www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
พัฒนาการผลิตดวยระบบอัตโนมัติ หุนยนตกับความสามารถในการผลิต หุนยนตอัจฉริยะ คัดแยกขยะเหนือมนุษย ไคเซ็น… พลังความคิด สูการปรับปรุงอยางตอเนื่อง
ผูนำระบบควบคุม การจายพลังงานไฟฟาอัตโนมัติ
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
*รายละเอียดเพิมเติม
Hitachi Asia (Thailand) Co., Ltd.
18th Floor, Ramaland Bldg., No. 952, Rama IV Rd, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: 0-2632-9292 Fax: 0-2632-9299 Emai: ice@has.hitachi.co.th URL: http://www.hitachi.co.th
Hitachi Industrial Equipment Systems Co., Ltd.
INVERTER
C
M
Y
CM
NE-S1
WJ200
Economical Inverter with Simple Operation 0.2-4.0kW
Pursuing the Ideal Compact Inverter 0.1-15kW
SJ700B
SJ700
Inverter Designed for Fans & Pumps plus Conveyors 5.5-160kW
High Performance with Many Useful Functions 0.4-400kW
MY
CY
CMY
K
POWERFULL OF DRIVE SYSTEM
PLC
CONTACTOR & BREAKER
MOTOR & BLOWER
C & SLC Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits:
- Highly efficient Mouvex principle design - Seal-less design - Self-priming with strong suction power - Dry-run capabilities - Ideal for low and high viscosities - Clean-in Place (CIP) and Sterilize-in-Place (SIP)
Application:
- Dairy & yogurt - Cereals
- Beverages, wine and beers - glucofe
- Sauces & chocolate - Cosmetics
P Series Rotary Vane Pumps Features and Benefits:
C
- Highly efficient sliding vane techonology - Self-adjusting vanes sustain perfomance - Self-priming - Line stripping capabilities - Dry-run capabilities - Ideal for thin or non-lubricating, viscous, abrasive and corrosive fluids
Application:
- Energy - Pulp & paper
- Food - Bitumen
- Biofuels
- Chemical
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
A Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits:
- Highly efficient - Exceptional self-priming capabilities - No adjustments required - Transfers viscous, non-lubricating, volatile or delicate fluids
HYGHSPIN DF- Hygienic high-pressure twin screw pumps. Features and Benefits:
- Differential pressures up to 50 bar - Double-suction pump with 2 product inlets and 1 outlet - Abrasion-free non-contact screws even at high pressure differential - Pumping of aqueous and higly viscous fluids - Hygienic sealing by form rings — no dead spaces - FDA approved elastomers in different qualities
Application :
- Beverage industry - Bakery products - Breweries - Confectionery - Delicatessen industry - Dairies & milk industry - Cosmatics & pharmaceuticmls - Cottage cheese - Cream
Application: - Asphalt - Fuel
- Paint & coating - Solvents
- Heavy fuel oil - Emulsions
- Inks & glues - Molasses
ABAQUE™ Series Peristaltic Hose Pumps Features and Benefits:
- Seal-less design - Reversible pump - Dry-run capabilities - Self-priming capabilities
Application:
- Chemical processing - Industrial water treatment - Municipal water treatment - Mining
- Food - Paints and coatings - Ceramics - Filter press equipment
COPCO CHEMTECH CO., LTD.
89/76 RK Park, Hathairat Rd., Bangchan, Klongsamwa, Bangkok 10510, THAILAND Tel. : +66(0) 2171-5391-2 (Auto), 081-700-8756 Fax. : +66(0) 2171-5287 , +66(0) 2548-7323 E-mail : coct@copcochemtech.co.th Website : www.copcochemtech.co.th
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
AIR COMPRESSORS AIR DRYER MICROFILTERS เซาทเทิรน ครอส | เครื่องอัดลม | เครื่องทำลมแหง | เครื่องกรองลมใหสะอาด อีกหนึ่งผลิตภัณฑคุณภาพสูงจาก ประเทศออสเตรเลีย
W21-CAST IRON FRAME-HIGH EFFICIENCY-IE2 -
Output: 0.12 up to 330KW Frame: 63 up to 355M/L Class F insulation (temp rise B) Continuous duty: S1 Regreasing nipple from frame 225S/M and above - Thermistors (1 per phase) fitted in frame 160 and above - Suitable for inverter duty application
HGF Motor: High Performance / Low Maintenance costs -
Output: 90KW to 3150KW Frame 315 to 630 Voltage: 380 to 6600V. Class F insulation (temp rise B) Degree of protection: IP55 Cooling Method: TEFC IC411 Thermal protection: Windings: 3-wire PT-100, 2 per phase Bearings: 3-wire PT-100, 1 per bearing
C
M
Y
CM
SOUTHERN CROSS SCREW AIR COMPRESSORS
บริการออกแบบระบบลมอัดที่แหงสะอาดบริสุทธิ์สำหรับ เครื่องคัดแยกสีเมล็ดขาว อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมทั่วไป
-
บริการบำรุงรักษา ฉุกเฉิน 24 ชม. ทุกวัน พรอมมีอะไหลของแทจากโรงงานผูผลิต - ขาย - เชา - สัญญาบริการรายป - ตรวจซอม - อะไหลของแททุกยี่หอ
เปนเครื่องอัดลมแบบโรตารี่สกรูขับโดยตรง ไมมีชุดเกียร ขนาดมอเตอร 3 - 540 แรงมา หรือ 2 - 400 กิโลวัตต ปริมาณลมอัด 9 - 2624 cfm. แรงดัน up to 13 barg ชุดอัดลม Screw 5/6 อายุการใชงานมากกวา 15 ป มอเตอรประสิทธิภาพสูง TEFC IP 55 กันฝุนละออง 100% มีทั้งชนิดหลอลื่นดวยน้ำมันและชนิดไรน้ำมัน Oil Free สามารถทำงานไดดีในสภาพรอนชื้น - ฝุนละอองมาก
เครื่องทำลมแหง “แหงพิเศษ” แบบ Desiccant, PDP-70 oC
MY
CY
CMY
เครื่องทำลมแหง Refrigerated, PDP+3 oC
K
ชุดกรองฝุน ดักน้ำ-น้ำมัน ละเอียด 0.01 Micron/0.001 ppm
INTERGRATED INDUSTRIAL & ENGINEERING CO., LTD. บริษัท อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
1122 ซ.วชิระธรรมสาธิต 57 ถ.สุขุมวิท 101/1 บางจาก พระโขนง กรุงเทพฯ 10260 Tel : 0-2746-3400 (Auto) Fax : 0-2746-4440 E-mail : iieth@truemail.co.th
WEG motors are recognizing as of high reliability motors around the world, it is applied from most simple applications up to process line and crushers M Line Motor: Different Configurations in reference to cooling method and degree of protection - Cast iron frame 280 to 560 / Welded steel plates for frame 630 to 1800 - Sinusoidal power supply of 220 to 13,800 V. - Motor manufactured in 2 to 12 poles - Degree of protection: IP23 to IP55 - Class F insulation (temp rise B) - Thermal protection: Windings: 3-wire PT-100, 2 per phase Bearings: 3-wire PT-100, 1 per bearing
MVW01 Medium Voltage Drive
- Motor voltage: 2.3KV., 3.3KV. or 4.16KV. - Power up to 8000HP (6000KW) - Totally digital with a 32 bit, high performance processor (64 bit busbar) - Removable Man-Machine Interface (LCD/LED) with easy operation double display - Mounted on an IP41 / NEMA 1 panel - Air cooled - 12 Pulse input rectifier (18 or 24 pulse optional); high power factor (>0.96) and high displacement power factor (>0.97) - Optical fibers between power and control - Imposed voltage
Authorized Distributor : Merz (Thailand) Co., Ltd. 555/119 On-Nut Rd., Pravej, Bangkok 10250 Tel : 0-2328-6674 Fax : 0-2328-6678 Email : phornsak@merz-thailand.com
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฏในนิตยสารมีจา� นวนมากและ มีการเปลีย่ นปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถประกาศความ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนที่มีการกล่าวอ้างถึง ในบทความหากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปแล้ว ทาง นิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในนิตยสาร ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com
การสมัครสมาชิก ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ทโี่ ทรศัพท์ 0-2731-119194 ต่อ 103 หรือ อีเมล marketing@mmthailand.com
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร ทีมงานนิตยสารยินดีรบั ฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกีย่ วกับเนือ้ หาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อ และทีอ่ ยูส่ า� หรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิป์ รับแต่ง ถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อได้ทั้งทางจดหมาย ตามทีอ่ ยูข่ องนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาห กรรมและการบริหารธูรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็น บทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิด กรณีการละเมิดลิขสิทธิข์ นึ้ ทางนิตยสารจะไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อความ ผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏในนิตยสารเล่มนี้เป็นความ คิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิด เห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
2014 COPYRIGHT AND TRADEMARK
As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE
You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.greenworld@gmail.com
C
M
Y
CM
MY
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP
You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 27311191-94 ext. 103 of at e-mail address : marketing@mmthailand. com
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR
The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat. greenworld@gmail.com
THE MANIFEST OF COPYRIGHT
The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
Copyright© © Green World Publication Co., Ltd.
CY
CMY
K
CONTENTS 30
JANUARY 2015 VOL.12 No.143
www.mmthailand.com | www.factoryeasy.com
TECHNICAL MATTER 61 PRINCIPLE
MODERN MANUFACTURER
34
COVER STORY
อีโนวาผู้น�าระบบควบคุมการจ่าย พลังงานไฟฟ้าอัตโนมัติ
INTERVIEW
เอสซีจี โลจิสติกส์ เชื่อมั่น พาเลทแบรนด์ NPI ทน คุ้มค่า ออกแบบทุกสภาพการใช้งาน
หุ่นยนต์กับความสามารถในการผลิต
67 GURU
การเคลือบผิว (ตอนที่ 2)
70 WHITE PAPER
การออกแบบและพัฒนาวัสดุทนแรงเสียดทานของ ชิ้นส่วนคลัตช์รถจักรยานยนต์
ผลิตภัณฑ ระบบสงถายกำลัง SKF
73 R&D CORNER
นวัตกรรมการนำากลับเนื้อยางและสารอนินทรีย์ จากกากตะกอนของเสียในอุตสาหกรรมนำ้ายางพารา
HORIZONTAL COMPETENCY 38
40
46
ไคเซ็น พลังความคิด สู่การปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง
การพัฒนาการผลิตด้วยระบบอัตโนมัติ AUTOMATION
จัจับบตาอนาคต อุ ตาอนาคต อุตตสาหกรรมยานยนต์ สาหกรรมยานยนต์ อิอิเเล็ล็กกทรอนิ ทรอนิกกส์ส์ และอาหาร สู และอาหาร สู่ ่ ‘ฮั‘ฮับบอาเซี อาเซียยน’ อย่ น’ อย่าางไร งไร
PRODUCTIVITY BOOSTER
PRODUCTIVITY BOOSTER
INDUSTRIAL TREND
75 ALTERNATIVE ENERGY
หุ่นยนต์อัจฉริยะ: คัดแยกขยะเหนือมนุษย์ Smart Robot: Better Than Human on Waste Sorting
79 BOTTOM LINE
Joint Venture... กิจการร่วมค้า Joint Venture
82 LOGOSTIC DESIGN
โลจิสติกส์และซัพพลายเชนยุค AC ต้อง Localization Logistics and Supply Chain in AC Era Needs Localization
54
57
การอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม แบบยั่งยืน
Wireless Power Transfer สำาหรับการ ประยุกต์ใช้งานอุตสาหกรรมยานยนต์
ENERGY ALEART
ELECTRIC TREND
85 FACTORY 3.0 UP-TO-DATE 24 COMMUNITY UPDATE 28 SITUATION 94 INDUSTRIAL AGENDA SOURCING CORNER 20 SUPPLIERS INDEX 104 PURCHASING CATALOGUES 107 EDITOR’S PICK
16 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การตัดสินใจการลงทุนของภาคเอกชน ในการก่อสร้างหลัง จากเกิดนำ้าท่วมใหญ่ปี 54 Private Sector Investment Decisions in Constructions after Mega Flooding Was Occurred in 2011
88 INDUSTRAIL MARKETING เทรนด์การตลาด 2015 Marketing Trend in 2015
92 REAL TIME
REDMINE ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการสำาหรับองค์กร Redmine: Project Management System Software for Organization
MOTOLOGY (THAILAND) CO., LTD. 55/26 Moo 4 Buengkhamphroi, Lamlukka, Pathumthani 12150 Thailand. Tel : 0-2150-7808-10 Fax : 0-2150-7811 E-mail : sales@motology.co.th Website : www.motology.co.th
เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสำร 0-2769-8120 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com ที่ปรึกษา: ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมการผู้จัดการ: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร: จิรภัทร ข�ำญำติ เลขานุการกองบรรณาธิการ: จิดำภำ แจ้งสัจจำ กองบรรณาธิการ: ณัฐกฤตำ พืชนุกลู , คำวี สุขสำลี, สำวิตรี สินปรุ คอลัมนิสต์: พิชัย ถิน่ สันติสุข, ดร.สิทธิชัย ฝรัง่ ทอง, พิชญ์ รอดภัย, ฉันทมน โพธิพิทักษ์, ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ, นเรศ เดชผล หัวหน้าฝ่ายศิลปกรรม: วรพจน์ บุญเกตุ ฝ่ายศิลปกรรม: กิตติศักดิ์ ม้วนทอง, ธนวัฒน์ เชียงโญ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหารฝ่ายขาย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค ประสานงานฝ่ายโฆษณา: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ายบัญชี: เข็มพร นิลเกษ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ ฝ่ายการตลาดและสมาชิก: สุณิสำ ศิระวัน เว็บมาสเตอร์: เชิดศักดิ์ แก้วอุทัย พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์ 0-2731-1155-60 โทรสาร 0-2731-0936 Owner : Green World Media (Thailand) Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8120 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Secretary: Jidapa Janksatja Editorial Staff: Nutgritta Puechnukul, Kawee Suksalee, Sawitree Sinpru Columnists: Phichai Tinsuntisook, Dr.Sittichai Farangthong, Pete Rotpai, Chantamon Potipituk, Natawudh Pintongkum, Nares Dechpol Art-Director: Worapot Boonyakate Graphic Designers: Kittisak Mounthong, Tanawat Chaingyo, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Khemporn Nilget Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Marketing and Customer Relationship: Sunisa Sirawan Webmaster: Chedsuk Kelwuthai Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์ 0-2769-8120 E-mail: jirapat.greenworld@gmail.com Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
18 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จิรภัทร ข�าญาติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail : jirapat.k@greenworldmedia.co.th Vol.12 No.143 JANUARY 2015
12th ANNIVERSARY MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
MODERN MANUFACTURING สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อคุณผู้อ่านอย่างไม่หยุดยั้ง
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
สวัสดีปีแพะค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน สุขสันต์วนั ปีใหม่ 2558 ค่ะ การเดินทางของปีนี้ เริม่ ต้น ขึ้นอีกครั้งนะคะ เชื่อว่าทุกท่านได้ชาร์จพลังกันอย่างเต็มที่ ในช่ ว งวั น หยุ ด ยาว และพร้ อ มลุ ย งานกั น ต่ อ ที ม งาน MODERN MANUFACTURING ก็เช่นกันค่ะ พร้อมน�า เสนอสิ่งดีๆ สู่คุณผู้อ่านตั้งแต่ต้นปี MODERN MANUFACTURING นิตยสารอุตสาหกรรม รายเดือน น�าเสนอข่าวสารในแวดวงอุตสาหกรรม และสาระ ความรู้ในโรงงานอุตสาหกรรม ครอบคลุมตั้งแต่พื้นฐาน กระบวนการผลิต จนถึงการบริหารและจัดการในโรงงาน อุตสาหกรรม อีกทัง้ MODERN MANUFACTURING ท�า หน้าทีเ่ ป็นคูม่ อื ในการหาข้อมูล เพือ่ ประกอบการจัดซือ้ จัดจ้าง สินค้าและบริการส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ในปีนี้ เรายังคงมุง่ เน้นไปในทิศทางดังกล่าว พร้อมทัง้ สร้างสรรค์ และพัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ โดยมีความพิเศษที่เพิ่มขึ้น นั่นคือ ตั้งแต่ฉบับมกราคม เป็นต้นไป มีคอลัมน์ใหม่ ดังนี้ ENERGY ALEART: รายงานสถานการณ์พลังงานรอบ ด้าน เพื่ออัพเดท น�าไปสู่การวางแผนการบริการจัดการ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
K
เริม่ ต้นด้วยเรือ่ งราวของการอนุรกั ษ์พลังงานในโรงงาน อุตสาหกรรมแบบยัง่ ยืน โดย คุณอัศวิน อัศวุตมางกุร วิศวกร ช�านาญการพิเศษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน ELECTRIC TREND: น�าเสนอเนือ้ หาด้านไฟฟ้าและ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข่ า วสารความเคลื่ อ นไหวในแวดวง อุตสาหกรรมไทย รวมถึงบทความแปลจากต่างประเทศ เพือ่ ให้ ผู ้ อ ่ า นได้ ท ราบถึ ง ความก้ า วหน้ า ของวิ ท ยาการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ อาจารย์ปญ ั ญา มัฆะศร อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยี มีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีเรือ่ งราว ของ Wireless Power Transfer ส�าหรับการประยุกต์ใช้งาน อุตสาหกรรมยานยนต์มาน�าเสนอค่ะ นอกจากนัน้ ในฉบับนีย้ งั เริม่ ต้นการน�าเสนองานดีไซน์ ภายในเล่ม ในรูปโฉมใหม่อกี ครัง้ ค่ะ หากคุณผูอ้ า่ นมีความคิด เห็นหรือต้องการน�าเสนอเรื่องใดเพิ่มเติม ติดต่อมายัง MODERN MANUFACTURING ทีมงานยินดีนอ้ มรับค�า แนะน�า เพือ่ น�ามาพัฒนาและสร้างสรรค์นติ ยสารต่อไปค่ะ
ติดตามความพิเศษได้ตอ่ ไปในฉบับหน้านะคะ
Anya SEESOM , +66 (0) 9 8270 9804
SUPPLIER INDEX | January 2015 หน้า 1, 30-33
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
ข้อมูลบริษัท
บริษัท อีโนวา อินทิเกรชั่น จ�ากัด
0-2967-1379
www.enova.co.th
อีโนวาผู้น�าระบบควบคุมพลังงานไฟฟ้าอัตโนมัติ
โฮฟ คออินดัส บจก.
0-2284-1100
www.hofcorindus.co.th
Hof Hydraulic สินค้าไทย มาตรฐานโลก
นวพลาสติกอุตสาหกรรม บจก.
0-2586-4152
www.windsor.co.th
แพลเลทพลาสติก NPI ทนทาน คุ้มค่า ออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อทุกสภาพการใช้งาน
4
จีทีซี บจก.
0-2651-5551
www.getece.com
“COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENTS FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED” รถยก รถลาก และอุปกรณ์ขนย้าย คลอบคลุมทุกความต้องการในอุตสาหกรรม
5
ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.
0-2632-9292
www.hitachi.co.th
SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE
6
คอปโก้ เคมเทค บจก.
0-2171-5391-2
www.copcochemtech.co.th
ผู้เชี่ยวชาญด้านปั้มอุตสาหกรรม อาหาร ยา เคมีคอล ของกินของใช้ ยี่ห้อ WILDEN MOUVEX, QUATTRO FLOW, JUNG
7
อเดคอม คอมเพรสโซเรน (ประเทศไทย) บจก.
0-2453-2374-5
www.adekom-thailand.com
"World class air compressor"
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักรและ เครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก
10
อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด
0-2746-3400
iieth@truemail.co.th
เพาเวอร์ซีสเต็ม เครื่องอัดลม เครื่องท�าลมแห้ง เครื่องกรองลมให้สะอาด อีกหนึ่ง ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงจากกลุ่มประเทศยุโรป ประเทศอิตาลี
11
เมอซ์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2328-6674-6
phornsak@merz-thailand.com
Built to last technology
12
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
www.amda.co.th
Autonics Sensors & Controllers
13
อีพีเอ็มซี บจก.
15
อิพรอส ประเทศไทย บจก.
17
โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.
19
ไอ เอส อินดัสทรีย์ (ไทยแลนด์) บจก.
0-2858-9070
www.is-industrie.co.th/th
Institut de Soudure เป็นหนึ่งในสมาชิกของสถาบันการเชื่อมสากล (International Institute of Welding หรือ IIW)
21
โลจิสติกส์ มาร์ท บจก.
0-2751-1466
www.logisticsmart.net
Smart Solutions Smile Services, Material Handling & Industrial Equipment, One Stop Service for Logistics Solution Equipment
22
อินโนเวชั่น กรุ๊ป (ประเทศไทย) บจก.
0-2375-5197
www.elastomer-polymer.com
"Innovation Group“Polymer Technology Solutions Provider”
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6
www.powerade.co.th
Electrical & Energy Solutions
25
ไทโค พูวา บจก.
0-2599-2471-4
www.thaikogroup.com
สินค้าไทย รักไทย มาตรฐานสากล
27
ไซ-อาร์กัส บจก.
0-2319-9933
www.zi-argus.com
Industrial Automation, Everything Under Control
39
คอมโพแม็ก บจก.
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี
47
ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ บจก.
0-2693-2090-4
www.hitachi-sunway-is.com
Hitachi Sunway... End To End PLM Solutions Provider
48
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์ ปั้มน�้า พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย
64
ทีเอชเค บจก.
0-2751-3001
www.thk.com/th
ASEAN Customer Support
65
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
0-2613-9166-71 www.inb.co.th
ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
66
ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.
0-2369-2990-4
www.cgsreboardthai.com
"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board"
113
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8
sales@magna.co.th
Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach
115
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888
www.crm.co.th
ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและ ทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
www.apscontrol.co.th
ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และอุปกรณ์วัด ปริมาณฝุ่น วาล์และหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ อุปกรณ์ นิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น
2 3, 34-37
116
เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.
0-2322-1678-87 www.epmc.co.th 0-2252-0005
http://thai.tech-dir.com/th
0-2150-7808-10 www.motology.co.th
0-2721-1800
จ�าหน่าย พร้อมให้ค�าปรึกษาด้านอุปกรณ์ระบบไอน�้า และวาล์วที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรม
รับออกแบบ ติดตั้งระบบจัดเก็บแบบ Vertical Storage System BY Hanel (Germany)
C
M
Y
CM
ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�าขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�าถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว
20 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เหมาะสำหรับคลังอะไหล คลังยา เวชระเบียน เครื่องมือ (Tooling) โมลดแมพิมพ และอื่นๆ
MY
CY
CMY
K
- ประหยัดพื้นที่การจัดเก็บ - สะดวก หางาย - ปลอดภัย ปองกันการสูญหาย - รองรับระบบ Inventory Control - สามารถเชื่อมตอขอมูลกับระบบคอมพิวเตอร
LOGISTICS MART CO., LTD. 59/1 Moo. 9 Bangwua Bangpakong Chachoengsao 24180 Tel : 0-2751-1466 Fax : 0-2751-1561 Info Center : 089-001-9001 E-mail : sales_lgm@suteegroup.com Website : www.logisticsmart.net
HOTLINE rungrudee@suteegroup.com 081-936-5006 suradit@suteegroup.com 081-684-1062
Swiss Time Systems
ระบบเวลามาตรฐานที่มีความแมนยำสูง รับสัญญาณจากระบบดาวเทียม GPS Basic Time System GPS Antenna: • Reference of time with high accuracy.
Master clock: • Time base with remote function unit. The master clock generates the time.
Devices: • Slave clocks or devices, the function is to show the time or to be synchronized.
C
M
Y
CM
Application Fields
MY
CY
CMY
K
Airport & Air Traffic Control
Cruise Liner & Ships
Express Way
Metro & Hi-Speed Rail
Museum & Exhibition Center
Hospital & Clinic
Communication Network
IT Application
Power Plant
Radio & TV Station
Public Area
University & School
Building
Bank & Insurance
Industry
Other
ผูนำเขาอยางเปนทางการ
476/2-4 ซอยพัฒนาการ 53 แขวง/เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 Tel : 02-322-0810-6 (Auto) Fax : 02-322-0430
www.powerade.co.th
COMMUNITY UPDATE | JANUARY 2015
รี้ด เทรดเด็กซ์ เปิดยุทธศาสตร์ ผนึก TILOG ร่วม Logistix 2015 ดันโลจิสติกส์ไทยสู่ ‘ฮับอาเซียน’
ชไนเดอร์ อิเล็คทริคจัดแข่งขัน
แนวความคิดนวัตกรรมเพือ่ เมืองสีเขียว
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกด้าน การจัดการพลังงาน ประกาศเปิดรับสมัครแข่งขันโครงการ Go Green in the City 2015 ซึง่ เป็นรายการแข่งขันส�าหรับนักศึกษา ทัว่ โลกในการประกวดแนวความคิดนวัตกรรมการจัดการพลังงาน เพื่อเมืองสีเขียวหรือสมาร์ทซิตี้ คุณสรวุฒิ หรณพ ผู ้ อ� า นวยการฝ่ า ยทรั พ ยากรบุ ค คล ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย กล่าวว่า โครงการ Go Green in the City เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างสรรค์แนว ความคิด โซลูชั่น และนวัตกรรม เพื่อเมืองสีเขียว และสร้างความ ยั่งยืนในการใช้พลังงาน ส�าหรับในประเทศไทยปีนี้ นับเป็นปีที่ 3 ซึง่ เราคาดหวังว่าจะได้รบั ความสนใจจากนักศึกษาทัว่ ประเทศ ทีม ชนะเลิศจะมีโอกาสเดินทางไปแข่งขันที่ฝรั่งเศส ซึ่งนับเป็นการ สร้างประสบการณ์ที่ดีส�าหรับนักศึกษา โครงการ Go Green in the City 2015 เปิดรับสมัครแล้ว วันนีถ้ งึ 1 กุมภาพันธ์ 2558 ส�าหรับนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจ และปีนี้ได้ขยายขอบข่ายไปยังนักศึกษา ปริญญาโทด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีเงือ่ นไขส�าคัญ คือ 1 ในสมาชิก ของทีมจะต้องเป็นนักศึกษาหญิง โดยทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจะต้อง ส่ ง แนวความคิ ด ด้ า นนวั ต กรรมการจั ด การพลั ง งานใน 5 อุตสาหกรรม คือ นวัตกรรมเพื่อบ้านและที่อยู่อาศัย นวัตกรรม ส�าหรับมหาวิทยาลัย นวัตกรรมส�าหรับกลุ่มธุรกิจ นวัตกรรมใน การจัดการน�้า และนวัตกรรมส�าหรับโรงพยาบาล
จับตาไทยก้าวสู่ ‘โลจิสติกส์ฮบั แห่งอาเซียน’ กรมส่งเสริมการ ค้าระหว่างประเทศ จับมือรีด้ เทรดเด็กซ์ เปิดยุทธศาสตร์ใหม่ จัด งาน TILOG 2015 ร่วมกับ Logistix 2015 ประกาศศักยภาพ มหกรรมเทคโนโลยี สินค้าและบริการด้านโลจิสติกส์ เพือ่ ยกระดับ โลจิสติกส์ไทยสูส่ ากล พร้อมเปิดเวทีเจรจาการค้า เจาะเครือข่าย ธุรกิจในกลุม่ อาเซียนบวก 6 ระหว่างวันที่ 2 – 4 กันยายน 2558 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ คุณสิทธิศักดิ์ อนันตประยูร กรรมการผู้จัดการ บริษัท รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ากัด เผยความเห็นเกีย่ วกับภาพรวมอุตสาหกรรม โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ทยและอาเซี ย นว่ า ประเทศไทยมี ข ้ อ ได้ เ ปรี ย บ ด้านภูมศิ าสตร์อยูแ่ ล้ว หากมีการเพิม่ ศักยภาพทางเทคโนโลยีและ การบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ ให้สามารถรองรับการขยายตัว ของตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะช่วยดึงฐานลูกค้าจากทัง้ ใน ประเทศและอาเซียนได้ การจัดงาน TILOG และ Logistix 2015 จะเป็นการเสริม ศักยภาพเทคโนโลยี เพือ่ ผลักดันประเทศไทยเป็นศูนย์กลางระบบ โลจิสติกส์การค้าครบวงจรระดับภูมภิ าค โดยมีกลุม่ เป้าหมายหลัก คือ ผู้น�าเข้า ผู้ส่งออก คลังสินค้า และผู้กระจายสินค้า รวมทั้ง ผู้ให้บริการด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ทั้งในและต่างประเทศ ในการจัดงานครัง้ นีเ้ ราชูเทคโนโลยีการขนส่งเพือ่ อุตสาหกรรม 4 กลุม่ หลักเพิม่ เติมประกอบด้วย กลุม่ อาหารและเครือ่ งดืม่ กลุม่ ผลิตภัณฑ์เพื่อการดูแลตนเอง อุตสาหกรรมยานยนต์ และกลุ่ม อิเล็กทรอนิคส์ โดยมุง่ เน้นธุรกิจทีต่ อ้ งการระบบจัดการโลจิสติกส์ทมี่ ี ประสิทธิภาพ และความแม่นย�าเวลาในการขนส่งสูง ส�าหรับงาน Logistix 2015 จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2 – 4 กันยายน 2558 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทคบางนา
Interlink Telecom ร่วมมือ บช.น.
ระบบแจ้งเหตุด้วยกล้อง วงจรปิด Miracle Eyes คุณณัฐนัย อนันตรัมพร กรรมการผูจ้ ัดการ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ เทเลคอม จ�ากัด และ พล.ต.ต.ดร.อดุลย์ ณรงค์ศกั ดิ์ รองผูบ้ ญ ั ชาการ ต�ารวจนครบาล ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการ ด�าเนินการโครงการนวัตกรรมศูนย์สงั่ การ กล้อง ทีววี งจรปิด เพือ่ ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม แบบเบ็ดเสร็จ (Miracle Eyes) ทั้ ง นี้ โครงการที่ เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ ดู แ ลความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และของสังคมส่วนรวม ในเขตความดูแลของ กองบัญชาการต�ารวจนครบาล โดยใช้ระบบ กล้ อ งวงจรปิ ด ผสานกั บ โครงข่ า ยเทคโนโลยี สารสนเทศของบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ เทเลคอม จ�ากัด เพือ่ ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ให้ลดน้อยลง โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงทัง้ 2 หน่วย งานร่วมเป็นสักขีพยาน ณ ห้องประชุมใหญ่กอง บัญชาการต�ารวจนครบาล (บช.น.) กรุงเทพฯ
ไซ-อาร์กัส น�า ROBOT ซามูไร โชว์ งานโคมะ ไทเซน บริษทั ไซ-อาร์กสั จ�ากัด ผูจ้ า� หน่ายอุปกรณ์ควบคุม PLC รวมถึงระบบ SCADA GE Fanuc จัด จ�าหน่าย Relay, Power Supply, Quint ประการศักยภาพได้นา� ROBOT ใส่ชดุ ซามูไรแสดงการหมุน ลูกข่าง เพือ่ แสดงเห็นถึงเทคโนโลยีและความสามารถของ ROBOT ทีส่ ามารถท�างานได้ตามความ ต้องการในงานการแข่งขันโคมะ ไทเซน (Koma Taisen Thailand Bangkok Tournament) โดยงาน ดังกล่าวจัดขึน้ เมือ่ วันเสาร์ ที่ 22 พฤศจิกายน 2557ทีผ่ า่ นมา ณ ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติไบเทค เพือ่ ช่วยส่งเสริมให้ชา่ งฝีมอื และวิศวกรในอุตสาหกรรมการผลิตระดับเล็กถึงระดับกลางมีแรงบันดาลใจใน การพัฒนาฝีมอื และยกระดับวงการธุรกิจ รวมถึงการสร้างสรรค์และขยายตลาดการค้าให้กว้างไกล ซึง่ เป้าหมายในการจัดงานครัง้ นีไ้ ม่ใช่ เพียงเพือ่ บริษทั ไทยและบริษทั ญีป่ นุ่ ในประเทศไทยเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงความต้องการทีจ่ ะให้นกั เรียน นักศึกษาได้เรียนรูถ้ งึ ความสนุกในการสร้างสรรค์ผลงาน และเป็นการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมระหว่าง ประเทศญีป่ นุ่ และบริษทั ญีป่ นุ่ แล้ว ยังเป็นการส่งเสริมมิตรภาพของไทยญีป่ นุ่ อีกด้วย 24 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
COMMUNITY UPDATE | JANUARY 2015
พัฒน์กลบุกตลาดต่างประเทศ
ตอกย�้ำควำมเป็นที่ผู้น�ำในกระบวนกำรผลิต พัฒน์กลมองอุตสาหกรรมอาหารและส่งออกอาหารในภูมิภาคอาเซียนมีแนวโน้ม ขยายตัวต่อเนือ่ งจึงมุง่ พัฒนา 4 ธุรกิจหลักรองรับ ได้แก่ กลุม่ ธุรกิจเครือ่ งท�าความเย็น กลุม่ ธุรกิจอาหารเหลว กลุม่ ธุรกิจวิศวกรรมแปรรูปอาหาร และกลุม่ ธุรกิจเครือ่ งท�าน�า้ แข็ง เน้น เจาะตลาดส่งออกแถบภูมภิ าคอาเซียนพร้อมเปิดส�านักงานทีป่ ระเทศพม่าภายในปี 2558 คุณแสงชัย โชติชว่ งชัชวาล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พัฒน์กล จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า พัฒน์กลได้มกี ารขยายตลาดและการลงทุนเพือ่ การเจริญเติบโตทีย่ งั่ ยืน โดยมีการ ลงทุนทัง้ ในด้านเครือ่ งจักรและบุคลากรเป็นจ�านวนมาก เพือ่ เตรียมความพร้อมและรองรับ การขยายไปสูส่ มาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว ในด้านบุคลากรนัน้ เราต้องใช้เวลาในการฝึกคน เป็นเวลานานถึง 2-3 ปี ซึง่ ถือเป็นช่วงทีต่ อ้ งลงทุนไปก่อน ในด้านเครือ่ งจักร บริษทั ฯ มีการ ปรับปรุงโรงงานกิ่งแก้วให้มีความทันสมัยยิ่งขึ้นและจัดเป็นศูนย์กระจายสินค้า งานติดตั้ง และบริการ และจัดเป็นศูนย์ฝกึ อบรม บนพืน้ ทีท่ า� งานขนาด 10,000 ตารางเมตรรวมถึงมี การติดตัง้ เครือ่ งจักรใหม่ๆ ทีโ่ รงงานพัฒน์กลแมนนูแฟคเจอริง่ จังหวัดเพชรบุรี ทัง้ นี้ พัฒน์กลมุง่ พัฒนา 4 ธุรกิจหลักรองรับอุตสาหกรรมอาหารและส่งออกอาหาร ทีม่ แี นวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งในปัจจุบนั ได้แก่ กลุม่ ธุรกิจเครือ่ งท�าความเย็นบริษทั ฯ ถือ เป็นผูป้ ระกอบการไทยรายใหญ่ทสี่ ดุ ในแถบภูมภิ าคอาเซียนทีท่ า� งานด้านวิศวกรรมทัง้ ในด้าน การผลิต ออกแบบ ติดตัง้ และขายอะไหล่ อุปกรณ์ ระบบแช่อาหารห้องเย็นอุตสาหกรรม อาหารขนาดใหญ่ ตูแ้ ช่ผลิตภัณฑ์และห้องเย็นส�าหรับซุปเปอร์มาร์เก็ต ระบบท�าความเย็นเพือ่ ใช้ในโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์เนือ้ สัตว์ สัตว์ปกี ปลา กุง้ ผักและผลไม้ โดยมีระบบท�าน�า้ เย็น เพือ่ ลดอุณหภูมิ และระบบลมเย็นเพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์สดเสมอระหว่างการแปรรูปและตัดแต่ง เริ่มตั้งแต่แช่แข็งและเก็บเพื่อรอการส่งออกและจ�าหน่ายต่อไป เป็นต้น
METATEX 2014 เชื่อมโยงนักอุตสำหกรรมสู่สำกล งาน METALEX 2014 ที่ผ่านมานับเป็นมหกรรมงานแสดงอุตสาหกรรมด้านเครื่องจักร กลและโลหการครั้งยิ่งใหญ่แห่งอาเซียน คับคั่งด้วยบรรดาผู้ผลิตแบรนด์ดังที่เข้าร่วมงาน กว่า 70,000 ราย ที่พร้อมน�าเสนอเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีแห่งอนาคต นวัตกรรมใหม่ กว่า 4,000 รายการ โดย 2,700 แบรนด์ระดับโลก จาก 50 ประเทศ และ 9 พาวิลเลียน นานาชาติ พร้อมการสัมมนาด้วยหัวข้อระดับนานาชาติ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับวิทยากร ผู้รู้จริง และก้าวทันแนวโน้มของอุตสาหกรรมในอาเซียน และกิจกรรมที่หลากหลาย ในปี 2014 ที่ผ่านมา รี้ด เทรดเด็กซ์ ผู้จัดงาน METALEX 2014 ได้จัดงานขึ้น ระหว่าง วันที่ 19- 22 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา งานใน ครั้งนี้ได้รับความสนใจโดยมีเข้าร่วมงานเป็นจ�านวนมาก นอกจากนี้ ผู้ประกอบภาคอุตสาหกรรมยังได้สัมผัสเทคโนโลยีที่เหนือชั้นกับผู้ผลิตชั้นน�า โดยแต่ละบริษทั ได้นา� เครือ่ งจักรและเทคโนโลยีใหม่อนั ล�า้ สมัยมาน�าเสนอให้กบั นักอุตสาหกรรม ทีเ่ ข้าร่วมงานได้สมั ผัสถึงสุดยอดเทคโนโลยีเครือ่ งจักร สร้างพันธมิตร และส�ารวจโอกาสขยาย ความร่วมมือกับผู้ประกอบการ ตัวแทนจ�าหน่าย ทั้งในและต่างประเทศ โดยผู้เข้าร่วมงาน สามารถน�าความรู้ที่ได้รับไปใช้สู่การยกระดับกระบวนการผลิต เพื่อตอบสนองกับความเป็นไป ได้ของตลาดที่ใหญ่ขึ้นเมื่ออาเซียนก้าวสู่ประชาคมอาเซียนได้อีกด้วย 2626 MODERN MODERNMANUFACTURING MANUFACTURINGMAGAZINE MAGAZINE
