Vol. 10 No. 9 | September 2014 | 80 Baht
Machine Tools & Metalworking เทคโนโลยีเครื่องจักรกลและโลหการมาตรฐานระดับโลก
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
THE EXCELLENT OF NEW GENERATION MULTI-TASKING MACHINE
PERSPECTIVE OF THAILAND MACHINE TOOLS & METALWORKING INDUSTRY
ครบเครือ่ งเรือ่ งเครือ่ งจักรกลและโลหการ เขมขนครบรสครบเครือ่ งแบบ 360 ํ เพือ่ ใหคณ ุ รูร อบพรอมทุกดานกับวงการ เครือ่ งจักรกลและแมพมิ พไทยในป 2015 30-33
Tungaloy Cutting Tool (Thailand) Co., Ltd TCIF Tower 4th floor 1858/5-7 Bangna-Trad Road km.5 Bangna, Bangna, Bangkok 10260 Tel: (66) 2 751 5711 Fax: (66) 2 751 5715
EDITORIAL
ครบเครื่องเรื่องเครื่องจักรและโลหการ
PERSPECTIVE OF THAILAND MACHINE TOOLS & METALWORKING INDUSTRY
จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณำธิกำรบริหำร (Editor in Chief)
สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน ตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่นิตยสาร MM MACHINE TOOLS & METALWORKING ได้น�าเสนอสาระ และคุณค่าสู่คุณผู้อ่าน ก็ได้รับ การตอบรับเป็นอย่างดีเสมอมา เป็นโอกาสอันดีที่เราจะมอบความพิเศษ ส�าหรับคุณผู้อ่านที่น่ารักของเรา ด้วยการน�าสาระพิเศษภายใต้แนวคิด ครบเครื่องเรื่องเครื่องจักรและโลหการ PERSPECTIVE OF THAILAND MACHINE TOOLS & METALWORKING INDUSTRY โดย น�าเสนอเนื้อหาที่ตอบโจทย์ตรงใจครอบคลุมภาพรวมด้านงานเครื่องจักร และโลหการของประเทศไทย ทั้งในรูปแบบของบทความ ถาม-ตอบ รวม ไปถึงพาชมโรงงาน และข้อมูลส�าหรับการเตรียมพร้อมเพื่อเข้าร่วมงาน METALEX 2014 อย่างได้ประโยชน์ และคุ้มค่าอีกด้วยนะคะ โดยครัง้ นี้ MM MACHINE TOOLS & METALWORKING ได้จบั มือกับพันธมิตรเพื่อร่วมกันสนับสนุนและสรรหาคุณค่า และสาระส�าหรับ คุณผู้อ่านโดยเฉพาะ อย่างหลากหลายทั้ง • สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย (TDIA) • สถาบันไทย-เยอรมัน (TGI) • วารสารเทคโนโลยีวัสดุ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี • ศู น ย์ วิ จั ย เเละพั ฒ นาแม่ พิ ม พ์ แ ละดายพลาสติ ก ภาควิ ช า เทคโนโลยี วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • ศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (DECC) • TRADE EXHIBITION ORGANIZERS โดยจะเริ่มตั้งแต่ฉบับเดือนตุลาคม-มกราคม 2558 ค่ะ ติดตามราย ละเอียดได้ที่หน้า 30-33 นะคะ ส�าหรับบทความเด่นของฉบับนี้ อาทิ เรือ่ งมาตรฐานงานดัดขึน้ รูปตัว ช่วยส�าคัญที่ท�าให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น หน้า 42-46 ตามด้วยเรื่องการเคลือบ ผิวด้วย AlCrN ยืดอายุใบมีดกัดได้ยาวนานขึ้นสี่เท่า หน้า 50-51 เรื่อง กลยุทธ์ส�าหรับการเจียระไนใบพัดเทอร์ไบน์ให้คุ้มค่า หน้า 56-58 เรื่อง เครื่องกลึง/กัดแบบ Modular ส�าหรับสายการผลิตหลากหลายรูปแบบ หน้า 60-61 รวมถึงเรือ่ งเพิม่ ความแข็งแกร่งให้กบั โลหะด้วยการผสมผสาน กับเซรามิค หน้า 70-73 และเรื่องอื่นๆ ภายในฉบับค่ะ แล้วพบกับความพิเศษตั้งแต่ฉบับหน้าเป็นต้นไปนะคะ
jirapat.greenworld@gmail.com 6
MM
Machine Market / August 2013
CONTENTS | SEPTEMBER 2014
Machining การท�างานหลายขั้นตอนในระหว่างการจับ
ชิ้นงานเพียงครั้งเดียวโดยให้ได้ประสิทธิภาพสูงที่สุดเป็น สิ่งที่ถูกถามถึง ซึ่งในเรื่องนี้เครื่อง Machining Center มัลติฟังก์ชันแบบโมดูลาร์ก็อาจเป็นค�าตอบ 60
Material เซรามิคเซอร์คอนเนียมไดออกไซด์สามารถ
เพิ่มความแข็งแกร่งให้กับโลหะ TRIP ได้ และนั่นก็เป็น ที่มาของได้วัสดุผสมชนิดใหม่ที่แข็งแกร่งเป็นพิเศษ 70
Forming ชิ้นงานดัดขึ้นรูปจากท่อและโปรไฟล์หน้าตัดก�าลังเป็นที่ต้องการอย่างมาก แต่การ
ออกแบบ การวางแผนการผลิตที่รวดเร็ว และสอดคล้องกับกระบวนการผลิตยังขาดองค์ความรู้ อยู่มาก ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนามาตรฐานงานดัด เพื่อช่วยให้ท�างานได้สะดวกขึ้นมา 42
ALL AROUND
PRODUCTION
AUTOMATION
15 หุ่นยนต์ท�างานเชิงเส้นได้รับการยอมรับ ด้านการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า 15 ขดลวดที่ผลิตด้วยกระบวนการหล่อ เพิ่มประสิทธิภาพในเครื่องจักรไฟฟ้า 15 เครื่องจักรต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะ กับข้อบังคับด้านการออกแบบ
42 มาตรฐานงานดัดขึ้นรูป ตัวช่วยส�าคัญที่ทา� ให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น
64 ซอฟต์แวร์ส�าหรับลดเวลาสตาร์ทอัพ ให้กับเครื่องจักร CNC
50 การเคลือบผิวด้วย AlCrN ยืดอายุใบมีดกัดได้ยาวนานขึ้นสี่เท่า
CONSTRUCTION
News Update
SPECIAL FEATURE TDIA Corner
16 ความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากร เพื่ออุตสหกรรมแม่พิมพ์ระหว่าง ส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กับสมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย
Material
Forming Technology Tools
Forming Technology
52 โปรแกรมสร้างแบบจ�าลองช่วยลดต้นทุน การผลิตและพัฒนาแม่พิมพ์งานขึ้นรูป
Machining Technique
56 กลยุทธ์ส�าหรับการเจียระไน ใบพัดเทอร์ไบน์ให้คุ้มค่า
Machining Technique
60 เครื่องกลึง/กัดแบบ Modular ส�าหรับสายการผลิตหลากหลายรูปแบบ
24 ลายนิ้วมือดิจิตอลของพลาสติก ที่มีประสิทธิภาพสูง
Education
27 จบ ม.6 หรือ ปวช. ไปเรียนต่อเยอรมัน ได้อย่างไร (ตอนที่ 1) 8
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
Control Technique
Fluid Technique
66 ระบบเกียร์ต้นก�าลังแบบไฮดรอริก ใช้เป็นมอเตอร์แนวราบที่ปลอดการสึกหรอ
Material
70 เพิ่มความแข็งแกร่งให้กับโลหะ ด้วยการผสมผสานกับเซรามิค
Machine Element
74 การลดขนาดช่วยท�าให้การประกอบ แท่นรองแบบยืดหยุ่น 2 ชั้นง่ายขึ้น
SEPTEMBER 2014 | CONTENTS
AD. Lube 1/3V
Control การน�าซอฟต์แวร์มา ใช้แทนการท�างานด้วยมือเป็น สิ่งที่ช่วยเร่งให้สามารถเริ่มต้น ใช้งานเครื่องจักร CNC ได้เร็ว ขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังช่วย ท�าให้หลีกเลี่ยงการป้อนข้อมูล ที่ผิดพลาดได้อีก 64
Tools ในกระบวนการกัดเฟืองและการแทงขึ้นรูป Machining การเจียระไนเป็นกระบวนการที่มัก
เครื่องมือที่เคลือบผิวด้วย AlCrN ซึ่งมีีอายุการใช้ ถูกเลืิอกมาใช้ในการผลิตใบพัดเทอร์ไบน์ ซึ่งก็มี งานยาวนาน ช่วยท�าให้ประหยัดเวลาได้มาก 50 กลยุทธ์มากมายที่ท�าให้ท�างานได้อย่างคุ้มค่า 56
COVER STORY 34 MAZAK
6 EDITORIAL ครบเครื่องเรือ่ งเครื่องจักรและโลหการ PERSPECTIVE OF THAILAND MACHINE TOOLS & METALWORKING INDUSTRY 10 SENIOR EDITOR การจราจรในอนาคต 14 ADVERTISING INDEX 76 PRODUCTS & DEPLOY ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่น่าสนใจ 80 SUBSCRIPTION สมัครสมาชิกนิตยสาร
มาซัค… ผู้น�าด้านการผลิตและจ�าหน่ายเครื่องกล มุ่งสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์และงานบริการ ADVERTORIAL สู่ความเป็นเลิศ ด้วยประสบการณ์ 95 ปี
48 TOOLNET 62 THAISAKOL GROUP
MM
Machine Market / August 2013
9
SENIOR EDITOR
แนะน�ำมหำวิทยำลัยในเยอรมัน University of Applied Sciences หรือ Fachhochschule ซึ่ง บางแห่งเรียกสั้นๆ ว่า Hochschule ที่ MM ฉบับนี้ขอน�าเสนอคือ Hochschule Reutlingen มหาวิทยาลัยแห่งนีเ้ ป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ Baden–Wuerttemberg ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมัน ซึ่งพัฒนามาจากโรงเรียน ช่างสิง่ ทอทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี ค.ศ.1855 และปรับขึน้ เป็นวิทยาลัยเทคนิค อุตสาหกรรมแห่งกษัตริย์ แคว้น Wuerttemberg ก่อนจะกลายเป็น วิทยาลัยเทคนิคแห่งรัฐ Baden-Wuerttemberg ในปี ค.ศ.1918 แล้ว พัฒนาขึน้ เป็นสถาบันผลิตวิศวกรแห่งรัฐหรือ Staatliche Ingenieurschule ในปี ค.ศ.1938 และผ่านการปฏิรูปการศึกษาของเยอรมันใน ปี ค.ศ.1971 กลายเป็น Fachhochschule ก่อนมาเปลี่ยนชื่อเรียกว่า Hochschule Reutlingen ในปี ค.ศ.2005 พร้อมๆ กับการจัดฉลอง ครบรอบการก่อตั้ง 150 ปี เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2005 ปัจจุบันทางมหาวิทยาลัยแบ่งการจัดการศึกษาออกเป็น 5 คณะ คือ เคมีประยุกต์, ESB Business School, สื่อสารคอมพิวเตอร์, วิศวกรรมศาสตร์, สิ่งทอและการออกแบบ, มีนักศึกษาทั้งระดับ ปริญญาตรีและปริญญาโทรวม 5,091 คน (WS 2012/13) บริการ การศึกษาด้วยบุคคลากร 299 คน (2013) ใครสนใจศึกษาทางด้าน สื่อสารคอมพิวเตอร์, Business informatics, Medizintechnic informatics, เคมีประยุกต์, ชีวการแพทย์, วิศวกรรมเครือ่ งกล, แม็กคาทรอนิกส์, การบริหารการผลิต, วิศวกรรม สิ่งทอ, การบริหารสิ่งทอ, การออกแบบสิ่งทอ ลองเปิดเข้าไปดูได้ที่ www.reutlingen-university.de การศึกษาในรัฐ Baden-Wuerttemberg ของเยอรมันปัจจุบัน ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน แต่มีเก็บค่าบริการสังคมเทอมหนึ่งๆ 146.10 ยูโร โดยเงินจ�านวนนี้จะถูกส่งให้องค์การนักศึกษาส่วนกลาง 74.10 ยูโร ค่าบริหารจัดการของทางมหาวิทยลัย 60 ยูโร และที่เหลืออีก 12 ยูโร เป็นเงินสนับสนุนสภานักศึกษาของทางมหาวิทยาลัยเอง สนใจก็ลองดูนะครับ... ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
Studying in Germany สนใจติดต่อ : German Academic Exchange Service (DAAD : Deutscher Akademischer Austausch Dienst) อาคารมูลนิธิวัฒนธรรมไทย-เยอรมัน 18/1 ซอยเกอเธ (แยกซอยงามดูพลี) ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาธร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2286-8708-9 แฟกซ์. 0-2286-4845 E-mail : info@daad.or.th Website : www.daad.or.th, www.daad.de 10 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์
(Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)
ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ
ผู้แทนกิตติมศักดิ์สมาคมวิศวกรเคมี และไบโอเทคโนโลยีเยอรมัน (DECHEMA e.V) ในประเทศไทย
การจราจรในอนาคต อุตสาหกรรมยานยนต์วาดอนาคต “ไม่เอาคนขับ” ซึ่งอาจเป็นจริงได้ในอีก 15-20 ปีข้างหน้านี้ ก่อนจะถึงวันนั้นฝ่ายกฎหมายและองค์กรคุ้มครองผู้บริโภค ควรท�าความเข้าใจกับปัญหาอันอาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย เทคโนโลยีนั้นมีคุณอนันต์ แต่ก็มีโทษมหันต์ด้วยเช่นกัน ถ้าไม่รู้จักใช้อย่างถูก ต้อง และถ้าไม่เข้มงวดกับการผลิต รวมไปถึงไม่มีการบ�ารุงรักษาที่ถูกต้อง กว่า 30 ปีมาแล้วทีอ่ ตุ สาหกรรมยานยนต์หนั มาพึง่ เทคโนโลยีอเิ ล็คทรอนิกสมากขึน้ เริม่ ตั้งแต่จุดระเบิดอิเล็คทรอนิกส์ไปถึงสมองกลควบคุมการท�างานของเครื่องยนต์, ระบบจ่ายเชื้อเพลิง, น�้ามัน, ไอดีและไอเสีย รวมไปถึงคันเร่งไฟฟ้า, เพาเวอร์ไฟฟ้า ฯลฯ เล่นเอาช่างซ่อมทีถ่ นัดเครือ่ งกล แต่ไม่ถนัดไฟฟ้างงไปตามๆ กัน ท�าให้ผมต้อง นึกถึงผูอ้ า� นวยการฝ่ายเยอรมันทีเ่ ข้ามารวมก่อตัง้ วิทยาลัยเทคนิค ไทย – เยอรมัน ขอนแก่นเมือ่ กว่า 50 ปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ให้นโยบายเอาไว้วา่ ให้มแี ผนกช่างไฟฟ้ารถยนต์ แต่ตอนนั้นไม่ค่อยมีใครสนใจเรียนจนท้ายที่สุดแผนกก็ถูกยุบไป ล่าสุดสื่อเยอรมันรายงานว่าหลายๆ อย่างที่มีอยู่ในรถยนต์ปัจจุบันจะหายไป ในอนาคต เช่น กระจกมองหลัง คาดว่าคงไม่มีความจ�าเป็นอีกต่อไปตั้งแต่ปี ค.ศ.2030 ทั้งนี้ เพราะเทคโนโลยียานยนต์ตอนนั้นจะพร้อมด้วยระบบอีเล็คทรอนิกส์ค�านวนระยะ และมุมในการขับขี่และเข้าจอด ซึ่งการไม่มีกระจกส่องข้างก็เป็นการดีเชิงอากาศ พลศาสตร์ ช่วยให้ประหยัดพลังงานมากขึ้นด้วย ระบบเสียงเตือน ให้เบรคที่มีใช้เป็นเสียงปี๊บๆ ในรถบางรุ่นปัจจุบันก็ไม่มี ความจ�าเป็นอีกต่อไป เพราะในวันนัน้ ระบบเซ็นเซอร์และเบรคไฟฟ้าจะท�าการเบรค เครื่องยนต์และห้ามล้อไปด้วยในตัว แตร เป็นอีกอย่างหนึ่งที่ไม่มีความจ�าเป็นต้องใช้ให้หนวกหู ตั้งแต่ปี 2030 เพราะตอนนั้นระบบอิเล็คทรอนิกส์จะลิงค์ด้วยการสั่นสมาร์ทโฟนหรือนาฬิกาของ ผู้ร่วมจราจรให้ทราบถึงภัยใกล้ตัวที่อาจเกิดขึ้น คันเหยียบ ทั้งหลายทั้งคันเร่ง, คลัช, เบรค คาดว่าไม่มีความจ�าเป็นต้องใช้อีก ต่อไป ตั้งแต่ปี 2035 เพราะตอนนั้นระบบควบคุมทั้งหมดจะตกอยู่กับ Autopilot ซึ่งปัจจุบันรถหลายรุ่นน�ามาใช้บ้างแล้วท�าให้ผู้ใช้ไม่ต้องเหยียบคันแร่งนานๆ เมื่อ ขับทางไกล พวงมาลัย คงไม่มีความจ�าเป็นตั้งแต่ปี 2035 เช่นกัน ปัจจุบันมีรถต้นแบบที่ Google น�ามาใช้ไปถ่ายรูปเก็บข้อมูลสถานที่หลายๆ แห่งไม่มีคนขับเลย ต่อไปนีเ้ รากลายเป็นผูโ้ ดยสารกันหมด ก�าหนดเป้าหมายแล้วนัง่ คุยกันหรือนอน ตามสบาย ค่ายรถหลายค่ายเริ่มต้องคิดว่าจะออกแบบห้องโดยสารอย่างไร เพื่อ เอาใจลูกค้าแต่กว่าจะถึงวันนัน้ เราหลายๆ คนคงไปก่อนแล้ว ก็ฝากให้ฝา่ ยกฎหมาย และองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคน�าไปคิดพัฒนากระบวนการให้ความยุติธรรมต่อทุก ฝ่ายในภายภาคหน้าด้วยก็แล้วกัน... สวัสดี
Siam elmatech Since the establishment of Siam elmatech on the 20th November, 1995 until now there are over 2,000 machines which we are responsible for, including those ordered from us and those imported by customers who trust us for aftersales service. Siam elmatech began as a reseller of Electric Discharge Machining Application from European manufacturers and nowadays our company is a reseller of many other machines from various brands to meet all kinds of requirements and needs from our customers, ranging from printing mould manufacturing, template manufacturing, as well as mass production. We have expanded to all kinds of industry, such as plastic and metal pieces used in household items, electrical appliances, food packaging, cosmetics, automobile parts, airplanes as well medical tools. Currently Siam elmatech is an authorized reseller of the following brands:
Tap Remover (TR100)
Super Drill
ZNC EDM
Surface Grinder
Wire Cut
CNC EDM
Tool & Accessories
High Speed Milling
CNC Tapping Machine Center
CNC Machining Center
CNC Lathe
Toolroom Precision CNC Lathe Double Column CNC Machining Center
Horizontal milling & Boring CNC Machining
Siam elmatech
Was established by a group of engineers who worked in aftersales service areas, which are considered to be a major force in boosting the sales for machining application from Switzerland. With knowledge, talent and experience, the business is thriving and moving forward. Up to the present moment, we have an increasing number of regular customers who make orders with us frequently and enjoy our effective technical support as well as a number of new customers who receive glowing recommendations from our generous patrons. The executives and all staff members are grateful to all customers for their trust and loyalty in our products and services. We strive to respond to every customer need with all our existing range of products and services as well as upcoming ones in the future.
บริษัทสยามเอลมาเทค จำกัด / SIAM ELMATECH CO.,LTD. 12/3 หมู10 ตำบลคลองขอย อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 12/3 Moo 10, Klong-Khoi, Pak-kred, Nonthaburi 11120 โทร/Tel : (02)159-6391-3, (084)757-6662 แฟกซ/Fax : (02) 159 6394 E-mail : ukofset@ksc.th.com WebSite : www.siamelmatechgroup.com
To know us more, please go to: www.siamelmatechgroup.com
n ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ มีเดีย (ไทยแลนด์) จ�ากัด 244 ซอยลาดพร้าว 107 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสาร 0-2769-8120 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th www.mmthailand.com คณะที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ ภายใต้ความร่วมมือจาก Thai-Germany Technology Promotion Club Verein der ehemaligen Thai-Studenten in Deutshland Unter koeniglicher Schirmherrschaft โดย สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ จินดา ฮั้งตระกูล ชูพงษ์ วิรุณหะ เจษฎา ตัณฑเศรษฐี ดร.วีระพันธ์ รังสีวิจิตรประภา นาวาอากาศตรี ดร.พงศ์พันธ์ แก้วจินดา พลอากาศตรี ปัญญา เชียงอารีย์ นาวาอากาศเอก ขวัญบุญ จุลเปมะ
Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing. Dr.-Ing. Dr.-Ing. Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing.
กรรมการผู้จัดการ : สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป : ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร : จิรภัทร ข�าญาติ เลขานุการกองบรรณาธิการ : จิดาภา แจ้งสัจจา กองบรรณาธิการ : ณัฐกฤตา พืชนุกูล หัวหน้าฝ่ายศิลปกรรม : วรพจน์ บุญเกตุ ฝ่ายศิลปกรรม : กิตติศักดิ์ ม้วนทอง ผู้บริหารฝ่ายขาย : พัชร์สิตา ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา : อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสา โสภิณ ประสานงานฝ่ายโฆษณา : ชุลีพร สุถาลา ฝ่ายบัญชี : เข็มพร นิลเกษ ฝ่ายการตลาดและสมาชิก : ภัทรานิษฐ์ เจริญผลจันทร์, สุณิสา ศิระวัน พิมพ์ : บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ากัด โทรศัพท์ 0-2731-1155-60 โทรสาร 0-2731-0936
Worldwide
Switzerland
SMM Schweizer Mashchinenmarkt www.smm.ch MSM Le Mensuel de I’industrie www.msm.ch
MM Magazyn Przemyslowy www.magazynprzemyslowy.pl MM Prumyslove spektrum www.mmspektrum.com
n การสมัครสมาชิก
Austria MM das osterreichische Industriemagazin www.maschinenmarkt.at
Poland
Czech.Rep. Hungary
MM Muszaki Magazin www.mm-online.hu
Ukraine MM Money and Technplog www.mmdt.com.ua
Turkey
MM Makina Magazin www.dunyagazetesi.com.tr
Thailand
MM Machine Tools & Metalworking www.mmthailand.com MM Xiandai Zhizao www.vogel.com.cn
Korea
MM Korea www.mmkored.kr
India
Technical Advisory Committees under the collaboration of Thai-Germany Technology Promotion Club Verein der ehemaligen Thai-Studenten in Deutshland unter koeniglicher Schirmherrschaft by
MMI Modern Manufacturing India www.modernmanufacturing.in
Suriyan Tiampet Chinda Hungtrakul Chupong Wiroonha Jesada Tanthasettee Dr.Weerapan Rangseewijitprapa Sqn.Ldr. Dr.Pongpan Kaewchinda A.M. Panya Chiang-aree Gp.Capt. Kwanboon Chulapema
MM Indonesien www.mm-industri.com
Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing. Dr.-Ing. Dr.-Ing. Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing.
Managing Director : Sumet Kittiteerapornchai General Manager : Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief : Jirapat Khamyat Editorial Secretary : Jidapa Janksatja Editorial Staff : Nutgritta Puechnukul Art-Director : Worapot Boonyakate Graphic Designers : Kittisak Mounthong Account Director : Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative : Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin Advertising Coordinator : Chuleporn Sutala Accountants : Khemporn Nilget Maketing and Customer Relationship : Phattranit Charoenpoljan, Sunisa Sirawan Printing : G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936
12 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
n การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบไฟล์ ของไมโครซอฟท์เวิร์ดบันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์บทความบันทึก เป็น JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียดประมาณ 300dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกองบรรณาธิการ โดยตรง
China Owner : Green World Media (Thailand) Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8120 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com
เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฎในนิตยสารมี จ�านวนมากและมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทาง นิตยสารจึงไม่สามารถจะประกาศความเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็นทางนิตยสาร จะประกาศเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนที่มีการกล่าว อ้างถึงในบทความ หากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้ โดยทั่วไปแล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้าเพื่อ ให้การน�าเสนอบทความกระชับและน่าอ่าน
Indonesia Germany
MM MasdinenMarket www.masdinenmarket.de
ท่ า นสามารถใช้ ใ บสมั ค รสมาชิ ก ที่ ตี พิ ม พ์ ใ น นิตยสารฉบับล่าสุดเพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดย ส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือส่งทางโทรสาร หมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการ ช�าระเงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 หรืออีเมล marketing@mmthailand.com
C
M
Y
CM
n การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร ทีมงานนิตยสารยินดีรบั ฟังความคิดเห็นและค�า ติชมเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หาก ท่านมีความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ ยินดีจะน�ามาตีพมิ พ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชือ่ และทีอ่ ยูส่ า� หรับการติดต่อกลับ โดยกองบรรณาธิการ ขอสงวนสิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�าตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของ นิตยสาร n ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจ เกีย่ วกับอุตสาหกรรมและการบริหารธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับ ภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิด ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณี การละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้องรับผิด ชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผูเ้ ขียนบทความต้อง เป็นผูร้ บั ผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียว อนึง่ ข้อคิดเห็นในทุก บทความทีป่ รากฎในนิตยสารเล่มนีเ้ ป็นความคิดเห็น ส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความ คิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany The Thai edition of the MM Maschinemarkt is a publication of Green World Media (Thailand) Co.,Ltd. Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., 97082 Wurzburg/Germany. Copyright of the trademark "MM Maschinemarkt" by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., 97082 Wurzburg/Germany.
MY
CY
CMY
K
ADVERTISERS INDEX SEPTEMBER 2014 B BOYATECH (THAILAND) CO., LTD. ..................................................................................................................................51 0-2644-2292, www.boyatech-carbide.com F FUTURE VISION ASSOCIATE CO., LTD. ..........................................................................................................................21 0-2894-0655, fvamach@hotmail.com G GLOBAL SEAL CO., LTD. .......................................................................................................................................................2 0-2591-5256-7, www.globalseal.co.th I ISCAR (THAILAND) CO., LTD. .................................................................................................................................LW, RW 0-2713-6633-8, www.iscarthailand.com J JAIMAC GROUP CO., LTD. ..................................................................................................................................... ......14, 41 0-3813-0195-9, www.jaimac.com JSR GROUP CO., LTD. .............................................................................................................................................................4 0-2327-0351-5, www.jsr.co.th L LOGISTICS MART CO., LTD. ...............................................................................................................................................40 0-2751-1466, www.logisticsmart.net M MAZAK (THAILAND) CO., LTD. .......................................................................................................................1, 34-37, 82 0-2402-0650, www.mazakthai.com O ONI INTERTRADE CO.,LTD. ................................................................................................................................................81 0-2750-8525, www.oni-cuttingtools.com P P.S.M. BEARING CO.,LTD. ......................................................................................................................................................7 0-2882-2888, www.psmbearing.com S S.T. MODERNTOOL CO., LTD .............................................................................................................................................23 0-2417-0840-8, www.stmoderntool.com SIAM ELMATECH CO., LTD. ...............................................................................................................................................11 0-2159-6391-3, www.siamelmatechgroup.com SUMITOMO ELECTRIC HARDMETAL MANUFACTURING (THAILAND) LTD. .....................................................5 0-3857-1940-5, www.sumitool.com T TECH NC CO., LTD. .............................................................................................................................................. ................40 0-2949-7140-2, www.tech-nc.com TOOLNET (THAILAND) CO., LTD. ........................................................................................................................39, 48-49 0-2736-2381-4, www.toolnet.co.th TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD. ................................................................................ .................3 0-2751-5711, www.tungaloy.co.th W WARWICK MACHINERY (THAILAND) CO., LTD. .........................................................................................................13 0-2718-3200, www.warwickmachinery.co.th
14 MM
Machine Market / August 2013
NEWS UPDATE | ALL AROUND
Indunorm หุ่นยนต์ท�างานเชิงเส้นได้รับการยอมรับ ด้านการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า หุ่นยนต์ท�ำงำนเชิงเส้นรุ่น LR60 มีคุณสมบัติ เด่นด้ำนกำรประหยัดพลังงำน มีระบบกำรท�ำงำน ทีม่ นั่ คง และตอบสนองต่อกำรสัง่ กำรอย่ำงดีเยีย่ ม ซึ่งหุ่นยนต์รุ่นนี้ บริษัท Indunorm Bewegungstechnik ได้เลือกให้เป็นตัวแทนของหุน่ ยนต์ระบบ สองแกนส� ำ หรั บ กำรท� ำ งำนแบบอั ต โนมั ติ ด ้ ำ น อุตสำหกรรม ในขณะทีห่ นุ่ ยนต์อนื่ มีระบบทีซ่ บั ซ้อน และมีแกนต่ำงๆ ซึ่งรวมกันแล้วมีน�้ำหนักมำกนั้น หุ่นยนต์ LR60 จะมีแกนที่จัดวำงในแนวระดับที่ เท่ำกัน และเคลื่อนที่ขนำนกันไปตำมทิศทำงกำร เคลื่อนที่ท�ำให้ประหยัดพื้นที่และพลังงำนได้มำก ภำยใน LR60 จะมีแพลตฟอร์มที่ใช้ก�ำหนด ต�ำแหน่งแบบสองมิติโดยแกนเวลำเชิงเส้นที่ถูก จัดวำงมำขนำนกัน ส่วนเพลำเชื่อมต่อจะคอยท�ำ หน้ำทีป่ ระสำนแกนทีอ่ ยูต่ รงข้ำมกัน ภำยในแพลตฟอร์มประกอบด้วย Control Pad ซึ่งมีหน้ำที่น�ำ แกนเชิงเส้นแกนอื่นๆ มำใช้ส�ำหรับมิติที่สำม และ
เนื่องจำกมีเพียงแพลตฟอร์มและ Control Pad เท่ำนั้นที่เคลื่อนที่ ท�ำให้มวลที่เคลื่อนที่มีน�้ำหนัก เบำกว่ำโครงสร้ำงอื่น มีแรงเฉื่อยน้อยกว่ำ ท�ำให้ ระบบท�ำงำนได้เร็วกว่ำและยังสำมำรถตั้งค่ำได้ ง่ำยด้วย ส่วนกำรก�ำหนดต�ำแหน่งของสิ่งของที่ บรรทุกนัน้ สำมำรถใช้มอเตอร์ขบั เคลือ่ นขนำดเล็ก ที่ประหยัดพลังงำนมำท�ำงำนได้ MM
ส่วนประกอบกว่ำ 90 เปอร์เซ็นต์ที่น�ำมำใช้ในหุ่นยนต์ ท�ำงำนเชิงเส้น มำจำกโกดังที่เก็บสะสมไว้
Fraunhofer IFAM ขดลวดที่ผลิตด้วยกระบวนการหล่อ เพิ่มประสิทธิภาพในเครื่องจักรไฟฟ้า สถำบัน Fraunhofer IFAM ได้พัฒนำเทคนิค กำรหล่อแบบใหม่ ส�ำหรับน�ำไปใช้ผลิตขดลวดที่มี ควำมแข็งแรง มีประสิทธิภำพ และมีควำมสำมำรถ ในกำรระบำยควำมร้อนทีด่ ขี นึ้ โดยมีอตั รำเติมเต็ม ช่องว่ำงสูงสุดถึง 90 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งท�ำให้สำมำรถ ใช้ประโยชน์ทวั่ ทัง้ ขนำดโครงสร้ำงได้ดขี นึ้ และเมือ่ เปรียบเทียบกับขดลวดทีม่ ขี นำดโครงสร้ำงเท่ำกัน
VDMA เครื่องจักรต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะ กับข้อบังคับด้านการออกแบบ กำรประชุมเครือข่ำย “กำรเคลือ่ นไหวนโยบำย กำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงมีประสิทธิภำพ” ครั้งที่ 13 ภำยในประเทศเยอรมนี ได้มงุ่ เน้นประเด็นเรือ่ งกำร พัฒนำต่อยอดโครงกำรของรัฐบำลทีส่ นับสนุนกำร ใช้ทรัพยำกรอย่ำงคุ้มค่ำ โดยที่ประชุมมีควำมเห็น ว่ำ กำรที่จะเพิ่มประสิทธิภำพในกระบวนกำรผลิต ได้นั้น จ�ำเป็นต้องมีหน่วยงำนที่คอยให้ค�ำแนะน�ำ ด้ ำ นกำรเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ ำพของพลั ง งำน และ วัตถุดิบแก่ผู้ประกอบกำรอย่ำงเพียงพอ นอกจำก นี้ VDMA (Verband Deutscher Maschinenund Anlagenbau) ยังมีควำมเห็นตรงกันว่ำ ควรมี กำรน�ำข้อบังคับด้ำนกำรออกแบบเครือ่ งจักรทีเ่ ป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมเข้ำมำควบคุมกระบวนกำรผลิต ต่ำงๆ ด้วย ทั้งนี้ข้อบังคับด้ำนกำรออกแบบเชิง อนุรักษ์ทรัพยำกร ส�ำหรับกำรผลิตสินค้ำอุปโภค และบริโภคทีเ่ คยก�ำหนดมำก่อนนัน้ ไม่สำมำรถน�ำ มำประยุกต์ใช้กับเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่ำงๆ ได้ ดังนัน้ VDMA จึงได้มกี ำรเสนอแนวคิดทีจ่ ะก�ำหนด พื้นฐำนของข้อบังคับด้ำนกำรออกแบบและกำร ท� ำ งำนของสิ น ค้ ำ ทุ น อย่ ำ งจริ ง จั ง รวมถึ ง กำร ก�ำหนดมำตรฐำนของรำยละเอียดที่เกี่ยวข้องกับ สินค้ำ ซึ่งจะบังคับใช้ในภูมิภำคยุโรป นอกจำกนัน้ เพือ่ ดึงดูดควำมสนใจของลูกค้ำให้ หันมำเลือกใช้ปัจจัยกำรผลิตที่มีประสิทธิภำพสูง กว่ำ VDMA จึงได้มกี ำรประชำสัมพันธ์เครือ่ งจักร ที่เสื่อมรำคำ แต่ท�ำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และจัดให้มีกำรประกวดรำคำขึ้น เพื่อเป็นกำร ระดมทุน โดยใช้เครื่องจักรที่ล้วนแต่เป็นรุ่น TopRunner ทั้งสิ้น MM
ที่สร้ำงโดยกำรขดพบว่ำ ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำก็จะ ต�่ำกว่ำกันและช่วยลดอัตรำกำรสูญเสียควำมร้อน จำกกระแสไฟฟ้ำได้กว่ำ 50 เปอร์เซ็นต์ นอกจำกนี้ กำรจัดวำงโครงสร้ำงที่มีลักษณะแบน ก็ยังมีข้อดี เกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ แ ม่ เ หล็ ก และอุ ณ หภู มิ ด ้ ว ย เพรำะเมื่อเทียบกับขดลวดแบบธรรมดำที่มีพื้นที่ หน้ำตัดเท่ำกัน ขดลวดใหม่นี้จะมีปฏิกิริยำด้ำน อุณหภูมิที่ดีกว่ำ และยังช่วยลดอิทธิพลต่ำงๆ ที่ ส่งผลเสียต่อกำรเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้ำด้วย จำกอัตรำกำรเติมเต็มที่สูงขึ้นนี้ ท�ำให้ภำยใน ช่องว่ำงมีควำมหนำแน่นของไฟฟ้ำสูงกว่ำขดลวด ทัว่ ไปถึง 3 เท่ำ ซึง่ คุณสมบัตนิ จี้ ะท�ำให้เครือ่ งจักรมี ประสิทธิภำพเพิม่ ขึน้ นอกจำกนัน้ ขดลวดแบบใหม่ ยังช่วยเพิ่มโมเมนต์ของแรงและควำมหนำแน่น ของกระแสไฟฟ้ำอย่ำงชัดเจนด้วย ส่วนในกรณีที่ ต้องกำรโมเมนต์ของแรงเท่ำเดิมก็สำมำรถลด ขนำดโครงสร้ำงและน�้ำหนักของขดลวดลงได้ ซึ่ง ก็ถือเป็นกำรประหยัดวัสดุได้อีกทำงหนึ่งและวัสดุ ที่น�ำมำใช้ท�ำขดลวดนี้สำมำรถเลือกใช้อะลูมิเนียม ได้ โดยยังคงรักษำคุณสมบัติอัตรำกำรเติมเต็ม ช่องว่ำงอยู่ อีกทั้งยังมีน�้ำหนักเบำและมีรำคำที่ ประหยัดขึน้ ซึง่ เหมำะกับน�ำไปใช้กบั เครือ่ งจักรขับ ขดลวดที่ผลิตด้วยเทคนิคกำรหล่ออย่ำงละเอียดชนิดนี้ ลิฟต์ ระบบขับเคลื่อนในเครื่องจักรอุตสำหกรรม กว่ำ 55 เปอร์เซ็นต์ของบริษัทสมำชิกเครือข่ำย VDMA สำมำรถท�ำให้โมเมนต์ของแรง และควำมหนำแน่นของ ต่ำงก็มีควำมเห็นที่ตรงกันว่ำ กำรใช้พลังงำนและวัตถุดิบ และเครื่องจักรที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ำมำก MM กระแสไฟฟ้ำในเครื่องจักรไฟฟ้ำต่ำงๆ เพิ่มสูงขึ้นได้ ว่ำอย่ำงคุม้ ค่ำเป็นเรื่องที่มีควำมส�ำคัญที่สุดอีกเรื่องหนึ่ง MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
15
SPECIAL FEATURE | TDIA CORNER
ความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากร เพื่ออุตสาหกรรมแม่พิมพ์
ระหว่างส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากับสมาคมุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย
เรื่อง: กมล นาคะสุวรรณ นายกสมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย
เ
ป็นระยะเวลาสิบกว่าปีกบั การมีสว่ นร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ ภายในประเทศ ของสมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยบนพื้นฐานของ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ที่อยู่บนความขาดแคลนบุคลากร ซึ่งมีทักษะฝีมือ เฉพาะทางในสาขาช่างแม่พิมพ์ ทั้งระดับวิศวกร ช่างเทคนิค และช่างระดับ ปฏิบัติการตลอดกระบวนการผลิตแม่พิมพ์ในทุกชนิด/ประเภท ที่มีการผลิต โดยผู้ประกอบการ ทั้งเพื่อการใช้ในประเทศและเพื่อการส่งออก แม้ว่าการ บูรณาการระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนต่างๆ ได้ร่วมมือ กันในการพัฒนาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถในการผลิตโดยรวมของสถานประกอบการแล้วก็ตาม
Cooperation on Personnel Development for Tool and Die Industry Between Vocational Education Commission and Thai Tool and Die Industry Association For more than ten years with participation in domestic tool and die industry development of Thai Tool and Die Industry Association based on the shortage of personnel with specific skill in tool and die technology field, at the level of engineer, technician and operator throughout all types of existing tool and die manufacturing process run by the entrepreneurs to supply domestic market and for export in spite of the integration among relevant organizations in both public and private sector on potential and overall manufacturing capability enlargement of places of business.
