฏิบตั กิ าร เพือ่ ให้การท�ำงานของฝ่ายผลิตสามารถน�ำเดินงานได้อย่างมี ณ โรงแรมสามพราน ริเวอร์ไซด์ จ.นครปฐม ประสิทธิภาพ

ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา www.thailandindustrialfair.com

6-8 กุมภาพันธ์ 2558 MONEY EXPO 2015

งานมหกรรมการเงินการลงทุนครบวงจรแห่งปี ประจ�ำ ปี 2558 Money Expo 2015 ต้อนรับการรวมตัวของ AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้วยแนวคิดการจัดงาน ‘Beautiful ASEAN’ เพื่อสะท้อนถึงความสวยงามของอาเซียนที่ เกิดจากการรวมตัวของสมาชิก 10 ประเทศ ซึ่งธนาคาร สถาบันการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ฯ บริษัทหลักทรัพย์ บริษัท จัดการกองทุน บริษทั ประกันชีวติ ประกันภัย โบรกเกอร์ทอง สั่งจองพื้นที่จัดงาน 6 ภูมิภาคทั่วประเทศ ครั้งแรกจัดขึ้นที่ พัทยา ครั้งที่ 5 จังหวัดชลบุรี ศูนย์ประชุมพีช โรงแรมรอยัล คลิฟ จังหวัดชลบุรี www.Money Expo.net

20 กุมภาพันธ์ 2558 สัมมนา ‘การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และ ประสิทธิภาพการผลิต ด้วยการออกแบบเชิงวิศวกรรม’

ณ พัฒนากอล์ฟ สปอต แอนด์ รีสอร์ท ศรีราชา จังหวัดชลบุรี Tel. 0 2731 1194-4 www.mmthailand.com

26 กุมภาพันธ์ 2558

MODERN MANUFACTURING FORUM 2015 ส�ำนักคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ โดยสถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีชนั้ สูง และศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและ วิศวกรรม สวทช. จัดโครงการการยกระดับขีดความ สามารถด้านการออกแบบเชิงวิศวกรรมของผูป้ ระกอบการ ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบ การและบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมให้มีความรู้ความ เชีย่ วชาญด้านการออกแบบเชิงวิศวกรรมและการผลิตใน การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่และปรับปรุงผลิตภัณฑ์เก่าโดย การใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการ ผลิต หรือสร้างเครื่องจักรใหม่ ณ ห้องแกรนด์รชั ดา โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค รัชดาภิเษก สอบถามรายละเอียดเพิม่ ได้ที่ 0 2564 6310-11 ต่อ 117 ลงทะเบียนออนไลน์ www.goo.gl/P6YMd4

งานสัมมนาและงานแสดงสินค้าส�ำหรับผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมทุกแขนง เพือ่ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการใน ภาคอุตสาหกรรมให้เกิดการพัฒนาและมีศักยภาพในการ แข่งขันเพิ่มมากขึ้น ณ พัฒนากอล์ฟ สปอต แอนด์ รีสอร์ท ศรีราชา จังหวัดชลบุรี Tel. 0 2731 1194-4 www.mmthailand.com MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

095_AW_MO_AGENDA_22-1-58.indd 95

95

26/1/2558 23:21:12


095_ facebook_Deccember_C.pdf 1 1/26/2015 6:47:17 PM

C

M

Y

CM

้ ี น ไป อ  ต ท ั ษ ิ ร บ อ ่ ื ช บ ั ก ง ใสหมายเลขสินคาใหตร

MY

CY

CMY

K

เอบีบี บจก. ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก. คอปโก เคมเทค บจก.

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอรไพรซ บจก. บีทีที ยูไนเต็ด บจก.