40 ปี เฮงเค็ล ผู้น�ำกลุ่มธุรกิจอุตสำหกรรมควำมงำม ดร.ทิมเพท ซินน่า ผู้จัดการประจ�าประเทศไทยและหัวหน้าฝ่ายขายผลิตภัณฑ์ ดูแลความงามประจ�าภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บริษัท เฮงเค็ล (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า ‘เฮงเค็ล’ ด�าเนินธุรกิจทั่วโลกโดยชูแบรนด์และเทคโนโลยีชั้นน�าในกลุ่มธุรกิจ สามกลุ่มคือ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ซักล้างและผลิตภัณฑ์ครัวเรือน กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ เพื่อความงาม และกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีกาว ปัจจุบันบริษัทฯ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2419 และครองต�าแหน่งผู้น�าตลาดทั่วโลกในกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อผู้บริโภคและธุรกิจ อุตสาหกรรมพร้อมแบรนด์ทมี่ ชี อื่ เสียงเป็นทีย่ อมรับในระดับสากล เช่น เพอร์ซลิ ชวาร์สคอฟ และล็อคไทท์ มีการจ้างงานพนักงานกว่า 47,000 คนและสร้างยอดขาย 16,400 ล้าน ยู โ ร พร้ อ มก� า ไรจากการด� า เนิ น งานหลั ง การปรั บ ปรุ ง รวม 2,500 ล้ า นยู โ รใน ปีงบประมาณ 2556 และมีหุ้นบุริมสิทธิ์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ DAX ประเทศ เยอรมัน กลุ่มธุรกิจเพื่อความงามระดับมืออาชีพของเฮงเค็ลได้สร้างความร่วมมือที่เข้มแข็ง กับช่างผมของไทยด้วยชวาร์สคอฟโปรเฟสชั่นแนล ซึ่งเป็นแบรนด์ดูแลเส้นผมที่มีความ เชี่ยวชาญระดับโลก ซึ่งในปีนี้ เป็นการเฉลิมฉลองการด�าเนินงานครบรอบ 40 ปี ของ กลุ่มธุรกิจเพื่อความงามระดับมืออาชีพของเฮงเค็ลที่ได้ก่อตั้งทีมผู้เชี่ยวชาญครั้งแรกใน ประเทศไทยปัจจุบนั ทีมพนักงานของเฮงเค็ลยังเดินหน้าสูว่ สิ ยั ทัศน์การสร้างแรงบันดาลใจ แนวคิดนวัตกรรมใหม่และการบริการส่วนบุคคลอันโดดเด่นให้แก่ช่างผม สไตลิสท์และ เจ้าของธุรกิจซาลอน
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
ZI-ARGUS Everything Under Control
สภาฯ ส่งออกแห่งไต้หวันผนึก 69 ผู้ผลิตระดับโลกร่วม METALEX 2014 สภำส่งเสริมกำรส่งออกแห่งไต้หวัน ประจ�ำประเทศไทย ร่วมกับ ส�ำนักงำนด้ำนกำรค้ำต่ำงประเทศ (Bureau of Foreign Trade) และศูนย์พฒ ั นำควำมร่วมมือขององค์กร (Corporate Synergy Development Center) จัดงำนแถลง ข่ำว Taiwan Machine Tools New Product Launch at METALEX 2014 เปิดตัวนวัตกรรมเครือ่ งมือเครือ่ งจักรกล ล�้ำหน้ำ โชว์ศักยภำพเทคโนโลยีที่ช่วยเสริมสร้ำงโอกำส ทำงกำรแข่งขันให้ผปู้ ระกอบกำรไทยโดยเฉพำะอย่ำงยิง่ กำร เสริมสร้ำงประสิทธิภำพกำรผลิตในอุตสำหกรรมรถยนต์ไทย มร.จัสติน ซี. เค. ไต้ ผูอ้ ำ� นวยกำรสภำส่งเสริมกำร ส่งออกแห่งไต้หวัน ประจ�ำประเทศไทย กล่ำวว่ำ ไต้หวัน ถื อ ได้ ว ่ ำ เป็ น ประเทศที่ มี ศั ก ยภำพในกำรผลิ ต เครื่ อ งมื อ เครื่องจักรกลเพื่อป้อนสู่ตลำดโลกและประเทศไทย ซึ่งใน ปี 2556 ทีผ่ ำ่ นมำ ไต้หวันมีกำรส่งออกเครือ่ งมือเครือ่ งจักร
มำยังประเทศไทยเป็นมูลค่ำสูง 7,400 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อย ละ 26 ของกำรน�ำเข้ำเครือ่ งมือเครือ่ งจักรมำยังประเทศไทย โดยประเทศไทยเป็นตลำดที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของกำรส่ง ออกเครื่องมือเครื่องจักรของไต้หวัน รองจำกประเทศจีน ฮ่องกง และสหรัฐอเมริกำ ทั้งนี้เนื่องจำกประเทศไทยเป็น ศูนย์กลำงด้ำนกำรผลิตของอุตสำหกรรมยำนยนต์ในภูมภิ ำค เอเชีย ในปีนี้ สภำส่งเสริมกำรส่งออกแห่งไต้หวันพร้อม 69 ผู้ผลิตยักษ์ใหญ่จำกไต้หวัน ยังได้ร่วมกันเปิดพำวิลเลี่ยนที่ ใหญ่ทสี่ ดุ กว่ำประเทศอืน่ ๆ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว่ำ 1,473 ตำรำง เมตร ในงำน METALEX 2014 เพือ่ เปิดโอกำสให้ผปู้ ระกอบ กำรไทยร่วมชมเทคโนโลยี ประสิทธิภำพ และศักยภำพ เครือ่ งจักรกลมำตรฐำนระดับโลก ซึง่ กำรร่วมงำน METALEX 2014 ในประเทศไทยที่ ผ ่ ำ นมำ
Industrial Supply Chain Logistics Conference 2014
กระตุ้นให้ผู้ประกอบการไทย พร้อมแข่งขันทางการค้า
ส�ำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำร เหมืองแร่ กระทรวงอุตสำหกรรมจัดกำรสัมมนำ Industrial Supply Chain Logistics Conference2014 เพื่อ เผยแพร่ผลกำรด�ำเนินงำนด้ำนกำรพัฒนำกำรจัดกำร ระบบโลจิสติกส์และโซ่อุป ทำนของภำคอุตสำหกรรมที่ สอดคล้องกับแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ ของประเทศ และแผนแม่บทกำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ อุตสำหกรรม ระหว่ำง พ.ศ.2555-2559 เพื่อเป็นกรอบใน กำรพัฒนำภำคอุตสำหกรรมให้มีประสิทธิภำพ คุณปรำโมทย์ วิทยำสุข ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำ กระทรวงอุตสำหกรรม กล่ำวว่ำ จำกสถำนกำรณ์ และ แนวโน้มกำรพัฒนำด้ำนเศรษฐกิจ สังคม และกำรเมืองโลก ในปัจจุบันทุกอย่ำงมีควำมเป็นพลวัต และมีควำมเสี่ยงต่อ กำรเปลี่ยนแปลงสูง มีทั้งควำมสุขและควำมเสี่ยงเกิดขึ้น ในกำรท�ำกำรค้ำ ประกอบกับกำรเปิดเสรีทำงกำรค้ำ FTA และกำรรวมตัวเป็นประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน AEC ทุก 28 28 MODERN | MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINEMAGAZINE
หน่วยงำนจ�ำเป็นต้องเร่งพัฒนำกระบวนงำนทำงธุรกิจให้มี ประสิทธิภำพและควำมคล่องตัวสูงในกำรจัดหำ ผลิต และ ส่งมอบ เพือ่ รองรับกำรเป็นฐำนกำรผลิตและตลำดเดียวทีม่ ี ประชำกรหรือผู้บริโภครวมกันถึง 600 ล้ำนคน และทีส่ ำ� คัญกำรบริกำรต้องดีเยีย่ มกระท�ำอย่ำงต่อเนือ่ ง ให้เกิดเป็นห่วงโซ่มเี ครือข่ำยเชือ่ มต่อทัง้ ในประเทศและต่ำง ประเทศ ผูป้ ระกอบกำรไทยต้องช่วยเหลือซึง่ กันและกัน อย่ำ มองคนไทยด้วยกันเป็นคู่แข่ง ให้มององค์รวมประเทศเป็น หลัก ซึง่ หำกสำมำรถท�ำได้กจ็ ะมีโอกำสและควำมได้เปรียบ ในกำรแข่งขันมำกยิ่งขึ้นเพรำะจำกประเทศไทยมีที่ตั้งทำง ภูมศิ ำสตร์เป็นศูนย์กลำงของภูมภิ ำค เป็นประตูกำรค้ำไปยัง ประเทศต่ำงๆ ทัว่ โลก โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ กำรค้ำขำยบริเวณ ชำยแดนกับประเทศเพื่อนบ้ำน CLMV ได้แก่ ประเทศ กัมพูชำ ลำว เมียนมำร์ และเวียดนำม รวมทัง้ ประเทศทีม่ ี อิทธิพลต่อระบบเศรษฐกิจโลก เช่น จีน และอินเดีย เป็นต้น
สศอ.เร่งแก้วิกฤตยางพาราไทย
พร้อมสร้างกลไกผลักดันอุตฯ ยางพาราไทยเติบโต
ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) เผยแนวทำง ด�ำเนินกำรแก้ปญ ั หำวิกฤตรำคำยำงพำรำตกต�ำ่ และพัฒนำ อนำคตอุ ต สำหกรรมระยะยำวของยำงพำรำไทยที่ จ ะ พัฒนำให้เติบโตอย่ำงยัง่ ยืน โดยก�ำหนดมำตรกำรส่งเสริม 3 ด้ ำ นหลั ก ได้ แ ก่ กำรแก้ ป ั ญ หำวั ต ถุ ดิ บ ล้ น ตลำด กำรปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ ำพกำรผลิ ต และกำรพั ฒ นำ อุตสำหกรรมยำงพำรำทั้งระบบ ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มอุปสงค์กำร ใช้ยำงพำรำในภำคอุตสำหกรรม สร้ำงกลไกผลักดันรำคำ ยำงในประเทศให้เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจะท�ำให้อุตสำหกรรม ยำงพำรำของไทยเติบโตขึ้นได้อย่ำงยั่งยืน คุณอุดม วงศ์วิวัฒน์ไชย ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำน เศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่ำ ตำมที่ อุ ต สำหกรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย ำงขั้ น ปลำยในประเทศยั ง ไม่ พัฒนำเท่ำทีค่ วร เนือ่ งจำกมีประสิทธิภำพกำรผลิตต�ำ่ และ ยังมีเทคโนโลยีกำรผลิตที่ล้ำสมัย รวมไปถึงกำรมีอุปทำน ส่วนเกิน และกำรน�ำยำงไปแปรรูปในสัดส่วนทีน่ อ้ ย ดังนัน้ กระทรวงอุตสำหกรรม ในฐำนะหน่วยงำนหลักในกำรส่ง เสริมและพัฒนำอุตสำหกรรม ได้มีบทบำทในกำรด�ำเนิน กำรภำยใต้แนวทำงพัฒนำยำงพำรำทั้งระบบในส่วนของ กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กบั อุตสำหกรรมยำงขัน้ ปลำยน�ำ้ โดยได้กำ� หนดมำตรกำร เพือ่ เพิม่ อุปสงค์กำรใช้ยำงพำรำ ในภำคอุ ต สำหกรรม สร้ ำ งกลไกผลั ก ดั น รำคำยำงใน ประเทศให้เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจะท�ำให้อุตสำหกรรมยำงพำรำ ของไทยเติบโตขึ้นได้อย่ำงยั่งยืน อย่ำงไรก็ตำม กำรด�ำเนินกำรโครงกำรต่ำงๆ ภำย ใต้ แ นวทำงพั ฒ นำยำงพำรำทั้ ง ระบบ เป็ น กำรพั ฒ นำ อุตสำหกรรมยำงพำรำตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ กลำงน�ำ้ และปลำยน�ำ้ ซึ่งจะเป็นกลไกในกำรขับเคลื่อนอุตสำหกรรมยำงพำรำใน ประเทศอย่ำงครบวงจร เป็นกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถให้ กับอุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์ยำงขัน้ ปลำยให้สำมำรถแข่งขัน ได้ในระดับสำกล เพิ่มกำรใช้ยำงเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ยำงในประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดควำมสมดุล ระหว่ำงอุปสงค์และอุปทำนยำงพำรำในตลำด ท�ำให้รำคำ ยำงลดควำมผั น ผวนและมี เ สถี ย รภำพมำกขึ้ น ทั้ ง นี้ มำตรกำรต่ำงๆ ดังกล่ำว จะท�ำให้สำมำรถเพิม่ ปริมำณกำร ใช้ยำงพำรำภำยในประเทศประมำณ 500,000 ตัน และ เพิ่มผลิตภำพของอุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์ยำง เช่น ถุงมือ ยำง ยำงล้อ ยำงยืด อีกด้วย
มจธ.มอบเครื่องผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ แบบเคลื่อนย้ายได้แก่ชุมชนบ้านเกาะฮั่ง จ. กระบี่ รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิกำรบดี มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี (มจธ.) รศ.ดร.สุวิทย์ เตีย รองอธิกำรบดีอำวุโสฝ่ำยวิชำกำร และตัวแทนจำก กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้มอบระบบ ผลิตไฟฟ้ำแบบผสมผสำนชนิดย้ำยได้ขนำดเล็ก รุ่น PHPS 5-2.5 (Pico Package Hybrid Power Supply) นวัตกรรม แหล่งจ่ำยพลังงำนส�ำหรับพื้นที่ห่ำงไกล ทั้งนี้ PHPS รุ่น 5-2.5 คือ ระบบผลิตไฟฟ้ำแบบผสม ผสำนขนำดเล็ก เคลือ่ นทีไ่ ด้ ติดตัง้ สะดวก และสำมำรถจ่ำย ไฟได้ทันทีหลังกำรติดตั้ง มีควำมสำมำรถในกำรปรับลด
ขนำดก�ำลังกำรผลิตได้ตำมควำมต้องกำร โดย PHPS รุ่น 5-2.5 ตัวแรกนี้ มจธ.จะส่งมอบให้กับชำวบ้ำนเกำะฮั่ง จังหวัดกระบี่ไว้ใช้ส�ำหรับผลิตกระแสไฟฟ้ำส�ำหรับชำวบ้ำน และนักเรียนในโรงเรียนบ้ำนเกำะฮัง่ ในขณะทีม่ หำวิทยำลัย ทักษิณก็จะท�ำพิธีส่งมอบ ชุดผลิตก๊ำซชีวภำพจำกของเสีย ในครัวเรือนให้กับชำวบ้ำนในครำวเดียวกัน ซึ่งเป็นผลงำนคิดค้นและพัฒนำขึ้นโดย ดร.อุส่ำห์ บุญ บ�ำรุง หัวหน้ำทีมวิจยั ให้แก่ชมุ ชนและโรงเรียนบ้ำนเกำะ ฮั่ง ต�ำบลเกำะศรีบอยำ อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ เพือ่ ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ำแทนกำรใช้นำ�้ มันดีเซลในกำรปัน่ ไฟ
กรมโรงงานเปิดตัวโครงการลดและเลิก ใช้สารไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอนของไทย
ช่ ว ยลดค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยและมลพิ ษ ให้ กั บ ชำวบ้ ำ นบนเกำะฮั่ ง ซึ่ ง เป็นเกำะที่ขำดโอกำสในกำรเข้ำถึงกำรให้บริกำรไฟฟ้ำ ของภำครั ฐ โอกำสนี้ ยั ง ได้ น� ำ องค์ ค วำมรู ้ เ ข้ ำ ไปจั ด ท� ำ กิจกรรมค่ำยวิทยำศำสตร์-พลังงำนให้กับเด็กนักเรียนใน โรงเรียนบ้ำนเกำะฮั่งรวมถึงกำรฝึกอบรมไฟฟ้ำพื้นฐำนและ พัฒนำทักษะทำงช่ำงเพือ่ กำรบ�ำรุงรักษำและซ่อมแซมระบบ โซลำร์โฮมให้กบั ชำวบ้ำน เพือ่ กำรจัดกำรพลังงำนแบบผสม ผสำนในชุมชนอย่ำงยั่งยืน
คุณศักดำ พันธ์กล้ำ รองอธิบดีกรมโรงงำนอุตสำหกรรม กล่ำวว่ำ โครงกำรลดและเลิกใช้สำรไฮโดรคลอโรฟลูออโรคำร์บอน ของประเทศไทย (Thailand HCFCs Phase-out Project) เริ่ม ด�ำเนินกำรหลังจำกพิธลี งนำมสัญญำช่วยเหลือแบบให้เปล่ำ (Grant Agreement) ระหว่ำงธนำคำรโลกและกระทรวงกำรคลัง และ บันทึกข้อตกลงสำมฝ่ำยว่ำด้วยบทบำทหน้ำที่ภำยใต้โครงกำรลด และเลิกใช้สำรไฮโดรคลอโรฟลูออโรคำร์บอนระหว่ำงกระทรวงกำร คลัง กรมโรงงำนอุตสำหกรรม และธนำคำรออมสิน ได้เสร็จ เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นนิมิตรหมำยอันดีในวันนี้ วันเริ่มเปิดตัว โครงกำรในอีกยุคสมัยหนึง่ หลังจำกทีป่ ระเทศไทยลดและเลิกใช้สำร ท�ำลำยชัน้ บรรยำกำศโอโซนได้แก่ คลอโรฟลูออโรคำร์บอน เมทธิล คลอโรฟอร์ม เฮลอน เมทธิลโบรไมด์ และคำร์บอนเตตระคลอไรด์ เป็นต้น ทั้งนี้ กำรลดและเลิกใช้สำร HCFCs ที่ใช้เป็นสำรทดแทน สำร CFCs เดิมได้เริ่มต้นขึ้น โดยต้องหันไปใช้สำรทดแทนสำร HCFCs อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเวลำของกำรลดและเลิกใช้สำร HCFCs เริม่ ในปี พ.ศ.2556 ตำมข้อตกลงในพิธสี ำรมอนทรีออลทีจ่ ะต้องลด ปริมำณกำรใช้สำร HCFC โดยล�ำดับจำกค่ำฐำนคือค่ำเฉลี่ยที่ ค�ำนวณมำจำกปริมำณกำรใช้ในปี พ.ศ.2552 และ พ.ศ.2553 คือ ลดลงร้อยละ 10 ในปี พ.ศ.2558 ลดลงร้อยละ 35 ในปี พ.ศ.2563 ลดลงร้อยละ 64.5ในปี พ.ศ.2568 และเลิกกำรใช้ให้หมดสิ้นเป็น ศูนย์ภำยในปี พ.ศ.2573 อย่ำงไรก็ตำม ปริมำณกำรใช้ต่อปีช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ.2573 ถึง พ.ศ.2583 ต้องเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ ๒.๕ ของค่ำฐำน ส�ำหรับใช้กับ เครือ่ งปรับอำกำศรุน่ เก่ำทีย่ งั ต้องใช้สำรท�ำควำมเย็นทีเ่ ป็น HCFCs โครงกำรนีจ้ ะเป็นอีกหนึง่ โครงกำรทีเ่ ป็นควำมร่วมมือส�ำคัญระหว่ำง ภำครัฐ เอกชน รวมทั้งองค์กำรระหว่ำงประเทศอันจะน�ำไปสู่ก้ำว ส�ำคัญในกำรรักษำสิ่งแวดล้อมร่วมกันได้ ในอนำคต MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 29
COVER STORY
อีโนวากรุ๊ป กลุ่มธุรกิจผู้ด�าเนินกิจการด้าน อุปกรณ์ระบบสื่อสาร ระบบอัตโนมัติในอาคาร และระบบควบคุมอัตโนมัติด้านพลังงานไฟฟ้า เริ่มก่อตั้งและด�าเนินกิจการตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 เป็นต้นมา ภายใต้การบริหารงานของ คุณนพชัย ถิรทิตสกุล กรรมการผู้จัดการ
คุณนพชัย ถิรทิตสกุล กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัท อีโนวา
ENOVA ผู้น�ำระบบควบคุมกำรจ่ำย พลังงำนไฟฟ้ำอัตโนมัติ
จากจุดเริ่มต้น... ถึงปัจจุบัน
คุณนพชัย ถิรทิตสกุล กรรมการผูจ้ ดั การ กลุม่ บริษทั อีโนวา อินทิเกรชัน่ จ�ากัด กล่าวว่า อีโนวา เริม่ ต้นจากการจ�าหน่ายอุปกรณ์ระบบสัง่ การระยะไกล หรือ RTU (Remote Terminal Unit) ให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และโรงงานไฟฟ้าเอกชนต่างๆ ที่ต้องการใช้อุปกรณ์นี้ เพื่อควบคุมการจ่าย พลังงานไฟฟ้า ต่อมา ได้พัฒนาอุปกรณ์ RTU นี้โดยการน�าเข้ามาใช้ต่อร่วม กับอุปกรณ์อื่นๆ เช่น Recloser และ Load Break Switch (อุปกรณ์สวิทช์ ตัดตอนไฟฟ้าแรงสูง) ระบบ SCADA (Supervisory Control and Data Acquisition การควบคุมก�ากับดูแลและเก็บข้อมูล) ให้เป็นระบบร่วมกัน โดยที่ อีโนวาท�าหน้าที่ในการเป็นผู้วางระบบ หรือ System Integrator นั่นเอง
30 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จากนั้น ด้วยความเติบโตของธุรกิจ อีโนวา ต้องการขยายกิจการและ ตลาดของผลิตภัณฑ์ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีม่ มี ากขึน้ จึงก่อ ตั้งบริษัทในเครืออีกหลายบริษัทเพื่อเป็นการขยายงานและความรับผิดชอบ เพื่อแยกประเภทของธุรกิจไปสู่บริษัทในเครือ ซึ่ง อีโนวากรุ๊ป ประกอบด้วย - บริษัท อีโนวา อินทิเกรชั่น จ�ากัด (Enova Integration Co., Ltd.) เป็นหนึง่ บริษทั ในเครือของอีโนวากรุป๊ ทีเ่ ริม่ ต้นจากการเป็นผูจ้ ดั จ�าหน่ายสินค้า ก่อนทีจ่ ะหันมาด�าเนินงานด้านอุปกรณ์ระบบอัตโนมัติ อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าแรง สูงที่ใช้ในสถานีไฟฟ้าซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลงานในประเทศเป็นส่วนใหญ่ - บริษทั อีโนวา ออโตเมชัน่ จ�ากัด (Enova Automation Co., Ltd.) เป็นอีกหนึง่ บริษทั ท�าหน้าทีใ่ นการสร้างระบบดีเอ็มเอส (DMS : Distribution
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 31
Vol: 12 No.: 143 เดือน/ปี: มกราคม 2558(JANUARY 2015) เลขที่หน้า: 38 จ�านวนหน้า: 1 คอลัมน์: PRODUCTIVITY BOOSTER_บทความจาก FTPI ……………………………………………………………….. About การจัดการความรู้กับการเพิ่มผลิตภาพในองค์กร we do ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป องค์กรต้องมีการปรับตัว เปลี่ยนวิธีคิด และวิธีการท�and างานใหม่ what เพื่อให้สามารถแข่ งขันได้ ซึ่งในปัจจุบันการจัดการ ความรู้ (Knowledge Management: KM) ถือเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยสร้างความได้เปรียบในเชิงแข่งขันให้แก่องค์กรได้ KM… พัฒนาคน งาน และองค์กร ENOVA Automation (Enova) ในเชิงธุรกิจ KM ถือว่าเป็นเรือ่ งทีส่ า� คัญ ด้วยบางบริษทั ท�าธุis รกิจaทีค่ result-focused ล้ายคลึงกันมีสนิ ค้าเหมือEngineering, นกันแต่การให้บริการลูกค้ามีความแตกต่างกัน ถ้าเราเข้าใจ ลูกค้า และบริการลูกค้าได้ตรงตามความต้องการหรือให้ข้อมูลลูกค้าได้ตรงประเด็น ก็ย่อมท�าให้องค์กรเราเหนือกว่าคู่แข่ง provider ตand ยิ่งถ้าองค์กรไหนมีองค์ความรู้ที่สั่งสมกันมาแบบรุ่นต่อรุ่น ทัSupplier, ้งในแง่ของการด�Solution าเนินงาน และประสบการณ์ ่างๆ ที่เป็นองค์ความรู้ที่อยู่ในตัวคนคนนั้น System integrator to five area of (Tacit Knowledge) มากเท่าไร ยิ่งท�าให้องค์กรของเราได้เปรียบคู่แข่ง ทั้งนี้การที่จะน�า KM เข้ามาปรับใช้ในองค์กร ผู้บริหารพนักbusiness; งานและผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้าใจแก่นแท้ของ KM เสียก่อน เพราะจะท�าให้สามารถน�ามา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานของตนเองได้ แต่หากผู้ใช้ไม่เข้าใจก็อ(i) าจกลายเป็ วปัญหาได้เช่นกัน Plantนภาระ และตั Automation วงจร KM แบบง่ายๆ (ii) Distribution Network หลักการของ KM มีอยู่ว่า การบริหารจัดการความรู้ที่ต้องการใช้ ห้แก่คนที่ต้องการ ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้คนท�างานได้อย่างมีประสิทธิผล และส่ง (iii) ใSCADA/DMS/EMS ผลให้องค์กรประสบความส�าเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ตามนิยามของ Right Knowledge Right People Right Time Protection system and ฒนาตนเองให้เก่งขึ้น ผลงานก็จะออกมาดี ถ้าดูดีๆ KM เน้นไปที่การพัฒนาคน พัฒนาผลงาน และพั(iv) ฒนาองค์ กร ถ้าคนมีความเข้ าใจและสามารถพั (v) AMR/AMI Solution. แน่นอนว่าผลการด�าเนินงานขององค์กรก็จะบรรลุเป้าหมายตามไปด้วย หากพิจารณาองค์ประกอบหลักในการประยุกต์ใช้KM ในองค์กร มีอยู่ด้วยกัน 3 ส่วนคือ คน กระบวนการ และเทคโนโลยี หลักการจัดการความรู้เบื้อง ต้นคือ การค้นหาคนที่มีความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญ เน้นคนที่มีประสบการณ์ตรงมาถ่ายทอดความรู้ผ่านกระบวนการต่างๆ แล้วจัดเก็บองค์ความรู้นั้นเข้า ระบบด้วยเครื่องมือหรือเทคโนโลยีเพื่อให้สะดวกต่อการจัดเก็บข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูล พร้อมทั้งต้องผลักดันให้คนในองค์กรน�าความรู้ที่รวบรวมไว้ไปใช้งาน และต้อง Update ความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ที่ส�าคัญควรต้องตรวจสอบว่าองค์ความรู้ที่เก็บไว้ยังสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กรอยู่หรือไม่ ส�าหรับองค์กรที่ก�าลังเริ่มท�า KM หรือท�าแล้วแต่ก็ยังสับสน ก่อนอื่นจะต้องรู้ก่อนว่าอะไรเป็นความรู้ที่ส�าคัญขององค์กร แล้วจะได้องค์ความรู้เหล่านี้ จากทีไ่ หน และพอได้มาแล้วจะต้องรวบรวมอย่างไร จัดเก็บทีไ่ หน เพือ่ ทีจ่ ะให้คนเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ซงึ่ ปัญหาส่วนใหญ่ทอี่ งค์กรพบคือ องค์กรท�าได้เพียงแค่การ สกัดเอาองค์ความรู้ออกมาแล้วจัดเก็บไว้ในระบบ แต่ไม่มีใครเข้าไปใช้ประโยชน์ หรือท�าอะไรกับองค์ความรู้เหล่านั้นต่อ ท�าให้การท�า KM ไร้ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้การท�า KM มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นคือ การน�ากระบวนการบริหารความเสี่ยงมาใช้ในองค์กร ทั้งเรื่องการเตรียมความ พร้อม การสื่อสาร การก�าหนดเครื่องมือที่จะน�ามาใช้ให้ถูกต้อง การเรียนรู้ การก�าหนดการวัดผล และการให้รางวัล การยกย่องชมเชย เพื่อให้คนอยากเข้ามา มีส่วนร่วมในการท�าKM มากขึ้น บูรณาการ KM เพื่อปรับปรุงองค์กร KM จะสามารถอยูร่ อดได้จะต้องน�าไปบูรณาการกับระบบการปรับปรุงภายในองค์กร เมือ่ องค์กรมีปญ ั หา หรือมีแนวคิดทีจ่ ะปรับปรุงหรือพัฒนา องค์กร ต้องท�าความเข้าใจกับเครื่องมือการบริหารจัดการนั้นๆก่อนและทบทวนท�าความเข้าใจกับขั้นตอนการปฏิบัติงาน อาจวิเคราะห์แบบง่ายๆ ตามหลัก PDCA แล้ว เลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (อาจเป็น 5ส, QCC, ISO หรืออื่นๆ) มาด�าเนินการปรับปรุงตามหลักเครื่องมือบริหารจัดการนั้นๆ และน�าหลักการ KM เข้าไปเสริม เกิดเป็นองค์ความรู้แล้วน�าองค์ความรู้ที่ได้ไปจัดเก็บเข้าระบบ องค์ความรู้นั้นไม่จ�าเป็นต้องมาจากผลงานที่ประสบความส�าเร็จ แต่ควรน�าสิ่งที่ล้มเหลวมาศึกษา เรียนรู้ไม่ให้เกิดซ�้าอีก ส่วนผลงานที่ประสบความส�าเร็จก็น�ามาเป็นต้นแบบและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น าคัญาในการท� า KM ให้ ดขึ้นแในองค์ รคืตอิ จะต้ องคิดให้เก็ป็ตนาม ระบบ ลงมื ง สร้างบรรยากาศให้ คนรู้สาึกง สนุ กกับการท� า และต้องฝัง KM ธุรกิจเกี่ยวกับมิเตอร์วัดสิค่่งาส�ไฟฟ้ และระบบอ่ านมิเเกิตอร์ บบอัตกโนมั (Autoในทุกครัอ้งปฏิ ทุกบเมืัต่อิอทีย่่กางจริ ารใช้งงจัานระบบมี ปัญหา การสร้ Service Mind เข้ า ไปในระบบการท� า งานของทุ ก คนในองค์ ก รแล้ ว KM จะเกิ ด ขึ น ้ และคงอยู ก ่ บ ั องค์ ก รต่ อ ไปได้ อ ย่ า งยั ง ่ ยื น matic Meter Reading: AMR) ซึ่งเป็นระบบจัดเก็บข้อมูลจากมิเตอร์อยู่ด้วย ถือเป็นหัวใจหลักที่ท�าให้ อีโนวา กรุ๊ป สามารถเติบโตและขยายธุรกิจไปสู่ระดับ ซึ่งในตอนนี้ระบบนี้จะถูกล้น�อามกรอบแยก 1 ไปใช้งานในนิคมอุตสาหกรรมใหญ่ๆ เท่านั้น เพราะ นานาชาติ ควบคู่กับการให้ความส�าคัญกับผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน ทั้งลูกค้า จากการบรรยายในหั วข้อา ดังนั้น ทางบริษัทฯ จึงเห็นว่า คูค่ า้ ผูแ้ ทนจ�าหน่าย ผูถ้ อื หุน้ และพนักงานนับเป็นการสร้างรากฐานทีแ่ ข็งแกร่ง ลดต้นทุนด้านแรงงานและเวลาให้ แก่ผู้ผลิตไฟฟ้ การจั ด การความรู ก ้ บ ั การเพิ่ม่มผูผลิ้บริตโภาพในองค์ กร: Knowledge Management for Productivity Improvement น่าจะเป็นประโยชน์ หากมุ่งเน้นการเข้าถึงตลาดกลุ ภครายย่อยหรื อกลุ่ม และมัน่ คง พร้อมทีจ่ ะตอบรับต่อสภาวะการแข่งขันและความเปลีย่ นแปลงอันจะ โดย คุ ณ สุ ป ระภาดา โชติ ม ณี บ้านพักอาศัย เกิดขึ้นต่อไปในอนาคต Productivity Talk วันพุธที่ 12 กันยายน 2557 ……………………………………………………………….. ผลักดันการเป็นองค์ กรแห่งการเรียนรู้ จากจุดเริ่มต้นของธุรกิจ อีโนวา กรุ๊ป ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง และก้าว อมกรอบแยก 2 คุณนพชัย มุ่งมั่นพัล้ฒ นาองค์กรให้กลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่าง เดินไปข้างหน้าด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถรองรับความทัน าเดือนกุอตัม้งภาพั 2558 แท้จริง โดยในอนาคต การฝึ บริษัทกฯอบรมประจ� ก�าลังวางแผนก่ ศูนย์นกธ์ารเรี ยนรู้และอบรม สมัยของเทคโนโลยี และความต้องการในการใช้ไฟฟ้าของมนุษย์ ที่นับวันจะมี ข้ อ มู ล เพิ ม ่ เติ ม : www.ftpi.or.th หรื อ เพื่อเป็นแหล่งในการศึกษาหาความรู้ในเรื่องของอุปกรณ์และระบบ เนื่องจาก มากขึน้ อย่างปฏิเสธไม่ได้ พร้อมกันนัน้ ก็ยงั มุง่ มัน่ ในการพัฒนาคนด้วยการสร้าง http://www.ftpi.or.th/portals/0/Public/PublicTraining2557/public_month_57.html อุปกรณ์และระบบของเราจั ดว่าเป็นอุปกรณ์ที่ค่อนข้างเฉพาะทาง จึงต้องการ เสริมองค์ความรู้ อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน และยึดมั่นการด�าเนิน หัวข้อการอบรม เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้ ามาเรียนรูวั้เพืน่อทีน�่ าความรู้ที่ได้ไปพัฒนางานและ ธุรกิจบนแนวทางของคุณธรรมและจรรยาบรรณ ท�าให้บริษัทฯ เป็นที่ยอมรับ Visual Control เครื ่องมื ช่วยเพิ่มผลิตภาพด้ 10 กุ มภาพั องค์กรของพวกเขาเหล่านั้น ทั้งนี้จ�าเป็นต้องพั ฒอนาคนภายในองค์ กรให้วยการมองเห็ มีความ นและไว้ วางใจส� าหรันบธ์ลู 2558 กค้าในวงกว้าง มาจนถึงปัจจุบัน การเพิ ม ่ ผลิ ต ภาพตนเอง 24 กุ ม ภาพั น ธ์ 2558 รู้ พอที่จะสามารถที่ถ่ายทอดความรู้นั้นให้แก่ผู้อื่นได้ ซึ่งเชื่อว่าการพัฒนาคนให้ ารุงรัากงสรรค์ ษาทวีผสลแบบทุ กคนมีตสกรรมต่ ่วนร่วม เกิดการเรียนรู้จะก่อให้เการบ� กิดการสร้ ิ่งดีๆ และนวั างๆ อีกทั้งยัง25-26 กุมภาพันธ์ 2558 การวางแผนกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก รสู ค ่ วามเป็ น เลิ ศ 25-26 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนที่สุดอีกด้วย การบริหารคนเพื่อเพิ่มผลงาน 27 กุมภาพันธ์ 2558
จรรยาบรรณ... พื้นฐานของการด�าเนินธุรกิจ
บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ในการด�าเนินธุรกิจบนพืน้ ฐานของจรรยาบรรณและคุณธรรม ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มุ่งสร้างคู่ค้า และต้องการให้คู่ค้ามองบริษัทฯ เป็นพันธมิตร ที่ดี ซึ่งกลายเป็นความภาคภูมิใจของบริษัทฯ ในการได้รับการยอมรับจากหน่วย งานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเจตจ�านงอย่างมุ่ง มั่นที่จะด�าเนินงานตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ในเรื่องของการให้บริการ บริษัทฯ มีความยินดีและความพร้อมในการให้ บริการและดูแลลูกค้า แม้วา่ สินค้านัน้ ๆ จะสิน้ สุดระยะเวลาการรับประกันไปแล้ว
การจัดการความรู้กับการเพิ่มผลิตภาพ ในองค์กร ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไป องค์กรต้องมีการ ปรับตัว เปลี่ยนวิธีคิด และวิธีการ ท�างานใหม่ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ ซึ่งในปัจจุบันการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ถือเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยสร้าง ความได้เปรียบในเชิงแข่งขันให้แก่ องค์กรได้ KM… พัฒนาคน งาน และองค์กร
ในเชิงธุรกิจ KM ถือว่าเป็นเรื่องที่ส�าคัญ ด้วยบางบริษัท ท�าธุรกิจที่คล้ายคลึงกันมีสินค้าเหมือนกันแต่การให้บริการ ลูกค้ามีความแตกต่างกัน ถ้าเราเข้าใจลูกค้าและบริการลูกค้า ได้ตรงตามความต้องการหรือให้ข้อมูลลูกค้าได้ตรงประเด็นก็ ย่อมท�าให้องค์กรเราเหนือกว่าคู่แข่ง ยิง่ ถ้าองค์กรไหนมีองค์ความรูท้ สี่ งั่ สมกันมาแบบรุน่ ต่อรุน่ ทัง้ ในแง่ของการด�าเนินงานและประสบการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ ป็นองค์ ความรู้ที่อยู่ในตัวคนคนนั้น (Tacit Knowledge) มากเท่าไร ยิ่งท�าให้องค์กรของเราได้เปรียบคู่แข่ง ทั้งนี้การที่จะน�า KM เข้ามาปรับใช้ในองค์กร ผู้บริหาร พนักงานและผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้าใจแก่นแท้ของ KM เสีย ก่อน เพราะจะท�าให้สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ งานของตนเองได้ แต่หากผู้ใช้ไม่เข้าใจก็อาจกลายเป็นภาระ และตัวปัญหาได้เช่นกัน
วงจร KM แบบง่ายๆ
หลักการของ KM มีอยู่ว่า การบริหารจัดการความรู้ที่ ต้องการใช้ให้แก่คนที่ต้องการในเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้คน ท�างานได้อย่างมีประสิทธิผลและส่งผลให้องค์กรประสบความ ส�าเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ตามนิยามของ Right Knowledge Right People Right Time ถ้าดูดีๆ KM เน้นไปที่การพัฒนาคน พัฒนาผลงาน และ พัฒนาองค์กร ถ้าคนมีความเข้าใจและสามารถพัฒนาตนเอง
ให้เก่งขึ้น ผลงานก็จะออกมาดีแน่นอนว่าผลการด�าเนินงาน ขององค์กรก็จะบรรลุเป้าหมายตามไปด้วย หากพิจารณาองค์ประกอบหลักในการประยุกต์ใช้ KM ในองค์กร มีอยู่ด้วยกัน 3 ส่วน คือ คน กระบวนการ และ เทคโนโลยี หลักการจัดการความรู้เบื้องต้น คือ การค้นหาคน ทีม่ คี วามรูท้ กั ษะและความเชีย่ วชาญ เน้นคนทีม่ ปี ระสบการณ์ ตรงมาถ่ายทอดความรูผ้ า่ นกระบวนการต่างๆ แล้วจัดเก็บองค์ ความรู ้ นั้ น เข้ า ระบบด้ ว ยเครื่ อ งมือหรือเทคโนโลยีเพื่อให้ สะดวกต่อการจัดเก็บข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูล พร้อมทั้ง ต้องผลักดันให้คนในองค์กรน�าความรู้ที่รวบรวมไว้ไปใช้งาน และต้อง Update ความรูใ้ ห้ทนั สมัยอยูเ่ สมอทีส่ า� คัญควรต้อง ตรวจสอบว่าองค์ความรู้ที่เก็บไว้ยังสอดคล้องกับเป้าหมาย ขององค์กรอยู่หรือไม่ ส�าหรับองค์กรที่ก�าลังเริ่มท�า KM หรือท�าแล้วแต่ก็ยัง สับสน ก่อนอื่นจะต้องรู้ก่อนว่าอะไรเป็นความรู้ที่ส�าคัญของ องค์กรแล้วจะได้องค์ความรู้เหล่านี้จากที่ไหน และพอได้มา แล้วจะต้องรวบรวมอย่างไร จัดเก็บทีไ่ หน เพือ่ ทีจ่ ะให้คนเข้าไป ใช้ประโยชน์ได้ซงึ่ ปัญหาส่วนใหญ่ทอี่ งค์กรพบ คือ องค์กรท�าได้ เพียงแค่การสกัดเอาองค์ความรูอ้ อกมาแล้วจัดเก็บไว้ในระบบ แต่ไม่มใี ครเข้าไปใช้ประโยชน์ หรือท�าอะไรกับองค์ความรูเ้ หล่า นั้นต่อ ท�าให้การท�า KM ไร้ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้การท�า KM มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น คือ การน�ากระบวนการบริหารความเสี่ยงมาใช้ ในองค์กร ทั้งเรื่องการเตรียมความพร้อม การสื่อสาร การ
หัวข้อการอบรม Visual Control เครื่องมือช่วยเพิ่มผลิตภาพด้วยการมองเห็น การเพิ่มผลิตภาพตนเอง การบ�ารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม การวางแผนกลยุทธ์องค์กรสู่ความเป็นเลิศ การบริหารคนเพื่อเพิ่มผลงาน
134/469 Nonthaburi Road, Thasai, Muang, Nonthaburi 11000 Thailand Tel: +66 2967 1379 Fax: +66 2967 1378 Website: www.enova-automation.com, www.enova.co.th E-mail: sales@enovagroup.net MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
PRODUCTIVITY BOOSTER
| 33
38 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
วันเวลา 10 กุมภาพันธ์ 2558 24 กุมภาพันธ์ 2558 25-26 กุมภาพันธ์ 2558 25-26 กุมภาพันธ์ 2558 27 กุมภาพันธ์ 2558
ก�าหนดเครื่องมือที่จะน�ามาใช้ให้ถูกต้อง การเรียนรู้ การ ก�าหนดการวัดผล และการให้รางวัล การยกย่องชมเชย เพื่อ ให้คนอยากเข้ามามีส่วนร่วมในการท�าKM มากขึ้น
บูรณาการ KM เพื่อปรับปรุงองค์กร
KM จะสามารถอยู่รอดได้จะต้องน� าไปบูรณาการกับ ระบบการปรับปรุงภายในองค์กร เมื่อองค์กรมีปัญหาหรือมี แนวคิดที่จะปรับปรุงหรือพัฒนา องค์กรต้องท�าความเข้าใจ กับเครือ่ งมือการบริหารจัดการนัน้ ๆก่อนและทบทวนท�าความ เข้าใจกับขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน อาจวิเคราะห์แบบง่ายๆ ตาม หลัก PDCA แล้วเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (อาจเป็น 5ส, QCC, ISO หรืออื่นๆ) มาด�าเนินการปรับปรุงตามหลักเครื่อง มือบริหารจัดการนั้นๆ และน�าหลักการ KM เข้าไปเสริม เกิด เป็นองค์ความรู้แล้วน�าองค์ความรู้ที่ได้ไปจัดเก็บเข้าระบบ องค์ความรู้นั้นไม่จ�าเป็นต้องมาจากผลงานที่ประสบความ ส�าเร็จ แต่ควรน�าสิ่งที่ล้มเหลวมาศึกษาเรียนรู้ไม่ให้เกิดซ�้าอีก ส่วนผลงานที่ประสบความส�าเร็จก็น�ามาเป็นต้นแบบและ ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น สิ่งส�าคัญในการท�า KM ให้เกิดขึ้นในองค์กร คือ จะต้อง คิดให้เป็นระบบ ลงมือปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง สร้างบรรยากาศให้ คนรู้สึกสนุกกับการท�า และต้องฝัง KM เข้าไปในระบบการ ท�างานของทุกคนในองค์กรแล้ว KM จะเกิดขึน้ และคงอยูก่ บั องค์กรต่อไปได้อย่างยั่งยืน จากการบรรยายในหัวข้อ การจัดการความรู้กับการเพิ่มผลิตภาพในองค์กร: Knowledge Management for Productivity Improvement โดย คุณสุประภาดา โชติมณี Productivity Talk วันพุธที่ 12 กันยายน 2557 การฝึกอบรมประจ�าเดือนสิงหาคม 2557 ข้อมูลเพิ่มเติม: www.ftpi.or.th
INTERVIEW แผนการบริหารงานของเอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์
ส�ำหรับภำพรวมในกำรบริหำรงำนทัง้ ในและต่ำง ประเทศนั้น บริษัทฯ มองว่ำยอดกำรเติบโตของ โลจิสติกส์คำดว่ำจะเติบโตประมำณ 10% โดยเป็น รำยได้มำจำกตลำดวัสดุก่อสร้ำงและปูนซีเมนต์ แต่ อย่ำงไรก็ตำม ส�ำหรับในปีนี้บริษัทฯ คำดว่ำมียอด กำรขนส่ง 15,500 ล้ำนบำท และภำยใน 5 ปีตั้งเป้ำ กำรขนส่งไว้ที่ 50,000 ล้ำนบำท และในปี 2558 มองว่ำตลำดอุตสำหกรรม ปูนซีเมนต์และวัสดุก่อสร้ำงมีแนวโน้มดีขึ้น โดยในปี หน้ำบริษัทในเครือSCG มีโรงงำนใหม่ที่ประเทศ อินโดนีเซียซึ่งเป็นโรงงำนปูนซีเมนต์ และยังมีกำร ขยำยก� ำ ลั ง กำรผลิ ต ที่ ป ระเทศกั ม พู ช ำ ซึ่ ง ทำง บริษัทฯ มีแผนให้บริกำรในประเทศต่ำงๆ ดังกล่ำว เช่นกัน
เอสซีจี โลจิสติกส์ เชื่อมั่น พาเลทแบรนด์ NPI
ทน คุ้มค่า ออกแบบ ทุกสภาพการใช้งาน
เส้นทางความส�าเร็จ... นวพลาสติกอุตสาหกรรม
เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ มุง่ มัน่ ให้บริการด้านโลจิสติกส์และ การกระจายสินค้าอย่างเต็มรูปแบบทั้งในประเทศและต่างประเทศ ด้วยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีเครือข่ายให้ บริการที่ครอบคลุมทั่วประเทศ รวมถึงการให้บริการคลังสินค้า ที่ มี ม าตรฐานกระจายอยู ่ ต ามจุ ด ส� า คั ญ ต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศ นอกจากนี้ บริษทั ได้นา� เทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาประยุกต์ใช้เพือ่ ตอบ สนองความต้องการของลูกค้า การบริหารจัดการที่มคี ณ ุ ภาพ ดังกล่าวส่งผลให้บริษัทขยายงาน และเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประตูแห่งความส�าเร็จ... เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์
คุณสยามรัฐ สุทธานุกลู Managing Director บริษทั เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จ�ากัด กล่ำวถึงภำพรวมใน กำรด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ที่ส่งผลให้ประสบควำมส�ำเร็จ มำถึงปัจจุบนั นีว้ ำ่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจขนส่งสินค้ำ ให้บริกำร ขนส่ ง สิ น ค้ ำ ภำยในเครื อ SCG และให้ บ ริ ก ำรแก่ บ ริ ษั ท ภำยนอกเครือ SCG ครอบคลุมกำรให้บริกำรทั้งภำยใน ประเทศและต่ำงประเทศ และมีคลังสินค้ำกระจำยอยู่ทั่ว ประเทศ เพื่อใช้เป็นจุดกระจำยสินค้ำให้แก่ลูกค้ำทั้งแบบกอง เก็บสินค้ำ (Stock) และส่งผ่ำนคลัง (Cross dock) เพื่อ กระจำยด้วยรถขนส่งขนำดเล็กให้ลูกค้ำปลำยทำง โดยมี สัดส่วนกำรให้บริกำรที่เป็นลูกค้ำภำยในประเทศกว่ำ 80% ลูกค้ำที่ใช้บริกำรขนส่งสินค้ำในเครือ SCG อำทิ ปูนซีเมนต์ กระดำษ วัสดุกอ่ สร้ำง ปิโตรเคมี เป็นต้น นอกจำกนีย้ งั มีลกู ค้ำ ภำยนอกเครือ SCG ประกอบด้วย กลุ่มสินค้ำเกษตร กลุ่ม ออโตโมทีฟ กลุม่ อำหำรและเครือ่ งดืม่ นอกจำกนีย้ งั ได้รว่ มทุน กับบริษทั ของประเทศญีป่ นุ่ เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับห้องเย็น ส�ำหรับสินค้ำควบคุมอุณหภูมิ รวมถึงกระจำยสินค้ำดังกล่ำว ให้แก่ลูกค้ำ นอกจำกกำรขนส่งภำยในประเทศแล้ว บริษัทฯ ยังให้ บริกำรขนส่งสินค้ำข้ำมแดนไปยังประเทศเพื่อนบ้ำน ได้แก่ ประเทศลำว กัมพูชำ และจีนตอนใต้ เป็นต้น นอกจำกนี้ บริษัทฯ ยังมีหน่วยงำน Logistics Solution Design ที่ท�ำ หน้ำทีก่ ำ� หนดรูปแบบกำรให้บริกำรทีเ่ หมำะสมเพือ่ ตอบสนอง ควำมต้องกำรของลูกค้ำในแต่กลุม่ ประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ กระดำษ วัสดุก่อสร้ำง ปิโตรเคมี เป็นต้น และในอนำคต บริษัทฯ มีแผนเปิดบริษัทแห่งใหม่ในประเทศเมียนมำร์ 34 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คุณสยามรัฐ สุทธานุกูล Managing Director บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด
พาเลท NPI ทนทาน คุม้ ค่า ออกแบบ เป็นพิเศษ เพือ่ ทุกสภาพการใช้งาน