Synergy to Accelerate Labor Shortage Problem Solving
The comparison between the expectation to personnel production run by vocational education system and the actual result shows that the supply has not yet been adequate causing the labor shortage problem is more severe. Thus, to make personnel production and development go in the harmonious direction with the demand in both quantity and quality as well as encouraging personnel in education and industry sector to have higher capacity and open an opportunity to vocational students to learn and experience from the real working, obtain subsidy during studying, be hired and can efficiently solve the problem of skilled labor shortage. Thai Tool and Die Industry Association which is alike the proxy of tool and die industry entrepreneurs is still steadfast and engrossed in the cooperation plan to support vocational education, it then keeps on coordinating with Vocational 16 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
TDIA CORNER | SPECIAL FEATURE
ผนึกก�าลัง เร่งแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน
ความคาดหวังต่อการผลิตบุคลากรที่มาจากการศึกษาอาชีวศึกษาใน ระบบกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงก็ยังพบว่า ปริมาณการผลิตก�าลังคนระดับ อาชีวศึกษา เพื่อป้อนเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมยังไม่เพียงพอ ท�าให้เกิดปัญหา การขาดแคลนแรงงานที่ยังคงทวีความรุนแรงขึ้น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารผลิ ต และการพั ฒ นาก� า ลั ง คนเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ สอดคล้องกับความต้องการทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ พร้อมกับส่งเสริม บุคลากรในภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรมให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น และเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาระดับอาชีวศึกษาได้เรียนรู้ และมีประสบการณ์ใน การท�างานจริง ได้รับการสนับสนุนทุนรอนระหว่างที่ยังศึกษา จบแล้วมีงาน ท�าและสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานฝีมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ สมาคมอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ไทยซึง่ เสมือนประหนึง่ เป็นตัวแทนของผูป้ ระกอบ การด้านอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ยังยืนหยัดและมุ่งมั่นในแผนความร่วมมือ สนับสนุนการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา จึงได้ประสานความร่วมมือกับ ส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาต่อไป การเตรียมการเปิดการสอนระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสาย ปฏิบัติการของสถาบันการอาชีวศึกษา ระยะแรก ตั้งแต่ปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีแม่พิมพ์ เป็นหนึ่งในสาขาวิชาที่ได้มีการขยายระดับการ ศึกษา ซึ่งได้รับนักศึกษา 2 ห้องเรียน จ�านวน 40 คน ที่วิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานีและวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด และต่อเนื่องในปีการศึกษา 2557 เพิม่ ขึน้ ทีว่ ทิ ยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย วิทยาลัย เทคนิคอุดรธานี วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม วิทยาลัยเทคนิคแพร่ และวิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก มีทั้งสายงานแม่พิมพ์ โลหะและแม่พิมพ์พลาสติก จากผลการพบปะหารือกันมาอย่างต่อเนื่องของนายกสมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย คุณกมล นาคะสุวรรณ กับ ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ต่อมาจึงได้จัดประชุมหารือเพื่อ ศึกษาและก�าหนดแนวทางการพัฒนาก�าลังคนสาขาแม่พิมพ์ขึ้น ในวันศุกร์ ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2557 ณ ห้องประชุม 5 ส�านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีตวั แทนภาคอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ จาก สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ สถาบันไทย-เยอรมัน ผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาน
Education Commission. The arrangement to open bachelor's degree education in technological or operational field of vocational institution in 2013 academic year in tool and die technology field is one of the fields that is extended and can admit 40 students at Pathum Thani Technical College and Roi Ed Vocational College. In 2014 academic year, the admission is extended to Samut Songkram Technical College, Nong Kai Technical College, Udon Thani Technical College, Khon Kaen Technical College, Maha Sarakam Technical College, Prae Technical College and Pitsanulok Technical College in the field of metal die and plastic mold. As a result of the continual meeting of the President of Thai Tool and Die Industry Association, Khun Kamon Nakasuwan and Dr. Chaiyapruek Serirak, Secretary-General of Vocational Education Commission, the conference for study and formulation of guideline to manpower development in tool and die field was held on Friday 25th July 2014 at 5th Floor Meeting Room, Vocational Education Commission, Ministry of Education. There are representatives from tool and die industry sector, Tool and Die Industry Association, Thai-German Institute, scholars from tool and die industry together with the executives and staff of teachers from about 10 vocational education institutions that open the course on tool and die in vocational certificate, high vocational certificate and bachelor's degree level. This is deemed as a good opportunity since opening the course at high vocational certificate still has a problem on students. Thus, extension to open the course of tool and die at vocational certificate level that can solve such problem besides the expectation on continuity of teaching and studying in tool and die field in order to arrange the syllabus of vocational certificate, high vocational certificate and bachelor's degree level respectively. MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
17
SPECIAL FEATURE | TDIA CORNER
TDIA ผลักดัน T1-T7 ขับเคลื่อนกลไกสร้างบุคลากรคุณภาพ
Thai Tool and Die Industry Association has presented the detail of professional standard, level T1-T7 with personnel development in tool and die field of which the capability according to the requirement of places of business is formulated with the attribute of those who are going to graduate that has already been prepared to be the way of syllabus making. This makes it useful for the syllabus with comprehensively theoretical content and practical part, the way for durable articles, devices and teaching readiness arrangement including the way for regular teachers and trainers in places of business upgrade which has been a significant problem encountered by educational institutions as well as the problem of students' apprenticing at the mold and die factory that mostly are located in Bangkok and its vicinity causing the students are inconvenient in apprenticing to gain actual experience. Also, there have not yet been enough available places of business to support such apprenticing.
Professional Standard Level Structure Professional Assistant Field M&D Technician
M&D Technician
Specialist
Expert
Senior Expert
Plastic Mold
ทางสมาคมอุ ต สาหกรรมแม่ พิ ม พ์ ไ ทยได้ น� า เสนอรายละเอี ย ดของ มาตรฐานวิชาชีพ ระดับ T1-T7 กับการพัฒนาบุคลากรสาขาช่างแม่พิมพ์ ซึง่ ได้มกี ารก�าหนดสมรรถนะตามความต้องการของสถานประกอบการพร้อม ด้วยก�าหนดคุณลักษณะของผู้ที่จะจบการศึกษา ซึ่งได้จัดท�าไว้แล้ว เพื่อเป็น แนวทางในการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน ท�าให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งตัว หลักสูตรที่มีรายละเอียดครอบคลุมเนื้อหาวิชาทฤษฎีและการฝึกภาคปฏิบัติ แนวทางการจัดเตรียมครุภัณฑ์ อุปกรณ์และความพร้อมเพื่อจัดการสอน รวมทั้งแนวทางเพื่อการพัฒนายกระดับครูประจ�าการและครูฝึกในสถาน ประกอบการได้เป็นอย่างดี ซึ่งยังเป็นปัญหาที่ส�าคัญของทางสถานศึกษา ที่ประสบอยู่ อีกทั้งการประสบปัญหาในการฝึกงานของนักศึกษาที่สถาน ประกอบการที่เกี่ยวข้องกันงานด้านแม่พิมพ์ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ท�าให้นักศึกษาไม่สะดวกในการฝึกงานเพื่อหาประสบการณ์ จริง และยังมีจ�านวนสถานประกอบการที่มีความพร้อมและให้การสนับสนุน ในเรื่องดังกล่าวไม่เพียง
TDIA Pushes T1-T7 to Drive Quality Personnel Establishment
Metal Die
ประกอบการด้านแม่พมิ พ์ ร่วมกับคณะผูบ้ ริหารและคณาจารย์จากส�านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาของสถานศึกษาที่เปิดท�าการสอนในสาขา แม่พิมพ์ ทั้งระดับ ปวช. ปวส. และระดับปริญญาตรี อีกประมาณ 10 แห่ง โดยนับได้วา่ เป็นโอกาสทีด่ ยี งิ่ เพราะการเปิดสอนในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชัน้ สูง หรือ ปวส. ยังประสบปัญหาด้านผูเ้ ข้าเรียนอยูม่ าก ดังนัน้ การ ที่จะขยายการเปิดสอนในสาขาแม่พิมพ์ระดับ ปวช. จะเป็นการแก้ปัญหาตัว ป้อนได้อีกทางหนึ่ง นอกเหนือจากความคาดหวังในเรื่องความต่อเนื่องของ การเรียนการสอนในสาขาแม่พิมพ์ที่จะสามารถจัดหลักสูตรของระดับ ปวช. ปวส. และระดับปริญญาตรี ที่จะเกิดขึ้น
โดยรายละเอียดของมาตรฐานวิชพี สาขาแม่พมิ พ์ได้กา� หนดรายการทักษะ และความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามแต่ละระดับดังนี้ T1 ระดับผู้ช่วยช่างแม่พิมพ์ มีทักษะในการปฏิบัติงานขั้นพื้นฐาน ใน ขั้นตอนการสร้างแม่พิมพ์ เข้าใจในแบบสั่งงานย่อย ใบสั่งงาน ศัพท์เทคนิค ภาษาอังกฤษและการค�านวณเบื้องต้น สามารถช่วยเตรียมงาน เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ รวมทัง้ ท�าการผลิตชิน้ ส่วนง่ายๆ ไม่ซบั ซ้อนและไม่เน้นความละเอียด เทีย่ งตรงมากนักด้วยเครือ่ งจักรกลและเครือ่ งมือวัดพืน้ ฐาน โดยมีความเข้าใจ และปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน T2 ระดับผู้ช่วยช่างแม่พิมพ์ มีทักษะในการปฏิบัติงานในขั้นตอนการ 18 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
The detail of professional standard in tool and die field has formulated the list of skill and capability in working in each level as follows: T1 Assistant Mold and Die Technician level contains the skill in primary work and mold and die making, understands petty work order form, work order form, technical terms in English and basic calculation, can assist in work preparation, material and component arrangement including making easy parts that are not much complicated and precise with machines and basic measure instruments and understands and observes the safety rules at work. T2 Assistant Mold and Die Technician level contains the skill in mold and die making procedures, can draw for mold and die drawing and detail of part , can read mold and die drawing , can explain symbols from work form, understands English technical terms and can calculate values to use in work, can sort out mold and die materials, components and parts and can choose cutting
TDIA CORNER | SPECIAL FEATURE
สร้างแม่พิมพ์ได้ สามารถอ่านแบบและเขียนแบบภาพประกอบและแยกชิ้น อ่านแบบแม่พมิ พ์ได้ อธิบายสัญลักษณ์จากแบบงาน เข้าใจศัพท์เทคนิคภาษา อังกฤษและสามารถค�านวณค่าต่างๆ เพื่อการใช้งาน จ�าแนกเกี่ยวกับวัสดุ แม่พิมพ์ ชิ้นส่วนอุปกรณ์และเลือกใช้เครื่องมือตัดต่างๆ ในการตัดเฉือนได้ และสามารถใช้เครื่องจักรกลพื้นฐานที่ยากซับซ้อนขึ้น เพื่อการผลิตชิ้นส่วน ที่ต้องการความเที่ยงตรงและการปรับประกอบชิ้นส่วนแม่พิมพ์ได้มากขึ้น T3 ระดับช่างแม่พิมพ์ มีทักษะในการปฏิบัติงานในขั้นตอนการสร้างแม่ พิมพ์ได้ดี สามารถอ่านแบบและเขียนแบบแม่พมิ พ์ได้ในแบบ 2D CAD มีความ เข้าใจในเรือ่ งต่างๆ เช่น GD&T วัสดุแม่พมิ พ์ ชิน้ ส่วนมาตรฐาน กระบวนการ ชุบแข็งและเคลือบผิว การใช้เครื่องจักรกล CNC การวางแผนขั้นตอนการ ท�าชิน้ ส่วนแม่พมิ พ์ การปรับประกอบแม่พมิ พ์ การเชือ่ มซ่อมและปรับแต่งชิน้ ส่วน สามารถบ�ารุงรักษาแบบ Preventive ได้ทั้งเครื่องจักรกลและแม่พิมพ์ T4 ระดับช่างแม่พิมพ์ด้านออกแบบ มีทักษะในการปฏิบัติงานในขั้นตอน การออกแบบแม่พิมพ์ได้ดี ถึงขั้น 3D CAD มีความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ เช่น ข้อก�าหนดและตัวแปรต่าง ๆ เพือ่ การออกแบบแม่พมิ พ์ GD&T วัสดุแม่พมิ พ์ ชิ้นส่วนมาตรฐานและอุปกรณ์พิเศษ รวมถึงรู้ขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการ สร้างแม่พิมพ์ อันจะเป็นองค์ประกอบในการวางแผนและก�าหนดแนวทาง การออกแบบให้แม่พมิ พ์ทอี่ อกแบบมามีความถูกต้องสมบูรณ์ และยังสามารถ ค�านวณและเลือกใช้ค่ามาตรฐานต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี T4 ระดับช่างแม่พิมพ์ด้านสร้างแม่พิมพ์ มีทักษะในการปฏิบัติงานใน ขั้นตอนการสร้างแม่พิมพ์ได้ดี มีความเข้าใจในวิธีการต่างๆ เช่น การจัดท�า โปรแกรมค�าสั่งเครื่องจักรกล CNC การใช้เครื่องจักรกล CNC ชนิดต่างๆ ท�าการผลิตชิน้ ส่วนแม่พมิ พ์ เทคนิคการปรับประกอบแม่พมิ พ์ การทดลองแม่ พิมพ์และการวิเคราะห์ปัญหาตลอดจนก�าหนดแนวทางแก้ไขปรับปรุง การ ตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ ได้เป็นอย่างดี กรณีทเี่ ป็นแม่พมิ พ์ปม๊ั โลหะ มีความเข้าใจเกี่ยวกับกระสวนหล่อและกระบวนการหล่อโลหะด้วย T5 ระดับผู้ช�านาญการด้านการออกแบบแม่พิมพ์ มีทักษะความช�านาญ ครอบคลุมตลอดกระบวนการ การออกแบบแม่พิมพ์และการวิเคราะห์การ ออกแบบที่ดีมาก มีศักยภาพในการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการผลิตแม่พิมพ์ และผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น การประมาณ ต้นทุนและวางแผนการท�างาน ถึงขั้นรวบรวมสร้างเป็นองค์ความรู้ใช้ในการ สอนและถ่ายทอดแก่บคุ ลากรหรือผูใ้ ต้บงั คับ บัญชาได้เป็นอย่างดี นอกเหนือ จากแม่พมิ พ์แล้วยังมีความรูค้ วามช�านาญเกีย่ วกับอุปกรณ์ตรวจสอบคุณภาพ ชิ้นงานชนิด Checking Fixture ด้วยเช่นกัน
tools in cutting and can use slightly more complicated basic machineries to make parts requiring accuracy and can assemble more parts of mold and die. T3 Mold and Die Technician level contains the skill in making mold and die, can read and draw mold and die drawing, type 2D CAD, understands various subjects such as GD&T, mold and die materials, standard parts, occupational health and safety and environment, knowledge establishment and systematic compilation for personnel development, focuses on internal accumulation and transfer of experience and can well formulate the strategy in mold and die plant management. T4 Mold and Die Technician Level on Design contains the skill in working on mold and die design stage up to the level 3D CAD, understands subjects such as regulations and variables for GD&T mold and die design, mold and die materials, standard parts and special accessories including procedures in mold and die making process which is the component in planning and formulating the way of design in order that the mold and die made is accurate, complete and can calculate and pick out standard values well. T4 Mold and Die Technician Level on Mold and Die Making contains the skill in working on mold and die making, understands ways such as order machining program preparation for CNC machinery, the operation of various types of CNC machinery to make mold and die parts, mold and die modification technique, mold and die tryout and problem analysis as well as formulating the way to modify and improve, test and quality control. In case of a metal stamping die, the technician must understand about metal casting pattern and process as well. T5 Specialist Level on Mold and Die Design contains the skill that cover throughout the process of mold and die design and designing analysis very well, has potential in analysis of problems related to mold and die manufacturing process and impacts to happen, cost assessment and work planning up to collecting to make knowledge employed in teaching and transfer to personnel or subordinates. Besides a mold and die, a specialist must have
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
19
SPECIAL FEATURE | TDIA CORNER
T5 ระดับผู้ช�านาญการด้านการสร้างแม่พิมพ์ มีทักษะความช�านาญนับ ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมและลดต้นทุน ตลอดกระบวนการสร้างแม่ พิมพ์ การวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทั้งหมด และการ วางแผนด้านคุณภาพของแม่พิมพ์ทั้งการควบคุมและการประกันคุณภาพที่ ให้เป็นไปตามข้อก�าหนด ตรงความต้องการของลูกค้า ถึงขั้นรวบรวมสร้าง เป็นองค์ความรู้ใช้ในการสอนและถ่ายทอดแก่บุคลากรหรือผู้ใต้บังคับบัญชา ได้เป็นอย่างดี T6 ระดับผู้เชี่ยวชาญด้านแม่พิมพ์ มีความเชี่ยวชาญในการบริหาร จัดการ ด้านการจัดองค์กรของโรงงานแม่พิมพ์ การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนา ทักษะบุคลากร การจัดผังโรงงานและเครื่องจักรกล เครื่องมือและอุปกรณ์ โรงงานของโรงงานแม่พิมพ์ สามารถวิเคราะห์เพื่อน�าเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสอดคล้องตลอดกระบวนการผลิตแม่พิมพ์ เพื่อการพัฒนายกระดับขีด ความสามารถขององค์กร และสามารถบริหารจัดการโรงงานแม่พิมพ์ ตาม เป้าหมาย QCD ได้เป็นอย่างดี T7 ระดับผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านแม่พิมพ์ มีความเชี่ยวชาญในการ ก�าหนดนโยบายเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการตลาดสินค้าแม่พิมพ์และ อุปกรณ์ การจัดท�าแผนธุรกิจขององค์กร การบริหารจัดการตามกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม การสร้างองค์ความรูแ้ ละมี การรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพือ่ การพัฒนาบุคลากรเน้นการสัง่ สมและการ ถ่ายทอดประสบการณ์ภายในองค์กร และสามารถวางกลยุทธ์ในการบริหาร จัดการโรงงานแม่พิมพ์ได้เป็นอย่างยิ่งดี เมือ่ พิจารณาจากรายการทักษะและความสามารถในการปฏิบตั งิ านแล้ว จะท�าให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของหลักสูตรรายทักษะของระดับช่างแม่พมิ พ์กบั ระดับหลักสูตรทางการศึกษาตามวุฒิต่างๆ ดังนี้
expertise in Checking Fixture work checking device as well. T5 Specialist Level on Mold and Die Making contains the skill from planning, control and cost reduction as well as mold and die making process, analysis of problems related to the whole system and planning on mold and die quality including quality control and assurance to be in line with the regulations, meeting to the customer's needs until it can be accumulated and established to be knowledge employed in teaching and transfer to personnel or subordinates well. T6 Mold and Die Expert Level contains the expertise in organization management of a mold and die factory, training for personnel's skill development, plant layout including machinery and equipment of mold and die plant, can analyze to bring modern technology and inspects mold and die making process to upgrade capability of an organization and can well manage a mold and die plant in line with QCD goal. T7 Senior Expert on Mold and Die contains the expertise in policy making on mold and die, marketing management, an
Senior Expert
Specialist
Assistant Mold and Die Technician Assistant Mold and Die Technician
หากการด�าเนินงานในขัน้ ตอนต่อไปได้ยดึ ถือดังรายละเอียดตามแนวทาง ทีไ่ ด้หารือกัน ก็คงจะท�าให้เกิดความเชือ่ มัน่ ว่าผูท้ จี่ ะจบการศึกษาอาชีวศึกษา ในสาขาแม่พิมพ์ ของแต่ละระดับจะมีสมรรถนะและคุณลักษณะตรงตามที่ สถานประกอบการด้านอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ตอ้ งการได้มากขึน้ อย่างแน่นอน ทัง้ นีค้ วามร่วมมืออย่างจริงจังของทัง้ ภาคการศึกษา ผูป้ ระกอบการและหน่วย งานทีเ่ กีย่ วข้อง ของภาครัฐและเอกชน กับภารกิจในการจัดและสนับสนุนการ ศึกษาอาชีวศึกษา ในสาขาแม่พิมพ์ หรือสาขาอืน่ ๆ ถือว่าเป็นส่วนทีส่ �าคัญยิง่ ที่ไม่สามารถจะแยกกันคิดหรือแยกกันท�าได้อีกต่อไป MM 20 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
Bachelor's Degree Level
Mold and Die Technician
High Vocational Certificate Level
Mold and Die Technician
Vocational Certificate Level
Expert
organization's business plan preparation, lawful management. When considering the list of skill and capability in working, we will see the relationship of the syllabus of each skill of mold and die technician and the educational syllabus according to qualifications as follows: If the performance in the next stage holds the way as consulted, it will make confidence that the graduates from vocational college in tool and die field in each level have right capacity and attribute as required by places of business on tool and die industry. Serious cooperation of education sector, entrepreneurs and relevant agen-
จำหนาย • • • •
เครื่องกลึง CNC • ลูกเบี้ยว มือโยก • เครื่องรีดเกลียว จำปา • ลูกรีด พรอมทั้งอะไหล และอุปกรณ
GANG TYPE CNC LATHE MY-TURN T25/T36 The versatile characteristics can combined with various tooling configuration as standard gang tool,turret tooling, end milling live tool, Y-axis live tool,spindle C-axis and special INDEPENT VERTICAL CUTTING TOOL. That meet your specific produt need economic and efficiently.
บริษัท ฟวเจอร วิชชั่น แอสโซซิเอท จำกัด FUTURE VISION ASSOCIATE CO., LTD.
32 (84/22) ถนนพระรามที่ 2 ซอย 65 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 32 (84/22) Rama II Rd. Soi 65 Samaedam, Bangkhuntien, Bangkok 10150 Thailand Tel : (66) 0-2894-0655 Fax : (66) 0-2416-9721
SPECIAL FEATURE | MATERIAL
ลายนิ้วมือดิจิตอลของพลาสติก ที่มีประสิทธิภาพสูง เทคโนโลยีทางการแพทย์ในปัจจุบัน มีการน�าสารโพลีเมอร์ประสิทธิภาพสูงมาใช้งานมากขึ้นเรื่อยๆ จนท�าให้เกิดความแพร่หลาย อย่างมาก ในขณะเดียวกันเอกลักษณ์เฉพาะของพลาสติกก็สามารรถระบุขึ้นได้โดยกรรมวิธีการทดสอบที่ผ่านการเลือกสรรให้ตรง ตามจุดมุ่งหมายในการใช้งาน จนในที่สุดสามารถที่จะสรุปรูปแบบเฉพาะของพลาสติกได้เฉกเช่นเดียวกับลายนิ้วมือเลย เรื่อง: Josef Vath แปล/เรียบเรียง: ร.อ.ไตรรงค์ ชัยสวัสดิ์
ใ
นทางการแพทย์นั้น ความปลอดภัยและการ ท�างานทีม่ คี วามทนทานเป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�าคัญ มาก ดังนัน้ พลาสติกในชิน้ ส่วนทีใ่ ช้งานในทางการ แพทย์ทมี่ สี ดั ส่วนมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ และสาร โพลีเมอร์ประสิทธิภาพสูงจึงถูกน�ามาใช้แทนโลหะ มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งไม่ได้เฉพาะแต่ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ งานครั้งเดียวอย่างเข็มฉีดยาหรือสายยางเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่ใช้งานถาวร อื่นๆ ด้วย
น�้าหนักที่ลดลงและความยืดหยุ่น ในการออกแบบมีความต้องการมากขึ้น
คุณสมบัติต่างๆ ของวัสดุที่ต้องการประกอบ ไปด้วย ความต้านทานการสึกหรอ การเสียดทาน
และการป้องกันไฟ รวมไปถึงความทนทานต่อ อุณหภูมิ รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมาในกระบวนการ ฆ่าเชือ้ ในขณะเดียวกันน�า้ หนักทีล่ ดลง และความ ยืดหยุน่ ในการออกแบบก็เป็นสิง่ ทีม่ คี วามต้องการ มากขึ้นด้วย ดังนั้นจึงได้มีการพยายามรวมเอา คุณสมบัติด้านต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันจนได้เป็นวัสดุ ชิน้ เดียว ทีอ่ าจจะมีทงั้ ความสามารถในการฆ่าเชือ้ ความโปร่งแสงและการน�าไฟฟ้า ในขณะที่นวัตกรรมใหม่ๆ ทางด้านการแพทย์ กระตุน้ ให้บริษทั ต่างๆ แข่งขันกันพัฒนาคุณสมบัติ ของโพลีเมอร์ประสิทธิภาพสูงให้ดียิ่งขึ้น ผู้ผลิต เครือ่ งทางการแพทย์กต็ อ้ งไม่มองข้ามกฏระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานสากล เพราะคุณภาพที่มี ความแน่นอนของวัสดุทตี่ อ้ งการความปลอดภัยสูง
เป็นสิ่งที่มีความส�าคัญมาก แม้กระทั่งพลาสติก ไฮเทคสมัยใหม่เอง และสิ่งนี้ก็เป็นความท้าทาย ความสามารถของผู้ผลิตส�าหรับเทคโนโลยีทาง การแพทย์ที่จะท�าการตรวจสอบคุณสมบัติของ ชิ้นส่วนพลาสติกให้มีความถูกต้องตรงตามความ ต้องการอย่างครบถ้วนและเกิดความคุ้มค่าใน การใช้งานสูงสุด Agfa-Gevaert Health-Care GmbH ซึง่ เป็น บริษทั ชัน้ น�าในการออกแบบระบบประมวลผลภาพ ด้านรังสีวิทยา ศัลยกรรมกระดูก หัวใจวิทยาและ การตรวจเอ็กซเรย์เต้านม ได้น�าชิ้นส่วนพลาสติก ประสิทธิภาพสูงหลากหลายชนิดที่มีการว่าจ้าง ให้บริษัทภายนอกมาประกอบใช้งาน โดยเชื่อว่า การเลื อ กชนิ ด วั ส ดุ ใ ห้ ถู ก ต้ อ งมี ค วามส� า คั ญ กั บ
นวัตกรรมใหม่ของพลาสติกมีความส�าคัญ อย่างมากกับงานวัสดุส�าหรับเทคโนโลยี ทางการแพทย์ นอกจากนั้นชิ้นส่วนใน ทางการแพทย์ก็มีสัดส่วนการใช้วัสดุชนิด นี้มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ 24 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
MATERIAL | SPECIAL FEATURE
โครงสร้างของชิ้นส่วนมาก ดังนั้นจึงจ�าเป็นต้องค�านึงถึงคุณสมบัติต่างๆ ที่ ต้องการในแต่ละชิ้นส่วน เช่น คุณสมบัติการยึดติด การเคลือบเงา ความ สามารถในการรับโหลดและระดับการป้องกันไฟ การเลือกใช้วัสดุที่ถูกต้องเป็นเพียงปัจจัยเดียวที่ท�าให้ชิ้นส่วนต่างๆ มี โครงสร้างเหมาะสมตามความต้องการ ส่วนการใช้วสั ดุทไี่ ม่ถกู ต้องตามชนิด ของงานเป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้การใช้งานอุปกรณ์มีความเสี่ยงหรือท�าให้ อุปกรณ์เกิดความขัดข้องเร็วขึ้นและมีปัญหาตามมา เช่น เกิดการสึกหรอ หรือแตกหักก่อนก�าหนด ซึง่ จะท�าให้เกิดความไม่พงึ พอใจและเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ที่เสียหายต่อบริษัทผู้ผลิต
การจัดการคุณภาพให้อยู่ในเกณฑ์ที่ก�าหนด
เพือ่ ให้ได้คณ ุ ภาพ และความปลอดภัยสูงสุดส�าหรับงานด้านการแพทย์ บริษทั Agfa-Gevaert Health-Care จึงจ�าเป็นต้องดูแลและจัดการคุณภาพ ของชิน้ ส่วนจากบริษทั ผูร้ บั จ้างให้มปี ระสิทธิภาพ ซึง่ ครอบคลุมทัง้ การตรวจ สอบความสามารถในการรับโหลดของชิน้ ส่วน และควบคุมคุณภาพให้อยูใ่ น เกณฑ์ที่ก�าหนด เพราะโลหะหนักและวัสดุป้องกันไฟที่ไม่ต้องการ อาจเป็น สาเหตุที่ท�าให้เกิดการขัดข้องในการจัดส่งหรือเกิดการส่งคืนชิ้นส่วนได้ อีก ทั้งยังต้องค�านึงถึง UL-Listing เครื่องหมายมาตรฐานส�าหรับวัสดุที่ผ่าน การทดสอบแล้วว่า มีความปลอดภัยตรงตามก�าหนดและได้รับการรับรอง จากองค์กรอิสระ Underwriters Laboratories (UL) ซึ่งถ้าหากมีการใช้ งานวัสดุไม่ตรงกับชนิดที่ระบุไว้ในรายการของ UL ก็อาจท�าให้ผลิตภัณฑ์ นั้นๆ ประสบปัญหา ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในต่างประเทศได้ ความท้าทายของการประกันคุณภาพในกรณีนี้อยู่ที่การตรวจสอบ คุณสมบัติเฉพาะทางเทคนิคของชิ้นส่วนพลาสติกที่ผลิตขึ้นโดยบริษัท ภายนอกให้ตรงตามความต้องการ แต่เนือ่ งจากกรรมวิธกี ารตรวจสอบแบบ ดั้งเดิมนั้นค่อนข้างสิ้นเปลืองและให้ผลที่ไม่คุ้มค่า บริษัท Agfa-Gevaert Health-Care จึงได้ว่าจ้าง บริษัท TUEV SUED ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญจาก สถาบันส�าหรับงานพลาสติก (บริษัทที่ทดสอบคุณลักษณะวัสดุตามความ ต้องการของลูกค้า) ให้ทดสอบคุณภาพเฉพาะของชิ้นส่วนที่ผลิตขึ้นโดย บริษทั ภายนอก โดยวัสดุตวั อย่างทีไ่ ด้รบั จากบริษทั ผูผ้ ลิตจะถูกน�ามาใช้สร้าง แถบสีและเส้นโค้งอ้างอิงส�าหรับวัสดุแต่ละชนิด ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้เหล่านีจ้ ะถูกผู้ ช�านาญเฉพาะด้านพลาสติกเก็บรวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูล เพือ่ น�าไปใช้งาน ในภายหลัง จากนัน้ จะน�าชิน้ ส่วนจริงมาท�าการตรวจสอบอย่างละเอียดโดย ใช้กรรมวิธตี า่ งๆ อย่างเช่น Infrared Spectroscopy, Thermogravimetry, Dynamic Differential Calorimetry และ Energy Dispersive X-ray Fluorescence Analysis Infrared Spectroscopy เป็นกรรมวิธีวิเคราะห์ทางฟิสิกส์ โดยแสง อินฟาเรดจะกระตุน้ ให้โมเลกุลของพลาสติกเกิดการสัน่ สะเทือน ซึง่ รังสีบาง ส่วนจะถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของพลาสติก ในขณะทีส่ ว่ นทีเ่ หลือจะเคลือ่ น ผ่านไปอย่างอิสระ ซึง่ เราสามารถวัดส่วนของรังสีดงั กล่าวและแสดงผลเป็น แถบสีของการดูดกลืนหรือส่งผ่านพลังงานได้ ท�าให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถ ตรวจสอบความถูกต้องของชนิดวัสดุได้ ขั้นตอนแรกของกระบวนการ Thermogravimetry (รูปที่ 1) จะเป็น การเติมก๊าซเฉื่อย แล้วจึงเพิ่มความร้อนให้กับวัสดุตัวอย่างจนเกิดการ เผาไหม้ โดยก๊าซเฉื่อยนั้นจะมีคุณสมบัติในการชะลอการเผาไหม้ของวัสดุ ตัวอย่างได้เป็นอย่างดี ท�าให้การระเหยของอินทรีย์สารพลาสติกเกิดขึ้น ภายใต้สภาพแวดล้อมของก๊าซเฉื่อยอย่างช้าๆ ซึ่งสามารถวาดกราฟแสดง
SPECIAL FEATURE | MATERIAL
Step Residue Left Limit Right Limit Turning Point Center Step Residue Left Limit Right Limit Turning Point Center Step Residue Left Limit Right Limit Turning Point Center
-7.3652 % -0.6001 mg 92.6348% 7.5471 mg 34.98 o°C 419.04 °oC 419.04 °oC 368.65 °oC -44.8492 % -3.6539 mg 47.7857% 3.8932 mg 419.04 °oC 649.87 °oC 497.55 °oC 491.80 °oC -36.9961 % -3.0141 mg 10.7895% 0.8790 mg 649.87 °oC 799.49 °oC 702.65 °oC 727.03 °oC
สารเบาระเหยง่ายที่ 420 °oC (Softener etc.) โพลีเมอร์ เขม่าด�า (เผาไหม้ภายใต้ออกซิเจนที่ 650 o° C) อนินทรีย์สารคงเหลือ
7.3 % 44.9 % 37 % 10.8 %
รูปที่ 1: Thermogravimetry ซึ่งเป็นการวัดการเปลี่ยนแปลงน�้าหนักของวัสดุ เมื่อได้รับความร้อนภายใต้บรรยากาศที่ก�าหนด สามารถตรวจสอบส่วนประกอบของวัสดุตัวอย่างเชิงปริมาณได้
การสูญเสียน�้าหนักได้ จากนั้นในขั้นตอนที่สอง จะเปลี่ยนก๊าซที่เติมเข้าไปให้เป็นออกซิเจน โดย เขม่าด�าจะถูกเผาไหม้จนเหลือเพียงส่วนประกอบ ที่เป็นอนินทรีย์สารเท่านั้น ท�าให้ผู้ช�านาญเฉพาะ สามารถตรวจสอบได้ถงึ ปริมาณส่วนประกอบของ วัสดุตวั อย่าง จากนัน้ จึงใช้กล้องจุลทรรศน์สองตา ตรวจสอบลักษณะโครงสร้างของอนินทรีย์สารที่ ตกค้าง (Glass Fiber หรือ Glass Ball)
คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุตัวอย่าง ถูกน�ามาวิเคราะห์ด้วยความร้อน
Dynamic Differential Calorimetry (รูปที่ 2) เป็นกระบวนการวิเคราะห์เชิงอุณหภูมิที่เกิดจาก การวัดความร้อน ด้วยการใช้ภาชนะเหมือนกัน จ�านวน 2 ชิ้น โดยภาชนะชิ้นแรกจะบรรจุวัสดุ ตัวอย่าง ส่วนภาชนะอีกชิ้นหนึ่งจะปล่อยให้ว่าง เปล่าไว้ เพื่อน�ามาเป็นพื้นฐานในการเปรียบเทียบ
Method: PFA_RT-350 o°C 2-nd Heating dt 1.00 s 25.0 o° C 3.0 min N2 75.0 ml/min 25.0 –o 350.0 °oC 10.00 o° C/min N2 75.0 ml/min 350.0 ° C 7.0 min N2 75.0 ml/min o 350.0 – 25.0 ° C -10.00 o° C/min N2 75.0 ml/min 25.0 o°C 3.0 min N2 75.0 ml/min 25.0 – 400.0 °oC 10.00 o°C/min N2 75.0 ml/min Turn On Synchronization
รูปที่ 2: Dynamic Differential Calorimetry เป็นกรรมวิธีวิเคราะห์ทดสอบวัสดุเชิงอุณหภูมิที่ใช้แสดงคุณสมบัติความคงตัวต่อ การเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ความบริสุทธิ์ และระดับการบ่มตัว 26 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
อ้างอิง ภาชนะทัง้ สองชิน้ จะถูกทดลองปรับเปลีย่ น อุณหภูมิตามก�าหนดจนสามารถวัดผลที่ได้รับจาก ปฏิกิริยาคายและดูดความร้อน ซึ่งค่าที่วัดออก มาจะมีความแตกต่างกัน เพราะวัสดุตวั อย่างมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเชิงอุณหภูมิของ ภาชนะชิ้ น แรก จากนั้ น ค่ า ความแตกต่ า งจาก ภาชนะทั้ ง สองจะถู ก น� า ไปใช้ แ สดงการเปลี่ ย น แปลงของความร้อน เพื่อช่วยในการวิเคราะห์ คุณสมบัตดิ า้ นต่างๆ ของวัสดุตวั อย่าง เช่น ความ คงตัวต่อการเกิดปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน (Oxidation Stability), คุณภาพการปฏิบัติการ (Process Quality), ความบริสุทธิ์ (Purity), การเปลี่ยน สถานะคล้ายแก้ว (Glass Transformation), จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา (Reaction Kinetics) คุณลักษณะการอ่อนตัวและหลอมละลาย (Softening and Melting Characteristics), ระดับ การบ่มตัว (Curing Grade) และระดับการเป็น ผลึก (Crystallinity) Energy Dispersive X-ray Fluorescence Analysis เป็นกรรมวิธีที่ใช้วิเคราะห์ปริมาณของ สสารให้อยูภ่ ายใต้ขอ้ ก�าหนด RoHS (Restriction of the Use of Certain Hazardous Substances / มาตรฐาน EG 2002/95/EG) การน�าวิธีการทดสอบหลายชนิดมาประยุกต์ ใช้ร่วมกันจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และความ ปลอดภัยให้กับการตรวจสอบ โดยเราสามารถ ใช้วิธีการต่างๆ ที่รวมอยู่ในชุดการวิเคราะห์เพื่อ ตรวจสอบวัสดุ จนได้ผลลัพธ์เป็นเอกลักษณ์ของ พลาสติกชนิดต่างๆ ในรูปแบบที่เรียกกันว่าลาย นิว้ มือ ซึง่ ลายนิว้ มือนีจ้ ะใช้เปรียบเทียบเพือ่ แสดง ให้เห็นถึงความปลอดภัย และใช้ตรวจสอบวัสดุโพ ลีเมอร์ไฮเทค ซึ่งถ้าหากลายนิ้วมือของพลาสติก มีลักษณะที่ถูกต้องตรงกับลายนิ้วมืออ้างอิงแล้ว จึงจะน�ามาใช้งาน สิ่งส�าคัญที่ช่วยให้การประกันคุณภาพของ โพลีเมอร์ประสิทธิภาพสูงประสบผลส�าเร็จก็คือ กรรมวิธีการทดสอบที่ผ่านการเลือกสรร และมี ความสอดคล้องกับชนิดของพลาสติกที่ต้องการ การสุ่มทดสอบสินค้าที่ได้รับ จะช่วยให้ผู้ผลิตลด ความเสี่ยงในเรื่องการช�ารุดของชิ้นงาน ผลลัพธ์ ที่เกิดจากการรวมกรรมวิธีทดสอบคุณสมบัติวัสดุ ทีห่ ลากหลายเข้าด้วยกัน ท�าให้เกิดความปลอดภัย ที่เหมาะสมกับค่าใช้จ่าย ในขณะเดียวกันผู้ผลิต และผู้ด�าเนินการต่างๆ ก็จะได้รับการสนับสนุน จากผู้เชี่ยวชาญด้านงานพลาสติกจากสถาบันที่มี ประสบการณ์มากว่า 40 ปี เพื่อยกระดับการใช้ วัสดุโพลีเมอร์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด MM
EDUCATION | SPECIAL FEATURE
จบ ม.6 หรือ ปวช. ไปเรียนต่อ เยอรมันได้อย่างไร (ตอนที่ 1)
ส�าหรับผู้ที่ก�าลังจะจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ ปวช. การวางแผนเดินทางไปเรียนต่อเมืองนอกอย่างเช่นประเทศเยอรมนี ก็ถือเป็น อีกทางเลือกหนึ่งทีหลายๆ คนอาจให้ความความสนใจ ซึ่งจะไปอย่างไร มีอะไรต้องรู้บ้าง คุณผู้อ่านจะได้รู้จากรายละเอียดต่อไปนี้ เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)
ก