AD_ME2015.pdf 1 1/26/2015 4:02:00 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



AD_Intermach.pdf 1 1/26/2015 3:58:23 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


LED2015_AD215x275mmTHA4.pdf 1 1/20/2015 11:52:20 AM

ผูจัดงาน

ASEAN'S LARGEST

เจาภาพการจัดงาน

INTERNATIONAL EXHIBITION ON LED LIGHTING PRODUCTS & TECHNOLOGY

21-24

พฤษภาคม 2558 ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

LED

อาคาร 1-3

SIG N AG E

CATION PPLI A D LE

L IG

HT

IN G

LED

C

LED COMPON E NT S

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ประเภทของสินคาที่นำมาจัดแสดง LEDs

ปายและจอแสดงผล LED

ผลิตภัณฑ LED

ผลิตภัณฑหลอดไฟ LED

การประยุกตใช LED และหลอดไฟ LED ไฟประดับตกแตง LED อุปกรณขับและตัวจายไฟ LED เครื่องจักรที่ใชในการผลิตอุปกรณตางๆ สำหรับผลิตภัณฑ LED สวนประกอบและอุปกรณที่ใชในการผลิต LED ผูจัดงาน IMPA

Scan with your smart phone

ement Co., Ltd.

47/569-576, Moo 3, Popular Road, Banmai Sub-district Pakkred District, Nonthaburi 11120, Thailand Ms. Panvisut Buranakarn Tel: +66 (0) 2833 5328, Email: panvisutb@impact.co.th

MEX

Pvt. Ltd

9, LGF, Sant Nagar, East of Kailash, New Delhi-110065, India Mobile(India): +91-9810301644, +91-9312285142 E-mail: himani@mexexhibits.com, gaurav@mexexhibits.com


AD_Printtech.pdf 1 1/26/2015 5:18:33 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


MTA Modern.pdf 1 12/23/2014 9:22:57 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Untitled-2.pdf 1 12/24/2014 11:22:23 AM

C

M

Y

CM

MY

พบกับงานสัมมนาและงานแสดงสินคา เพื่อผูประกอบการอุตสาหกรรม

CY

CMY

K

ทั่วประเทศ

กิจกรรมภายในงาน - การสัมมนาแนวคิดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการเพิ่มศักยภาพผูประกอบการ - การแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมดานการผลิตจากบริษัทชั้นนำของไทย - บูทแสดงสินคาพรอมทั้งราคาโปรโมชั่นสุดพิเศษภายในงาน - ลุนรับของรางวัลมากมายภายในงาน

ลงทะเบียนฟรี.... สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ 02-731-1191 # 103 คุณปณิชามน ติดตามขาวสารงานสัมมนาไดที่ www.mmthailand.com

Organized

Partner


AD_.pdf 1 1/26/2015 3:54:42 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


EDITOR’S PICK | February 2015

PERFECT CONTROL WAS NEVER SO SIMPLE

EcoTurn 75% ของงานกลึงนอกทั่วไปนั้นจะมีระยะกินลึกน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 มิลลิเมตร โดย ลูกค้าส่วนใหญ่เลือกใช้เม็ดมีดที่มีขนาดใหญ่กว่า Tungaloy จึงได้คิดค้น EcoTurn ซีรีย์เพื่อ ช่วยเพิ่มผลก�ำไรและลดต้นทุนในการผลิต และมีประสิทธิภาพที่เหนือกว่าผลิตภัณฑ์อื่น ด้วยการลดขนาดเม็ดมีดให้เล็กลง EcoTurn ช่วยในเรื่องความประหยัดเมื่อเทียบกับเม็ด มีดขนาดปกติ EcoTurn ประกอบด้วยการออกแบบหน้าลายเม็ดมีดแบบเดียวกับซีรยี ง์ านกลึง ของ Tungaloy มีความหนาของเม็ดมีดเท่ากันเพือ่ คงความแข็งแรง EcoTurn นัน้ มีคณ ุ สมบัติ การป้องกันการแตกร้าวและการคายเศษระดับเดียวกันเม็ดมีดขนาดปกติ และสามารถตั้งค่า การตัดได้เท่ากับเม็ดมีดขนาดปกติเช่นกัน EcoTurn ซีรีย์ มีรูปทรงเม็ดมีดที่เป็นที่นิยมในงานกลึง CNMG DNMG TNMG และ WNMG มีหน้าลายหักเศษ TM และ SM ส�ำหรับงานกลึงปานกลาง และหน้าลาย TSF และ SS ส�ำหรับงาน Finish โดยมีครบทั้ง 4 รูปทรง และใหม่ล่าสุดหน้าลาย ZF และ ZM มี คุณสมบัติการหักเศษที่ดีเยี่ยม รายการเกรดเม็ดมีดของ EcoTurn ซีรีย์ ประกอบด้วย ซีรีย์ T9100 ผลิตภัณฑ์ยอดนิยม ส�ำหรับงานกลึงเหล็ก เกรดเซอร์เม็ตรุน่ ใหม่ทที่ นต่อการแตกร้าวได้ดสี ำ� หรับงานเหล็ก NS9530 และ ซีรีย์T6100 และ AH600 ส�ำหรับงานกลึงสแตนเลส ด้ามจับแบบใหม่ชนิด A ได้รับการออกแบบให้ใช้งานร่วมกับเม็ดมีดของ EcoTurn ซีรีย์ ด้ามจับใหม่นี้มีระบบจับยึดสองชั้นหรือ Double Clamping ช่วยเพิ่มการจับยึดเม็ดมีดได้แข็ง แรงมากขึน้ นอกจากนี้ การออกแบบต�ำแหน่งของทีจ่ บั ยึดแบบใหม่ชว่ ยให้คายเศษได้ดขี นึ้ และ ลดปัญหาเศษเกาะติดที่ชิ้นงาน