คุณสยามรัฐ กล่ำวต่อว่ำ ส�ำหรับกำรเลือกวัสดุ ที่ใช้ในกำรรองสินค้ำเพื่อกำรขนส่ง ทำงบริษัทฯ เน้นกำรใช้พำเลทภำยใต้แบรนด์ (NPI) ของบริษัท นวพลำสติกอุตสำหกรรม จ�ำกัด เนือ่ งจำกเป็นบริษทั ในเครือ SCG Chemical ซึ่งมีกำรคัดสรรวัตถุดิบ ชั้นดีเพื่อน�ำมำผลิตเป็นสินค้ำพำเลทออกสู่ตลำด นอกจำกนี้ผู้ใช้งำนยังสำมำรถระบุขนำด รุ่น ตำม ควำมต้องกำรของลูกค้ำแต่ละรำย เพือ่ ให้สอดคล้อง กับลักษณะของสินค้ำที่น�ำไปใช้งำน โดยคุณสมบัติ ของพำเลทต้องรองรับต่อแรงกระแทกในกำรใช้งำน กำรรับโหลดของสินค้ำ และพำเลทมีอำยุกำรใช้งำน ทีย่ ำวนำนคุม้ ค่ำต่อกำรลงทุน รวมถึงกำรรับประกัน คุณภำพของผลิตภัณฑ์อีกด้วย ด้วยเหตุนี้ ทำงบริษทั ฯ จึงเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ภำย ใต้แบรนด์ (NPI) เพรำะเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ก ำร ออกแบบได้มำตรฐำนตรงต่อตำมควำมต้องกำรใช้ งำนไม่วำ่ จะเป็น ปูนซีเมนต์ถงุ อำหำรและเครือ่ งดืม่ และงำนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ หำกมีกำรใช้งำน อย่ำงถูกวิธีพำเลทจะมีกำรใช้งำนได้นำนกว่ำ 5 ปี
เหมำะสมกับสินค้ำ ท�ำให้พำเลทมีรปู แบบเฉพำะแข็ง แรง ทนทำน และเป็นเพียงรำยเดียวในประเทศที่ ผลิตพำเลทคุณสมบัติดังกล่ำวออกสู่ตลำด ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ เลือกใช้ในกำรขนส่ง และรองรับสินค้ำ คือ พำเลทรุ่น NP1-00 EX ซึ่ง สำมำรถรับน�ำ้ หนัก Static Load ได้ถงึ 6 ตัน ผูผ้ ลิต เลือกใช้วัสดุ HDPE ซึ่งท�ำให้ พำเลทมีอำยุกำรใช้ งำนทีย่ ำวนำนและแข็งแรง ทนทำนต่อกำรกระแทก ของรถ Forklift ได้เป็นอย่ำงดี นอกจำกนี้ ทำงบริษทั นวพลำสติกได้มีกำรออกแบบพำเลทให้เหมำะสม ตำมวัตถุประสงค์ในกำรใช้งำนของลูกค้ำอีกด้วย ส�ำหรับกำรเลือกใช้ เลือกซือ้ พำเลทส�ำหรับงำน อุตสำหกรรมคุณสยำมรัฐกล่ำวว่ำ ส�ำหรับผูป้ ระกอบ กำร ที่ก�ำลังมองหำพำเลทเพื่อน�ำไปใช้งำนนั้นสิ่งที่ ต้องค�ำนึงถึงมีดังนี้ • •
จุดเด่นของผลิตพาเลท แบรนด์ NPI
คุณสยามรัฐ กล่ำวถึงจุดเด่นของผลิตพำเลท แบรนด์ NPI ว่ำ พำเลท NPI เป็นสินค้ำทีม่ คี ณ ุ ภำพ โดยผลิตจำกเม็ดพลำสติกใหม่ 100% และ รูปแบบ ของพำเลท บริษทั นวพลำสติกได้มกี ำรออกแบบร่วม กับทำงกลุ่ม Chemical และ กลุ่มซีเมนต์ เพื่อให้
•
คุณภำพสินค้ำ ใช้วัตถุดิบที่มีคุณภำพใน กำรผลิตสินค้ำ พำเลททีไ่ ด้สำมำรถใช้งำน ได้ยำวนำน ทนทำนและปลอดภัย กำรออกแบบสินค้ำ มีมำตรฐำนและตรง ตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ เช่น ขนำด กว้ำง ยำว สูง กำรรับน�้ำหนักของสินค้ำ ทั้ง Dynamic และ Static Load กำรใช้ งำนทั้ง Handlift และ Forklift กำรเป็นคูค่ ดิ คูค่ ำ้ ตัวอย่ำงเช่นในกรณีของ บริษัท นวพลำสติกฯ สำมำรถออกแบบ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ตรงตำมควำมต้องกำร ของบริษัทฯ ได้
บริษัท นวพลำสติกอุตสำหกรรม จ�ำกัด เป็น บริษัทในเครือกลุ่ม SCG Chemical กลุ่มบริษัทที่ มีนวัตกรรม เทคโนโลยี และเครื่องจักรอันทันสมัย เป็นทีย่ อมรับทัง้ ในประเทศและต่ำงประเทศ ปัจจุบนั กลุ่มบริษัท นวพลำสติกฯ ประกอบด้วย 3 บริษัท ที่ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ ำ งสอดคล้ อ งกั น ได้ แ ก่ บริ ษั ท นวพลำสติกอุตสำหกรรม (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท นวพลำสติ ก อุ ต สำหกรรม จ� ำ กั ด และ บริ ษั ท นวอินเตอร์เทค จ�ำกัด ซึง่ มีควำมเชีย่ วชำญด้ำนกำร ผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ขึ้นรูปพลำสติกด้วย เครื่องจักรที่ทันสมัย ทั้งจำกกระบวนกำรผลิตแบบ Injection และ Extrusion ภำยใต้คุณภำพที่ได้ รับรองมำตรฐำน ISO 9001, ISO 14001 และ OHSAS 18001
บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจขนส่งสินค้ำ ให้ บริกำรขนส่งสินค้ำภำยในเครือ SCG และให้บริกำรแก่บริษัทภำยนอกเครือ SCG ครอบคลุมกำรให้บริกำรทั้ง ภำยในประเทศและต่ำงประเทศ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 35
INTERVIEW จำกประสบกำรณ์ ใ นกำรผลิ ต และจ� ำ หน่ ำ ยพำเลท พลำสติกภำยใต้แบรนด์ (NPI) มำนำนกว่ำ 30 ปี ด้วย เทคโนโลยีกำรผลิตที่ทันสมัยท�ำให้พำเลทพลำสติก (NPI) เป็นทีย่ อมรับและเชือ่ มัน่ จำกผูใ้ ช้งำน อีกทัง้ ยังมีสนิ ค้ำหลำก หลำยรูปแบบที่ผลิตออกสู่ตลำดเพื่อรองรับควำมต้องกำร ของผูป้ ระกอบกำรในภำคอุตสำหกรรม นอกจำกมีสนิ ค้ำทีม่ ี คุณภำพแล้วทำงบริษทั ฯ มีบริกำรให้คำ� แนะน�ำและออกแบบ พำเลทเพื่อพัฒนำสินค้ำให้ตรงกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ เอื้อต่อผู้ประกอบกำรด้ำนขนส่งโลจิสติกส์รองรับกำรเปิด ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน (Asean Economic Community) หรือ AEC ภำคกำรขนส่ง ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ พำเลทพลำสติกภำยใต้แบรนด์ (NPI) ผลิตด้วยเทค โนโลยีเครื่องจักรจำกต่ำงประเทศ และออกแบบโครงสร้ำง พิเศษ ซึง่ ท�ำให้พำเลทพลำสติก (NPI) มีควำมแข็งแกร่งและ ทนต่อกำรรับน�ำ้ หนักได้มำก และไม่แตกหักหรือเสียหำยง่ำย เมื่อถูกกระแทกหรือตกหล่น รวมทั้งยังคุ้มค่ำ คุ้มรำคำกับ อำยุกำรใช้งำนที่ยำวนำนกว่ำ พำเลทพลำสติก (NPI) จึงเป็นผลิตภัณฑ์คุณภำพที่ผู้ ประกอบกำรในภำคอุตสำหกรรมไว้วำงใจ เพือ่ รองรับน�ำ้ หนัก ในทุกสภำพกำรใช้งำน
ผลิตภัณฑ์พาเลทภายใต้แบรนด์ (NPI) SCG ให้ความไว้วางใจ และใช้งานมายาวนานกว่า 20 ปี โดยเริ่มก่อตั้งบริษัทฯ ก็ใช้ พาเลทที่ ‘นวพลาสติก’ เป็นผู้ผลิตมาตลอด คุณสยามรัฐ กล่าว
สินค้าเด่นภายใต้แบรนด์ (NPI)
ส�ำหรับสินค้ำของบริษัทฯ ที่ได้รับกำรตอบรับจำกผู้ใช้ งำนมำอย่ำงต่อเนื่องประกอบด้วยดังนี้ พาเลท (NPI) รุน่ NP1 : มีคณ ุ สมบัตทิ สี่ ำมำรถรองรับ น�ำ้ หนักได้ถงึ 2 ตัน ทนต่อแรงกระแทก สำมำรถขนย้ำยด้วย รถ Forklift และ Handlift ทั้งนี้ พำเลทรุ่นดังกล่ำวเหมำะ ที่จะใช้งำนกับสินค้ำวัสดุก่อสร้ำง สินค้ำอุปโภค บริโภค อุตสำหกรรมรถยนต์ เป็นต้น
CC
MM
YY
CM CM
MY MY
CY CY
CMY CMY
KK
พาเลท (NPI) รุ่น NP8 : มีคุณสมบัติที่รองรับน�้ำหนัก ได้ถึง 1 ตัน มีน�้ำหนักเบำ ทนทำน และสำมำรถใช้งำนกับ รถแฮนด์ลิฟท์ รถโฟล์คลิฟท์ ขนถ่ำยสินค้ำได้ง่ำย สะดวก รวดเร็ว เหมำะที่จะใช้งำนกับอุตสำหกรรมเบำ เช่น สินค้ำ อุปโภค บริโภค ร้ำนค้ำปลีก อุตสำหกรรมอำหำร เป็นต้น นอกจำกพำเลททั้ง 2 รุ่นที่กล่ำวในข้ำงต้นแล้ว บริษัทฯ ยังมีรุ่นอื่นๆ ที่ได้รับกำรออกแบบมำอย่ำงดี ใช้งำนทนทำน และ (NPI) ยังสำมำรถออกแบบพำเลทเป็นพิเศษซึง่ สำมำรถ รองรับกำรขนสินค้ำแบบพิเศษได้รวดเร็วและปลอดภัยมำก ยิ่งขึ้น
36 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การควบคุมคุณภาพ... พาเลทพลาสติก (NPI)
พำเลทพลำสติก (NPI) ได้มีกำรตรวจสอบและควบคุม คุณภำพทุกขัน้ ตอนกำรผลิตอย่ำงละเอียด ด้วยเครือ่ งมือวัด ที่มีมำตรฐำนจำกประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มตั้งแต่กำรตรวจรับ วัตถุดิบ กำรตรวจสอบระหว่ำงกำรผลิต และกำรทดสอบ พำเลทพลำสติก โดยอ้ำงอิงตำมมำตรฐำนอุตสำหกรรมญีป่ นุ่ (Japanese Industrial Standards) หรือ JIS ก่อนส่งมอบ ให้กับผู้ใช้งำนทุกครั้ง อีกทั้งบริษัทฯ ยังให้ควำมส�ำคัญในด้ำนงำนวิจัยและ พัฒนำทั้งในกระบวนกำรผลิตและตัวผลิตภัณฑ์ไม่ว่ำจะเป็น ด้ำนกำรคิดค้นออกแบบพำเลทใหม่หรือสูตรกำรผลิตใหม่ๆ ตลำดจนกำรให้ค�ำแนะน�ำกำรใช้งำนพำเลทอย่ำถูกวิธีโดย
ทีมวิศวกรที่มีควำมสำมำรถเพื่อให้เกิดควำมพึงพอใจสูงสุด แก่ผู้ใช้งำน จึงเป็นที่เชื่อมั่นได้ว่ำพำเลทพลำสติก (NPI) เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภำพระดับสำกล บริษัท นวพลำสติกอุตสำหกรรม มุ่งมั่น ทุ่มเทพัฒนำ ศักยภำพ จนก้ำวสู่กำรเป็นองค์กรชั้นน�ำในกำรผลิตสินค้ำ และบริกำรในธุรกิจพลำสติกอย่ำงครบวงจร โดยทุกบริษัท มีจดุ มุง่ หมำยเดียวกัน คือ มุง่ สร้ำงสรรค์นวัตกรรมของสินค้ำ และบริกำรที่มีคุณภำพอย่ำงมีจิตส�ำนึกต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของผู้บริโภคอย่ำงไม่ หยุดนิ่งและก้ำวขึ้นสู่กำรเป็นผู้น�ำตลำดในธุรกิจพำเลทใน อำเซียน
PRODUCTIVITY BOOSTER
การจัดการความรู้กับการเพิ่มผลิตภาพ ในองค์กร ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไป องค์กรต้องมีการ ปรับตัว เปลี่ยนวิธีคิด และวิธีการ ท�างานใหม่ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ ซึ่งในปัจจุบันการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ถือเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยสร้าง ความได้เปรียบในเชิงแข่งขันให้แก่ องค์กรได้ C
KM… พัฒนาคน งาน และองค์กร
ให้เก่งขึ้น ผลงานก็จะออกมาดีแน่นอนว่าผลการด�าเนินงาน ในเชิงธุรกิจ KM ถือว่าเป็นเรื่องที่ส�าคัญ ด้วยบางบริษัท ขององค์กรก็จะบรรลุเป้าหมายตามไปด้วย ท�าธุรกิจที่คล้ายคลึงกันมีสินค้าเหมือนกันแต่การให้บริการ หากพิจารณาองค์ประกอบหลักในการประยุกต์ใช้ KM ลูกค้ามีความแตกต่างกัน ถ้าเราเข้าใจลูกค้าและบริการลูกค้า ในองค์กร มีอยู่ด้วยกัน 3 ส่วน คือ คน กระบวนการ และ ได้ตรงตามความต้องการหรือให้ข้อมูลลูกค้าได้ตรงประเด็นก็ เทคโนโลยี หลักการจัดการความรู้เบื้องต้น คือ การค้นหาคน ย่อมท�าให้องค์กรเราเหนือกว่าคู่แข่ง ทีม่ คี วามรูท้ กั ษะและความเชีย่ วชาญ เน้นคนทีม่ ปี ระสบการณ์ ยิง่ ถ้าองค์กรไหนมีองค์ความรูท้ สี่ งั่ สมกันมาแบบรุน่ ต่อรุน่ ตรงมาถ่ายทอดความรูผ้ า่ นกระบวนการต่างๆ แล้วจัดเก็บองค์ ทัง้ ในแง่ของการด�าเนินงานและประสบการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ ป็นองค์ ความรู ้ นั้ น เข้ า ระบบด้ ว ยเครื่ อ งมื อ หรื อ เทคโนโลยี เ พื่ อ ให้ ความรู้ที่อยู่ในตัวคนคนนั้น (Tacit Knowledge) มากเท่าไร สะดวกต่อการจัดเก็บข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูล พร้อมทั้ง ยิ่งท�าให้องค์กรของเราได้เปรียบคู่แข่ง ต้องผลักดันให้คนในองค์กรน�าความรู้ที่รวบรวมไว้ไปใช้งาน ทั้งนี้การที่จะน�า KM เข้ามาปรับใช้ในองค์กร ผู้บริหาร และต้อง Update ความรูใ้ ห้ทนั สมัยอยูเ่ สมอทีส่ า� คัญควรต้อง พนักงานและผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้าใจแก่นแท้ของ KM เสีย ตรวจสอบว่าองค์ความรู้ที่เก็บไว้ยังสอดคล้องกับเป้าหมาย ก่อน เพราะจะท�าให้สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ ขององค์กรอยู่หรือไม่ งานของตนเองได้ แต่หากผู้ใช้ไม่เข้าใจก็อาจกลายเป็นภาระ ส�าหรับองค์กรที่ก�าลังเริ่มท�า KM หรือท�าแล้วแต่ก็ยัง และตัวปัญหาได้เช่นกัน สับสน ก่อนอื่นจะต้องรู้ก่อนว่าอะไรเป็นความรู้ที่ส�าคัญของ องค์กรแล้วจะได้องค์ความรู้เหล่านี้จากที่ไหน และพอได้มา วงจร KM แบบง่ายๆ แล้วจะต้องรวบรวมอย่างไร จัดเก็บทีไ่ หน เพือ่ ทีจ่ ะให้คนเข้าไป หลักการของ KM มีอยู่ว่า การบริหารจัดการความรู้ที่ ใช้ประโยชน์ได้ซงึ่ ปัญหาส่วนใหญ่ทอี่ งค์กรพบ คือ องค์กรท�าได้ ต้องการใช้ให้แก่คนที่ต้องการในเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้คน เพียงแค่การสกัดเอาองค์ความรูอ้ อกมาแล้วจัดเก็บไว้ในระบบ ท�างานได้อย่างมีประสิทธิผลและส่งผลให้องค์กรประสบความ แต่ไม่มใี ครเข้าไปใช้ประโยชน์ หรือท�าอะไรกับองค์ความรูเ้ หล่า ส�าเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ตามนิยามของ Right Know- นั้นต่อ ท�าให้การท�า KM ไร้ประสิทธิภาพ ledge Right People Right Time อย่างไรก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้การท�า KM มีประสิทธิภาพ ถ้าดูดีๆ KM เน้นไปที่การพัฒนาคน พัฒนาผลงาน และ มากยิ่งขึ้น คือ การน�ากระบวนการบริหารความเสี่ยงมาใช้ พัฒนาองค์กร ถ้าคนมีความเข้าใจและสามารถพัฒนาตนเอง ในองค์กร ทั้งเรื่องการเตรียมความพร้อม การสื่อสาร การ
หัวข้อการอบรม Visual Control เครื่องมือช่วยเพิ่มผลิตภาพด้วยการมองเห็น การเพิ่มผลิตภาพตนเอง การบ�ารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม การวางแผนกลยุทธ์องค์กรสู่ความเป็นเลิศ การบริหารคนเพื่อเพิ่มผลงาน 38 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
วันเวลา 10 กุมภาพันธ์ 2558 24 กุมภาพันธ์ 2558 25-26 กุมภาพันธ์ 2558 25-26 กุมภาพันธ์ 2558 27 กุมภาพันธ์ 2558
ก�าหนดเครื่องมือที่จะน�ามาใช้ให้ถูกต้อง การเรียนรู้ การ ก�าหนดการวัดผล และการให้รางวัล การยกย่องชมเชย เพื่อ ให้คนอยากเข้ามามีส่วนร่วมในการท�าKM มากขึ้น
บูรณาการ KM เพื่อปรับปรุงองค์กร
KM จะสามารถอยู่รอดได้จะต้องน� าไปบูรณาการกับ ระบบการปรับปรุงภายในองค์กร เมื่อองค์กรมีปัญหาหรือมี แนวคิดที่จะปรับปรุงหรือพัฒนา องค์กรต้องท�าความเข้าใจ กับเครือ่ งมือการบริหารจัดการนัน้ ๆก่อนและทบทวนท�าความ เข้าใจกับขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน อาจวิเคราะห์แบบง่ายๆ ตาม หลัก PDCA แล้วเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (อาจเป็น 5ส, QCC, ISO หรืออื่นๆ) มาด�าเนินการปรับปรุงตามหลักเครื่อง มือบริหารจัดการนั้นๆ และน�าหลักการ KM เข้าไปเสริม เกิด เป็นองค์ความรู้แล้วน�าองค์ความรู้ที่ได้ไปจัดเก็บเข้าระบบ องค์ความรู้นั้นไม่จ�าเป็นต้องมาจากผลงานที่ประสบความ ส�าเร็จ แต่ควรน�าสิ่งที่ล้มเหลวมาศึกษาเรียนรู้ไม่ให้เกิดซ�้าอีก ส่วนผลงานที่ประสบความส�าเร็จก็น�ามาเป็นต้นแบบและ ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น สิ่งส�าคัญในการท�า KM ให้เกิดขึ้นในองค์กร คือ จะต้อง คิดให้เป็นระบบ ลงมือปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง สร้างบรรยากาศให้ คนรู้สึกสนุกกับการท�า และต้องฝัง KM เข้าไปในระบบการ ท�างานของทุกคนในองค์กรแล้ว KM จะเกิดขึน้ และคงอยูก่ บั องค์กรต่อไปได้อย่างยั่งยืน จากการบรรยายในหัวข้อ การจัดการความรู้กับการเพิ่มผลิตภาพในองค์กร: Knowledge Management for Productivity Improvement โดย คุณสุประภาดา โชติมณี Productivity Talk วันพุธที่ 12 กันยายน 2557 การฝึกอบรมประจ�าเดือนสิงหาคม 2557 ข้อมูลเพิ่มเติม: www.ftpi.or.th
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
PRODUCTIVITY BOOSTER
Management System Education and Training
Communication Promotion KAIZEN
Structure
ไคเซ็น... พลังความคิด สู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในสถานการณ์ปจั จุบนั ทีก่ ารแข่งขันมีสงู มาก ธุรกิจต่างๆ ต้องปรับตัวรับมือ เครือ่ งมือทีน่ า� มาใช้ในการรับมือและเสริมสร้าง ประสิทธิภาพในการแข่งขันดังกล่าว นัน่ ก็คอื การปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งและการใช้ทรัพยากรทีอ่ งค์กรมีอยูอ่ ย่างจ�ากัดนัน้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทรัพยากรที่ว่านี้ ได้แก่ เครื่องจักร วัตถุดิบ พลังงานเชื้อเพลิง รวมทั้งคน ซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่ ส�าคัญที่สุด ซึ่งนอกจาก จะมีบทบาทเป็นทรัพยากรแล้ว คน ยังรับบทบาทในการเป็นผู้ใช้ทรัพยากรอีกด้วย ซึ่ง คนเป็น ตัวแปรหลักที่ส�าคัญในการสร้างผลิตภาพ ซึ่งต้องอาศัยการสร้างเสริมหรือเติมองค์ความรู้ให้แก่คนนั่นเอง เพิ่มผลิตภาพ... ด้วยไคเซ็น
อ.วุฒิพงศ์ บุญนายวา ผู้จัดการส่วนบริหารการผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กล่าวในงาน MODERN MANUFACTURING FORUM 2014 ซึ่งจัดโดย บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ากัด ในหัวข้อเรื่องไคเซ็น (KAIZEN) พลังความคิดสูก่ ารปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งว่า ไคเซ็น (KAIZEN) เป็นระบบๆ หนึ่งที่ส่งเสริมให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพในองค์กร เป็นระบบที่ไม่ต้องลงทุนแต่อย่างใด แต่เกิดขึ้นได้ด้วยการ สร้างความเข้าใจแก่พนักงาน ให้พวกเขาเหล่านั้นเห็นความ ส�าคัญของการสูญเปล่าและร่วมมือกันปรับปรุง ไคเซ็น เป็นค�าที่มาจากภาษาญี่ปุ่น ซึ่งค�าว่า Kai (ไค) มี 40 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ความหมายว่า การเปลีย่ นแปลง และค�าว่า Zen (เซ็น) มีความ หมายว่า ดีหรือดีกว่า เมื่อรวมค�าทั้งสองเข้าด้วยกัน ไคเซ็น จึงมีความหมายว่า การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งที่ดีกว่า การเปลีย่ นแปลง สามารถท�าได้หลายวิธี ไม่วา่ จะเปลีย่ น วิธกี ารท�างานให้งา่ ยและสะดวกขึน้ เปลีย่ นหรือดัดแปลงเครือ่ ง มือให้สามารถท�างานได้รวดเร็วขึ้นหรือปลอดภัยมากยิ่งขึ้น การปรับเปลี่ยนสถานที่ท�างานให้มีความคล่องตัว ตลอดจน การปรับเปลี่ยนคนให้สามารถท�างานที่ดียิ่งขึ้น ไคเซ็น เป็นแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงสิ่ง ต่างๆ ให้ดีขึ้นทีละเล็กทีละน้อย เป็นระบบที่ช่วยให้พนักงาน ทุกระดับแสดงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร โดยการ
เสนอความคิดที่มีประโยชน์ต่อการปรับปรุงคุณภาพในการ ท�างาน เพื่อให้การท�างานง่ายขึ้น สะดวกขึ้น รวดเร็วขึ้น ลด ความผิดพลาดอันจะส่งผลให้การท�างานมีผลิตภาพสูงขึ้น ไคเซ็น เป็นระบบทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้สา� หรับทุก ธุรกิจ ซึ่งต้องอาศัยระบบบริหารจัดการที่ประกอบด้วยส่วนที่ ส�าคัญ 2 ส่วน คือ การท�างานอย่างมีมาตรฐานและการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งองค์กรส่วนใหญ่ต่างมีการบริหาร จัดการด้านมาตรฐานกันอยู่แล้ว แต่ส่วนที่เป็นการปรับปรุง อย่างต่อเนื่องนั้นมีน้อยรายที่จะท�า จึงกล่าวได้ว่า การปรับ ปรุงอย่างต่อเนื่องเป็นตัวแปรส�าคัญในการที่จะท�าให้องค์กร หนึ่งๆ มีขีดความสามารถเหนือกว่าคู่แข่งนั่นเอง
องค์ประกอบของการท�าไคเซ็น
การท�าไคเซ็น ไม่ใช่เป็นเรื่องใหม่และท�าได้ไม่ยาก ถ้า ปัญหาง่ายๆ สามารถใช้วิธีการไคเซ็นในการแก้ปัญหาได้เลย ในขณะที่ปัญหาที่ซับซ้อนจ�าเป็นต้องหาวิธีการที่เหมาะสมใน การแก้ปญ ั หาต่อไป ซึง่ การท�าไคเซ็นทีด่ แี ละประสบผลส�าเร็จ ได้นั้น จ�าเป็นต้องมีระบบบริหารจัดการที่ดี ซึ่งระบบบริหาร ไคเซ็น ประกอบด้วย 1. Structure เราต้องมีโครงสร้าง อันได้แก่ บุคลากรที่ ด�าเนินการในเรือ่ งไคเซ็นมีการก�าหนดบทบาทหน้าทีอ่ ย่าง ชัดเจน 2. Education and Training จ�าเป็นต้องให้ความรู้และ การฝึกอบรม ซึ่งมีหลายรูปแบบ อาทิ การประชุม การ ศึกษาผ่านสื่อต่างๆ เป็นต้น 3. Management System มีระบบการจัดการทีด่ มี แี ผนที่ ชัดเจน มีกฎกติกาในการส่ง การติดตามผล 4. Communication Promotion การเผยแพร่และสือ่ สาร ประชาสัมพันธ์ให้คนในองค์กรได้รับทราบ รวมถึงการ สร้างบรรยากาศในการสร้างไคเซ็น 5. Reward รางวัลเพื่อตอบแทนแนวคิดของพนักงานใน องค์กร เพื่อเป็นการสนับสนุนและจูงใจให้พนักงานได้มี ส่วนร่วมในการเสนอแนวคิด
ระยะเวลาในการท�าไคเซ็น
ส�าหรับระยะเวลาในการด�าเนินงานเรือ่ งไคเซ็นในองค์กร เราสามารถแบ่งช่วงเวลาออกเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1: ครึ่งปี – 1 ปี (ช่วงแรงเริ่ม) มีตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องคือ
Reward
- การมีสว่ นร่วมของคนในองค์กร คือ พนักงานในองค์กร ร่วมเสนอแนวคิด - เน้นสร้างความเข้าใจแก่นพักงานในองค์กร ช่วงที่ 2: (ช่วงต่อเนื่อง) - พัฒนาและต่อยอดแนวคิดทีด่ อี ยูแ่ ล้วให้พฒ ั นาและดีขนึ้ - ประเมินและวัดผลได้ - เน้นแบ่งปันองค์ความรู้ ช่วงที่ 3: (ขั้น Advance) - ส่งเสริมการพัฒนาและปรับปรุงแนวคิดนัน้ ๆ ให้กลาย เป็นนวัตกรรม - เมื่อกลายเป็นความเคยชิน จะก่อเกิดเป็นวัฒนธรรม ขององค์กรขึ้นมา
ทฤษฎี 3 Doors Concept
ขั้นตอนการเริ่มท�าไคเซ็น ตามหลักทฤษฎี 3 Doors Concept ประกอบด้วยขั้นตอนการด�าเนินงานดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1: ก�าหนดปัญหา นับเป็นจุดเริ่มต้นของการปรับปรุงและพัฒนา ด้วยการ ยอมรับว่ามีปญ ั หาหรืองานทีท่ า� อยูย่ งั ไม่ดพี อ ซึง่ มีทงั้ ปัญหาที่ ปรากฏให้เห็นชัดเจน (Visible Problems) อาทิ ผลงานไม่ได้ ตามเป้าหมาย ปัญหาด้านคุณภาพงาน ผลิตไม่ตรงก�าหนดเวลา การขัดข้องของเครื่องจักร การเกิดอุบัติเหตุ การสื่อสารผิด พลาด เป็นต้น และปัญหาทีไ่ ม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด (Invisible Problems) แต่ส่งผลกระทบต่องานที่รับผิดชอบหรือผลการ ด�าเนินงานขององค์กร ซึง่ จ�าเป็นต้องมีการเก็บข้อมูลเพิม่ เติม
หรือต้องมีการวิเคราะห์การท�างานอย่างละเอียด ทั้งข้อมูล ความเสียหายอันเกิดจากการท�างาน ศึกษาวิธีการปฏิบัติ งานวิเคราะห์ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 2: หาวิธีการแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการหาแนวทางหรือวิธีการในการแก้ไข ปัญหาหรือปรับปรุงงานให้ง่ายและสะดวกขึ้น ด้วยการใช้ ความคิดสร้างสรรค์ การระดมความคิด การเทียบเคียงกับ งานที่ ค ล้ า ยกั น หรื อ แม้ แ ต่ ก ารลอกเลี ย นแบบและพั ฒ นา เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3: ลงมือและวัดผล ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ส�าคัญที่สุด เพราะไคเซ็น จะเกิด คุณค่าก็ต่อเมื่อมีการน�าแนวคิดไคเซ็นไปปฏิบัติ และสัมฤทธิ์ ผลตามวัตถุประสงค์ทกี่ า� หนดไว้ ทัง้ นี้ ควรท�าการวัดผลเปรียบ เทียบก่อนและหลังการด�าเนินงาน และหลังจากปฏิบัติแล้วก็ ควรพิจารณาก�าหนดให้เป็นมาตรฐานและถ่ายทอดแนวคิดนัน้ ออกไปยังบุคคลอื่นๆในองค์กร จากนั้นจึงพิจารณาขยายผล ต่อยอดไปใช้กับงานอื่นๆ ที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ดี การท�าไคเซ็นให้ประสบความส�าเร็จได้นั้น จ�าเป็นต้องอาศัยปัจจัยส�าคัญ ได้แก่ การให้การสนับสนุนอย่าง จริงจังจากผู้บริหารระดับสูง การมีส่วนร่วมของพนักงานใน องค์กร การจัดโครงสร้างและการบริหารไคเซ็นทีช่ ดั เจน การ สื่อสารและประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการติดตามผลและการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 41
INDUSTRIAL TREND
การพัฒนาการผลิตด้วย... ระบบ AUTOMATION 42 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ปัจจุบัน ระบบ Automation ได้เข้ามามีบทบาทส�าคัญต่ออุตสาหกรรมของไทย ในกระบวนการผลิต ด้วยการน�าคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยให้เครื่องจักรสามารถ ท� า งานได้ เ อง โดยอาจเป็ น เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง ของขั้ น ตอนการผลิ ต หรื อ เป็ น การ ผลิตแบบอัตโนมัติทั้งระบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลผลิต ท�า งานง่ายขึ้น อี ก ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยลดอั ต ราการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ซึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ จ ะเป็ น ผู ้ ค วบคุ ม และ ดูแลเครื่องจักร MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 43
INDUSTRIAL TREND ทั้ ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการที่ ต ้ อ งการปรั บ โรงงานให้ เ ป็ น ระบบ Automation จ�าเป็นต้องศึกษาถึงรูปแบบของ ระบบอั ต โนมั ติ เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะโรงงาน อุตสาหกรรมและน�ามาปรับใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในกระบวนการผลิต โดย อ.วรินทร์ รอดโพธิ์ทอง Senior Manager of Machinery & Automation System Center สถาบันไทย-เยอรมัน ได้กล่าวถึงเรื่อง การพั ฒ นาการผลิ ต แบบอั ต โนมั ติ ในงานสัมมนาและงานแสดงสิ น ค้ า เพื่ อ ผู ้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรม (Modern Manufaturing Forum 2014) ว่า ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องมีความเป็นผู้น�าทาง ด้านต้นทุน (Cost Conscious) คือ ต้องตระหนักใน เรื่องต้นทุนเป็นหลักเพื่อความอยู่รอดด้วยวิธีการผลิตที่ เป็ น แนวคิ ด ใหม่ ๆ เช่ น Lean หรื อ TPS (Toyota Production System) ที่มุ่งเน้นลดต้นทุนการผลิตด้วย การก� า จั ด ของเหลื อ หรื อ ของส่ ว นเกิ น ต่ า งๆ จาก กระบวนการผลิ ต และผลิ ต แต่ สิ น ค้ า ที่ ข ายได้ เ ท่ า นั้ น ซึ่งโรงงานหลายแห่งได้น�ามาประยุกต์ใช้ วิธีคิดเหล่านี้ นับว่าเป็นสิ่งที่ท�าให้กระบวนการผลิต เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงแทบทั้ ง สิ้ น ทั้ ง นี้ รู ป แบบของ โรงงานอุตสาหกรรมจะมีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จากในอดีตทีน่ ยิ มใช้แรงงานราคาถูก กระทัง่ ในระยะต่อมา ได้มกี ารใช้เครือ่ งจักรในรูปแบบกึง่ อัตโนมัติ (Convention) และในปั จ จุ บั น โรงงานอุ ต สาหกรรมได้ เ ข้ า สู ่ ร ะบบการ ผลิตที่เป็นเครื่องจักรอัตโนมัติเกือบทั้งหมด วิธีการเลือกระบบ Automation เพื่อให้เหมาะ สมกับโรงงานอุตสาหกรรม โดยการเลือกระบบ Automation เพื่อใช้ให้เหมาะสม กับโรงงานอุตสาหกรรมนั้น จ�าเป็นต้องค�านึงถึงจ�านวน
การผลิ ต ในกรณี ที่ โ รงงานผลิ ต สิ น ค้ า จ� า นวนน้ อ ยจะ ใช้ แ รงงาน (Labor Intensive) ในการผลิ ต เป็ น หลั ก แต่ถ้าหากโรงงานอุตสาหกรรม มีจ�านวนการผลิตมาก จะต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง ควรเปลี่ยนมาใช้หุ่นยนต์ อุ ต สาหกรรมในการผลิ ต ซึ่ ง มี ตั ว แทนหุ ่ น ยนต์ เ รี ย กว่ า Flexible Automation เป็นระบบอัตโนมัติที่สามารถ ปรับเปลี่ยน แก้ไข ได้ง่าย
2. การย้ายชิ้นงานแบบไม่เกิดการท�างานจะน้อยลง เพราะสามารถลดเวลาในการขนย้ายให้สั้นลง 3. การวางท�าแผนการผลิตท�าได้ง่าย เนื่องจากเวลา ในการได้งานแต่ละชิ้นสั้นลง 4. ท�าแผนการผลิตได้โดยไม่ต้องอาศัยสโตร์ส�าหรับ เก็บกักงาน คือ เมื่อสินค้าหลุดจากไลน์การผลิตก็สามารถ บรรจุได้ทันที
ทั้ ง นี้ โรงงานอุ ต สาหกรรมควรศึ ก ษารู ป แบบของ ระบบ Automation เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน โดยรูปแบบของระบบ Automation มีอยูด่ ว้ ยกัน 3 แบบ คือ 1. Fix Automation เป็ น ระบบควบคุ ม ส� า หรั บ เครื่องจักรที่ท�าแบบซ�้าๆ เช่น เครื่องพับแบบซ�้าๆ ซึ่งได้ ผลผลิตจ�านวนค่อนข้างมาก แต่ข้อจ�ากัด คือ ไม่ยืดหยุ่น หากต้องการขึ้นรูปใหม่ต้องรื้อโครงสร้างระบบเครื่องจักร บางส่วน จ�าเป็นต้องสูญเสียค่าใช้จ่าย 2. Programmable Automation ส�าหรับระบบนี้ สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อการใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ แต่ได้จ�านวนผลผลิตน้อยกว่าระบบ Fix Automation โดยระบบ Programmable Automation นี้ จะสร้าง งานเป็นล็อตส�าหรับการผลิตแบบต้นทุนต�่า 3. Flexible Automation ใช้เครื่องจักรกลุ่มเดียว กับระบบ Programmable Automation แต่สามารถ ขึ้นงานได้หลากหลายรูปแบบ มีความยืดหยุ่น เป็นการ ผสมผสานการจั ด งานแบบรายผลิ ต และได้ ผ ลผลิ ต ที่ มากกว่ า ดั ง นั้ น จะท� า ให้ ลั ก ษณะงานเริ่ ม เปลี่ ย น พฤติกรรมจากการผลิตเป็นล็อตจ�านวนมากต้องใช้ระยะ เวลานาน เปลี่ยนไปเป็นแบบมีรอบเวลาในการผลิตเข้า มาแทน โดยการออกแบบโรงงานให้มคี วามยืดหยุน่ นัน้ มีผลดี ดังนี้ 1. สามารถจั ด การการผลิ ต ได้ ง ่ า ยขึ้ น เช่ น การ วางแผนการผลิต การจัดการเครื่องมือ หรือการติดตั้ง ท�าได้ง่ายขึ้น
วิธีวางแผนระบบ Automation ท�าได้อย่างไร คุ ณ ชั ย รั ต น์ บรรเทาทุ ก ข์ Senior Engineer of Electrical & Control System Division จากสถาบันไทย -เยอรมัน กล่าวถึงวิธีการวางแผนระบบ Automation ในโรงงานอุตสาหกรรมไว้ดังนี้ 1. ใช้หุ่นยนต์แทนแรงงาน เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของ โรงงานอุ ต สาหกรรม เนื่ อ งจากช่ ว ยย่ น ระยะเวลาการ ผลิต เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมพลาสติก โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมอาหารต้ อ งอาศั ย แรงงานจาก หุ่นยนต์เพิ่มขึ้น เนื่องจากประชากรโลกมีจ�านวนเพิ่มขึ้น เรื่ อ ยๆ ส่ ง ผลให้ แ รงงานไม่ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้ า ได้ ทั น ซึ่ ง ในปี พ.ศ.2559 ระบบ Automation จะเข้ า มา มีบทบาทในโรงงานอุตสาหกรรมไทยมากยิ่งขึ้น 2. ใช้หุ่นยนต์ควบคู่กับ Software เช่น ในไลน์การ ผลิตที่ใช้หุ่นยนต์โดยไม่ต้องใช้คนควบคุม แต่ใช้ Software ในการควบคุมแทน ที่ ผ ่ า นมาโรงงานอุ ต สาหกรรมนิ ย มใช้ แ รงงาน เนือ่ งจากระบบ Automation มีราคาสูงแต่ประสิทธิภาพต�า่ แต่ ใ นปั จ จุ บั น ระบบ Automation มี ร าคาต�่ า ลงแต่ ประสิทธิภาพสูงขึ้น และใช้งานได้ง่ายขึ้น ซึ่งหากเทียบ ค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ Automation กับค่าจ้างแรงงาน นับว่ามีส่วนต่างกันไม่มาก ดังนั้น หากน�าระบบ Automation ที่ใช้หุ่นยนต์มา ช่วยในไลน์ผลิตโรงงานขนาดใหญ่จะท�าให้ก�าลังการผลิต
• ระบบ Conveyor คือ ระบบขนถ่ายล�าเลียง โดย สามารถเลือกใช้ Automatic ช่วยในการขนส่งไปตามส่วน ต่างๆ ของโรงงาน • ระบบ Automatic Warehouse เป็นการจัดการ ระบบการผลิตทั้งหมดโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคุมซึ่ง มีความยืดหยุ่น เมื่อต้องการเพิ่มค�าสั่งเพียงแค่โปรแกรม ข้อมูลเข้าไป ทั้งนี้การน�าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามา ช่วยในโรงงานก็เพื่อให้ผู้ควบคุมได้มีทักษะงานที่สูงขึ้น
ปัจจัยที่โรงงานอุตสาหกรรมควรค�านึงถึงเพื่อปรับ เป็นระบบ Automation การที่โรงงานอุตสาหกรรมจะเปลี่ยนระบบการผลิต จากเดิมมาเป็นระบบ Automation นั้น ควรต้องค�านึง ถึง 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ 1. เครื่องจักร ต้องปรับให้สามารถท�าโปรแกรมเป็น Automation ได้ 2. ระบบขนส่งวัสดุ อาจจะใช้เป็นหุ่นยนต์แทนซึ่ง สามารถก�าหนดโปรแกรมว่าต้องการให้เคลื่อนย้ายไปอยู่ ต�าแหน่งใด ปัจจุบนั ติดตัง้ ได้ไม่ยงุ่ ยากและใช้เวลาเพียงไม่นาน 3. ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมงานทั้งหมดแบบองค์รวม
เพิ่มขึ้น 45% แต่หากใช้หุ่นยนต์ควบคู่ Software จะ สามารถเพิ่ ม ก� า ลั ง การผลิ ต ได้ เ กื อ บ 100% ส่ ว นที่ น ่ า จับตามอง คือ โรงงานขนาดกลาง เนื่องจากในอนาคต โรงงานอุ ต สาหกรรมไม่ จ� า เป็ น ต้ อ งใช้ พ นั ก งานจ� า นวน มากท� า ให้ โ รงงานมี ข นาดเล็ ก ลง การน� า ระบบ Automation เข้ามาช่วยจะสามารถเพิ่มก�าลังการผลิต ได้ถึง 362% นอกจากนี้ ยังมีความยืดหยุ่นในด้านต้นทุน ถึ ง 45% อี ก ด้ ว ย เพราะผู ้ ป ระกอบการสามารถรู ้ ถึ ง ต้นทุนและก�าลังการผลิต ดังนั้น จะได้ตัวเลขข้อสรุปที่ ค�านวณออกมาหากสามารถดึงเวลาที่สูญเปล่าจากไลน์ ผลิตจะได้ถึง 50% ช่วยลดต้นทุนการผลิตลง 11.3% ซึ่ ง โรงงานอุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ ร ะบบ Automation จ�าเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญอยู่ในโรงงาน เนื่องจากมีระบบ ที่ซับซ้อนในกระบวนการผลิต ดังนั้น การซ่อมแซมจึง ไม่ใช่เรื่องง่าย โรงงานจึงต้องมีกลุ่มบุคลากรดูแลระบบ เพื่อให้โรงงานมีขีดความสามารถในการผลิตอย่างต่อเนื่อง 44 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
หลักการเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับลักษณะงาน การน� า เทคโนโลยี ม าเป็ น ตั ว ช่ ว ยในโรงงาน อุตสาหกรรม จะส่งผลให้ระบบการผลิตมีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยปัจจุบันเทคโนโลยีเครื่องจักรที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรมมีอยู่ด้วยกันหลากหลายชนิด ซึ่งผู้ประกอบ การควรศึ ก ษารายละเอี ย ดเพื่ อ เลือกใช้ใ ห้เหมาะสมกับ ลักษณะงาน ดังนี้ • ระบบ Process Control คื อ การน� า เทคโนโลยี การวัดคุมและระบบควบคุมมาใช้กบั งานทีม่ คี วามสลับซับซ้อน ด้วยการเลือกใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์เข้ามาช่วย • ระบบ Vision System คื อ ระบบการตรวจเช็ ค คุณภาพ ใช้ในงานประเภทต้องใช้ความรวดเร็วและมีการ ตรวจสอบคุณภาพโดยเลือกใช้เทคโนโลยีกล้องเข้าช่วย • ระบบ Automatic Identify คือ ระบบการแสดง ตนอัตโนมัติ เหมาะส� าหรับใช้กับอุตสาหกรรมเกี่ยวกับ เรือ รถยนต์ หรือการท�าบาร์โค้ด
โรงงานอุตสาหกรรมในสมัยก่อนจะใช้เครื่องจักรกล ระบบ New Matrix และ Hydraulic ซึ่งมีความน่าเชื่อ ถือต�่าในเรื่องระบบการผลิต แต่ในปัจจุบันเปลี่ยนมาใช้ ระบบ Servo System ซึ่งมีกลไกเครื่องจักรตอบสนองการ ผลิตแบบครบวงจร มีความแม่นย�าสูงถึง 0.1 ไมครอน ให้ ก� า ลั ง ในการผลิ ต สู ง และยั ง ท� า ให้ ส ภาวะแวดล้ อ มใน โรงงานดีเพราะเครื่องจักรไม่มีการรั่วไหล นอกจากนี้ ยัง สามารถประยุ ก ต์ ร ะบบ Servo System มาใช้ ผ ลิ ต ผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย ส่วนแรงงานจะถูกย้ายไปอยู่ใน กระบวนการจัดเตรียมและส�ารองงานระบบ หรือแรงงาน จะถูกพัฒนาให้มีทักษะที่สูงขึ้น ทั้งนี้ หลายโรงงานอาจจะยังไม่มีความพร้อมในการ ปรับเปลี่ยนให้เป็นระบบ Automation ทั้งหมด วิธีการ ในการเริ่ ม ต้ น ปรั บ เปลี่ ย นโรงงานให้ เ ป็ น ระบบ Automation มีดังนี้ 1. การผสมไลน์ โดยน�าระบบ Automation เข้าไป ผสมกับไลน์ก ารผลิตซึ่งอาจจะอยู่ช่ว งต้นหรือท้ายของ กระบวนการผลิต 2. ใช้แทนที่แรงงาน ในส่วนที่แรงงานไม่สามารถอยู่ได้ เช่น สภาวะร้อนจัด เย็นจัด ส่งกลิ่นเหม็น 3. เพิม่ ทักษะแรงงานให้สามารถดูแลกระบวนการผลิต โดยระบบ Automation ได้ ซึ่งกลุ่มแรงงานที่จะท�างาน ควบคู่ระบบ Automation มีดังนี้ 3.1 กลุ่มบริหารจัดการ ต้องมีความรู้เรื่อง Simulate (เลียนแบบ) และการวางแผน เนื่องจากมีหน้าที่ตัดสินใจ ในการผลิตสินค้า 3.2 กลุ่มการผลิต ได้แก่ กลุ่มผู้คุมเครื่อง กลุ่มแก้ไข ปรับแต่ง กลุ่มบริหารจัดการระบบการผลิต และกลุ่มดูแล ระบบ ในอนาคตอัตราการจ้างแรงงานในประเทศไทยจะมี แนวโน้มลดลงเนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมเปลี่ยนมาใช้ ระบบ Automation แทนที่เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มี ประสิทธิภาพสูงและได้ปริมาณที่มากขึ้น ดังนั้น ในส่วน ของแรงงานจึงมีความจ�าเป็นที่ต้องเร่งพัฒนาศักยภาพ ด้วยการศึกษาและเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเพื่อ ให้เท่าทันต่อกระแสความเปลี่ยนแปลงและน�ามาใช้ในการ ท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 45
จัอุตสาหกรรมยานยนต์ บตาอนาคต อิเล็กทรอนิกส์
และอาหาร สู่ ‘ฮับอาเซียน’ อย่างไร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ฟันธงภาคอุตสาหกรรมไทย ก้าวสู่ผู้น�าในเวที อาเซียนได้ พร้อมเชิญกูรภู าคอุตสาหกรรมร่วมเจาะลึกประเด็นส�าคัญของภาคอุตสาหกรรม ไทยในงานเสวนา ‘อุตสาหกรรมไทย...ผู้น�าในอาเซียน’ เนื่องจากอุตสาหกรรมไทยที่มี ความโดดเด่นและมีทิศทางในการขยายตลาดได้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ประโยชน์จากการ เปิดประชาคมอาเซียนในปี 2558 ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งอุตสาหกรรมสิ่งทอ เนื่องจากอุตสาหกรรม เหล่านีม้ ซี พั พลายเชนทีด่ มี าก อีกทัง้ ยังสามารถเป็นแกนส�าคัญในการถ่ายทอดความเจริญ ไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้อีกด้วย นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้เปรียบในเรื่องต�าแหน่งที่ตั้งเป็นจุดส�าคัญที่จะสร้างค�าว่า ‘จุดศูนย์กลาง’ โดยภาครัฐจะต้องลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานในเรื่องของท่าเทียบเรือ ชายฝั่งแหลมฉบัง ศูนย์ขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ การพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดอนเมือง ภูเก็ต และโครงข่ายถนนสนับสนุน เป็นต้น
©© 2014 Siemens Product Lifecycle Management Software Inc. All rights reserved. Siemens and the Siemens logo are registered trademarks of Siemens AG. All other logos, trademarks or service marks used herein are the property of their respective owners.