ารส่งลูกหลานไปเรียนหนังสือในต่างแดน ส� า หรั บ สั ง คมไทยเรานั้ น มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ 5 แล้ ว เพี ย งแต่ นั ก เรี ย นส่ ว นใหญ่ จะเดินทางไปโดยทุนเล่าเรียนหลวง ถ้าเราค้น ประวัตศิ าสตร์ดจู ะพบว่า นักเรียนนอกสมัยนัน้ จาก บ้านเกิดเมืองนอนกันตั้งแต่เพิ่งจะตัดผมจุก พวก เขาถูกส่งออกไปร�่าเรียนตั้งแต่อายุได้ประมาณ 9-10 ขวบ ทั้งนี้ก็เพราะวิชาการของครูอาจารย์ ของเราสมัยนัน้ ไม่ทนั ต่อการพัฒนาทีเ่ ข้ามาในประ เทศพร้อมๆ กับนักล่าอาณานิคมจากยุโรป การส่ง ลูกหลานไปเรียนต่อในดินแดนเขาจึงเป็นการให้ไป เรียนรู้วิชาการจากเขา เรียนรู้เขารู้เรา รู้จักการ พึง่ ตนเอง รูจ้ กั คบเพือ่ นฝูงในต่างแดน ฯลฯ กล่าว กันว่าในสมัยรัชกาลที่ 5 นัน้ มีนกั เรียนไทยไปเรียน ต่อเยอรมันมากกว่าประเทศอื่นใด ผู้เขียนเคย รวบรวมนักเรียนเก่าเยอรมันรุ่นก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 1 ไว้ได้ ประมาณ 50 คน ปัจจุบันก็ยังมี พ่อแม่จ�านวนไม่น้อยที่มีทุนทรัพย์เหลือพอส่งลูก หลานไปเรียนต่างแดนตั้งแต่เล็กๆ อยู่เช่นกัน อย่างไรเสียก็อย่าลืมปลูกฝังให้เขารู้จักคิดถึงเป้า หมายของชีวิตในอนาคตไว้ก่อนนะครับ เผื่อหลง ทางจะได้กลับเป็น เพราะปัจจุบันเล่ห์เหลี่ยมของ คนในแต่ละสังคมมีมากจริงๆ เยอรมันจะเตือนกัน ไว้เสมอว่า “Vertrauen ist gut, aber Kontrolle ist besser – เชื่อใจกันน่ะดีแต่ตรวจสอบจะดี กว่า” จริงของเขานะครับ เพราะพวกเขาเคยถูก หลอกให้คล้อยตามผู้น�าเข้าสู่สงครามโลกมาแล้ว ถึงสองครัง้ มีทงั้ ขวาจัดกับซ้ายสุด ต่างอุดมการณ์ จนคุยกันไม่รู้เรื่อง เรียนรู้จักเหตุผลแล้วพิจารณา ให้ดี ทุกอย่างรับรู้ได้จากการฟังเขาแล้วคิด ส่วน จะตั ด สิ น ใจอย่ า งไรนั้ น อยู ่ ที่ เ รา การศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัยก็ไม่ต่างกัน ทุกอย่างมันมีเหตุและ ผลของมัน เรื่องเรียนต่อเยอรมันซึ่ง MM ฉบับ นี้น�ามาเสนอจะเป็นเรื่องของลูกหลานที่โตขึ้นมา หน่อย ทีก่ า� ลังเดินทางมาหยุดอยูต่ รงทางแยกของ
ชีวิตและก�าลังคิดว่าจะไปทางไหนดี ลองอ่านแล้ว พิจารณาดูเพือ่ เป็นทางเลือกหนึง่ ของการตัดสินใจ
รู้จักประเทศเยอรมนี
ดินแดนของเยอรมันตั้งอยู่ตรงใจกลางทวีป ยุโรปซึ่งล้อมรอบด้วยเพื่อนบ้านถึง 9 ประเทศ ดังนั้นไม่ว่าเราจะขับรถออกไปทางไหนก็จะพบ กับสังคมที่ทั้งภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ กันไป ปัจจุบันเยอรมันมีพื้นที่เหลือประมาณ 357,000 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 82 ล้าน คน โดยในจ�านวนนีเ้ ป็นชาวต่างชาติประมาณ 7.3 ล้านคน มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษามากกว่า 400 สถาบัน โดยส่วนใหญ่เป็นของรัฐ นอกจาก นี้ ยั ง มี ส ถาบั น การศึ ก ษาแบบสหกิ จ ศึ ก ษาหรื อ Berufsakademie ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและสถานประกอบการอีกกว่า 50 สถาบันที่นักศึกษาต้องท�างานควบคู่ไปกับการ ศึกษาโดยมีหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรประมาณ 180 หน่วยกิต แต่มีต่างชาติน้อยคนที่จะได้เข้า ศึกษาในสถาบันประเภทนี้ ทั้งนี้เพราะต้องมีวีซ่า ที่อนุญาตให้ท�างานได้ด้วยเท่านั้น อีกประเด็น หนึ่งที่ผู้สนใจควรต้องทราบคือ ประเทศเยอรมัน มี 16 รัฐ ที่มีสิทธิเสรีภาพของตนเอง แต่ละรัฐ มี ส.ส. และ สภาฯ ที่สามารถออกกฎหมายของ รัฐและดูแลการศึกษาคนในรัฐของตนเองได้ ดัง
นั้นรายละเอียดปลีกย่อยของกฎเกณฑ์หลายๆ อย่างอาจต่างกันบ้าง แม้ว่าหลักการใหญ่ๆ จะ เหมือนกันก็ตาม
ประเภทของมหาวิทยาลัย
จากสถิติปีการศึกษา 2013/2014 เยอรมนี มีสถาบันอุดมศึกษา (ไม่รวม Berufsakademie) รวมทั้งสิ้น 423 แห่ง โดยจ�าแนกประเภทได้ดัง ตารางที่ 1 Universitaet เป็นมหาวิทยาลัยเต็มรูปแบบ ซึง่ เยอรมันมีการพัฒนาการศึกษามานานกว่า 600 ปี ดังจะเห็นได้จากอายุของมหาวิทยาลัย เช่น ที่ เมือง Heidelberg มหาวิทยาลัยของเมืองนี้ ก่อ ตั้งมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1386 คนไทยคนแรกที่ไปเรียน ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้คือ พระองค์เจ้าชายรังสิต ประยุรศักดิ์ฯ ผู้ที่มีบทบาทส�าคัญต่อการปฏิรูปการศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย โดยให้ ค วามส� า คั ญ กั บ การวิ จั ย ควบคู่ไปกับการให้การศึกษาอย่างแยกกันไม่ออก คือ Wilhelm von Homboldt (1767-1835) การศึกษาใน Universitaet จึงหนักไปในทาง วิชาการและการวิจัยสู่การพัฒนา ต่อมาในช่วง 100-200 ปีทแี่ ล้ว ยุโรปมีการพัฒนาอุตสาหกรรม เป็นอย่างมาก ในภาคการศึกษาเยอรมันจึงเกิด มี ม หาวิ ท ยาลั ย เฉพาะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
ตารางที่ 1: ประเภทของสถาบันอุดมศึกษาในเยอรมนี (2013/2014) ประเภทของสถาบันอุดมศึกษา
จ�านวน (สถาบัน)
Universitaet (University) Paedagogische Hochschule (สถาบันวิชาการศึกษา) Theologische Hochschule (สถาบันในสังกัดองค์กรศาสนา) Kunsthochschule (สถาบันด้านศิลปศึกษา) Fachhochschule Hochschule (University of Applied Sciences) Verwaltungsfachhochschule (สถาบันเฉพาะด้านรัฐกิจศึกษา) MM
106 6 17 53 212 29
Machine Tools & Metalworking / September 2014
27
SPECIAL FEATURE | EDUCATION
ตารางที่ 2: รายชื่อมหาวิทยาลัยที่เน้นไปทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายชื่อมหาวิทยาลัย RWTH Aachen* Technische Universitaet Berlin* Brandenburgische Technische Universitaet Technische Universitaet Braunschweig* Technische Universitaet Chemnitz Technische Universitaet Clausthal Technische Universitaet Darmstadt* Technische Universitaet Dortmund Technische Universitaet Dresden* Technische Universitaet Bergakademie Freiberg Hafen City Universitaet Hamburg Technische Universitaet Hamburg – Harburg Leibnitz Universitaet Hannover* Technische Universitaet Ilmenau Technische Universitaet Kaiserslautern Karlsruher Institut fuer Technologie* Technische Universitaet Muenchen* Universitaet Stuttgart*
สถานที่ตั้ง Aachen Berlin Cottbus - Senftenberg Braunschweig Chemnitz Clausthal Darmstadt Dortmund Dresden Freiberg Hamburg Hamburg - Harburg Hannover Ilmenau Kaiserslautern Karlsruher Muenchen Stuttgart
*มหาวิทยาลัยที่จับกลุ่มกันเป็น TU9
เทคโนโลยีขึ้น ซึ่งเดิมเรียกกันว่า Technische Hochschule (TH) และหลายๆ มหาวิทยาลัย ประเภทนี้ได้เปลี่ยนชื่อในเวลาต่อมาเป็น Technische Universitaet (TU) ยกเว้น RWTH (Rheinisch – Westfaelische Technische Hochschule) ที่เมือง Aachen รวมไปถึง ETH Zuerich และ ETH Lausanne ของสวิสด้วย ปัจจุบันในเยอรมันมีมหาวิทยาลัยที่เน้นหนักไป ทางวิ ช าการและศึ ก ษาวิ จั ย ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอยู่ 18 มหาวิทยาลัยจาก 106 มหาวิทยาลัยดังตารางที่ 2 แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่า มหาวิทยาลัยอื่นๆ นอกจาก 18 มหาวิทยาลัยนี้ จะไม่มีการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเพียงแค่ องค์รวมของมหาวิทยาลัยอื่นๆ ไม่ได้เน้นหนักเช่น มหาวิทยาลัยตามตารางที่ 2 เท่านั้นเอง เดิมทีทั้ง 106 มหาวิทยาลัยไม่ประสิทธิ์ประสาทปริญญา ตรีให้แก่นักศึกษาคือ ถ้าใครเรียนจบจะได้วุฒิ Diplom (Dipl.) หรือ Margister Artium ซึ่งเป็น วุฒปิ ริญญาโทแล้วสามารถต่อปริญาเอกด้วยการ ท�าวิจัยได้เลย แต่ถ้าไม่จบนักศึกษาก็จะไม่ได้วุฒิ ใดๆ ทัง้ สิน้ ผูท้ จี่ บสาขาใดก็จะมีค�าย่อห้อยต่อท้าย ค�าว่า Dipl. ลงไป เช่น จบสายวิศวกรรมศาสตร์ ก็จะเป็น Dipl.-Ing. ถ้าเป็นสายธุรกิจการค้าก็ 28 MM
จะเป็น Dipl.-Kfm. หรือถ้าสายผู้สื่อข่าวก็จะได้ Dipl.-Journ. และถ้าเป็นปริญญาเอก เช่น สาย วิศวฯ ก็จะเขียนว่า Dr.-Ing. ปัจจุบนั ยุโรปมีการเปิด รั้วเข้าหากัน การถ่ายเทบุคคลากรมีมากขึ้นท�าให้ เยอรมันต้องปฏิรูปการประสิทธิประสาทปริญญา ให้เป็นไปตามแบบสากลคือ ให้มีทั้งปริญญาตรี (Bachelor) และปริญญาโท (Master) ก่อนจะเข้า สู่ปริญญาเอกเช่นกัน Paedagogische Hochschule หรือสถาบัน วิชาการศึกษา เป็นมหาวิทยาลัยผลิต“ครูเพือ่ การ ศึกษาภาพบังคับ”โดยเฉพาะ อังกฤษจะเรียกกัน ว่า University of Education ส่วนฝรั่งเศสเรียก Universitée des Sciences del EÉ ducation ความ จ�าเป็นของเยอรมันที่ต้องมีสถาบันวิชาการศึกษา เริ่มขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 19 เริ่มแรกผู้เข้าศึกษา จบมัธยมต้นก็เข้าศึกษาได้คล้ายๆ กับวิทยาลัยครู ของเราสมัยก่อนนี้ ต่อมาช่วงปี ค.ศ.1925 ได้มี ข้อตกลง 15 สถาบันในปรัสเซีย (เยอรมันเหนือ) ก�าหนดคุณสมบัตผิ เู้ ข้าศึกษาให้ตอ้ งจบมัธยมปลาย หรือ Abitur มาก่อน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สถาบันวิชาการศึกษาหลายๆ สถาบันได้ผนวก เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยไป คงเหลือเพียง 6 สถาบัน ดังตารางที่ 1 ที่ยังคงบริหารงานเป็น เอกเทศอยู่
Machine Tools & Metalworking / September 2014
กลุ่มแพทย์, พยาบาล, อื่นๆ สาธารณสุข 7 กลุ่มคณิต6 ศาสตร์ และวิทยา- 18 ศาสตร์ จ�านวน นักศึกษารวม 2.5 ล้านคน
กลุ่มกฎหมาย, เศรษฐศาสตร์ และสังคมศึกษา
30
19
กลุ่มภาษา และ วัฒนธรรม
20
กลุ่ม วิศวกรรมศาสตร์
รูปที่ 1: สถิติการศึกษาของเยอรมันปีการศึกษา WS2012/ 2013 แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
Theologische Hochschule เป็นมหาวิทยาลัยในสังกัดองค์กรศาสนา ซึ่งส่วนหนึ่งเริ่ม ก่อตั้งในช่วงต้น ค.ศ.1900 จัดการศึกษาไปใน ทางเทวศึกษา, ปรัชญา, สังคมศึกษา, ทฤษฎีการ พยาบาล, ศึกษาศาสตร์. ศิลปะและการดนตรี มหาวิทยาลัยอีกจ�านวนหนึ่ง ก่อตั้งขึ้นในช่วงหลัง ยุคคลัง่ ชาติของสังคมเยอรมัน จากข้อมูลถึงเดือน สิงหาคม ค.ศ.2012 มีมหาวิทยาลัยในสังกัดองค์กร ศาสนาที่รัฐให้การรับรองอยู่ทั้งหมด 40 สถาบัน โดยแยกเป็นมหาวิทยาลัยที่ให้การศึกษาถึงระดับ ปริญญาเอก 11 สถาบัน เป็น Fachhochschule หรือ University of Applied Sciences ซึ่งระยะ หลังให้ศึกษาได้ถึงระดับปริญญาโท 21 สถาบัน และอีก 8 สถาบันให้การศึกษาไปทางด้านศิลปะ และการดนตรี จากสถิติปีการศึกษา 2013/2014 แจ้งว่าองค์กรศาสนายังมีมหาวิทยาลัยอยูใ่ นสังกัด อีก 17 สถาบันตามตารางที่ 1 Kunsthochschule เป็นมหาวิทยาลัยผลิต บัณฑิตด้านศิลปศึกษาเป็นหลัก ศิลปศึกษาจัดเป็น ศาสตร์ทเี่ ก่าแก่แขนงหนึง่ ทางการศึกษา กล่าวกัน ว่า Accademia delle Arti del Disegno ทีเ่ มือง Florenz ในอิตาลีซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1563 จัดเป็นมหาวิทยาลัยด้านศิลปศึกษาที่เก่าแก่ที่สุด ส่วนในเยอรมัน Maler Akademie ของ Jacob von Sandrart ณ เมืองเนือร์นแบร์ก (Nuernberg หรือ Nuremberg ในภาษาอังกฤษ) ซึ่งก่อตั้งมา ตัง้ แต่ปี ค.ศ.1662 และพัฒนามาเป็น Akademie der Bildenden Kunste Nuernberg แห่ง รัฐ Bayern ในปัจจุบันจัดเป็นมหาวิทยาลัยด้าน ศิลปศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศ จากสถิติปี การศึกษา 2013/2014 ตามตารางที่ 1 เยอรมัน มีมหาวิทยาลัยประเภทนี้อยู่ 53 สถาบัน Fachhochschule/Hochschule หรื อ University of Applied Sciences จัดเป็น มหาวิ ท ยาลั ย เฉพาะด้ า นที่ ป ระยุ ก ต์ ค วามรู ้
EDUCATION | SPECIAL FEATURE
ทางทฤษฎี สู ่ ก ารแก้ ป ั ญ หาในภาคปฏิ บั ติ ข อง สถานประกอบการโดยตรง ปัจจุบันเยอรมันมี มหาวิทยาลัยประเภทนีอ้ ยู่ 212 สถาบัน นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยลักษณะเดียวกันแต่จดั การเรียน การสอนเฉพาะด้านรัฐกิจศึกษาอีก 29 สถาบัน Fachhochschule เกิดจากการปฏิรูปการศึกษา ของเยอรมันในช่วงปี ค.ศ.1970/1971 หลาย มหาวิทยาลัยก่อนยุคนี้เป็นสถาบันผลิตบัณฑิต เฉพาะด้าน เช่น Ingenieur Akademie หรือ Ingenieruschule ซึง่ ผลิตวิศวกรป้อนอุตสาหกรรม ของประเทศมาก่อน คนรุน่ ก่อนทีจ่ บการศึกษาจาก สถาบันเหล่านี้จะได้วุฒิ Ing.(grad.) เมื่อปฏิรูป มาเป็น Fachhochschule แล้วผู้ที่จบการศึกษา จะได้วุฒิ Dipl.(FH) โดยสายวิศวกรรมศาสตร์ก็ จะเขียนว่า Dipl.-Ing.(FH) ซึ่งต่างจาก Dipl.Ing. จากมหาวิทยาลัยประเภทแรกในตารางที่ 1 ซึ่งเป็นวุฒิปริญญาโท เรื่องพิจารณาวุฒิการ ศึกษาในเยอรมันนั้นทุกคนรู้ระบบการศึกษาจึง ไม่มีปัญหาใดๆ สังคมเยอรมันจะมองว่าปริญญา เป็นเพียงกระดาษแผ่นหนึ่ง ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถที่บัณฑิตได้รับถ่ายทอดมาต่าง หากที่ส�าคัญกว่า แต่ส�าหรับนาๆ ชาติที่ไม่เข้าใจ ระบบการศึกษาเยอรมันอาจมีปัญหาบ้าง ผู้ที่จบ สถานศึกษาประเภทใดก็จะทราบดีอยู่แล้วว่าตน จะสามารถเขียนค�าน�าหน้าชือ่ ตนเองว่าอย่างไรได้ ซึง่ ถ้าใช้ผดิ ในเยอรมันก็มสี ทิ ธิต์ ดิ คุกตามกฎหมาย หัวข้อ §§132a StGB. ได้เหมือนกัน ระยะหลังเมือ่ ยุโรปรวมตัวใกล้ชิดกันมากขึ้นภาคการศึกษาของ เยอรมันจึงจ�าเป็นต้องหันกลับมาพิจารณาเรื่อง วุฒิการศึกษาโดยปรับเปลี่ยนให้เป็นไปตามสากล ผู้ผ่านการศึกษาจะได้รับวุฒิปริญญาตรี (Bachelor), ปริญญาโท (Master) และปริญญาเอก (Dr.) ตามล�าดับ แต่ถึงกระนั้นในบางหลักสูตรก็ยังคง มีวุฒิดั้งเดิมของเยอรมันอยู่บ้าง ส�าหรับ Fachhochschule หรือ University of Applied Sciences ซึง่ เดิมจัดการเรียนการสอนระดับปริญญา ตรีนนั้ ปัจจุบนั ขยายการศึกษาในบางสาขาวิชาถึง ระดับปริญญาโทและบางมหาวิทยาลัยมีความร่วม มือกับมหาวิทยาลัยประเภทแรกตามตารางที่ 1 ก็ สามารถท�าปริญญาเอกได้ด้วย จากสถิติปีการศึกษาภาคฤดูหนาวที่ 2012/ 2013 ดังรูปที่ 1 เราจะเห็นว่าคนเยอรมันสนใจ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมกันร่วม 40% แล้วตามด้วยกลุ่มกฎหมาย เศรษฐศาสตร์และ สังคม โดยมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 2.5 ล้านคน ขณะทีร่ ปู ที่ 2 แสดงให้เห็นถึงจ�านวนผูจ้ บ การศึกษาระดับต่างๆ ในปีเดียวกัน จ�านวนกว่า 4.1
University of Applied Sciences Doctorate Staatsexa men Master
6
6
ผู้ช่วยสอนเฉพาะเรื่อง อาจารย์และผู้ช่วย Universitaet
4 19
9
14
ศาสตราจารย์
รวมผู้จบการ ศึกษาทั้งสิ้น 413,000 คน
44
2
จ�านวน บุคคลากร รวมทั้งสิ้น 225,000 คน 75
19
Universitaet
เจ้าหน้าที่ ทางวิชาการ และศิลปะ
รูปที่ 2: สถิติอัตราผู้จบอุดมศึกษาของเยอรมันปี ค.ศ.2012
รูปที่ 3: สถิติอัตราหน้าที่หลักของบุคคลากรในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาในปี 2012
จีน รัสเซีย ออสเตรีย อินเดีย บัลกาเรีย ตุรกี โปรแลนด์ ยูเครน ฝรั่งเศส
รูปที่ 4: ประเทศที่มาของนักศึกษาต่างชาติส่วนใหญ่ที่เข้าไป ศึกษาในมหาวิทยาลัยของเยอรมันในปี ค.ศ.2013
แสนคน ส�าหรับในช่องทีร่ ะบุวา่ จบ University of Applied Sciences 6% และจบ Universitaet 19% นั้น เนื่องจากทั้ง University of Applied Sciences และ Universitaet ณ ปัจจุบันยังคงมี นักศึกษาทีศ่ กึ ษาอยูใ่ นระบบเดิม ซึง่ ไม่ปรับเทียยบ เข้ากับ Bachelor และ Master และสถิติในปี ค.ศ.2012 เช่นกันที่การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ของเยอรมันใช้บคุ คลากรรวมทัง้ สิน้ กวา 225,000 คน โดยแยกเป็นศาสตราจารย์ 19% อาจารย์และ ผู้ช่วยสอน 2% อาจารย์พิเศษเฉพาะเรื่อง 4% ที่ เหลืออีก 75% เป็นพนักงานด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, ศิลปิน อื่นๆ ดังรูปที่ 3
จากสถิตปิ กี ารศึกษาภาคฤดูหนาว 2013/2014 มีนักศึกษาในเยอรมันเพิ่มขึ้นเป็น 2,613,168 คน โดยจากจ�านวนนีเ้ ป็นนักศึกษาต่างชาติมากกว่า 3 แสนคน โดยกว่า 2.5 หมืน่ คนเป็นนักศึกษาจากจีน รูปที่ 4 เป็นกราฟแสดงให้เห็นถึงทีม่ าของนักศึกษา ต่างชาติสว่ นใหญ่ทเี่ ข้าไปศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย ของเยอรมันในปี ค.ศ.2013 ครับ... ผมเขียนมายาวเพื่อให้ผู้อ่านได้เห็น และเข้าใจถึงระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใน เยอรมันก่อนที่จะบอกในฉบับต่อไปว่า ถ้าจบ ม. 6 หรือ ปวช. จะไปเรียนต่อเยอรมันได้อย่างไร... สนใจ โปรดติดตามนะครับ MM
เอกสารอ้างอิง - German Academic : “คู่มือศึกษาต่อในประเทศสหพันธ์สาธรณรัฐเยอรมนี” Exchange Service (DAAD) ประจ�าประเทศไทย - www.wikipedia.de : “Liste der Hochschulen in Deutschland” “Bildungssystem in Deutschland” “Ingenieurschule”, “Technische Universitaet” “Fachhochschule”, “Musikhochschule” “Kunsthochschule”, “Kirchliche Hochschule” “Paedagogische Hochschule” - www.destatis.de : “Hochschulen Insgesamt”, “Personal an Hochschule” “Bildungsstand der Bevoelkerung”
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
29
PRODUCTION | FORMING TECHNOLOGY
PERSPECTIVE MACHINE TOOLS & METALWORKING INDUSTRY CONNECTING VALUES MM MACHINE TOOLS & METALWORKING ผนึก ก�ำลัง 7 พันธมิตร 7 คุณค่ำแห่ง วงกำรเครือ่ งจักรกลและโลหกำร ของไทย เพื่ อ น� ำ เสนอสำระ ควำมรู้แบบภำพรวม (PERSPECTIVE) แก่นกั อุตสำหกรรม และวิศวกรชำวไทย โดยพร้อม ส่งมอบควำมพิเศษในฉบับเดือน ตุลำคม 2014 – มกรำคม 2015 อันเป็นไฮไลท์ช่วงปิดฤดูกำร ซือ้ ขำยปลำยปี 2014 และพร้อม เปิดศักรำชใหม่แห่งปี 2015
ประสาน 10 ทิศ
สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย (TDIA)
"หน่วยงานหลักในการเป็นแกนกลางเพื่อส่งเสริม สนับสนุนและด�าเนินกิจกรรมอันจะเป็น ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยในภาพรวม เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล โดยร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กรต่างๆ ทั้งภายในและต่างประเทศ"
COMMUNICATOR
ต่อยอดงานวิจัย
FAST AND BEYOND
รวดเร็วและก้าวไกล สถาบันไทย-เยอรมัน (TGI)
“องค์ ก รชั้ น น� า ในการยกระดั å บ ขี ด ความ สามารถด้านเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรม ไทยให้เข้มแข็งในระดับสากล จัดตัง้ ขึน้ โดยความ ร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย และรัฐบาลสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี เพือ่ ให้สถาบันเป็นหน่วยงานที่ มีประสิทธิภาพในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต ขัน้ สูงสูภ่ าคอุตสาหกรรมไทย โดยการด�าเนินงาน ของสถาบันฯ มีลกั ษณะการบริหารงานทีเ่ ป็นอิสระ และอยูน่ อกระบบการศึกษา ภายใต้การดูแลของ กระทรวงอุตสาหกรรม โดยมีอตุ สาหกรรมพัฒนา มูลนิธิมารองรับการด�าเนินงาน”
วารสารเทคโนโลยีวัสดุ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
“สื่อผู้มอบสาระเรื่องน่ารู้ครอบคลุมทุกเรื่องของวัสดุ น�าเสนอสาระที่มุ่งเน้นถึงข้อมูลอันเป็นประโยชน์ที่สามารถสร้าง ความฉุกคิด น�าไปต่อยอด รวมถึงปฏิบัติ โดยเป็นการน�าข้อมูลการศึกษาวิจัยและการพัฒนาทางเทคโนโลยีวัสดุเพื่อการ พัฒนาประเทศไทยเป็นส�าคัญมาน�าเสนอ”
EXPERTISE SHARING
รู้จริง ท�าจริง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแม่พิมพ์และดาย (MDRDC) ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
“เป็นหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญพร้อมรองรับอุตสาหกรรมแม่พิมพ์โลหะและพลาสติก ด้วยการให้ค�าปรึกษาด้านการออกแบบ และแก้ไขปัญหา แม่พมิ พ์พลาสติก โลหะ วิเคราะห์การไหลตัวของพลาสติกในแม่พมิ พ์ดว้ ยโปรแกรม CAE รวมถึงออกแบบ วิเคราะห์ และสร้างแม่พมิ พ์ดว้ ยระบบ CAD/CAM/ CAE อีกทั้ง ผลิตชิ้นงานต้นแบบด้วยระบบ RAPID MOLDING & RAPID PROTOTYPING และขึ้นต้นแบบ 3D ด้วยเครื่อง OPTICAL 3 D SCAN” 30 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
FORMING TECHNOLOGY | PRODUCTION
OF THAILAND ครบเครื่องเรื่องเครื่องจักรกลและโลหการ PEOPLEWARE MAKER
พัฒนาเพื่อความยั่งยืน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
“ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล เป็นหน่วยงานที่ผลิตวิศวกรผู้มีความรู้ ความสามารถ ในการประกอบ วิชาชีพด้านวิศวกรรมศาสตร์ โดยพัฒนาและถ่ายทอดความรูท้ างด้านวิศวกรรมเครือ่ งกล รวมทัง้ ค้นคว้าวิจยั และสร้างสรรค์ผลงานทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลเพื่อน�าประโยชน์สู่สังคมไทย”
PROFESSIONAL MENTOR
มืออาชีพส�าหรับทุกคน
ศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (DECC)
“จัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2549 มีสถานะเป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้ข้อบังคับคณะ กรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์ฯ มีความเชีย่ วชาญ ในด้านเทคโนโลยี CAE ด�าเนินงานบริการวิศวกรรม และแก้ปญ ั หางานออกแบบ งานผลิตและงานซ่อมบ�ารุง รวมทัง้ งานฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี CAE ให้กับภาคอุตสาหกรรมและสถาบันต่างๆ ของประเทศ”
MARKETPLACE
ค�าตอบสุดท้ายของอุตสาหกรรม TRADE EXHIBITION ORGANIZERS
งานวิจัยและสถิติมากมายบ่งชี้ว่า หากจะประเมินศักยภาพและแนวโน้มของอุตสาหกรรมใดๆ ให้พจิ ารณาจากความส�าเร็จในงานแสดงสินค้า (TRADE EXHIBITION) ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรม นั้นๆ เพราะความหนาแน่นของการพบปะสื่อสารในงานแสดงสินค้าคือตัวชี้วัดโดยตรงต่อภาวะ ความเชื่อมั่นของนักลงทุน ความก้าวหน้าแห่งเทคโนโลยี และอุปสงค์ของตลาด MM จะพาคุณ รูจ้ กั TRADE EXHIBITION ผูเ้ ล่นคนส�าคัญของวงการ ตัง้ แต่ระดับโลกจนมาถึงระดับภูมภิ าคของ เรา อาทิ EMO EURO BLECH JIMTOF METALEX รวมถึงมุมมองจากผู้จัดงานที่จะท�าให้คุณ เข้าใจตลาดสินค้าอุตสาหกรรมในแบบครบมุมยิ่งขึ้น
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
31
TOP TEN TIPS FROM Q&A YOU MAY HAVE MISSED
10 คำถามที่คุณไมควรพลาด ที่ตอบโดยเหลากูรู เพื่อลับคมความรูเรื่องเครื่องจักรกลและโลหการ
PRODUCT HIGHLIGHTS METALEX 2014 @ BITEC
แนะนำผลิตภัณฑสุดล้ำ อุนเครื่องกอนพบตัวจริงในงาน METALEX 2014
พ และเท
THE NEW BEGINNING
เหลียวหลัง 2014 เก็บตก HIGHLIGHT 2014 และการรวบรวมการเปนที่สุดจาก METALEX 2014 แลหนา 2015 มองเทรนด 2015 เตรียมพบกับความทาทายใหมๆ และรูจักงานแสดงสินคาป 2015
SPECIAL FEATURES: THE PERSPECTIVE OF THAI MACHINE TOOLS & METALWORKING
MM รวมกับ KEY PLAYERS ของวงการ ที่คัดสรรบทความมาเสนออยางตอบโจทยและตรงใจผูอาน
FACTORY VISIT
พาชมโรงงาน ตามดูนวัตกรรม ทคนิคการผลิตของโรงงานชั้นนำ
COVERSTORY | MAZAK
มาซัค…
ผู้น�ำด้ำนกำรผลิตและจ�ำหน่ำยเครื่องกลมุ่งสู่ กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์และงำนบริกำรสู่ควำมเป็นเลิศ
ด้วยประสบการณ์ที่สั่งสมมา 95ปี เมื่อเอ่ยถึงเครื่องจักรที่ใช้ส�ำหรับผลิต ชิน้ งำนในภำคอุตสำหกรรม บริษทั มำซัค (ประเทศไทย) จ�ำกัด ถือได้วำ่ เป็นผูน้ ำ� ด้ำน กำรผลิตเครื่องจักรอุตสำหกรรมพร้อม ทั้งสรรค์สร้ำงเทคโนโลยีสุดล�้ำสมัย และ ยังมีศนู ย์บริกำรด้ำนเทคนิคพร้อมต่อกำร บริกำร ตลอดจนเป็นพันธมิตรกับลูกค้ำที่ จะร่วมคิดค้นและพัฒนำไปพร้อมกัน
ร่
วมสัมผัสประสบการณ์ในการพัฒนาเครื่อง จั ก รและงานบริ ก ารที่ สั่ ง สมมาตลอดระยะ เวลา 95 ปี ซึ่งถ่ายทอดโดยคุณโอชิมะ ผู้จัดการ ทั่วไป บริษัท มาซัค (ประเทศไทย) จ�ากัด คุณเรียวมะ โอชิมะ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท มาซัค (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า มาซัค ผูผ้ ลิต และจ�าหน่ายเครื่องจักรกลที่มีเทคโนโลยี และ นวัตกรรมอันทันสมัย มีโรงงาน ศูนย์เทคโนโลยี และศูนย์บริการด้านเทคนิคกระจายสาขาอยูท่ วั่ ทุก มุมโลก และในประเทศไทย คือ บริษัท มาซัค (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึ่งเป็นศูนย์เทคโนโลยีที่ รวบรวมเทคโนโลยีต่างๆ ของเครื่องจักร Mazak ไว้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในทุกด้าน โดยสินค้าของทางบริษัทฯ มีทั้งหมด 5 ประเภท คือ 1. เครื่องกลึง: Turning Center 2. เครือ่ งกัดแนวตัง้ : Vertical Machining Center 3. เครื่ อ งกั ด แนวนอน: Horizontal Machining Center 4. เครือ่ งกัดเอนกประสงค์: Multi-Tasking machine 5. เครื่องเลเซอร์: Laser Processing Machine
34 MM
ทั้ ง หมดนี้ มี ก ารผลิ ต ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น และ สิงคโปร์ และน�าเข้ามาจัดจ�าหน่ายในประเทศไทย การด�าเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในปีทผี่ า่ นมาหลัง จากน�า้ ท่วมธุรกิจก็ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ ถึงแม้จะมีเหตุการณ์ ความไม่ มั่ น คงทางการเมื อ งเข้ า มาบ้ า ง แต่ เศรษฐกิจก็ยงั ฟืน้ ตัวได้เร็ว และทัว่ โลกก็ยงั คงมอง ธุรกิจในประเทศไทยเป็นประเทศทีน่ า่ ลงทุน ทัง้ ด้าน LOGISTIC และ PRODUCTION มากขึ้น
Machine Tools & Metalworking / September 2014
5 จุดแข็งหนุนควำมเป็นผู้น�ำของมำซัค คุณโอชิมะกล่าวถึงจุดแข็งของมาซัคที่สร้าง ความเชื่อมั่นและเชื่อใจให้กับลูกค้าว่า - มาซัคด�าเนินธุรกิจมากว่า 95 ปี ส่งผลให้ มี เ ครื่ อ งจั ก รหลากหลายชนิ ด พร้ อ มสนั บ สนุ น ส�าหรับโรงงานใหม่ ในการต่อยอดการผลิตให้มี หลากหลายระดับ รวมทั้ง สามารถรองรับโรงงาน ที่เติบโตขึ้นในอนาคต
COVERSTORY | MAZAK
- ความโดดเด่นขอเครือ่ งจักร คือ มี โปรแกรม ควบคุ ม การท� า งานที่ รี ย กว่ า Mazatrol เป็ น โปรแกรมแบบถามตอบ มีทั้งในเครื่องกลึง และ เครื่องกัด ใช้งานง่าย หากผู้ใช้มีพื้นฐานการใช้ โปรแกรมมาแล้ว ก็สามารถใช้เครื่องจักรประเภท อื่นๆ ของเราได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลา เรียนรู้ใหม่อีก - มีการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรอย่าง ต่อเนื่อง โดยเป็นผลพวงจากการที่ทาง บริษัทฯ มีลูกค้าหลากหลายกลุ่มอุตสาหกรรม ส่งผลให้ได้ รับข้อมูลความต้องการของลูกค้า ก่อเกิดเป็น ไอเดียเพื่อน�ามาต่อยอดและพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่ๆ ได้มากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นในอนาคตลูกค้า ก็สามารถวางแผนได้งา่ ยขึน้ เพราะเราให้การสนับ สนุนลูกค้าได้ทงั้ ไลน์การผลิต และต่อยอดให้ลกู ค้า ขยายการผลิตในอนาคตได้ เพราะเรามีเครือ่ งจักร มากกว่า 300 ชนิดพร้อมต่อการรองรับความ ต้องการของลูกค้า - โรงงานผลิตเครื่องจักรของมาซัค เป็น โรงงานทีม่ มี าตรฐานระดับโลก ในการผลิตชิน้ ส่วน เครื่องจักรแต่ละชิ้น มาซัคมีการตรวจสอบแบบ 100% และในไลน์ ป ระกอบอยู ่ ใ นห้ อ งควบคุ ม อุณหภูมิ ปลอดฝุน่ ควบคุมความชืน้ ด้วยมาตรฐาน ระดับโลก เมื่อประกอบแต่ละส่วนเรียบร้อยแล้ว ยังมีการตรวจเช็คโดยการทดสอบ Test Run ใน ระยะเวลาที่เหมาะสม ภายหลังจากการประกอบ เป็นเครื่องจักรสมบูรณ์แล้ว ทางทีมวิศวกรก็จะ ทดสอบ Test Run อีกครัง้ เพือ่ ความสมบูรณ์แบบ
คุณเรียวมะ โอชิมะ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท มาซัค (ประเทศไทย) จ�ากัด
พร้อมทั้งออกใบการันตี การวัดค่าต่างๆ ที่ได้ จาการ Test Run แนบมากับเครื่องจักรพร้อมส่ง ให้ลูกค้า - มีทีมกฎหมายที่มีความช�านาญในการขอ อนุญาตใช้เครื่องจักรที่มีความละเอียดสูงกับ ทางรัฐบาลญี่ปุ่น โดยท�าให้ลูกค้าได้รับความ สะดวกสบายมากที่สุด
นโยบำยและกลยุทธ์เชิงรุกในกำรพัฒนำธุรกิจ คุณโอชิมะ กล่าวถึงกลยุทธ์เชิงรุกในการ พัฒนาธุรกิจของ บริษัทฯ ว่าในตลาดปัจจุบันนี้ บริษัทฯ มีเครื่องกลึงรุ่น QTP และ QSM ซึ่งเป็น เครื่องจักรที่ได้รับความไว้วางจากลูกค้ามาอย่าง
ยาว นาน มีการซือ้ ซ�า้ อย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยสถานการณ์งานชิ้นส่วนมีความยากขึ้น มี มู ล ค่ า มากขึ้ น ดั ง นั้ น เราจึ ง มี ก ารพั ฒ นา เครือ่ งจักรทีม่ สี เป็คสูง เพือ่ รองรับวิศวกรทีม่ คี วาม สามารถมากขึ้ น ใช้ ง านเครื่ อ งจั ก รที่ มี ค วาม ซับซ้อนได้ สามารถผลิตชิ้นงานที่มีความละเอียด มากขึ้น ตามภาวการณ์เติบโตของโรงงาน และ รวมถึงการลดต้นทุนการผลิต อีกตลาดหนึ่งที่บริษัทฯ มีนโยบายเชิงรุก คือ ตลาด Sheet อาทิ เครื่อง เลเซอร์ที่ใช้ส�าหรับ ตัดเหล็กแผ่น เหล็กท่อ I beam, H beam และ C beam เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหาช่างเชื่อม ช่าง ประกอบทีม่ ฝี มี อื ซึง่ ก�าลังขาดแคลนอยูใ่ นปัจจุบนั เพราะหากมีเครื่องจักรสามารถผลิตชิ้นงานที่มี ความละเอียดสูง ก็จะช่วยให้การประกอบชิน้ ส่วน ง่ายขึ้น ลดระยะ เวลาในการประกอบ ช่วยลด ต้นทุนด้านแรงงาน”
มุง่ มัน่ พัฒนำงำนบริกำรเพือ่ มุง่ สูค่ วำมเป็นเลิศ ส�าหรับเป้าหมายของบริษัทฯ คือ การรักษา ความพึงพอใจด้วยงานบริการ พร้อมทัง้ เพิม่ ระดับ ความพึงพอใจให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัทฯ ได้เปิดสาขาแห่งใหม่ที่ อ. ศรีราชา จ. ชลบุรี เพื่อ รองรับการให้บริการแก่ลูกค้า และช่วยลดเวลา การเดินทางเมื่อลูกค้าต้องการการบริการ ลด ระยะเวลา Machine Down โดยทีว่ ศิ วกรสามารถ เข้าบริการลูกค้าได้ทันทีที่ต้องการ ซึ่งบริษัทฯ มัน่ ใจว่าการบริการหลังการขายเป็นสิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ ในเมืองไทย เรามีทีมวิศวกรฝ่ายบริการที่มี ประสบการณ์ทสี่ งั่ สมมาร่วม 10 ปี มีความรูค้ วาม ช�านาญในผลิตภัณฑ์เป็นอย่างดี เนื่องด้วยทาง MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
35
COVERSTORY | MAZAK
Multi-Tasking Machine: INTEGREX i series ชิ้นงานแต่ละชิ้น และประหยัดพื้นที่ในโรงงานซึ่ง คุ ณ โอชิ ม ะ ได้ แ นะน� า Multi-Tasking Machine : INTEGREX i series ซึ่งเป็น เครื่องจักรที่สามารถกลึงและกัดแบบ 5 แกน ภายในเครือ่ งเดียวโดยทีเ่ ซ็ทอัพเครือ่ งจักรเพียง 1 ครั้ง ก็สามารถท�างานได้หลายขั้นตอน ท�าให้ไม่มี ความจ�าเป็นต้องย้ายชิน้ งานไปท�าในหลายๆ เครือ่ ง จึงท�าให้ชิ้นงานมีความเที่ยงตรงสูง สามารถลด ต้นทุนการท�าอุปกรณ์จบั ยึดชิน้ งาน ลดเวลาในการ เซ็ทอัพ ลดเวลาในการท�างานโดยรวมทัง้ หมดของ
มาซัคส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานมีความ เชี่ ย วชาญมากขึ้ น ไม่ ห ยุ ด นิ่ ง อยู ่ ที่ ทั ก ษะเดิ ม ๆ ดังนั้น ในแต่ละปีจะมีการส่งพนักงานเข้ารับการ ฝึกอบรมมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง ทางบริษัทฯ มีความพร้อมด้านการให้ บริการลูกค้าด้วยระบบ Call Center ซึ่งได้รับผล ตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี ลูกค้าพึงพอใจกับ บริการนี้ เนื่องจากปัญหาเครื่องจักรบางอย่าง สามารถแก้ไขได้โดยการให้คา� ปรึกษาทางโทรศัพท์ จึงไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเรียกวิศวกรเข้า ตรวจเช็ค และวิศวกรที่ให้ค�าปรึกษาก็มีความรู้ ประสบการณ์สูง สามารถให้ข้อมูลที่ครอบคลุม เครื่องจักรเกือบทุกรุ่น รวมถึงเรายังมีการส�ารอง อะไหล่ไว้ส�าหรับตอบสนองลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว “นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ผ่านมา ยามาซากิ มาซัค สิงคโปร์ ซึง่ เป็นศูนย์กลางมาซัค ในเอเชีย ได้มีการขยายโรงงาน ให้ใหญ่ขึ้น และมี ส่วน Training Center, Call Center, Parts Center ทีท่ งั้ ผลิต ซ่อมบ�ารุง ให้การฝึกอบรมการ ใช้ ง านเครื่ อ งจั ก รต่ า งๆ แบบครบวงจร หาก เครื่องจักรในประเทศไทยมีปัญหา ทางยามาซากิ มาซัค สิงคโปร์ ก็สามารถเข้ามาสนับสนุนได้ทันที ที่ต้องการ” คุณโอชิมะกล่าวเสริม ส่วนแผนการตลาดในปี 2557 นั้น บริษัทฯ เข้าร่วมงานแสดงสินค้า Metalex 2014 โดยใน งานนี้ได้มีการเปิดตัวเครื่อง ITEGREX i Series เป็นครัง้ แรก และมีแผนการจัดงาน Open House ช่วงปลายปีนี้ เพื่อให้ลูกค้าได้สัมผัสกับเทคโนโลยี ใหม่ๆ และยังเป็นช่องทางในการขยายธุรกิจใน อนาคตอีกด้วย 36 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ไม่ต้องมีเครื่องจักรหลายเครื่องเพื่อท�างานชิ้น เดียว ลดจ�านวนผู้ใช้ ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างงาน เครื่ อ งจั ก รรุ ่ น นี้ เ หมาะส� า หรั บ หลากหลาย อุตสาหกรรม ทัง้ ชิน้ ส่วนรถยนต์ ชิน้ ส่วนเครือ่ งบิน แม่พิมพ์ หรือแม้แต่อุปกรณ์เครื่องมือทางการ แพทย์ เครื่องจักรของมาซัคมีทั้ง Low Level ไป จนถึง High Level ทั้งเครื่องกลึง เครื่องกัด มี โปรแกรมการท�างานเรียกว่า Mazatrol เป็น
COVERSTORY | MAZAK
โปรแกรมแบบถามตอบ ไม่ต้องเขียนโปรแกรม EIA จึงง่ายต่อการใช้งาน หากเป็นโรงงานใหม่ หรือรับจ้างท�า เมื่อใช้ Mazatrol สามารถเรียนรู้ ได้ง่าย และรวดเร็ว นอกจากนี้ ชิ้นงานที่มีความละเอียดสูง ก็ สามารถท�าได้ง่ายเช่นกัน ด้วยการใช้โปรแกรม Mazatrol, EIA, 5 แกน ได้เช่นเดียวกัน เมื่อได้ เรียนรูโ้ ปรแกรมแล้ว ลูกค้าก็สามารถใช้งานต่อใน เครื่ อ งจั ก ร ในระดั บ อื่ น ๆ ได้ ในอนาคตหาก ต้องการขยายการผลิตหรือซือ้ เครือ่ งจักรชนิดอืน่ ๆ กล่าวได้วา่ เทคโนโลยีทลี่ ว้ นง่ายต่อการใช้งาน ง่ายต่อการเรียนรู้ ส่งผลต่อการตัดสินใจของ ผู้ประกอบการในประเทศไทยเนื่องจากปัญหา แรงงานระดับช�านาญการค่อนข้างขาดแคลน ถ้า นวัตกรรมอะไรที่สามารถเรียนรูไ้ ด้รวดเร็วก็จะส่ง ผลดีตอ่ ผูป้ ระกอบการ และ ณ ปัจจุบนั ต่างประเทศ ค่อนข้างมีการปรับตัวไปสู่การผลิตชิ้นส่วนที่มี ความยากและซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจึงท�าให้ลูกค้า ของเรามีทางเลือกและสามารถหาเครื่องจักรที่มี ความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากทีส่ ดุ เครื่ อ งจั ก รของมาซั ค เราได้ บ รรจุ ฟ ั ง ก์ ชั่ น อัจฉริยะเข้าไปตัวอย่างเช่น การควบคุมและการ ชดเชยในกรณีทอี่ ณ ุ หภูมเิ ปลีย่ นแปลง หรือฟังก์ชนั่ การแจ้งเตือนการซ่อมบ�ารุงเชิงป้องกัน Preventive Maintenance และอื่นๆ อีกมากมาย “เรามีเครือ่ งเลเซอร์สา� หรับงานอุตสาหกรรม โลหะแผ่นที่ผลิตในประเทศญี่ปุ่น โรงงานของเรา ได้รบั รางวัลจากรัฐบาลญีป่ นุ่ ในด้านของเทคโนโลยี ซึ่งโรงงานของเราตั้งอยู่ใต้พื้นดินเพื่อความคุม สิ่งต่างๆ ตามเงื่อนไขการผลิตเครื่องเลเซอร์ที่มี ความเที่ ย งตรงแม่ น ย� า สู ง สุ ด เราผลิ ต เครื่ อ ง เลเซอร์ส�าหรับงานโลหะแผ่นหลากหลายรุ่นเพื่อ ให้เหมาะกับโลหะแผ่นทีม่ คี วามกว้าง X ความยาว แตกต่างกัน ความหนาแตกต่างกัน และชนิดของ วัสดุ และรูปร่างที่ต่างกัน เช่น ท่อ เหล็กแผ่น I beam, H beam เราสามารถรองรับความหลาก หลายเหล่านีไ้ ด้ และได้รบั การค้า Fiber Optic ซึง่ เป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดในขณะนี้”
มุมมองต่อกำรเข้ำร่วม AEC คุณโอชิมะกล่าวต่อว่า สมาชิกประเทศในกลุม่ ประชาคมอาเซียนทั้ง 10 ประเทศนั้น มองว่า ประเทศไทยยังเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอยู่ AEC มีประโยชน์ในด้านที่ผู้คนเข้าออกประเทศ มากขึน้ มีการน�าเข้าส่งออกมากขึน้ มองในระยะสัน้ มีประโยชน์ตรงที่จะมีแรงงานเพิ่มมากขึ้น ขยาย การผลิตมากขึ้น ธุรกิจเติบโตเร็วเพราะไม่ต้อง
กังวลเรื่องแรงงาน แต่ถ้ามองระยะไกล หาก แรงงานเหล่านั้น ได้พัฒนาฝีมือจนช�านาญแล้ว อาจจะกลับประเทศของตนเองแล้วกลายมาเป็นคู่ แข่งคนส�าคัญก็เป็นได้ เราจึงมองว่าการพัฒนา เครื่องจักรให้สามารถลดการใช้แรงงานได้มาก ที่สุดก็เป็นสิ่งที่น่าให้ความใส่ใจ “เราเข้ า ใจว่ า นิ ค มอุ ต สาหกรรมนั้ น เรื่ อ ง แรงงานส�าคัญมาก หากขาดแคลนธุรกิจก็ชะลอตัว หรือหยุดชะงัก ดังนั้น คนไทยเองต้องไม่สร้าง ความแตกต่างเพื่อที่จะให้แรงงานต่างชาติอยู่ได้ นานขึน้ เราต้องคิดใหม่วา่ เมือ่ เปิด AEC แล้วไม่ใช่ ประเทศนัน้ ประเทศนี้ แต่เป็นกลุม่ AEC เดียวกัน” ในด้านการเตรียมความพร้อมส�าหรับการเปิด AEC ของทางมาซัคนัน้ มองว่าหลังจากเปิด AEC แล้ ว ส่ ว นใหญ่ ผ ลกระทบจะมี กั บ ลู ก ค้ า ของเรา มากกว่า แต่ถ้าหากลูกค้าได้รับผลกระทบ เช่น ธุรกิจขยายตัวขึ้น ต้องซื่อเครื่องจักรเพิ่มมากขึ้น หรือต้องมีแผนนโยบายป้องกันไม่ให้เครื่องจักร หยุดการท�างาน ท�าให้ไลน์ผลิตหยุดชะงัก ดังนั้น MM
เราต้องเตรียมบุคคลากรให้พร้อมเพื่อเข้าบริการ ลูกค้าได้ทันท่วงที ต้องมีการส�ารองอะไหล่ไว้เพื่อ ลดระยะเวลาการรอคอยสั่งซื้ออะไหล่ อีกทั้ง ยังต้องศึกษาข้อมูลของแต่ละประเทศ รวมถึงวัฒนธรรมการด�าเนินชีวิตว่าเป็นอย่างไร จึงจะเข้าใจว่าจะร่วมท�าธุรกิจกันได้ในทิศทางใด ส� า หรั บ แผนการบุ ก ตลาด เรามี ม าซั ค ที่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ แล้ว ประเทศที่น่าสนใจคือ เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา เพราะ Logistic มีสะดวก อีกทัง้ มีวฒ ั นธรรมใกล้ เคียงกัน จึงเป็นเรื่องง่ายต่อการท�าธุรกิจ ร่วมสัมผัสเทคโนโลยีอันทันสมัยและรู้จักกับ มาซัคอย่างใกล้ชิดได้ที่งาน Metalex 2014 ใน วันที่ 19-22 เดือนพฤศจิกายนนี้ ทีศ่ นู ย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทคบางนา เพือ่ ตอกย�า้ ถึงความ เป็นผูน้ า� ด้านการผลิตการจัดจ�าหน่ายเครือ่ งจักรที่ มีเทคโนโลยีขนั้ สูง รวมทัง้ งานบริการ ทีร่ องรับทุก ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
37
PRODUCTION | FORMING TECHNOLOGY
มาตรฐานงานดัดขึ้นรูป ตัวช่วยส�าคัญที่ท�าให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น
ชิ้นงานดัดขึ้นรูปจากท่อและโปรไฟล์หน้าตัดก�าลังเป็นที่ต้องการอย่างมาก แต่งานลักษณะนี้ยังขาดองค์ความรู้ในเรื่องดังกล่าวอยู่ ดังนั้นจึงได้มีการจัดตั้งโครงการวิจัยที่เป็นการท�างานร่วมกันของภาคอุตสาหกรรมและภาควิชาการขึ้นมาพัฒนามาตรฐานงาน ดัด เพื่อช่วยให้ท�างานได้สะดวกมากขึ้น เรื่อง: Christopher Kuhnhen แปล/เรียบเรียง: ดร.ไพบูลย์ ช่วงทอง (Dr.-Ing.)