Whether food industry, biotechnology, or automotive industry, whether gigantic manufacturing plant or small consumer product, whether measuring, controlling, or regulating: Our products and system solutions can be found wherever fluids and gases are used. They are highly efficient—in two different respects. Our products and system solutions significantly contribute to an efficient overall process. At the same time, they are not just tailored to their respective application, but can quickly and efficiently be adapted as system solutions for other industries, products, and purposes as well. As one of the few providers on the market, we cover the entire process involved in working with fluid media: measuring, controlling, and regulating. To most of our customers, we are far more than just a provider of excellent products (although currently our product range spans more than 28,500 different products). Our customers also value us as a trusted consultant and experienced system solution provider. Quite possibly no other company’s range of expertise in this sector is as extensive as Bürkert’s. This makes us fast and independent. We are a one-stop shop—even when it comes to complex projects or highly sensitive, hygienically demanding enviroments. Our customers are always on the safe side with Bürkert in other respects, too. Our products, manufacturing, as well as the entire company are DIN ISO 9001 certified. Moreover, we are the first valve manufacturer outside of North America to receive the CSA Category Certification. This allows us to carry out all mandatory measurements ourselves and, if necessary, to issue the required certification to our customers. We also have ATEX certification and Ex approvals for various markets. And for us, it goes without saying that we adhere to international standards and norms.

EcoTurn ซีรยี ์ ได้แสดงให้เห็นแล้วา่ เป็นซีรยี ท์ ชี่ ว่ ยประหยัดในงานกลึง ด้วยประสิทธิภาพ ที่เท่าเทียมกับเม็ดมีขนาดปกติและใช้งานได้หลากหลาย EcoTurn ซีรีย์ จะช่วยลดต้นทุนงาน เก็บละเอียดและงานกลึงปานกลางด้วยวัสดุเหล็กและสแตนเลส ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติมของ Ecoturn Series หรือ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของTungaloy สามารถติดต่อได้ที่สำ� นักงานขายหรือ ที่ตัวแทนจ�ำหน่าย

» TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD.