INDUSTRIAL TREND
เยี่ยมชม Siemens Industry DEMO TruckRoadshow ในเดือนกุมภาพันธ์2558 พบนวัตกรรมใหม่ในการน�าเสนอเทคโนโลยีระบบปฏิบัติการ อัตโนมัติ ในงานอุตสาหกรรมที่ทันสมัย ในนิคมอุตสาหกรรม ใกล้บ้านคุณตลอดปี
ณ เขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา รวมทั้งพื้นที่ใกล้เคียง ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com 02 692 3090-4 ต่อ 114
ความจำาเป็นของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมให้ทันโลกปัจจุบัน Industry Breakthrough Position Brief.
OEMs ในกลุม่ ธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ได้มกี ารแข่งขันเพือ่ เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพของรถยนต์ โดยมีปจั จัย การประหยัดน�า้ มันเป็นสองเท่าและการลดมลพิษทางอากาศลงครึง่ นึงเป็นปัจจัยหลักทีข่ บั เคลือ่ นท�าให้เกิดการเปลีย่ น แปลงในระบบส่งก�าลังและโครงสร้างของรถยนต์ ดังนัน้ ระบบอิเล็คทรอนิกส์และซอฟท์แวร์ตา่ งๆ ถูกน�ามาใช้ในรถยนต์ เพิ่มมากขึ้นควบคู่ไปกับการเติบโตของตลาดรถยนต์ทั่วโลก เพือ่ ให้อยูร่ อดในตลาดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง Tier1 Suppliers ต้องปรับตัวเพือ่ ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิด ขึ้น ซึ่ง Tier 1 Suppliers ต้องการ การประมวลผลโปรแกรม (Program Execution) เพื่อท�าให้สามารถที่จะผลิต สินค้าให้ตรงตามเวลา และตามงบที่วางไว้ รวมถึงได้มาตรฐานตามที่ก�าหนดไว้ ยิ่งไปกว่านั้น Tier 1 Suppliers ต้องปรับปรุงระบบอิเล็คทรอนิกส์และซอฟท์แวร์เพื่อรองรับการผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนมากขึ้นและความหลาก หลายของสินค้าที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นเพื่อที่จะผลิตและส่งไปในตลาดโลก Suppliers ต้องการระบบที่ง่ายและได้มาตรฐาน 1. ปรับปรุงการออกแบบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบ 2. เพิ่มความสามารถในการพัฒนาโปรดักส์บางชิ้นที่ถูกใช้ในหลายระบบ 3. ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก 4. เพิ่มความสามารถในการมองเห็นการประมวลผลโปรแกรมรวมถึงปัจจัยเสี่ยง ทีมต่างๆ ทั้ง เครื่องกล อิเล็คทรอนิกส์ และ ระบบซอฟท์แวร์ต้องท�างานร่วมกันอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ Siemens PLM เรียกแนวคิดนี้ว่า Execution Program Innovation ซึ่งเป็นรูปแบบที่เป็นตัวขับเคลื่อนหลักในการ เพิ่มความร่วมมือกันระหว่างแผนกต่างๆ รวมถึงการตัดสินใจร่วมกัน ด้วยรูปแบบนี้ Tier 1 Suppliers สามารถที่ จะเข้าใจและทราบถึงผลกระทบที่เกิดจากการตัดสินใจที่เกิดขึ้นในระบบวงจรคุณภาพรวมถึงต้นทุน
46 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Strategies to achieve fuel efficiency and emission standards Improving efficiency of the drivetrain
59%
Lightweighting vehicles Greater reliance on embedded software to control systems
48% 42%
Investing in hybrid technology
39%
Investing in electric drive technologies
30%
Improving battery performance
30%
Investing in fuel cell technology
29%
Other
7%
0% All respondents
20%
40%
60%
Percentage of respondents, n = 218
Source: “How Prepared is the Automotive Industry? Solutions for Meeting Fuel Efficiency and Emissions Standards.” January, 2014. Aberdeen Group, Inc.
Siemens PLM ได้ชว่ ยเหลือ Tier1 Suppliers รายใหญ่ทวั่ โลก ในการผลิตสินค้าให้ได้ตรงตามเวลา ตามงบประมาณ และตามมาตรฐานที่วางไว้ ถ้าคุณอยากเรียนรู้วิธีการเอาชนะความท้าทายในอุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถ ดาวน์โหลด white paper ได้ที่ bit.ly/autoinnovations
INDUSTRIAL TREND
ส.อ.ท. น�ำทัพผู้ประกอบไทยสู่... AC
คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย กล่าวในงานเสวนา ‘อุตสาหกรรมไทย... ผู้น�า ในอาเซียน’ ว่า ในปี 2558 ถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาส�าคัญของ ภาคอุตสาหกรรมไทยอีกช่วงเวลาหนึ่งที่จะแสวงหาโอกาส รวมทั้งพัฒนาศักยภาพในภาคอุตสาหกรรมให้แข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น ซึ่งจากการรวมเป็นประชาคมอาเซียน (AC) โดย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เชื่อมั่นว่าภาค อุตสาหกรรมไทยมีศักยภาพในหลายๆ ด้านที่สามารถจะ เป็นผู้น�าในอาเซียนได้ เนื่องจากมีความได้เปรียบทางด้าน ภู มิ ศ าสตร์ ใ นการเป็ น ศู น ย์ ก ลางภู มิ ภ าค ซึ่ ง ถื อ เป็ น จุ ด ยุทธศาสตร์เชื่อมโยงประเทศต่างๆ ในภูมิภาคผ่านเส้นทาง East-West Economic Corridor และ North-South Economic Corridor ภายใต้แผนพัฒนาความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้าโขง รวมทั้ง ประเทศไทยยังมีศักยภาพที่จะเป็นศูนย์กลาง ทางการบิ น และคมนาคมทางบกที่ จ ะเชื่ อ มประเทศ คาบสมุทรอินโดจีนและเชื่อมโยงเอเชียเหนือ โดยเฉพาะจีน
กับเอเชียตะวันตกและอินเดียเข้าด้วยกัน ซึง่ ความได้เปรียบ ทางด้านการมีศักยภาพของอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งไม่ว่า จะเป็น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งอุตสาหกรรม สิ่งทอ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถือได้ว่าประเทศไทยมีจุดเด่น ในเรื่องขีดความสามารถในการผลิตครบวงจรเป็นฐานการ ผลิตใหญ่ในอาเซียน “ภาคอุตสาหกรรมไทยยังมีความช�านาญในการผลิต สินค้าอุปโภคบริโภคทีม่ คี วามจ�าเป็นต้องใช้ในชีวติ ประจ�าวัน นอกจากนี้มีศักยภาพของแรงงานฝีมือ มีวัตถุดิบทางการ เกษตรที่ มี ศั ก ยภาพทั้ ง ด้ า นปริ ม าณและคุ ณ ภาพ อี ก ทั้ ง อุตสาหกรรมไทยยังได้ขยายฐานการผลิตออกไปยังต่าง ประเทศจ�านวนมาก เช่น วัสดุก่อสร้าง น�้าตาล ผลิตภัณฑ์ เมลามีน อาหารทะเล เป็นต้น รวมถึงมีการค้าชายแดนที่ นับได้ว่าเป็นอีกแรงเสริมศักยภาพด้านการแข่งขันของไทย อีกประการหนึ่งด้วย” คุณสุพันธุ์ กล่าว
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 49
EINSTEIN INDUSTRIETECHNIK
EINSTEIN INDUSTRIETECHNIK www.eitlas er.com
Laser Design in Germany
ท่านที่เป็นสาวก iPhone 6 คงเคยดูโฆษณา ที่จอแสดงผล สามารถฉายออกมาบนพื้น หรือเรียกง่ายๆ ว่าล้นจอ คงสงสัยกันไหมว่า สามารถท�าได้จริงหรือ?
ผ่PICOาสมอง SECOND LASER
Rapid Prototype
Plasma Surface Technology
Laser Telescopic weld OEM150w เครื่องเชื่อมเลเซอร์ ที่คุณภาพสูง ราคาประหยัดมาก
เรื่อง : กมุทสุพ สังขเกษม Reference: Dr. Ing Oliver Haupt/Dr.Ingo Freitag
เมือ่ ปีทแี่ ล้วมียอดสัง่ ซือ้ จาก Foxconn (OEM) ผูผ้ ลิตมือถือให้ Apple สัง่ ซือ้ เลเซอร์ ชนิด Ultra Short Pulse Laser เพื่อท�าการตัดวัสดุหน้าจอของ iPhone6 Sapphire เป็นจ�านวนเงินมหาศาล ในวงการเลเซอร์
Plasma Surface Technology
3D Robot Welding & Laser Cutting
เนื้อหา
เทคโนโลยีการเตรียมผิว และท�าความสะอาดชิ้นงานก่อน Bonding ,Gluing ,ขจัดคราบ Organic Contiminate ด้วย พลาสมาความดันต�่า และโนฮาวส์ด้าน นาโนเทคโนโลยี ใน การท�าปฏิกริยาเคมี ระดับโมเลกุล Applications กำรประยุกต์ 1. Cleaning of Surfaces (Before Bonding, SolderingOrgluing) ท�าความสะอาดผิวก่อนบัดกรี 2. Activation of Surfaces (before printing Vanishing, Orgluing) กระตุ้นสภาพผิวให้พร้อม ส�าหรับการพิมพ์ลายทากาว 3. Etching of surfaces (before microsturucturing of silicon or etching of PTFE) แต่งผิวแบบ ไมโครsand blust 4. Deposition of surface -Plasma polymerization. (deposit of hydrophobic/hydrophilic layes) สร้าง ชั้นรับน�้า หรือชั้น น�้ากลิ้งบนใบบอนให้ชิ้นงาน
เครื่องสแกน 3D และ Printer ที่นักออกแบบผลิตภัณฑ์ต้องมีติดโต๊ะท�างาน ราคาเบาๆ Made in Germany
ท่านสามารถน�าชิ้นงานมาทดสอบก่อนได้
คุณสมบัติของ Ultra-Fast Pulse Laser คือ สามารถตัดวัสดุโดยมีผล กระทบทาง ความร้อนต่อวัสดุที่ถูกตัดน้อยมาก (พวกสารกึ่งตัวน�า Si, Ge) จึงไม่ร้าวแตก
พื้นฐาน ซึ่งเลเซอร์ ชนิดนี้เหมาะกับงาน Micro Machining และงานฟิล์มบาง พวก Photo Valtaik แผ่นโซลาร์เซลล์
3D Printer 3D Laser Scan
CNC Laser Welding
Plama Atmospheric
บริ ษั ท ไอน์ ช ไตน์ อิ น ดั ส เตรี ย ลเทคนิ ค คอร์ ป อเรชั ่ น จ�าหน่ายเลเซอร์ระบบ ND:Yag / C0 / Fiberlaser / UV Laser / Pico second Laser 2
ระบบPlasma Surface Technology พร้อมสินค้าเทคโนโลยีด้านการออกแบบจาก เยอรมนี
0813472534
จะใช้ไดโอดปัม๊ กระตุน้ ผลึกเลเซอร์ (Laser Crystal) จากนัน้ จะใช้เทคนิค Acousto Optic Q-switch (Pockels Zelle) ซึ่งจะสร้างความถี่ในการเบี่ยง กระจก เรโซเนนซ์ ช่วง 1-125 KHz (จะได้ค่าความยาวคลื่น > 300 Pico second) ความยาวคลื่น 1064 nm มีพลังงานประมาณ 5w. ผลการทดลอง กับชิ้นงาน Silizium
50 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สรุป
Ultra Short Pulse Laser นับเป็น ดาวรุง่ ในวงการ Micro Machining อย่างแท้จริง
บริษัท ไอน์ชไตน์อินดัสเตรียล เทคนิคคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (ตรงข้ามสภาวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติ) 88 พหลโยธิน 44 แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel : 0-2579-0467 Fax : 0-2579-0467
บริษัท ไอน์ชไตน์อินดัสเตรียล เทคนิค คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด โรงปฏิบตั กิ าร เชือ่ มเลเซอร์ชลบุรี (หลังนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร) 1/5 ม. 4 ซ.เทศบาล 3 ถ.ชลบุรี-พนัสนิคม กม.10.5 ต.หนองต�าลึง อ.พานทอง ชลบุรี 20160 Tel : 081-347-2534, 038-206633 Fax : 038-206663
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 51
INDUSTRIAL TREND แผนการลงทุ น พั ฒ นาพื้ น ฐานเชื่ อ มโยงไปยั ง ประเทศเพื่อนบ้าน
คุณสุพนั ธุ์ กล่าวต่อว่า ประเทศไทยยังมีแผนการลงทุน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเริ่ ม ต้ น ในปี 2558 ซึ่ ง จะเป็ น การพั ฒ นาโครงข่ า ย คมนาคมเชื่อมโยงประตูการค้าระหว่างประเทศ อาทิ ท่า เทียบเรือชายฝัง่ แหลมฉบัง ศูนย์ขนส่งตูส้ นิ ค้าทางรถไฟ การ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดอนเมือง ภูเก็ต และโครง ข่ายถนนสนับสนุน เป็นต้น รวมถึงการพัฒนาโครงข่าย คมนาคมเชื่อมโยงประตูการค้าชายแดน เช่น ถนนสาย โพนพิสัย-บึงกาฬ ตอน 1 ถนนตาก-แม่สอด ถนนกาฬสินธุ์อ.สมเด็จ สายตราด-หาดเล็ก เป็นต้น ซึ่งโครงการเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่ช่วยส่งเสริมศักยภาพของอุตสาหกรรมไทยให้ แข็งแกร่งและสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก แม้ประเทศไทยจะมีข้ อได้ เ ปรี ยบในเวที อาเซี ยนอยู ่ หลายด้าน และมีศกั ยภาพทีเ่ ป็นโอกาสเพียงพอทีจ่ ะเป็นผูน้ า� ในอาเซียนจากปัจจัยหลายๆ ประการข้างต้น แต่คงไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้วา่ อุตสาหกรรมไทยมีความจ�าเป็นต้อง พัฒนาศักยภาพของตนเองอยู่ตลอดเวลา เพื่อเตรียมความ พร้อมรองรับกับการแข่งขันในเวทีโลกที่จะทวีความรุนแรง มากยิง่ ขึน้ ควบคูก่ บั การแสวงหาผลประโยชน์ทมี่ ากับโอกาส จากการเข้าร่วมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เส้ น ทางการอยู ่ ร อดของอุ ต สาหกรรมไทยใน อาเซียน
คุณสุพันธุ์ กล่าวเพิ่มเติมต่อว่า ส�าหรับแนวทางการ ปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพที่จะ เข้าไปแข่งขันในตลาดอาเซียนมีแนวทางดังต่อไปนี้ • อุตสาหกรรมที่เน้นการใช้แรงงานเข้มข้นควรต้อง ขยายฐานการผลิตไปในประเทศเพื่อนบ้านที่มีความ สามารถในการแข่งขันด้านต้นทุน ค่าแรงงานทีต่ า�่ กว่า และทรัพยากรการผลิตทีเ่ อือ้ อ�านวยกว่า และยิง่ ไปกว่า นั้นต้องให้ความส�าคัญกับอุตสาหกรรมใหม่ๆ ที่จะเป็น ตัวขับเคลือ่ นเศรษฐกิจในอนาคต เนือ่ งจากอุตสาหกรรม เดิมทีส่ ร้างรายได้หลักให้กบั ประเทศมีความสามารถใน การแข่งขันลดลง โดยส่งเสริมและให้ความส�าคัญกับ อุตสาหกรรมประเภทต่างๆ อาทิ อุตสาหกรรมที่มี อุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง อุตสาหกรรมสะอาด อุตสาหกรรมเทคโนโลยีนาโน อุตสาหกรรมการเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ และ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน เป็นต้น 52 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
กูรูเจาะลึกประเด็นส�าคัญกับการน�าภาค อุตสาหกรรมไทย เป็นผู้น�าในอาเซียน
คุณเจน น�ำชัยศิริ รองประธำนสภำอุตสำหกรรมแห่ง ประเทศไทย ด้ำนอุตสำหกรรม กล่าวว่า หลังจากการเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) นั้น อุตสาหกรรมไทย ที่จะเป็นดาวรุ่ง โปรดักส์แชมเปี้ยน ในระยะต่อไป คือ อุตสาหกรรมไลฟ์สไตล์โดยเฉพาะสินค้าทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ งู อายุ อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง เพราะขณะนี้ประเทศเพื่อนบ้าน ของไทยได้อยู่ระหว่างการพัฒนาประเทศ จึงท�าให้มีความ ต้องการสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างเป็นจ�านวนมาก และอุตสาหกรรมไบโอชีวภาพไทยมีศกั ยภาพในด้านการผลิต ชีวภาพ รวมทัง้ ก�าลังก้าวเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม ทั้ ง นี้ ในปั จ จุ บั น อุ ต สาหกรรมไทยที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในอาเซี ย น คื อ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ อุ ต สาหกรรม อิเล็ก ทรอนิก ส์ อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรม สิ่งทออีก ด้ว ย คุณวัลลภ วิตนำกร รองประธำนสภำอุตสำหกรรม แห่งประเทศไทย ด้ำนเศรษฐกิจ กล่าวว่า เมื่อเปิด AC ตนมองว่าสิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ ภาคแรงงาน เนื่องจากใน ประเทศไทยมีแนวโน้มขาดแคลนสูง และคาดว่าหากไม่มกี าร พัฒนา ภายในอีก 5 ปี ประเทศไทยอาจจะเกิดภาวะวิกฤต การขาดแคลนแรงงานได้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วา่ ภาครัฐบาลจะพยายามสร้างเขต เศรษฐกิจพิเศษเพื่อรองรับให้กับผู้ประกอบการ แต่สิทธิ ประโยชน์ที่จะให้นั้นมองว่ายังไม่จูงใจ และเรื่องค่าแรงควร ปล่อยให้เป็นกลไกเศรษฐกิจ
• การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละน� า นวั ต กรรมที่ ทั น สมัยเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต พร้อมทั้งให้ความ ส�าคัญกับการวิจัยและพัฒนา และน�าเทคโนโลยีด้าน สารสนเทศมาช่วยอ�านวยความสะดวกในการด�าเนิน ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการบริหารจัดการ ห่วงโซ่อุปทานอย่างเป็นระบบ • สนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงการผลิตของอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่กบั ผูป้ ระกอบการ SMEs ผ่านระบบห่วงโซ่ อุปทาน ซึ่งผู้ประกอบการ SMEs จะมีโอกาสในการ พัฒนาศักยภาพการผลิตของตนเองผ่านการถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทักษะและองค์ความรูต้ า่ งๆ จากอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ • พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพือ่ เพิม่ ผลิตภาพของแรงงานไทย เพราะในปัจจุบนั ประเทศไทยมีปญ ั หาการผลิตก�าลังคน ซึง่ ไม่สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ดังนั้น ไทยต้องมีการ
พัฒนาก�าลังแรงงานและตลาดแรงงานให้สมดุลกัน โดยพั ฒ นาทั ก ษะและเสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถ ในการเรียนรู้แบบบูรณาการทั้งในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และส่งเสริมการจัดการศึกษาในระบบ ทั้งการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและสายสามัญ • มีการปรับตัวให้อตุ สาหกรรมต้องเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม หรื อ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอย่ า งสมดุ ล ทางด้ า น เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ยกระดั บ อุ ต สาหกรรมไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางของ ภูมิภาคอาเซียน
คุ ณ สุ พั น ธุ์ กล่ า วต่ อ ไปว่ า สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยมียทุ ธศาสตร์เป้าหมายอันแน่วแน่ คือ ‘ยกระดับ อุตสาหกรรมไทยเป็นศูนย์กลางของภูมภิ าคอาเซียน’ ซึง่ สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ตระหนักถึงความส�าคัญของ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และพร้อมที่ จะส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมก้าว สู่ความผู้น�าในเวทีอาเซียนด้วยการผ่านการพัฒนาด้าน บริหารจัดการ เพื่อยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทย โดย เฉพาะ SMEs ที่เน้นการส่งเสริมให้เติบโตตามศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อส่งเสริม ให้เกิดปัจจัยเอื้อต่อการด�าเนินธุรกิจ และสร้างความเชื่อม โยงกับเศรษฐกิจภายนอกประเทศ สนับสนุนให้เกิดการ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวางโครงสร้างข้อมูลพื้น ฐานของข้อมูลให้เป็นระบบเดียว โดยการใช้ HS.CODE, TAX ID รวมถึงการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อ น�าไปใช้เชิงพาณิชย์
“การส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคลัสเตอร์เพื่อความเข้ม แข็งในทางอุตสาหกรรม โดยใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนา คลั ส เตอร์ ไ ม่ ว ่ า จะเป็ น การสร้ า งความแตกต่ า งให้ กั บ ผลิตภัณฑ์ การสร้างสรรค์นวัตกรรม การแข่งขันด้านต้นทุน การตลาดและอืน่ ๆ เพื่อพัฒนาความร่วมมือและเชื่อมโยง ผู้ประกอบการไทยสู่อาเซียนและสากล โดยการผลักดัน มาตรการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษและศูนย์กระจายสินค้า ตามแนวชายแดนให้มีการช่วยเหลือและสนับสนุนระหว่าง สมาชิกทีเ่ ป็นบริษทั ใหญ่กบั สมาชิกทีเ่ ป็นบริษทั เล็ก เพือ่ เตรียม ความพร้อมเข้าสู่ AEC (ในลักษณะโครงการพีช่ ว่ ยน้อง) โดย ให้ภาครัฐบาลด�าเนินมาตรการสนับสนุนด้านเงินทุนให้แก่ SMEs เพือ่ ประกอบธุรกิจและเสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจ แก่ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรม” คุณสุพนั ธุ์ กล่าว
คุ ณ สุ ช ำติ จั น ทรำนำครำช รองประธำนสภำ อุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย ด้ำนแรงงำน กล่าวว่า สิ่ง ที่น่าเป็นห่วงที่จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทยอย่าง รุนแรง คือ ต้นทุนค่าแรง รัฐบาลควรคงอัตราค่าจ้างแรงงาน ขัน้ ต�า่ ที่ 300 บาท ไปจนถึงสิน้ ปี 2558 และการปรับค่าจ้าง ในแต่ละครัง้ ควรอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ส่วนต้นทุนค่าไฟฟ้า เป็นต้นทุนทีส่ า� คัญในหลายอุตสาหกรรม ภาครัฐบาลควรคง อัตราค่าไฟฟ้าไม่ให้เกิน 4 บาทหน่วย จากปัจจุบนั อยูท่ ี่ 3.96 บาท และถ้าเกิน 5 บาทต่อหน่วยก็จะท�าให้เอกชนจ�าเป็นต้อง ย้ายฐานการผลิตไปประเทศอืน่ ๆ ได้ นอกจากนี้ ไทยจะต้อง ปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานด้านขนส่งให้มตี น้ ทุนทีล่ ดลงด้วย “นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เป็นส่วนส�าคัญ ในการดึงดูดการลงทุน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไทยทีย่ งั ต้อง พึ่งแรงงานในระดับสูง ส่วนอุตสาหกรรมที่ยังตั้งฐานการ ผลิตภายในประเทศ บางส่วนก็ได้ปรับตัวไปสูก่ ารผลิตสินค้า ต้ น น�้ า ที่ ต ้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี ชั้ น สู ง มี ก ารวิ จั ย และพั ฒ นา นวัตกรรมมากขึ้น” คุณสุชำติ กล่าว กูรูอุตสาหกรรม พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า การเข้าสู่ AC ถือเป็น ‘โอกาส’ ที่ดีที่สุดส�าหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร ดังนั้น บทบาทและหน้าที่ต่อไป คงต้ อ งยกไม้ ต ่ อ ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการในการพั ฒ นาและ ผลั ก ดั น ให้ อุ ต สาหกรรมดั ง กล่ า วเติ บ โตในอาเซี ย นได้ อย่างยั่งยืน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 53
ENERGY ALERT
การอนุรักษ์พลังงาน ในโรงงานอุตสาหกรรม แบบยั่งยืน การใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยมีสัดส่วนประมาณ 36 เปอร์เซ็นต์ หรือที่ 27,193 ktoe ในปี 2556 ซึ่งสูงเป็นอันดับ 1 โดยมีสัดส่วน การใช้พลังงานใกล้เคียงกับภาคขนส่ง รวมทั้งทิศทางราคาพลังงานมีแนวโน้มที่ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�าให้ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของผู้ประกอบการโรงงาน อุตสาหกรรมมีต้นทุนที่สูง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตและการแข่งขัน กับผู้ประกอบการรายอื่นที่มีค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่ต�่ากว่า โดย คุณอัศวิน อัศวุตมางกุร วิศวกรช�านาญการพิเศษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน ภาครัฐจึงได้จัดท�าแผนอนุรักษ์พลังงาน โดยแผนอนุรักษ์พลังงานฉบับใหม่ครอบคลุมตั้งแต่ปี 2553 ถึงปี 2579 โดยมีเป้า หมายลด Energy Intensity หรือการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายลง 30 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ 57,400 ktoe ในปี 2579 โดย การอนุรักษ์พลังงานหมายถึงการประหยัดหรือการลดการใช้พลังงานที่ไม่จ�าเป็น รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เช่น การท�างานที่ได้ผลลัพธ์เท่าปกติแต่ใช้พลังงานลดลง ซึ่งการจัดการพลังงาน (Energy Management) เป็นวิธีการหนึ่งที่ มีประสิทธิภาพในการอนุรกั ษ์พลังงานให้ยงั่ ยืน โดยการด�าเนินการจัดการพลังงานประกอบด้วยองค์ประกอบทีส่ า� คัญ 6 ประการ ดังนี้ 1. การก�าหนดนโยบายด้านประสิทธิภาพพลังงานขององค์กร 2. การเปลี่ยนแปลงนโยบายเพื่อก�าหนดแผนงาน 3. การน�าแผนงานสู่การปฏิบัติ 4. การก�ากับควบคุม ตรวจสอบให้การปฏิบัติเป็นไปตามแผน 5. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. การพัฒนาอย่างต่อเนื่องด้วยการแก้ไขอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติตามแผนงาน ตลอดจนการปรับปรุงทบทวน นโยบายและมาตรการต่างๆ ที่ก�าหนดไว้ ส�าหรับในด้านการจัดการพลังงานนั้น องค์กรจะต้องมีการก�าหนดนโยบาย แผน และเป้าหมายในการด�าเนินงานด้าน ประสิทธิภาพพลังงาน ส่วนด้านเทคโนโลยีนนั้ องค์กรจะต้องมีการตรวจวัดการใช้พลังงาน พร้อมทัง้ ประเมินและหาแนวทางใน การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน รวมทั้งหาแนวทางและแนวคิดต่างๆ ที่เมื่อด�าเนินการแล้วจะต้องมีการติดตามและประเมินผล ความส�าเร็จรวบรวมและหาแนวทางแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ อันจะน�าไปสู่ความยั่งยืนในการด�าเนินงาน การด�าเนินการอนุรักษ์ พลังงานให้ประสบความส�าเร็จและยัง่ ยืน ไม่เพียงแต่การเพิม่ ประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรอุปกรณ์ตา่ งๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม เท่านั้น บุคลากรในโรงงานทุกท่านตั้งแต่ระบบผู้บริหารต้องมีนโยบายและให้ความส�าคัญต่อการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งเจ้า หน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกท่านต้องเข้ามามีส่วนร่วมการอนุรักษ์พลังงานจึงจะมีประสิทธิผลสูงสุดและยั่งยืน
ผู้บริหาร หัวหน้าแผนก และพนักงานทุกระดับ ต้องใส่ใจในการจัดการพลังงาน
หลักการส�าคัญของระบบการจัดการพลังงานมีความสอดคล้องกับการอนุรกั ษ์พลังงานแบบมีสว่ นร่วม โดยมุง่ เน้นให้องค์กร มีบทบาทส�าคัญในการร่วมกิจกรรมการอนุรกั ษ์พลังงานโดยเฉพาะผูบ้ ริหาร หัวหน้าแผนก รวมทัง้ พนักงานทุกระดับเพือ่ ร่วมท� า กิจกรรมต่างๆ อย่างมีระบบ โดยมีขั้นตอนการด�าเนินงานที่ชัดเจน สนับสนุนต่อเนื่องกัน ซึ่งเริ่มตั้งแต่การจัดท�าโครงสร้างการ จัดการพลังงานขององค์กร การจัดท�านโยบายและประชาสัมพันธ์ให้พนักงานทราบการประเมินศักยภาพทางด้านเทคนิค เป็นต้น ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากพนักงานทุกระดับในการน�าเสนอมาตรการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและการทบทวนการปฏิบัติงาน โดยมีขั้นตอนวิธีการด�าเนินงานการจัดการพลังงานดังรูปที่ 1 54 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 55
ELECTRIC TREND
ENERGY ALERT
Wireless Power Transfer
ส�ำหรับกำรประยุกต์ใช้งำนอุตสำหกรรมยำนยนต์
มอเตอร์ เครื่องอัดอากาศ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ในส่วนของพลังงานความร้อน เช่น หม้อน�้า (Boiler) น�้ามัน แก๊ส LPG และเชื้อเพลิงชีวมวล เป็นต้น การจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมต้องมีทั้งมาตรการที่ไม่ต้องลงทุนหรือลงทุน น้อย เช่น มาตรการบ�ารุงรักษาอุปกรณ์หรือมาตรการลดการใช้พลังงานที่ไม่จ�าเป็น ซึ่งเป็น มาตรการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้นที่จัดเป็นมาตรการ Housekeeping และมาตรการที่ต้อง ลงทุน เช่น มาตรการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง เนื่องจากความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีท�าให้เครื่องจักรอุปกรณ์ในปัจจุบันมีประสิทธิภาพสูงใช้พลังงานลดลง
1.ตั้งคณะทำงานดานการจัดการพลังงาน
2.ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน
ภาครัฐยืนมือช่วยผู้ประกอบการด้านการอนุรักษ์พลังงาน 3.กำหนดนโยบายอนุรักษพลังงาน
8.ทบทวน วิเคราะหและแกไขขอบกพรอง การจัดการพลังงาน
4.ประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน
7.ตรวจติดตามและประเมิน การจัดการพลังงาน
5.กำหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน / แผนการฝกอบรม และกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน
6.ดำเนินการตามแผนอนุรักษพลังงาน /ตรวจสอบ / วิเคราะหการปฏิบัติตามเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน
รูปที่ 1 แสดงขั้นตอนระบบการจัดการพลังงาน
โรงงานอุตสาหกรรมแบ่งได้หลักๆ จ�านวน 9 ประเภท ประกอบด้วย 1. อาหารและเครื่อง ดืม่ 2. สิง่ ทอ 3. ไม้และเครือ่ งเรือน 4. กระดาษ 5. เคมี 6. อโลหะ 7. โลหะมูลฐาน 8. ผลิตภัณฑ์ โลหะ และอื่นๆ ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมแต่ละประเภทจะต้องมีกระบวนการผลิต เทคโนโลยี และเชื้อเพลิงที่ใช้แตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับอุปกรณ์เครื่องจักรบางชนิดมีการปรับใช้ให้เหมาะ สมกับแต่ละประเภทอุตสาหกรรมนั้นๆ การใช้พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมแบ่งได้ 2 ชนิด คือ พลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน ซึ่งการใช้พลังงานไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมเกิด จากการใช้พลังงานของเครื่องจักร อุปกรณ์ไฟฟ้าและแสงสว่าง เช่น ระบบท�าความเย็น 56 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ทั้งนี้ ภาครัฐบาลมีโครงการช่วยเหลือผู้ประกอบการด้านการอนุรักษ์พลังงาน เช่น ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมสามารถสอบถามแนวทางการอนุรักษ์พลังงานจากหน่วย งานราชการได้ เช่น ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) โดย พพ. มีโครงการให้คา� ปรึกษาด้านการอนุรกั ษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรมให้แก่โรงงานอุตสาหกรรม โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ยซึง่ โครงการดังกล่าวครอบคลุมทุกภาคทัว่ ประเทศ ซึง่ พพ. จะมีผเู้ ชีย่ วชาญ เข้าให้ค�าปรึกษาแก่โรงงานอุตสาหกรรม โดยจะมีการตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน เพื่อให้ ทางโรงงานได้ทราบถึงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงาน รวมทัง้ ร่วมเสนอแนะมาตรการ ประหยัดพลังงานร่วมกับทีมงานของทางโรงงานเพื่อหามาตรการที่เหมาะสมต่อไป ในส่วนของการสนับสนุนด้านการเงิน พพ. มีโครงการให้การสนับสนุนผูป้ ระกอบการเพือ่ ลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง เช่น โครงการสนับสนุนเงินให้เปล่า 20 เปอร์เซ็นต์ ส�าหรับโรงงานควบคุมทีเ่ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ของพระราชบัญญัตกิ ารส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงานและสนับสนุนเงินให้เปล่า 30 เปอร์เซ็นต์ ส�าหรับโรงงานนอกข่ายควบคุม ซึ่ง เป็นโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็ก สูงสุดถึง 3,000,000 บาทต่อราย โดยต้องเป็นมาตรการ ที่คืนทุนไม่เกิน 7 ปี นอกจากนัน้ ยังมีโครงการสนับสนุนด้านการเงินอืน่ ๆ เช่น โครงการสิทธิประโยชน์ทางด้าน ภาษีสา� หรับเครือ่ งจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง โครงการ ESCO (Energy Service Company) หรือบริษัทจัดการพลังงาน โครงการเงินทุนหมุนเวียน ซึ่งเป็นโครงการเงินกู้ดอกเบี้ยต�่าไม่เกิน 4 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ในปัจจุบันบางธนาคารพาณิชย์มีการปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยต�่าส�าหรับการ ปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานเครื่องจักร อุปกรณ์เช่นกัน ดังนั้น การอนุรักษ์พลังงานในภาค อุตสาหกรรมนอกจากเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานให้แก่ผู้ประกอบการแล้ว ยังเป็นการ เพิ่มศักยภาพการแข่งขันกับผู้ประกอบการประเภทเดียวกันได้อีกด้วย รวมทั้งในส่วนของภาค รัฐเป็นการลดการน�าเข้าพลังงานเพือ่ มาผลิตไฟฟ้าและการใช้พลังงานเชือ้ เพลิงในโรงงาน อีก นัยหนึ่งเป็นการลดมลพิษจากการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมด้วย
การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี ‘Wireless Power Transfer’ ได้แสดงถึงความก้าวหน้าของอุตสาหกรรม ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงปริมาณการเจริญเติบโตของผู้บริโภคที่ต้องการแบตเตอรี่ที่สามารถใช้ งานได้ยาวนานและทนทานในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา นอกจากนี้ การลดปัญหาความไม่สะดวก ในการใช้งานที่จ�าเป็นต้องประจุพลังงานแบบปกติที่ใช้สายน�าสัญญาณประจุพลังงาน
ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี
“พลังไร้สายหรือการส่งพลังงานไร้สาย หมายถึง การส่งพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานไปยังโหลด ทางไฟฟ้า โดยการส่งผ่านพลังงานนี้ไม่จ�าเป็นต้อง ผ่านสื่อตัวน�าต่างๆ เช่น สายเคเบิ้ลชนิดต่างๆ โดย รูปแบบของการส่งพลังงานแบบไร้สายสามารถ จ�าแนกเป็นประเภทหลักๆ ได้แก่ Magnetic Induction, Resonant Enhanced Magnetic Induction, Near Field Electromagnetic Resonance และ Microwave หรืออีกความหมายหนึ่งที่ใช้อธิบาย อย่างง่าย ส�าหรับการออกแบบประยุกต์ใช้กบั อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาที่ใช้การประจุพลังงาน แบบไร้สาย ซึ่งการประจุไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์โดยไม่ ต้องอาศัยสายน�าสัญญาณหรือสายไฟ ส�าหรับอุปกรณ์ ขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เครือ่ งเล่นสือ่ มีเดีย พกพา เป็นต้น
บล็อกไดอะแกรมระบบพื้นฐานของ Wireless Power Transfer
รูปที่ 1: แสดงบล็อกไดอะแกรมระบบ ‘Highly Resonant Wireless Power Transfer’
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 57
ดร.อมรพันธุ์ พันธ์ุโอภาส
ดร.อมรพันธุ์ พันธุ์โอภาส อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ
อ. สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking
ดร.กรุณา ตู้จินดา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล และกระบวนการ บัณฑิตวิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
| PRINCIPLE
ดร. สุรพิชญ ลอยกุลนันท์ หน่วยวิจัยโพลิเมอร์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ
TECHNICAL MATTER P.61
PRINCIPLE
หุ่นยนต์กับความสามารถในการผลิต “… ความจริงแล้วหุ่นยนต์ไม่ได้ฉลานัก มันเพียงแต่ท�าตามโปรแกรมที่มนุษย์ ได้ป้อนเข้าไป ถ้าเทียบกับมนุษย์แล้ว มนุษย์ฉลาดกว่าหุ่นยนต์มาก แต่ใน ฐานะผู้ใช้แรงงานและสมองอันน้อยนิด ของหุ่นยนต์ก็จะท�างานให้ได้ตามที่เรา ต้องการโดยไม่บ่นซักค�า หุ่นยนต์ทั้ง หลายประกอบไปด้วย 2 ส่วนระบบ หลัก ส่วนแรก คือ ส่วนที่เคลื่อนที่ ซึ่งจะประกอบไปด้วยกลไกต่างๆ ส่วน ที่สอง คือ ส่วนควบคุมจะประกอบไป ด้วยคอมพิวเตอร์หรือส่วนสั่งการ ส่วนใหญ่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะ ท�างานอยู่กับที่ แต่ก็มีบ้างที่สามารถ เคลื่อนที่ได้…”
P.67
GURU
การเคลือบผิว (ตอนที่ 2) “… การท�าระเหยโดยล�าอีเล็คตรอน เป็นวิธีที่จ�าเป็นต้องมีเครื่องหรือปืน ยิงอีเล็คตรอนที่จะเป็นตัวควบคุมล�าอี เล็คตรอนไปยังเป้า คือ แท่งสารเคลือบ หรือสารเคลือบที่บรรจุอยู่ในภาชนะ ทนไฟ (Tiegel) ส�าหรับชิ้นงานเล็กๆ มีเครื่องขนาดมินิที่เครื่องยิงอีเล็ค ตรอนควบคุมล�าอีเล็คตรอนให้ท�า ระเหยแท่งสารเคลือบ (ขนาดประมาณ 0.2 – 6 มม.) โดยตรงหรือสาร เคลือบในภาชนะบรรจุได้ การท�าระเหย แท่งสารเคลือบโดยตรงมีข้อเด่นที่ ความบริสุทธิ์ของชั้นเคลือบที่ได้ ปลอดจากสารผสมอื่นๆ ที่อาจมา จากภาชนะบรรจุ… ”
P.70
WHITE PAPER
P.73
R&D CORNER
การออกแบบและพัฒนาวัสดุทนแรง เสียดทานของชิ้นส่วนคลัตช์ รถจักรยานยนต์
นวัตกรรมการน�ากลับเนื้อยาง และสารอนินทรีย์ จากกากตะกอน ของเสียในอุตสาหกรรมน�้ายางพารา
“… บริษัท เอ็กเซดดี้ ฟริคชั่น แมทที เรียล จ�ากัด ซึง่ เป็นบริษทั ผลิตชิน้ ส่วน คลัตช์รถจักรยานยนต์เล็งเห็นใน ปัญหาด้านดังกล่าวและได้ผลิตแผ่น หน้าคลัตช์ซึ่งมีส่วนประกอบจากวัสดุ ทดแทน Asbestos ในการแก้ปัญหา ด้านวัสดุข้างต้น อย่างไรก็ตามส่วน ประกอบปัจจุบันที่ใช้นั้นประกอบด้วย วัสดุซึ่งต้องน�าเข้าจากต่างประเทศเป็น ส่วนใหญ่ นอกจากนี้ ส่วนประกอบ ทดแทนบางส่วนนั้นยังพบว่าอาจมีผล ต่อสุขภาพ…”
“… GRASS 3 เป็นนวัตกรรมที่ สามารถปฏิวัติการจัดการกับกาก ตะกอนของเสียในโรงงานผลิตน�้ายาง ข้นในปัจจุบันโดยสิ้นเชิงและเป็นครั้ง แรกในวงการอุตสาหกรรมยางของ โลกที่สามารถแยกเนื้อยาง และสาร อนินทรีย์ออกจากกากตะกอนของเสีย นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แทนที่จะทิ้งไป โดยเปล่าประโยชน์ เนื้อยางที่น�ากลับ มาได้ มีคุณภาพดี และได้สารอนินทรีย์ ที่มีความบริสุทธิ์สูงเหมาะสมต่อการน�า ไปใช้หมุนเวียนเป็นธาตุอาหารส�าคัญ ของพืช… ”
หุ่นยนต์กับความสามารถในการผลิต ความท้าทายของผู้ผลิตในเมืองไทยนอกจากเรื่องก�าลังการผลิตแล้ว ยังต้องเพิ่มคุณค่าและคุณภาพของตัวสินค้าด้วย เนื่องจากประเทศไทยจะต้องแข่งขันและเผชิญหน้ากับประเทศผู้ผลิตหน้าใหม่ๆ ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะจีน อินเดีย อินโดนีเซีย และอินโดไชนา ระบบเศรษฐกิจทีไ่ ม่สามารถจะพึง่ พิงค่าแรงงานราคาถูกและผูผ้ ลิตจะต้องหาทางทีจ่ ะได้ทกั ษะของ แรงงานในระยะเวลาสัน้ ๆ หากย้อนไปดูความเป็นมาเกีย่ วกับหุน่ ยนต์ในอุตสาหกรรม ในประเทศอเมริกาเมื่อกว่าสิบปีที่แล้ว พบว่ามีวิกฤตการณ์ที่ กระตุ้นให้น�าไปสู่การเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมการผลิต เช่นกัน โดยมีสาเหตุดังนี้ 1. มีการแข่งขันสูงของสินค้าคู่แข่งจากบริษัททั่วโลก 2. เครือข่ายระบบการขนส่งสินค้าและสื่อสารที่พัฒนา ท�าให้การส่งสินค้าไปยังผู้บริโภคง่ายขึ้น 3. ผู้บริโภคไม่สนใจว่าสินค้านั้นจะถูกผลิตขึ้นที่ไหน ซึง่ ประเทศอเมริกาได้หนั มาใช้เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์และระบบ อัตโนมัตอิ ย่างจริงจัง ทุกวันนีเ้ มือ่ พูดถึงอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing) จึงมีความหมายถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่น�า มาใช้ในกระบวนการผลิต หุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial
Robotics) มักจะได้รับการยอมรับในการลงทุนทางด้าน เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาเรื่องทักษะของคนงาน คุณภาพใน การผลิตและการเพิ่มขึ้นของต้นทุนต่างๆ สภาพเศรษฐกิจ ในปัจจุบันนี้จึงมีความชัดเจนมากขึ้นที่ผู้ผลิตขนาดกลาง และขนาดเล็ก (SMEs) จะต้องปรับตัวให้ได้เพื่อเอาตัวรอด ในการแข่งขัน แม้ผผู้ ลิตรายใหญ่ๆ ทีไ่ ด้นา� เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ และระบบอัตโนมัติมาใช้เป็นสิบปีแล้วก็มีการปรับตัวเช่นกัน และเริม่ เห็นว่าผูผ้ ลิตรายใหญ่จะตัง้ แผนกทีพ่ ฒ ั นาเทคโนโลยี ทางด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขึ้นมาโดยเฉพาะ ซึง่ ในอนาคตนอกจากจะพัฒนาระบบการผลิตต่างๆ ภาย ในองค์กรของตัวเองแล้ว ยังมีโครงการที่จะรับจ้างพัฒนา ระบบให้กับผู้ผลิตรายอื่นได้อีกต่อไป ซึ่งนับว่าเป็นเรื่องที่ดี
หากการแข่งขันทางธุรกิจจะท�าให้เกิดพันธมิตรและการร่วม มือกัน จากนี้เราจะมาท�าความรู้จักกับหุ่นยนต์ให้มากยิ่งขึ้น และความสามารถของหุ่นยนต์จะส่งผลต่อความสามารถใน การผลิตได้อย่างไร ตลอดเทคโนโลยีทถี่ กู น�ามาใช้กบั หุน่ ยนต์ อุตสาหกรรม
หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม
ความจริงแล้วหุ่นยนต์ไม่ได้ฉลาดนักมันเพียงแต่ท�าตาม โปรแกรมที่มนุษย์ได้ป้อนเข้าไปให้มัน ถ้าเทียบกับมนุษย์แล้ว มนุษย์ฉลาดกว่าหุ่นยนต์มาก แต่ในฐานะผู้ใช้แรงงานและ สมองอันน้อยนิดของหุ่นยนต์ก็จะท�างานให้ได้ตามที่เราต้อง การโดยไม่บน่ ซักค�า หุน่ ยนต์ทงั้ หลายประกอบไปด้วย 2 ส่วน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 61
A cost effective series of the well-established model HSR has been newly added. Optimal for the general linear guide market such as for conveyance systems!