ส
าเหตุส�าคัญที่ท�าให้ชิ้นงานดัดขึ้นรูปจากท่อ และโปรไฟล์ มี ค วามต้ อ งการมากขึ้ น ก็ คื อ ผลิตภัณฑ์มีวงจรชีวิตที่สั้นลงเรื่อยๆ ท�าให้เกิด การปรับตัวให้สอดคล้องกับกระบวนการผลิตที่ เหมาะสม โดยจ�าเป็นต้องผลิตเป็นจ�านวนมากๆ
(Mass Production) เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ผลิตภัณฑ์งานดัดขึน้ รูปของลูกค้า ขณะเดียวกันก็ ยังต้องผลิตงานให้กับกลุ่มลูกค้าที่ต้องการสินค้า จ�านวนน้อยๆ (Small Series Production) อีก ด้วย ส่งผลให้การผลิตโดยใช้กระบวนการดัดขึ้น
รูปชิ้นงานก้าวขึ้นมาสู่แนวหน้า ความต้องการชิน้ งานดัดขึน้ รูปทีเ่ พิม่ ขึน้ ท�าให้ จ�าเป็นต้องมีการวางแผนการผลิตชิ้นงาน และใน ขัน้ ตอนการออกแบบชิน้ งานก็จะต้องเป็นไปอย่าง รวดเร็ว สอดคล้องต่อเนื่องกับขั้นตอนการผลิต แต่อย่างไรก็ดคี วามจ�าเป็นเหล่านีก้ ท็ า� ให้เกิดความ ยุง่ ยากแก่บคุ คลากรผูเ้ ชีย่ วชาญทีท่ า� การออกแบบ งานดัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์อยู่บ่อยครั้ง เนื่องจากยัง ขาดองค์ความรู้ และมาตรฐานก�ากับที่จะมาสนับ สนุนการออกแบบผลิตภัณฑ์งานดัดขึน้ รูป ซึง่ มีขนั้ ตอนการท�างานทีห่ ลากหลายและค่อนข้างซับซ้อน ด้วยเหตุนี้ มหาวิทยาลัย Siegen มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี Dortmund และบริษทั Fracto - Technik จึงได้รว่ มกันพัฒนามาตรฐานงานดัดขึน้ รูปชิน้ งานทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ กึง่ ส�าเร็จรูป ส�าหรับให้ผผู้ ลิต ผูใ้ ช้ และผู้เชี่ยวชาญสามารถน�าไปใช้อ้างอิงในการขึ้น รูปงานดัด เพื่อให้การผลิตชิ้นงานดัดขึ้นรูปท�าได้ ง่ายและสะดวกรวดเร็วขึ้น โดยโครงการนี้ซึ่งได้ เริ่มมาตั้งแต่กลางปี 2011 จะมีการน�าเสนอหลัก เกณฑ์ในการพิจารณาความซับซ้อนของรูปร่าง ชิ้นงานดัดขึ้นรูปจากผลิตภัณฑ์ประเภทท่อและ โปรไฟล์หน้าตัดต่างๆ โดยเฉพาะ
ท่อและโปรไฟล์หน้าตัด เหมาะส�าหรับงานโครงสร้างน�้าหนักเบา
การใช้ท่อในงานดัดขึ้นรูปเป็นสิ่งที่ปฏิบัติกัน อย่างแพร่หลายในวงการอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ
รูปที่ 1: มาตรฐานงานดัดที่ร่วมกันจัดท�าจากหลายภาคส่วน ทั้งบริษัทผู้ผลิตวัสดุกึ่งส�าเร็จรูป (Semi-Finish Supplier) ลูกค้า และผู้เชี่ยวชาญจะท�าให้กระบวนการผลิตชิ้นงานดัด ขึ้นรูปทั้งวงจรเป็นไปได้ง่ายขึ้น 42 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
FORMING TECHNOLOGY | PRODUCTION
ูป ึ้นร ัดข รด A กา าร วน นก ร B ะบ บว กา C กร ระ วน าร ก ะบ นก กร ระบว ก
ผลิตภัณฑ์กึ่งส�าเร็จรูป กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C
ะ ษณ ลัก ะ ล ูป ่างแ ึ้นร ูรปร รดัดข ลุ่ม A B ก ุ่ม กา กล ุ่ม C กล
รูปที่ 2: รูปแบบการท�างานที่เป็นตัวช่วยในการเลือกใช้ กระบวนการดัดขึ้นรูปชิ้นงานกึ่งส�าเร็จรูป ประเภทโปรไฟล์ และท่อ
อุตสาหกรรมการผลิตชิน้ ส่วนรถยนต์ทตี่ อ้ งการน�า้ หนักเบาและต้องการความยืดตัวสูง ซึ่งท่อ และ โปรไฟล์หน้าตัดทีม่ พี นื้ ทีห่ น้าตัดแบบปิดก็ได้รบั การ พิสจู น์แล้วว่าเหมาะส�าหรับงานทีต่ อ้ งการความยืด ตัวสูง อย่างเช่น ในงานผลิตตัวถังรถยนต์ โดยการ ดัดขึ้นรูปต้องผ่านขั้นตอนการดัดที่มีความหลาก หลาย แต่การผลิตชิ้นงานได้เป็นจ�านวนมากก็จะ ท�าให้ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้มรี าคาถูกลง ซึง่ ตัวอย่างทีเ่ ห็น ได้ชัดเจนคือ การผลิตตัวถังของรถยนต์ไฟฟ้า แต่ ด้วยรูปร่างตัวถังของรถกลุม่ นีท้ เี่ ปลีย่ นไปจากเดิม ท�าให้มีความจ�าเป็นต้องมีแนวความคิดด้านการ ผลิตแบบยืดหยุ่นเข้ามาช่วย ชิน้ งานตัวถังทีเ่ ป็นสินค้าอยูใ่ นตลาด ในระยะ เริม่ เข้าสูต่ ลาดจะต้องผลิตชิน้ งานให้ได้จา� นวนมาก
ซึง่ จ�านวนชิน้ งานทีเ่ ข้าสูต่ ลาดจะเป็นการยืนยันถึง ความส�าเร็จ เพราะจะท�าให้สามารถแข่งขันกับรถ ประเภทอื่นๆ ได้ ดังนั้นแนวคิดการผลิตลักษณะนี้ จึงเป็นสิ่งที่มีความส�าคัญในอันดับต้นๆ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า และบริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต เครื่องจักรกลงานดัดขึ้นรูป จะมีจ�านวนเพิ่มมาก ขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องรูปร่างของ ชิ้นงานซึ่งจะมีความซับซ้อนและมีความละเอียด มากขึน้ ไม่วา่ จะเป็นความต้องการผลิตชิน้ งานดัด ทีต่ อ้ งการรัศมีของการดัดทีม่ ขี นาดเล็กลง รูปร่าง งานดัดสามมิตทิ มี่ คี วามซับซ้อน และค่าพิกดั ความ เผื่อที่ลดลงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดของ พื้นที่หน้าตัดกลวงและพื้นที่ประกบชิ้นงาน ส่งผล ให้การผลิตงานดัดขึน้ รูปก้าวขึน้ มาสูข่ ดี จ�ากัดของ
MM
วิธีการผลิตด้วยวิธีนี้ ความถี่ของการเกิดชิ้นงานที่มีความบกพร่อง จากกระบวนการดัดขึ้นรูป ขึ้นอยู่กับความยาก ของรูปร่างชิ้นงานที่จะท�าการดัด ดังนั้นการจะ ลดปริมาณการเกิดชิ้นงานที่บกพร่อง จึงจ�าเป็น ต้องใช้ความรูใ้ นเชิงวัสดุศาสตร์ในขัน้ ตอนการดัด ชิ้นงานต่างๆ อย่างมาก ซึ่งความรู้ความเข้าใจใน ศาสตร์ของการขึ้นรูปงานดัดก็คือ ประสิทธิภาพ ของการผลิตทีอ่ ยูใ่ นขัน้ ตอนการวางแผนการผลิต ซึ่งจะส่งผลต่อก�าไรหรือขาดทุน โดยสภาพการณ์ ปัจจุบัน พนักงานที่ควบคุมเครื่องจักรขึ้นรูปงาน ดัด จะใช้ฐานความรู้ที่ได้จากการเรียนในระดับ อาชีวศึกษา ประสบการณ์ ประกอบกับข้อมูลที่ ได้จากบริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรกลขึน้ รูปงานดัดเป็น หลัก ซึง่ ปัจจุบนั นี้ เป็นเรือ่ งยากส�าหรับพนักงานที่ ออกแบบและวางแผนงานดัด เพราะพนักงานจะ ไม่สามารถมองเห็นภาพรวมของงานดัดได้เลย ซึง่ เป็นเรือ่ งทีไ่ ม่สง่ ผลดีตอ่ การขึน้ รูปงานดัดโดยรวม นอกจากนั้นการมีขั้นตอน และรูปร่างของการขึ้น รูปงานดัดที่หลากหลาย รวมทั้งมีขนาดใหญ่ ก็ เนื่องจากยังไม่มีกฎเกณฑ์ที่จะน�ามาก�าหนด หรือ ใช้เป็นแนวทางการออกแบบ และวางแผนการ ผลิตชิ้นงานดัดใดๆ เลย โครงการวิจยั ทีไ่ ดการสนับสนุนจากกระทรวง เศรษฐการ และการพลั ง งานแห่ ง สหพั น ธรั ฐ เยอรมนี จะช่วยตอบโจทย์ปญ ั หาในเรือ่ งมาตรฐาน การขึ้นรูปงานดัดจากวิธีการขึ้นรูปที่หลากหลาย และช่ ว ยค้ น หาวิ ธีก ารดั ด ขึ้ น รู ป ที่ เ หมาะสมกั บ ความต้องการได้ โดยในระยะเริม่ ต้นของโครงการ จะท�าการส�ารวจมาตรฐานอุตสาหกรรมเยอรมัน
Machine Tools & Metalworking / September 2014
43
PRODUCTION | FORMING TECHNOLOGY
Criteria
Bending Angle
Radiation Factor
Bending Factor
Torsion Factor Form-and Surface *1 Displacement Factor Tolerance R > 5D No Yes Damages 5D > R > 2D Single Direction Small Small Damages 2D > R > 0.5D Double Direction No No Damages
Category 1 0oC < a < 180oC Forward Category 2 180oC < a < 360oC Backward Category 3 360oC < a Turn Off Category 4 รูปที่ 3: ข้อควรพิจารณาส�าหรับการแบ่งระดับรูปร่างชิ้นงานดัดขึ้นรูป
(DIN) ที่เกี่ยวข้องกับงานดัดและมาตรฐานของ บริษัทต่างๆ ที่ใช้เป็นการภายในของบริษัท โดย ผลของงานในระยะแรกนี้จะน�าไปสู่การปรับปรุง มาตรฐานของสถาบั น มาตรฐานแห่ ง เยอรมนี (DIN) และจะขยายผลไปสู่การวางมาตรฐานใน การขึ้นรูปงานดัดท่อและโปรไฟล์หน้าตัดในระดับ นานาชาติต่อไป
การพัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการ ออกแบบชิ้นงานดัดขึ้นรูปที่ดีที่สุด
วัตถุประสงค์หลักของโครการวิจัยนี้คือ ผู้ ท�าหน้าที่ออกแบบการผลิตงานดัดขึ้นรูปจะได้ รับเครื่องมือที่ช่วยท�าให้ทราบว่า จะออกแบบ งานดัดให้มีรูปร่างอย่างไร จะเลือกใช้วัสดุกึ่ง ส�าเร็จรูปประเภทไหน ถึงจะได้ชนิ้ งานดัดขึน้ รูปทีม่ ี ประสิทธิภาพ และมีความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ ที่สุด โดยความหมายของค�าว่าประสิทธิภาพการ ขึ้นรูปงานดัดในที่นี้ก็คือ การที่สามารถดัดขึ้นรูป ชิ้นงานได้ตรงตามรูปร่าง และขนาดที่ต้องการ ภายใต้พิกัดความเผื่อที่ก�าหนด ส่วนความคุ้มค่า ทางเศรษฐศาสตร์จะเป็นความคุม้ ค่าในการลงทุน ใช้เครื่องจักรท�าการผลิตชิ้นงานดัดขึ้นรูปแต่ละ เครื่องในระบบการผลิต แนวความคิ ด หลั ก ส� า หรั บ ผลงานวิ จั ย นี้ คื อ การพัฒนาตารางทีเ่ ป็นสิง่ บอกปัจจัยต่างๆ ทีม่ ผี ล ต่อการดัดขึ้นรูป (รูปที่ 2) เพื่อให้พนักงานใช้เป็น ข้อมูลอ้างอิงในการเลือกรูปร่างงานดัดชิ้นงานกึ่ง ส�าเร็จรูป โดยพิจารณาจากวัสดุ และพืน้ ทีห่ น้าตัด ที่จะท�าให้ได้ชิ้นงานดัดขึ้นรูปที่ดีที่สุด ซึ่งจ�าเป็นที่
รูปที่ 4: ชิ้นงานที่ถูกดัดติดตายกับเครื่องมือดัดขึ้นรูป 44 MM
จะต้องพัฒนาอินเทอร์เฟสระหว่างปัจจัยของงาน ดัด ซึ่งได้แก่ ชิ้นงานกึ่งส�าเร็จรูป รูปร่างงานดัด และกระบวนการดัดรวมเข้าไปด้วย ซึ่งในขั้นแรก จะท�าการสืบค้นมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด และ น�ามาประมวลผลเพื่อท�าการจัดหมวดหมู่ชิ้นงาน กึ่งส�าเร็จรูปที่มีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานดัด และในขัน้ ตอนถัดมา จะท�าการประมวลผลชิน้ งาน ดัดขึน้ รูปทีม่ รี ปู ทรงมาตรฐานเพือ่ ท�าการจัดหมวด หมู่เช่นเดียกัน
การก�าหนดลักษณะชิ้นงานดัด ด้วยปัจจัย 9 ด้าน
เป้าหมายหลักของงานวิจัยในขั้นแรก จะ เป็นการก�าหนดมาตรฐานทีไ่ ด้มาจากกระบวนการ ดั ด ขึ้ น รู ป ขั้ น ตอนต่ า งๆ ส� า หรั บ การจั ด หมวด หมู่ชิ้นงานดัด และประเมินคุณภาพของชิ้นงาน โดยคุณภาพของชิ้นงานดัดในการศึกษาวิจัยนี้ก็ คือ การเปรียบเทียบขนาดของชิ้นงานดัดขึ้นรูป กับขนาดของชิ้นงานกึ่งส�าเร็จรูปที่น�ามาใช้ และ การเปรียบเทียบคุณภาพชิ้นงานที่ขึ้นรูปได้กับ มาตรฐานที่ก�าหนดไว้ ซึ่งการก�าหนดมาตรฐาน จะใช้ความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ได้จาก การศึกษาของนักวิจยั ในมหาวิทยาลัย ข้อมูลความ ต้องการของลูกค้า และความเห็นของผู้ผลิตชิ้น ส่วนงานดัดกับผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรส�าหรับงานดัดขึน้ รูปประกอบรวมเข้าด้วยกัน ลักษณะชิ้นงานดัดขึ้นรูปจะถูกก�าหนด หรือ สามารถอธิบายได้ด้วยปัจจัยที่ส�าคัญ 9 ด้าน (รูป ที่ 3) โดยปัจจัยชุดแรกจะมี 4 ด้าน ซึ่งอธิบาย รูปร่างของชิ้นงานดัด 3 ปัจจัยแรกที่ใช้อธิบาย นี้ประกอบด้วย ปัจจัยด้านความหนาของชิ้นงาน ปัจจัยด้านรูปทรงของพื้นที่หน้าตัด และปัจจัย ด้านการเปลี่ยนแปลงความหนาของชิ้นงานของ ชิ้นงานกึ่งส�าเร็จรูป ส�าหรับปัจจัยที่ 4 จะเป็น ปัจจัยด้านพิกัดความเบี่ยงเบนเชิงรูปร่างและเชิง ต�าแหน่ง ส่วนปัจจัยด้านผิวของชิ้นงานจะเป็นสิ่ง ที่ใช้อธิบายคุณภาพของชิ้นงานดัดขึ้นรูป ซึ่งการ แบ่งระดับของคุณภาพนี้จะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ โดยเพิ่มขึ้นตามความซับซ้อนในแต่ละปัจจัย สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ ส� า หรั บ การเลื อ กกระบวนการ
Machine Tools & Metalworking / September 2014
Wall Thickness Factor 0 – 10 10 – 40 40 – 100 100 – …
Wall Thickness Change Constant Tailored Tube Tailored Profiles
Cross Section Form Closed, Symmetry Closed, Asymmetry Open, Symmetry Open, Asymmetry
ดัดขึ้นรูปก็คือ รูปร่างของชิ้นงานดัดส�าเร็จ โดย พิจารณาจากขนาดของชิ้นงานดัดกับอัตราส่วน ของขนาดเครือ่ งจักรดัดขึน้ รูป ส่วนการอธิบายรูป ร่างชิน้ งานดัดส�าเร็จจะใช้มมุ การดัด ปัจจัยการดัด ทิศทางการดัดและปัจจัยการบิด ปัจจัยแรกที่อธิบายถึงเงื่อนไขการดัดก็คือ มุมการดัดซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยมุม การดัดตั้งแต่ 0 ถึง 180 องศาจะถูกจัดอยู่ใน ระดับที่ 1 ซึ่งช่วงของมุมการดัดระดับนี้สามารถ ท�าการดัดขึ้นรูปได้ทั่วไป ส่วนชิ้นงานที่อยู่ในช่วง มุมการดัดตั้งแต่ 180 ถึง 360 องศาจะจัดอยู่ใน ระดับที่ 2 และถ้าหากมุมการดัดมากเกินกว่านี้ ก็ จะถูกจัดให้อยู่ในระดับที่ 3 ซึ่งในการดัดชิ้นงานที่ จัดอยู่ในระดับที่ 2 หรือระดับที่ 3 นี้จ�าเป็นต้อง ใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์เสริม เพื่อที่จะให้ระบบ จลนศาสตร์ (Kinematic) และ ช่องว่างการ เคลื่อนที่ของเครื่องจักรสามารถท�างานได้โดยไม่ เกิดการชนกันของเครื่องจักร ภาระทีเ่ กิดขึน้ กับวัสดุของชิน้ งานดัดสามารถ ควบคุมได้โดยใช้ปัจจัยการดัด โดยค่า Bending Factor B คือ อัตราส่วนระหว่างค่าเฉลีย่ ของรัศมี การดัด R กับเส้นผ่านศูนย์กลางรอบนอกของท่อ (B = H/R) [VDI3430] ซึ่งค่า Bending Factor จะถูกจ�ากัดด้วยค่าของวัสดุงานดัด รูปทรงชิน้ งาน ที่สามารถดัดได้จะต้องมีค่า Bending Factor ไม่ ต�่ากว่า 0.5 เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องจักรงานดัดที่มีล้อ ดัดแบบเฉือน 3 ล้อ และล้อพับหมุนดึงจะแบ่ง ปัจจัยการดัดออกเป็น 3 ระดับคือ ระดับที่ 1 จะ เป็นระดับที่ดัดชิ้นงานได้โดยมีรัศมีการดัดที่ยาว กว่า 5 เท่าของความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางรอบ นอกของท่อ โดยทีร่ ศั มีรอบนอกของท่อจะเกิดการ ยืดตัวสูงสุด 10 เปอร์เซ็นต์ ส่วนวัสดุทสี่ ามารถดัด ขึ้นรูปได้จะจัดอยู่ในระดับนี้ทั้งหมด และไม่จ�าเป็น ต้องใช้วิธีการอื่นมาเสริม เพื่อลดการเกิดรอยย่น ในรัศมีท่อด้านใน ส่วนระดับที่ 2 จะเป็นระดับที่ สามารถดัดชิ้นงานได้โดยมีรัศมีการดัดระหว่าง 2 ถึง 5 เท่าของความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางรอบ นอกของท่อ การเลือกวัสดุที่จะน�ามาดัดในระดับ นี้ จะต้องเลือกวัสดุที่มีการยืดตัว สูงพอสมควร
FORMING TECHNOLOGY | PRODUCTION
Radiation Factor 2
Radiation Factor 1
Radiation Factor 3
รูปที่ 5: ปัจจัยของทิศทางการดัด (Radiation Factor) ส�าหรับอธิบายทิศทางและระนาบของการดัดขึ้นรูป
และจะต้องมีวิธีการเสริมเพื่อรักษารูปทรงของ พื้นที่หน้าตัดให้คงอยู่ โดยอาจจะใช้เครื่องมือมา ค�้ารูปทรงด้านใน
ความสามารถในการขึ้นรูปของวัสดุ เป็นปัจจัยที่ก�าหนดการเลือกใช้วัสดุ
การดัดชิ้งานได้โดยมีรัศมีน้อยกว่า 2 เท่า ของขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางด้านนอกของ ท่อ จะเป็นปัจจัยการดัดระดับที่ 3 ซึง่ จ�าเป็นต้องมี มาตรการในการดัดชิง้ านทีเ่ หมาะสมเพือ่ หลีกเลีย่ ง ความเบีย่ งเบียนทางด้านรูปร่างทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ใน รัศมีการดัดด้านในทีต่ อ้ งการความแม่นย�าอย่างสูง นอกจากนี้การคัดเลือกวัสดุที่จะน�ามาใช้ในงาน ดัดก็เป็นปัจจัยที่จ�ากัดความสามารถในการขึ้นรูป อย่างมาก ภายใต้คา่ ปัจจัยของทิศทางการดัดทีไ่ ด้ มีการน�าเสนอมานี้ สามารถนิยามความยากง่าย ของรูปทรงในการดัดขึ้นรูปได้ (รูปที่ 5) จุดสิ้นสุดของชิ้นงานดัดจะเป็นจุดที่ลากเส้น เพื่อก�าหนดทิศและระนาบ เพื่อก�าหนดขอบเขต การดั ด โดยทิ ศ ที่ ก� า หนดขอบเขตจะมี ร ะนาบ
ของการดัดอย่างน้อย 1 ระนาบ โดยที่ชิ้นงาน ดัดจะอยู่ภายใต้กรอบสามมิติ ส่วนการแสดงรูป งานดัดจะอยู่ในระบบพิกัดคาร์เทเซียนที่ทั้งสาม แกนหลักต่างท�ามุมตั้งฉากซึ่งกันและกัน มุมการ ดัดที่อาจก่อให้เกิดปัญหาจนท�าให้ชิ้นงานเกิดการ บีบรัดนั้นจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยาก ถ้าค่าปัจจัย ของทิศทางการดัดที่เกิดจากมุมระหว่างทิศทางมี ค่าน้อย ซึ่งปัญหานี้ หากเกิดขึ้นจริงจะต้องแก้ไข ด้วยการท�าลายชิน้ งานดัดทีเ่ กิดขึน้ เท่านัน้ (ในทาง เทคนิคเรียกปัญหานีว้ า่ ”การดัดติดตาย” (รูปที่ 4) ส�าหรับงานดัดเพียงต�าแหน่งเดียว แต่มหี ลาย ทิศทาง สามารถจัดอยู่ในการดัดระดับที่ 1 ได้ ซึ่ง เป็นการดัดทีไ่ ด้รปู ร่างแบบเปิด โดยการดัดรูปร่าง แบบนี้จะไม่เกิด Undercut และจะไม่เกิดปัญหา การดัดติดตายในเครื่องดัดอัตโนมัติ อย่างเช่น ชิ้นงานที่ดัดโค้งเป็นรูปตัว S แผ่น Dash Board และท่อรับน�้าหนัก แต่ส�าหรับการดัดชิ้นงานที่มุม ระหว่างเส้นก�าหนดขอบเขตมีค่าสูงขึ้น โอกาส ที่จะเกิดการดัดติดตายก็จะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ก่อนที่จะท�าการดัดชิ้นงานจะต้องตรวจดูรูปร่าง
MM
ชิน้ งานดัดของกระบวนการดัดขึน้ รูปให้แน่ใจก่อน การดั ด ระดั บ ที่ 2 คื อ การดั ด ชิ้ น งานที่ มี ทิศทางการดัดผ่านชิ้นงานสลับไปมาอย่างใกล้ ชิดกัน ซึ่งเป็นรูปร่างที่เป็นแบบเปิด แต่ก็ยังมีซับ ซ้อนอยู่ ดังน้นชิ้นงานดัดลักษณะนี้จึงต้องตรวจ สอบพื้นที่ว่างระหว่างเครื่องดัดอัตโนมัติและชิ้น งานให้ดีก่อนเสมอ การดัดระดับที่ 3 จะเป็นการดัดชิ้นงานที่ ทิศทางการดัดตัดข้ามกันไปมา โดยรูปร่างที่เกิด จากการดัดระดับนี้เป็นรูปร่างที่มีความซับซ้อน ผลิตได้ยากและจ�าเป็นต้องตรวจสอบความเป็น ไปได้ของกระบวนการก่อนที่จะเริ่มลงมือปฏิบัติ งานทุกครั้ง นอกจากนี้ค่าปัจจัยของทิศการดัด ระดับที่ 3 นีก้ ย็ งั เป็นการดัดทีม่ ที ศิ ทางการดัดย้อน กลับถอยหลัง เหมือนกับการดัดชิ้นงานที่มีรูปร่าง เหมือนกับสปริงทีม่ จี ดุ ดัดอยูต่ รงกลางบนเส้นตรง ที่ซ้อนกันบนระนาบการดัดหลายชั้น
ปัจจัยการบิด (Torsion Factor) ค่าที่อธิบายถึงสภาพการบิดของชิ้นงาน
เพื่อเป็นการป้องกันการบิดของชิ้นงานใน ระหว่างการดัดขึ้นรูป จ�าเป็นต้องสร้างเครื่องมือ เพิ่มเติมเพื่อน�ามาเสริมต�าแหน่งที่จะเกิดการบิด จนเสียรูป หรือต้องใส่โมเมนต์การบิดในทิศตรง กันข้ามเพื่อให้โมเมนต์การบิดเกิดความสมดุล ซึ่ง ในชิ้นงานบางชนิดจะต้องใส่แรงบิดเพิ่มเติมลงไป ในชิ้นงานบางต�าแหน่งเพื่อป้องกันการบิดในส่วน ที่ไม่ต้องการ เนื่องจากอาจท�าให้ชิ้นงานนั้นเสีย รูปได้ ส�าหรับการป้องกันการเสียรูปจากแรงบิด ที่ไม่พึงประสงค์นี้ ค่าปัจจัยการบิดมีความส�าคัญ
Machine Tools & Metalworking / September 2014
45
PRODUCTION | FORMING TECHNOLOGY
Torsion Factor 1
Torsion Factor 2
Torsion Factor 3
รูปที่ 6: ปัจจัยการบิด (Torsion Factor) เป็นค่าที่อธิบายในทราบถึง รูปร่างของชิ้นงานที่มีผลมาจากการเปลี่ยนรูปของชิ้นงาน ภายใต้แรงบิดที่เกิดขึ้น
ต่อการป้องกันไม่ให้เกิดการเสียรูปของชิ้นงาน ค่าปัจจัยการบิด (รูปที่ 6) เป็นสิ่งที่บ่งบอก ถึงขนาดและทิศทางการบิดของชิ้นงานรอบแกน ตามแนวความยาวของชิ้นงาน โดยค่าปัจจัยการ บิดส�าหรับชิ้นงานประเภท หน้าตัดแบบเปิด มี ความส�าคัญมาก เพราะค่าความต้านทานแรงบิด ของวัสดุกลุม่ นีค้ อ่ นข้างต�า่ ในกรณีทคี่ า่ ปัจจัยการ บิดอยูท่ รี่ ะดับที่ 1 ชิน้ งานจะไม่เกิดการเสียรูปจาก แรงบิด ส�าหรับค่าปัจจัยการบิดระดับที่ 2 จะเกิด การเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก ชิ้นงานเสียรูปจาก แรงบิดทางด้านเดียวตามทิศทางรอบแกน ตาม แนวความยาวของชิ้นงาน แต่ถ้าค่าปัจจัยการบิด อยูใ่ นระดับที่ 3 จะเกิดการเสียรูปทัง้ สองด้านของ ชิ้นงานโดยรอบ รูปทรงของชิ้นงานเริ่มต้นที่เป็นกึ่งส�าเร็จรูป ก่อนการดัด เป็นตัวก�าหนดที่ส�าคัญต่อการเลือก วิธีการดัด โดยมีปัจจัยที่ส�าคัญคือ ลักษณะของ พื้นที่หน้าตัดและอัตราส่วนระหว่างความหนา กับเส้นผ่านศูนย์กลางด้านนอกของท่อ ปัจจัยทั้ง สองของชิน้ งานกึง่ ส�าเร็จรูปของท่อเป็นตัวก�าหนด เครื่องมือในการดัด ซึ่งจะต้องใช้เครื่องมือเสริม ในระหว่างการดัด เพื่อแก้ปัญหาคุณภาพงานดัด ที่อาจจะด้อยลง แต่อย่างไรก็ตามมาตรการเสริม นีก้ ม็ ขี อ้ จ�ากัด เนือ่ งจากเครือ่ งดัดอัตโนมัตเิ องจะมี ข้อจ�ากัดอยู่ด้วยเช่นกัน ปัจจัยด้านความหนาของ ท่อ (W) เป็นค่าทีไ่ ด้จากอัตราส่วนระหว่างเส้นผ่าน ศูนย์กลางด้านนอกของท่อ (H) กับความหนาของ ท่อ (s) (W = H/s). จากการส� ารวจข้ อจ�า กัด ที่ป รากฎจากงาน ดัดตามมาตรฐาน สามารถแบ่งประเภทของค่า ปัจจัยความหนาของท่อได้ 4 กลุ่ม และเนื่องจาก การดัดชิ้นงานในปัจจุบันนี้มีการพัฒนาอย่างต่อ เนื่องในทิศทางของการดัดชิ้นงานที่เป็นชิ้นงาน กึ่งส�าเร็จรูปเริ่มต้น แบบหน้าตัดเปิด ไม่สมมาตร 46 MM
และพื้นที่หน้าตัดเปลี่ยนแปลง จึงต้องค�านึงถึง ปัจจัยการดัดดังกล่าวด้วย โดยต้องพิจารณาจาก พื้ น ที่ ห น้ า ตั ด 3 ปั จ จั ย หลั ก ที่ ก� า หนดคุ ณ ภาพ ของงานดัดที่ส�าคัญคือ พื้นที่หน้าตัดของงานดัด กระบวนการดัดและวัสดุที่เลือกน�ามาท�าการดัด ซึ่งสามารถจัดชิ้นงานกึ่งส�าเร็จรูปได้ 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่มีพื้นที่หน้าตัดแบบปิดหรือแบบเปิด และ พื้นที่หน้าตัดสมมาตรหรือไม่สมมาตร ส�าหรับการผลิตชิน้ งานทีม่ นี า�้ หนักเบาจ�าเป็น ต้องใช้ชิ้นงานที่ความหนาเปลี่ยนไป ซึ่งการผลิต ชิ้นงานประเภทนี้จะพิจารณาจากค่าปัจจัยความ หนาเป็นส�าคัญ โดยพิจารณาจากปัจจัยความหนา ว่าเป็นค่าคงที่หรือเป็นค่าที่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งใน กรณีที่ค่าความหนาของชิ้นงานเปลี่ยนแปลงได้ จะต้องพิจารณาดูว่า ลักษณะของงานอยู่ในกลุ่ม Tailored Tube หรือ Tailored Profile (Tailored หมายถึง การผลิตชิ้นงานให้ได้ความหนาตาม ความต้องการ โดยสามารถลดปริมาณของวัสดุ และน�้าหนักได้) ในกรณีของท่อ Tailored Tube คือ การ ดัดท่อที่ส่งผลให้ความหนาของท่อเปลี่ยนไปจาก ความหนาเริ่มต้น การดัดขึ้นรูปชิ้นงานประเภท นี้ ความหนาของชิ้ น งานจะเกิ ด จากระยะห่ า ง ระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางด้านนอกของพัน้ ช์ และ เส้นผ่านศูนย์กลางภายในของท่อ ส่วนการดัดชิ้น งาน Tailored Profile จะซับซ้อนกว่าและต้องใช้ เครื่องมือเฉพาะ
การเลือกกระบวนการดัดขึ้นรูป เป็นการควบคุมคุณภาพของชิ้นงานดัด
ภายใต้สภาวะการแข่งขันที่เข้มข้นของตลาด ในยุคโลกาภิวัฒน์ คุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นสิ่ง ส�าคัญที่อยู่ภายใต้ความกดดันของคู่แข่งทางการ ค้า ดังนัน้ แนวโน้มการเพิม่ คุณภาพผลิตภัณฑ์ และ
Machine Tools & Metalworking / September 2014
การก�าหนดปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพ จึงจ�าเป็น ต้องค�านึงถึงกระบวนการผลิตที่เหมาะสม ปัจจัยทางด้านพิกดั ความเบีย่ งเบนเชิงรูปร่าง และเชิงต�าแหน่งเป็นสิ่งที่ก�าหนดความเบี่ยงเบน ของชิ้นงานเปรียบเทียบกับขนาดและต�าแหน่ง ของชิน้ งานจริง โดยการแบ่งระดับคุณภาพจะแบ่ง ได้เป็น 3 ระดับคือ ระดับที่ 1 ซึ่งระดับนี้จะยอมรับค่าเบี่ยงเบน ได้มาก โดยการดัดชิ้นงานทั่วไปจะจัดคุณภาพ อยู่ในระดับนี้ ระดับที่ 2 จะต้องมีคา่ เบีย่ งเบนน้อย โดยต้อง พิจารณาร่วมกับค่าเบี่ยงเบนของชิ้นงานเริ่มต้นที่ อยู่ภายใต้ข้อก�าหนดของมาตรฐาน ระดับที่ 3 คุณภาพระดับนี้จะยอมรับค่าเบี่ยง เบนได้น้อยมาก ดังนั้นจึงจ�าเป็นต้องให้ความ ส�าคัญและพิจารณาจากกระบวนการผลิต รวมทัง้ การเลือกวัสดุชนิ้ งานเริม่ ต้น เพือ่ ลดค่าความเบีย่ ง เบนให้ต�่าลงตามเงื่อนไขข้อก�าหนด โดยเฉพาะใน ชิน้ งานทีต่ อ้ งน�าไปสวมหรือประกอบกับชิน้ งานอืน่ โดยสามารถดูได้จากคุณภาพของผิวชิ้นงาน ซึ่ง พิจารณาจากปัจจัยทางด้านพื้นผิวประกอบด้วย เพราะปัจจัยทางด้านพื้นผิวจะเป็นตัวชี้วัดในเรื่อง ของค่าความเสียหายของผิวชิ้นงานจากการผลิต โดยปัจจัยทางด้านพื้นผิวชิ้นงานสามารถแบ่งได้ 3 ระดับคือ ระดับที่ 1 เป็นระดับที่ยอมให้มีรอย ขีดข่วนได้และมีค่าเบี่ยงเบนของรัศมีการดัดด้าน ในส่วนระดับที่ 2 จะยอมรับค่าเบีย่ งเบนและความ เสียหายของผิวชิ้นงานได้ แต่จะต้องไม่ส่งผลต่อ การน�าไปใช้งาน และระดับที่ 3 จะเป็นระดับที่ ไม่ยอมให้มีความเสียหายเกิดขึ้นที่ผิวชิ้นงานเลย การก�าหนด ปัจจัยที่ควบคุมคุณภาพของชิ้น งานดัดขึ้นรูป โดยอาศัยกระบวนการผลิตชิ้นงาน ดัด ท�าให้สามารถอธิบายและก�าหนดวิธีการแบ่ง ระดับชัน้ ของงานดัดได้ โดยในระหว่างการด�าเนิน งานภายใต้โครงการนี้จะพัฒนาปัจจัยที่ควบคุม คุณภาพให้มีความละเอียดเพิ่มมากขึ้น ข้อคิดเห็น และค�าแนะน�าจากบริษัทผู้ประกอบการ จะถูก น�ามาพิจารณาร่วมในการพัฒนาก�าหนดปัจจัยที่ ควบคุมคุณภาพชิน้ งานดัดขึน้ รูป ในขณะเดียวกัน ผลการศึกษาที่ได้จากพนักงานที่ปฏิบัติการหน้า งานจะถูกน�ามาปรับปรุงและต่อยอด การก�าหนด ปัจจัยทีค่ วบคุมคุณภาพของชิน้ งานดัดทีจ่ ะพัฒนา ไปสู่การก�าหนดเป็นมาตรฐานระดับชาติและก้าว ไปสู่มาตรฐานสากล ซึ่งการยอมรับมาตรฐานที่ ก�าหนดของผู้เกี่ยวข้องจากหลายๆ ฝ่าย จะช่วย ลดขีดจ�ากัดของงานดัดขึ้นรูปได้ ภายใต้เงื่อนไข การผลิตของสภาวการณ์ปัจจุบัน MM
PRODUCTION | TOOLS
การเคลือบผิวด้วย AlCrN ยืดอายุใบมีดกัดได้ยาวนานขึ้นสี่เท่า การผลิตชิ้นส่วนประกอบเฟืองพวงมาลัย มักจะคาดหวังเรื่องคุณภาพไว้สูงและการเปลี่ยนมาใช้เครื่องมือที่เคลือบผิวด้วย AlCrN ในกระบวนการกัดเฟืองและการแทงขึน้ รูปก็เครือ่ งมือดังกล่าวมีอายุการใช้งานทีย่ าวนานขึน้ สองถึงสีเ่ ท่าทีเดียว ส่งผลให้กระบวนการ ผลิตประหยัดเวลาได้มากจากการที่ไม่จ�าเป็นต้องเปลี่ยนเครื่องมือใหม่บ่อยๆ เรื่อง: Andreas Hahn แปล/เรียบเรียง: ภัทรภา อาจคงหาญ
ป
ระสิทธิภาพของระบบการบังคับทิศทางที่ ดี เป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับการเพิ่มมาตรฐาน ความปลอดภัย และการน�าเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์มาใช้กบั รถยนต์ในปัจจุบนั ซึง่ ในอนาคตจะน�า ไปใช้ในระบบควบคุมทิศทางและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นเรื่อยๆ และบริษัท Tedrive Steering Systems ซึ่งเป็นผู้พัฒนาระบบโซลูชัน ที่ ผ สมผสานระบบบั ง คั บ ทิ ศ ทางแบบไฮโดรลิ ก เข้ากับระบบพวงมาลัยพาวเวอร์ (EPS) แบบ อิเล็กทรอนิกส์-เมคานิก ก็ได้มีการแก้ปัญหาที่ เกิดจากน�้าหนักกดเพลาในระบบบังทิศทางแบบ EPS ที่ค่อนข้างสูง จนท�าให้สามารถน�าระบบ
อุปกรณ์อัจฉริยะนี้ไปใช้ในยานพาหนะที่มีน�้าหนัก มากๆ ได้โดยไม่ขัดต่อข้อบังคับทางกฎหมายที่มี การก�าหนดไว้ด้วย อย่างไรก็ตามการผลิตชิ้นส่วนประกอบของ เฟืองพวงมาลัยในปัจจุบัน ก็มีเกณฑ์มาตรฐานที่ สูงกว่าเมื่อก่อนอย่างเห็นได้ชัดมาก ยกตัวอย่าง เช่น ห้ามมีความทนทานต่อความผิดพลาด (Fault Tolerance) ในเดียวกันระบบการหมุนก็ต้องไม่มี เสียงรบกวน รวมทั้งซี่เฟืองและพื้นผิวก็ควรมี คุณภาพที่ดีกว่าการผลิตในปีก่อนๆ เนื่องจากสิ่งนี้ เป็นปัจจัยส�าคัญของคุณสมบัตกิ ารหมุน และความ แม่นย�าของเฟืองบรรทัดและฟันเฟืองขนาดเล็ก
รูปที่ 1: ด้วยเทคโนโลยีการ เคลือบผิวใบมีดกัดเฟืองแบบ ใหม่ ท�าให้สามารถผลิตฟัน เฟืองขนาดเล็กได้จ�านวนกว่า 320,000 อันทีเดียว จากเดิม ที่ผลิตได้เพียง 80,000 อัน เท่านั้น
50 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ความหยาบของพื้นผิว เป็นสิ่งที่ต้องควบคุมอย่างเข้มงวด
เพือ่ ป้องกันการสึกหรอหรือแม้กระทัง่ การหัก ของซี่เฟืองซึ่งจะน�าไปสู่การล้มเหลวของระบบ บั ง คั บ ทิ ศ ทาง ดั ง นั้ น จึ ง จ� า เป็ น ต้ อ งควบคุ ม ค่ า ความหยาบของพื้นผิวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ด้วย และการปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของเครื่องมือรวมทั้งการเลือกใช้กระบวนการ ผลิตก็เป็นเรือ่ งทีค่ นส่วนใหญ่ให้ความสนใจท�าการ ค้นคว้าอยู่เสมอ เห็นได้จากความก้าวน�าหน้าครั้ง ส�าคัญของบริษัท Tedrive Steering System ที่มีการน�าแนวคิดจากบริษัทคู่ธุรกิจอย่าง Wol-
TOOLS | PRODUCTION
การเปลี่ยนเครื่องมือใหม่น้อยลง ท�าให้ประหยัดเวลามากขึ้น
รูปที่ 2: คุณสมบัติที่ดีของฟันเฟืองขนาดเล็กนั้น จะมุ่งเน้น เรื่องคุณภาพของพื้นผิวด้วย
รูปที่ 3: จากการเคลือบผิวโดยการใช้ Balinit Alcrona Pro ท�าให้กระบวนการแทงขึ้นรูปสามารถผลิตเฟืองบรรทัดได้มาก ถึง 14,000 อัน จากเดิมที่ผลิตได้เพียง 7,000 อัน
lschlager ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นการลั บ คม เครื่องมือที่ใช้ในการผลิตฟันเฟืองขนาดเล็กด้วย กระบวนการกัดแบบแห้งมาใช้ จนท�าให้เกิดใบมีด กัดเฟืองที่มีการเคลือบผิวด้วย Balinit Alcrona Pro และเทคโนโลยีการเคลือบสารพัดประโยชน์ ด้วยอะลูมิเนียมโครเมียมไนไตรด์ (AlCrN) จาก Oerlikon Balzers ก็ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความ ส�าเร็จ หลังจากที่มีการติดตั้งใช้งานเครื่องมือ แนวคิดใหม่นี้ทั้งหมด เครื่องกัดสามารถผลิตฟันเฟืองขนาดเล็กได้ 22,000 ถึง 24,000 อัน ซึ่งแต่ก่อนท�าได้เพียง
5,000 อันเท่านั้น และด้วยความสามารถที่เพิ่ม ขึ้นถึง 4 เท่านี้ก็ท�าให้เครื่องกัดสามารถท�าการ ผลิตชิ้นส่วนตลอดอายุการใช้งานเครื่องมือได้ มากถึง 320,000 อัน ในขณะที่การผลิตเดิมท�าได้ เพียง 80,000 อัน นอกจากนั้นผลลัพธ์ที่น่าพอใจ นีก้ เ็ กิดขึน้ จากการเคลือบผิวเครือ่ งมือการแทงขึน้ รูป ส�าหรับการผลิตเฟืองบรรทัดในสภาพเปียก ด้วยไทเทเนียมไนไตรด์ (TiN) และอะลูมิเนียม ไทเทเนียมไนไตรด์ (TiAIN) เช่นกัน ซึ่งอายุการ ใช้งานที่เพิ่มขึ้นสองเท่าก็ท�าให้การผลิตชิ้นส่วน จากเดิมทีท่ า� ได้ 7,000 อันเพิม่ ขึน้ เป็น 14,000 อัน
MM
ข้อดีที่ได้อีกประการหนึ่งก็คือ การประหยัด เวลาในการติดตั้งและการมีเวลาส�าหรับใช้ในการ ผลิตมากขึ้น เพราะบางครั้งการเปลี่ยนเครื่องมือ ใหม่ครัง้ หนึง่ ๆ นัน้ เครือ่ งจักรต้องหยุดท�าการผลิต เกือบ 3 ชั่วโมงทีเดียว ดังนั้นข้อดีที่ได้นี้หมายถึง การมีก�าลังการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งท�าให้ความได้ เปรียบเชิงพาณิชย์เพิ่มมากขึ้นด้วย พื้นผิวของเครื่องมือที่เคลือบด้วย AlCrN ช่วยท�าให้กระบวนการแทงขึ้นรูปสามารถท�างาน ได้ดขี นึ้ ในขณะเดียวกันก็รกั ษาความคมของสันมีด เอาไว้ได้อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีการใช้งานเป็น เวลานาน เครือ่ งมือทีใ่ ช้งานทัง้ หมดต่างมีสว่ นช่วย ในการรักษาความแม่นย�าของขนาด และคุณภาพ พืน้ ผิวของชิน้ งานทุกชิน้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ ก�าหนด ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจอะไรที่ผู้ใช้จ�านวน มากในปัจจุบันจะเปลี่ยนมาใช้เครื่องมือที่มีการ เคลือบผิวแบบนีส้ า� หรับกระบวนการแทงขึน้ รูปชิน้ งานทีม่ คี วามแข็ง ไม่วา่ จะเป็นการท�างานในสภาพ เปียกหรือแห้งก็ตาม MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
51
PRODUCTION | FORMING TECHNOLOGY
โปรแกรมสร้างแบบจ�าลองช่วยลดต้นทุน การผลิตและพัฒนาแม่พิมพ์งานขึ้นรูป การใช้โปรแกรม Simulation ส�าหรับงานขึ้นรูปเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป โดยเฉพาะในส่วนของการออกแบบและพัฒนาการผลิต นอกจากนั้นในกระบวนการและขั้นตอนการผลิต การใช้โปรแกรมสร้างแบบจ�าลองนี้ก็ยังสามารถปรับปรุงกระบวนการท�างานที่มี อยู่แล้วให้ประสบความส�าเร็จได้เป็นอย่างดีด้วย เรื่อง: Hendrik Schafstall แปล/เรียบเรียง: ดร.ไพบูลย์ ช่วงทอง (Dr.-Ing.)