Tel : (66) 2 751 5711 Fax : (66) 2 751 5715 Website : www.tungaloy.co.th

» ALPHA CONTROMATIC CO., LTD. Tel. 0-2721-1801-8 Fax. 0-2721-2657 E-mail : sales@alphac.co.th Website : www.alphac.co.th

MODERN MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINE MAGAZINE |

Producthight February 2015.indd 107

107

1/26/2015 7:26:23 PM


GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 ประหยัดเวลา ลดแรงงานคน กับ GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 อุปกรณ์ ขนย้ายที่จะท�ำให้คุณลืม Hand pallet แบบเดิมๆ ไปได้ลดแรงงานคนและท�ำงานรวดเร็วขึ้น ด้วยการเคลื่อนที่จากมอเตอร์ไฟฟ้าลากสิ่งของได้หนักถึง 1,500 กก. ผลิตภายใต้มาตรฐาน เยอรมัน โดยออกแบบให้มีความกะทัดรัด สะดวกและทนทาน พิเศษ! ส�ำหรับท่านที่สนใจในอุปกรณ์ GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 เพียง แค่นำ� Hand Pallet ของท่านทีใ่ ช้งานอยู*่ มาแลกซือ้ ท่านจะได้รบั ส่วนลดมูลค่าสูงสุด 10,000 บาท** วันนี้-31 ตุลาคม 2557เท่านั้น หมายเหตุ : *Hand Pallet ที่น�ำมาแลกต้องอยู่ในสภาพที่ยังใช้งานได้เท่านั้น ** Hand Pallet ยี่ห้อ GT Mover ได้รับส่วนลด 10,000 บาท และ Hand Pallet ยี่ห้อ อื่นๆ ได้รับส่วนลด 8,000 บาท

รับส่วนลดสูงสุด 10,000 บาท กับ GT MOVER SemiPowered Pallet 1.5 » บริษัท จี.ที.ซี. จ�ำกัด (GeTeCe Co., Ltd.) โทร : 02-651-5551 – 4 แฟ็กซ์ : 02-651-5558 E-mail : info@GeTeCe.com Website : www.GeTeCe.com

MACHINIST CALC™ PRO Increase your shop’s productivity and profitability. Precise. Fast. Easy to use. Convenient. Fast, precise machining calculations

•• •• •• •• ••

Speeds and Feeds Built-in Drill and Thread Size Tables Bolt Pattern hole layouts 3-Wire measurements Right Triangle Math / Trigonometry

Product Specifications

Size: 6.25”x 3.5”x 0.9” (160 mm x 90 mm x 25 mm) Weight: 7 oz. (200 gm) Includes Armadillo Gear and Pocket Reference Guide Power: Two 1.5-volt (LR-44/A76) Long-life Batteries Display: 12 Digits (8 normal, 4 fractions) with Full Annunciators LCD Dimensions: 0.625” x 2.5” (15 mm x 65 mm) Accuracy: 12 Digit Internal Accuracy Included with Every Machinist Calc Pro: Armadillo Gear Protective Hard Case, Long-life Batteries (Two LR-44), Quick Reference Guide And Easy-to-Follow User’s Guide. Full One-Year Limited Warranty

» JSR GROUP J.Sri Rung Rueng Impex Co., Ltd. Tel : 0-2327-0351-5, 0-2734-4588 Fax : 0-2327-0356-7, 0-2734-4519-20 C.Dureon Machine and Tools Co., Ltd. Tel : 038-743-414-21, 038-215-726-8 Fax : 038-743-422-3, 038-215-729 Website : www.jsr.co.th

Kaindl : เครื่องลับใบเลื่อย แบบอัตโนมัติ รุ่น SSG 600-A DC จากเยอรมนี •• เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ด้วยระบบการป้อนใบเลื่อยในแนวตรง และการท�ำงานอัตโนมัติ พร้อมระบบควบคุมแบบดิจิตอล จึงเพิ่มประสิทธิภาพของการท�ำงานให้มีความรวดเร็ว และแม่นย�ำสูง •• ส�ำหรับใบเลื่อยขนาดตั้งแต่ 100 - 700 มม. •• สามารถลับได้ทั้งฟันคาร์ไบด์ หรือไฮสปีด ปรับตั้งมุมได้ตามต้องการ ทั้งคมด้านในและ ด้านนอก

» บริษัท คราสส์เทค จ�ำกัด

Tel : 02-732 1144 E-mail : krasscom@krasstec.com Website : www.krasstec.com

108 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Producthight February 2015.indd 108