Cost effective Type (Ct Grade) of LM Guide Debuts
HSR (Ct Grade) C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
HSR Ct = Cost Effective Type (Ct Grade) of LM Guide A cost effective series of the model HSR. Optimal for the general linear guide market such as for conveyance systems or replaces HIWIN. • Cost effective • Versatility • Short delivery time HSR Ct = LM Guide ราคาสบายใจ HSR Ct เปนรุนยอยจาก หมวดยอดนิยม HSR ที่มีราคาประหยัด และเหมาะกับตลาด Linear Guide ทั่วๆไป เชน งานระบบ conveyor เลื่อนชิ้นงานเขา-ออก ที่ไมตองการความละเอียดมาก หรือ ใชทดแทนยี่หอไฮวิน • ราคาประหยัด • คุณสมบัติหลากหลาย เชน รับแรงได 4 ดาน เหมาะกับการใชงาน ทั่วๆ ไป และมีความสามารถในการดูดซับคา Error ขณะวิ่งไดดี • สินคาพรอมจัดสง
GURU
การเคลือบผิว (ตอนที่ 2)
ในตอนทีผ่ า่ นมา เราได้เริม่ คุยกันเกีย่ วกับ PVD – เทคนิคเพือ่ การเคลือบผิว แล้วพูดถึงวิธกี ารท�าระเหยสารเคลือบผิว โดย อาศัยวิธที างความร้อน (Thermal Evaporation) ทีอ่ าจจะได้จากเตาไฟฟ้า ทัง้ แบบทีอ่ าศัยความต้านทานและแบบสนามแม่เหล็ก ดังนัน้ ในตอนนีม้ าคุยกันต่อถึงวิธกี ารท�าระเหยแบบอืน่ ๆ กันบ้าง 1: ถ้วยทองแดงหล่อเย็นด้วยน�้า 2: ท่อน�้าหล่อเย็น เข้า-ออก 3: คอล์ยบังคับทิศทาง 4: Anode 5: Electrode ปรับโฟกัส 6: แหล่งก�าเนิดอีเล็คตรอน 7: ตัวถ่ายเทความร้อน 8: ล�าอีเล็คตรอน รูปที่ 2: เครื่องยิงอีเล็คตรอนเพื่อการท�าระเหยสารเคลือบ สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet) การศึกษา: 2508 2511 2514 2517 2524
CREATIVE FOR ECO DESIGN “นวัตกรรมใหมของการจัดนิทรรศการ” C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel: +66(0) 2369-2990-4 Fax: +66(0)2369-2763-5 Website: http://www.cgsreboardthai.com/ Email: cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Facebook: facebook.com/ReBoardDesign
การท�างาน: 2517-2518 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�าบริษัท Hermann Ehlert KG. เมือง Hildesheim, สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2522-2523 TA ช่วยค้นคว้างานวิจัยของ Prof.Dr.Helmut Knapp จาก Thermodynamic Inst. ของ Technical University of Berlin. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2524-2525 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�าบริษัท Schaeler Engineering GmbH, กรุง Berlin สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2525-2527 อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ 2527-2539 หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2539-2542 รองผู้อ�านวยการฝ่ายปฏิบัติการ ส�านักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2542-2547 รั ก ษาการผู ้ อ� า นวยการ ศู น ย์ บ ริ ก ารเทคโนโลยี สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปราจีนบุรี 2552-2556 ผู ้ แ ทนกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส มาคมวิ ศ วกรเคมี แ ละไบโอเทคโนโลยี เยอรมัน (DECHEMA e.V) ในประเทศไทย ปัจจุบัน
รีบอรด ความมหัศจรรย รีบอรดเปนวัสดุทางเลือกใหมที่มีความคงทน NEW IDEAS for EXHIBITION ของกระดาษ แตมีคุณลักษณะพิเศษที่มีความเบาแตแข็งแกรง การออกแบบแนวใหมเพื่อสิ่งแวดลอม จากประเทศสวีเดน ที่สามารถทำงานนิทรรศการไดหลากหลาย เพื่อใชในการผลิต POP and POS display/booth construction/standee
โรงเรียนสระแก้ว จัวหวัดสระแก้ว วิทยาลัยเทคนิค ไทย-เยอรมันขอนแก่น เตรียมวิศวฯ จาก Institut fuer auslaendische Fachhochschulbewerber ของแคว้น Niedersachsen ณ เมือง Hannover สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต Dipl.-Ing. (FH) in Gas-, Water-, Heating-and Cooling System จาก University of Applied sciences, เมือง Braunschweig-Wolfenbuettel สหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต Dipl.-Ing. in Energy & Process Engineering จาก Technical University of Berlin กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอมัน
ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking
ด้วยเหตุที่การท�าระเหยโดยอาศัยล�าอีเล็คตรอนเป็นไป ด้วยพลังงานจ�าเพาะจุดที่สูงมากจึงท�าให้เกิดอุณหภูมิเฉพาะ จุดสูงขึ้นไปด้วย เราจึงสามารถท�าระเหยสารเคลือบแข็งที่ เป็นที่รู้จักกันได้ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นวูลแฟร็ม (Wolfram) คาร์บอนและเซรามิค ฯลฯ
ตัวอย่างงาน
ระบบการเคลือบผิวโดยอาศัยล�าอีเล็คตรอนในการท�า ระเหยสารเคลือบให้ไปเคลือบติดเป็นชัน้ บางๆ อยูบ่ นผิวงาน ถูกน�ามาใช้ เช่น เป็นชั้นป้องกันการสะท้อนแสงหรือเป็นชั้น เคลือบแข็งบนผิวเลนซ์ (เช่น แว่นตา) หรือใช้เป็นชัน้ ให้ effect บนกระดาษหรือพลาสติก เป็นต้น
วิธีการท�าระเหยโดยเลเซอร์ (Pulsed Laser Deposition, Pulsed Laser Ablation)
รูปที่ 3: หลักการของเครื่องเคลือบผิวโดยอาศัยล�าอีเล็กตรอนท�าระเหย สารเคลือบ
ตอนที่ 2 นี้เราจะมาคุยกันถึงวิธีการท�าระเหยแบบ อื่นๆ อีก 4 วิธีคือ
วิธีการท�าระเหยโดยล�าอีเล็คตรอน (Electron Beam Evaporation)
วิธีนี้จ�าเป็นต้องมีเครื่องหรือปืนยิงอีเล็คตรอนที่จะเป็น ตัวควบคุมล�าอีเล็คตรอนไปยังเป้า คือ แท่งสารเคลือบหรือ สารเคลือบทีบ่ รรจุอยูใ่ นภาชนะทนไฟ (Tiegel) ส�าหรับชิน้ งาน เล็กๆ มีเครือ่ งขนาดมินทิ เี่ ครือ่ งยิงอีเล็คตรอนควบคุมล�าอีเล็ค ตรอนให้ทา� ระเหยแท่งสารเคลือบ (ขนาดประมาณ 0.2 – 6 มม.) โดยตรงหรือสารเคลือบในภาชนะบรรจุได้ การท�าระเหยแท่ง สารเคลือบโดยตรงมีข้อเด่นที่ความบริสุทธิ์ของชั้นเคลือบที่ ได้ ปลอดจากสารผสมอื่นๆ ที่อาจมาจากภาชนะบรรจุ
กระบวนการนี้จะด�าเนินไปภายในห้องสุญญากาศ โดย สารเคลือบจะถูกท�าระเหยด้วยแสงเลเซอร์พลังสูง (ประมาณ 10MW/cm2) เมื่อพลังงานที่ถูกยิงหรือฉายไปยังสารเคลือบ ได้ระดับหนึง่ ทีเ่ พียงพอจะก่อให้เกิดพลาสม่า ซึง่ จะท�าให้อะตอม ของสารเคลือบหลุดออก ด้วยการปรับ Processgas ให้ความ ดันในห้องเคลือบสูงกว่า 1 mbar ขึ้นไป จะสามารถท�าให้ อะตอมสารเคลือบทีห่ ลุดออกไปอยูใ่ นสถานะก๊าซนัน้ จับกลุม่ ไปกลั่นตัวเคลือบติดบนผิวงานเป็นชั้นบางๆ ส�าหรับกระบวนการผลิตชั้นผลึกบนผิวงานจะมีการให้ ความร้อนเพิม่ เข้าไปเพือ่ กระตุน้ การแพร่ (Diffuson) ให้อะตอม เกิดการจัดระเบียบ ด้วยวิธีนี้ท�าให้สามารถฝังอนุภาคอื่นๆ เข้าไปในผลึกได้ อาจเพือ่ ต้องการให้เกิดผิววัสดุทซี่ บั ซ้อนหรือ เพื่อต้องการ Doping (Dotierung) ในชั้นนั้นๆ ของผิวงาน ก็ได้ แสงเลเซอร์ทใี่ ห้ผลลัพธ์ดคี อื UV – เลเซอร์ (เช่น XeCl- Excimer Laser หรือ KrF – Excimerlaser) ทัง้ นี ้ เพราะใน ล�าแสงเลเซอร์ชนิดนีม้ พี ลังงานโฟตอน (Photonenenergie) สูงที่วัสดุหลายชนิดจะดูดกลืนเอาไว้ และทั้งนี้ เพราะมันมี ระดับความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของพลาสม่า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 67
ELECTRIC TREND
รูปที1่ . แสดงบล็อกไดอะแกรมระบบ ‘Highly Resonant Wireless Power Transfer’ หลักการท�างานของระบบ คือ เมือ่ พิจารณาจากทางด้านซ้ายบนไปทางด้านขวามือ คือ อินพุต จะประกอบไปด้วยวงจรแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้า กระแสตรง (AC/DC) วงจรสวิตซ์ชิ่งแอมปลิไฟเออร์ (DC/ RF Switching Amplifier Convert) ท�าหน้าทีแ่ ปลงสัญญาณ ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นสัญญาณคลื่นวิทยุ (Class D หรือ E Switching Amplifiers) เพือ่ ส่งไปยังส่วนของวงจรเรโซแนนซ์ (Source Resonator) สนามแม่เหล็กจะถูกก�าเนิดที่ภาควงจร เรโซแนนซ์ ส่วนในภาครับประกอบไปด้วยของอุปกรณ์รับพลังงาน สนามแม่เหล็กหรือเรโซเนเตอร์ (Device Resonator) ส่งผ่าน สัญญาณที่ได้ไปยังวงจรแมทชิ่งล�าดับที่สอง (2nd IMN) สัญญาณแม่เหล็กจะถูกแปลงกลับเป็นสัญญาณไฟฟ้ากระแส ตรง (RF/DC Switching Amplifier Convert) เพื่อน�า สัญญาณไฟฟ้ากระแสตรง (D.C) ทีไ่ ด้สง่ ผ่านไปประจุพลังงาน ให้กับโหลดทางเอาต์พุตที่อาจเป็นแบตเตอรี่ ส�าหรับรถยนต์ หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการประจุพลังงานส�ารองใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานระบบการประจุพลังงาน แบบไร้สาย กับงานอุตสาหกรรมรถยนต์
การน�าระบบการประจุพลังงานแบบไร้สายไปใช้ในงาน อุตสาหกรรมรถยนต์ โดย บริษทั โตโยต้า ทีอ่ อกแบบแผ่นประจุ พลังงานทีม่ ชี อื่ ว่า ‘WiTricity’ ส�าหรับการถ่ายโอนพลังงานแบบ ไร้สาย ดังรูปที่ 2. (A) โดยระบบประกอบไปด้วย แหล่งจ่าย ก�าลังไฟฟ้า (1. Power Supply) ท�าหน้าที่ ส่งผ่านก�าลังไฟฟ้า ไปยังชุดขดลวดเรโซแนนซ์ด้านส่งสัญญาณ (2. Transmitter Pad) ท�าหน้าทีส่ ร้างสนามแม่เหล็กจากขดลวดทองแดง ส่งผ่าน การถ่ายโอนก�าลังไฟฟ้าแบบไร้สายผ่านอากาศ (3.Wireless Electrical & Data Transfer) เมื่อขดลวดเรโซแนนซ์ทาง ด้านรับ (4. Receiver Pad) ท�าหน้าทีร่ บั พลังงานการถ่ายโอน พลังงานไฟฟ้าทีร่ บั ได้ (ขดลวดเรโซแนนซ์ทงั้ ด้านส่ง/รับ จะออก แบบใช้งานในช่วงความถีเ่ รโซแนนซ์เท่ากับ 85 MHz) พลังงาน จะถูกน�าไปประจุพลังงานให้กับแบตเตอรี่ การควบคุมการ ประจุพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพจากชุดควบคุม (5. System Control)
(A)
(B)
รูปที่ 2: (A), (B) แสดงระบบประจุพลังงานแบบไร้สายและการใช้งานบนเส้นทางหลวง ตามล�าดับ (http://www.computerworld.com/article/2488697/emerging-technology/tdk-moves-quickly-to-commercialize-wireless-chargingfor-electric-cars.html)
(A) รูปที่ 3: (A), (B) แสดงการประยุกต์ใช้งานสถานีการประจุพลังงานแบบไร้สายกับรถยนต์ไฮบริดจ์ (http://inhabitat.com/worlds-first-wireless-electric-car-charger-launched-in-uk/)
58 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
(B)
ทัง้ นี้ แผ่นประจุพลังงาน ‘WiTricity’ สามารถส่งพลังงาน แบบไร้สายได้มากกว่า 3.3 กิโลวัตต์ แต่บริษัทฯ ต้องการ พัฒนาให้แผ่นประจุสามารถท�างานได้มากถึง 6.6 กิโลวัตต์ ใน เวอร์ชั่นต่อไป ซึ่งประสิทธิภาพการถ่ายโอนพลังงานแบบไร้ สายได้มากถึง 90% ทัง้ นี้ มีเพียง 10% ของพลังงานทีเ่ กิดการ สูญเสียไประหว่างชุดส่งและชุดรับ นอกจากนี้ การโอนถ่าย พลังงานสามารถทะลุทะลวงผ่านวัสดุเช่น คอนกรีตและยาง มะตอยได้ ดังนั้น แผ่นประจุพลังงาน ‘WiTricity’ อาจติดตั้ง ฝังอยู่ในพื้นดินภายใต้พื้นที่จอดรถยนต์ได้ โดยรูปที่ 2.(B) ทีมวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอดได้ ออกแบบระบบการประจุพลังงานแบบไร้สายไปใช้กับรถยนต์ และรถบรรทุกทีว่ งิ่ บนเส้นทางหลวงด้วยความเร็วพอประมาณ ที่สามารถประจุพลังงานให้กับแบตเตอรี่ได้ การทดสอบจริงที่ ระยะทางกว่า 100 ไมล์ต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง โดยแบตเตอรี่ จะใช้เวลาหลายชั่วโมงในการประจุเต็มพิกัด ส่วนนักวิจัยจาก MIT ได้พัฒนาระบบประจุพลังงานที่สามารถถ่ายโอนแบบไร้ สายประมาณ 3 กิโลวัตต์ ไปยังรถยนต์ที่จอดอยู่ในโรงรถหรือ บนท้องถนน นอกจากนี้ ยังมีนักวิจัยด้านเดียวกันต่อยอดการ พัฒนาระบบการประจุพลังงานแบบไร้สายให้มากถึง 10 กิโล วัตต์ ทีร่ ะยะทางมากกว่า 6.5 ฟุต ส�าหรับรถยนต์เคลือ่ นทีด่ ว้ ย ความเร็วบนถนนทางหลวง ดังนั้น แบตเตอรี่รถยนต์ได้ถูกออกแบบให้ประจุพลังงาน เพิม่ มากขึน้ ในช่วงการเร่งความเร็วหรือการขับขึน้ เนินสูงๆ การ ท�างานของระบบนี้ ชุดของขดลวดที่เชื่อมต่อกับกระแสไฟฟ้า จะถูกฝังอยูใ่ นถนนทางหลวง ขดลวดทีไ่ ด้รบั การติดอยูก่ บั ด้าน ล่างของรถยนต์ที่จะสะท้อนเป็นความเร็วของรถยนต์พร้อม การสร้างสนามแม่เหล็กทีถ่ า่ ยโอนพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง การวิจยั ยังพบว่า ยางมะตอยในถนนอาจจะมีผลเพียงเล็กน้อย แต่ชนิ้ ส่วนโลหะของรถยนต์และโครงสร้างเหล็กของถนน อาจ ส่งผลรบกวนสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในทางปฏิบตั กิ ารประจุแบตเตอรีต่ อ้ งมีอาร์เรย์ของขดลวด ฝังอยูใ่ นถนน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�างานมากขึน้ ร้อยละ 97 (ส่วนร้อยละ 3 เป็นการสูญเสียในรูปความร้อน) และระบบ จะไม่ส่งผลกระทบต่อคนขับขี่และรบกวนระบบไมโครคอมพิว เตอร์ทคี่ วบคุมพวงมาลัย ระบบน�าทาง เครือ่ งปรับอากาศและ การด�าเนินงานของยานพาหนะอืน่ ๆ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการขนส่ง ยังได้วางแผนการน�าพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ทดแทนแหล่ง จ่ายก�าลังไฟฟ้า (Power Supply) เพือ่ ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกและเป็นทางเลือกหนึ่งของการใช้พลังงานที่สะอาด สรุปได้วา่ การประจุพลังงานแบบไร้สายทีส่ ามารถควบคุม การประจุพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อมิให้ผู้ขับขี่ต้อง กังวลต่อการเกิดความเสียหายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ รวมไปถึง ความสะดวกในการใช้งานและการประหยัดเวลา จึงเป็นอีกทาง เลือกหนึง่ ทีผ่ เู้ ขียนต้องการให้เทคโนโลยีดงั กล่าวนี้ มีการพัฒนา ต่อยอดและน�ามาใช้ในประเทศไทยมากยิ่งขึ้นเช่นกัน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 59
PRINCIPLE | ดร.อมรพันธุ์ พันธ์ุโอภาส ระบบหลัก ส่วนแรก คือ ส่วนที่เคลื่อนที่ (Manipulator) ซึง่ จะประกอบไปด้วยกลไกต่างๆ ส่วนทีส่ อง คือ ส่วนควบคุม (Control System) จะประกอบไปด้วยคอมพิวเตอร์หรือส่วน สั่งการ ส่วนใหญ่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะท�างานอยู่กับที่ (Stationary Robot) แต่ก็มีบ้างที่สามารถเคลื่อนที่ได้ (Dynamic Robot) ในรูปแบบของการเดิน (Walking Robot) แบบล้อ (Rolling Robot) และแบบเลือ่ นที่ (Sliding Robot) โดยพื้นฐานหุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรมจะมีฟังก์ชันการ ท�างานทีห่ ลากหลายส�าหรับการท�างานทีแ่ ตกต่างกันออกไป ตัวอย่างการท�าหน้าทีใ่ นโรงงาน ได้แก่ งานเชือ่ มหรือตัด (Arc Welding or Cutting) งานปรับสภาพชิ้นงาน Material removal (De-Burring, Polishing, Grinding และ Guffing) งานหยิบชิน้ งานเข้าเครือ่ งจักร Machine Tending (Conventional Lathe, HMC และ VMC) งานกดอัด Press Tending งานจับวาง Pick/Place งานจัดเรียงสินค้าเข้า Palletizing งานจัดเรียงสินค้าออก De-Palletizing เป็นต้น หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรมมีความสามารถในการท�า งานที่แตกต่างกันแม้จะมีรูปร่างคล้ายๆ กันก็ตาม พิจารณา จากงานทีป่ ลายแขนหุน่ ยนต์ (End-Effector) ต้องท�า ตัวอย่าง เช่น ในตารางแสดงลักษณะงานของหุ่นยนต์แขนกล ดังนั้น การใช้งานหุ่นยนต์จึงต้องพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ จ�านวนแกนหรือองศาอิสระทีห่ นุ่ ยนต์สามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้ ชนิด ของระบบควบคุม ปริมาณงาน ความง่ายในการโปรแกรม หุ่นยนต์ ความแม่นย�าในการท�างานซ�้าๆ ขนาดของโหลดที่ หุ่นยนต์ต้องแบกรับ
วิศวกรรมการผลิตกับหุ่นยนต์
หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรมจะท�างานได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพจึงต้องอาศัยหลักทางวิศวกรรมและใช้งานได้ อย่างถูกต้อง โดยจะต้องค�านึงถึงเรื่องต่อไปนี้ 1. การออกแบบระบบทั่วไปในการท�างาน (General System Design Considerations) ส่วนส�าคัญทีส่ ดุ ของหุน่ ยนต์อุตสาหกรรมคือมีความเชื่อถือได้และความปลอดภัย สามารถท�างานได้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหลายชั่วโมงภาย ใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายได้ 2. สภาพแวดล้อม (Environmental Factors) สภาพ แวดล้อมมีผลอย่างมากต่อการท�างานของหุ่นยนต์ - ความร้อนและอุณหภูมิ หุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมโดยทัว่ ไปจะสามารถทนอุณหภูมิเฉลี่ยได้ 120 องศาฟาเรนไฮ บาง กรณีหุ่นยนต์ต้องท�างานกับความร้อนสูงมากกว่าอุณหภูมิ เฉลี่ย จึงต้องมีระบบหล่อเย็นเข้ามาเสริมด้วยหรืออาจจะ ต้องเป็นวัสดุพิเศษที่ทนต่อความร้อนและไม่ติดไฟ - สภาวะการรับโหลดหรือการสั่นสามารถเกิดขึ้นได้ จาก หลายสาเหตุ เช่น การออกแบบตัวจับชิน้ งานทีไ่ ม่ดหี รือ โปรแกรมควบคุมการท�างานของหุ่นยนต์ก็ตาม หุ่นยนต์ที่ ท�างานต้องรับโหลดกระทันหันหรือการกระทบกับโหลด ซึ่ง อาจจะสร้างความเสียหายให้กับชิ้นงานและตัวหุ่นยนต์เอง - สัญญาณรบกวนทางไฟฟ้าเกิดขึ้นได้กับหุ่นยนต์ที่ท�า งานในกระบวนการ Electric Arc หรือในบริเวณที่มีสนาม แม่เหล็ก ท�าให้เซนเซอร์หรือการท�างานของหุ่นยนต์ผิด พลาดได้ โดยทั่วไปจะแก้ด้วยการสกรีนและฟิลเตอร์ต่างๆ - ของเหลว ก๊าซ หรืออนุภาคที่กัดกร่อนหรือท�าความ เสียหายต่อหุ่นยนต์ หุ่นยนต์ต้องถูกออกแบบมาโดยเฉพาะ ให้ป้องกันอันตรายเหล่านี้ได้ 3. ความเชื่อถือได้ (Reliability) การจะบอกว่าหุ่นยนต์ ท�างานได้นา่ เชือ่ ถือหรือไม่ มี 3 ปัจจัย คือ เวลาเฉลีย่ ทีท่ า� ให้ เกิดความผิดพลาด Mean Time Between Failure (MTBF) เวลาเฉลีย่ ทีต่ อ้ งซ่อมแซม Mean Time To Repair (MTTR) และเวลาที่ต้องหยุดการผลิต (Down Time) 62 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ตารางแสดงลักษณะของหุ่นยนต์แขนกลที่เหมาะสมกับภาระงาน งานพ่นสีสเปรย์ Spray Painting Robots • มีระบบการเรียนรู้ (Teach by Doing) • มีข้อต่อแบบหมุน (Revolute Jointed) • เปลี่ยนต�าแหน่งได้ 3 องศาอิสระ (3 D.O.F.arm) • หมุนได้ 3 องศาอิสระ (3 D.O.F.wrist)
งานในกระบวนการผลิต Process Robot • สามารถปรับเปลี่ยนโปรแกรมการท�างานได้สะดวก • เปลี่ยนต�าแหน่งได้ 3 องศาอิสระ (3 D.O.F.arm) • หมุนได้ 2-3 องศาอิสระ (2-3 D.O.F.wrist) • ท�างานซ�้าๆ ได้ดี
งานยกหรือย้าย Handling Robots • รับโหลดได้ดี • ขนาดงานมีอัตราส่วนสัมพันธ์กับขนาดหุ่นยนต์ • หุ่นยนต์ขนาดใหญ่จะเคลื่อนที่ช้า • หุ่นยนต์ขนาดเล็กจะเคลื่อนที่เร็ว • เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งหรือท�างานเป็นล�าดับที่ ก�าหนด (Fixed Sequence)
งานประกอบ Assembly Robots • ท�างานซ�้าๆ ได้ดี มีความแม่นย�า • ใช้ภาษาโปรแกรมระดับสูงในการควบคุม • มีระบบเซนเซอร์ • ท�าความเร็วได้ดี
4. ปลายแขนหุ่นยนต์ (End-Effectors) ปลายแขนหุ่น ยนต์เป็นส่วนที่สัมผัสกับชิ้นงานจะเป็นส่วนที่ต้องออกแบบ ให้เหมาะสมกับการท�างานนัน้ ๆ เช่น ควรจะจับชิน้ งานอย่างไร ด้วยแรงเท่าไหร่ เป็นต้น 5. การประยุกต์ใช้เซนเซอร์ (The application of sensors) ตัวหุ่นยนต์จะมีเซนเซอร์พื้นฐานที่จ�าเป็นอยู่แล้ว เพื่อจะวัดต�าแหน่งและความเร็วในการเคลื่อนที่ของตัวเอง เซนเซอร์ภายนอก (External Sensors) อาจจะมีความจ�าเป็น กับงานต่างๆ ส�าหรับ Soft Automation หรือในส่วนของ โปรแกรมมิ่งที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือ การใช้เซนเซอร์รับ ภาพ (Machine Vision) 6. พื้นที่การท�างาน (Workplace Layout for Robot Applications) เป็นเรือ่ งการจัดวางพืน้ ทีใ่ นการท�างาน โฟล์ว ของกระบวนการผลิตที่ต้องสอดคล้องกัน ในกรณีที่เป็น Multi-Process ก็จะมีการติดตัง้ หุน่ ยนต์หลายๆ ตัวให้ทา� งาน ต่อเนื่องกันอย่างมีประสิทธิภาพ
7. ความปลอดภัย (Safety Considerations) เป็นศีล ธรรมและความรับผิดชอบทางกฎหมายทีผ่ ผู้ ลิตจะต้องดูแล เรื่องความปลอดภัย อาจจะมองเป็นเรื่องเล็กน้อยส�าหรับ หุ่นยนต์และระบบออโตเมชั่นที่คนแทบจะไม่เกี่ยวข้องแต่ก็ ไม่ควรมองข้ามไป จึงต้องหมั่นตรวจสอบระบบการท�างาน อยู่เสมอ 8. ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน (Robot Application Economics and Financial Justification) แม้ว่าจะพบ ข้อดีหลายข้อของการใช้หุ่นยนต์และระบบออโตเมชั่นมา ใช้ในกระบวนการผลิต อย่างไรก็ตามจ�าเป็นที่ต้องมีการ ประเมิน Cost and Savings ในการน�าหุน่ ยนต์มาใช้งาน เช่น วิธีค�านวณผลตอบแทนการลงทุน หรือวิธี Financial Appraisal Technique เป็นต้น
เทคโนโลยีกับหุ่นยนต์
ความสามารถในการผลิตของหุ่นยนต์จะควบคู่กับเทค โนโลยีที่ใช้ไม่ว่าจะเป็นเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เทคโน โลยีของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมอาจถูกแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ด้วยกัน ได้แก่ 1. Low Technology 2. Medium Technology 3. High Technology Low Technology ใช้สา� หรับท�างานทีไ่ ม่ซบั ซ้อนทีต่ อ้ ง ท�าซ�า้ เดิมตลอดเวลา ไม่สามารถทีจ่ ะเปลีย่ นการท�างานใหม่ ระหว่างท�างานอยู่ได้ มีแกนที่เคลื่อนที่ 2-4 แกนเคลื่อนที่ได้ จ�ากัด ไม่มรี ะบบควบคุมต้องใช้เป็นกลไกเพือ่ จ�ากัดการเคลือ่ นที่ (Mechanical Stop) หุ่นยนต์สามารถรับโหลดได้ 3-13.6 กิโลกรัม เวลาที่ปลายแขนกลเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุด หนึ่ง (Cycle Time) ขึ้นอยู่กับโหลดและระยะทางโดยเฉลี่ย จะใช้เวลามากกว่า 5-10 วินาที ด้านความแม่นย�าประมาณ 0.050-0.024 มิลลิเมตร ซึง่ สัมพันธ์กบั ความสามารถในการ ท�าซ�้า Medium Technology มีการเคลือ่ นทีไ่ ด้หลากหลาย แนวแกนมี 5-6 องศาอิสระ สามารถรับโหลดได้ 68-150 กิโลกรัม Cycle Time ในแนวแกนระยะ 25-65 เซนติเมตร/ วินาที หากเป็นการหมุน 150 เซนติเมตร/วินาที ความแม่น ย�าจะแม่นย�าน้อยกว่า Low Technology เนือ่ งจากมีหลาย แกนและองศาอิสระ ความสามารถในการท�าซ�า้ เคลือ่ นไปยัง ต�าแหน่งเดิมประมาณ 0.2-1.3 มิลลิเมตร ใช้ไมโครโปรเซส เซอร์ในการควบคุมการท�างาน อาจจะควบคุมแบบแมนนวล ได้เก็บและบันทึกต�าแหน่งการเคลื่อนที่ได้ High Technology สามารถประยุกต์ใช้กบั งานทีห่ ลาก หลายและซับซ้อน มีแกนการเคลือ่ นที่ 6-9 หรือมากกว่านัน้ ขนาดโหลดประมาณ 68-150 กิโลกรัม Cycle Time ใกล้ เคียงกับแบบ Medium Technology แต่จะมี High Technology จะมี Cycle Time ของแต่ละแกนไม่เฉพาะที่ปลาย แขนอย่างเดียว ความแม่นย�าและการท�าซ�า้ ท�าได้ดเี นือ่ งจาก
มีการใช้ระบบควบคุม Feedback Control และเซนเซอร์ หากเราไม่ตอ้ งการลงทุนกับหุน่ ยนต์ราคาแพง เราสามารถ พัฒนาเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ขนึ้ มาใช้เองได้ แต่กต็ อ้ งอาศัยการ ศึกษาวิจยั เพือ่ ทีเ่ ราจะลงทุนน้อยกว่าแต่ได้งานทีด่ เี ทียบเท่า กันหรือแม้แต่การทีเ่ รามีหนุ่ ยนต์อยูแ่ ล้วแต่เราสามารถทีจ่ ะ ต่อยอดหรือประยุกต์จากเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิม ให้หุ่นยนต์มี ความสามารถมากขึ้นเพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตได้ ด้วยเช่นกัน โดยแนวความคิดในการต่อยอดนี้จึงเกิด ‘โอเพนอาคิ เทคเจอร์’ Open-architecture industrial robots ขึ้นมา จากหลายๆ บริษัทชั้นน�าที่จ�าหน่ายหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เช่น บริษัท KAWASAKI Heavy Industries บริษัท MITSUBISHI Heavy Industries และ YASKAWA Electric Corp เป็นต้น โอเพนอาคิเทคเจอร์ หมายถึง ระบบขับเคลือ่ นเซอร์โว (Servo System) คิเนมาติก (Kinematics) และข้อมูลทาง เทคนิคต่างๆ เปิดเผยต่อผู้ซื้อหุ่นยนต์ ท�าให้สามารถน�าหุ่น ยนต์ไปใช้ท�างานต่างๆ ได้ด้วยตัวเอง ตัวอย่างเช่น การใช้ โอเพนคิเนมาติกทีม่ คี วามแม่นย�าในการก�าหนดต�าแหน่งการ เคลื่อนที่ของหุ่นยนต์สามารถควบคุมแรง (Force Control) โดยใช้ Force Sensor ได้เนื่องจากโอเพนเซอร์โวซิสเต็ม เป็นต้น ผูพ้ ฒ ั นาการท�างานของหุน่ ยนต์ในกระบวนการผลิต จึงสามารถวางแผนควบคุมการท�างาน (Control Strategy) ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และยังมีเทคโนโลยีต่างๆ ทีถ่ กู น�ามาใช้รว่ มกับหุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัตอิ กี เช่น SCADA (Supervisory Control and Data Acquisition) เป็น ระบบทีท่ า� ให้หนุ่ ยนต์หลายตัวท�างานร่วมกันและยังเชือ่ มโยง ระบบอัตโนมัติทั้งหมดเข้าด้วยกัน มนุษย์เป็นเพียงผู้ตรวจ สอบหรือเฝ้าดูการท�างานเท่านัน้ และ Haptic System เป็น สาขาหนึ่งของ Virtual Reality ที่จะจัดการเกี่ยวกับเรื่อง Force Feedback ซึง่ ถูกน�ามาประยุกต์ใช้ในการปฏิสมั พันธ์ ระหว่างผู้ใช้งานกับหุ่นยนต์และสภาพแวดล้อม เป็นต้น หุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัตยิ งั ต้องการการพัฒนาอีกมาก เพื่อให้ท�างานได้หลากหลายมากขึ้น ตอบสนองความต้อง การของอุตสาหกรรมได้ดียิ่งขึ้น งานยากๆ ปัญหาที่ซับซ้อน ที่หุ่นยนต์ยังท�าไม่ได้จึงต้องอาศัยนักพัฒนาหลายภาคส่วน เข้ามาช่วยกัน ภาควิชาวิศวกรรมการผลิต คณะวิศวกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จึงเป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะมาช่วยพัฒนาเทคโนโลยีในด้านการผลิต และได้เปิดสาขาทางด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขึ้นมา เป็นอีกแรงหนึง่ ในการพัฒนาประเทศร่วมกันต่อไป นอกเหนือ ไปจากการแข่งขัน Rescue Robot ที่ไปชนะเป็นแชมป์โลก ได้หลายปีตอ่ เนือ่ งกันแต่ทกุ คนได้ตงั้ ค�าถามถึงการน�าหุน่ ยนต์ ไปพัฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 63
GURU แหล่งก�าเหนิดอีเล็คตรอน ลวดเขี่ยประกายอาร์ค
ห้องก�าเหนิดไอออน คอล์ยไฟฟ้าแม่เหล็ก
ประกายอาร์ค ก๊าซก่อ ปฏิกิริยา
สารเคลือบ
ก๊าซอาร์กอน ไอออนไอโลหะ (พลาสม่า)
Tools
ชิ้นส่วน
เคลือบ ประกายแสงสว่างที่ขั้ว Cathode นี้จะเคลื่อนตัว ด้วยความเร็วประมาณ V = 100 m/s โดยล�าแสงขนาดเส้น ผ่านศูนย์ไม่กไี่ มครอนจะเปลงแสงเป็นระยะเวลาสัน้ ๆ ประมาณ t = 10-6 -10-7 วินาที ท�าให้ ณ จุดอาร์คมีความหนาแน่น ของกระแสไฟฟ้าอยู่ที่ i = 1,012x102 A/cm2 ซึ่งสูงพอที่จะ ท�าให้จุดอาร์คระดับไมครอนบนผิววัสดุเคลือบ ณ ขั้ว Cathode นั้น เกิดความร้อนสูงอย่างรวดเร็ว อัตราการ ระเหยของไอสารเคลือบขึ้นอยู่กับจุดหลอมละลายของวัสดุ เคลือบซึ่งสามารถปรับตั้งได้ ตัวแปรหนึ่งของอัตราการเกิด ไอออนคือ อุณหภูมิการหลอมละลายของแท่งวัสดุเคลือบ รูปที่ 5 แสดงถึงการจัดระบบการท�าระเหย โดยการอาร์ค เพื่อใช้เคลือบผิวชิ้นงานในอุตสาหกรรมระบบหนึ่ง
ซิลิคอน
แผ่นปิดเปิด อะลูมิเนียม
วิธีการท�าระเหยแบบ Molecular Beam Epitaxy (MBE)
1: ขั้ว Cathode ทองแดง 2: แม่เหล็กถาวร 3: ฉนวน 4: ผนังห้องสุญญากาศ 5: โล่ป้อง Cathode
ปั๊ม
คอล์ยไฟฟ้าแม่เหล็ก
ถ้วยทนความร้อน
รูปที่ 4: หลักการท�าระเหยด้วยการอาร์ค
สารเคลือบ
รูปที่ 5: การวางระบบเคลือบผิวด้วยการระเหยโดยการอาร์คของ บ.Balzers
ข้อได้เปรียบและเสียเปรียบ
เมื่อเทียบกับวิธีการท�าระเหยแบบอื่นๆ แล้ว การท�า ละเลยโดยใช้เลเซอร์ มีข้อดีและข้อด้อย ดังนี้
ข้อดี: + การยิงแสงเลเซอร์สามารถควบคุมความถี่ของจ�านวน ครั้งที่ยิงได้แม่นย�า จึงเท่ากับเป็นการควบคุมความ สามารถในการท�าระเหยสารเคลือบได้แน่นอน ส่งผลให้ สามารถควบคุมการป้อนแท่งสารเคลือบให้คอ่ ยๆ ระเหย หดไปตามความต้องการ + สามารถถ่ายโอนองค์ประกอบบทางเคมีที่ซับซ้อนของ ธาตุที่มีอยู่ในสารหนึ่ง (สารเคลือบ) ไปยังอีกสารหนึ่ง (ตัวชิน้ งาน) ได้อย่างแน่นอนในขณะทีว่ ธิ อี นื่ ๆ มักจะเกิด ปัญหาที่สารเคลือบที่ได้บนผิวงานมีคุณสมบัติผิดเพี้ยน ไปจากสารเคลือบต้นก�าเนิด + ง่ายในการสร้างชัน้ เคลือบหลากหลายชัน้ (Multilayers) + สามารถผลิตชั้นที่สูงด้วยคุณภาพจากวัสดุหลายเกรด อาทิ เซรามิก โลหะ สารกึ่งตัวน�าและพลาสติกบาง ประเภทได้ในเวลาเดียวกัน
ตัวอย่างการใช้งาน
ส่วนใหญ่แล้ววิธีการท�าระเหยโดยอาศัยเลเซอร์มักจะ ใช้อยู่ในวงการวัสดุศาสตร์ เพื่อพัฒนาแสวงหาวัสดุใหม่ที่มี องค์ประกอบหลากหลาย โดยเฉพาะกับวัสดุโครงสร้างแบบ Meta-stability คือ มันจะเสถียรต่อการเปลี่ยนแปลงเล็กๆ น้อยๆ แต่จะไม่เสถียรต่อการเปลีย่ นแปลงมากๆ ดังตัวอย่าง โครงสร้าง Amorphous ของคาร์บอนคล้ายเพชร (Dimond – like Carbon), เซารามิก (อาทิ YBaCuO) หรือในการ สร้างชัน้ ผิวพิเศษทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็น Ferromagnetism (เช่น ชั้นผิว AMR, GMR หรือ GMI)
วิธีการท�าระเหยโดยการอาร์ค (Arc evaporation, Arc-PVD)
ในกระบวนการนี้จะอาศัยกระแสไฟฟ้าอาร์คแท่งสาร เคลือบทีต่ ดิ ตัง้ อยูก่ บั ขัว้ Cathode โดยมีผนังห้องสุญญากาศ เป็นขั้ว Anode ที่เปรียบเสมือน Electrode ไปในตัว เมื่อ เกิดการอาร์คสารเคลือบจะหลอมละลาย กว่า 90% ของไอ สารเคลือบที่กลายสภาพเป็น Ion ประจุลบจะแพร่ออกไป ทุกทิศทางคล้ายๆ กันกับการระเหยแบบ Thermal Evaporation ที่ได้อธิบายไว้แล้วในตอนที่ 1 แต่ด้วยประจุลบที่มี ข้อด้อย: อยู่ในไอระเหยจะเป็นตัวเร่งให้อนุภาคมุ่งสู่ผิวชิ้นงานที่ขั้ว - กระบวนการท�าระเหยสารเคลือบเป็นไปช้ากว่า PVD บวกและกลั่นตัวลงบนผิวงานนั้น วิธีอื่นๆ เช่น การท�าระเหยโดยอาศัยล�าอีเล็คตอน การเพิ่ม–ลดอัตราการเคลือบ สามารถท�าได้โดยการ - เป็นไปได้ที่อาจเกิดเป็นหยดบนผิวเคลือบของชิ้นงาน ปรับแรงดันไฟฟ้า ซึง่ ก็จะสร้าง Suptter - Effect ต่างกันไป - การจับกลุ่ม (Cluster) ของอะตอมส่วนใหญ่ไม่เป็นที่ การสังเคราะห์ชั้นเคลือบเกิดจากการจุดประกายจาก ต้องการ การอาร์คในห้องสุญญากาศคล้ายประกายจากการเขีย่ ลวด - ไม่เหมาะกับการใช้เคลือบผิวที่ชิ้นงานใหญ่ พื้นที่กว้าง เชือ่ มไฟฟ้า โดยมีกระแสสูงและแรงดันไฟฟ้าต�า่ ประกายไฟ ตรงกันข้ามกับวิธกี ารท�าระเหยแบบ Sputter Deposition อาร์คอาจเกิดขึ้นแบบไม่เป็นระเบียบ (Random Arc) หรือ - เป็นวิธีการที่ราคาค่อนข้างสูงกว่าวิธีการอื่นๆ แบบอยู่ในการควบคุม (Steered Arc) บนผิวของแท่งวัสดุ 68 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สารหนู
ชิ้นงาน
แกลเลียม
MBE จัดเป็นกระบวนการทางฟิสิกส์เพื่อท�าระเหยสาร เซลล์ให้ความร้อน เคลือบให้ไปเคลือบติดเป็นชั้นเคลือบบางๆ บนผิวชิ้นงานใน สังกะสี อุตสาหกรรมการผลิตชิน้ ส่วน โดยส่วนใหญ่แล้วกระบวนการ แป้นยึดชิ้นงานปรับ หมุน และให้ความร้อนได้ นีน้ ยิ มใช้อยูใ่ นอุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนอิเล็คทรอนิกส์ เพือ่ ให้เกิดโครงสร้างผลึกสารกึง่ ตัวน�า อาทิ Gallium arsenide (GaAs) Indiumphosphide (InP), GaInNas, Galliuman- รูปที่ 6: หลักการจัดระบบเครื่องเคลือบผิวแบบ MBE timonide (GaSb) บนผิวชิ้นส่วนที่จะผลิต มันถูกพัฒนาขึ้น จากการคิดค้นของ Alfred Y. Cho และ John R. Arthur ในห้องปฏิบัติการของ Bell ตั้งแต่ปี ค.ศ.1960 โดยพื้นฐาน Epitaxy (Epitaxie ในเยอรมัน) หมายถึง การก่อให้เกิดชัน้ โครงสร้างผลึกทีเ่ ข้ากันได้กบั ผิวของชิน้ งาน โดยที่คุณสมบัติทางฟิสิกส์ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ ตัวแปร ของผลึก) ของวัสดุทั้งคู่ไม่ต่างกันมากนัก ในทางเทคนิคใช้ ค�าว่า Homoepitaxy หากชิน้ งานกับผิวเคลือบเป็นวัสดุทมี่ า จากองค์ประกอบเดียวกัน ถ้าต่างกันจะใช้ค�าว่า Heteroepitaxy กระบวนการ MBE จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยสุญญากาศ ต�่ามากๆ เพื่อไม่ให้มีอะตอมของก๊าซอื่นที่จะเป็นสิ่งสกปรก ซึง่ ไม่พงึ ประสงค์หลงเหลืออยู ่ แต่ความกดดันในห้องสุญญากาศ จะเพิม่ ขึน้ ขณะทีก่ ระบวนการเกิดผลึกด�าเนินไป ทัง้ นีก้ เ็ นือ่ ง จากการเกิด Effusion ในช่วงสุญญากาศต�่านั้นเอง สาร เคลือบหรือสารที่ต้องการน�าไปท�าเป็นชั้นบนสารกึ่งตัวน�าที่ ถูกบรรจุอยู่ในถ้วยทนไฟ (Tiegel หรือ Effusionzellen) จะ ถูกให้ความร้อนจนเกิดล�าโมเลกุลเคลือนไปยังชิน้ งานทีก่ ถ็ กู ให้ความร้อนเช่นกัน แต่ยงั ยอมให้ลา� โมเลกุลของสารเคลือบ จัดตัวเป็นชั้นผลึกลงบนผิวได้ด้วยการควบคุมอุณหภูมิของ ถ้วยทนไฟและปรับหรือเปิดปิดช่องควบคุมโมเลกุลแหล่ง รูปที่ 7: เครื่องเคลือบผิวระบบ Molecular Beam Epitaxy จาก VG Semicon ต่างๆ ท�าให้สามารถสร้างโครงสร้างชั้นยากๆ หลากหลาย เอกสารอ้างอิง ชั้นพร้อมปลูกอะตอมแปลกปลอมที่เรียกกันว่า Doping Rudolf Sautter ; “Fertigungsverfahren” เข้าไปได้อีกด้วย โดยแต่ละชั้นอาจหนาเพียงไม่กี่อะตอม Vogel Fachbuch – Kamprath Reihe 1. Aufl.1997 (น้อยกว่าระดับนาโนเมตร) ไปจนถึงระดับไมครอนได้ Vogel Verlg und Druck GmbH & Co.KG, การเคลือบผิวตอนต่อไปจะน�าเสนอเกี่ยวกับ Sputter – Deposition นะครับ... สวัสดี
www.wikipedia.de ; Sulzer Metco ; Kirsten Bobain, Google - Book ; www.cosmiq.de ;
Wüurzburg Germany “Beschichtung” “Physikalische Gasphasenabscheidung” “Thermisches Verdampfen” “Lichbogenverdampfen” “Molekularstrahlepitaxie” “Plasmages tuütze Oberfläachenbeschichtung 2010 Die Bibliothek der Technik 329 Verlag Moderne Industrie Freising, Germany “Oberflaechentechnik fuer den Maschnenbau – Lichtbogen – Verdampfen (AIP – Arc lon Plating)” “Wie funktioniert Lichtbogen – verdampfen?”