ก
ารใช้โปรแกรมสร้างแบบจ�าลองเป็นเครื่อง มือส�าคัญในการท�าความเข้าใจกระบวนการ ผลิต และใช้ถา่ ยทอดความรูด้ า้ นการขึน้ รูปชิน้ งาน เพือ่ ทีจ่ ะได้ทราบถึงจุดอ่อนของกระบวนการ และ สามารถหาทางป้องกันความผิดพลาดได้ทนั ท่วงที วิธกี ารสร้างแบบจ�าลองนี้ เป็นเสมือนกระบวนการ เรียนรูข้ องกระบวนการผลิตทีเ่ กิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยอาศัยวิธเี ก็บข้อมูลจากโปรแกรม Simulation ที่ใช้ท�าการทดสอบการขึ้นรูปเสมือนจริง การใช้แบบจ�าลองสามารถทดสอบการขึน้ รูป ที่ขึ้นรูปด้วยปัจจัยที่หลากหลายได้ เพื่อค้นหา และให้ได้มาซึ่งขั้นตอนการผลิตที่เหมาะสมที่สุด (Optimized Production Processes) รวมทั้ง ท�าให้ขั้นตอนการขึ้นรูปมีความน่าเชื่อถือ
การใช้แบบจ�าลองท�าให้เครื่องมือขึ้นรูป มีความเหมาะสมและลดต้นทุนลงได้
การใช้แบบจ�าลองท�าให้สามารถตรวจสอบ แนวคิดในการผลิตได้ก่อนท�าการผลิตจริง ท�าให้ ลดต้นทุนในการใช้เครื่องมือ และการทดลอง ใช้เครื่องมือที่ไม่จ�าเป็นได้ ความผิดพลาดและ โอกาสทีจ่ ะเกิดความผิดพลาดในการผลิตสามารถ ทราบได้ล่วงหน้า อีกทั้งยังสามารถน�าผลจากการ ทดสอบแบบจ�าลองมาปรึกษากับลูกค้าเพือ่ ท�าการ ดัดแปลงแบบของผลิตภัณฑ์หรือก�าหนดขั้นตอน การผลิตที่เหมาะสมต่อไปได้เป็นอย่างดี เพราะ ขัน้ ตอนต่างๆ ทีใ่ ช้ในการชึน้ รูปผลิตภัณฑ์ (รูปที่ 1) จะต้องสอดคล้องกับแนวคิดของกระบวนการผลิต ทั้งหมด (รูปที่ 2) ซึ่งการออกแบบ และวางแผน
แบบจ�ำลองแสดง ควำมเค้นแรงดึงที่เกิด ขึ้นบนแม่พิมพ์งำนทุบขึ้น รูป ซึ่งกำรค�ำนวณโดย ใช้แบบจ�ำลองจะช่วยลด ต้นทุนและเวลำได้มำก 52 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
เครื่องมือส�าหรับการขึ้นรูปให้สอดคล้องกับภาระ ที่จะเกิดขึ้นจริง ก็ช่วยท�าให้สามารถลดต้นทุน การผลิตได้มาก ต้นทุนด้านเครื่องมือ เกิดจากการใช้เครื่อง มือในการผลิต (Manufacturing Cost) และ จ�านวนชิน้ งานทีเ่ ครือ่ งมือแต่ละชิน้ สามารถท�าการ ผลิตได้ (Product Quantity) โดยมีการสึกหรอ ของเครื่องมือเป็นปัจจัยก�าหนด ซึ่งโดยปกตินั้น ต้นทุนของเครื่องมือจะขึ้นอยู่กับสมรรถภาพทาง เทคนิค (Technical Requirement) จ�านวนชิ้น งานที่เครื่องมือสามารถผลิตได้มีศักยภาพที่จะ ลดต้นทุนได้สองทางคือ การลดต้นทุนแบบทาง ตรง ซึ่งหมายถึงการลดราคาและค่าใช้จ่ายเกี่ยว กับเครื่องมือที่ใช้ ส่วนอีกทางหนึ่งจะเป็นการลด ต้นทุนแบบทางอ้อม ทีเ่ ป็นการเพิม่ อายุการใช้งาน เครื่องมือให้ยาวนานขึ้น และลดเวลาการหยุดพัก ของเครื่องจักรขึ้นรูป (Idle Time of Press Machine) ที่เกิดจากการเปลี่ยนเครื่องมือ (แม่พิมพ์) เนื่องจากเครื่องมือมีผลต่อคุณภาพของชิ้นงาน และความน่าเชือ่ ถือของกระบวนการขึน้ รูป ท�าให้ บางครั้งอาจเกิดความต้องการที่สวนทางกันได้ ปริมาณชิ้นงานที่เครื่องมือสามารถท�าการ ผลิตได้นั้น จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ต่อไปนี้ การสึกหรอจากกระบวนการทางกล (Mechanical Wear) เช่น การเสื่อมสภาพของพื้นผิว (Surface Disruption) ความล้า (Fatigue) และ การแตกหัก (Breaking) การสึกหรอจากกระบวนการทางความร้อน (Thermal Wear) เช่น การเปลี่ยนรูปแบบของ พลาสติก (Plastification) การเกิดผิวไหม้ (Over Annealed) การสึกหรอจากการขัดถู (Abrasive Wear) การสึกหรอจากการติดแน่น (Adhesive
FORMING TECHNOLOGY | PRODUCTION
สวมของเครื่องมือ (Armored Tool) สามารถใช้ ทั้ง 2 แนวความคิดมาค�านวณได้ โดยใช้หลักการ ใส่ภาระปฐมภูมิ (Primary Load) ที่เกิดจากแรง กดของการสวมชิ้นงานแบบกด (Press Fit) ของ วงแหวน ซึง่ ภาระปฐมภูมจิ ะส่งผลให้เกิดแรงกดที่ บริเวณแกนกลางทีเ่ ป็นตัวต้านการเกิดการเปลีย่ น รูปของเครือ่ งมือทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ได้ อย่างไรก็ตาม ภาระปฐมภูมิที่เกิดกับเครื่องมือนั้นต้องระวังไม่ ให้สูงจนเกินไปด้วย (Over Armored State) เนื่องจากอาจจะท�าให้เกิดความเสียหายกับตัว เครื่องมือเอง รูปที่ 1: ภาพแสดงกระบวนการขึ้นรูปโดยใช้แบบจ�าลอง ขั้นตอนงานขึ้นรูปเย็นโดยทั่วไป
Wear) การเกิดปฏิกริยาเคมีจากการเสียดสี (Tribochemical Reaction) และ การเกาะยึดของผิวสัมผัส (Armor Design) ซึ่งท�าให้เกิดการเปลี่ยนรูปขึ้นระหว่างผิวสัมผัส เครือ่ งมือขึน้ รูปจะเปลีย่ นรูปร่างเมือ่ มีแรงกด มากระท�า (Pressure) โดยจะเปลี่ยนรูปแบบ Elastic เมื่อแรงกดนั้นหายไป เครื่องมือจึงกลับ คืนสู่สภาพเดิม แต่ในกรณีที่มีภาระมากระท�าต่อ เครื่องมือสูงมาก เครื่องมือก็จะอยู่ภายใต้ภาระ สลับ (Alternating Loads) ซึ่งจะท�าให้ชิ้นงาน เปลี่ยนรูปแบบอย่างถาวร (Plastic Deformation) ส่งผลให้เครื่องมือเสียรูป ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่พึง ประสงค์และจะต้องหาวิธีการป้องกันการเสียรูป ดังกล่าว โดยในงานทุบขึน้ รูปเย็นโลหะก้อน (Cold Massive Forming) เครือ่ งมือจะอยูภ่ ายใต้แรงกด สูงถึง 24,000 N/mm2 ดังนั้นนอกจากจะต้อง ค�านึงถึงปริมาณของภาระที่สูงกว่าปกติแล้ว การ กระจายตัวของภาระก็เป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�าคัญ และ ภาระวิกฤติรวม (Critical Load Collective) อาจ จะเกิดขึน้ ขณะใดขณะหนึง่ ก็ได้ ท�าให้กระบวนการ ขึ้นรูปจ�าเป็นต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
ซึง่ สามารถคาดคะเนได้จากแบบจ�าลองของเครือ่ ง มือแบบแข็งตัว (Rigid Tool Simulation) โดย พิจารณาจากขนาดของแรงดันภายใน และแรง เสียดทานที่เกิดขึ้นกับเครื่องมือระหว่างการขึ้น รูป การวิเคราะห์ผลการขึ้นรูปที่ต้องการความ แม่นย�าเพิ่มขึ้น สามารถใช้การค�านวณภายใต้ เงื่อนไขของภาระ (Stress Condition ) ที่เกิดขึ้น ในเครื่องมือได้ รวมทั้งอิทธิพลของการยึดเกาะ ของผิวสัมผัส (Armor) และอิทธิพลของรอยบาก (Notch Effect) ด้วย การวิเคราะห์เงื่อนไขของภาระจ�าเป็นต้อง ค�านึงถึงความสามารถในการต้านทานความล้า (Fatigue Resistance) และความสามารถในการ ต้านทานภาระแบบสลับ (Endurance Strength) ของวัสดุเครื่องมือ ซึ่งการค�านวณภาระที่เกิดขึ้น กับเครื่องมือมี 2 แนวความคิด โดยประกอบด้วย แบบ Decoupled Simulation และ แบบ Coupled Simulation เครื่องมือที่มีลักษณะเป็นผิวสัมผัสหรือมีการ
การค�านวณแบบจ�าลองแบบ decoupled หรือแบบ coupled
การค�านวณแบบจ�าลองโดยใช้วธิ ี Decoupled ส�าหรับหาค่าความเค้นที่เกิดกับเครื่องมือขึ้นรูป ในเบื้องต้นจะใช้การค�านวณที่มีการใช้เงื่อนไข ของเครื่องมือแบบแข็งตัว (Rigid Tool) ขั้นตอน ถัดมาจะใช้ค่าแรงดันภายในที่ได้จากการค�านวณ แบบจ�าลองใส่เข้าไปในแบบจ�าลองของเครื่องมือ และค�านวณหาค่าความเค้นที่เกิดขึ้นในเครื่องมือ การค�านวณแบบ Decoupled นี้สามารถ ท�าการค�านวณได้อย่างรวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือ และมีข้อดีคือ สามารถปรับเปลี่ยนภาระที่เกิดขึ้น กับเครื่องมือได้ โดยไม่ต้องกลับไปเริ่มต้นค�านวณ ใหม่อีกครั้ง แต่การค�านวณด้วยวิธีการนี้ (รูปที่ 3 และ 4) มีข้อยกเว้นว่า บริเวณผิวสัมผัสระหว่าง เครื่องมือกับชิ้นงานจะไม่ได้รวมอยู่ด้วย
แนวคิดระบบการสร้างเครื่องมือขึ้นรูป สามารถท�าการวิเคราะห์ได้
ค่ า ความดั น ภายในและค่ า ความเค้ น เสี ย ด ทานสามารถน�ามาจัดให้อยู่ในรูปสัดส่วน (Scale)
โปรแกรมแบบจ�าลองสามารถวิเคราะห์ การสึกหรอของเครื่องมือได้
ในการพัฒนากระบวนการขึ้นรูปในระหว่าง การผลิต การใช้แบบจ�าลองสามารถหาวิธกี ารลด ฟังก์ชนั ของเครือ่ งมือทีไ่ ม่จา� เป็นลงได้ (ลดต้นทุน) รวมทั้งวิธีลดการสึกหรอด้วย การสึ ก หรอที่ มี ส าเหตุ ม าจากภาระทางกล เช่น การเสื่อมสภาพของพื้นผิว (Surface Disruption) ความล้า (Fatigue) และการแตกหัก เป็นผลมาจากภาระทางกลในกระบวนการขึ้นรูป
รูปที่ 2: แนวคิดในการสร้าง เครื่องมือขึ้นรูปโดยทั่วไปส�าหรับ งานขึ้นรูปหลายขั้นตอน ที่ ประกอบด้วยแม่พิมพ์บน-ล่าง และเครื่องกดขึ้นรูป 3 จังหวะ
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
53
PRODUCTION | FORMING TECHNOLOGY
รูปที่ 3: ชิ้นงานขึ้นรูปโลหะแผ่น ซึ่งได้รับการออกแบบอย่าง เหมาะสม โดยใช้การสร้างแบบจ�าลองเข้ามาช่วย
เพื่อค�านวณหาค่าความอ่อนไหวในการวิเคราะห์ ได้ (Sensitivity Analysis) เช่น สามารถก�าหนด ให้ค่าความเค้นเสียดทานเป็นศูนย์ ท�าให้สามารถ ประเมิ น ค่ า แรงเสี ย ดทานที่ เ หมาะสมสู ง สุ ด ได้ (Maximum Optimized Friction) นอกจากนั้น ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของการค�านวณด้วยวิธีการนี้ก็ คือ การจ�าลองสภาวะการดึงกลับ (Back Stroke) ของเครื่องมือท� าให้สามารถค� านวณความเค้น ของเครื่องมือได้ในขั้นตอนนี้ ซึ่งท�าให้วิเคราะห์ ค่าความเค้นแรงดึงของพั้นทช์ได้เช่นกัน ส่งผลให้ สามารถวิเคราะห์สภาวะที่เกิดขึ้นกับการท�างาน ของเครื่องมือได้ทั้งระบบ ค่าความเค้นของเครื่องมือ สามารถค�านวณ ได้โดยใช้แบบจ�าลองประเภท Coupled พิจารณา จากการขึ้นรูปและการเปลี่ยนรูปของเครื่องมือ แบบฉับพลัน (Simultaneous Elastic Forming
of Tool) และต้องค�านึงถึงปฏิกริยาทาง กล และปฏิ ก ริ ย าทางความ ร้อนด้วยเช่นกัน การค�านวณ โดยใช้แบบจ�าลอง จ�าเป็น ต้องเริ่มการค�านวณรอบ ใหม่ทุกครั้งส�าหรับตัวแปร ของระบบการผลิ ต และ เครื่องมือ ลั ก ษณะทั่ ว ไปของการ ค� า นวณแบบจ� า ลองประเภท Coupled ก็ คื อ ความซั บ ซ้ อ นของ แบบจ�าลองและความยุ่งยากในการค�านวณ ดังนั้นการใช้วิธีการค�านวณประเภทนี้ จึงมักจะ ใช้กับกรณีที่เครื่องมือขึ้นรูปมีการเปลี่ยนรูปแบบ Elastic และส่งผลกระทบต่อกระบวนการขึ้นรูป ภายใต้การค�านวณแบบคู่ขนาน ท�าให้สามารถ ค�านวณแบบจ�าลองทีเ่ ป็นสามมิตแิ ละเป็นลักษณะ Coupled ได้ง่ายขึ้น โดยมีต้นทุนที่ถูกลง
แบบจ�าลองทั้ง 2 ประเภทช่วยให้ กระบวนการขึ้นรูปทั้งระบบชัดเจนขึ้น
ตัวอย่างของการค�านวณแบบจ�าลองทั้ง 2 ประเภทได้ชี้ให้เห็นถึงภาระแบบสลับของเครื่อง มือที่เกิดขึ้นในระหว่างการขึ้นรูป เมื่อความเค้น แรงดึงของเครื่องมือถึงระดับวิกฤติ รอยแตก (Cracks) ก็จะเกิดขึ้นตามมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้อง หลีกเลี่ยง ส�าหรับวัสดุในกลุ่มโลหะที่มีความแข็ง แรงสูง ค่าความเค้นวิกฤติจะไม่สูงมาก ถ้าวัสดุ ยังอยู่ภายใต้ความเค้นแรงกด ส�าหรับเหล็กกล้า เครื่องมือสามารถทนต่อความเค้นแรงดึงสูงๆ ได้ การค�านวณแบบจ�าลองสามารถระบุระยะเวลา ต�าแหน่ง และความเค้นแรงดึงวิกฤติได้ จากข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการค� า นวณ ท�าให้สามารถจัดหามาตรการ ป้องกันการเกิดรอยแตกร้าว ด้ ว ยการออกแบบเครื่ อ ง มือใหม่ได้ ไม่ว่าจะใช้วิธี การแยกเครื่องมือขึ้นรูป หรือการใช้แหวนบีบอัด หลายชั้น (Multiple Armored Ring) หรือแม้แต่ การเพิม่ ความเค้นแรงดัน ให้เครื่องมือ โดยเฉพาะ ในบริเวณที่อาจจะก่อให้ เกิดปัญหา การสึกหรอของเครื่อง มือที่มีสาเหตุมาจากความ รูปที่ 4: แบบจ�าลองที่แสดงภาระที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานทั่วไปของงานขึ้นรูปโลหะแผ่น 54 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ร้อน เกิดจากการเปลี่ยนรูปแบบถาวร (Plastic Deformation) และอยู่ภายใต้สภาวะที่มีความ ร้อนสูงเกินไป (Over Annealed) ในระหว่าง การขึ้นรูปจะมีการกระจายตัวของความร้อนโดย ทั่วไปบนเครื่องมือ ภาระที่เกิดจากความร้อนเป็น สิ่ง จ�าเป็นส�าหรับการค�านวณและการประเมิน ค่าความเค้นแรงดึงที่เกิดขึ้นกับเครื่องมือ เพราะ ความแข็งแรงและคุณสมบัตทิ างกลของเครือ่ งมือ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ซึ่งความน่าสนใจส�าหรับการ ค�านวณอุณหภูมิการขึ้นรูปของพั้นทช์ก็อยู่ตรง ต�าแหน่งที่มีรูปร่างบางๆ เพราะบริเวณดังกล่าว อยู่ภายใต้ความร้อนที่ท�าให้เกิดภาระสูงสุด
ระดับอุณหภูมิเป็นตัวชี้วัดการสึกหรอ ที่เกิดจากกระบวนการทางความร้อน
ในการค�านวณแบบจ�าลองต้องพิจารณาถึง การถ่ายเทความร้อน ระหว่างเครือ่ งมือกับชิน้ งาน ที่น�ามาขึ้นรูป โดยอุณหภูมิของเครื่องมือจะมีการ เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากมีการถ่ายเทความร้อน แต่เมื่อเครื่องมือมีอุณหภูมิสูงขึ้นก็จะส่งผลให้เกิด การสึกหรอตามมา การค�านวณแบบจ�าลองของการสึกหรอทีเ่ กิด จากการขัดถู (Abrasive Wear) จะอาศัยแบบ จ�าลองของอาร์ชาร์ด (Archard’s Model) อธิบาย การสึกหรอของผิว (บนผิวของเครือ่ งมือขึน้ รูป ค่า ความสูงของแกน Z จะลดลงเนื่องจากเกิดการ สึกหรอ) โดยค่าการสึกหรอ แรงดัน และระยะ การเคลื่อนที่ของเครื่องมือ เป็นความสัมพันธ์ แบบสมการเส้นตรง (Proportional Relation) ส่วนค่าสัมประสิทธิ์การสึกหรอเป็นค่าที่แสดงถึง คุณลักษณะการสึกหรอที่มีความส�าคัญ โดยมี อิทธิพลกับคุณสมบัติการสึกหรอและคุณสมบัติ การหล่อลื่นของวัสดุ ในกรณีที่ชิ้นงานเกิดการเสียดสีมากๆ และ การหล่อลืน่ เป็นไปได้ยาก การค�านวณแบบจ�าลอง ควรจะเลือกค่าสัมประสิทธิ์การสึกหรอที่มีค่าสูง ค่าความแข็งของเครื่องมือต้องพิจารณาจากค่า พารามิเตอร์อื่นๆ ประกอบ เพราะความแข็งเป็น คุณสมบัตเิ ฉพาะทีข่ นึ้ อยูก่ บั อุณหภูมกิ ล่าวคือ เมือ่ อุณหภูมิสูงขึ้นเครื่องมือจะมีความแข็งแรงลดลง ซึ่งผลการค�านวณแบบจ�าลองได้ชี้ให้เห็นต�าแหน่ง และการกระจายตัวของการสึกหรอที่เกิดขึ้น ใน ขณะเดียวกันก็สามารถลดปัญหาการสึกหรอได้ โดยใช้กระบวนการปรับตัวแปร และหาจุดทีเ่ หมาะ สมของรูปร่างเครือ่ งมือ (Variation and Optimization of Tool Geometry) ซึ่งทั้งหมดนี้จะท�าให้ ปริมาณชิ้นงานการผลิตของเครื่องมือสูงขึ้น MM
PRODUCTION | MACHINING TECHNIQUE
กลยุทธ์ส�ำหรับกำรเจียระไน ใบพัดเทอร์ไบน์ให้คุ้มค่ำ เนือ่ งจำกกำรผลิตใบพัดเทอร์ไบน์นนั้ ชิน้ งำนจะมีลกั ษณะของพืน้ ผิวทีโ่ ค้งทัง้ ด้ำนในและด้ำนนอก อีกทัง้ ยังเข้ำท�ำงำนได้ยำก ประกอบ กับวัสดุทใี่ ช้กต็ ดั เฉือนได้ยำกล�ำบำก ดังนัน้ กระบวนกำรเจียระไนจึงเป็นหนึง่ ในทำงเลือกแรกทีถ่ กู น�ำมำใช้และกำรวิเครำะห์ปจั จัยด้ำน ต่ำงๆ ก็ล้วนแต่มีผลกับกำรเพิ่มประสิทธิผลในกระบวนกำรท�ำงำนนี้ เรื่อง: Hans-Rudolf Dressler แปล/เรียบเรียง: เรืองยศ ลอยฤทธิวุฒิไกร
ใ
บพัดเทอร์ไบน์ เป็นส่วนประกอบที่คอยท�ำ หน้ำที่เปลี่ยนพลังงำนภำยในเครื่องยนต์ของ อำกำศยำน รวมทั้งที่ใช้ในโรงงำนไฟฟ้ำแก๊ส และ ในสถำนีปั๊มแก๊ส นอกจำกนั้นยังเป็นตัวก�ำหนดค่ำ ประสิทธิภำพของเครื่องยนต์นั้นๆ ด้วย และเพื่อ ให้สำมำรถรองรับโหลดทำงด้ำนอุณหภูมิได้อย่ำง มีประสิทธิภำพ ใบพัดของเทอร์ไบน์จึงถูกผลิต
ขึ้นมำด้วยวัสดุที่ทนควำมร้อนสูง แต่ด้วยกำรใช้ วัสดุที่มีคุณสมบัติเช่นนี้ก็ท�ำให้กำรตัดเฉือนขึ้นรูป ใบพัดท�ำได้ยำกล�ำบำกมำก ยิ่งไปกว่ำนั้นเพื่อให้ ได้ค่ำประสิทธิภำพสูงสุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ ใบพัด เทอร์ไบน์นกี้ ต็ อ้ งมีขนำดและควำมถูกต้องสูง รวม ทั้งยังต้องมีพื้นผิวที่ละเอียดและเรียบสนิทด้วย จำกปัจจัยข้ำงต้น ท�ำให้กำรเจียระไนเป็นทำง
เลื อ กแรกที่ ถู ก น� ำ มำใช้ ใ นกำรผลิ ต ซึ่ ง ในรำย ละเอียดต่อไปนี้จะเป็นกำรน�ำเสนอกำรเจียระไน ใบพัดเทอร์ไบน์ที่ประกอบด้วยส่วนกลำงใบ ส่วน ขำยึดและส่วนหัว ซึ่งในกำรผลิตส่วนขำยึดนั้น จะใช้เครื่องมือตัดเฉือนที่มีควำมทนทำนและมี ค่ำควำมถูกต้องสูงมำก นอกจำกนี้ที่ขำยึดก็ต้อง เจียระไนพื้นผิวที่อยู่ด้ำนข้ำงทั้งสองด้ำน ในขณะ
รูปที่ 1: มุมมองภำยในเครื่องเจียระไนแกนเดียวรุ่น Micro-Cut 4 520 S ส�ำหรับกำรเจียระไนใบพัดที่มีปริมำณกำรผลิตไม่มำกนัก โดยที่ส่วนขวำด้ำนหน้ำจะเป็นแม๊กกำซีนส�ำหรับหินเจียระไน ส่วนที่อยู่ด้ำนหลังจะเป็นชุดเปลี่ยนหินเจียระไนแบบอัตโนมัติ 56 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
MACHINING TECHNIQUE | PRODUCTION
Platform (มีสองด้าน)
Pine Tree Profile (มีสองด้าน)
Z-Profile (มีสองด้าน)
Headboard Profile
Sealing Surface
Feet End
Head Part Parallel (มีสองด้าน)
Side Surface (มีสองด้าน)
รูปที่ 2: พื้นผิวทั่วไปที่ต้องเจียระไน ที่ขำยึดและส่วนหัวของใบพัด
ที่ส่วนหัวจะมีกำรเจียระไนรูปทรงตัว Z ส่วนซีล และที่บ่ำขนำน ก่อนจะท�ำงำนกับพื้นผิวดังกล่ำวนั้น ล�ำดับ แรกจะต้องท�ำกำรจับยึดใบพัดนีก้ อ่ น ซึง่ ในวงกำร อุตสำหกรรมจะมีกำรจับยึดทีใ่ ช้กนั อยู่ 2 แบบ คือ กระบวนกำรจับยึดแบบ Hard Point และแบบ หล่อ (Casting) โดยกำรจับยึดแบบ Hard Point จะเป็นกำรจับยึดบนแท่นชิน้ งำน (Jig/Fixture) ซึง่ จะจับใบพัดที่ต�ำแหน่งต่ำงๆ พร้อมกับจุดรองรับ ส่วนกำรจับยึดแบบหล่อนั้น ชิ้นงำนจะถูกหล่อหุ้ม ด้วยซิงค์เพื่อให้ยึดอยู่กับที่ โดยที่ชุดหล่อนั้นจะมี ต�ำแหน่งทีจ่ ะน�ำไปจับซึง่ ถูกก�ำหนดไว้ลว่ งหน้ำแล้ว กระบวนกำรนีท้ ำ� ให้ชนิ้ งำนทีถ่ กู หล่อยึดไว้สง่ ไปขึน้ รูปบนเครื่องจักรที่แตกต่ำงกันได้ โดยชิ้นงำนจะ ถูกจับที่ต�ำแหน่งเดิมอย่ำงแม่นย�ำ อย่ำงไรก็ตำม กำรเลือกวิธีส�ำหรับกำรผลิตและกำรเจียระไนนั้น ก็ขึ้นอยู่กับปริมำณชิ้นงำนที่จะผลิตในแต่ละครั้ง โดยผลลัพธ์จำกกำรเจียระไนจะมีควำมแม่นย�ำ และสำมำรถเพิ่มผลผลิตได้มำกขึ้น หำกสำมำรถ เจียระไนผิวงำนได้หลำยๆ ด้ำน ด้วยกำรขึน้ จับยึด งำนเพียงครัง้ เดียวหรือเปลีย่ นกำรจับยึดน้อยครัง้ ที่สุด เพรำะนั่นหมำยถึง ระยะเวลำกำรตั้งเครื่อง ที่สำมำรถลดไปได้
จับยึดชิ้นงำนเพียงครั้งเดียว บนโต๊ะกลมแบบหมุนเคลื่อนที่ได้
ส�ำหรับกำรผลิตที่มีจ�ำนวนไม่มำกจะเลือกใช้ เครื่องเจียระไนแนวแกน โดยจับชิ้นงำนบนโต๊ะ แบบอยู่กับที่ หินเจียระไนจะเคลื่อนที่ไปตำมแนว แกนที่ต้องกำร ซึ่งเครื่องจักรประเภทนี้จะมีขนำด เล็กกว่ำแบบที่โต๊ะงำนสำมำรถเคลื่อนที่ได้ แต่ ถ้ำเลือกได้ก็ควรจะใช้โต๊ะงำนแบบหมุนได้ดีกว่ำ เพรำะจะท�ำให้สำมำรถท�ำงำนกับชิ้นงำนได้รอบ ทุกด้ำนด้วยกำรตั้งชิ้นงำนเพียงครั้งเดียว ซึ่งสิ่งนี้ ก็เป็นข้อดีประกำรหนึ่งที่สำมำรถพบได้จำกระบบ
Zero Point Clamping เครื่องเจียระไนแกนเดียวรุ่น 520 S ที่มีระยะ กำรเจียระไนกว้ำง 600 มิลลิเมตร และยำว 700 มิลลิเมตรของเครื่องรุ่น Micro-Cut 4 (รูปที่ 1) จะมีขั้นนตอนกำรเจียระไนใบพัดเทอร์ไบน์ (รูปที่ 2) ดังต่อไปนี้คือ เริ่มจำกกำรเจียระไนผิวด้ำนข้ำง ของโปรไฟล์ต้นสน (Pine Tree Profile) ด้ำนหนึ่ง แล้ว ชิ้นงำนจะถูกหมุน 180 องศำเพื่อเจียระไน ผิวส่วนที่ 2 จำกนั้นชุดจับยึดพร้อมกับชิ้นงำนจะ ถูกถอดออกจำกเครื่องแล้วน�ำไปวำงบนเครื่อง มือวัด เพื่อจะท�ำกำรวัดระยะควำมคลำดเคลื่อน ของผิวทั้งสองด้ำน จำกนั้นจะท�ำกำรป้อนค่ำที่ได้ ลงในเครื่องเจียระไนและจะเจียระไนผิวงำนทั้ง สองจนเสร็จ
ระบบจับยึดชิ้นงำนแบบ Palette ช่วยเพิ่มประสิทธิผลกำรผลิต
ขั้นตอนกำรท�ำงำนลักษณะนี้มีข้อดีที่ส�ำคัญ ประกำรหนึง่ คือ กำรตัง้ เครือ่ งจะใช้ชนิ้ งำนชิน้ แรก เพียงชิ้นเดียวเท่ำนั้น ในขณะที่ผลลัพธ์ที่ได้ก็มี ควำมแม่นย�ำในระดับที่น่ำพอใจ แต่อย่ำงไรก็ดีใน กำรเจียระไนใบพัดให้ได้ครบทุกด้ำน อำจจ�ำเป็น ต้องใช้ชุดจับยึดจ�ำนวน 2 ถึง 4 ชุด ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับควำมยำกง่ำยของชิ้นงำน ซึ่งในกรณีนี้ระบบ เปลี่ยนชิ้นงำนแบบพำเล็ตจะช่วยเพิ่มผลผลิตได้ อย่ำงรวดเร็ว ในส่วนของเครื่องมือที่ใช้ก็ต้องมีกำรพัฒนำ ให้ทำ� งำนได้รวดเร็วขึน้ ด้วยเช่นกัน และระบบกำร เปลี่ยนล้อหินเจียระไนแบบ Quick Change ก็ ช่วยได้มำก ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีระบบที่เป็นแบบ กึ่ ง อั ต โนมั ติ ห รื อ แบบอั ต โนมั ติ ทั้ ง หมดให้ เ ลื อ ก ชุดแต่งล้อหินแบบคู่ที่ติดกลับหัวไว้ (รูปที่ 3) ก็ ช่วยให้กำรตั้งล้อและแต่งล้อสำมำรถท�ำได้อย่ำง รวดเร็ว โดยระหว่ำงกำรเจียระไนด้วยล้อแบบชุด นั้น หัวเพชรแต่งล้อเจียระไนด้ำนซ้ำยจะท�ำกำร MM
แต่งหินเจียระไนด้ำนหลังไปพร้อมๆ กัน ซึ่งวิธี กำรนี้มีข้อดีที่ส�ำคัญ 2 ประกำรคือ สำมำรถติด ล้อเพชรแต่งหินบนแกนชุดแต่งหินเจียระไนได้ หลำยล้อ ดังนั้นจึงช่วยลดเวลำในกำรเปลี่ยนล้อ ได้ ส่วนข้อดีอีกประกำรคือ หำกท�ำกำรเจียระไน ด้วยล้อเพียงอันเดียว ก็จะเป็นกำรแต่งเพียงล้อ เดียวเท่ำนัน้ ขณะทีเ่ ครือ่ งแต่งหินแบบธรรมดำจะ ต้องท�ำกำรแต่งทั้งสองล้อ ซึ่งท�ำให้มีกำรสึกหรอ มำกกว่ำ และด้วยระบบนี้ท�ำให้ระยะเวลำในกำร ตั้งเครื่องลดลงได้ถึง 75 เปอร์เซ็นต์ทีเดียว ศักยภำพในกำรลดต้นทุนส่วนต่อไปจะอยู่ที่ ชุดหล่อเย็น โดยเริ่มจำกปำกหัวฉีดแบบต่ำงๆ ที่ ต้องใช้งำน โดยแทนที่จะต้องเปลี่ยนตำมลักษณะ ชิ้นงำนทุกครั้ง ก็ผลิตเป็นชุดแท่นพร้อมหัวฉีด หลำกหลำยรูปแบบที่ช่วยลดเวลำได้อย่ำงมำก ซึ่งในตัวอย่ำงที่ได้น�ำเสนอนี้มีกำรใช้ท่อส�ำหรับ จ่ำยสำรหล่อเย็นจ�ำนวน 3 ท่อ โดยให้พ่นไปยัง ต�ำแหน่งโปรไฟล์ล้อที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งนอกจำกท�ำให้ เวลำเหลือเพียง 1 ใน 3 แล้วยังมีข้อดีอื่นๆ อีก คือ ปริมำณสำรหล่อเย็นที่ลดลงท�ำให้ใช้ปั๊มขนำด เล็กลงได้ ในขณะเดียวกันถังอุปกรณ์หล่อเย็นก็มี ขนำดเล็กลงและใช้ไฟฟ้ำน้อยลงด้วย โดยสรุปจำกที่กล่ำวมำทั้งหมดก็คือ วิธีกำรที่ ได้น�ำเสนอมำนี้สำมำรถน�ำไปสู่กำรใช้เครื่องจักร แบบแปรผันได้และท�ำให้ผลผลิตมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น อย่ำงมำก ซึ่งสำเหตุหลักมำจำกระยะเวลำกำร ตัง้ เครือ่ งทีล่ ดลงกว่ำ 50 เปอร์เซ็นต์คอื จำกทีต่ อ้ ง ใช้ประมำณ 2 ชั่วโมงครึ่งก็เหลือไม่ถึง 1 ชั่วโมง นอกจำกนีย้ งั ท�ำให้เกิดควำมประหยัดจำกอุปกรณ์ เสริมที่ลดขนำดลงเหลือเฉพำะเท่ำที่จ�ำเป็น ล้อ หินเจียระไนมีกำรสึกหรอน้อยลง โดยได้งำนที่มี ประสิทธิผลมำกขึ้น แต่อย่ำงไรก็ดีงำนตัวอย่ำงนี้ ก็ทำ� ขึน้ จำกใบพัดทีถ่ กู หล่อขึน้ รูปไว้กอ่ น และแทน ที่จะใช้เครื่องจักรเครื่องเดียวที่ท�ำงำนได้หลำก หลำยรูปแบบส�ำหรับกำรผลิตจ�ำนวนน้อย ก็ควร
Machine Tools & Metalworking / September 2014
57
PRODUCTION | MACHINING TECHNIQUE
รูปที่ 3: ชุดปรับแต่งล้อหินเจียระไนคู่แบบกลับหัวช่วยลด ระยะเวลำในกำรตั้งเครื่องลงได้กว่ำ 75 เปอร์เซ็นต์ รวมทั้ง ลดกำรแต่งหินเจียระไนที่ไม่จ�ำเป็นลงได้
ใช้เครื่องจักรหลำยชุดแยกกันท�ำงำนโดยเฉพำะ เมื่อต้องท�ำกำรผลิตเป็นจ�ำนวนมำก
สำยพำนล�ำเลียงและหุ่นยนต์แขวน ส�ำหรับงำนจับยึด
กำรจับใส่-กำรถอดชิน้ งำนในเครือ่ งจักร รวม ทั้งกำรส่งต่อชิ้นงำนนั้นมีควำมส�ำคัญมำกส�ำหรับ กำรเพิม่ ประสิทธิภำพกำรผลิตของเครือ่ งเจียระไน แต่ละเครื่อง ซึ่งทำงออกที่เยี่ยมยอดก็คือ กำรใช้ ระบบสำยพำนคูก่ บั หุน่ ยนต์ทตี่ ดิ ตัง้ แบบแขวน โดย กำรติดตั้งหุ่นยนต์ไว้เหนือเครื่องจักรอย่ำงเช่น กำรจับยึดบนหลังคำนั้นมีข้อดีหลำยประกำร โดย
เฉพำะช่วยลดควำมเสีย่ งต่อผูป้ ฏิบตั งิ ำนเมือ่ ไม่ได้ ท�ำงำนบนพื้นระนำบเดียวกับหุ่นยนต์ ดังนั้นจึง ช่วยท�ำให้ลดค่ำใช้จ่ำยกำรกำรติดตั้งแนวป้องกัน ลงได้ อีกทั้งผู้ปฏิบัติงำนยังเข้ำสู่พื้นที่ท�ำงำนใน เครื่องจักรได้ง่ำยขึ้น มีระยะทำงสั้นลงและเวลำ กำรโหลดชิ้นงำนเข้ำ-ออกจำกสำยพำนที่ลดลง โดยหุ่นยนต์ก็เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ประหยัด เวลำได้มำกขึ้น นอกจำกนี้ยังเป็นผลดีกับค่ำใช้จ่ำย จำกกำร ใช้พื้นที่ภำยในโรงงำนที่น้อยลง เพรำะเมื่อติดตั้ง หุ่นยนต์โดยจับยึดไว้แบบแขวนก็ท�ำให้ไม่ต้องเสีย พืน้ ทีใ่ นกำรติดตัง้ อีก ท�ำให้เหลือพืน้ ทีไ่ ว้สำ� หรับติด ตั้งชุดแม๊กกำซีนส�ำหรับล้อเจียระไนและชุดแต่ง หิน ซึ่งในที่นี้ก็อำจจะใช้หุ่นยนต์ควบคุมได้เช่นกัน ซึง่ มีผลช่วยท�ำให้ลดระยะเวลำกำรท�ำงำนและลด ค่ำใช้จ่ำยได้ลงไปได้อีก กำรจัดเรียงสำยพำนนัน้ เป็นตัวแปรทีม่ ผี ลต่อ ควำมหลำกหลำยในสำยกำรผลิต ส�ำหรับสำยกำร ผลิตแบบอัตโนมัติทั้งหมดนั้นต้องติดตั้งสำยพำน ให้อยู่สูงกว่ำระดับศรีษะของผู้ปฏิบัติงำน เพื่อให้ ผูป้ ฏิบตั งิ ำนเข้ำท�ำงำนทีเ่ ครือ่ งจักรได้อย่ำงสะดวก หำกต้องกำรสำยกำรผลิตที่ปรับเปลี่ยนได้อย่ำง หลำกหลำยส�ำหรับกำรผลิตทีม่ ปี ริมำณน้อยๆ และ ชิ้นงำนใบพัดรูปแบบต่ำงๆ รวมทั้งท�ำกำรใส่ชิ้น งำนเข้ำ-ออกจำกเครือ่ งด้วยมือก็ตอ้ งติดตัง้ ระบบ สำยพำนไว้ทรี่ ะดับควำมสูงทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ ำนสำมำรถ หยิบจับได้อย่ำงสะดวก เครื่องจักรแบบแกนสปินเดิลคู่ อย่ำงเช่น รุ่น DS ขนำด 520 ของเครื่อง Micro-Cut 4 นั้นจะ ยิ่งเพิ่มควำมหลำกหลำยในสำยกำรผลิตให้สูงยิ่ง
รูปที่ 4: ภำพแผนผังของสำยกำรผลิตที่มีกำรใช้เครื่องเจียระไน จ�ำนวน 5 เครื่อง ส�ำหรับกำรผลิตงำนขนำดกลำงจนถึงงำน จ�ำนวนมำก
58 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ขึน้ ไปอีก แต่หำกเลือกแบบแกนสปินเดิลเดียวก็จะ ท�ำให้ควำมหลำยหลำยในกำรท�ำงำนลดลงไป แต่ก็ ช่วยท�ำให้ประหยัดเงินลงทุนได้มำก อย่ำงเช่นรูปที่ 4 นั้นจะเป็นตัวอย่ำงที่แสดงให้เห็นถึงแผนผังกำร ใช้งำนเครือ่ งจักรชนิดนีจ้ ำ� นวน 5 เครือ่ งทีเ่ รียงกัน เป็นรูปเกือกม้ำ (หรือถ้ำมีพื้นที่มำกๆ หรือมีขนำด พืน้ ทีท่ จี่ ำ� กัดก็สำมำรถจัดเรียงเป็นรูปแบบอืน่ ตำม ควำมเหมำะสมกับขนำดของพื้นที่ได้เช่นกัน)
ใบพัดเทอร์ไบน์เครื่องยนต์อำกำศยำน ต้องวัดขนำดที่ผิวงำนทุกด้ำน
กำรจัดเรียงสำยกำรผลิตเช่นนี้ เครื่องจักร เครื่องแรกจะท�ำกำรเจียระไนผิวโปรไฟล์ต้นส้น (Pine Tree Profile) ทั้งสองด้ำนพร้อมกัน ส่วน เครื่องจักรเครื่องที่ 2 จะเจียระไนผิวด้ำนข้ำง (Side Face) โดยกำรเจียระไนผิวด้ำนในและ ด้ำนนอกของใบพัดพร้อมรัศมีจะท�ำบนเครือ่ งจักร เครื่องที่ 3 โดยจะใช้ล้อหินขนำดเล็กเจียระไนผิว ด้ำนใน และใช้จำนแบบถ้วยขนำดใหญ่เจียระไน ผิวด้ำนนอก ซึ่งเมื่อน�ำใบพัดไปประกอบเข้ำด้วย กันแล้วจะได้ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของโรเตอร์ เครื่องจักรเครื่องที่ 4 และเครื่องที่ 5 จะ ท�ำงำนกับผิวที่อยู่บริเวณส่วนหัว โดยในกรณีที่ ใบพัดมีขนำดใหญ่เครือ่ งจักรเครือ่ งที่ 4 จะท�ำกำร เจียระไนโปรไฟล์รูป Z ทั้งสองด้ำนไปพร้อมๆ กัน เลย แต่ถ้ำชิ้นงำนมีขนำดเล็กก็จะต้องเจียระไนที ละด้ำน ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้โดนพื้นผิวส่วนอื่นๆ ส่วนเครื่องจักรเครื่องที่ 5 จะถูกเตรียมไว้จะท�ำ หน้ำทีเ่ จียระไนร่องลิม่ หำกชิน้ งำนนัน้ มีควำมสลับ ซับซ้อนมำกๆ ใบพัดที่ผลิตได้จะมีควำมถูกต้องแม่นย�ำ และ จ�ำนวนต�ำแหน่งส�ำหรับกำรวัดค่ำทีแ่ ตกต่ำงกันไป ขึ้นอยู่กับกำรน�ำไปใช้งำน แต่ถ้ำหำกเป็นใบพัด เทอร์ไบน์ทใี่ ช้ในงำนอำกำศยำนจ�ำเป็นต้องท�ำกำร วัดผิวของทุกด้ำนและบันทึกเก็บไว้ เพื่อให้กำร ท�ำงำนเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว เครื่องเจียระไนแต่ละ เครื่องจะมีเครื่องวัดจับคู่อยู่ด้วยกัน ค่ำที่วัดได้ แล้วจะถูกน�ำใช้ในกำรปรับแก้กำรตัง้ ค่ำของเครือ่ ง เจียระไน กำรเจียระไนโปรไฟล์ต้นสนบนเครื่อง จักรเครื่องแรกด้วยหินคอรันดัม (Corundum Wheel) นั้นจะต้องท�ำกำรแต่งหินอย่ำงต่อเนื่อง แต่กำรเจียระไนผิวในส่วนอื่นๆ จะใช้ล้อหิน CBN (Cubic Boron Nitride) แทน เนื่องจำกล้อหิน คอรันดัมนั้นจะมีกำรสึกหรออย่ำงรวดเร็ว โดย เฉพำะเมื่อน�ำไปเจียระไนบริเวณพื้นที่โปรไฟล์ Z หรือด้ำนที่ต้องซีล ในขณะที่ล้อหิน CBN นั้นจะ ใช้งำนได้ทนทำนกว่ำกันมำก MM
PRODUCTION | MACHINING TECHNIQUE