1/26/2015 7:26:25 PM


In-Sight Micro 1500 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ท�ำงานของระบบวิชั่นซิสเต็มส์ให้รวดเร็วยิ่งขึ้น

•• ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชั่น (NASDAQ: CGNX) ผู้น�ำทางด้านระบบแมชชีนวิชั่นของโลก เปิดตัว In-Sight® Micro 1500 รุ่นที่มีความเร็วในการจับภาพสูง มีขนาดกะทัดรัด และ เป็นระบบจับภาพด้วยกล้องอัจฉริยะทีม่ สี มรรถนะในการจับภาพด้วยความเร็วสูงถึง 200 เฟรมต่อวินาที (fps) •• In-Sight Micro 1500 มีความสามารถในการท�ำงานด้านการตรวจสอบได้มากถึง 400 แบบต่อวินาทีดว้ ยความละเอียดขนาด 640x240 ผลิตภัณฑ์ใหม่นยี้ งั ช่วยให้ ผูใ้ ช้สามารถ เลือกความละเอียดในการตรวจสอบได้มากถึง 200 รูปแบบต่อวินาทีที่ความละเอียด 640x480 และการตรวจสอบ 150 รูปแบบต่อวินาทีที่ ความละเอียด 800x600 •• “In-Sight Micro 1500 รวมเอาประสิทธิภาพทางด้านความเร็วในการจับภาพเข้ากับ ความเร็วในการประมวลผลเพื่อด�ำเนินงานทางด้านการตรวจสอบในทุกรายการไม่เว้น แม้แต่ในไลน์การผลิตทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ” กล่าวโดย ยอร์ค คูเค็น รองประธานและผูจ้ ดั การหน่วย ธุรกิจผลิตภัณฑ์ระบบวิชั่นซิสเต็มส์ “ผลิตภัณฑ์นี้จะช่วยให้ผู้ผลิตอาหาร เครื่องดื่มและ สินค้าอุปโภคบริโภคสามารถกระจายการตรวจสอบตามจุดที่ส�ำคัญต่างๆ ตามสายการ ผลิตที่เน้นประสิทธิภาพเพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพสินค้าและลดต้นทุน” •• In-Sight Micro มีระบบวิชั่นซิสเต็มส์ที่สมบูรณ์แบบภายใต้แพ็คเกจขนาดเล็กอย่างน่า ทึ่งซึ่งวัดได้เพียง 30 มม. x 30 มม. x 60 มม. ซึ่งท�ำให้มันเหมาะส�ำหรับการ ติดตั้งใน พื้นที่ที่จำ� กัดมาก อาทิ หุ่นยนต์สายการผลิตและเครื่องจักร •• In-Sight Micro 1500 เหมาะอย่างยิง่ ทีจ่ ะตอบสนองความต้องการทางด้านอุตสาหกรรม การประกอบบรรจุภัณฑ์ความเร็วสูง การใช้งานที่ต้องการตรวจสอบการมี/ไม่มี การ ติดตามการล�ำเลียงในสินค้าอุปโภคบริโภค อุปกรณ์ทางการแพทย์และอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ระบบวิชั่นซิสเต็มส์ In-Sight Micro 1500 วางจ�ำหน่ายแล้ว ส�ำหรับ ข้อมูลเพิ่มเติมโปรดเยี่ยมชม www.cognex.com/

» คุณศุภสิทธิ์ เชิดไชยกุล, ค็อกเน็กซ์ ประเทศไทย Tel : +66 85 157 1822, +66 81 917 2589 E-mail : cherdchaikul.supasit@cognex.com