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 69
WHITE PAPER | ดร.กรุณา ตู้จินดา
ดร.สุรพิชญ ลอยกุลนันท์
| R&D CORNER
นวั ต กรรมการ น� า กลับเนื้อยาง และสารอนินทรีย์ จากกากตะกอนของเสียใน อุตสาหกรรมน�้ายางพารา
การออกแบบและพัฒนาวัสดุ ทนแรงเสียดทานของ ชิ้นส่วนคลัตช์รถจักรยานยนต์ จากสถิตยิ อดจ�าหน่ายรถจักรยานยนต์ของประเทศไทยในปี พ.ศ.2550 ถึงปัจจุบนั พบว่ามียอด ขายมากกว่า 1,500,000 คันต่อปี ซึง่ เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกปี โดยแต่ละค่ายรถก็ได้มกี ารวิจยั และพัฒนากันเพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและตอบสนองผูใ้ ช้งานได้ดที สี่ ดุ แต่ในการออกแบบ ชิน้ ส่วนต่างๆ นัน้ จะต้องค�านึงถึงความปลอดภัยและการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพของผูใ้ ช้เป็น หลัก โดยได้เน้นศึกษาชิน้ ส่วนของคลัตช์ คลัตช์ เป็นระบบตัดต่อก�าลังจากเครือ่ งยนต์เพือ่ ส่งไป ยังระบบส่งก�าลังหรือชุดเกียร์ ซึง่ ท�าให้การเปลีย่ นเกียร์ในแต่ละครัง้ เป็นไปด้วยความนุม่ นวล ทัง้ นี้ ปัญหาทีพ่ บส่วนใหญ่ของคลัตช์ คือ วัสดุทใี่ ช้ทา� แผ่นคลัตช์ (Facing) มีอายุการใช้งาน เมือ่ ใช้ ไปนานๆ แล้วเกิดการเสือ่ มสภาพ แรงเสียดทานน้อยลง จึงท�าให้ในปัจจุบนั นีจ้ งึ ไม่เป็นทีน่ ยิ ม ด้วย บริบททีก่ ล่าวข้างต้นจึงมีการใช้วสั ดุตา่ งๆ มาทดแทน 70 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ปัจจุบนั ประเทศไทยมีโรงงานผลิตน�้ายางข้นกว่า 70 โรงงาน และสามารถผลิตน�า้ ยางข้นได้กว่า 1,572,927 ตันต่อปี โดยคิดเป็นสัดส่วนสูงกว่าร้อยละ 64 ของ ปริมาณความต้องการของตลาดโลก ในกระบวนการ ผลิตน�้ายางข้นมีกากตะกอนของเสีย หรือขี้แป้ง ปริมาณมากกว่า 24,000 ตันต่อปี และมีการสูญเสีย เนื้อยางไปกับขี้แป้ง ซึ่งนับเป็นมูลค่ายางสูงถึง 600,000,000 บาทต่อปี นวัตกรรมการแยกเนื้อยางและสารอนินทรีย์จากกาก ตะกอนของเสียเป็นกระบวนการทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงในการน�า เนือ้ ยางและสารอนินทรียอ์ อกจากตะกอนซึง่ เป็นของเสียใน โรงงานผลิตน�า้ ยางข้นกลับมาใช้ประโยชน์ เป็นวิธที ที่ า� ได้งา่ ย ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อนใช้กับกากตะกอนของเสียได้ทุกประเภทไม่ ว่าจะเป็นกากตะกอนของเสียจากก้นบ่อน�้ายางสดและจาก เครื่องปั่นแยกโดยที่สามารถแยกเนื้อยางได้เฉลี่ยร้อยละ 29.2 และ 17.5 ตามล�าดับ และสามารถแยกสารอนินทรีย์ ออกจากกากตะกอนของเสียจากก้นบ่อน�้ายางสดและจาก เครื่องปั่นแยกได้ปริมาณเฉลี่ยร้อยละ 56.0 และ 69.2 ตามล�าดับเนื้อยางที่แยกได้ด้วยกระบวนการการดังกล่าว มีคุณภาพดีช่วยเพิ่มรายได้ให้กับผู้ประกอบการ อีกทั้ง สารอนินทรีย์ที่แยกได้ก็มีความบริสุทธิ์สูง สามารถใช้เป็น วัตถุดิบส�าหรับอุตสาหกรรมโลหะ ยานยนต์ และเซรามิกได้ และยังมีองค์ประกอบที่เป็นธาตุอาหารส�าคัญต่อการเจริญ เติบโตของพืช คือ แมกนีเซียม ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส จึง สามารถน�าไปประยุกต์ใช้เป็นปุ๋ยทางการเกษตรได้ GRASS 3 นวัตกรรมก้าวล�า้ เพือ่ อุตสาหกรรมยางพารา GRASS 3 เป็นนวัตกรรมทีส่ ามารถปฏิวตั กิ ารจัดการกับ กากตะกอนของเสียในโรงงานผลิตน�้ายางข้นในปัจจุบันโดย สิ้นเชิงและเป็นครั้งแรกในวงการอุตสาหกรรมยางของโลก ทีส่ ามารถแยกเนือ้ ยาง และสารอนินทรียอ์ อกจากกากตะกอน ของเสียนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แทนที่จะทิ้งไปโดยเปล่า ประโยชน์ เนือ้ ยางทีน่ า� กลับมาได้ มีคณ ุ ภาพดี และได้สารอนิน-
ทรีย์ที่มีความบริสุทธิ์สูงเหมาะสมต่อการน�าไปใช้หมุนเวียน เป็นธาตุอาหารส�าคัญของพืช
จากงานวิจัยสู่การใช้งานจริง ปัจจุบัน มีหน่วยงานต่างๆ ที่น�าผลงานไปใช้ประโยชน์แล้ว ได้แก่ • บริษัทไทยรับเบอร์ลาเท็กส์คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) (11 โรงงาน) • บริษัทอินเตอร์รับเบอร์ลาเท็คซ จ�ากัด (3 โรงงาน) • บริษัทวงศ์บัณฑิต จ�ากัด (2 โรงงาน) • บริษทั ถาวรอุตสาหกรรมยางพารา จ�ากัด (1 โรงงาน) • บริษัทไทยอิสเทิร์นรับเบอร์ จ�ากัด (1 โรงงาน) และอยู่ระหว่างขยายผลการใช้งานเพื่อให้ครอบคลุม ทั้งประเทศ
นวัตกรรมการน�ากลับเนื้อยางและสารอนินทรีย์จาก กากตะกอนของเสีย (GRASS 3) ช่วยลดการสูญเสียเนือ้ ยางในอุตสาหกรรมผลิตน�า้ ยางข้นได้มากถึง 6,000 ตันต่อปี ส�าหรับใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมโลหะ ยานยนต์ และ เซรามิก และส�าหรับใช้เป็นธาตุอาหารของพืช คิดเป็นมูลค่า มากกว่า 6.58 พันล้านบาทบาทปี เทคโนโลยีกระบวนการ GRASS 3 นับเป็นหนึ่งใน นวัตกรรมใหม่ของโลกที่สามารถก่อให้เกิดอีกหนึ่งธุรกิจ ภายในสายโซ่อปุ ทานของอุตสาหกรรมยางพารา โดยการน�า เอาของเสียอย่างขี้แป้งที่เกิดจากกระบวนการผลิตน�้ายาง ข้นกลับมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า ดังนั้น ผู้ใช้งาน เทคโนโลยีเป้าหมายจึงเป็นผู้ประกอบการที่มีความสนใจ ในการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ รวมทั้งผู้ที่อยู่ใน อุตสาหกรรมการผลิตน�้ายางข้นหรือการผลิตยางแท่งและ ยางเครปเอง ก็สามารถน�าเทคโนโลยีไปใช้สร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่ธุรกิจได้เช่นกัน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
73
พิชัย ถิ่นสันติสุข / PHICHAI TINSUNTISOOK (royal@royalequipment.co.th; http://www.royalequipment.co.th) ประธานกลุ่มบริษัท ราชาอีควิปเมนท์ จ�ากัด และประธานกลุ่มอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย President, Royal Equipment Co., Ltd. Chairman, Renewable Energy Industry Club of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
พิชญ์ รอดภัย / PETE ROTPAI (pr150286@gmail.com) นักวิเคราะห์เศรษฐกิจ การเงิน การลงทุน และผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐกิจ การลงทุน โครงสร้างการเงิน และการธนาคาร การศึกษา : บธ.บ. สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เกียรตินิยม) และ MSc. in Finance, University of York, UK.
ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง / DR.SITTICHAI FARANGTHONG (farlangthong@hotmail.com) ผู้อ�านวยก�ารหลักสูตรบริห�ารธุรกิจมห�าบัณฑิต วิทย�าลัยเซ�าธ์อีส์บ�างกอก และกรรมก�ารสอบวิทย�านิพนธ์ มห�าวิทย�าลัยร�าชภัฏสวนสุนันทา อาจารย์พิเศษวิทย�าลัยของรัฐ และที่ปรึกษ�าสม�าคมภัตต�าค�ารไทย ทั้งยังเป็นคอลัมนิสต์พิเศษให้กับหนังสือพิมพ์และนิตยส�ารต�่างๆ อีกม�ากม�าย
P.75
ALTERNATIVE ENERGY
P.79
BOTTOM LINE
P.82
LOGISTIC DESIGN
“คอลัมน์นี้จึงเป็นแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ สะท้อนความคิดความ เห็นจากภาคเอกชนอย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์ โดยตรงกับนักลงทุนหรือผู้ที่สนใจลงทุนในธุรกิจนี้ เนื่องจาก พลังงานทดแทนเป็นทั้งธุรกิจ สาธารณูปโภค การลงทุน และความ มั่นคงของรัฐ ดังนั้น หากเกิดความ เปลี่ยนแปลงใดๆ ย่อมส่ง ผลกระทบโดยตรงกับส่วนรวม”
“ว่าด้วยเรื่องบทวิเคราะห์วิจารณ์ข่าวสารและปรากฏการณ์ด้าน เศรษฐกิจ - การเงินที่เกิดขึ้นในแวดวงธุรกิจ และอุตสาหกรรม ทั่วโลกอย่างรอบด้าน เพื่อเป็นข้อมูลส�าหรับผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมน�ามาประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องกับธุรกิจ”
“การแข่งขันของธุรกิจปัจจุบันนับวันจะมีทวีความรุนแรงขึ้น ดังนั้น ธุรกิจะต้องมีการออกแบบระบบการโลจิสติกส์ ที่สามารถตอบโจทย์ ทางธุรกิจที่ยากขึ้นด้วยส่วนผสมที่หลากหลาย มิใช่มุ่งเน้นเพียงลด ต้นทุนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องค�านึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ องค์กรด้วย”
HORIZONTAL COMPETENCY ดร. ฉันทมน โพธิพิทักษ์ อาจารย์ประจ�า คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ การศึกษา: สถ.บ. เกียรตินิยม (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถ.ม. (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร Ph.D. (Urban Environmental Management) Asian Institute of Technology ประสบการณ์: ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านมุมมองทัศนียภาพ ประสบการณ์มากกว่า 9 ปี ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�า/ NATAWUDH PINTONGKUM (natawudh@hotmail.com) Head of Marketing, Interlink Communication PCL. นักการตลาดรุ่นใหม่ผู้อยู่เบื้องหลังหลากหลายแบรนด์ดัง และเป็นคนแรกๆ ที่ Intergrated การตลาดรวมกับระบบไอที จบการศึกษาทั้งด้านการตลาด เศรษฐศาสตร์ และไอที ทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้ง ยังได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษจากสถาบัน การศึกษาชั้นน�า และเป็นที่ปรึกษาด้านการตลาดให้กับหลายองค์กร นเรศ เดชผล / NARES DECHPOL (orange_smallfish@hotmail.com, www.orangesmallfish.com) หนึ่งในผู้บริหารเว็บไซต์ชื่อดังของเมืองไทย ผู้คร�่าหวอดในวงการไซเบอร์และไอที อีกทั้ง ยังเป็นผู้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้การหลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
P.85
FACTORY 3.0
P.88
INDUSTRIAL MARKETING
“แนวคิดของอุตสาหกรรมที่เน้นศูนย์กลาง คือ สังคมและชุมชน ซึ่ง นอกจากภาคอุตสาหกรรมจะเน้นในตัวผลิตภัณฑ์แล้ว ยังต้องส่ง เสริมคุณค่าและใส่ใจต่อส่วนรวม รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งปัจจุบัน โลกยุค 3.0 เป็นโลกยุคการสื่อสาร และสังคมเป็นหลัก ที่จ�าเป็นจะ ต้องมุ่มเน้นในภาคส่วนรวม พร้อมใส่ใจในสังคมและสิ่งแวดล้อม”
“มุมมองด้านการตลาด บทวิเคราะห์ เทคนิค ข้อมูลที่น่าสนใจ รวมทั้ง กลยุทธ์ทางการตลาดที่หลากหลายเพื่อผู้ประกอบการ ยุคใหม่ได้น�าไปปรับใช้ต่อยอด เพื่อก้าวเข้าสู่ความเป็นผู้น�าและชิง ความได้เปรียบทางการตลาดอย่างยั่งยืน”
P.92
REALTIME
“เท่าทันการเปลี่ยนแปลง รับรู้ข้อมูลเตือนภัย และก้าวไปพร้อมกับ การพัฒนาทางเทคโนโลยีด้านไอที อินเทอร์เน็ต และการสื่อสาร เพื่อ การใช้งานเครื่องมือไอทีอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป้าหมาย คือ การน�าไปสนับสนุน และประยุกต์ใช้กับองค์กรในการลดต้นทุนและ เพิ่มพูนผลผลิต”
เอ็กเซดดี้ผนึกก�ำลังหน่วยงำนภำครัฐ สรรค์สร้ำงแผ่นคลัตช์จำกวัสดุธรรมชำติ
บริษัท เอ็กเซดดี้ ฟริคชั่น แมททีเรียล จ�ากัด ซึ่งเป็น บริษทั ผลิตชิน้ ส่วนคลัตช์รถจักรยานยนต์เล็งเห็นในปัญหาด้าน ดังกล่าวและได้ผลิตแผ่นหน้าคลัตช์ซงึ่ มีสว่ นประกอบจากวัสดุ ทดแทน Asbestos ในการแก้ปญ ั หาด้านวัสดุขา้ งต้น อย่างไร ก็ตามส่วนประกอบปัจจุบันที่ใช้นั้นประกอบด้วยวัสดุซึ่งต้อง น�าเข้าจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ ส่วนประกอบ ทดแทนบางส่วนนั้นยังพบว่าอาจมีผลต่อสุขภาพ ดังนั้น ทางบริษัทฯ น�าโดย คุณโทโมอะกิ โกโตะ ประธาน บริษัทฯ จึงมีแนวทางการท�างานที่มุ่งรักษาสิ่งแวดล้อมและ ช่วยลดความเสีย่ งด้านสุขภาพ ทางบริษทั ฯ ร่วมกับส�านักงาน กองทุนสนับสนุนงานวิจยั จึงได้การสนับสนุนทุนวิจยั แก่คณะผู้ วิจัย ภายใต้เครือข่ายสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้าง สรรค์อตุ สาหกรรมไทย มูลนิธศิ กึ ษาวิจยั และพัฒนาเพือ่ สังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับอาจารย์ นักศึกษาสาขา วิศวกรรมวัสดุ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี น�าโดย ดร.กรุณา ตู้จินดา คุณพงษ์พัฒน์ เหล่าธนสกุล ดร.ศิรินทร ทองแสง และ อ.เกศราพร วทัญญู เพื่อศึกษาหา วิธีที่จะน�าวัสดุธรรมชาติภายในประเทศมาทดแทนวัสดุเดิมที่ ต้องน�าเข้าจากต่างประเทศและไม่ส่งผลต่อสุขภาพ อีกทั้งยัง ช่วยในการลดขยะอุตสาหกรรม โดยพิจารณาการน�าเถ้าลอย หรือวัสดุธรรมชาติภายในประเทศมาใช้เป็นส่วนประกอบ ทดแทน เนื่องจากเถ้าลอยนั้นเป็นเศษเหลือทิ้งที่เกิดจาก กระบวนการการผลิตไฟฟ้า ซึ่งเป็นขยะอุตสาหกรรมอย่าง หนึ่งและมีส่วนประกอบและโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามเป็นไป ได้ในการทดแทนส่วนประกอบตั้งต้น ในการศึกษาเริม่ ต้นจากศึกษาส่วนประกอบของวัสดุซงึ่ ใช้ ผลิตวัสดุเสียดทานในปัจจุบนั ของบริษทั จากนัน้ น�ามาวิเคราะห์ และเทียบเคียงกับส่วนประกอบและสมบัติในเถ้าลอย โดยใน การศึกษาอาศัยเถ้าลอยจากโรงไฟฟ้า BLCP จังหวัดระยอง เนือ่ งจากอยูใ่ นพืน้ ทีท่ สี่ ามารถขนส่งได้โดยสะดวกในการผลิต จริง จากการศึกษาสมบัติเบื้องต้นและโครงสร้างของส่วน ประกอบปัจจุบนั ของเถ้าลอย พบว่าจากส่วนประกอบทัง้ หมด มีส่วนประกอบหลายชนิดที่มีสมบัติและโครงสร้างใกล้เคียง กับส่วนประกอบในเถ้าลอย นอกจากนี้ สมบัติด้านความแข็ง ของเถ้าลอยยังมีความเป็นไปได้ที่จะทดแทนส่วนเสริมแรงใน วัสดุแรงเสียดทานอีกด้วย
เจำะลึก 4 สูตร กำรทดแทนเถ้ำลอย... น�ำไปสู่กำรพัฒนำภำคอุตสำหกรรม
จากการศึกษาเบือ้ งต้นคณะวิจยั ได้แบ่งรูปแบบการทดแทน เถ้าลอยในส่วนประกอบดั้งเดิมออกเป็น 4 รูปแบบ คือ สูตร 1 การทดแทนส่วนประกอบทั้งหมดด้วยเถ้าลอย สูตร 2 การ ทดแทนส่วนประกอบทีม่ ลี กั ษณะทางกายภาพและเคมีใกล้เคียง กับเถ้าลอยทั้งกลุ่มด้วยเถ้าลอย สูตร 3 การทดแทนส่วน ประกอบบางตัวด้วยเถ้าลอยด้วยอัตราส่วนไม่คงทีแ่ ละสูตร 4 การทดแทนส่วนประกอบเฉพาะเพียงหนึ่งชนิดด้วยเถ้าลอย โดยในแต่ละสูตรได้ศึกษาอัตราส่วนการทดแทนด้วยเถ้าลอย ด้วยอัตราส่วนต่างๆ ซึ่งเริ่มจากการผสมส่วนประกอบ ขึ้นรูป ชิ้นงานและทดสอบสมบัติพื้นฐานต่างๆ ได้แก่ ความพรุน ความหนาแน่น โครงสร้าง สมบัติทางกล และสมบัติทางไตร โบโลยี ผลการทดสอบสมบัติด้านต่างๆ ถูกใช้ในการวิเคราะห์ หาต้นแบบส่วนประกอบทีเ่ หมาะสมส�าหรับสูตรต่างๆ ทีส่ ง่ ผล ให้ได้สมบัติต่างๆ ตามมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าชิ้นงานที่มีเถ้าลอยผสมอยู่มีค่าความ แข็ง คอมเพรสซีฟมอดูลัส ที่สูงขึ้น และมีความพรุนบนผิว
รูปที่ 1 ภาพแสดงการศึกษาลักษณะของส่วนประกอบปัจจุบันและเถ้าลอยเพื่อหาแนวทางการใช้เถ้าลอยทดแทนส่วนประกอบบางส่วน
สูตร 1: การทดแทนส่วนประกอบทั้งหมดด้วยเถ้าลอย % ต่างๆ
สูตร 3: การทดแทนส่วนประกอบบางตัวด้วยเถ้าลอยด้วยอัตราส่วนไม่ คงที่
สูตร 2: การทดแทนส่วนประกอบที่มีลักษณะทางกายภาพและเคมีใกล้ เคียงกับเถ้าลอยทั้งกลุ่มด้วยเถ้าลอย % ต่างๆ
สูตร 4: การทดแทนส่วนประกอบเฉพาะเพียงหนึ่งชนิดด้วยเถ้าลอย % ต่างๆ
ผสมวัตถุดิบ
ขึ้นรูปชิ้นงาน (Hot pressing)
ทดสอบสมบัติในฏิบัติการ
รูปที่ 2 ภาพแสดงสูตรและขั้นตอนการผลิตชิ้นงานวัสดุแรงเสียดทานเพื่อศึกษาสมบัติด้านต่างๆ
ชิน้ งานและความหยาบผิวลดลง เมือ่ เทียบกับชิน้ งานทีไ่ ม่มเี ถ้า ลอยผสม ส่งผลให้มกี ารสึกหรอทีล่ ดลง โดยพบว่าลักษณะการ สึกหรอของชิ้นงานทั้งหมดเป็นการหลุดของอนุภาคของส่วน ประกอบของวัสดุแผ่นคลัตช์ โดยอนุภาคการสึกหรอจะมีผล ต่อค่าสัมประสิทธิค์ วามเสียดทานจลน์และสถิตขณะใช้งาน ซึง่ ชิ้นงานที่มีเถ้าลอยผสมอยู่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตลดลงเนือ่ งจากมีความหยาบผิวทีล่ ดลง และค่าสัมประสิทธิ์ ความเสียดทานจลน์เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะการสึกหรอ อย่างไรก็ตาม ในทุกสูตรพบว่าเมื่อปริมาณเถ้าลอยเพิ่ม ขึ้นถึงจุดหนึ่งจะส่งผลต่อสมบัติทางกลที่มีแนวโน้มลดลง ซึ่ง เกิดจากปริมาณเถ้าลอยต่อฟีนอลิกเรซิน (ซึง่ ท�าหน้าทีเ่ ป็นตัว ประสาน) ทีเ่ พิม่ ขึน้ จึงท�าให้มผี ลต่อความพรุนและการสึกหรอ ที่เพิ่มขึ้นและส่งผลต่อค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่ลดลง
ซึ่งอัตราส่วนที่ให้สมบัติทางกลและไตรโบโลยีดีที่สุดส�าหรับ แต่ละสูตรถูกน�าไปผลิตชิ้นส่วนคลัตซ์รถจักรยานยนต์ และ ทดสอบด้วยไดนาโมมิเตอร์ตามมาตรฐานของผลิตภัณฑ์รุ่นที่ ใช้เป็นมาตรฐานพบว่าชิ้นงานต้นแบบเกิดการเสียหายก่อน ผลิตภัณฑ์เดิมเล็กน้อย โดยพบเสียหายในรอบที่ 9 และ 10 โดยจ�านวนรอบการทดสอบสูงสุดตามมาตรฐาน คือ 10 รอบ ทั้งนี้คาดว่าเกิดจากความสามารถทางความร้อนที่เปลี่ยน ไปของวัสดุต้นแบบ โดยผลการทดสอบ DSC ของทุกส่วน ประกอบที่ศึกษาแสดงให้เห็นว่าวัสดุที่มีเถ้าลอยเป็นส่วน ประกอบเกิดการเสียหายที่อุณหภูมิต�่าลง 1.33-3.32% เมือ่ พิจารณาสมบัตทิ างกล ทางไตรโบโลยี และพฤติกรรม ภายใต้การทดสอบด้วยไดนาโมมิเตอร์ ร่วมกับต้นทุนในการ ผลิต พบว่าต้นแบบทีใ่ ห้ผลทีน่ า่ พึงพอใจทีส่ ดุ คือ ต้นแบบจาก MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 71
WHITE PAPER | ดร.กรุณา ตู้จินดา สูตร1: การทดแทนส่วนผสมเดิมทัง้ หมดด้วยเถ้าลอย 10-15% และต้นแบบจากสูตร 4: การทดแทนสารเสริมแรงด้วยเถ้า ลอย 25-75% โดยสามารถเลือกใช้ตามเป้าหมายผลิตภัณฑ์ รุ่นต่างๆ โดยต้นแบบวัสดุที่มีการทดแทนด้วยเถ้าลอยด้วย อัตราส่วนต่างๆ สามารถลดต้นทุนได้ตั้งแต่มากกว่า 6% ถึง เกือบ 20% งานวิจยั สามารถขยายไปสูก่ ารศึกษาอิทธิพลของ อัตราส่วนระหว่างตัวประสานและเถ้าลอยและส่วนประกอบ อื่นที่มีต่อสมบัติด้านความร้อนเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของ วัสดุคลัตช์ที่มีเถ้าลอยเป็นส่วนผสมให้ดียิ่งขึ้นได้อีกด้วย .
กำรเพิ่มมูลค่ำผลิตภัณฑ์คลัตช์ รถจักรยำนยนต์
งานวิจยั นีเ้ ป็นตัวอย่างของการน�าการวิจยั และพัฒนามา ช่วยในการเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการ แข่งขันอย่างยัง่ ยืน โดยได้มงุ่ เน้นปัญหาเกีย่ วกับการลดต้นทุน ในการผลิตและเพิม่ ประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ เพือ่ ให้แข่งขันกับ คูแ่ ข่งในภาคอุตสาหกรรมการผลิตเดียวกันได้ดา้ นราคา โดย ใช้วตั ถุดบิ ภายในประเทศซึง่ ณ ปัจจุบนั ทางโรงงานได้ใช้วตั ถุ ดิบจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ อีกประการหนึ่ง คือ การ อาศัยงานวิจัยเข้ามาช่วยในการผลิตที่ตอบสนองต่อการ
ต้นแบบ
ไดนาโมมิเตอร์
ชิ้นงานมาตรฐาน
สูตร1 ทดแทนด้วยเถ้าลอย 15% โดยน�้าหนัก
สูตร4 ทดแทนสารเสริมแรงด้วยเถ้าลอย 25% โดยน�้าหนัก
| ALTERNATIVE ENERGY
รูปที่ 3 ภาพแสดงเครื่องไดนาโมมิเตอร์และตัวอย่างผลการทดสอบตามารตรฐานทดสอบผลิตภัณฑ์
ผลกำรทดสอบตำมมำตรฐำนด้วยไดนำโม มิเตอร์
สูตร 1 ทดแทนด้วย 1.1) เถ้าลอย 10% โดยน�้าหนัก เสียหายในรูปที่ 10 1.2) เถ้าลอย 15% โดยน�้าหนัก เสียหายในรูปที่ 10 สูตร 4 ทดแทนสำรเสริมแรงด้วย 4.1) เถ้าลอย 25% โดยน�้าหนัก ไม่พบการเสียหายตลอดการทดสอบ 4.2) เถ้าลอย 50% โดยน้�าหนัก* ไม่พบการเสียหายตลอดการทดสอบ 4.3) เถ้าลอย 75% โดยน�้าหนัก ไม่พบการเสียหายตลอดการทดสอบ
ต้นทุนลดลง 9.34% 14.89% 6.23% 12.46% 18.69%
ต้นแบบส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่เน้นปัจจัยต่อไปนี้ตำมล�ำดับ 1. ผลจากไดนาโมมิเตอร์ 2. ต้นทุนที่ลดลง 3. การเสียหายของผ้าคลัตซ์ (การกินผ้าคลัตซ์) ต้นแบบส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่เน้นปัจจัยต่อไปนี้ตำมล�ำดับ 1. ต้นทุนที่ลดลง 2. ผลจากไดนาโมมิเตอร์ * มีสมบัตดิ า้ นสัมประสิทธิแ์ รงเสียดทานสูงกว่าผลิตภัณฑ์มาตรฐานทีใ่ ช้เทียบเคียง (สมบัตดิ กี ว่าเดิม) ต้นแบบส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่เน้นปัจจัยต่อไปนี้ตำมล�ำดับ 1. ความง่ายในการผลิตจริง (ไม่มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต) 2. ผลจากไดนาโมมิเตอร์ รูปที่ 4 แสดงรายละเอียดต้นแบบวัสดุแรงเสียดทานที่มีเถ้าลอยเป็นส่วนประกอบส�าหรับผลิตภัณฑ์ที่มีเป้าหมายต่างๆ กัน
72 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การคัดแยกขยะ ด้วยหุ่นยนต์
พิชัย ถิ่นสันติสุข
ตระหนักถึงปัญหาทางสิง่ แวดล้อม มุง่ รักษาและลดมลพิษทาง สิง่ แวดล้อมโดยการใช้วสั ดุทางธรรมชาติ มาใช้แทนของเดิม ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและส่งผลต่อ คน สิ่งมีชีวิต ต่างๆ ในโลก ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ตัวนี้ ผลงาน ชิ้นนี้ยังเป็นการร่วมมือกันระหว่าง โรงงานกับมหาวิทยาลัย อีกด้วยซึง่ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเนือ่ งจากมีการ พัฒนาบุคคลากรร่วมกันอีกด้วย ผลงานวิจยั ทีไ่ ด้ถกู น�าไปใช้ประโยชน์โดยบริษทั เอ็กเซดดี้ ฟริคชั่นแมททีเรียล จ�ากัด โดยได้น�าผลงานวิจัยไปขยายผล และต่อยอดเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์ นอกจากนี้ ยังเกิดแนว ความคิดหลากหลายในการพัฒนากระบวนการผลิตวัสดุแรง เสียดทานส�าหรับผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ต่อไปอีกด้วย โดยในปัจจุบนั ทางบริษทั ฯ และคณะวิจยั ภายใต้เครือข่ายสนับสนุนงานวิจยั และพัฒนาเพือ่ สร้างสรรค์อตุ สาหกรรมไทย มูลนิธศิ กึ ษาวิจยั และพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัยได้ด�าเนินการร่วมกันใน การวิจยั และพัฒนาในอุตสาหกรรมการผลิตวัสดุแรงเสียดทาน อยูอ่ ย่างสม�า่ เสมอร่วมกับอาจารย์ นักวิจยั และนักศึกษาจาก หน่วยงานต่างๆ โดยความร่วมมือรูปแบบดังกล่าวจะก่อ ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกคนหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า งานวิจยั ชิน้ นี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่เฉพาะในเชิงวิชาการแต่รวมไป ถึงการสร้างแรงบันดาลใจในการวิจัยและพัฒนาร่วมกันเพื่อ ประโยชน์แก่ทุกส่วนฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาคการศึกษา ภาค วิชาการ และภาคเอกชน ซึ่งจะน�ามาสู่สังคมการวิจัยและ พัฒนาอย่างสร้างสรรค์และน�าไปสูก่ ารพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ของประเทศอย่างแท้จริงยั่งยืนและน�ามาซึ่งการก้าวข้าม กับดักทางเศรษฐกิจของประเทศเราสืบไป
Smart Robot: Better Than Human on Waste Sorting หุ่นยนต์อัจฉริยะ: คัดแยกขยะเหนือมนุษย์ การคัดแยกขยะเพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ ยังคงเป็นปัญหาอมตะในทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อค�านึงถึงคุณภาพชีวิต และ สุขอนามัยของพนักงานคัดแยกขยะด้วยแล้ว แม้แต่ในประเทศก�าลังพัฒนาอย่างประเทศไทย หากต้องผ่าน EHIA: Environmental Health Impact Assessment เป็นอันว่าใช้คนคัดแยกขยะไม่ได้ ดังนั้นท่านที่เป็นนักดูงานในต่างประเทศอย่า แปลกใจว่า หลายประเทศท�าไมเขาไม่ยอมให้พวกเราถ่ายภาพขณะทีใ่ ช้คนงานคัดแยกขยะ การคัดแยกขยะเป็นการน�าทรัพยากร กลับมาใช้ใหม่ และเพิ่มมูลค่า ช่วยรักษาโลกไม่ให้ร้อนเร็วจนเกินไป แต่ท่านทราบไหมว่า คนคัดแยกต้องเสียอะไรบ้าง เพื่อแลก กับรายได้เพียงเล็กน้อย... เริ่มตั้งแต่ยอมเป็นประชากรชั้น 2 อยู่ในพื้นที่อากาศเสียวันละไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง เสี่ยงกับสาร เคมี และต้องเพ่งมองของที่คนทั่วไปเขาเรียกว่า ‘ขยะ’ ตลอดเวลาท�างาน เจ้าหุ่นยนต์อัจฉริยะ ‘เซนโรบอติกส์’ จะมาช่วย ปลดแอกให้กับชนชั้น 2 นี้ได้หรือไม่ เป็นเรื่องของอนาคต... เรามาเรียนรู้ที่มาของเจ้าหุ่นยนต์อัศจรรย์ตัวนี้กันดีกว่า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 75
ALTERNATIVE ENERGY | พิชัย ถิ่นสันติสุข
หุ่นยนต์อัจฉริยะตัวนี้ถือก�ำเนิด ณ กรุงเฮลซิงกิ ประเทศ ฟินแลนด์ ดินแดนพระอำทิตย์เที่ยงคืน และแสงเหนือ AURORA ประเทศฟินแลนด์หนึ่งในดินแดน Hi-tech ทำงยุโรป เหนือ ฟินแลนด์มรี ำยได้ตอ่ คนสูงกว่ำไทยกว่ำ 10 เท่ำ ในขณะ ที่ประชำกรน้อยกว่ำ 10 เท่ำ เป็นประเทศที่มีระบบกำรศึกษำ ดีที่สุดในโลกครองแชมป์ติดต่อกันหลำยปี ในขณะที่ไทยมี ระบบกำรศึกษำดีเกือบท้ำยสุดในอำเซียน ทัง้ ๆ ทีช่ วั่ โมงเรียน ในสถำนศึกษำไทยมีมำกกว่ำฟินแลนด์ 2 เท่ำ ฟินแลนด์มี แสงแดดปีละ 4 เดือน แต่ส่งออกไม้สน ไทยมีแสงแดดทั้งปี แต่กลับน�ำเข้ำไม้แปรรูปจำกฟินแลนด์ นอกจำกนี้ ประเทศ ฟิ น แลนด์ ยั ง มี เ ทคโนโลยี ก ำรน� ำ ของเหลื อ ใช้ ก ลั บ มำใช้ ประโยชน์อีกมำกมำย เช่น กำรผลิตเอทำนอลจำกเศษเหลือ ทั้งภำคกำรเกษตร (เซลลูโลสิกเอทำนอล) และกำรรีไซเคิล ขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้ถึง 90% และที่ก�ำลังช่วยคนไทยผลิต RDF: Refuse Derived Fuel จำกขยะชุมชนอย่ำงได้ผลดีใน ขณะนีก้ เ็ ป็นเทคโนโลยีจำกฟินแลนด์ (BMH Technology Oy) ZEN หุน่ ยนต์อจั ฉริยะ นวัตกรรมชิน้ เอกของ มิสเตอร์ไล เนอร์ และทีมงำน ซึ่งหุ่นยนต์ตัวนี้เป็นหุ่นยนต์คัดแยกขยะตัว แรกของโลกทีเ่ รียกได้วำ่ เป็นหุน่ ยนต์ทเี่ หนือหุน่ ยนต์ตำมท้อง ตลำดทั่วๆ ไป เนื่องจำกเจ้ำหุ่นยนต์อัจฉริยะนี้ มีศักยภำพใน กำรคัดแยกขยะที่แม้กระทั่งขยะที่มนุษย์เองก็ไม่สำมำรถคัด แยกได้เลยก็ว่ำได้ หุ่นยนต์อัจฉริยะนี้เกิดจำกกำรค้นคว้ำ วิจัย วำงระบบ กลไกภำยในทีซ่ บั ซ้อนต่ำงๆ อย่ำงมีระบบของ มิสเตอร์ไลเนอร์ และทีมงำนทีก่ ำ� ลังจะฉีกกฎว่ำ กำรคัดแยกขยะทีต่ อ้ งคัดแยก ด้วยคน และตอบโจทย์ควำมต้องกำรของวงกำรจัดกำรขยะ ที่ต้องกำรหำทำงหลีกเลี่ยงกำรคัดแยกขยะด้วยแรงงำนคน นีค่ อื เหตุผลทีท่ ำ� ไมเจ้ำหุน่ ยนต์อจั ฉริยะตัวนีจ้ งึ เป็นทีจ่ บั ตำมอง และได้รับควำมสนใจอย่ำงสูงสุดทั่วโลกในขณะนี้ อำจจะกลำยเป็นหุ่นยนต์ที่พลิกหน้ำประวัติ ศำสตร์ของกำรคัดแยกขยะของโลกทีถ่ กู นักวิทยำศำสตร์มอง ข้ำมไปแล้ว และปล่อยให้ปัญหำทำงสังคมเป็นปัญหำต่อไป อย่ำงในปัจจุบนั Zen หุน่ ยนต์สมองกลอัจฉริยะต่ำงกับหุน่ ยนต์ ทัว่ ๆ ไปทีใ่ ช้ในโรงงำนอุตสำหกรรมเพือ่ ช่วยท�ำงำนซ�ำ้ ๆ และ น่ำเบื่อหรือมีมลพิษ อย่ำงเช่น งำนเชื่อมโลหะ แต่ Zen ได้รับ กำรใส่โปรแกรมให้ท�ำงำนได้มำกกว่ำนั้น สำมำรถคัดแยก 76 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ประสิทธิภำพกำรท�ำงำนของหุ่นยนต์อัจฉริยะ Zenrobotics*
ZenRoboticsRecyler คัดแยกน�้ำหนักวัตถุได้สูงสุด ควำมเร็วในกำรคัดแยก ขนำดของวัตถุที่คัดแยกได้ (กว้ำง × ยำว) ควำมกว้ำงของสำยพำน อัตรำกำรใช้พลังงำน
Fast Picker Model 5 กิโลกรัม 2,400 ชิ้น/ชั่วโมง (2กก.) 40 – 400 มิลลิเมตร 50 – 150 มิลลิเมตร 1,400 มิลลิเมตร 8 กิโลวัตต์
Heavy Picker Model 20 กิโลกรัม 1,400 ชิ้น/ชั่วโมง (5กก.) 40 – 1,000 มิลลิเมตร 40 – 300 มิลลิเมตร 1,600 มิลลิเมตร 10 กิโลวัตต์
*ประมำณกำร 2012/09
วัตถุที่เคลื่อนไหวบนสำยพำนคัดแยกขยะที่แตกต่ำงกันทั้ง ชนิดและขนำดโดยใช้แขนหุ่นยนต์ที่มี 2 นิ้ว บังคับหมุนจับ ตำมมุมทีจ่ ะหยิบวัตถุขนึ้ มำได้และทิง้ ลงในถังขยะแต่ละชนิดที่ วำงไว้... นี่คืองำนที่มนุษย์เองยังยำกล�ำบำกจะต้องผ่ำนกำร ฝึกอบรมและเรียนรู้จึงจะท�ำได้ Zen ได้รับกำรติดตั้งระบบเซนเซอร์หลำยๆ ระบบเข้ำ ด้วยกัน เช่น กล้องสเปกตรัมแสง NR เครื่องสแกนเลเซอร์ 3 มิติ รังสีเอกซ์ เป็นต้น ท�ำให้เจ้ำหุ่นยนต์ Zen สำมำรถ วิเครำะห์ คัดแยกชนิดและขนำดของขยะออกจำกกันได้ Zenrobotics จะตอบสนองควำมต้องกำรของมนุษย์ได้มำก น้อยเพียงใด คงขึ้นอยู่กับประสิทธิภำพและรำคำที่เหมำะสม ปัจจุบนั ยักษ์ใหญ่วงกำรรีไซเคิลระดับโลกอย่ำง SITA ประเทศ ฟินแลนด์ ได้สั่งหุ่นยนต์สมองกลอัจฉริยะเข้ำไปใช้งำนแล้ว 3 ตัว เมื่อมีรำยที่ 1 ก็จะมีรำยที่ 2 และ 3 ตำมมำแต่จะเป็น Zenrobotics หรือคูแ่ ข่งจำกประเทศอืน่ คงต้องอดใจดูกนั ต่อไป Zenrobotics ใช้พลังงำนแสงอำทิตย์สลับกับกระแส ไฟฟ้ำปกติ ซึ่งในประเทศฟินแลนด์ 70% ของไฟฟ้ำได้มำจำก นิวเคลียร์ Zen ท�ำงำนวันละ 24 ชั่วโมง ใช้ไฟฟ้ำ 8 กิโลวัตต์ ในรุ่นมำตรฐำน และ 10 กิโลวัตต์ ในรุ่น Heavy Duty คัด แยกได้ตั้งแต่ไม้ เหล็ก คอนกรีต หิน และพลำสติก ยิ่งเป็น พลำสติกด้วยแล้ว Zenrobotics สำมำรถแยกสีของพลำสติก ได้เป็นอย่ำงดีอีกด้วย ในอีกไม่ช้ำคงแยก PVC ออกจำก พลำสติกทัว่ ไปได้จะได้ลดไดออกซินลง เมือ่ มีกำรน�ำไปใช้เป็น
เชื้อเพลิง ส่วนกำรบ�ำรุงรักษำหลักก็คือ เติมน�้ำมันหล่อลื่น โดยปกติดูแลรักษำง่ำย ไม่ต้องเปลี่ยนอะไหล่บ่อยครั้ง ใน อนำคตหำกเจ้ำหุน่ ยนต์สมองกลเกิดฉลำดกว่ำนี้ คิดเองได้มำก ขึ้น อำจมีกำรต่อรองกับนำยจ้ำงหรือไม่ ใครจะไปรู้อนำคต อะไรก็เกิดขึ้นได้บนโลกใบนี้
เยี่ยมชมโรงงานรีไซเคิล SITA เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์
ถ้ำจะบอกว่ำที่ไหนมีเทคโนโลยี ที่นั่นมีคนไทยก็คงไม่ผิด ประเทศไทยน่ำจะชนะประเทศใดๆ ในอำเซียนด้ำนกำร Shopping ไม่วำ่ จะเป็นสินค้ำฟุม่ เฟือยเพือ่ ใช้สว่ นตัวของคุณแม่บำ้ น ไฮโซ หรือกำร Shopping เทคโนโลยีของพ่อบ้ำนนักนวัตกรรม เพื่อตอบสนองธุรกิจหรือแก้ปัญหำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งก็ตำม ท่ำนอำจนึกไม่ถึงและคิดว่ำ Zenrobotics เป็นเพียงหุ่นยนต์ ที่อยู่ใน LAB สำธิตให้ผู้สนใจได้เข้ำมำชมเท่ำนั้น คงคิดไม่ ถึงว่ำ ในโลกนี้จะมีโรงงำนรีไซเคิลขนำดใหญ่ ท�ำงำนคัดแยก ด้วยหุน่ ยนต์ 3 ตัว ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยไม่บน่ ไม่ผดิ กฎหมำย แรงงำน ไม่ตอ้ งปรับเงินเดือน สำมำรถทดแทนแรงงำนคนได้ กว่ำ 15 – 20 คน ในกำรคัดแยกของชนิดต่ำงๆ วันนี้กำรใช้ หุ่นยนต์ในประเทศฟินแลนด์อำจจะคุ้มค่ำ เนื่องจำกค่ำแรง แพงกว่ำคนไทยหลำยเท่ำตัว ในอนำคตเมือ่ หุน่ ยนต์มกี ำรผลิต มำกขึน้ ฉลำดมำกขึน้ และรำคำถูกลง หำกรำคำลดลงเหมือน แผงโซล่ำเซลล์ เมื่อนั้นไทยอำจไม่มีงำนคัดแยกขยะให้เพื่อน ชำวอำเซียนท�ำก็ได้
แล้วประเทศไทยเมือ่ ไหร่จะรูจ้ กั น�ำทรัพยำกรมีคำ่ ทีป่ น อยูใ่ นขยะมำใช้ให้ได้มำกทีส่ ดุ เพือ่ โลกเพือ่ เรำ ‘หยุดฝังกลบ หยุดเผำโดยไม่คดั แยก’ ไม่วำ่ เจ้ำเซนโรบอติกส์จะมำช่วยคน ไทยคัดแยกขยะได้หรือไม่ คุ้มหรือไม่คุ้มกับกำรลงทุน แต่ ส�ำหรับเมืองไทยของเรำแล้ว กำรจัดกำรขยะยังมีเรื่องที่ต้อง ช่วยกันหำค�ำตอบอีกมำกมำย รวมทั้งอะไรที่รัฐบำลชุดนี้ควร ท�ำ และอะไรที่รัฐบำลชุดนี้ไม่ควรท�ำ... แล้ววันนี้คุณคัดแยก ขยะแล้วหรือยัง! เดี๋ยวอำยหุ่นยนต์นะ
Waste separation is still an everlasting problem in every country, especially when the quality of life and hygiene of waste sorting workers are taken into account. Even in the developing country like Thailand, the EHIA: Environmental Health Impact Assessment is applied that human should not be allowed to hand sorting municipal waste. Thus, those who go abroad on a field trip do not have to wonder why several countries do not allow us to take a photo while workers are working on waste sorting. Waste sorting is the recycling and value adding of resources that can relieve global warming. Yet, do you know what the waste sorters have to sacrifice to earn little income? Starting from being a second class population who live in the polluted area for at least 8 hours a day, being risky with chemical substances and gazing at “wastes” at all times. Can the “ZenRobotics” --a waste separation robot -- liberate these second class people?...Let’s learn about the origin of this robot. Such a smart robot was born in Helsinki, Finland, the land of the midnight sun and aurora borealis. Finland is one of the high technology countries in Northern Europe. Finland income per capita is more than 10 times higher than Thais’ while its population is 10 times less than Thailand’s. Finland has been the world’s best educational system for several consecutive years while Thai educational system is almost the last in ASEAN in spite of Thai school hours is double compared with Finland’s. Sunshine in Finland lasts only 4 months but it can export pine wood
while Thailand with a yearlong sunshine has to import lumber from Finland. Finland also has a large number of recycling technologies, for example, ethanol produced from agricultural wastes (Cellulosic Ethanol) and 90% electronic waste recycling equipment. Finland is now assisting Thailand to produce RDF: Refuse Derived Fuel from municipal waste by applying technology from Finland (BMH Technology Oy). The ZenRobotics Recycler, a smart robot which is the master piece innovation of ZenRobotics. This MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 77
ALTERNATIVE ENERGY | พิชัย ถิ่นสันติสุข robot is the world’s first waste separation robot which is superior to the robots in general since it has potential on waste separation that even a human cannot do. This smart robot is originated from a systematic study, research and complicated systematization of internal machinery of ZenRobotics. It is going to break the rule that waste separation must be done by human and respond to the need of waste management field to avoid the use of human in waste separation. This is the reason why this smart robot is watched and is most appealing all over the world nowadays. ZenRobotics may be the company that changes the history of the world’s waste separation that has been overlooked by scientists and left it to be an unrelenting problem. Zen is different from general robots used in factories to repeatedly work on the boring jobs. Zen can separate moving materials on the belt which are different in both sort and size by its arm and 2 fingers. It drops the pick-up waste into the selected bin. This is the work that even a human can hardly does. Zen is installed with a combination of sensor systems, for instance, spectrum camera, NR, 3- dimension laser scanner, X-Ray, and so on. This makes Zen can analyze and classify the waste objects, according to the material, shape and other properties. How much ZenRobotics can respond to the human’s needs relies on its efficiency and proper price? Today, the world’s largest recycling companies like SITA in Finland already has 3 ZenRobotics. ZenRobotics consumes solar energy together with normal electric current. In Finland, 70% of electricity comes from nuclear. Zen works 24 hours a day and a system with two strong robot arms only consumes approximately 10 kilowatts. Currently, the Next Generation ZenRobotics Recycler ZenRoboticsRecyler
Joint Venture Joint Venture... กิจการร่วมค้า
can sort 3,000 picks per hour on average and the peak sorting speed is as much as 4,000 picks per hour. New features include a new gripper that can pick even heavier objects, up to 20 kg, with a reach of full 2 meters along the sorting belt. It can separate wood, steel, concrete, stone and plastics. ZenRobotics can in particularly well separate the color of plastics the near future. It will be able to separate PVC out of general plastics. This can reduce dioxin when it comes to waste to fuel. The principal maintenance is to lubricate as usual and occasionally change spare parts. In the future, if these robots were smarter, they could bargain with their employer, who knows?