เครื่องกลึง/กัดแบบ Modular ส�ำหรับสำยกำรผลิตหลำกหลำยรูปแบบ กำรผลิตชิ้นงำนที่มีควำมสลับซับซ้อนมำกๆ ซึ่งต้องท�ำงำนหลำยขึ้นตอนในระหว่ำงกำรจับชิ้นงำนเพียงครั้งเดียวโดยให้ได้ ประสิทธิภำพสูงที่สุดนั้น มักจะเป็นสิ่งที่ผู้ผลิตเครื่องจักรทั้งหลำยถูกถำมถึง ซึ่งในเรื่องนี้เครื่อง Machining Center มัลติฟังก์ชัน ที่ประกอบขึ้นแบบโมดูลำร์จำกประเทศไต้หวันอำจเป็นค�ำตอบได้ เรื่อง: Perter Konigsreuther แปล/เรียบเรียง: เรืองยศ ลอยฤทธิวุฒิไกร
ตั้
งแต่เดือนมกราคมปีทผี่ า่ นมา บริษทั Kadigo Werkzeugmaschinen & Zubehor Handels ได้จดทะเบียนบริษทั ในยุโรปภายใต้ชอื่ Topper ร่วมกับบริษัท Tongtai Machine & Tool ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องจักรจากประเทศไต้หวันเพื่อ ขยายสินค้าในกลุ่ม Machine Tools ให้เป็นที่ รู้จักมากขึ้น และล่าสุดนั้นเครื่องจักรรุ่นใหม่ที่มา พร้อมกับเทคโนโลยีระดับสูงจาก Tongtai กับผล งานการวิจัยของบริษัท Kadigo ก็ได้ถูกต่อยอด และพั ฒ นาออกมาเป็ น เครื่ อ ง Machining Center TMT 2000 ซึ่งเป็นเครื่องกลึง/กัดแบบ
มัลติฟังก์ชันที่มาพร้อมกับแม๊กกาซีนเครื่องมือ หลากหลายรู ป แบบ และมี ก ารส่ ง มอบให้ กั บ ตัวแทนจ�าหน่ายของ Topper เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว
กำรจัดแม๊กกำซีนเครื่องมือที่เหมำะสม ช่วยเพิ่มควำมแม่นย�ำในกำรผลิต
เครือ่ ง Machining Center TMT 2000 จะมี รุ่น T3Y2 เป็นรุ่นพิเศษ (รูปที่ 2) โดยเครื่องรุ่น ดังกล่าวจะมีสปินเดิลหลักขนาด 15 kW และ สปินเดิลรองขนาด 18.5 kW มาพร้อมกับแม๊กกา ซีนเครื่องเมือจ�านวนมากถึง 3 ชุด เครื่องจักร
รูปที่ 1: ภายในพื้นที่ท�างานของเครื่อง CNC Machining Center มัลติฟังก์ชัน TMT 2000-T3Y2 เนื่องจากมีชุดแม๊กกาซีน เครื่องมือจ�านวนถึง 3 ชุดท�าให้เครื่องจักรท�างานผลิตได้หลากหลายรูปแบบ 60 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ถูกออกแบบมาให้ท�างานกลึงและกัด (Turning/ Milling) และสามารถผลิตชิ้นงานที่มีความสลับ ซั บ ซ้ อ นให้ กั บ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ด้ อ ย่ า ง แม่นย�าโดยไม่ต้องท�าการแก้ไขงานเลย เครื่ อ งจั ก รจะมาพร้ อ มกั บ ระบบควบคุ ม Fanuc 31i โดยชุดแม๊กกาซีนเครือ่ งมือของเครือ่ ง TMT 2000-T3Y2 สามารถจัดเรียงได้ตามความ ต้องการใช้งาน รวมทั้งยังสามารถก�าหนดเครื่อง ให้มีความเหมาะสมกับงานผลิตได้อย่างหลาก หลายรูปแบบ ซึง่ ในแต่ละแม๊กกาซีนนัน้ สามารถใส่ เครื่องมือได้ 12 ชิ้น สามารถเคลื่อนที่ไปตามแกน X, Y และ Z ได้ด้วยความเร็วสูงสุด 30 และ 36 เมตรต่อนาที โดยมีมอเตอร์เซอร์โวท�าความเร็ว รอบได้สูงสุด 6,000 รอบต่อนาที ในการท�างานสามารถเลือกใช้แม๊กกาซีนทีอ่ ยู่ ด้านบน 2 ชุด หรือคูแ่ ม๊กกาซีนบน-ล่าง หรือทัง้ 3 ชุดพร้อมกันก็ได้ โดยหากเป็นการท�างานลักษณะ นี้ แม๊กกาซีนเครื่องมือทั้งสองจะเข้าท�างานจาก ด้านบน ส่วนแม๊กกาซีนที่สามจะเคลื่อนตัวเข้าหา ชิ้ น งานจากด้ า นล่ า ง ซึ่ ง การผลิ ต ชิ้ น งานด้ ว ย แม๊กกาซีนเครือ่ งมือทีอ่ ยูต่ รงข้ามกัน (คือจากด้าน บนและจากด้านล่าง) จะมีข้อดีพิเศษส�าหรับการ ผลิตชิ้นงานที่มีความยาวมาก นั่นคือเครื่องมือจะ ช่วยลดแรงสั่นสะเทือนและแรงสะท้อนได้โดย อัตโนมัติ เพราะชิน้ งานมีจดุ รับแรงกดเพิม่ มากกว่า เดิมท�าให้การผลิตชิ้นงานท�าได้อย่างแม่นย�า โดย เฉพาะกับชิ้นงานที่มีความยาวถึง 600 มิลลิเมตร ในขณะเดียวกันก็ได้พื้นผิวที่ดีตลอดทั้งความยาว ของชิ้นงานด้วย หั ว จั บ ชิ้ น งานส� า หรั บ เครื่ อ งกลึ ง /กั ด มั ล ติ ฟังก์ชันนี้ รองรับชิ้นงานที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์ ได้ถึง 320 มิลลิเมตร ฐานเครื่องจักรผลิตขึ้น จากเหล็กหล่อ (รูปที่ 3) และถูกค�านวนความ
MACHINING TECHNIQUE | PRODUCTION
ออปชันป้องกันการชน
ท�ำงำนซับซ้อนหลำยขั้นตอนได้อย่ำง ปลอดภัย
รูปที่ 2: ระบบควบคุม Fanuc 31i ท�าหน้าที่ควบคุมการ ท�างานต่างๆ ของเครื่อง Tongtai รุ่น TMT 2000T3Y2 การจ�าลองการท�างานจริงท�าให้พบความผิดพลาดจาก การเขียนโปรแกรม
ระบบ Interference Protection System ทีต่ ดิ ตัง้ เป็นออปชันเสริม สามารถค้นพบความ ผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรม และป้องกัน การชนกันของชิ้นงานกับชุดแม๊กกาซีนเครื่อง มือได้ นอกจากนั้นระบบป้องกันนี้ยังสามารถ ตรวจสอบได้ทกุ ฟังก์ชนั ไม่วา่ จะเป็นการเขียน แบบแมนนวลหรือการเขียนแบบอัตโนมัติ รวม ทั้งรองรับระบบควบคุมของ Heidenhain, Fanuc, และ Siemen
แข็งแรงผ่านโปรแกรม FEM เพื่อให้เครื่องจักร มีความคงทนและทนทานต่อการใช้งานระยะยาว โดยไม่ท�าให้เกิดปัญหา นอกจากนี้ผู้ผลิตยังได้คิด เผื่อไปถึงการท�างานของผู้ปฏิบัติงานด้วย ดังนั้น การออกแบบฐานเครื่องจักรจึงไม่ได้ท�าให้ฐาน เครื่องตั้งเป็นฉาก แต่จะให้มีมุมเอียงไปด้านหลัง 15 องศา ซึ่งการเอียงลักษณะนี้จะท�าให้เศษวัสดุ หลุดออกจากชิ้นงานได้ง่ายขึ้น ลดการพันกันของ เศษวัสดุ รวมทั้งลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชิ้น งานและทีส่ ว่ นทีม่ กี ารเคลือ่ นทีข่ องเครือ่ งจักรด้วย
ปรับเปลี่ยนได้อย่ำงอิสระ ด้วยสปินเดิล 2 หัวและแม๊กกำซีน 3 ชุด
สปินเดิลหลักของเครือ่ ง Machining Center TMT 2000-T3Y2 จะจับชิน้ งานทะลุได้ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร (ในบางกรณีก็ได้ ถึง 76 มิลลิเมตร) และใช้ความเร็วรอบได้สูงสุด 6,000 รอบต่อนาที ชุดขับเคลื่อนของสปินเดิล หลักนี้มีแรงบิด 150 Nm ที่ความเร็ว 1,000 รอบ ต่อนาที นอกจากนั้นที่หัวสปินเดิลของเครื่องยังมี การติดตั้ง Encoder บอกต�าแหน่งไว้เพื่อให้หมุน
รูปที่ 3: เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานท�างาน ได้อย่างสะดวก ฐานเครื่องแบบ หล่อจึงถูกค�านวนขึ้นด้วยระบบ FEM และมีการปรับตั้งเอียงเป็นมุม 15 องศาไปด้านหลัง
หาต�าแหน่งได้อย่างถูกต้องแม่นย�าโดยมีความ ละเอียดถึง 0.001 องศา ส่วนทีส่ ปินเดิลรองนัน้ จะ จับชิน้ งานผ่านตลอดได้ขนาด 51 มิลลิเมตร (หรือ 62 มิลลิเมตรทีเ่ ป็นออปชัน) และต่อกับ Encoder ลักษณะเดียวกับแกนสปินเดิลหลัก มีแรงบิด 124 Nm ที่ความเร็วรอบ 850 รอบต่อนาที นอกจา กนั้นสปินเดิลทั้งสองนี้ยังมาพร้อมกับระบบเบรค ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงและมีระบบหล่อเย็นภายในตัว เพือ่ ป้องกันการขยายตัวของสปินเดิลและช่วยเพิม่ ความแม่นย�าตลอดระยะเวลาการผลิต
ผลิตชิ้นงำนที่มีควำมยำวมำกๆ ได้ โดยไม่มีกำรสั่นสะเทือน
ชุดแม๊กกาซีนเครื่องมือรุ่น BMT-65 ที่ใช้อยู่ ในเครื่อง (ออปชันเป็นหัว VDI-40) จะมีก�าลัง 5.5 kW และมีแรงบิด 27 Nm ส�าหรับขับเคลื่อน เครื่องมือ ซึ่งเครื่องที่สามารถใช้แม๊กกาซีนได้ พร้ อ มกั น จะได้ รั บ ประโยชน์ ใ นด้ า นเวลาหรื อ MM
คุณภาพอย่างเห็นได้ชัด เช่น ใช้เครื่องมือหนึ่ง ท�างานด้านบนไปพร้อมกับเครื่องมืออีกตัวหนึ่ง ท�างานด้านล่าง นอกจากนั้นวิธีการนี้ก็ยังช่วยลด ระยะเวลาการเปลี่ยนเครื่องได้มาก ซึ่งต้องค�านึง ว่ามีเครื่องมือจ�านวนมากถึง 36 ชุดอยู่ในแม๊กกา ซีนทั้งสามนี้ และเครื่องที่ท�างานจากแม๊กกาซีน ด้านล่างก็ท�าหน้าที่เหมือนกับเป็นที่รองรับแรง กดไปในตัว ซึ่งช่วยลดการสั่นสะเทือนได้ โดย เครื่ อ งมื อ จากแม๊ ก กาซี น ทั้ ง สองที่ อ ยู ่ ด ้ า นบน สามารถท�างานกับชิน้ งานทีย่ าวไปในเวลาเดียวกัน ได้โดยมีแม๊กกาซีนที่อยู่ด้านล่างเป็นตัวซัพพอร์ต ส�าหรับชิ้นงานที่มีความยาวไม่มากซึ่งจับอยู่ ด้านเดียวบนสปินเดิลของเครื่อง TMT 2000T3Y2 นั้นก็สามารถใช้แม๊กกาซีนเครื่องมือที่อยู่ ด้านล่างเป็นตัวยันศูนย์ได้เช่นกัน เพื่อให้เครื่อง มือจากแม๊กกาซีนด้านบนมีพื้นที่ท�างานเพิ่มขึ้น จากเดิม ทั้งนี้ยังสามารถเลือกออปชันอื่นๆ เพิ่ม เติมได้อีก MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
61
THAISAKOL GROUP
ไทยสากล กรุ๊ป โชว์ความยิ่งใหญ่
ยกทัพผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอุตสาหกรรมแสดงงาน METALEX 2014 งาน METALEX 2014 มหกรรมงานแสดงอุตสาหกรรมด้านเครื่องจักร และโลหะการครั้งยิ่งใหญ่แห่งอาเซียน ซึ่งปีนี้จัดขึ้นภาย ใต้ธีม ‘The Pride of ASEAN’ เพื่อยกระดับมาตรฐานภาคอุตสาหกรรมด้านโลหะการ พร้อมให้บรรดานักอุตสาหกรรมที่เข้าร่วม งานกว่า 70,000 ราย ได้สัมผัสกับเทคโนโลยีล�้าสมัย น�าไปสู่การยกระดับกระบวนการผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการของ ตลาดที่เติบโตขึ้น ภายในงานจะจัดแสดงเครื่องจักรและเทคโนโลยีใหม่กว่า 4,000 รายการ โดย 2,700 แบรนด์ระดับโลก จาก 50 ประเทศ และ 9 พาวิลเลียนนานาชาติ ตื่นตาตื่นใจไปกับการเปิดตัวนวัตกรรมและเครื่องจักรเทคโนโลยีรุ่นใหม่ล่าสุด ซึ่งได้น�ามาจัด แสดงเป็นครั้งแรกในอาเซียนและประเทศไทย ในปี 2014 รี้ด เทรดเด็กซ์ ได้จัดงานแสดง สินค้าทีป่ ระเทศไทย ซึง่ มีกา� หนดจัดขึน้ ระหว่างวัน ที่ 19- 22 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา ทั้งนี้ ยังเป็นการ ก้าวสู่ศูนย์กลางอุตสาหกรรมของอาเซียนไปกับ งาน METALEX 2014 โดยจะได้พบกับโซลูชั่น ล่าสุด ผู้ผลิตนวัตกรรมและผู้มีบทบาทรายส�าคัญ จ�านวนมาก พร้อมการประชุมทีม่ เี นือ้ หาครอบคลุม และกิจกรรมหลากหลายภายในงานครั้งนี้
ไทยสากล กรุ๊ป พร้อมร่วมงาน METALEX 2014
คุ ณ ปณิ ธ าน กอบกุ ล สุ ว รรณ General Manager บริษัท ไทยสากล กรุ๊ป จ�ากัด กล่าว ถึงหลักการบริหารงานว่าบริษัทฯ เริ่มในปี 2518 โดยมีคุณประวิทย์ กอบกุลสุวรรณ เป็นผู้ริเริ่มใน การน�า Cutting Tools อาทิ ใบเลือ่ ยวงเดือน, ใบ มีด และเครื่องจักร จากประเทศญี่ปุ่น เยอรมนี อิตาลี และไต้หวันมาจ�าหน่ายให้แก่ผปู้ ระกอบการ ในหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิเช่นอุตสาหกรรม ไม้ อุตสาหกรรมไม้บอร์ด และซีเมนต์บอร์ด โลหะ รูปพรรณ ชิ้นส่วนยานยนต์ เยื่อและกระดาษ พลาสติกและอะคริลกิ และอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ทั้งนี้แบรนด์ที่บริษัทฯ น�าเข้ามาจ�าหน่าย นั้นทั้งหมดจะเป็นแบรนด์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกที่ ติดอันดับหนึ่งในสาม โดยทางบริษัทฯมีนโยบาย เป็นตัวแทนจ�าหน่ายแบบ Exclusive ที่สามารถ จ�าหน่ายในประเทศไทยแต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น นอกจากตัวสินค้ามีคุณภาพแล้ว บริษัทฯ ยังมี การให้คา� ปรึกษาแนะน�าสินค้าอย่างถูกต้อง เพราะ ถือว่าสินค้าของบริษัทฯ เป็นสินค้าเฉพาะทาง ส�าหรับกลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่งไม่สามารถเปิดแคต ตาล็อกแล้วสั่งซื้อได้ นอกจากนี้ ทางบริษัทฯยัง เน้นในเรื่องคุณภาพของการบริการหลังการขาย 62 MM
และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า ซึ่งท�าให้ ชื่ อ เสี ย งของไทยสากลที่ ไ ด้ รั บ ค� า กล่ า วขานใน วงการอุตสาหกรรมมาโดยตลอด
สินค้าเด่นส�าหรับงานเพื่อนักอุตสาหกรรม ส� า หรั บ ไฮไลท์ สิ น ค้ า ที่ จั ด แสดงในงาน METALEX 2014 คุ ณ ปณิ ธ านกล่ า วต่ อ ว่ า สินค้าที่ทางบริษัทฯ ได้น�าไปจัดแสดงในงานครั้ง นี้ประกอบด้วย 2 กลุ่มดังนี้ กลุ ่ ม Cutting Tools จ� า พวกใบเลื่ อ ย วงเดื อ นและใบเลื่ อ ยสายพานตั ด โลหะจาก ประเทศญี่ปุ่น เยอรมัน และอิตาลี เหมาะส�าหรับ อุตสาหกรรมโลหะทุกประเภท กลุ ่ ม เครื่ อ งจั ก ร ปี นี้ ท างบริ ษั ท ฯ ได้ น� า เครื่องจักรจากประเทศไต้หวัน แบรนด์ Soco มา เปิดตัว ซึ่งเป็นเครื่อง Tube Benders ส�าหรับ งานท่อในอุตสาหกรรมต่างๆเช่น งานเฟอร์นเิ จอร์ และโดยเฉพาะงานในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยาน ยนต์ ไม่ว่าจะเป็น Exhaust Pipe, Bumper, Manifold, Fuel line และ Car seat เป็นต้น Soco เป็นบริษัทฯที่มีชื่อเสียงและ ได้รับการ ตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ใช้ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็น ทางอเมริกา ยุโรป หรือ ประเทศจีน ปัจจัยหนึ่ง ที่ทาง SOCO ประสบความส�าเร็จคือการที่มีศูนย์ R&D ที่สามารถพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่องเพื่อ ตอบโจทย์ต้องความต้องการของผู้ใช้งานให้เป็น ปัจจุบันอยู่เสมอ นอกจากนี้ ภายในงานบริษัทฯ ยังน�าสินค้าภายใต้แบรนด์ Everising ซึ่งเป็น เครื่องตัดใบเลื่อยสายพาน รวมถึงผลิตภัณฑ์ใน กลุ่มอุตสาหกรรมอีกมากมายมาจัดแสดงให้กับ ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมได้เลือกซื้อ เพื่อ น�าใช้ในการด�าเนินธุรกิจ รวมทัง้ ได้อพั เดทความรู้ ใหม่ๆ ในภาคอุตสาหกรรมให้กบั ผูป้ ระกอบการน�า ไปเพิ่มประสิทธิภาพยกระดับมาตรฐานการผลิต
Machine Tools & Metalworking / September 2014
และคุณภาพของสินค้า ส�าหรับผู้ที่สนใจสอบถาม ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้าน Cutting Tools เครื่องจักร อุตสาหกรรม ไทยสากล กรุ๊ป พร้อมยินดีให้ค�า ปรึกษาตลอดเวลา คุณปณิธานกล่าวต่อว่า ทางบริษัทฯ ยังมี ศูนย์บริการที่ครอบคลุมการให้บริการงานซ่อม และตรวจสอบ Cutting Tools ทุกประเภททีใ่ ช้ใน อุตสาหกรรม ซึง่ ให้บริการอย่างครบวงจรเป็นแห่ง แรกในประเทศไทย พร้อมทั้งให้บริการด้านการ ลับคมอีกด้วย ส่วนกลุ่มเครื่องจักร บริษัทฯ มีทีม ช่างซ่อมบ�ารุง ในการดูแลเครื่องจักรทุกแบรนด์ ที่บริษัทได้จัดจ�าหน่ายให้กับผู้ลูกค้า ทั้งการติด ตั้ง อบรม การซ่อมบ�ารุง การส่งชิ้นส่วน เป็นต้น ส�าหรับงาน METALEX 2014 ทางบริษัทฯ ได้มกี ารร่วมออกงานแสดงสินค้ามาโดยตลอด ทุก ครั้งที่ร่วมออกงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมจะ ได้รับการตอบรับจากกลุ่มผู้ประกอบการทั้งชาว ไทยและชาวต่างชาติเป็นอย่างดี จึงส่งผลให้มี ยอดจัดจ�าหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้น และยังเป็นโอกาส ให้บริษัทฯ ได้กลุ่มลูกค้าเดิมที่สนใจในสินค้าใหม่ และเพิ่มกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ มากกว่าเดิมเพื่อเป็น ช่องทางในการท�าตลาดอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ทุก สินค้าที่น�าเสนอสามารถเป็นแนวทางให้ลูกค้าน�า ไปต่อยอดในการประกอบกิจการต่อไป “ในปีนี้เป็นอีกปีที่จะมีสินค้าใหม่เข้าไปจัด แสดงในงาน METALEX 2014 คือ แบรนด์ Soco จึงขอเชิญชวนผู้ประกอบการเข้ามาเยี่ยมชมบูธ เนื่องด้วยภายในบูธทางบริษัทฯ ได้ยกทัพสินค้า ที่มีคุณภาพให้ได้ยลโฉมอย่างหลากหลาย และที่ พิเศษสุดคือ หากลูกค้าสนใจเครื่องจักรภายใน งาน บริษัทฯ มีราคาพิเศษให้ทันที” คุณปณิธาน กล่าวทิ้งท้าย MM
THAISAKOL GROUP
คุณปณิธาน กอบกุลสุวรรณ General Manager บริษัท ไทยสากล กรุ๊ป จ�ากัด
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
63
AUTOMATION | CONTROL TECHNIQUE
ซอฟต์แวร์ส�ำหรับลดเวลำสตำร์ทอัพ ให้กับเครื่องจักร CNC เวลำ ค่ำใช้จ่ำยของผู้ผลิต และของผู้ใช้งำนเครื่องจักรจะลดลงได้ เมื่อเครื่องจักรกล และอุปกรณ์ต่ำงๆ สำมำรถน�ำมำใช้งำนได้ อย่ำงรวดเร็ว หลังจำกได้รบั กำรผลิต ติดตัง้ หรือปรับปรุงใหม่ นอกจำกนัน้ กำรน�ำซอฟต์แวร์มำใช้แทนกำรท�ำงำนด้วยมือก็เป็นสิง่ ที่ช่วยเร่งให้สำมำรถเริ่มต้นใช้งำนเครื่องจักร CNC ได้เร็วขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังช่วยหลีกเลี่ยงกำรป้อนข้อมูลผิดพลำดที่ได้อีก เรื่อง: Rudolf Kunath แปล/เรียบเรียง: อิทธิเทพ อมาตยกุล
ผู้
ที่ท�างานด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ แม่พิมพ์ การผลิตเครื่องจักร และผู้ที่ท�างานโดยใช้ เครื่ อ งจั ก รกลต่ า งก็ ต ้ อ งสามารถจั ด การระบบ งานได้อย่างยืดหยุ่น และมีมาตรฐานค่อนข้างสูง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้อย่างเหมาะสม โดยมีสัดส่วนของต้นทุน ต่อสมรรถนะที่แข่งขันทางธุรกิจได้ ดังนั้นเพื่อให้ บรรลุถึงข้อก�าหนดดังกล่าว บริษัท Gebr. Heller Machinenfabrik ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องจักร รายส�าคัญในประเทศเยอรมนีจึงเลือกใช้กลยุทธ์ ที่เปรียบได้กับ “การจัดหาชุดสูทจากราวแขวนที่ สามารถสวมใส่ได้อย่างพอดีตัวราวกับตัดมาโดย เฉพาะ” โดยลูกค้าของบริษัทสามารถตัดสินใจ เลือกรูปแบบของเครือ่ งจักรได้ตามความต้องการ เฉพาะ ไม่ว่าจะเป็นลักษณะการท�างานของแกน หัวเพลาขับ การจับยึด และแม๊กกาซีนเครื่องมือ ไปจนถึงการจัดการกับเศษวัสดุ และรายละเอียด ปลีกย่อยต่างๆ อีกมากมาย เพือ่ ให้สามารถใช้งาน
ได้อย่างเหมาะสมที่สุด โดยที่ส่วนประกอบส�าคัญ ต่างๆ จะเป็นมาตรฐานที่มีอยู่แล้ว ซึ่งไม่จ�าเป็น ต้องออกแบบสร้างขึ้นมาอีก
กำรก�ำหนดรูปแบบเครื่องจักร ท�ำได้เร็วด้วยกำรจัดกำรข้อมูลระดับสูง
เงือ่ นไขทีส่ า� คัญก็คอื ระดับการบริหารจัดการ ที่สูงขึ้นนั้นจะต้องมีการจัดการข้อมูลส�าหรับการ ผลิตและข้อมูลของชิ้นส่วนต่างๆ ที่มีโครงสร้าง ข้อมูลสมบูรณ์ถูกต้อง จะไม่ยอมให้เกิดการสลับ สับเปลี่ยน อุปกรณ์ชิ้นส่วนเหล่านี้ ทุกชิ้นจะถูก ติดตั้งอย่างถูกต้องตามต�าแหน่งที่ก�าหนดไว้ตาม แบบ ซึ่งนั่นท�าให้เครื่องจักรกลทุกเครื่องถูกผลิต ขึ้นมาตามโครงสร้างที่ชัดเจนและบริษัท Heller ก็ได้เงื่อนไขนี้กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เป็น เวลาหลายปีแล้ว โดยลักษณะการท�างานเช่นนี้ เป็นข้อได้เปรียบที่ท�าให้บริษัทสามารถจัดรูปแบบ ของเครื่องจักรกลตามความต้องการเฉพาะของ
รูปที่ 1: ซอฟต์แวร์ส�าหรับการด�าเนินการแบบอัตโนมัติ ในการก�าหนดข้อมูล ป้อนข้อมูล และติดตั้งซอฟต์แวร์เพื่อการเริ่มต้นใช้ งานเครื่องจักร CNC ครั้งแรกที่ใช้ชุดควบคุม Sinumerik 840 D sl ของ Siemens 64 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีความชัดเจน ไม่ คลุมเคลือด้วย สิ่งส�าคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การที่ผู้ผลิต เครือ่ งจักร CNC สามารถใช้ขอ้ มูลจากโครงสร้าง ข้อมูลทีใ่ ช้งานอยูแ่ ล้วกับซอฟต์แวร์ทางวิศวกรรม Sinu-Com Installer (SCI) ที่พัฒนาโดยบริษัท Siemens ท�าให้การเตรียมข้อมูล การป้อนข้อมูล และติดตั้งซอฟต์แวร์เพื่อเริ่มต้นใช้งานเครื่องจักร CNC ตัวใหม่โดยอัตโนมัติสามารถท�าได้รวดเร็ว มาก โดยเฉพาะหากเลือกใช้ชุดควบคุม CNC Simumerik 840 D sl และระบบขับเคลื่อนแบบ ดิจิตอล Sinamics จากบริษัท Siemens (รูปที่ 1) บริษัท Heller ได้น�าซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยนี้มา ใช้ เพื่อการเริ่มสตาร์ทอัพเครื่องจักร CNC มา ตั้งแต่ปี 2007 ซึ่งในช่วงเวลานั้นบริษัท Siemens ได้มกี ารคัดเลือกบริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรกลจ�านวน มาก ซึ่งบริษัท Heller ก็ได้รับการคัดเลือกให้เป็น หนึ่งในกลุ่มผู้ใช้โปรแกรมน�าร่อง โดยครั้งแรก บริษัทได้ทดสอบใช้งานกับเครื่อง Machining Center แนวนอน H-Series และผลการทดสอบ ที่ได้ก็แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนตั้งแต่ช่วงเริ่มต้น ว่า ซอฟต์แวร์นี้มีศักยภาพสูงมากในการลดเวลา การจัดเตรียมข้อมูล การป้อนข้อมูล และติดตั้ง ซอฟต์แวร์ ส�าหรับการเริม่ ต้นน�าเครือ่ งจักร CNC มาใช้งาน นอกจากนั้นความยุ่งยากต่างๆ ในการ ท�างานก็ลดลงอย่างมาก ทีมงานที่เกี่ยวข้องจะมีหน้าที่น�าข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับคุณสมบัติเฉพาะของเครื่องจักร CNC ออกมาจากระบบ ERP ทีบ่ ริษทั Heller ใช้งานอยู่ (ระบบ ERP หรือ Enterprise Resource Planning ที่ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท SAP) ข้อมูล เหล่านี้จะถูกน�าเข้าสู่กระบวนการเลือกขั้นตอน ด�าเนินการของโปรแกรม SCI และบันทึกข้อมูล
CONTROL TECHNIQUE | AUTOMATION
ต่างๆ ร่วมกับโปรแกรม SCI Setup ลงบนไดรฟ์ USB การควบคุมการท�างานทัง้ หมดจะเริม่ ต้นโดย การใช้ไดรฟ์ USB และ SCI Setup จะท�าการติด ตัง้ ข้อมูลต่างๆ อย่างสะดวก และง่ายดายด้วยการ คลิกเลือกที่แผงควบคุม
กำรใช้ซอฟต์แวร์ทำงวิศวกรรม แทนกำรเตรียมและน�ำข้อมูลเข้ำด้วยมือ
เมื่อความคาดหวังต่างๆ ของทีมงานที่ดูแล รับผิดชอบได้รับการตอบสนองอย่างเป็นอย่าง ดี และรวดเร็ว ดังนั้นเครื่องจักร CNC แบบ 5 แกน F-Series รวมทั้งเครื่องจักร CNC ซีรีย์ ใหม่ๆ ในอนาคตของบริษัท Heller จึงถูกก�าหนด ให้ ใ ช้ โ ปรแกรม Installer เพื่ อ การจั ด เตรี ย ม และน�าข้อมูลเข้าสู่ระบบ เมื่อเลือกใช้ชุดควบคุม Sinumerik 840D sl โดยก่อนหน้านี้การพัฒนา เครื่องจักรอุปกรณ์แบบ OEM และงานอื่นๆ ผู้ ผลิตเครื่องจักรกลจ�าเป็นจะต้องใช้ช่างที่มีความ รู้และประสบการณ์สูง อีกทั้งการใช้เวลาท�างาน เฉพาะเพียงส่วนของการป้อนค่าพารามิเตอร์ของ เครื่องจักร และติดตั้งโปรแกรม NC โดยเฉลี่ยก็ นานถึงครึง่ วัน ซึง่ ถือว่าเป็นการใช้เวลาทีน่ านมาก แม้วา่ งานบางส่วนจะได้รบั การปรับปรุงให้สามารถ ด�าเนินการอย่างอัตโนมัติ โดยติดตั้งโปรแกรม ของผู้ผลิตแล้วก็ตาม แต่หลังจากที่ได้มีการน�า โปรแกรม SCI มาใช้ ก็ท�าให้เวลาที่ใช้ในการท�า การเตรียมข้อมูลเพื่อสตาร์ทอัพเครื่อง
ฟังก์ชันของซอฟต์แวร์ระบบควบคุม “Sinucom Installer” เป็นซอฟต์แวร์ส�าหรับ ให้ผผู้ ลิตเครือ่ งจักรใช้จดั เตรียม น�าค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ เข้าสู่ชุดควบคุม และติดตั้งโปรแกรมให้กับ เครื่องจักรที่ใช้ชุดควบคุม “Sinumerik 840” ของ บริษัท Siemens เพื่อเริ่มต้นการใช้งานครั้งแรก โดยอัตโนมัติ โดยซอฟต์แวร์นี้จะประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ Expert, Diff และ Topo โดยที่ Expert เป็นส่วนที่ด�าเนินการเกี่ยวกับรูปแบบการติด ตั้ง โดยประกอบจากล�าดับขั้นตอนที่ปรับเปลี่ยน ได้ตามความเหมาะสม ส�าหรับการเริ่มต้นใช้งาน ครั้งแรกหรือปรับปรุงเพิ่มเติมในภายหลัง ส่วน Diff จะใช้เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของ Folder, Sinumerik-Archives และ CNC-Data ซึ่งจาก ความสามารถในการท�าส�าเนาและแก้ไข ท�าให้ หน้าที่หลักของ Diff คือการสร้างข้อมูลให้เป็นไป ตามโครงสร้างทีต่ อ้ งการ จากนัน้ Topo จะเป็นส่วน ที่ท�าหน้าที่สร้างภาพลักษณะการติดตั้งเชื่อมต่อ ของชุดขับเคลื่อน Sinamics และ Library ที่ ประกอบขึ้นจากส่วนประกอบของ Sinamics
รูปที่ 2: Sinumerik 840 D sl เป็นชุดควบคุมเครื่องจักรที่มี คุณภาพสูงจากบริษัท Siemens นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะ ในการท�างานแบบ Block Processing ที่ยอดเยี่ยม
งานข้างต้นทั้งหมดเหลือเพียงครึ่งชั่วโมงเท่านั้น นอกเหนือจากการลดเวลาในการป้อนข้อมูล แล้ว ข้อดีทสี่ า� คัญอีกประการหนึง่ ก็คอื การด�าเนิน การแบบอัตโนมัติสามารถลดข้อผิดพลาดจาก การป้อนข้อมูลด้วยมืออย่างได้ผล โดยเฉพาะกับ ปริมาณข้อมูลที่มีจ�านวนมากๆ ซึ่งการป้อนข้อมูล ด้วยมือแบบเดิมนั้นไม่สามารถรับประกันความ ถูกต้องได้ทั้งหมด ท�าให้ต้องย้อนกลับมาค้นหา และมีแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดภายหลังเสมอ วิธี การท�างานก็ยุ่งยาก ไร้ประโยชน์ อีกทั้งไม่ทราบ ก�าหนดเสร็จที่แน่นอนด้วย ประโยชน์ทสี่ า� คัญอีกประการหนึง่ ส�าหรับผูใ้ ช้ งานก็คอื สามารถลดเวลาทีต่ อ้ งหยุดใช้งานได้ โดย เฉพาะเมื่อเครื่องจักรจ�าเป็นต้องท�าการปรับปรุง อุปกรณ์หรือการอัพเดตซอฟต์แวร์ ดังนั้นผู้ใช้ งานจึงสามารถใช้งานเครื่องจักรได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งบริษัท Heller ได้ให้ข้อมูลว่า การด�าเนินงาน ลักษณะนีจ้ ะใช้เวลาลดลงถึงครึง่ หนึง่ จากการเลือก อัพเดตเฉพาะส่วนที่ต้องการ ท�าให้มีการกระโดด ข้ามจุดต่างๆ ของโปรแกรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการ อั พ เดตได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสมโดยอั ต โนมั ติ ข้อมูลเฉพาะต่างๆ เช่น ต�าแหน่งอ้างอิง หรือ ข้อมูลจ�าเพาะของเครื่องมือก็ไม่ถูกเปลียนแปลง ทางด้ า นของการควบคุ ม นั้ น ชุ ด ควบคุ ม Sinumerik 840 D sl นับได้ว่าเป็นอุปกรณ์ที่มี คุ ณ ภาพสู ง เครื่ อ งหนึ่ ง (รู ป ที่ 2) จากบริ ษั ท Siemens มีสมรรถนะสูง โดยเฉพาะความเร็วใน การท�างานแบบ Block Processing ของ Block Cycle Time การปรับตั้งหรือควบคุมการเลื่อน MM
ต�าแหน่ง “ศูนย์” สามารถเปลี่ยนหรือก�าหนดจาก โปรแกรม สามารถท�าได้ง่ายและมีความยืดหยุ่น สูง แม้วา่ จะท�าในขณะทีโ่ ปรแกรมก�าลังท�างานอยู่ ก็ตาม นอกจากนั้นข้อดีอีกประการหนึ่งก็คือ การ เชื่อมต่อกับผู้ใช้หรือ User Interface (UI) ที่เป็น แบบกราฟิกเอนิเมชัน “Shopmill” ก็เป็นพื้นฐาน ที่ยอดเยี่ยมในการจัดท�าเครื่องจักรให้เป็นไปตาม ความต้องการเฉพาะของลูกค้า นอกจากการควบคุมทีด่ เี ยีย่ มแล้ว เครือ่ งจักร CNC F-Series ของบริษัท Heller ยังได้มีการน�า เทคโนโลยีในชุดของ “Sinumerik M-Dynamics” มาให้กับผู้ใช้ด้วย โดยการพัฒนาเทคโนโลยีนี้ มุ่งเน้นไปที่การก�าหนดการเคลื่อนที่ “Advance Surface” ที่มีการปรับปรุงฟังก์ชันการท�างาน Look-Ahead ที่ใช้กันอยู่ให้ดีขึ้น (Intelligent Motion Guidance) โดยอัตราความเร็วของ “Tools Path” ข้างเคียง จะถูกปรับให้เหมาะ สมเอง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือ เครื่องจักร CNC ดัง กล่าวนี้สามารถท�าให้ผิวงานมีคุณภาพสูงขึ้นได้ใน ระยะเวลานัน้ อีกทัง้ การควบคุมการกระตุก (Jerk Control) จาก Intelligent Jerk Limit ยังท�าให้ การเคลื่อนที่ของแกนต่างๆ เป็นไปอย่างนุ่มนวล ทั้งช่วงการเริ่มต้น และช่วงที่มีการหยุดเคลื่อนที่ ส่งผลให้ได้ผิวงานที่มีคุณภาพ ลดแรงกระท�าต่อ กลไกต่างๆ ของเครื่องจักร และมีส่วนช่วยเพิ่ม อายุการใช้งานให้นานขึ้น
เครื่องจักรสำมำรถเลือกใช้อุปกรณ์ ที่ช่วยเสริมฟังก์ชันได้อย่ำงหลำกหลำย
เครื่องจักรกล CNC จากบริษัท Heller นี้ ประกอบด้วยเครื่อง Machining Center HSeries ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งแนวนอนเป็ น เครื่ อ งที่ มี ความมั่นคงสูง ชิ้นส่วนโครงสร้างที่เป็นโลหะหล่อ ได้รับการออกแบบมาอย่างเหมาะสมด้วยวิธีการ จ�าลองที่ทันสมัย การขับเคลื่อนแนวแกน Z เป็น แบบ Double-Drive ท�าให้แรงกระท�าเกิดขึ้น อย่างสมมาตร ส่งผลท�าให้มีความแข็งแกร่งสูง ขึน้ การก�าหนดต�าแหน่งท�าได้อย่างถูกต้องแม่นย�า ส่วนเครื่อง Machining Center F-Series นั้นผู้ ใช้สามารถเลือก ขนาด อุปกรณ์ติดตั้ง ฟังก์ชัน การท�างานได้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นด้าน สมรรถนะ เช่น อัตราเร่ง ก�าลังงาน หรือเครื่อง มือ รวมทัง้ ลักษณะการจับยึดเครือ่ งมือ นอกจาก นั้นยังสามารถเชื่อมต่อเพื่อใช้งานร่วมกับหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมเป็น Robot Cell ที่มีความเข้ากัน ได้กับเครื่องจักรรุ่นก่อนของบริษัท Heller ทุก ประการ MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
65
CONSTRUCTION | FLUID TECHNIQUE
ระบบเกียร์ต้นก�ำลังแบบไฮดรอริก
ใช้เป็นมอเตอร์แนวรำบที่ปลอดกำรสึกหรอ เมื่อน�ำเซอโวมอเตอร์ ปั๊มแบบมีเฟืองด้ำนในและลูกสูบไฮดรอริกมำใช้ร่วมกัน เรำสำมำรถสร้ำงมอเตอร์แนบรำบ (Linear Motor) ขึน้ ได้และโดยหลักกำรแล้วจะปลอดกำรสึกหรอและสำมำรถปรับเปลีย่ นอัตรำทดได้หลำกหลำยมำก นอกจำกนัน้ ระบบนีย้ งั ไม่ตอ้ งกำร ท่อและระบบปั๊มแยกต่ำงหำก แต่ใช้เพียงมอเตอร์ไฟฟ้ำอีกหนึ่งตัวเท่ำนั้น เรื่อง: Harald Branz แปล/เรียบเรียง: ดร.เคตะ โอโน่ (Dr.-Ing.)