The New Panel mounted power analyzers, CVM-B100, CVM-B150

Much more than power analyzer (มากกว่าค�ำว่า ดิจิตอลมิเตอร์ไฟฟ้า) •• เป็นผู้นำ� ในเครื่องมือวัดคุณภาพสูง จากประเทศสเปน •• ด้วยนวัตกรรมชั้นสูง เป็นผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นในด้านการออกแบบ ใช้งานง่าย และการ แสดงผลที่เหนือกว่าด้วยจอสีที่มีความละเอียดสูง มีการแสดงผล Graphic Interface แบบในลักษณะ SCV Technology (Slide, Choose & View) บนหน้าจอ display ได้ โดยตรง ขนาด 3.5” ในรุ่น CVM-B100 และขนาดใหญ่ถึง 5.6” ในรุ่น CVM-B150 พร้อมระดับการป้องกันน�้ำและฝุ่นสูงถึง IP65 •• การวัดและแสดงผลในค่าทางไฟฟ้าได้ครบตามความต้องการ รวมไปถึงค่า Harmonic ใน ล�ำดับสูงถึง 51 ล�ำดับ •• รองรับการคิดและค�ำนวณค่าไฟฟ้าแบบใหม่ (Tariff) ได้ทันที โดยไม่ต้องดัดแปลงหรือ แก้ไขเพิ่มเติมใดๆ กับตัวผลิตภัณฑ์ •• รองรับการค�ำนวณหรือเป็นผูช้ ว่ ยในการจัดท�ำรายงานผลสรุปในด้านสิง่ แวดล้อม (Green Energy ได้ เช่น KgCO2 เป็นต้น) •• รองรับการเชื่อมต่อ ควบคุมอุปกรณ์ภายนอก หรือ Network ในการบริหารจัดการ พลังงานได้ด้วยระบบ Power Studio SCADA Software ที่แถมให้กับตัวผลิตภัณฑ์ *บริษัทฯ มีทีมงานที่มีความช�ำนาญเฉพาะทางให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ รวมทั้งทีมติดตั้งที่มี ประสบการณ์ในการช่วยบริหารจัดการและควบคุมพลังงานในองค์กรของท่านได้อย่าง มืออาชีพ*

» บริษัท เอวีรา่ จ�ำกัด Tel : +662-681-5050 Fax : +662-681-5995 E-mail : marketing@avera.co.th Website : www.avera.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Producthight February 2015.indd 109

| 109

1/26/2015 7:26:28 PM


Susol VCB lead to Susol legend! Renew your thoughts by subverting the dominant paradigm. Focus your thoughts on the advantages and benefits gained through the Susol. Then you Will be able to achieve the Super Solution.

Susol Vacuum Circuit Breakers

• Customer needs for the breakers with high Interrupting capacity and large current due to the integration and increase of the load capacity. • Worldwide trend of diversification in the medium voltage distribution lines. • Increase of the reliability for the temperature characteristics of circuit breakers. • Main structure with high reliability application. • A variety of accessories and ability to maximize.

ASEAN Customer Support THK ได้ขยายการด�ำเนินงานเพื่อเพิ่มกิจกรรมการบริการลูกค้า THK is launching a new customer support service. โดยการเพิ่มกิจกรรมส�ำหรับการบริการลูกค้าในประเทศไทย We help our customers in Thailand with a comprehensive support structure Voltag 7.2k 12/17.5k 24kV 36kV 40.5kV

Interrupting current 8/12.5/20/25/31.5/40/50k 20/25/31.5/40/50kA 12.5/25/31.5/40k 25/31.5/40kA 25/31.5k

Rated curren 400/630/1250/2000/3150/4000A 630/1250/2000/3150/4000A 1250/2000/2500/3150A 1250/2000/3150 1250/2000/3150

» BTT UNITED CO., LTD. Tel : 0-2586-8733 Fax : 0-2587-8852 E-mail : info@bttunited.com. Website : www.BTTunited.com

• โดยผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่มีประสบการณ์ Technical support by experienced staff from designing stage • พร้อมมีสต็อคที่สามารถจัดส่งได้รวดเร็วหลากหลายรุ่น Quick delivery service by variety stock items • และมีบริการจัดฝึกอบรมโดยผู้อบรมคนไทย Offering technical trainings by our Thai staff

» THK RHYTHM (THAILAND) CO., LTD. LM System Division

Bangkok Branch Tel : 0-2751-3001 Fax : 0-2751-3003 E-mail : thk@trtc.co.th Website : http://www.thk.com/th (Headquarters) 3-11-6, Nishigotanda, Shinagawa-ku, Tokyo 141-8503 Japan Tel : +81-3-5434-0351 Fax : +81-3-5434-0353 (International Sales Department) Website : http://www.thk.com/

110 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Producthight February 2015.indd 110

1/26/2015 7:26:30 PM


ท่อลมของท่านยังใช้ท่อกัลวาไนซ์อยู่ใช่ไหม?