Fast Picker Model
Heavy Picker Model
Object max weight
5 kg
20 kg
Sorting speed approx.
2,400 picks/h (2kg)
1,400 picks/h (5kg)
Object size (W, L)
40 – 400 mm 50 – 150 mm
40 – 1,000 mm 40 – 300 mm
Belt Maximum Width
1,400 mm
1,600 mm
Power consumption
8 kw
10 kw
*Estimate 2012/09
78 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
พิชญ์ รอดภัย
Visit SITA Recycling Factory in Helsinki, Finland
If we say that where there is a technology, there are Thai people. Thailand is probably front role winner among ASEAN countries shopping, from luxury goods for the noble housewives to technological products for innovator husbands. You may aware that ZenRobotics is only a robot demonstrated in the laboratory but you may not know that a large recycling factory in this world has employed 3 ZenRobotics to sorting waste 24 hours a day and 7 days a week. This mean 15-20 second class people could work in a better job. Today, the application of this Finland robot may be worth since the labor cost is more expensive than Thailand’s for several times. In the future, when robots are smarter and cheaper, Thailand may not have waste separation work for its neighboring labor. If Thailand could maximize the use of waste, we can save the world. “Stop landfilling, stop burning waste without separation” There are many waste issues await for the current government to solve. ZenRobotics could help Thai in waste separation, when the investment is worthy. Do you separate waste today? Don’t be ashamed of a robot!
Joint Venture คืออะไร
Joint Venture เป็นการร่วมมือกันของบุคคลธรรมดา หรือกิจการตัง้ แต่ 2 ฝ่ายขึน้ ไป มีการตกลงทีจ่ ะด�าเนินกิจการ ร่วมกันในการผลิตสินค้าหรือบริการ ซึ่งการร่วมมือกันนี้อาจ เป็นการร่วมกันในส่วนของเงินลงทุน สินทรัพย์ กระบวนการ ผลิต เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมต่างๆ การ Joint Venture ในประเทศไทยนั้นจะต้องมีฝ่ายหนึ่งที่เป็นนิติบุคคล โดยทั้ง สองฝ่ายจะเป็นบุคคลธรรมดาไม่ได้ Joint Venture ต่างกับการควบรวมกิจการหรือ Merger and Acquisition ก็ตรงที่ Joint Venture จะไม่มีการ เปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของเกิดขึ้น นั่นคือทั้งสองกิจการ ที่เข้าร่วม Joint Venture กันยังคงมีเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น เหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง Joint Venture อาจเกิดจากการ ร่วมมือกันระหว่างบริษทั ยักษ์ใหญ่หรืออาจเป็นการร่วมมือกัน ของกิจการขนาดเล็กสองกิจการเพื่อต่อสู้กับคู่แข่งที่มีขนาด ใหญ่กว่าก็ได้ แต่กม็ อี ยูห่ ลายครัง้ เหมือนกันทีบ่ ริษทั ยักษ์ใหญ่ ได้ท�าการ Joint Venture กับกิจการขนาดเล็ก ซึ่งโดยส่วน ใหญ่ก็เพื่อที่จะได้เรียนรู้ถึงเทคนิค เทคโนโลยี หรือแม้แต่ ทรัพย์สินทางปัญญาบางอย่างที่ยากที่จะได้มาหากมิได้ใช้ กลยุทธ์ของการท�า Joint Venture
ท�ำ Joint Venture ไปท�ำไม
- ลดระยะเวลาของการเรียนรู้: การค่อยๆ เพิ่มพูน ความรู้ เก็บเกีย่ วประสบการณ์และวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของกิจการนั้น ในบางครั้งอาจใช้ระยะเวลาค่อนข้างนาน
ดังนั้น หลายกิจการจึงเลือกใช้วิธีการ Joint Venture กับ กิจการที่สามารถเติมเต็มสิ่งที่ต้องการได้ ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้ จ่ายและระยะเวลาลงไปได้เป็นอย่างมาก - เพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่กิจการ: การสร้างความ น่าเชือ่ ถือให้แก่กจิ การเป็นขัน้ ตอนทีย่ ากมากส�าหรับทุกธุรกิจ ดังนัน้ กิจการขนาดเล็กหรือกิจการใหม่หลายกิจการจึงจ�าเป็น ต้องท�า Joint Venture กับกิจการขนาดใหญ่ที่มีชื่อเสียงใน บางโครงการเพื่อให้ลูกค้ารับรู้ถึงความสามารถและผลงาน เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่กิจการ - เพิ่มผลก�าไรให้แก่กิจการ: ในบางครั้งกิจการอาจ ประสบกับปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบหรือเงินลงทุนเพื่อ สร้างความเจริญเติบโตให้แก่กิจการ ดังนั้น กิจการหลาย กิจการจึงเลือกที่จะท�า Joint Venture เพื่อให้สามารถเพิ่ม ก�าลังการผลิต ยอดขาย รายได้ และช่องทางการจ�าหน่าย สินค้าหรือบริการนั่นเอง - เพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่กิจการ: การร่วมมือกัน ผ่านการ Joint Venture จะท�าให้กิจการมีความแข็งแกร่ง เพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้คู่แข่งประสบกับความยากล�าบากใน การเข้ามาแบ่งส่วนแบ่งตลาด
ท�ำอย่ำงไรให้กำร Joint Venture ประสบควำมส�ำเร็จ
การท�า Joint Venture จะต้องกระท�าอย่างมีระบบและ มีการวางแผนที่ดีมาก่อนไม่เช่นนั้นการท�า Joint Venture อาจไม่ได้ท�าให้กิจการมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นและไม่ได้ท�าให้
| BOTTOM LINE
Joint Venture (JV) หรือทีบ่ างท่านอาจ รู้จักในนามกิจการร่วมค้าเป็นหนึ่งใน กลยุทธ์ทปี่ จั จุบนั หลายกิจการนิยมใช้ใน อั น ที่ จ ะบรรลุ เ ป้ า หมายที่ ว างเอาไว้ กลยุทธ์ของ Joint Venture ก็คอื ในเมือ่ เราไม่สามารถเอาชนะพวกเขาได้ ท�าไมเรา จึงไม่รว่ มมือกับพวกเขาเหล่านัน้ เพือ่ ให้ ทุกฝ่ายประสบความส�าเร็จไปด้วยกัน ซึ่ง Joint Venture เป็นเครื่องมือที่มี ประโยชน์มากทีส่ ดุ อันหนึง่ เลยทีเดียว ใน วันนี้เราจะมาท�าความรู้จักกับกิจการที่ เรียกว่า Joint Venture กันให้มากยิง่ ขึน้ กิจการมีความน่าเชือ่ ถือทีเ่ พิม่ มากขึน้ แต่อาจจะท�าให้กจิ การ ประสบกับค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ สูงขึน้ แทนก็เป็นได้ โดยหลักการพืน้ ฐานทีก่ จิ การควรกระท�าก่อนการท�า Joint Venture ได้แก่ - การก�าหนดเป้าหมายที่ชัดเจน: กิจการจะต้องรู้ถึง ความต้องการของตัวเองว่ากิจการต้องการอะไรจากการท�า Joint Venture ในครัง้ นี้ ยกตัวอย่างเช่นการท�า Joint Venture เพื่อลดต้นทุนการผลิต เพื่อขยายตลาด หรือเพื่อเพิ่ม ความน่าเชื่อถือให้แก่กิจการ เพราะการที่กิจการมีเป้าหมาย ที่ชัดเจนจะท�าให้กิจการสามารถเลือกหุ้นส่วน (Partner) ได้ อย่างถูกต้องและสอดคล้องกับเป้าหมายของกิจการ - การค้นหาหุ้นส่วน: หุ้นส่วนที่เหมาะสมที่สุดของ กิจการควรจะเป็นหุ้นส่วนที่สามารถเติมเต็มสิ่งที่กิจการของ เราต้องการได้เป็นอย่างดี และในทางกลับกันนั้นกิจการของ เราก็ควรเป็นกิจการทีส่ ามารถไปเติมเต็มสิง่ ทีห่ นุ้ ส่วนของเรา ต้องการด้วยเช่นเดียวกัน (Win-Win Relationship) นอกจากนี้ กิจการควรหาหุ้นส่วนที่มีวัฒนธรรมองค์กรที่ใกล้ เคียงกับวัฒนธรรมองค์กรของกิจการของเรามากที่สุด เพื่อ ลดปัญหาของการปรับตัวในการด�าเนินธุรกิจ - การด�าเนินการจัดตั้ง Joint Venture: กิจการควร ศึกษากฎหมายและสัญญาให้ละเอียดถีถ่ ว้ นทีส่ ดุ และพยายาม ให้สัญญาร่วมค้าดังกล่าวมีความเป็นธรรมและก่อให้เกิด ประโยชน์กับทั้งสองฝ่ายมากที่สุดด้วยเช่นเดียวกัน - การบริหารจัดการความสัมพันธ์กับหุ้นส่วน: สิ่งที่ ยากที่สุดของการท�า Joint Venture อาจไม่ใช่การก�าหนด เป้าหมาย การค้นหาหุ้นส่วน หรือการด�าเนินการจัดตั้ง แต่ อาจเป็นการบริหารจัดการความสัมพันธ์กับหุ้นส่วนของ กิจการต่างหาก การท�า Joint Venture นั้น แท้จริงแล้วไม่ ได้ตา่ งจากการแต่งงานเท่าใดนัก กิจการทัง้ สองจะต้องมีการ สื่อสารระหว่างกันอย่างสม�่าเสมอ มีความเข้าใจตลอดจนมี ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน เพื่อลดปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก การด�าเนินกิจการร่วมกัน
ควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้นในกำรท�ำ Joint Venture
ความเสี่ยงที่ส�าคัญที่สุดคงหนีไม่พ้นความเสี่ยงที่เกิดมา จาก ‘ความขัดแย้งและความแตกต่าง’ ระหว่างกิจการและ หุ้นส่วน และโดยส่วนใหญ่มักเกิดจากการขาดความเชื่อถือ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 79
BOTTOM LINE | พิชญ์ รอดภัย และเชื่อมั่นในการด�าเนินธุรกิจของกันและกัน ในอดีตได้มี กิจการรูปแบบ Joint Venture มากมายที่มีปัญหาจนต้อง ยุติการท�า Joint Venture ตั้งแต่โครงการยังไม่ได้เริ่ม ด�าเนินการเนือ่ งจากมีความคิดเห็นและเป้าหมายทีไ่ ม่ตรงกัน นั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น กิจการ A (ยุโรป) ต้องการที่จะ ขยายตลาดมายังทวีปเอเชีย แต่หุ้นส่วน (เอเชีย) ต้องการ ที่จะเรียนรู้ถึงเทคนิคการผลิตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน การผลิต จะเห็นได้ว่าทั้งสองกิจการมีเป้าหมายในการท� า Joint Venture ทีแ่ ตกต่างกันจึงท�าให้การท�า Joint Venture ในครั้งนี้ไม่เกิดประโยชน์แต่อย่างใดและส่งผลให้กิจการทั้ง สองยุติการท�า Joint Venture ร่วมกันในที่สุด จะเห็นได้วา่ หลักการพืน้ ฐานของการท�า Joint Venture ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดควรมาจากเป้า หมายที่ตรงกันและมุ่งมั่นที่จะเติบโตไปในทิศทางเดียวกัน นั่นเอง และเมื่อกิจการได้ยึดหลักการดังกล่าวข้างต้นแล้ว กิจการคงไม่ประสบกับความล้มเหลว การเสียเวลา และการ สูญเสียเงินไปกับค่าใช้จ่ายในการท�า Joint Venture
Joint Venture (JV) or someone may know in the name of consortium is one of the strategies that is favorable by many businesses in order to attain the goal as set. The strategy of joint venture is that if we cannot overcome them, why do we not join up with them in order that all parties can achieve together. Joint venture is one of the most useful tools. Today, we will learn more about joint venture. What is joint venture?
Joint venture is the cooperation of two natural persons or businesses and up with an agreement to joint operation on manufacturing goods or services. Such cooperation may be in terms of capital, asset, production process, technology or innovation. Joint venture in Thailand has to have one party as a juristic person because both parties cannot be a natural person. Joint venture is different from merger and acquisition because joint venture will not cause the change of ownership, i.e. both businesses joining a joint venture still have the same owners or shareholders. Joint venture may take place from a coop80 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
eration between large companies or may be the cooperation between two small companies to struggle with larger competitors. However, there are many times that a large company conducts joint venture with a small company. This is mostly because a large company wants to learn technique, technology or even some kinds of intellectual property from a small company. This can hardly obtain if the strategy of joint venture is not applied.
Why does joint venture have to be exercised?
- To Lessen the Time of Learning - Sometimes gradual increase in knowledge, experience and research and development takes quite a long time. Many businesses, thus, choose to exercise joint venture with the business that can fulfill what they want. This way can lessen quite a lot of time and money. - To Increase Reliability to a Business - To establish reliability to a business is a very difficult stage for all businesses. Therefore, many small or new businesses need to exercise joint venture with a large and renowned companies in some projects in order that customers can perceive its ability and work in order to increase reliability to a business. - To Increase Profit to a Business: Sometimes a business may face with the problem of raw material or capital shortage. Thus, several businesses choose to exercise joint venture to be able to increase its production capacity, sales volume, income and channel of distribution for goods or services. - To Increase Strength to a Business: Cooperation through joint venture exercise can make a business stronger. As a result, competitors will face with difficulty to enter to grasp market share.
How to make joint venture attainable?
Joint venture exercise has to be systematic with a well prepared planning before otherwise it may not increase income and reliability to a business. On the contrary, it may cause a business to have more expenses instead. In principle, the fundamental that a business should exercise prior to joint venture are: - Determining an Apparent Target: A business has to be aware of its own needs from joint venture exercise at this time. For example, joint venture exercise to reduce production cost, extend market or increase reliability to a business since an apparent target makes a business able to choose a proper partner that is harmonious with the target of a business. - Searching for a Partner: The most appropriate partner of a business should be the one that can well fulfill what our business needs. On the contrary, our business should be the one that can fulfill what our partner needs as well (Win-Win
Relationship). Besides, a business should seek the partner with similar corporate culture as much as possible in order to lessen the problem of adaptation on business operation. - Joint Venture Exercise: A business should deliberately study laws and agreement as much as possible and attempt to make such a joint venture agreement fair and useful for both parties as much as possible too. - Management of Relationship with a Partner: The most difficult thing of joint venture exercise might not be target determination, looking for a
partner or establishment but it may be the management of relationship with a partner. In fact, joint venture exercise is not different from marriage since both businesses have to consistently communicate each other, with mutual understanding and trust to lessen the problem that might happen from joint business operation.
Risks That Might Happen on Joint Venture Exercise
The most important risk is inevitable the risk taking place from ‘conflict and contrast’ between
businesses and among partners. Mostly it is caused by the lack in the trust and confidence on each other business operation. In the past, there were a lot of joint venture businesses that had problems until the joint venture exercise had to be cancelled in spite of the joint venture had not yet started due to contradictory opinion and target. For example, A business (Europe) wants to extend its market to Asia but its partner (Asia) wants to learn the production technique that can increase production efficiency. We can see that the purpose of joint venture exercise of both businesses is different.
As a result, this joint venture is not useful for any party and both businesses have to cancel joint venture exercise. We can see that basic principle of efficient joint venture exercise with maximum usefulness should come from matched target and the will to grow in the same direction. When a business holds the aforesaid principle, it will not fail and lose time and money for joint venture exercise.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 81
LOGISTIC DESIGN | สิทธิชัย ฝรั่งทอง
Logistics and Supply Chain in AC Era Needs Localization โลจิสติกส์และซัพพลายเชนยุค AC ต้อง Localization
น่าเชือ่ ถือทีอ่ ยูใ่ นใจของผูบ้ ริโภค คนกลาง ซัพพลายเออร์ นับ ว่าเป็นทุนทางภาพลักษณ์ทกี่ ลุม่ อาเซียนไว้วางใจกับผูป้ ระกอบ การไทย หากรักษาภาพลักษณ์ให้คงอยู่ได้ก็เท่ากับว่าสะพาน แห่งความส�าเร็จทอดไปครึ่งหนึ่งแล้ว ประการสุดท้าย อยากฝากผู้ประกอบการไทยว่าไม่ควร มองข้าม คือ การสร้างสรรค์นวัตกรรมที่มีความสอดคล้อง กับความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละท้องถิ่น เนื่องจากแต่ ละพื้นที่จะมีความแตกต่างด้านรสนิยม วัฒนธรรม ความ เคยชิน หรือฐานะทางการเงิน ดังนั้น รูปแบบหรือแนวทางใน การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนยุคประชาคมเศรษฐ กิจอาเซียนของธุรกิจ จึงต้องเข้าใจทั้งลูกค้า คู่ค้า ซัพพลาย เออร์ในแบบ Localization ด้วย
In 2015 ASEAN Economic Community or AEC will be officially opened. The business opportunity and competition within and outside ASEAN will be more apparent. In the past, business competition existed in western countries but today it is moving to the eastern zone. Everyone believes that this region will become an importantly economic base in the future. People in this region will have more purchasing power, resulting in the adaptation of business sector on logistics management in terms of goods distribution, transportation, warehousing, and so on. This is to respond the growing consumer’s demand for goods and services.
เปิดศักราช 2558 ประตูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้เริ่มเปิดฉากอย่างเป็น ทางการแล้ว โอกาสและความเข้มข้นในการแข่งขันต่อการด�าเนินทางธุรกิจทัง้ กลุม่ อาเซียนและนอกกลุม่ อาเซียนภาพดังกล่าวมีความชัดเจนเพิม่ ขึน้ จากเดิมธุรกิจจะ มีการแข่งขันอยู่ในตลาดโลกฟากตะวันตก แต่ปัจจุบันการแข่งขันก�าลังถูกย้ายมา อยู่โซนตะวันออก ซึ่งทุกคนเชื่อว่าภูมิภาคแห่งนี้จะกลายเป็นฐานเศรษฐกิจที่มี บทบาทอย่างมากในอนาคต ผู้คนในภูมิภาคนี้จะมีก�าลังซื้อเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ ภาคธุรกิจจะต้องปรับการจัดการโลจิสติกส์ที่เข้ามามีบทบาทส�าคัญยิ่ง ไม่ว่าจะ เป็นการกระจายสินค้า ขนส่ง คลังสินค้า เป็นต้น ในการที่จะตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคต่อการต้องการใช้สินค้าและบริการที่เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นภาพการแข่งขันด้านโลจิสติกส์ที่ เกิดขึ้นระดับในประเทศหรือการรุกเข้าไปในแต่ละประเทศ อาเซียนนั้น กุญแจส�าคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจโลจิสติกส์ประสบ ผลส�าเร็จและอยู่รอดในอนาคตได้ก็คือ การเรียนรู้และเข้าใจ พฤติกรรม-วัฒนธรรมท้องถิน่ การปรับตัวให้เข้ากับสังคมของ แต่ละท้องถิ่น และท�าความรู้จักกับผู้เชี่ยวชาญช่องทางจัด จ�าหน่ายหรือช่องทางการกระจายสินค้าในแต่ละระดับของ ท้องถิน่ (Localization Partner) อย่างลึกซึง้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มากกว่า เดิม เช่น การใช้ข้อมูลของท้องถิ่น การสร้างเครือข่ายและ องค์ความรู้ของท้องถิ่น การใช้วัตถุดิบของท้องถิ่น การแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และชุมชน การสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับท้องถิ่น รวมทั้งการใช้บุคลากรภายใน ท้องถิ่นทั้งระดับพนักงานหรือระดับบริหาร ซึ่งผู้เขียนเห็นว่ายังไม่สายจนเกินไปส�าหรับธุรกิจโลจิส ติกส์ทจี่ ะมีการปรับแต่งกลยุทธ์โดยมุง่ เน้นไปทีก่ ารท�ากลยุทธ์ ในระดับของท้องถิ่นที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้น ดังนี้ 1. ควรมีการปรับปรุงแผนการด�าเนินธุรกิจด้านโลจิสติกส์ ระดับ 3 ระดับ คือ ระดับท้องถิ่น ระดับในประเทศ และระดับ ระหว่างประเทศ โดยเข้าไปท�าความรู้จักเบื้องต้นกับคน ท้องถิน่ เข้าไปตรวจสอบสภาพแวดล้อมหรือศึกษาหาลูท่ างการ ตลาด พฤติกรรมผูบ้ ริโภคในการเลือกซือ้ สินค้าหรือบริการใน 2 มิติ คือ มิติที่ 1 มองศักยภาพของตลาดโดยรวม ต้องเข้าไป เจาะตลาดท้องถิ่นย่อยๆ ท�าความรู้จักและน�าสินค้าบางกลุ่ม ทีเ่ ห็นว่ามีความเหมาะสมกับสินค้าหรือบริการของบริษทั อาจ จะเข้าไปทดลอง/ทดสอบตลาดก่อน รวมถึงความพร้อมค่า นิยมและก�าลังซื้อประชาชนของท้องถิ่นนั้นๆ เนื่องจากบาง ประเทศเพิ่งเปิดประเทศหรือบางประเทศมีหลายประเทศแห่ 82 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
กันเข้ามาเป็นจ�านวนมาก จึงเกิดธุรกิจและอุตสาหกรรมหลาก หลายประเภท ท�าให้เกิดการจ้างงานและความต้องการของ ธุรกิจในการที่จะกระจายสินค้าและบริการโดยการจัดการโล จิสติกส์ มิตทิ ี่ 2 ต้องมีการตรวจสอบความพร้อมของโครงสร้าง และสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน (Infrastructure) ถึงความเพียง พอต่อการรองรับกับธุรกิจโลจิสติกส์ ไม่ว่าจะเป็นถนน โทร คมนาคม อินเทอร์เน็ต เป็นต้น 2. หาช่องว่างจากบริษัทโลจิสติกส์ข้ามชาติขนาดใหญ่ที่ มักจะเน้นไปที่โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) เพราะมีความ แข็งแกร่ง มีอตั ราการเติบโตทีส่ งู และมีเครือข่ายจ�านวนมาก โดยมองต่างมุมที่แตกต่างผ่านช่องทางที่มีศักยภาพและมี ความใกล้ชิดคุ้นเคยกับคนของท้องถิ่นนั้น โดยเฉพาะร้านค้า แบบดั้งเดิม (Traditional Trade) ซึ่ง Partner ที่ดีจะเป็น ปัจจัยส�าคัญช่วยเพิม่ องค์ความรูท้ างด้านการตลาด กฎระเบียบ ท้องถิน่ ระบบการกระจายสินค้าและการบริการหลังการขาย ที่เหมาะสมกับคนท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี 3. การเลือกที่จะตั้งตัวแทนจ�าหน่ายแต่ละท้องถิ่นใน ประเทศหรือการเข้าไปลงทุนตั้งส�านักงานขายนั้น ซึ่งการ เข้าไปท�าตลาดในอาเซียนเปรียบเสมือนกับการแต่งงาน คือ จะต้องดูและเลือกให้ดี อย่าใช้ความรูส้ กึ ส่วนตัวคิดว่าวัฒนธรรม ประเพณีค่านิยมการบริโภคการใช้บริการใกล้เคียงกัน โดย ต้ อ งศึ ก ษาหาช่ อ งว่ า งและโอกาสอย่ า งมากจากผู ้ บ ริ โ ภค คนกลาง ซัพพลายเออร์ หากขาดทุนก็ต้องกลับมาทบทวน ตั้ ง หลั ก กั น ใหม่ ด้ ว ยการศึ ก ษาพฤติ ก รรมของผู ้ บ ริ โ ภค และคนกลางใหม่อย่างละเอียดรอบคอบอีกครั้งหนึ่ง 4. ผูป้ ระกอบการไทยจะต้องคงความเป็นเอกลักษณ์และ การมีมาตรฐานระดับสากลไว้ ซึง่ เป็นความไว้วางใจและความ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 83
LOGISTIC DESIGN | สิทธิชัย ฝรั่งทอง However, no matter it is the competition on logistics taking place in the local level or the penetration into each ASEAN country, the key factors to make logistics business attain and survive in the future is the knowledge and insight of local culture and behavior, the adaptation to get along with each local society and the deep recognition of the local expert on channel of distribution in each level (Localization Partner). For example, the use of local information, the establishment of local network and body of knowledge, corporate social and environmental responsibility, the establishment of good relationship with local community as well as the local employment in both managerial and operational level. The author considers that it is not too late for logistics business to adjust its strategy by focusing on locally concrete strategy as follows: 1. There should be an improvement on logistics business operation in 3 levels: local, domestic and international level by making oneself known to local people, examining surroundings or conducting a study on market, consumer’s behavior on buying goods and services in 2 dimensions, i.e. Dimension 1: To look at the overall market condition, penetration into locally petty market, knowing and introducing some proper groups of goods and services of the company. We may make a market experiment/ test before including readiness, value and purchasing power of people in such locality since some countries has just been opened or some are facing with an influx of investment. Various kinds of businesses and industries, thus, take place making employment and demand for distribution by logistics; Dimension 2: There must be an examination of the readiness of infrastructure and basically public utilities if they are adequate to respond logistics business, whatever they are road, telecommunication, internet, and so on. 2. Searching for the gap from large multinational logistics companies which often emphasize on modern trade because they have strength, high growth rate and many networks by looking at dif-
84 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ดร. ฉันทมน โพธิพิทักษ์
การตัดสินใจการลงทุนของภาค เอกชน ในการก่อสร้างหลังจาก เกิดน�้าท่วมใหญ่ปี 54 Private Sector Investment Decisions in Constructions after Mega Flooding Was Occurred in 2011
| FACTORY 3.0
กรณีศกึ ษานี้ น�าเสนอข้อมูลเกีย่ วกับ ภาครัฐ การเข้าใจในภัยภิบตั ิ ภัย ธรรมชาติ รวมถึงการวางระเบียบใน การก่อสร้าง อาคาร โดยเฉพาะกับ ผูป้ ระกอบการ โรงงาน โดยกล่าวถึง ผูป้ ระกอบการจะรับรูแ้ ละสามารถลด ความเสีย่ งและภัยภิบตั ิ ภัยธรรมชาติ ลงได้ โดยเฉพาะเกีย่ วกับภัยพิบตั นิ า�้ ท่วมใหญ่ อย่างเช่นทีเ่ กิดขึน้ ในปี พ.ศ.2554 ข้อมูลทีน่ า� มาเสนอมาจาก การรวบรวมข้อมูลจากวรรณกรรม ต่างๆ และน�ามาสรุปขึน้ มา ผังเมืองรวม (Comprehensive Plan)
ferent angles through the potential channel that is close to the local people, particularly the traditional trade that a good partner will be a significant factor for enlargement of body of knowledge on marketing, local rules and regulations, goods distribution system and after sale service that is fit for the local. 3. Choosing local agents or establishing a sale office in each ASEAN country is analogous as marriage as we have to consider and choose well. Do not use personal feeling that the tradition, value and culture on using/consuming of the consumer in each ASEAN country are similar. We have to study and look for the gap and opportunity from consumers, middlemen and suppliers. If we lose we have to come back and review by in-depth and careful study on the behavior of the consumer and the middleman once again.
4. Thai entrepreneurs have to keep identity and international standard which are the trust and credit existing in the mind of consumers, middlemen and suppliers. These are the identity capital that makes ASEAN trust Thai entrepreneurs. If we can keep such image to be lasting, the achievement has already come halfway. Finally, the author would like to remind Thai entrepreneurs that they should not overlook the innovation that is harmonious with the consumer’s needs in each local area since each local has difference in taste, culture, familiarity or financial status. Thus, the pattern or way to logistics and supply chain management in the age of AEC needs the understanding on customers, trade partners and suppliers by means of localization.
ในประเทศไทย ผังเมืองรวมถูกใช้เป็นเครื่องมือในการ จัดการที่ดินโดยระบุเป็นโค้ด รายละเอียดของสีตามลักษณะ การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ วัตถุประสงค์หลัก คือ จ�ากัดการพัฒนา เมืองให้เป็นไปตามรูปแบบทีค่ วรจะเป็น แต่โดยมากแล้วก็เกิด การพัฒนาอย่างไม่เป็นระบบ เนื่องจากข้อก�าหนดมีมากเกิน จนกลายเป็ น การบั ง คั บ ใช้ เกิ ด การซ�้ า ซ้ อ น และไม่ มี ประสิทธิภาพท�าให้เกิดการพัฒนาของเมืองไปในรูปแบบไม่ เหมาะสม
3 เครื่องมือหลักในการจัดการที่ดิน
มี 3 เครื่องมือหลักในการจัดการที่ดิน คือ การวางแผน การก�าหนดข้อก�าหนด กฎหมายและ การก�าหนดภาษี ส�าหรับ การวางแผนนั้น มีการก�าหนดผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดย เป็นลักษณะแบบผังสี โดยแบ่งจ�าแนกเป็น ส�าหรับโซนที่พัก อาศัย พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ทางน�้าผ่าน และพื้นที่อนุรักษ์ แต่ละสีจะแบ่งตามความหนาแน่นของ ประชากร ทีพ่ กั อาศัยและความต้องการเพือ่ การใช้ประโยชน์ ในที่ดิน แต่อย่างไรก็ดี โซนสีตา่ งๆ ก�าหนดในพืน้ ทีข่ นาดใหญ่ โดย พื้นที่ขนาดใหญ่จะรวมพื้นที่เล็กๆ ของชุมชนซึ่งยังมีความ แตกต่างทั้งในบริบทและขนาดของชุมชนอยู่ในโซนสีขนาด ใหญ่ และถูกบังคับใช้ดว้ ยกฎหมาย ‘การใช้ประโยชน์ในทีด่ นิ ’ ‘อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน หรือ Floor Area Ratio’ และอัตราส่วนพื้นที่ว่าง หรือ ‘Open Space Ratio’ ซึ่งเป็นไกด์ไลน์คร่าวๆ ได้แต่ไม่สามารถแสดงภาพของการ พัฒนาเมืองเป็นรูปธรรมให้เห็นชัดเจนได้ ส่วนสุดท้าย คือ การเรียกเก็บภาษีกับที่ดินที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ในขณะที่ ภาษีโรงเรือนและภาษีบา� รุงท้องทีก่ ม็ กี ารเรียกเก็บเช่นกัน จึง ท�าให้เกิดผลที่ได้ไม่มีประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ การควบคุมที่ไม่มีประสิทธิภาพในการวาง ผังเมืองและการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ที่ก�าหนดให้ภาคเอกชน แก้ไขโดยไม่มีการวางแผนให้จากภาครัฐ ภัยพิบัติร้ายที่เกิด ขึ้นในปี 2554 น�้าท่วมใหญ่ แสดงให้เห็นถึงการสูญเสียเงิน จ� า นวนมากในการใช้ จ ่ า ยไปอย่ า งไม่ เ หมาะสมในการ พัฒนาการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ จะเห็นได้จาก การก่อสร้างระบบ การระบายน�้าจากน�้าท่วม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 85
FACTORY 3.0 | ดร. ฉันทมน โพธิพิทักษ์ ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ส�าหรับการใช้ประโยชน์ในทีด่ นิ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรม มีการจ�าแนกการใช้ประโยชน์ในทีด่ นิ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรม เป็น 2 ประเภท ตามการวางแผนทางด้านสิง่ แวดล้อม โดยแบบ A ส�าหรับการใช้ประโยชน์ในที่ดินส�าหรับภาคอุตสาหกรรม ที่ปล่อยมลพิษน้อย และ แบบ B ส�าหรับการใช้ประโยชน์ใน ทีด่ นิ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมทีป่ ล่อยมลพิษมากโดย ก�าหนด เป็นกฎหมาย คือ โซนการวางผังเพื่อภาคอุตสาหกรรม (industrial parkland)
การวางผังเพื่อภาคอุตสาหกรรม
จะเห็นได้ชดั เจนว่า โซนการวางผังเพือ่ ภาคอุตสาหกรรม จะเป็นส่วนเชือ่ มโยงกันระหว่างการพัฒนาทางอุตสาหกรรม และการวางผังเมืองในประเทศไทย โดยมีถึง 42 โซน การวางผังเพื่อภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย ซึ่งการ ก�าหนดพื้นที่ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมจะเป็นหน้าที่ของ กระทรวงอุตสาหกรรม แต่การลงทุนจะเป็นหน้าที่ของผู้ ประกอบการ นักธุรกิจเอง โดยขนาดพื้นที่ที่ก�าหนดไว้ เล็ก ที่สุดประมาณ 500 ไร่ หรือประมาณ 0.8 ตารางกิโลเมตร ซึ่งในพื้นที่ๆ ก�าหนด 60-70% จะเป็นส่วนก�าหนดเพื่อการ ก่อตั้งอุตสาหกรรม และแน่นอน จะต้องมีการยกให้เห็นว่า ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการนั้นดีในโซนการวางผัง เพื่อภาคอุตสาหกรรม เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบ สุขาภิบาล ซึ่งรวมไปถึงระบบการป้องกันน�้าท่วมด้วย การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเกิดขึน้ จากข้อก�าหนด ข้อ บังคับของภาครัฐ ในทางเฉพาะ การนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยจะเป็นส่วนทีก่ า� หนดว่าอุตสาหกรรมประเภทใด ควรอยู่ในโซนภาคอุตสาหกรรมนั้นๆ และแน่นอนจะมีการ กล่าวอ้างถึงระบบการป้องกันน�้าท่วม เช่น พื้นที่นั้นๆ น�้าจะ ไม่ท่วมถึง รวมถึงเป็นพื้นที่ที่สามารถป้องกันน�้าท่วมได้ใน ระดับความสูงของน�า้ 50 ซม. แต่อย่างไรก็ตาม การบรรเทา ภัยพิบัติจากน�้าท่วมในภาคอุตสาหกรรม จริงๆ แล้วขึ้นอยู่ กับสภาพของระบบการก่อสร้าง สุดแล้วแต่กรณีไป ยังมีการประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม และ การประเมินผลกระทบในด้านอื่นๆ ที่มุ่งหมายไปเพื่อลดผล กระทบสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น และไกด์การพัฒนาในระบบ ที่เหมาะสม เพื่อบรรเทาผลกระทบเหล่านี้ลง ตัวอย่าง คือ มีการก�าหนดให้ผู้ประกอบการทดสอบ คุณภาพน�้าเสีย ว่า ให้อยู่ในค่ามาตรฐานที่ก� าหนด ภายใต้พระราชบัญญัติ โรงงาน มิเช่นนั้น ปัญหามลพิษทางน�้าก็จะส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมได้
บทสรุป
แนวทางหนึ่งในการลดความเสี่ยงจากน�้าท่วม คือ ต้อง ลดส่วนที่อ่อนไหวที่สุดในระบบผังเมือง ต้องเพิ่มปัจจัยใดที่ มีผลต่อการลดความเสีย่ งจากน�า้ ท่วมเข้าในการก�าหนดพืน้ ที่ ผังสี โดยระบุให้ชดั เจนว่า พืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมส่วนใด มีความ เสี่ยง หากมีความเสี่ยงต้องมีมาตรการ หรือแนวทางใดใน การแก้ไขอย่างชัดเจน ภาครัฐต้องบังคับใช้แนวทางปฏิบัติ ในการขับเคลือ่ นการพัฒนาเมืองให้ได้ โดยเฉพาะการเติบโต ของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะเป็นผลบวกให้สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ภาครัฐควรจะพัฒนาโครงสร้างเศรษฐกิจแบบเป็นรูป ธรรม เช่น แรงจูงใจทางภาษี เช่น หากภาคอุตสาหกรรมใด มีการแก้ไข และลงทุนการก่อสร้างการลดผลกระทบจากภัย พิบัติน�้าท่วมนี้ ภาคอุตสาหกรรมสามารถต่อรองกับบริษัท ประกันในการจ่ายประกันให้ลดลงได้ แต่คุ้มครองในระดับ พรีเมี่ยม เป็นต้น โดยภาครัฐจะช่วยยืนยัน สนับสนุนภาค อุตสาหกรรมกับบริษทั ประกันภัย เป็นการเพิม่ ความมัน่ ใจได้ 86 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ท้ายสุด ภาครัฐต้องแสดงข้อมูลแท้จริงเกีย่ วกับน�า้ ท่วม ให้เห็นอย่างทันท่วงที และชัดเจน รวมถึงการประชาสัมพันธ์ เล่าเหตุการณ์ต่างๆ จากภาคอุตสาหกรรมทั้งในระดับ ประเทศและระดับนานาชาติเพือ่ การตัดสินใจ โดยจะระบุไป ถึงมีแนวทางป้องกัน และลดผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม ในอนาคต เพื่ อ ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของ ประเทศ น�าการพัฒนาอย่างยั่งยืนสู่สังคมและสิ่งแวดล้อม สืบไป
This case study presents some information on how the Thai government perceives disaster risk and regulates building and construction in the private sector, particularly industry. This paper also discusses how the private sector considers Disaster Risk Reduction (DRR) issues specifically relating to flood vulnerability, taking the 2011 flooding disaster as an example. Information is gathered from a literature review to conclude be this article.
systems to mitigate these effects. One example of this is the requirement of industrial operators to test their wastewater themselves if their volume of discharge exceeds an agreed limit to ensure it is abiding by the terms of the Factory and Building Act. Nevertheless, problems such as waste water pollution still exist.
Conclusion
Comprehensive Plan
In Thailand, the comprehensive plan is used as a land management tool together with the city planning code on land usage. The main purpose of the comprehensive plan and its regulatory framework is limited to controlling urban development. However, it is often ineffective due to the excessive bulk of these regulations and their inefficient enforcement, exacerbated by the improper use of future land-use map for zoning.