บ
ริษัท Voith Turbo H+L Hydraulic ได้ สร้างมาตรฐานใหม่ขึ้นมา ด้วยอุปกรณ์ต้น ก�าลังแนวราบไฮดรอริกแบบ CLDP (Closed Loop Differential Pump) (รูปที่ 1) โดยอุปกรณ์ ต้นก�าลังแนวราบแบบใหม่นจี้ ะมีขนาดทีก่ ระทัดรัด มาก มีประสิทธิภาพทางกลและความแม่นย�าสูง มี ข้อดีในเรื่องของระบบไฮดรอริกทั้งหมด นอกจาก นัน้ ยังเป็นระบบทีม่ คี วามปลอดภัย มีกา� ลังสูง และ เป็นระบบทีเ่ รียกได้วา่ เกือบจะไม่มกี ารสึกหรอเลย ในขณะเดียวกันการประหยัดพลังงานก็เป็นอีกสิ่ง หนึ่งที่ได้จากการน�าเอาระบบเซอร์โวมอเตอร์มา ใช้ ซึ่งประหยัดได้มากกว่าระบบเดิมที่มีอยู่อย่าง ชัดเจน การประกอบอุปกรณ์ต้นก�าลังนี้ เป็นสิ่งที่ ท�าได้ง่าย โดยอุปกรณ์ที่เป็นหัวใจส�าคัญนั้นก็คือ ปั๊มเซอร์โวที่อยู่ภายใน ซึ่งประกอบไปด้วยเซอร์ โวมอเตอร์และปั๊มแบบมีเฟืองด้านใน ส่วนก�าลัง ขาออกนั้นจะเกิดจากลูกสูบแบบแปรผัน (Differential Cylinder) ที่ได้รับการออกแบบหน้า สัมผัสลูกสูบไว้อย่างเหมาะสม อุปกรณ์ต้นก�าลัง ไฮดรอริกนี้ได้รับการออกแบบให้ประกอบขึ้นเป็น โมดูล (Modular Construction) ซึง่ สามารถเลือก ขนาดของลูกสูบและหน้าสัมผัสลูกสูบให้เหมาะสม ตามลักษณะของการน�าไปใช้ได้ ส่วนการเลือกปัม๊ และมอเตอร์นั้นเป็นการบอกก�าลังขาออกสูงสุด และความเร็วการเคลื่อนที่ โดยที่มีซีลกันการรั่ว ซึมและถังรักษาระดับความดันเป็นส่วนหนึ่งของ อุปกรณ์ด้วยเช่นกัน
ถึงแม้ว่าจะไม่มีระบบ ท่อและปั๊มแรงดันแยก ต่างหาก แต่อุปกรณ์ต้น ก�าลังแนวราบแบบใหม่นี้ ก็รวบรวมข้อดีทุกข้อของ ระบบต้นก�าลังไฮดรอริก ไว้อย่างครบถ้วน 66 MM
ควำมแข็งขณะหยุดนิ่งและควำมเร็วกำร เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจำกกำรใช้ปั๊มควำมดัน แยกต่ำงหำก
ระบบยังสามารถเลือกที่จะติดตั้งปั๊มความ
Machine Tools & Metalworking / September 2014
ดันเพิ่มเข้าไปได้ และด้วยปั๊มความดันนี้ ความ แข็งขณะหยุดนิ่งและความรวดเร็วของระบบก็ ยังสามารถเพิ่มขึ้นได้อีก การควบคุมสามารถ ท�าได้ด้วยเซอโวอินเวอร์เตอร์ (Servo Inverter) ซึ่ ง สามารถสั่ ง ประกอบไปพร้ อ มกั น ตั้ ง แต่ ต อน สั่งสินค้าหรือจะจัดหาเองก็ได้ ในการใช้งานระบบเกียร์ต้นก�าลังแบบใหม่นี้ สามารถทีจ่ ะเลือกควบคุมแรงดัน (Pressure Control) หรือควบคุมต�าแหน่ง (Position Control) ซึง่ อาศัยเซ็นเซอร์วดั ต�าแหน่งทีจ่ ะติดตัง้ ด้านใน หรือ ด้านนอกก็ได้ หรือเซ็นเซอร์วัดความดันในการ ป้อนสัญญาณแสดงสถานะของระบบ (Feedback Signal) ย้อนกลับไปยังระบบควบคุม การใช้งานระบบนี้ การเคลื่อนที่แนวราบไม่มี ความจ�าเป็นต้องใช้อปุ กรณ์ตน้ ก�าลังไฮดรอริกแยก ต่างหาก ท�าให้ไม่มีการเดินท่อที่ซับซ้อนและการ ติดตั้งที่ยุ่งยาก รวมทั้งไม่ต้องหาพื้นที่ส�าหรับติด ตั้งอุปกรณ์เสริมแยกอีกด้วยและการก�าจัดความ จ�าเป็นในการเดินท่อต่างๆ นีก้ เ็ ป็นการลดความซับ ซ้อนโดยรวมของระบบลงอย่างชัดเจน นอกจาก นั้นไส้กรองและระบบหล่อเย็นก็ยังไม่จ�าเป็นต้อง ใช้ ของเหลวในระบบท�าความดันนั้นถูกเติมเพียง ครั้งเดียวและสามารถใช้งานได้ยาวนาน โดยไม่ ต้องการการบ�ารุงรักษาเลย
ระบบท่อน�้ำมันควำมดันแบบปิด ท�ำให้ง่ำยต่อกำรน�ำไปรวมกับอุปกรณ์อื่น
การประกอบส�าเร็จรูปของระบบท่อน�้ามัน ที่ใช้ท�าความดันให้การประกอบเข้ากับอุปกรณ์ อื่นๆ เป็นเรื่องที่ท�าได้ง่าย และการน�าระบบความ คุมที่ชาญฉลาดเข้ามาใช้ก็ท�าให้การใช้งานเป็นไป อย่างยืดหยุน่ อุปกรณ์ตน้ ก�าลังแนวราบนีป้ ระกอบ ขึ้นจากโมดูล ซึ่งท�าให้ลักษณะของอุปกรณ์นั้น
FLUID TECHNIQUE | CONSTRUCTION
ค่อนข้างยืดหยุ่น ยกตัวอย่างเช่น เมื่อประกอบอุปกรณ์เป็นลักษณะทรงยาว สามารถเลือกประกอบชุดมอเตอร์ปั๊มตามแนว ยาวของลูกสูบได้ เมื่อต้องประกอบอุปกรณ์เป็นลักษณะทรง หักมุม สามารถเลือกประกอบโดยมุมของมอเตอร์ และปั๊มได้อย่างหลากหลาย (รูปที่ 2) ประกอบให้อปุ กรณ์มขี นาดกระทัดรัด โดย การวางมอเตอร์ของปั๊มวางไว้ในแนวขนานกับ ลูกสูบ (รูปที่ 3)
ควำมสำมำรถในกำรเลือกใช้โมดูล ท�ำให้ขีดควำมสำมำรถของระบบเพิ่มขึ้น
ความสามารถในการเลือกใช้โมดูลที่หลาก หลาย ท�าให้สามารถประกอบอุปกรณ์นี้ได้หลาก รูปแบบ (รูปที่4) กล่าวโดยสรุปก็คือ เราสามารถ เลือกชิ้นส่วนมาตรฐาน เลือกต่อเข้ากับมอเตอร์ ได้หลายขนาดให้เหมาะสมกับชนิดของปั๊มที่เลือก และขนาดลูกสูบ นอกจากนั้นก�าลังขาออกของ มอเตอร์ก็เลือกได้ถึง 20 kW ซึ่งสามารถท�าให้ ก�าลังเพิ่มขึ้นเป็น 2 ถึง 3 เท่าได้ในช่วงระยะเวลา
รูปที่ 2: ชุดมอเตอร์ปั๊มและ ลูกสูบสามารถประกอบโดยท�า มุมกันได้ โดยที่สามารถเลือก มุมได้หลากหลายตามลักษณะ ที่ต้องการ
รูปที่ 1: โดยหลักการแล้ว อุปกรณ์ต้นก�าลังนี้จะใช้ เซอโวมอเตอร์ ปีมแบบมีเฟือง ขับด้านใน และลูกสูบ ไฮดรอริก
สัน้ ๆ ส่วนเรือ่ งของปัม๊ นัน้ เมือ่ เลือกใช้ปม๊ั ทีม่ เี ฟือง ขับอยู่ด้านในขนาดเบอร์ 4 และ 5 จะสามารถปั๊ม ของเหลวได้ถึง 13 ถึง 64 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อ รอบการหมุนของปั๊มทีเดียว ในขณะที่ขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางของลูกสูบก็สามารถเลือกใช้ได้ ตั้งแต่ 40 ถึง 60 มิลลิเมตรด้วย จากการน�าอุปกรณ์ที่มีความหลากหลายมา ประกอบรวมเข้าด้วยกัน ท�าให้ประสิทธิภาพของ
,QQRYDWLRQHQ Innovations )LUVW 7ZLQVKHHW WKHUPRIRUPHU E\ *(,66 HVSHFLDOO\ IRU IRDP DLUGXFWV GHOLYHUHG
0DQXIDFWXULQJ RI WZLQVKHHW SDUWV LQ D FORVHG FKDPEHU PDFKLQH LV SDWHQWHG E\ *(,66 :LWK VXFK D PDFKLQH DOVR FRPSOH[ SDUWV IRU D FRPSOHWH FDU VHW FDQ EH SURFHVVHG LQ RQH F\FOH SDUWV ZLWK PP 3( IRDP ZLOO EH PRXOGHG DQG ZHOGHG LQ RQH SURFHVV VWHS LQ VHFRQGV &XVWRPHU KHUH $(5 6WDIIRUG LQYHVWHG LQ D WZLQ VKHHW PDFKLQH ZLWK D VL]H RI î PP :LWK RXU SDUDPHWULF GHVLJQ PDFKLQH FDQ EH GHOLYHUHG LQ QHDUO\ HDFK GLPHQVLRQ ,W LV WKH UG PDFKLQH LQ WKLV PDQQHU
' 6HVVODFK ƒ 7HO ƒ )D[ ƒ ZZZ JHLVV WWW FRP
MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
67
CONSTRUCTION | FLUID TECHNIQUE
อุปกรณ์ต้นก�ำลังแนวรำบแบบไฮดรอริก CLDP มีควำมเหมำะสมมำก หำกต้องกำรประสิทธิภำพทำงกลและควำมแม่นย�ำสูง นอกจำกนั้นยังสำมำรถป้องกันกำรเสียหำยได้ (Overload) และมีควำมคงทนที่เชื่อถือ คุณสมบัติของ CLDP ระบบของเหลวส�าหรับแรงดัน แบบปิด
ปั๊มเซอโวเลือกได้ตามขนาดลูกสูบ
ไม่ต้องการระบบท่อความดัน แบบเก่า ใช้ระบบควบคุมปัม๊ เซอโว ชิ้นส่วนแบบโมดูล จ�านวน ชิ้นส่วนน้อย ขนาดกระทัดรัด ก�าหนดแรง ความเร็ว และต�าแหน่งด้วยปั๊มเซอโว
ข้อได้เปรียบเมื่อน�ำไปใช้ Stiffness ในแนวแกนขับสูง องค์ประกอบของอุปกรณ์แยกจากกัน การสูญเสียก�าลังในลูกสูบต�่า ลดปริมาตรลูกสูบโดยรวม ใช้ปั๊มปรับระดับแรงดันขนาดเล็กได้ หรืออาจะไม่จา� เป็นต้องมีเลย การสูญเสียก�าลังในลูกสูบต�า่ และ ไม่มีระบบท่อแรงดันที่ต้องเดินแยก ประสิทธิภาพของระบบทางไฮดรอริกสูงขึ้น
ลักษณะกำรน�ำไปใช้งำน สามารถน�าไปใช้กับงานที่ต้องการประสิทธิภาพทางกลสูง อุปกรณ์แยกเป็นโมดูลอิสระ ไม่มีการเจาะหรือขันในการติดตั้ง ต้องการอุปกรณ์ที่ประหยัดพลังงาน ใช้ในบริเวณที่มีพื้นที่จ�ากัด รับน�้าหนักได้น้อย ต้องการอุปกรณ์ ที่ประหยัดพลังงาน ติดตั้ง และใช้งานง่าย
ระบบต้นก�าลังไม่มคี วามซับซ้อน แต่มคี วามสามารถหลากหลาย ขนาดเล็กและง่ายต่อการประกอบ
ง่ายต่อการน�าไปใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง ท�าให้พร้อมใช้งาน ค่าอบรม และค่าบ�ารุงรักษาต�่า ยืดหยุ่นต่อ การน�าไปใช้ ใช้พื้นที่น้อย มีน�้าหนักเบา มีความยืดหยุ่นในการน�าไปใช้งานสูง
ลดความจ�าเป็นในการเดินท่อ สามารถระบุแรงและความเร็วให้ เหมาะสมกับกระบวนการที่น�าไปใช้ได้
ลดค่าพลังงานได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ลดปริมาณก๊าซ CO2
ที่มำ: Voith Turbo H + L Hydraulic GmbH & Co. KG 2011
รูปที่ 3: เพื่อการประหยัดพื้นที่เป็นพิเศษ สามารถ ท�าการประกอบแบบขนานได้ โดยมอเตอร์ปั๊มจะถูกวาง ขนานกับลูกสูบ
อุ ป กรณ์ ข ยายขอบเขตออกไปอี ก ดั ง นั้ น เพื่ อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า บริษัทจึงได้ มีการพัฒนาอุปกรณ์ที่ประกอบส�าเร็จแล้วแบบ มาตรฐานออกมา 3 รุ่น และสามารถประกอบ อุปกรณ์ได้ตามความต้องการที่มีลักษณะเฉพาะ เจาะจงด้วย ทั้งประเภทของมอเตอร์ ปั๊ม และ ขนาดลู ก สู บ ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง ท� า ให้ ก ารน� า เสนอ อุปกรณ์ที่ตรงกับลักษณะของงานมีความถูกต้อง และมีความเหมาะสมมาก และในแง่การลงทุน ของอุปกรณ์ระบบเกียร์ต้นก�าลังแบบไฮดรอริก นี้ ก็ ยั ง มี ข ้ อ ดี ต รงที่ ส ามารถน� า มาติ ด ตั้ ง ใช้ เ ป็ น เหมือนมอเตอร์แนวราบที่แยกอิสระ ที่ปลอดการ สึกหรอได้อีก ความยาวของรางเลื่ อ นที่ มี ใ ห้ เ ลื อ กอย่ า ง 68 MM
มากมายของอุปกรณ์ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้ สามารถน�าไปใช้ได้อย่างสะดวก โดยการน�าไปใช้ที่ สามารถยกตัวอย่างได้เช่น การเคลือ่ นย้ายชิน้ งาน อย่างรวดเร็วหรือติดตัง้ ในเครือ่ งจักรทีใ่ ช้ดดั แยก และขึน้ รูป ซึง่ โดยหลักการแล้วสามารถน�าอุปกรณ์ นี้ไปใช้ได้ทุกๆ ที่ที่ต้องการการเคลื่อนที่แนวราบ โดยเฉพาะเมื่อต้องการแรง ประสิทธิภาพทางกล และความแม่นย�าสูง อีกทั้งยังสามารถป้องกัน การเสียหายและมีความคงทนที่เชื่อถือได้ ซึ่งจาก ประสิทธิภาพที่หลากหลายของอุปกรณ์นี้ ท�าให้ มีการน�าไปใช้สามารถท�าได้อย่างกว้างขวาง
อัตรำทดที่เลือกได้เกือบไม่มีข้อจ�ำกัด เป็นข้อได้เปรียบทำงกลอีกข้อหนึ่ง
โดยหลักการแล้วอุปกรณ์ต้นก�าลังแนวราบ แบบไฮดรอริกนี้ สามารถให้อัตราทดได้เกือบทุก ขนาด ซึง่ นัน่ ท�าให้อปุ กรณ์สามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้ดว้ ย ความเร็วสูง โดยที่ยังคงให้แรงตามที่ต้องการไป พร้อมๆ กันได้ การติดตั้งอุปกรณ์นั้นสามารถติด ตั้งไปบนแกนที่ต้องการให้เคลื่อนที่ และใช้ร่วม กับอุปกรณ์ที่อาจจะมีอยู่เดิมหรือติดตั้งใหม่ก็ได้ โดยสิ่งที่ต้องมีก็เพียงแค่สายจ่ายไฟฟ้าส�าหรับ มอเตอร์เท่านั้น สิ่งที่จะเป็นประโยชน์อย่างมาก เมื่อมีการน�า ไปใช้งานในการขนย้ายสิ่งของ (Object Handling) ก็คอื การเพิม่ ขึน้ ของผลิตผล เนือ่ งจากการ เคลื่อนที่ของอุปกรณ์ท�าได้อย่างรวดเร็ว มีความ ปลอดภัยในการใช้งานจากระบบการป้องการการ ใช้งานเกินก�าลัง นอกจากนัน้ ค่าติดตัง้ และค่าบ�ารุง
Machine Tools & Metalworking / September 2014
รูปที่ 4: ด้วยการใช้ปั๊มรักษาแรงดันเพิ่มอีกหนึ่งตัว อุปกรณ์นี้จะท�าให้ความแข็งในแนวแกนขับ (Linear Stiffness) และประสิทธิภาพทางกลของอุปกรณ์สูงขึ้น
รักษาก็ยังต�่ามากด้วย ประสิทธิภาพทีโ่ ดดเด่นของอุปกรณ์นสี้ ามารถ เปิดตลาดใหม่ ที่ปัจจุบันถูกผูกขาดโดยอุปกรณ์ ไฮดรอริกแบบมาตรฐานได้ เนื่องจากไม่มีความ จ�าเป็นต้องเดินสายและเชื่อมต่อระบบแรงดันให้ อุปกรณ์ไฮดรอริก อุปกรณ์นี้จึงสามารถแทรกตัว เข้าไปในตลาดที่ถูกครองโดยอุปกรณ์ไฮดรอริก แบบเดิมได้ไม่ยาก เพราะสามารถน�าไปใช้กับงาน ต่างๆ ได้หลากหลายกว่า อีกทั้งการติดตั้งเพื่อใช้ งานเป็นตัวต้นก�าลัง ตัวดัด ตัวกดนั้น อุปกรณ์ นี้ ก็ มี ค วามเหมาะสมด้ ว ยลั ก ษณะทางกลและ ประสิทธิภาพด้านก�าลัง นอกจากนัน้ บริษทั Voith Turbo H+L Hydrolic ก็ได้เปิดตัวอุปกรณ์ตนี้มา ตั้งแต่งาน Hannover-Messe ปี 2011 แล้ว MM
CONSTRUCTION | MATERIAL
เพิ่มความแข็งแกร่งให้กับโลหะ ด้วยการผสมผสานกับเซรามิค เซรามิคเซอร์คอนเนียมไดออกไซด์ (ZrO2) สามารถเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับโลหะ TRIP (Transformation Induced Plasticity) ได้โดยอาศัยพื้นฐานของการเปลี่ยนโครงสร้างในส่วนมาร์เทนไซต์ (Martensite) ในส่วนประกอบทั้งสองและด้วยการผสมผสานกัน นี้ท�าให้ได้วัสดุผสมชนิดใหม่ที่มีความแข็งแรงเป็นพิเศษ เรื่อง: Peter Michel, Andreas Jahn, Christian Weigelt และ Stefan Martin แปล/เรียบเรียง: น.ต.วีรุตม์ ฉายะจินดา
เ
ป็นเวลากว่า 4 ปีแล้ว ที่ทีมวิจัยร่วมจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Bergakademie ในเมือง Freiburg ประเทศเยอรมนีได้ท�าการศึกษาวิจัย วัสดุผสมชนิดใหม่ระหว่างเซรามิคเซอร์คอนเนียม ไดออกไซด์ (ZrO2) กับโลหะผสม TRIP (Transformation Induced Plasticity) ภายใต้การ สนับสนุนของ Deutschen Forschungsgemeinschaft (DFG) ในส่วนงานวิจัยพิเศษ 799 “TRIP-Matrix-Composite” โดยแนวทางของ งานวิจัยนี้ก็คือ การผลักดันให้เกิดนวัตกรรมด้าน ความปลอดภัย และโครงสร้างน�้าหนักเบาด้วย การปรับคุณลักษณะทางกลของวัสดุให้สอดคล้อง กับภาระของชิน้ งาน ซึง่ คณะนักวิทยาศาสตร์และ ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Bergakademie ก็ ไ ด้ วิ เ คราะห์ วิ จั ย ความเป็ น ไปได้ ต่างๆ ในการผสมผสานและควบคุมกระบวนการ Martensitic Phase Transformation ภายใน
ส่วนประกอบทั้งสอง เพื่อให้ได้วัสดุผสมที่มีความ แข็งแรงมากขึ้น การผลิตวัสดุประเภทนี้ไม่เพียงแต่ท�าได้ด้วย วิธีการแบบดั้งเดิมอย่างเช่น การขึ้นรูปด้วยโลหะ ผง (Powder Metallurgy) เท่านัน้ แต่ยงั สามารถ ท�าได้ดว้ ยวิธี Plastic Forming ซึง่ วิธกี ารแบบใหม่ นีช้ ว่ ยให้การผลิตชิน้ งานในระหว่างการผลิตเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด มีรูปทรงใกล้เคียง กับชิน้ งานสุดท้ายทีต่ อ้ งการ ลดความยุง่ ยาก และ ประหยัดเวลาได้มาก วัตถุประสงค์ของงานวิจัยวัสดุประเภทใหม่นี้ ก็คือ การผลิตชิ้นงานที่มีความแข็งแรงเป็นพิเศษ เพื่อเพิ่มสมรรถณะด้านความปลอดภัยส�าหรับ การใช้งานในรถยนต์ พาหนะประเภทราง และ อากาศยาน ด้วยการออกแบบที่เน้นหลักการ Bionic ของโครงสร้างระดับจุลภาค รวมทั้งการน�า ไปใช้ผลิตชิ้นส่วนหรือส่วนประกอบที่ทนทานต่อ
การสึกหรอสูงและรับน�้าหนักมากๆ ในอนาคต
การเปลี่ยนโครงสร้างแบบ Martensitic ระหว่างการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ขอบเขตงานของทีมวิจัยพิเศษ 799 นี้เริ่ม ตั้งแต่การพัฒนาคุณสมบัติของวัสดุผสม ระหว่าง โลหะ CrMnNi - Transformation Induced Plasticity (TRIP) / Twinning Induced Plasticity (TWIP) Effect ซึ่งโลหะประเภทนี้มีคุณสมบัติ หรือสามารถเปลี่ยนโครงสร้างแบบ Martensitic ได้ในขณะทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงรูปร่าง หรือกล่าวได้ อีกนัยว่า การเปลีย่ นแปลงรูปร่างจะช่วยเพิม่ ความ แข็งแรงให้กับโลหะดังกล่าว (TRIP–Effect) โดย โครงสร้างจะเปลีย่ นจาก Face-Centered Cubic Austenite เป็น Hexagonal (ε)-Martensite และในการเปลีย่ นแปลงรูปร่างครัง้ ต่อๆ ไปจะเป็น แบบ Space-Centered (α’)-Martensite ซึ่งใน การเกิดโครงสร้างแบบ Martensitic ดังที่กล่าว มานี้จะส่งผลให้เกิด TRIP–Effect เมื่อเป็นการ เปลี่ยนรูปร่างแบบ Plastic Deformation ในรูปที่ 2 (a) จะแสดงให้เห็นถึงกระบวนการ เปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า งภายในของโลหะ ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ใ นลั ก ษณะเดี ย วกั น นี้ ส ามารถสร้ า งได้ ด้วย TWIP-Effect และโลหะที่ได้รับการพัฒนา ขึ้ น ใหม่ นี้ ก็ มี ช ่ ว งค่ า ความแข็ ง แรง และความ ยืดหยุ่นที่ค่อนข้างกว้าง ดังนั้นจึงสามารถปรับ แต่งอัตราส่วนระหว่าง Cr–Mn–Ni เพื่อให้ได้ คุณสมบัติตามที่ต้องการได้
เซรามิค ZrO2 เกิดโครงสร้าง Martensitic ได้ เมื่อมีแรงภายนอกมากระท�า
รูปที่ 1: ภาพลักษณะโครงสร้างจุลภาคของเซรามิค (ซ้าย) และโครงสร้างเหล็กกล้า TRIP แบบสปาเกตตี้กลวง (ขวา) 70 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
วัสดุผสมระหว่างเหล็กกล้า TRIP กับเซรามิค ZrO2 จะให้ผลลัพธ์ขณะมีแรงกระท�าในลักษณะ
MATERIAL | CONSTRUCTION
แรงกระท�ำน้อย
แรงกระท�ำมำก Deformation band
รูปที่ 2: การเพิ่มความ แข็งแรงของ ZrO2 (5 Vol.-% Mg-PSZ) ใน วัสดุผสมบนพื้นฐาน Plastic Deformation ของเหล็กกล้า TRIP (a) ปฏิกิริยาระหว่าง การเปลี่ยนรูปร่างและ ความเค้นระหว่างเนื้อ เหล็กกล้ากับ ZrO2 (b)
กระบวนการหล่อ
กระบวนการรีดขึ้นรูป
ควำมเค้น (Stress) (MPa)
เดียวกับการเปลี่ยนโครงสร้างแบบ Martensitic โดยทีเ่ ซรามิค ZrO2 เองนัน้ จะเกิดโครงสร้างทีแ่ ตก ต่างกันไปตามระดับของอุณหภูมิ เริ่มจากสภาวะ ของเหลวที่จะแข็งตัวและเปลี่ยนโครงสร้างเป็น Cubic (c-ZrO2) ที่อุณหภูมิ 2680 องศาเซลเซียส และจะเปลี่ยนโครงสร้างเป็น Tetragonal (tZrO2) เมื่อลดอุณหภูมิลงต�่ากว่า 2,370 องศา เซลเซียส และถ้าหากอุณหภูมติ า�่ กว่า 1,700 องศา เซลเซียสจะเปลี่ยนเป็นแบบ Monoclinic phase (m-ZrO2) โดยการเปลี่ยนแปลงแบบท้ายสุดนี้ จะส่งผลให้วัสดุมีปริมาตรเพิ่มขึ้นประมาณ 3 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ การเพิ่มความแข็งแรงให้กับเหล็กกล้า TRIP ด้วยการเพิ่มคุณสมบัติของวัสดุผสมใน Tetragonal Phase ที่อุณหภูมิห้อง จะต้องใช้ Mg-PSZ (Partially Stabilized Zirconia) การเปลีย่ นแปลง Phase พร้อมกับการขยายตัวของปริมาตรอันเป็น ผลจากแรงกระท�าภายนอกต่อ ส่วนทีม่ เี สถียรภาพ ของ ZrO2 เป็นปัจจัยส�าคัญต่อการเพิ่มความแข็ง แรงให้กับเซรามิค การเพิ่มความแข็งแรงนี้เป็นผลมาจากการ เปลี่ยนโครงสร้างเป็น Tetragonal Phase ที่ สืบเนื่องมาจากแรงกระท�าภายนอก การควบคุม ลักษณะของรอยแยกใน Tetragonal Phase และ โครงสร้างระดับจุลภาคของ Monoclinic Phase ซึ่งกระบวนการที่กล่าวมานี้จะชดเชยแรงกระท�า จากภายนอก [1] โดยในรูปที่ 2 (b) จะแสดงให้ เห็นถึงหลักการเพิ่มความแข็งแรงของวัสดุด้วย วิธีการดังกล่าว พืน้ ผิวระหว่างส่วนประกอบทัง้ สองนีม้ อี ทิ ธิพล ต่อความแข็งแรงเป็นอย่างมาก เนื่องจากต้อง ท�าหน้าที่ส่งผ่านแรงจากภายนอก จากเนื้อโลหะ เหล็กกล้าไปยังอนุภาค ZrO2 เพื่อให้กระบวนการ Martensitic Phase Transformation และ TRIP/TWIP-Effect เกิดขึ้นในระดับที่เหมาะสม ซึง่ ในการผลิตด้วยกรรมวิธี Powder Metallurgy ส�าหรับวัสดุผสมจากเหล็กกล้า TRIP และอนุภาค ZrO2 นั้นจะประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆ เช่น Hot Pressing – HP Hot Isostatic Pressing (HIP) หรือ Spark Plasma Sintering (SPS) โดย มีผงโลหะกับผงเซรามิคทีม่ อี ตั ราส่วน 10 หรือ 20 เปอร์เซ็นต์เป็นวัสดุเริ่มต้น ส�าหรับการขึ้นรูปแบบ Plastic ซึ่งเป็นวิธี การของอุตสาหกรรมเซรามิคนั้น ส่วนผสมในรูป แบบผงจะถูกเติมด้วยน�า้ และสารเติมแต่งประเภท Organic เพื่อให้ได้มวลสารที่มีความเป็น Plastic และสามารถเปลี่ยนรูปทรงได้ก่อนที่จะถูกน�าไป
อัตราความเครียด: 0.0004s-1
รูปที่ 3: คุณสมบัติของ โลหะผสมในอัตราส่วน ต่างๆ ซึ่งพบว่าไม่ได้มี อิทธิพลมาจากความแตก ต่างของกระบวนการหล่อ หรือการรีดขึ้นรูป ควำมเครียด (Strain) (%)
ผ่านกระบวนการดันขึ้นรูป (Extrusion) ให้เป็น ผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ ก่อนน�าไปใช้ในการผลิต เช่น รังผึ้ง เส้นสปาเกตตี้กลวง หรือแบบรูปทรง กระบอกตัน หลังจากนั้นจะถูกน�าไปตากแห้ง อบ ด้วยระบบสุญญากาศ (Debinding) และการเผา ผนึก (Sintering) เพื่อให้ได้ค่าความแข็งแรงตาม ที่ต้องการ (รูปที่ 6) ส่วนการผลิตด้วยวิธกี ารซึมทะลุ (Infiltration) นั้น จะใช้โครงสร้างโลหะเซรามิคและเหล็กกล้า TRIP ในสถานะของเหลว โดยโครงสร้างโลหะ เซรามิคจะถูกสร้างด้วยกระบวนการ Powder Metallurgy (สปาเกตตี้หรือรังผึ้ง) หรือ Impregnation และเคลือบผิวด้วยโฟมโพลียูรีเทน (Ceramic Foam body) ซึ่งคุณสมบัติของวัสดุที่ ได้จากวิธีการผลิตทั้งสองแบบ สามารถปรับแต่ง MM
ได้ด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น โครงสร้างจุลภาค พื้น ผิวสัมผัสระหว่างวัสดุทั้งสองประเภท ค่าลักษณะ เฉพาะทางกลในสภาวะ Dynamic และ Static รวมทั้งความเร็วของแรงกระท�า
คุณลักษณะด้านความแข็งแรง และ ความยืดหยุ่นของโลหะผสมที่ปรับแต่งได้
ขอบเขตงานด้านการพัฒนาโลหะมุ่งเน้นไปที่ การพัฒนาคุณสมบัตขิ อง Austenite ในโลหะหล่อ ผสม CrMnNi/TRIP–Effect ซึ่งเป็นวัสดุส�าหรับ การพัฒนาวัสดุผสมระหว่างโลหะและเซรามิค ซึ่งรวมถึงการหลอมละลาย การผสมผสาน และ กระบวนการทางความร้อน รวมทัง้ การตรวจสอบ คุณสมบัติทางกลด้วยการทดสอบแรงดึง (Tension Test) การทดสอบแรงอัด (Compression
Machine Tools & Metalworking / September 2014
71
CONSTRUCTION | MATERIAL
ควำมเครียด (Strain) (%)
กระบวนการหล่อ
รูปที่ 4: ค่าความเครียด ของโลหะผสม 3 ชนิด เคลื่อนผ่านค่าสูงสุด ซึ่ง เลื่อนไปทางด้านอุณหภูมิ ต�่าตามอัตราส่วนของ Ni อุณหภูมิ (oC)
ก็ ดี โ ลหะที่ ผ ่ า นกระบวนการรี ด ก็ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ คล้ายคลึงกับโลหะที่ผ่านกระบวนการหล่อ โดยที่ ระดับอุณหภูมิจนถึง -196°oC จะมีค่าความเครียด ประมาณ 10 และ 60 เปอร์เซ็นต์ [4] จุ ด ที่ เ ป็ น ที่ ส นใจต่ อ ไปก็ คื อ อิ ท ธิ พ ลของ ปริมาณฟอสฟอรัสที่มีต่อคุณสมบัติการซึมทะลุ (Infiltration) ซึ่งในเอกสารอ้างอิง [5] ได้อธิบาย อิทธิพลเชิงบวกของฟอสฟอรัส 1 ถึง 2 Ma.-% ใน โลหะผสม 16–7-6 ต่อคุณสมบัติการซึมทะลุ โดย ไม่มีผลกระทบต่อคุณสมบัติทางกลและ TRIP– Effect ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่พิสูจน์แล้วว่า สามารถ ผลิตชิ้นงานหล่อที่มีความบางและมีโครงสร้างที่ ซับซ้อนได้จากผสมแบบใหม่ที่ได้จากเหล็กกล้า TRIP ที่ทนทานต่อการกัดกร่อน
ควำมดัน (MPa)
ระยะเวลาการเผาผนึกแบบ (SPS) ที่สั้น ส่งผลชิงบวกต่อคุณลักษณะทางกล
รูปที่ 5: ในขณะที่มีแรง กดกระท�า เสถียรภาพ ของ Mg – PSZ จะส่งผล เชิงบวกต่อคุณสมบัติทาง กลของวัสดุผสม (โลหะ 1.4301, อัตราการกดอัด 0.0004 1/s) อัตรำกำรกดอัด
Test) ในช่วงอุณหภูมิกว้างๆ นอกจากนั้นยัง ท�าการทดสอบพื้นฐานเพื่อตรวจสอบปริมาณการ เกิด TRIP-Effect และพัฒนาแบบจ�าลองของ กระบวนการดังกล่าวเพื่อใช้ท�านายผลต่อไป นอกจากการทดสอบข้างต้นแล้ว ยังได้มีการ ทดลองกับโลหะผสม 15 แบบด้วยอัตราส่วน Cr คงที่ 16% และปรับอัตราส่วน Ni (3, 6 และ 9%) และ Mn (0, 7 และ 14%) โดยในรูปที่ 3 จะเป็นกราฟทีแ่ สดงค่าความเครียด (Strain) และ ความเค้น (Stress) ของโลหะผสมภายใต้อุณหภูมิ ห้องที่ทีมวิจัยใช้เป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์ต่อไป ได้แก่ 16% Cr, 7% Mn, 3% Ni (16–7–3) 16% Cr, 7% Mn, 6% Ni (16–7–6) และ 16% Cr, 7% Mn, 9% Ni (16–7–9) ซึ่งโลหะผสมเหล่านี้ ได้แสดงผลออกมาทัง้ ในลักษณะความแข็งแรงสูง ในขณะที่มีค่าความยืดหยุ่นต�่า ความแข็งแรงและ ค่าความยืดหยุ่นปานกลาง และความแข็งแรงต�่า ในขณะที่มีค่าความยืดหยุ่นสูง 72 MM
การค้นคว้าจากเอกสารอ้างอิง [4] ได้แสดง ให้ เ ห็ น ว่ า โลหะผสมแบบใหม่ ไม่ ว ่ า จะผ่ า น กระบวนการหล่อหรือการรีด ต่างก็มีลกั ษณะของ ค่าความเครียดและความเค้นทีค่ ล้ายคลึงกัน จะมี ก็เพียงในบริเวณที่ค่าความเครียดต�่าเท่านั้น (ไม่ เกิน 1 เปอร์เซ็นต์) ทีโ่ ลหะ 16–7–6 และ 16–7–9 ที่ผ่านการรีดมีค่า Upper Yield Point ที่เด่นชัด ตรงข้ามกับเหล็กกล้าอัลลอยสูงทั่วไป นอกจาก นั้นในการทดสอบโลหะผสมด้วยการกดอัด แบบ ที่ผ่านการหล่อและการรีดก็มีผลการทดสอบที่ คล้ายคลึงกัน ในรู ป ที่ 4 จะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ปั จ จั ย ของ อุณหภูมมิ ตี อ่ คุณลักษณะทางกล ซึง่ สัมพันธ์กบั ค่า ความเครียดของโลหะผสมพืน้ ฐาน 3 ประเภท โดย จะเห็นได้ว่าค่าความเครียดของตัวอย่างทั้งหมดมี ค่าสูงสุด โดยในกรณีที่ Ni มีปริมาณเพิ่มขึ้น ค่า สูงสุดจะเลือ่ นเข้าสูบ่ ริเวณทีม่ อี ณ ุ หภูมติ า�่ พร้อมกับ มีระดับความเครียดในภาพรวมเพิม่ ขึน้ แต่อย่างไร
Machine Tools & Metalworking / September 2014
การผลิ ต วั ส ดุ จ ากกระบวนการ Powder Metallurgy ด้วยการใช้ผงโลหะทีห่ ล่อผสมขึน้ เอง หรือโลหะตามท้องตลาดเป็นวัสดุหลักและผสม Mg-PSZ ตามแบบท้องตลาด 5 หรือ 10 Vol.-% ภายใต้อุณหภูมิของกระบวนการ Hot Pressing ระหว่าง 1,200 ถึง 1,250 องศาเซลเซียส จะ ช่วยให้สามารถผลิตวัสดุผสมที่มีคุณลักษณะทาง กลที่เหมาะสมได้ [6] การโตของเกรน (Grain growth) ขึ้นอยู่กับ กรรมวิธี และระยะเวลาของกระบวนการเผาผนึก โดยจะท�าปฏิกริ ยิ าทีส่ อดคล้องกับอัตราความร้อน สูงและระยะเวลาการเผาผนึกสั้น ส่งผลเชิงบวก ต่อคุณลักษณะทางกล เช่น ความทนทานต่อแรง กดอัด (Compressive Strength) ตามรูปที่ 5 นอกจากนั้นกระบวนการ SPS ยังช่วยให้พื้นผิว ระหว่างวัสดุทั้งสองประเภทมีการเชื่อมต่อกัน อย่างเหมาะสม [2 และ 7] พื้นผิวระหว่างโลหะและอนุภาค ZrO2 คือ ปัจจัยส�าคัญในการส่งผ่านแรงระหว่างวัสดุทั้ง สองประเภท ซึ่ ง หลั ก การทางทฤษฎี แ ละการ ค้นคว้าบนพื้นฐานของ Thermodynamic โดย ใช้ซอฟต์แวร์ Calphad (Computer Coupling of Phase Diagrams and Thermochemistry) ซึง่ ข้อมูลได้ถกู พัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสมกับการ ค�านวณ Phase Diagram ของเหล็กกล้าอัลลอย Austenite CrMnNi ในสถานะสมดุล [8 และ 9] นอกจากนัน้ ยังได้มกี ารค้นคว้าอย่างละเอียด ทัง้ ใน ทางทฤษฎีและการทดลองที่แสดงให้เห็นถึงความ เป็นไปได้การสร้างพื้นผิวที่เหมาะสม [10] ในแง่มุมของเซรามิคนั้น ขีดความสามารถใน