HIGH FEED END MILLS

ผิวสัมผัสของท่อกัลวาไนซ์จะเกิดการกัดกร่อนทีละเล็ก ละน้อยจากความชืน้ และน�ำ้ มันในระบบลม เกิดเป็นสนิม และเป็นตามดอีกทั้งยังเกิดผงสนิมอยู่ภายในท่อ ซึ่ง สามารถสร้างความเสียหายแก่อุปกรณ์ลม ตะกรันและ ความขรุขระทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลให้การไหลของลมลดลงและ เกิดความดันตกคล่อมมากขึ้น (reducing air flow and increasing pressure drops) และที่แย่ไปกว่านั้นยัง ท�ำให้เกิดการรัว่ บางครัง้ มากกว่า 30% ซึง่ ความสูญเสีย นี้เป็นมูลค่าที่สูงแต่สามารถท�ำให้ลดลงได้ บทสรุป : ท่านสามารถลดปัญหาของท่อลมของท่านได้จริง

เลือกใช้นวัตกรรมใหม่และทรงประสิทธิภาพ

Face milling

Transair® สามารถแก้ปัญหาที่เกิดกับท่อกัลวาไนซ์ได้อย่างดี ท่อ Transair® ท�ำจากวัสดุ อลูมเิ นียมทีไ่ ม่เป็นสนิมด้วยผิวทีร่ าบเรียบตลอดอายุการใช้งานท�ำให้ลมสะอาด ตัง้ แต่ปม๊ั ลม จนถึงจุดใช้งาน ท�ำให้อายุการใช้งานของอุปกรณ์นิวเมติกส์ยืนยาว อีกทั้งลดการอุดตันของ ไส้กรองโดยไม่ต้องเปลี่ยนบ่อยๆ Transair® สามารถทดแทนท่อเก่าหรือต่อจากระบบเก่าได้ ทันทีและปรับปรุงประสิทธิภาพให้สูงขึ้น ง่ายต่อการขยายและดัดแปลงโดยไม่ต้องรอผู้รับ เหมาอีกต่อไป

Routing

คุณประโยชน์ของ Transair® Plunge milling

» TOOLNET (THAILAND) CO., LTD. Tel : 0-2736-2381-4 Fax : 0-2736-2385 E-mail : info@toolnet.co.th Website : www.toolnet.co.th

ประสิทธิภาพสูงสุด •• ไม่เป็นสนิม •• อัตราการไหลสูงสุด •• ไม่รั่ว ท�ำให้ประหยัด พลังงาน

ลดค่าติดตั้ง •• ติดตั้งง่าย •• ประกอบได้เร็ว •• สามารถจ่ายลมได้ทันที ภายหลังติดตั้ง

การประยุกต์การใช้งาน •• เป็นชิ้นส่วนที่ถอด ประกอบง่าย •• เป็นชิ้นส่วนส�ำเร็จพร้อม ใช้งาน •• ต่อขยายได้อย่าง รวดเร็ว

» PARKER HANNIFIN (THAILAND) CO., LTD. Tel : 0-2186-7000 Fax : 0-2374-1645 E-mail : phthailand@parker.com Website : www.parker.com/thailand MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Producthight February 2015.indd 111

| 111

1/26/2015 7:26:31 PM


Modern Manufacturing 2015 ver CS5.pdf 1 26/1/2558 17:44:41

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD_MO_10_2014_Magna.pdf 1 9/25/2014 4:20:35 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


HouseAd_001_C_CS5.pdf 1 26/1/2558 17:47:37

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


115_AD_.pdf 1 2/20/2014 5:02:36 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


004_AD Alpha.pdf 1 3/20/2014 2:44:12 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.