MATERIAL | CONSTRUCTION
ก็เป็นสิ่งที่ช่วยยืนยันได้ถึงผลที่รับมาจากแบบ จ�าลอง [15] ผู้แต่งขอขอบคุณสมาชิกของทีมวิจัยพิเศษ 799 ทุกท่าน ที่ท�าให้งานวิจัยนี้เกิดผลเชิงบวก ส�าหรับการน�าไปพิจารณาให้ดา� เนินการวิจยั ต่อไป รวมทัง้ ขอขอบคุณ Deutschen Forschungsgemeinschaft (DFG) ทีส่ นับสนุนงบประมาณให้กบั ทีมวิจัยในครั้งนี้ด้วย MM
รูปที่ 6: ชิ้นงานทดลองจากวัสดุเหล็กกล้า TRIP ผสมเซอร์คอนเนียมไดออกไซด์ที่ถูกผลิตด้วยวิธี Powder Metallurgy (การขึ้นรูปด้วยโลหะผง) รูปแบบต่างๆ: รังผึ้ง 64 (a) และ 196 cpsi (b) ชิ้นงานตากแห้งภายหลังการดันขึ้นรูป (c) ผ่าน กระบวนการ Sintering และปรับแต่งรูปทรง (d) กระบอกอัดขนาดกะทัดรัด (e) แบบแท่ง (f)
การเปลี่ยนโครงสร้างของ ZrO2 ที่มีเสถียรภาพมี ความส�าคัญต่อคุณสมบัตขิ อง ZrO2 และการท�าให้ ZrO2 มีเสถียรภาพด้วย MgO ก็เป็นปัจจัยที่มี ความส�าคัญต่อคุณสมบัติของวัสดุผสม เนื่องจาก มีความเป็นไปได้ในการเกิด Spinel กับโลหะ โดย ในบางสายการผลิตพบว่าการมีเสถียรภาพของ ZrO2 ได้รับอิทธิพลมาจาก Diffusion ของ Mg จาก ZrO2 อย่างชัดเจน การใช้โลหะ CrMnNi ที่ทางทีมวิจัยได้พัฒนาขึ้นนั้น ได้เกิด Diffusion ของ Mn ไปยัง ZrO2 ซึ่งได้น�าไปสู่เสถียรภาพ บางส่วนของ ZrO2 ส่งผลให้ในปัจจุบันนี้เป็นที่ เชื่อกันว่าสามารถเกิด Mn และ Mg ที่มีความ เสถียรในวัสดุผสมได้ [11] อย่างไรก็ดีก็ต้องค�านึง ว่า จนถึงปัจจุบนั นีย้ งั ไม่มกี ารค้นคว้าทดลองระบบ เซรามิค ZrO2 – MnO ในเชิง Thermodynamic อย่างเพียงพอ ดังนั้นจึงท�าให้มีความจ�าเป็นที่ทาง ทีมวิจัยจะต้องด�าเนินการทดลองในขั้นที่ 2 ต่อไป
ส่วนประกอบเซรามิคช่วยเพิ่มค่า Yield Point ของโลหะเมื่อถูกแรงกด
การผสมผสานผลการวิจัยการซึมทะลุ (Infiltration) ของโครงสร้างระดับจุลภาคของเซรามิค ช่วยแก้ปัญหาการผลิตต่างๆ ลงได้มากและก่อให้ เกิดแนวความคิดในการสร้างเครื่องจักรแบบใหม่ ซึ่งช่วยให้สามารถท�าการทดลองการซึมทะลุที่ ความดัน Overpressure 16 Bar ภายใต้ความ ดันบรรยากาศของก๊าซเฉื่อยแบบต่างๆ ได้ และ การทดลองแรกส� า หรั บ ก� า หนดค่ า คุ ณ ลั ก ษณะ ทางกลท�าโดยโฟม Infiltrated ผลการทดสอบ แรงกดอัด (Compression Test) และความล้า (Endurance and Fatigue Test) ที่ได้ก็ช่วยให้ ทราบถึงอัตราส่วนของโลหะที่เหมาะสมและค่า ความต้านทานแรงอัดสูงสุด โฟม Infiltrated ของโลหะผสม 16–7–6 มี ค่าจุดคราก (Yield Point) สูงกว่าโลหะธรรมดา ประมาณ 25 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากจ�านวน รูพรุน 30 หรือ 50 ppi (Pores Per Inch) ของ
ส่วนประกอบเซรามิคไม่มีผลต่อค่าความต้านทาน แรงกดอัด [12] อย่างไรก็ตามความยืดหยุ่นก็มีค่า ลดลงอย่างมาก แต่กเ็ ป็นสิง่ ทีย่ อมรับได้ เนือ่ งจาก การเลือกใช้วสั ดุชนิ้ งานทดลองนัน้ เป็นการใช้งาน ที่ต้องทนทานต่อการสึกหรอ (รูปที่ 7) ในระหว่างการวิจัยนี้ ก็ได้มีการวิเคราะห์ กระบวนการซึมทะลุของโครงสร้างโฟมเซรามิค แบบ Thermofluiddynamic ควบคู่ไปด้วย ทั้งใน ส่วนของ Fluid และ Temperature Field ของ โลหะเหลว และ Temperature Field ภายใน โครงสร้างเซรามิคด้วยแบบจ�าลอง CFD รวม ทั้งกระบวนการถ่ายเทความร้อนระหว่างโลหะ เหลวกั บ เซรามิ ค และการมองย้ อ นกลั บ จาก กระบวนการดังกล่าวไปสู่โลหะเหลวในระหว่าง การหล่อโลหะ [14] โดยรูปทรงเรขาคณิตของ โฟม ZrO2 ส�าหรับวัสดุผสมเหล็กกล้า TRIP ทีผ่ า่ น กระบวนการซึมทะลุได้ถูกวิเคราะห์ด้วยวิธีการ ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งโครงสร้าง 3 มิติที่ซับซ้อนนี้ เหมาะสมทีจ่ ะใช้วธิ กี าร Finite–Element และการ พัฒนาก็ชว่ ยให้สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พารามิเตอร์ทางด้านเรขาคณิตของโครงสร้างโฟม (ส�าหรับอนุภาคของเนื้อเหล็กกล้า TRIP ผสม) และคุณสมบัติทางกลด้วยการสร้างแบบจ�าลอง ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ In–Situ ในคอมพิวเตอร์
รูปที่ 7: โฟมเซรามิคก่อน (ด้านล่าง) และหลังกระบวนการ Steel Infiltration (ด้านบน) โดยความพรุนก่อนผ่าน กระบวนการ 60 ppi
MM
เอกสำรอ้ำงอิง [1] Weigelt, C., at al.: Adv. eng. mat., Bd. 12, Nr. 6, pp. 486-492, 2010. [2] Martin, S., at al.: Steel res. int., Bd. 82, Nr. 9, pp. 1133-1140, 2011. [3] Jahn, A., at al.: Adv. eng. mat., ESOMAT 2009, DOI:10.1051/ esomat/200905013, 2009. [4] Jahn, A.: Dissertation, TU Bergakademie Freiberg 2011. [5] Jahn, A., at al.: Patent DE 10 2010 026 808.9, 2010. [6] Alexander, G. at al.: XVI International Colloquium Mechanical Fatigue of Metals, Brno, Czech Republic, pp. 119–126, 2012. [7] Kruger, L., at al.: Steel res. int., Bd. 82, Nr. 9, pp. 1017-1021, 2011. [8] Franke, P., at al.: Calphad, Bd. 35, Nr. 1, pp. 148-154, 2011. [9] Bornstein, L.,: Numerical data and functional relationships in science and technology, Group IV, Vol. 19, Eds. Franke, P. Seifert, H. J., Heidelberg: Springer, 2012. [10] Poklad, A., at al.: Steel res. int., Bd. 82, Nr. 9, pp. 985-989, 2011. [11] Franke, P., at al.: Steel res. int., Bd. 82, Nr. 9, pp. 1149-1157, 2011. [12] Glage, A., at al.: Proc. Eng., Nr. 10, pp. 548–555, 2011. [13] Scharfl, W., at al.: Adv. eng. mat., Bd. 13, Nr. 6, pp. 480-486, 2011. [14 Klostermann, J., at al.: Steel res. int., Bd. 82, Nr. 9, pp. 1113-1121, 2011. [15] Sieber, T., at al.: Steel res. int., Bd. 82, Nr. 9, pp. 1004-1016, 2011.
Machine Tools & Metalworking / September 2014
73
CONSTRUCTION | MACHINE ELEMENT
การลดขนาดช่วยท�าให้การประกอบ แท่นรองแบบยืดหยุ่น 2 ชั้นง่ายขึ้น การลดขนาดพื้นที่ของ ลิฟท์ เครื่องท�าความเย็นและระบบระบายอากาศ ท�าให้การพัฒนาแท่นรองแบบยืดหยุ่น 2 ชั้นมีขนาดเล็กลง ตามไปด้วย ทั้งนี้เพื่อให้การลดเสียงรบกวนและการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นท�าได้อย่างยืดหยุ่น และสามารถติดตั้งใช้งานได้ง่าย แม้ว่า จะอยู่ในพื้นที่ที่ขนาดที่ค่อนข้างจ�ากัด เรื่อง: Christopher Paul แปล/เรียบเรียง: ชูพงษ์ วิรุณหะ
เ
ครื่องท�ำควำมเย็น ลิฟท์ ระบบระบำยอำกำศ ต่ ำ งก็ ท� ำ ให้ เ กิ ด เสี ย งและแรงสั่ น สะเทื อ นขึ้ น มำ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องหำอุปกรณ์ที่ดีมำช่วยลด กำรเกิดเสียงและกำรสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น โดย เฉพำะเมื่อสถำนที่ตั้งของแหล่งก�ำเนิดเสียงและ แรงสั่นสะเทือนอยู่ใกล้หรืออยู่ภำยในบริเวณห้อง
ตรวจวัดที่ต้องกำรควำมแม่นย�ำสูง ห้องท�ำงำน และห้องเก็บเสียง ซึง่ ในกรณีนี้ กำรใช้แท่นรองรับ แบบยืดหยุ่นสองชั้นจะเป็นทำงเลือกที่เหมำะสม มำก แต่เนือ่ งจำกเหตุผลด้ำนรำคำและขนำดท�ำให้ อุปกรณ์ดังกล่ำวนี้ไม่ได้ถูกเลือกมำใช้งำนอยู่บ่อย ครั้ง ดังนั้น บริษัท BBM Akustik Techno-
รูปที่ 1: โครงสร้ำงที่แข็งแรงของคำนรองรับที่ใช้กับเครื่องท�ำควำมเย็นจะช่วยกระจำยแรงกดและปรับสมดุลกำรดูดซับแรงสั่น สะเทือนได้ดี โดยที่ด้ำนล่ำงจะใช้แท่นรองรับแบบยืดหยุ่น 2 ชั้น 74 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
logie ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตทีอ่ ยูใ่ นเมือง Planegg ประเทศ เยอรมนี จึงได้ทำ� กำรลดขนำดของแท่นรองนีเ้ พือ่ ตอบสนองควำมต้องกำรและลดอุปสรรคในใช้งำน ดังกล่ำว (รูปที่ 1 และรูปที่ 2)
อุปกรณ์ที่มีพลังในตัว ต้องท�าการติดตั้ง และรองรับอย่างถูกต้อง
สถำนทีท่ ำ� งำนและโรงงำนทีท่ นั สมัย ตลอดจน โรงแรมและบ้ำนพักอำศัยขนำดใหญ่ มักจะมีกำร ติดตั้งลิฟท์เพื่อให้เกิดควำมสะดวกในกำรขึ้นลง มีกำรติดตั้งเครื่องท�ำควำมเย็นและระบบระบำย อำกำศเป็นอุปกรณ์มำตรฐำน ซึ่งระบบเหล่ำนี้ ส่วนใหญ่จะต่อพ่วงอยู่กับอุปกรณ์ที่มีพลังงำนใน ตัว โดยขณะที่ท�ำงำนจะมีกำรสั่นสะเทือนและมี เสียงเกิดขึ้นจำกชิ้นส่วนของอุปกรณ์ ท�ำให้พื้นที่ ที่อยู่โดยรอบถูกรบกวน โดยเฉพำะห้องตรวจวัด ที่ต้องกำรควำมเงียบและควำมแม่นย�ำสูง หรือ แม้แต่ห้องท�ำงำนและโรงภำพยนตร์เองก็เช่นกัน ดังนั้นอุปกรณ์ที่มีพลังงำนดังกล่ำวนี้จึงต้องมีกำร ติดตั้งและรองรับอย่ำงถูกต้อง กำรป้องกันกำรสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และอุปกรณ์ต่ำงๆ ส่วนใหญ่จะใช้กำรรองรับแบบ ยืดหยุ่นระบบ Spring-Damper รวมไปถึงเสียง ที่เกิดจำกกำรสั่นสะเทือนของวัตถุ ซึ่งกำรใช้ตัว รองรับแบบยืดหยุ่นชั้นเดียวอำจจะไม่เพียงพอ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องใช้กำรรองรับแบบยืดหยุ่น สองชั้นที่มีประสิทธิภำพสูงกว่ำ ส่วนกำรลดเสียง แบบธรรมดำที่ต้องมีแท่นรองรับที่ท�ำจำกซีเมนต์ นั้น ก็สำมำรถตัดออกไปได้ถ้ำใช้แท่นรองแบบ ยืดหยุ่นสองชั้นนี้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซี รี ย ์ KSD ของบริ ษั ท BBM Akustik Technologie ซึ่งจัดจ�ำหน่ำยโดยบริษัท Sahlberg ก็มปี ระสิทธิภำพดีสำ� หรับกำรใช้งำนดัง
MACHINE ELEMENT | CONSTRUCTION
รูปที่ 2: ด้วยการลดขนาดความสูงและแรงกดขั้นต�่าลง ท�าให้แท่นรองรับแบบยืดหยุ่น 2 ชั้นแบบใหม่สามารถน�าไปใช้งานได้ หลากหลายขึ้น
กล่าว โดยเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้แท่นรองรับ แบบยืดหยุ่นชั้นเดียว อุปกรณ์ที่ผลิตโดยบริษัท BBM Akustik Technologie สามารถลดการ กระจายเสียงของวัตถุไปยังสิ่งก่อสร้างรอบด้าน ได้ถึง 20 dB และไม่จ�าเป็นต้องใช้ชิ้นส่วนที่ท�า จากซีเมนต์แทรกระหว่างกลาง ส่งผลให้ความสูง ของชิ้นส่วนลดลง และน�้าหนักชิ้นส่วนที่น้อยกว่า นั้นก็ยังท�าให้การประกอบสามารถท�าได้เร็วขึ้น ด้วย เนื่องจากการรองรับแรงจากด้านบนและ ด้านล่างของผลิตภัณฑ์ซีรีย์ KSD นั้นจะใช้วัสดุ ประสม Polyurethane Elastomer Sylomer ซึ่ง จะท�าหน้าที่เสมือนกับเป็นสปริงที่รับแรงกด ส่วน ชัน้ กลางทีแ่ ทรกอยูจ่ ะวัสดุชนิ้ มวลทีม่ นี า�้ หนัก และ มีแผ่นเหล็กชุบสังกะสีด้วยความร้อนติดตั้งอยู่ที่ ด้านบนสุดท�าหน้าที่กระจายแรงกด
ขนาดและราคา เป็นอุปสรรคส�าคัญ ส�าหรับการน�าไปใช้งาน
ผลิตภัณฑ์รุ่นที่บริษัท BBM Akustik Technologie ผลิตในขณะนี้ ประกอบด้วยขนาดที่แตก ต่างกัน 7 แบบส�าหรับการรับแรงที่มีความแตก ต่างกัน โดยสามารถรับแรงกดสูงสุดได้ถงึ 20,000 N ต่อหนึง่ ก้อน ทนทานน�้ามัน ไขมัน และความชืน้ สูง ใช้งานได้ตั้งแต่อุณหภูมิ -20 ถึง70 องศา เซลเซียส และสามารถติดตั้งใช้งานภายนอกได้ ข้อจ�ากัดประการหนึ่งส�าหรับระบบท�าความ เย็นและระบบระบายอากาศที่ได้มีการออกแบบ ไว้แล้วก็คือ การหาวัสดุกันเสียงที่เหมาะสมมาใช้ งาน ซึ่งในกรณีนี้จ�าเป็นต้องวางแผนล่วงหน้าไว้ ให้ดีก่อน เพราะถ้ามีพื้นที่ที่เพียงพอส�าหรับการ วางฐานระบบปรับอากาศ โครงสร้างที่แข็งแรง ของส่วนฐานนั้นจะช่วยกระจายแรงและสามารถ
ติดตั้งอุปกรณ์ KSD ได้ง่าย แต่ถ้าหากไม่ได้เป็น เช่นนั้นก็สามารถติดตั้งอุปกรณ์ไว้ใต้จุดเชื่อมต่อ ที่มีระยะห่างกันมากๆ หรือวางไว้ระหว่างกลาง ก็ได้ แต่เนื่องจากการประกอบชิ้นส่วนในลักษณะ นี้ส่วนใหญ่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า ท�าให้ ชิน้ ส่วนอุปกรณ์อาจมีขนาดใหญ่เกินไปและจ�านวน ทีใ่ ช้ตอ่ การติดตัง้ ก็อาจท�าให้มรี าคาโดยรวมทีแ่ พง เกินไป นอกจากนั้นแรงกดขั้นต�่าที่ต้องใช้ก็จัดว่า สูงเกินไปด้วย แต่ในทางกลับกัน หากไม่มีการใช้ อุปกรณ์รองรับแบบยืดหยุ่น 2 ชั้นที่มีคุณภาพนี้ เสียงรบกวนที่เกิดขึ้นก็ไม่สามารก�าจัดไปได้อยู่ดี เพื่ อ แก้ ไ ขสิ่ ง ต่ า งๆ เหล่ า นี้ บริ ษั ท BBM Akustik Technologie กับบริษัท Sahlberg จึง ได้รว่ มมือกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนึ้ ใหม่ โดยพยายาม ลดขนาดของผลิตภัณฑ์และท�าให้มีความสูงน้อย ลง รวมทัง้ ลดแรงกดขัน้ ต�า่ ทีร่ องรับและออกแบบ ให้มีรูปทรงที่หลากขึ้นด้วย ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ KSD มีขนาดกะทัดรัดขึ้นและมีราคาที่ถูกลง โดย มีการผลิตออกมาจ�านวน 5 รุ่น ซึ่งในกรณีที่ยังไม่ ได้แรงกดจะมีขนาด 140x140x96 มิลลิเมตร โดย แต่ละก้อนจะรองรับแรงได้ 8 KN จากการปรับเปลี่ยนขนาดและความสามารถ ในการรับแรงขั้นต�่า ท�าให้ง่ายต่อการน�ามาใช้กับ ระบบเครือ่ งท�าความเย็นและระบบระบายอากาศ ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายขอบเขตการน�า แท่นรองรับแบบยืดหยุ่น 2 ชั้นไปใช้งานได้หลาย หลายมากขึน้ รวมทัง้ การน�าไปใช้ในพืน้ ทีท่ มี่ จี า� กัด ก็สามารถลดแรงสั่นสะเทือนและเสียงรบกวนได้ เป็นอย่างดี และในงาน Chillventa ที่เป็นการจัด แสดงระบบเครื่องท�าความเย็นและปั๊มความร้อน ที่เมือง Nuernberg ก็ได้มีการน�าไปสาธิตให้เห็น ประสิทธิภาพแล้ว MM
PRODUCTS & DEPLOY
YAG Laser Cutting Machine Model : MK3015
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ขอบ Table เป็นสเตนเลส เพิ่ม Stainless Roller Ball มากขึ้น ทั้งด้าน หน้าและด้านข้างของเครื่อง Speed Cutting มากกว่าเดิม Controller & Electrical Controller ท�าเป็น Body เดียวกัน สามารถ Operate เปลี่ยนค่า การตัดได้ที่ Touching Screen ได้ทันที ไม่ ต้องต้องเดินไปปรับ ทีด่ า้ นหลัง เหมือนรุน่ เดิม Cutting Head หัวตัดมีการปรับปรุง อุปกรณ์ ภายใน ให้ปรับได้ง่ายขึ้น อุปกรณ์ภายในของตัวสะท้อน และก�าเนิดแสง มีการปรับให้ม ี การปรับเปลีย่ น ให้แก้ไขได้งา่ ย ขึน้ ต่อการ Adjustment และ Maintenance
WIRE CUT Model: AWT6S (WINDOWS BASED) High performance wire cut EDM completed with Automatic wire threading and Re-threading system. Windows Based control unit combined with Special designed intelligent ignition control circuit is excellent for machining various work piece materials, with both Thick & Thin plate.
7. 8. 9.
อุ ป กรณ์ สิ้ น เปลื อ งต่ า งๆเหมื อ นเดิ ม เช่ น Nozzle, Lens, Protective Lens, Di Water Program ในเครื่องเหมือนเดิม มีไฟ LED ส่องบนผิวชิ้นงานขณะตัดงาน
For more information HINOMOTO INSTREMENTS CO.,LTD. Tel : 0-2717-8190-1 Hotline : 086-888-9914 E-mail : office@hinomoto.co.th Website : www.hinomotogroup.com
For more information : SIAM ELMATECH CO., LTD. Tel : +66 (0) 2159 6391-3 E-mail : UKOFSET@KSC.TH.COM Website : www.siamelmatechgroup.com
SUMIBORON One-use Wiper Inserts WG Type /WH Type/W Type • SUMIBORON one-use insert with wiper flat for Hardened Steel machining. • Excellent surface finish similar to grinding • Improved efficiency with higher speeds and feeds • New lineup includes WG type for low-feed cutting and WH type for high-feed cutting. For more information : SUMITOMO ELECTRIC HARDMETAL MANUFACTURING (THAILAND) LTD. Tel : 0-3857-1940-5 Fax : 0-3857-1948-9 E-mail : sht-sales-gr-ml@list.sei.jp Website : www.sumitool.com 76 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
PRODUCTS & DEPLOY
SEAL GBS 01 Hydraulic and Pneumatic Seal • The highest standards in seal making machine at Global Seal Workshop. • Hydraulic Seals, Pneumatic Seals, Oil Seals, O-Rings • Can lathe seals from the smallest size of ID10 mm. diameter up to OD 300 mm. • Excellent in quality control and monitoring production process
INA Radial insert ball bearings (RIBB)
ตลับลูกปืนพร้อมเสื้อส�าเร็จ INA เป็นตลับลูกปืนชนิดเม็ดกลมแถวเดียว ที่ได้รับการออกแบบและ ผลิตตามมาตรฐานเยอรมัน มีให้เลือกหลากหลาย เช่นแบบหลังโค้ง หรือ หลังตรง ทั้งซีลที่ความแตก ต่างกันถึง 6 ชนิด และวิธีการสวมกับเพลาที่มีให้เลือกทั้งแบบลูกเบี้ยวล็อค แบบสกรูจิกเพลา หรือแบบ ปลอกสวมอัดพร้อมแป้นเกลียว ตัวเสื้อมีหลากหลายทั้งแบบเหล็กหล่อหรือเหล็กแผ่นที่เน้นความกะทัดรัดและน�้าหนักเบา ด้วย คุณสมบัติพิเศษดังกล่าวท�าให้ตลับลูกปืนพร้อมเสื้อส�าเร็จของ INAเป็นตลับลูกปืนที่มีความหลากหลาย เหมาะสมกับงานของท่าน เพื่ออายุการใช้งานที่ยาวนาน และไม่มียี่ห้ออื่นทดแทนได้
For more information : บริษัท พี. เอส.เอ็ม. แบริ่ง จ�ำกัด P.S.M. BEARING CO.,LTD. 88 หมู่4 ซ.ชัยพฤกษ์18 (พิทักษ์ธรรม) ถ.ชัยพฤกษ์ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 For more information : Tel : 0-2882-2888, 0-2882-2188 Fax : 0-2882-1088, 0-2886-7055 GLOBAL SEAL CO., LTD. Tel : 0-2591-5256-7 Fax : 0-2953-8461 E-mail: psm_service@psmbearing.com Website : www.psmbearing.com Website : www.globalseal.co.th
Veritcal Machining Center Linear Guideways Type The machine AQ series is developing for the demand of high performance cutting, fitted with generously sized guideways and equipped with a mechanical, two steps direct spindle head as standard which is directly coupled to the precision spindle.
Feature:
• Used the ultra-heavy load, high accuracy and low friction coefficient with 0.003 – 0.005 roller linear guide ways, provides the high keen dynamic performance, energy consumption at least 40% can be saving.
• Every major contact surface, are all scrapped by excellent skill. Ensure the geometric accuracy in top level and satisfy customer’s are made by best quality. • All major parts such as machine bed and column, are made by best quality MEEHANITE casting to ensure stability of machine. For more information : ONI INTERTRADE CO., LTD. Tel : +66 (0) 2750 8525 Fax : +66 (0) 2750 8526 E-mail : oni.intertrade@gmail.com Website : www.oni-cuttingtools.com MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
77
PRODUCTS & DEPLOY
Simple measuring tools for internal threads Although having the same specification with standard gauge, they are differently named as “simple measuring tools for internal threads, SMT/SMTD” because some specifications are specially modified for their own. • In such important factors on thread measuring as “Simple PD tolerance”, “Pitch tolerance” and “ Half angle tolerance”, they have same specification with that of thread plug gauge. SMT/SMTD, adopting premium HSS, have especially increased their durability. • SMT(GO/NOT-GO) adopts step threads on its thread end, and can reduce inspection labor, and increase inspection efficiency. Color marks help to tell at a glance GO or NOT-GO. GO and NOT-GO are individually available, which leads the cost reduction. • SMTD is a tandem type. Inspection of both GO and NOTGO can be completed through one time inspection. • By adopting cleaning flutes, SMTD can simultaneously complete “cleaning operation” and “simple measuring”. • By attaching SMTD to measuring machine, mechanical measuring becomes possible. • When using SMTD in blind holes, it is necessary to check and compare “threaded length” and “thread length of SMTD”. • By using in parallel the check pins for bored hole size before tapping, you can realize consistent “Reliable Screw Threads”.
For more information : JSR GROUP J.Sri Rung Rueng Impex Co., Ltd. Tel : 0-2327-0351-5, 0-2734-4588 Fax : 0-2327-0356-7, 0-2734-4519-20 C.Dureon Machine and Tools Co., Ltd. Tel : 038-743-414-21, 038-215-726-8 Fax : 038-743-422-3, 038-215-729 Website : www.jsr.co.th 78 MM
Machine Tools & Metalworking / September 2014
‘Asimeto’ High precision measuring instrument.
Asimeto is the manufacturer of high-precision measuring instruments – designed and registered exclusively in German. – This allows us to ensure strict standards of production excellence and reliable technical service for our customers around the world. We have Micrometers, Calipers, Depth & height gauges, Indicator & dial gauges ,Bore gauges & other gauges, Testers and Optical Equipment. And we have : Carbide Endmills, HSS Endmills ‘Speed Tiger Precision Tools’ HSS. HSS-Co, Carbide Drills ‘Izar Cutting Tools’ Machine Taps, Reamers ‘JMC Precision Cutting Tools’ Center Drills, Spot Drills, CounterSink, CounterBore, Drills Chuck, Holder and Others Small Precision Turning Part ø0.5 – 20.0 mm. ‘NBT’ Engineering Adhesives ‘Permabond’ For more information : Nobletec Engineering Co., Ltd. 424/23-24 Kanchnapisek Rd., Dokmai, Prawet, Bangkok 10250 THAILAND Tel : +66 (0) 2138 2962-5 Fax : +66 (0) 2138 2966 E-mail : nobleeng@ksc.th.com
TOOLNET (THAILAND) CO., LTD. Tel : 0-2736-2381-4 Fax : 0-2736-2385 E-mail : info@toolnet.co.th Website : www.toolnet.co.th
Classified Advertisement
งานประมูลเครื่องจักรนานาชาติ
บริษัท Fraeger Antriebstechnik GmbH โรงงาน Altenburg
83 ถนน Leipziger เมือง Altenburg ประเทศ Germany D-04600 วันอังคาร ที่ 8 กรกฎาคม 2014 เริ่ม 10.00 น. ผูผลิตชิ้นสวนสำหรับเกียร มอเตอร ชวงลางยานยนต เพลา และฟนเฟอง ประมาณ 1,000 รายการ (จนถึงปผลิต 2012) ประกอบไปดวย : เตาเผา/อบชุบแข็งอัตโนมัติ IVA KEL 70/95/120-2 ปผลิต 2009; เครือ่ งเจียปกฟนเฟอง CNC REISHAUER RZ 400, KAPP KX 300 P จนถึงปผลิต 2008; เครือ่ งเจาะ CNC TOS, TIANJIN/CHINA ปผลิต 2008; เครื่องกัดลูกกลิ้ง CNC LIEBHERR LC 220 ปผลิต 2004, HURTH-MODUL; เครื่องกัดฟนเฟอง CNC PFAUTER PE 150, PA 320 ปผลิต 2000; เครื่องเจีย CNC GLEASON-PFAUTER P 600/800 ปผลิต 2001; เครื่องขูด CNC HURTH ZX 120 T-CNC, GLEASON-HURTH ZS 150; เครื่องวัดฟนเฟอง WENZEL WGT 350 ปผลิต 2006; เครื่องกลึง CNC ประมาณ 30 เครื่อง ปผลิต 2008 BOEHRINGER, DOOSAN, OKUMA, MAGDE-BURGER, NILES, DAEWOO, MURATA, TAKAMAZ; เครื่องกลึงแกนคู CNC EMAG; เครื่องกลึงแนวตั้ง CNC 8 เครื่อง ปผลิต 2007 RASOMA DS 200, FAMAR PRONTO 5, DOOSAN HP 5500, PUMA VT 900; เครื่องกลึงแกนคู CNC 11 เครื่อง ปผลิต 2008 DOOSAN QL 200 H, QL 300 H, MURATA; CNC Machining Center ประมาณ 8 เครื่อง ปผลิต 2007 MAZAK, NILES, DOOSAN NM 510 HS, DOOSAN MYNX 550, HP 5500, HP 6300, BROTHER, ENSHU JE 60; Machining Center ประมาณ 4 เครือ่ ง KITAMURA MYCENTER-HX 630I; เครือ่ งเจียโคงภายนอก CNC SCHAUDT, PF 43; เครื่องเจียโคงภายนอกและภายใน CNC SCHAUDT CERES 310, BWF SIP 3, GEIBEL & HOTZ RS 600 CC, TACCHELLA 16 RASI-B, SCHAUDT, CERES 330; เครื่องเจียเรียบ CNC SCHLEIFRING/BLOHM K-P 36; เครื่องเจาะรูลึก CNC TIBO, ปผลิต 2012, TBT; เครื่องควานรู HOFFMANN, FORST RISZ 25 x 2000 x 400, VARINELLI; เครื่องเจีย Centerless GILDE-MEISTER; เลื่อยสายพาน; Pillar Drilling Machine; เครื่องกัดและเครื่องกลึงอื่นๆ; Measuring Table; เครื่องวัดรูปทรง 3D MITUTOYO; เครื่องเจีย BWF; เครื่องเซาะรอง RAUSCH; เครื่องอบชุบแข็ง INDUZIONE ปผลิต 2009; เครื่องลับคม SUNNEN; Compressors; รถยก JUNGHEINRICH, LINDE, TOYOTA, CESAB, HYSTER; Hoisting Platform; อุปกรณยก; สิ่งอำนวยความสะดวก; เครื่องมือเครื่องใช เขาชม :
วันเสาร ที่ 5 กรกฎาคม 2014 เวลา 09.00-15.00 น., วันจันทร ที่ 7 กรกฎาคม 2014 เวลา 09.00-17.00 น. และวันประมูล เวลา 08.00-09.45 น.
ตรวจบัญชีรายการประมูลอยางละเอียดไดที่ www.industriewert.de
USB FLASH DRIVE
Tools & Matalworking
Tools & Matalworking
เครื่องจักร
Tools & Matalworking
Tools Tools & Matalworking
JOIN OUR TEAM The Best Machining Seller in Taiwan
Please Contact +66 81-349-9559 มารวมเปนสวนหนึ่งในการขายเครื่องที่ดีที่สุดของไตหวันดวยกัน ONI INTERTRADE CO., LTD.
18/34 Moo 7 Bangna-Trad km.17.5 Bang Chalong, Bangplee, Samutprakarn 10540 Thailand. Phone : +66 (0) 2750 8525 Fax : +66 (0) 2750 8526 E-mail : oni.intertrade@gmail.com Website : www.oni-cuttingtools.com