Three Main Instruments of Land management
There are three main instruments of land management: planning, regulation and fiscal tools. For planning, zoning is presented in the form of a coloured map, segregating land into residential, commercial, industrial, cargo, agricultural, floodway and conservation areas. Each colour is also divided by different densities and land use requirements. However, the zones and blocks tend to cover large areas. One large zone may include many smaller communities and neighbourhoods with different land-use patterns. As for the legal tools, some important landmarks in the area of land legislation include Zoning Regulation, Floor Area Ratio and Open Space Ratio. These serve as a broad control framework but do not provide an actual blueprint for urban development. Finally, the potential of fiscal instruments to reshape land use also remains
underutilized. While levies such as the Local Development Tax and Housing and Land Tax are already in place, these are not effectively employed to produce targeted land usage outcomes. Furthermore, inefficient and fragmented controls on urban planning and land use have meant that private construction and real estate has frequently been driven solely by speculation, profit and short term economic gain. The devastation of the 2011 flooding highlighted the cost of improper and inconsistent land use development, such as the obstruction of natural flood drainage systems.
Thailand’s Industrial Sector
For industrial land use, there are two main types of land use, each with separate requirements in
terms of environmental planning. Land Type A is for the manufacturing industry that produces less pollution. Land Type B is for more heavily polluting activities and is described by law as industrial parkland.
Industrial Parkland
The industrial parks are one of the most visible intersections of industrial development and urban planning in Thailand. These estates, totaling 42 across the country, are allocated specially designated zones by the Ministry of Industry, and then developed by private sector partners and investors. With a minimum size of 500 Rai (about 0.8 square Kilometers), 60-70% of which is designated for factories, these ‘cities’ usually boast all the infra-
structure of a typical urban area, such as electricity and sanitation. Importantly, this also includes flood protection. The development of these estates is circumscribed by some degree of governmental regulation. In particular, the Industrial Estate Authority of Thailand (IEAT)’s requires the industrial sector to select an appropriate area for its activities, with estates located on low-lying areas and a polder higher than 50 cm capable of withstanding a 10year flood event. However, industrial flood mitigation can often be excessively dependent on infrastructural prevention. There are also EIAs and other forms of assessments that aim to highlight potential adverse impacts and guide the development of appropriate
One approach for reducing risk is to decrease the sensitivity of Thailand’s urban planning system, factoring disaster risk into its codes and regulations. In this regard, the government has to set out clear and enforceable guidelines to steer future urban development, particularly the growth of industrial estates, towards more positive outcomes for communities and businesses as well as the environment. The government should also develop a solid economic structure of tax incentives, estimating the cost of effective risk reduction in terms of infrastructure and construction investment that can then inform negotiations over premiums and coverage with insurance companies. By imposing effective controls on water management and other environmental practices on companies, the government can help raise the confidence of insurance firms in Thailand’s industrial sector and so encourage lower insurance costs for companies in the medium term. Finally, information and data on flooding should be provided by the government and then disseminated effectively by the private sector among national and foreign firms to inform decision making. This should result in a more informed approach by businesses to the reduction of environmental risk in future, benefitting them economically as well as bringing substantial gains to the local communities and the environment. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 87
INDUSTRIAL MARKETING | ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�า บริการเข้ามาด้วย จะสนใจมือถือมากกว่าลูกค้าหรือไม่ โดย เฉพาะ New Gen ที่เข้ามาอยู่ในระบบงาน ทักษะการแก้ ปัญหาและวุฒิภาวะอาจจะยังน้อย จะเห็นได้ว่า การฟ้องร้องหรือร้องเรียนในปัจจุบันมีมาก และความเสรีด้านเทคโนโลยี ท�าให้การฟ้องร้องโดยระบบ เอกสารจะมีน้อยกว่าการฟ้องร้องโดยคลิป โดยสื่อออนไลน์ ซึ่งจะเร็วและ Response ทันที ดังนั้น สินค้า (Product) หรือ P’s ต่างๆ ที่มีออกมา มากมาย หรือ Hi-tech คงสู้ Hi-touch ล�าบาก ถ้าธุรกิจคุณ ยังต้องติดต่อกับคนอยู่
Add Value หรือ ‘ผู้บริโภคมองที่คุณค่าที่ได้รับ’
คือ มองในเรื่องคุณค่าที่ได้รับ ไม่มองสินค้าเพียงอย่าง เดียว แต่จะดูในเรื่องของ Add Values หรือที่เราชอบพูดว่า Options ต้อง มากว่า Standards ดังนั้น แนวโน้มปี 2015 นั้น สินค้าหรือบริการต่างจะต้องมาให้ความส�าคัญกับคุณค่า ให้มาก แนวโน้มต่างในปี 2014 และในปี 2015 หรือในอนาคต ผู้บริโภคจะมองในเรื่องของสุขภาพ (Health Focus) ดังนั้น ไม่ว่าธุรกิจต่างๆ เช่น ธุรกิจเครื่องดื่มจะชูจุดขายในเรื่อง Functional เช่น เพิ่มวิตามิน เพิ่มส่วนผสมต่างๆ มากกว่า Standards โดย Add Values มอง 3 มุมมอง - Product Value - Process Value - People Value กลยุ ท ธ์ ที่ เ หมาะสม คื อ ความแตกต่ า ง โดดเด่ น น่าประทับใจ เป็นประสบการณ์ และเกิดความทรงจ�าที่ดี
Marketing Trend in 2015 เทรนด์ การตลาด 2015 การเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์ ปี 2015 จะเป็นปีที่ประชากรกลุ่ม Baby Boomers (1946-1964) เคลื่อนวงจร ชีวิตเข้าสู่วัยเกษียนแบบเต็มตัว (พ้นช่วง Post Retire แล้วและมีการ Early Retire กันมาขึ้นส�าหรับ Baby Boomers ช่วง ปลาย) ในขณะที่กลุ่ม Gen Y (1980-1990) ซึ่งเป็นกลุ่มที่เป็นลูกของ Baby Boomers นั้น วงจรชีวิตได้เริ่มก้าวเข้าสู่ ช่วงสร้างครอบครัว จุดที่น่าสนใจ คือ อายุเฉลี่ยของคนเราสูงขึ้นและ Baby Boomers นี้เองที่เป็นกลุ่มที่มีเงินสดเงินเก็บ ในมือที่พร้อมจะใช้จ่ายธุรกิจต่างๆ จะหาสินค้าและบริการมารองรับความต้องการของกลุ่มนี้ได้แค่ไหน โดยสิ่งที่คนกลุ่มนี้ มองหามากที่สุด คือ สินค้าและบริการเพื่อสุขภาพและการชะลอวัย (Youth and Vitality) สิ่ ง เหล่ า นี้ จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ น ่ า สนใจว่ า เราจะขายของ เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้กับกลุ่มคนที่มีก�าลังซื้อแต่ต้องเข้าถึงได้ ด้วยวิธกี ารขายแบบเดิมๆ ได้อย่างไร และในขณะทีก่ ลุม่ Gen Y ที่เคยเป็นกลุ่มความหวังของด้านการใช้จ่ายสมัยที่ยังโสด การกิน ดื่ม ช้อปแทบไม่รู้จักค�าว่าลิมิท มาวันนี้จะท�าเหมือน เดิมไม่ได้แล้ว ชีวิตเริ่มแต่งงาน มีลูก ภาระการผ่อนบ้าน รถ เริ่มตามมา พวกเขาเริ่มสู่สภาวะของการคิดก่อนซื้อมากขึ้น สิ่งเดียวที่เป็นความน่าสนใจของกลุ่ม Gen Y คือ พวกนี้ เปิดรับต่อวิธกี ารขายได้หลายรูปแบบ พวกเค้าใช้อนิ เทอร์เน็ต เป็นยังมีแรงพอส�าหรับการเดินช้อปปิ้ง ไปงานแฟร์ได้ เพียง แต่ก�าลังซื้อหายไปแล้วเท่านั้น ความเห็นส่วนตัว คือ โอกาส 88 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ทีม่ มี ากขึน้ ส�าหรับผูท้ ยี่ งั ไม่ได้เริม่ ธุรกิจและก�าลังมองหาธุรกิจ ใหม่ๆ ท�าให้คุณโฟกัสได้ง่ายกว่า ไม่ต้องห่วงลูกค้าเก่า ธุรกิจ ที่เหมาะสมส�าหรับกลุ่ม Baby Boomers นั้นได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เพื่ อสุ ข ภาพ โรงเรี ย นสอนกิ จ กรรมพิ เ ศษ เช่ น ภาษา คอมพิวเตอร์ ธุรกิจด้านกิจกรรมสันทนาการ การน�าของ ย้อนยุค (เพลง ภาพยนต์ นิยายเสียง ลีลาศ มาพัฒนารูปแบบ การน�าเสนอให้เข้ากับยุคปัจจุบัน อย่าลืมว่าคนเราจะมองหา ของ 2 สิ่งไปตลอดชีวิต นั่นคือ อดีตและอนาคต ในปี 2015 อาจจะต้องสร้างความเชื่อและความศรัทธา พอสมควรจึงจะตอบโจทย์ผู้บริโภคได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าธุรกิจ ปัจจุบนั จะต้องตอบโจทย์ในเรือ่ งสุขภาพ (Health) และความ
ปลอดภัย (Safety, Needs) แนวโน้มการตลาดปี 2015 นี้ คง อาจจะพอสรุปได้ ดังนี้
Service Focus (มุ่งบริการ)
ดูแล้วอาจเป็นเรื่องที่พูดกันมานานมากแล้ว เหมือนเป็น เรือ่ งเก่าทีพ่ ดู กันมาเมือ่ 10-20 ปีทแี่ ล้ว แต่มาถึงยุคนี้ ปี 2014 – 2015 หรืออีก 2-3 ปี ‘เทคโนโลยีจะเข้ามาแทนที่ความรัก’ โดยเราไม่รตู้ วั เพราะปัจจุบนั คนเราพูดคุยกันมากขึน้ แต่ความ ผูกพันลดลง ซึ่งมันเป็นโจทย์ย้อนกลับว่า คนอาจเริ่มมุ่งเน้น เทคโนโลยีมากเกินไป ดังนัน้ การมุง่ เน้นการบริการจึงเป็นจุด ที่ธุรกิจต้องให้ความส�าคัญ เพราะปัจจุบันระบบธุรกิจที่มีการ
การสร้าง Brand Image (ภาพลักษณ์สินค้า) สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค
ในปี 2015 นักธุรกิจจะต้องหันมาให้ความเชื่อถือใน Brand เป็นอย่างยิ่ง เพราะการที่มีชื่อเสียงที่สร้างมา อาจถูก ท�าลายลงไปได้เพียงไม่กวี่ นั ถ้าถูกร้องเรียน จากชือ่ เสียงอาจ เป็นชื่อเสียได้ภายในพริบตา ดังนัน้ การสร้างภาพลักษณ์ สร้าง Brand จึงเป็นสิง่ ส�าคัญ เพราะจะสร้างความมัน่ ใจให้เกิดกับผูบ้ ริโภคและเกิด Passion คือการเป็นสาวกในสินค้า บริการนัน้ ๆจะสังเกตได้วา่ สินค้าใด หรือธุรกิจใดที่ Brand ไม่เข้มแข็งพอ หรือไม่ได้เป็น ‘Top of mind Brand’ ความ Success จะค่อนข้างล�าบากพอสมควร ดังนั้น ธุรกิจหรือสินค้าจะต้องออกมา Present หรือแสดง สิ่งดีๆ ออกมามากหน่อยในปีหน้า เพราะสินค้าส� าคัญที่ ‘Brand’
สินค้า ‘คนท�างาน’ และ ‘ผู้สูงอายุ’ มีแนวโน้มดี
เนื่องจากในอนาคต กลุ่มที่เรียกว่า Baby Boomer จะ กลายเป็นกลุ่ม ‘ผู้สูงวัยตอนต้น’ (ขอตั้งขึ้นเองนะ) ดังนั้น แน่นอน กลุ่มเหล่านี้จะมีอ�านาจการซื้อและการตัดสินใจสูง เพราะทุกอย่างนั้นจะสนองความต้องการในชีวิตและสุขภาพ ตนเองโดยอาจยินดีจ่ายเพิ่มในสิ่งที่สนองทั้ง ‘Need’ และ ‘Want’ ได้คือ ต้องสนองความจ�าเป็น (Need) และ ความ ต้องการ (Want) ของกลุม่ นี้ Aging Society (สังคมผูส้ งู อายุ)
ธุรกิจต้องให้ความส�าคัญ ‘External Factors’ และ ‘Internal Factors’
สิง่ ทีส่ า� คัญทีธ่ รุ กิจไทยต้องปรับตัวและให้ความส�าคัญกับ เสรีทางการค้าประชาคมอาเซียนที่จะเปิดประชาคมสมบูรณ์ แบบในข้อตกลงว่าด้วยเรื่อง เศรษฐกิจ ความมั่นคง และ วัฒนธรรม ซึง่ ปัจจุบนั เรานึกแต่เพียง AC ซึง่ ยังมีขอ้ ตกลงว่า
ด้วยเรื่องความมั่นคงและวัฒนธรรมด้วย แต่เราให้ความ ส�าคัญกับ AEC เพราะเป็นเรื่องใหญ่ว่าด้วยเรื่องเศรษฐกิจ ดังนัน้ อันดับแรกมองปัจจัยภายนอกทีเ่ ข้ามาเมือ่ เกิดเสรี แน่นอนธุรกิจเกีย่ วกับการติดต่อขนส่ง Logistics ก็เป็นธุรกิจ ทีต่ อบโจทย์ได้ ธุรกิจการท่องเทีย่ ว ธุรกิจทีพ่ กั และการบริการ ของคนที่เป็นจุดเด่นในเรื่อง เป็นชาตินักบริการที่มี Service Mind เป็นที่ขึ้นชื่อ ดังนั้น ธุรกิจบริการก็เป็นสิ่งที่สามารถ รองรับในอนาคตได้ดี และอาหารไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นอาหาร ระดับ Premium ทีเ่ ป็นทีช่ นื่ ชอบในหลายประเทศ แต่คนไทย ยังมองว่าอาหารก็คืออาหารไทย ควรจะสร้างจุดเด่นเหล่า แล้วกลับมาเป็นภาพลักษณ์ หรือ Brand ไทยได้ดี หากประเทศไทยสามารถสร้ า งวั ฒ นธรรมเศรษฐกิ จ Economics Culture แบบเกาหลีใต้ได้จะประสบความส�าเร็จ เป็นอย่างยิ่ง หากสามารถสร้าง ‘Thailand Branding’ ได้ ซึ่งเมืองไทยมีพร้อมและสามารถดึงการท่องเที่ยวมาได้ เมื่อ การเปิดเสรีการค้า ASEAN Community สมบูรณ์แบบ
การเปลี่ยนขั้วอ�านาจเศรษฐกิจโลก (Shift in Global Economic Power)
จากเดิมทีเ่ ศรษฐกิจโลกขับเคลือ่ นโดยกลุม่ ประเทศพัฒนา แล้ว โดยเฉพาะกลุ่ม G7 (สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมนี สห ราชอาณาจักร ฝรั่งเศส อิตาลี และแคนาดา) แต่ขั้วอ�านาจ ของเศรษฐกิจโลกก�าลังจะเปลีย่ นผ่านไปสูป่ ระเทศ ตลาดเกิด ใหม่ อาทิ กลุ่มประเทศ E7 (จีน อินเดีย บราซิล รัสเซีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก และตุรกี) ซึง่ เศรษฐกิจก�าลังเติบโตอย่าง รวดเร็ว เนือ่ งจากกลุม่ ประเทศดังกล่าวยังมีทรัพยากรสมบูรณ์ และมีโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจได้ อีกมาก ทัง้ การค้า การ ลงทุน และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบกับจ�านวน ประชากรมหาศาลและมีระดับ รายได้ที่สูงขึ้นต่อเนื่อง ส่งผล ให้เกิดความต้องการสินค้าและบริการใหม่ๆ เพิม่ ขึน้ ด้วย ทัง้ นี้ ในปี 2009 GDP ของ กลุ่มประเทศ E7 มีขนาดราวสองใน สามของ GDP ของกลุ่มประเทศ G7 แต่คาดว่าในปี 2050 GDP ของกลุ่ม ประเทศ E7 จะเพิ่มขึ้นอย่างมากจนมีขนาด ใหญ่เป็นเกือบสองเท่าของ GDP ของกลุ่ม G7 ท�าให้ โครงสร้างเศรษฐกิจ ของกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่เปลี่ยน
ไปจากเดิมทีเ่ ป็นฐานการผลิตและแหล่งแรงงานราคาถูก ก้าว ไปสู่การเป็นตลาดบริโภคแห่งใหม่ของโลก ตัวอย่างธุรกิจที่คาดว่าจะได้ประโยชน์: ธุรกิจส่งออกที่ ปรับสินค้าให้สอดคล้องกับรสนิยมการบริโภค ของกลุ่ม ประเทศตลาดเกิดใหม่มากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่ม E7 ซึ่งแต่ละ ประเทศมีรสนิยมและวัฒนธรรมการ บริโภคที่แตกต่างกัน รวมถึงธุรกิจที่เติบโตตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ อาทิ สินค้าฟุ่มเฟือย บริการ สุขภาพ และสิ่งอ�านวยความสะดวก ต่างๆ
การลดลงของทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลง สภาวะอากาศ
การเพิม่ ขึน้ ของจ�านวนประชากรโลก ส่งผลให้การบริโภค ทรัพยากรต่างๆ เพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย โดยเฉพาะการใช้พลังงาน ทั้งจากถ่านหิน น�้ามัน และก๊าซธรรมชาติ รวมถึงการบริโภค น�้าและอาหารที่นับวันทรัพยากรดังกล่าว มีแต่จะลดลงอย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ การบริโภคทรัพยากรที่เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งทางตรงและทาง อ้อม อาทิ มลภาวะทีเ่ กิดจากการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ขยะและของเหลือใช้ที่ไม่ได้ถูก น�าไปรีไซเคิล และการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากรถยนต์ ทัง้ นี้ ประเมินว่าหากรูปแบบการบริโภคทรัพยากรยังเป็น ดังเช่นปัจจุบัน จะส่งผลกระทบต่อบรรยากาศของโลกและ ท�าให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น 0.5-1.5 องศา เซลเซียสในอีก 20 ปีข้างหน้า ตลอดจนยังส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ สภาวะอากาศ อาทิ ฝนแล้ง น�้าท่วม และการเปลี่ยนแปลง ของระดับความเข้มข้นในน�า้ ทะเล ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อเนือ่ ง ไปยังภาคการเกษตรและการผลิต อาหารของโลก ดังนั้น ทั่ว โลกจึงหันมาให้ความส�าคัญกับการดูแลและรักษาสิง่ แวดล้อม มากขึน้ รวมถึงในภาคธุรกิจ ทีม่ กี ารปรับปรุงกระบวนการผลิต หรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเพื่อลดหรือชะลอผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม เทรนด์ที่วิเคราะห์ให้ดูดังกล่าวหวังว่าจะเป็นประโยชน์ กับทุกท่านไม่มากก็น้อยแล้วกลับมาพบกันใหม่ในฉบับหน้า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 89
INDUSTRIAL MARKETING | ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�า In 2015 the life cycle of population We will see that a business nowadays has to respond online media which can obtain fast and immediate to the requirement on health and safety. Marketing response. Product or P’s or even H-tech can, thus, in Baby Boomer Generation trend in 2015 can be summarized as follows: hardly compete with Hi-touch as long as your busi(1946-1964) will mostly move to ness still has to connect with people. the retired age (Beside those who Service Focus This may be the topic having been mentioned Add Value or “Consumers ‘Look on the have already passed the post for a very long time (for the past 10-20 years ago). Value they Receive” retirement period, the rest of them Up to this time in 2014-2015 or in the next 2-3 years Consumers do not look merely on products but have joined more in the early “technology will unconsciously replace love” since they look on the values they receive, especially Add retirement program). In the people nowadays converse each other more but Values or what we prefer to call “Options” rather relationship is less. This is a reverse query that than “standards.” The trend of products and sermeantime, the life cycle of Gen Y people may emphasize too much on technology. vices in 2015, thus, has to pay more attention to population (1980-1997) who are Therefore, focusing upon service is the crucial point values. In the future, consumers will focus more on the children of Baby Boomers is that a business has to pay attention to because health. Thus, businesses such as drinks have to raise stepping into the phase of family nowadays personnel in a business with after sale their selling point on function rather than standards, service might pay attention to their cell phone rath- for instance, vitamins or mixtures addition. settlement. The interesting point is er than a customer, especially those in the New Gen Add Values eye on 3 viewpoints: that the average age of people is who involve in the work system. Their skill on prob- Product Value longer and Baby Boomers are the lem solving and maturity may not be adequate. - Process Value ones with cash on hand that is We can see that today there are a lot of cus- People Value tomer complaints and prosecutions. Technological The proper strategy is to be different, prominent, available to spending. How much freedom causes prosecutions evidenced by papers impressive, a good experience and memory. can businesses supply goods and to be less than those evidenced by video clips through services to respond to such group of people? The things that have mostly been looking for by such group of people are products and services for health and anti aging. These are an interesting subject that how we can sell products and services with modern technology to such group that has purchasing power. How can we access to them by means of conventional sale approach? Meanwhile, the lifestyle of Gen Y people who used to be a target group when they are single is not the same anymore since they have to marry and have children which follow by a house and an automobile installment. These make them have to consider more before buying things. The only interesting thing of Gen Y people is that they open to various sale approaches because they can use internet, they are still strong enough to enjoy shopping and fairs. In the author’s personal opinion, there are more chances for those who have not yet start their business and are looking for new businesses. This makes you able to focus on easier since you have not to worry about your former customers. The businesses that are fit for Baby Boomers are health care products, special activities school such as languages, computer, and so on, recreation businesses, adaptation of retrospective items to be contemporary (song, movie, vocal novel, dance). Remember that people always seek for 2 things throughout their lifetime, i.e. past and future. In 2015 we may have to pretty much create trust and faith to respond to the consumer’s requirements.
90 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Creation of Brand Image Can Assure Consumers
In 2015 businessmen have to turn to trust in brand because the reputation that has been accumulated for a long time might be destroyed within only a few days if they are complained. Brand and image building, thus, are important as they can assure consumers and make them have passion, i.e. being the adherent of such products or services. We can notice that which products or businesses that their brands are not strong enough or they are not “Top of mind brand” they can hardly be successful. Therefore, a business or a product must much more present or expose its distinction next year since the most important component of a product is “Brand.”
The Trend of Products for “Working Age” and “Aged” Is Good
Since in the future Baby Boomers will become a “primary aged” (the author’s own terms). Thus, it is certain that their purchasing and determination
power will be dominated over as everything has to respond to their health and living. They may be willing to pay more to respond their “need” and “want” (Aging Society).
A Business Has to Pay Attention to “External Factors” and “Internal Factors”
The most important thing for Thai businesses is that they have to adapt themselves and pay attention to the full opening of ASEAN Economic Community or AEC, especially to the agreement on economy, security and culture. Today, we solely think about AEC while there still are the agreements on security and culture too. We pay more attention to AEC in terms of economy as we consider it is the essence of AEC. At first we have to look at the external factors to come in. Of course, a business on transport and logistics can be an answer while tourism, hotel and services which are the prominence of Thais who are renowned on service mind. Service businesses, thus, can respond well to the future. Besides, Thai food is renowned as a premium food and is favorite in many countries but Thais still have viewed that food is food. Thai food should be created to have its own prominent point and turn it to become Thai brand or image. If Thailand can create economic culture like South Korea, it will be successful very much. If it can create “Thailand Branding” Thailand will be available to successfully draw a large number of tourists after the official opening of AEC.
Shift in Global Economic Power
In the past the world’s economy was driven by the developed countries, particularly G7 (USA, Japan, Germany, UK, France, Italy and Canada) but global economic power is going to shift to the emerging markets, for example, E7 (China, India, Brazil, Russia, Indonesia, Mexico and Turkey) of which economy has been rapidly growing since they have prosperous resources together with a lot of opportunities on economic development, for instance, trade, investment and infrastructure development). Besides, they contain a large number of population with a continual growth of income, resulting in a great deal of demand on goods and services. In 2009 GDP of E7 countries is two thirds of GDP in G7 countries. It is anticipated that in 2050 GDP of E7 will dramatically increase until it is almost two times of GDP of G7 making the economic structure of emerging markets change from a manufacturing base and a source of cheap labor to become the new world’s market. The example of businesses that are anticipated to benefit from are an export business that can adjust the product to meet with the taste of consumers in emerging markets, especially E7 of which the taste and consumption culture in each country are differ-
ent including the businesses that grow according to the economic growth, for instance, luxury goods, services, health care products and facilities.
Resource Scarcity and Climate Change
An increase of the world’s population results in an increase of resources consumption, especially energy consumption from coal, oil and natural gas including water and food. Such resources have gradually decreased so far. Besides, a rapid growth of resources consumption also directly and indirectly affects to environment, for example, the pollution taken place by factories, waste and garbage that are not recycled and emission of carbon dioxide from automobiles. It is estimated that if the pattern of resources consumption is still similar to the way it is nowadays, it will affect to the world’s atmosphere and cause the world’s temperature to be higher for 0.5-1.5 degree Celsius in the next 20 years and also cause the change of climate, for example, drought, flood and the change of intensity level of sea water that will affect to the agricultural sector and food production of the world. Therefore, all countries in the world turn to pay more attention to environmental conservation including business sector that has improved the production process or raw materials to lessen or alleviate environmental impacts. The author hopes that the aforesaid trends will be more or less useful to all readers. See you later.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 91
REAL TIME | นเรศ เดชผล
REDMINE: Project Management System Software for Organization REDMINE ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการ ส�าหรับองค์กร อย่างที่ทราบกันดีว่า การบริหารโครงการ (Project Management) มีความส�าคัญอย่างมากต่อองค์กรเพราะจะช่วยเป็น เครือ่ งมือไว้ใช้สา� หรับน�าไปสูก่ ารปฏิบตั แิ ละพัฒนาให้เป็นไปตามวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และพันธกิจทีอ่ งค์กรได้ตงั้ เอาไว้ นอกจากนี้ การบริหารโครงการที่ดียังช่วยในเรื่องของการบริหารจัดการทรัพยากร รวมไปถึงการควบคุมงบประมาณและเม็ดเงินที่จะ ลงทุนไปกับโครงการแต่ละโครงการ ที่ส�าคัญที่สุดก็คือ การควบคุมระยะเวลาที่ต้องใช้ไปกับโครงการ ซึ่งเป็นต้นทุนที่เมื่อเสีย ไปแล้วไม่สามารถเรียกย้อนกลับคืนมาได้ การบริหารโครงการที่ดียังน�ามาซึ่งความราบรื่นในการ ประสานงานของทีมงานและสามารถคัดกรองผู้ปฏิบัติงานให้ เหมาะสมกับภาระหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายอีกด้วย เพือ่ ให้เป็น ไปตามค�ากล่าวที่ว่า ‘Put the right man on the right job’ จะเห็นได้วา่ ความส�าคัญของการบริหารโครงการนัน้ นอกจาก จะส่งผลดีทางตรง คือ ได้ผลิตภัณฑ์หรือบริการตามเป้าหมาย ที่วางไว้แล้วจะได้รับประโยชน์ทางอ้อมก็คือผู้ปฏิบัติงานใน โครงการมีความสุขจากการปฏิบัติงานตามแผนงานที่ถูกวาง ไว้มาเป็นอย่างดีอีกด้วย แน่นอนว่าผูป้ ระกอบการ รวมทัง้ ผูบ้ ริหารองค์กรทัง้ ขนาด เล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ทุกคนล้วนแล้วแต่อยากจะ
เห็นรูปแบบหรือระบบที่จะน�ามาช่วยสนับสนุนให้การบริหาร โครงการของตนเป็นไปด้วยความราบรืน่ มีประสิทธิภาพ และ ให้ประสิทธิผลตามที่คาดหวังด้วยกันทั้งสิ้น และการที่จะเป็น เช่นนั้นได้โดยง่ายก็ย่อมจะต้องมีเครื่องไม้เครื่องมือด้านไอที เข้ามาเป็นตัวช่วย และหนึง่ ในเครือ่ งมือทีม่ คี วามส�าคัญมากก็ คือ ‘ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการ (Project Management Software)’ ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการจะท�าให้ผู้ร่วมโครงการ หรือทีมงานสามารถน�าข้อมูลมาใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงาน และท�าให้ทีมงานทราบถึงสถานะของตัวโครงการแบบ Realtime ตลอดจนช่วยให้การประสานงานเป็นไปด้วยความ
ราบรื่น ไม่ติดขัด อย่างไรก็ตาม เป้าหมายหลักของการน�า ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการ ก็คอื การน�าทรัพยากร เวลา งบประมาณ มาใช้ในโครงการได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยและ ได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับการลงทุน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการให้เลือกใช้ อยู่หลายระบบด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น Microsoft Project, Teamwork Project Manager, Basecamp ฯลฯ ส่วนใหญ่ ล้วนแล้วแต่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยทีส่ งู มาก เพราะนอกจากจะเป็น ค่าใช้จ่ายในเรื่องลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แล้วยังอาจต้องเสียค่าใช้ จ่ายส�าหรับการดูแลและบ�ารุงรักษา (Maintenance) อีกด้วย ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการจะต้องศึกษาหรือสอบถามและท�าความ
เข้าใจข้อมูลจากตัวแทนจ�าหน่ายให้ดี ส�าหรับผู้ที่สนใจศึกษา ในรายละเอียดหรือเปรียบเทียบฟีเจอร์ต่าง ๆ ก็สามารถเข้า ดูได้ที่ http://www.capterra.com/project-managementsoftware ข่าวดี คือ มีนักพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบเปิด (Open Source) ที่ใจดีได้พัฒนาซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการให้ ใช้งานฟรี ทั้งยังมีซอฟต์แวร์หลายตัวให้เลือกใช้และหนึ่งใน นั้นที่น่าสนใจอย่างมากก็คือ ‘REDMINE’
REDMINE คืออะไร
Redmine ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการแบบ Open Source ที่เปิดให้ดาวน์โหลดมาใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่า ลิขสิทธิ์ แต่ความสามารถของฟีเจอร์ในการบริหารจัดการ โครงการนั้นกลับไม่เป็นรองซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ตัวอื่น ๆ แต่ อย่างใด โดยฟีเจอร์ของ Redmine มีรายละเอียดดังนี้ - สามารถรองรับได้หลายภาษารวมทั้งภาษาไทย ซึ่งก็ รวมไปถึงเมนูการใช้งานและ UI (User Interface) ของตัว โปรแกรมด้วย - มีระบบจัดการสมาชิกที่ใช้งานได้ง่ายและยังสามารถ ท�างานร่วมกับอีเมลขององค์กรได้เป็นอย่างดี อีกทั้งผู้ดูแล โครงการยังสามารถทีจ่ ะปรับตัง้ ค่าสิทธิในการเข้าถึงหรือการ ใช้งานแก่ผู้ปฏิบัติงานได้ - มีระบบ Wiki ไว้สา� หรับการอ้างอิงและให้รายละเอียด ข้อมูลของโครงการ - สามารถรองรับการท�างานแบบหลายโครงการ (Multiple Project) ได้ - มีระบบกระดานสนทนาหรือ Forum ไว้ให้ทมี งานโพสต์ ถามตอบเกี่ยวกับโครงการได้ - มีระบบ Notification โดยแจ้งเตือนผ่านอีเมลในกรณี ทีม่ กี ารอัพเดตโครงการหรือเมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านได้รบั มอบงานใน โครงการ - สามารถรายงานสถานะของโครงการด้วย Gantt Chart ที่ค่อนข้างเข้าใจง่าย - สามารถตรวจสอบสถานะของโครงการแบบ Timeline ได้ด้วย Calendar ส�าหรับผู้ประกอบการที่สนใจน�า Redmine ไปใช้งานใน องค์กรก็ควรจะมีคอมพิวเตอร์พีซีที่มีสเปค CPU ไม่ต�่ากว่า 2.33 GHz RAM ไม่ต�่ากว่า 1.5 GB และต้องติดตั้งระบบ ปฏิบัติการ Linux Centos 5.8 ขึ้นไป แต่หากต้องการใช้งาน ในลักษณะของ Web-based ที่สามารถใช้งานผ่านเว็บไซต์ก็ ควรจะต้องขอค�าปรึกษาจากผู้ให้บริการโฮสติ้ง (Hosting) โดยตรง อย่างไรก็ตาม สเปคของเครือ่ งทีจ่ ะติดตัง้ Redmine จะแปรผันตามจ�านวนผู้ใช้งาน หากมีผู้ใช้งานจ�านวนมากก็ ย่อมจะต้องเพิ่มสเปคขึ้นตามไปด้วย และสิ่งส�าคัญที่สุดคือ ซอฟต์แวร์ระบบบริหารโครงการจะไม่สามารถขับเคลือ่ นไปได้ หากขาดซึ่งบุคคลากรด้านไอทีหรือผู้รับผิดชอบฝ่ายเทคนิคที่ จะเป็นผู้ติดตั้งและดูแลระบบให้ท�างานได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ผูท้ สี่ นใจสามารถดาวน์โหลดซอฟต์แวร์มาติดตัง้ เพือ่ ใช้งานได้ จากเว็บไซต์ของ Redmine โดยตรงที่ http://www.red mine.org/projects/redmine/wiki/Download ส�าหรับ ข้อมูลทางเทคนิคหรือความรู้เกี่ยวกับการใช้งานก็สามารถ ศึกษาได้จากเว็บไซต์ของ Redmine เช่นเดียวกัน Good project management also leads to the smoothness in coordination of a work team and can screen an operator to be fit for the assigned duty as the speech that “Put the right man on the right job”. We can see that the significance of project management is not only directly yields a good result, that
92 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Like we all know that project management is very important to an organization because it is the tool leading to practice and development in line with the vision, goal and mission set by an organization. Besides, good project management also helps in resource management as well as budget and investment control in each project. The most important thing is to control the time spent to a project which is a cost that cannot be revoked. is, obtaining products or services as planned but also yields an indirect result, that is, operators in the project are happy at work because of the practice in line with the well prepared work plan. Certainly, all entrepreneurs as well as executives in small-, medium- and large-scale organization want to have a pattern or a system that can support their project management to run smoothly, efficiently and effectively as being anticipated. To easily achieve that needs IT instruments to support and one of them that is very important is “Project Management Software.” Project Management System Software can make project members or work team able to bring the data as a reference in practice and can make work team aware of real-time status of the project as well as smooth coordination. However, the main target of Project Management System Software adoption is the optimal use of resources, time and budget to get the worth outcome. Today, there are several Project Management System Software programs for choice, for instance, Microsoft Project, Teamwork Project Manager, Basecamp, etc. Most of them have very high cost because beside the expense on software copyright, we may have to pay for maintenance as well. Thus, an entrepreneur has to study or inquire the details from a dealer. Those who are interested in detailed study or comparison of features can get in http://www. capterra.com/project-management-software. The good news is that there is a kind open source software developer who develops Project Management System Software for free use with various programs for choice and one of those that is very interesting is “Redmine.”
What is REDMINE?
Redmine is an open source project management system software that is opened to free download but the ability of feature in project management is second to none. The detail of Redmine feature is as follows:
- Able to respond to several languages including Thai and includes the application menu and UI (User Interface) of the program as well. - Containing the membership management system that is easy to use and can also associate well with an organization’s email and a project supervisor can also adjust the right to access or use for an operator. - Containing Wiki system for reference and providing detailed data of a project. - Able to respond multiple project working. - Containing a chat board system or Forum for a work team to post the question and answer about a project. - Containing Notification system by warning through email in case that a project is updated or when an operator is assigned a job in a project. - Able to report the status of a project with Gantt Chart that is rather easy to understand. - Able to check the status of a project by means of Timeline with Calendar. For those entrepreneurs who are interested in adopting Redmine to an organization, they should have a PC with CPU specification for at least 2.33 GHz, RAM for at least 1.5 GB and have to install an operation system of Linux Centos for 5.8 and over. If we want to apply in form of web-based that can be used through website we should directly ask for an advice from Hosting service provider. However, the specification of a device to install Redmine will vary according to the number of users. If there are many users, the specification has to be enlarged accordingly. The most important thing is that Project Management System Software cannot be driven without IT personnel or responsible persons on technique who are the ones to install and continually oversee the system. Those who are interested in can directly download software to install for application from the website of Redmine at http://www.redmine.org/projects/redmine/wiki/Download. For technical information or application knowledge, they can be studied through the website of Redmine as well. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 93
INDUSTRIAL AGENDA JANUARY 2015
สวัสดีค่ะ ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมทุกแขนง ขอต้อนรับ เข้ า สู ่ เ ดื อ นมกราคม เดื อ นแรกของปี ม ะเเม เดื อ นนี้ มี กิ จ กรรม ที่น่า สนหลากหลายกิจกรรม เรียกได้ว ่าไม่เ หงากั น เลยที เ ดี ยว มี ทั้ ง งานแสดงสิ น ค้ า และงานสั ม มนาค่ ะ
11 – 14 มกราคม 2558
งานแสดงสินค้า & ร่วมเจรจาธุรกิจ ‘VIBRANT INDIA FIRST B2B SUMMIT’ งานแสดงสินค้าจากหลากหลายสาขาธุรกิจอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรม อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เคมีภณ ั ฑ์ ผลิตภัณฑ์ ยา สิง่ ทอ พลาสติก เครือ่ งจักรกลและอุปกรณ์กา� เนิดพลังงาน และอุปกรณ์การแพทย์ และกิจกรรมจับคูท่ างธุรกิจ ณ เมืองอาห์เมดาบัด รัฐคุชราต ประเทศอินเดีย www.ftimatching.com
16 – 25 มกราคม 2558
BANGKOK SHOES & FASHION 2015
22 – 24 มกราคม 2558 SME BIZ ASIA 2015
สมาคมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมรองเท้ า ไทย ร่ ว มกั บ กรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ ขอเชิ ญ ชวนผู ้ ประกอบการสินค้ารองเท้า เครื่องหนัง และแฟชั่นไทย ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของงาน ‘Bangkok Shoes & Fashion 2015’ งานแสดงสินค้าครบเครื่องเรื่องรองเท้า เครื่องหนัง และแฟชั่นครั้งยิ่งใหญ่แห่งปี
รวบรวมโซลูชั่นต่างๆ ที่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี พลาดไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็น SME Financing แหล่งเงินทุน และผลิตภัณฑ์ทางด้านการประกันภัย ประกันอุบัติเหตุ และประกันกลุ่มส�าหรับ SMEs Marketing & Design Innovation กลยุทธ์ เครื่องมือทางการตลาด การตลาด บนโลกออนไลน์ ผู้พัฒนาเว็ปไซต์ และการออกแบบ ในยุ ค ดิ จิ ต อล ซึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยสร้ า งความโดดเด่ น ให้ กั บ SMEs Printing Innovation นวัตกรรมการพิมพ์ 3D เทคโนโลยีการพิมพ์ในยุคดิจิตอล เพื่อลดเวลาและค่า ใช้จ่ายให้กับ SMEs Office Automation & Support Services
ณ อาคารแสดงสินค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ รัชดาภิเษก สมาคมส่งเสริมอุตสาหกรรมรองเท้าไทย 08 7981 5809 ในวันและเวลาราชการ
ณ ฮอลล์ 5-6 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.smebizasia.com 0 2564 4000 ต่อ 6000
29 มกราคม 2558
Modern Manufacturing Forum 2015
งานสั ม มนาและงานแสดงสิ น ค้ า ส� า หรั บ ผู ้ ป ระกอบ การภาคอุตสาหกรรมทุกแขนง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบ การในภาคอุตสาหกรรมให้เกิดการพัฒนาและมีศักยภาพ ในการแข่งขันเพิ่มมากขึ้น
ณ โรงแรมเมเปิ้ล จ.สมุทปราการ www.mmthailand.com Tel. 0 2731 1194-4 94 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
22 – 28 มกราคม 2558
IMTEX 2015 และงาน TOOLTECH 2015
IMTEX 2015 งานนิทรรศการและการแสดงสินค้าเครือ่ งมือกลการตัด ชิ้นส่วนโลหะและสินค้าเพื่อการผลิตที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค เอเชี ย ใต้ แ ละเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี ก ารจั ด แสดง นวัตกรรมและพัฒนาการด้านเทคโนโลยีด้านเครื่องมือกล เพื่อการตัดชิ้นงานโลหะจากทั่วโลก Tooltech 2015 พร้ อ มกั น กั บงาน IMTEX 2015 ยั ง มี ก ารจั ด งาน Tooltech 2015 งานนิทรรศการระดับนานาชาติที่จัดแสดง สินค้าเครือ่ งมือตัดชิน้ ส่วน ระบบการท�างานของเครือ่ งจักร อุ ป กรณ์ แ ละส่ ว นประกอบเครื่ อ งมื อ กล ระบบชั่ ง วั ด ตลอดจนซอฟต์แวร์ CAD/CAM เป็นต้น ณ ศูนย์นิทรรศการนานาชาติบังกาลอร์ เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย th.quakerchem.com
29 – 30 มกราคม 2558 3W Expo 2015
30 ม.ค. - 1 ก.พ. 2558
มหกรรมพาณิชย์เปิดประตูเชื่อม 2 ประเทศ ครั้งที่ 3
งานแสดงเทคโนโลยีและการจัดการทีเ่ กีย่ วกับ การบ�าบัดน�า้ บ�าบัดน�้าเสีย และก�าจัดของเสีย (3Ws) จัดโดย TechnoBiz Communications Co., Ltd., ซึ่งเชี่ยวชาญธุรกิจด้านการ บ�าบัดน�า้ และน�า้ เสีย งานแสดงสินค้านีม้ งุ่ ทีจ่ ะเป็นงานแสดง ส�าหรับเทคโนโลยีระดับ World-Class จากทั่วโลก ในฐานะ ‘One-Stop Trade Meet’ ส�าหรับ 3Ws
‘มหกรรมพาณิชย์เปิดประตูเชือ่ ม 2 ประเทศ’ ณ บริเวณ จุดผ่อนปรนช่องสายตะกู จังหวัดบุรีรัมย์ โดยส�านักงาน พาณิชย์จังหวัดบุรีรัมย์ ก�าหนดจัดขึ้น เพื่อแสดงสินค้าไทย-กัมพูชา ภายใต้ โครงการส่งเสริมกระตุน้ การพัฒนาความร่วมมือทางการค้า และการลงทุนกับประเทศเพือ่ นบ้าน สนับสนุนการด�าเนินงาน ของรัฐบาลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้านการค้าภูมิภาค ชายแดน และเพื่อเป็นการส่งเสริมการค้าชายแดนของไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ www.3w-expo.com
ณ บริเวณจุดผ่อนปรนช่องสายตะกู จังหวัดบุรีรัมย์ โทร.0 4466 6563, 0 4466 6535
เชิญเข้าร่วมงานสัมมนา
“มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าและ การเลือกใช้อปุ กรณ์ควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์” เนือ่ งจากมาตรฐานการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าประเทศไทยในปัจจุบนั ส่วน ใหญ่จะรู้มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฉบับเก่า คือ ปี 2545 (ปรับปรุง 2551) ซึ่งปัจจุบันได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ทันสมัย (2553) เพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC) ดังนัน้ เราจึงควรมีความรูเ้ กีย่ วกับมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าฉบับ ใหม่ ว่ามีสงิ่ ใดเปลีย่ นแปลงไปบ้าง เพือ่ ผูป้ ระกอบการจะได้รบั ทราบ และ น�ามาปรับปรุงในโรงงานอุตสาหกรรมของท่านเอง บริษทั อินเวอร์เตอร์ โซลูชั่น จ�ากัด จะท�ามีการแนะน�าในส่วนของอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ มอเตอร์ (INVERTER) ยี่ห้อ HITACHI รุ่นใหม่ๆ ซึ่งรุ่นดังกล่าวได้มี การพัฒนา ปรับปรุง คุณสมบัติให้ดีขึ้นมากกว่ารุ่นเดิม อีกทั้งยังโดดเด่น ในด้านการออกแบบ เน้นการใช้งานที่ง่าย สะดวก โดยสามารถใช้ โปรแกรมการท�างานภายในตัวเองได้ (Programming function Built-in) คล้ายการท�างานของระบบ PLC เบื้องต้น โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ควบคุม ภายนอกออกมาเชื่อมต่อ ท�าให้ง่ายต่อการใช้งานและประหยัดอุปกรณ์ ไฟฟ้าในการควบคุม
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ให้ได้ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้า ฉบับใหม่ 2. เพือ่ ให้เข้าใจระบบของ INVERTER และสามารถประยุกต์การใช้ งาน INVERTER ในงานลักษณะต่างๆ 3. เพือ่ ป้องกัน อันตรายทีเ่ กิดจากระบบไฟฟ้า และมีสว่ นใดบ้างทีต่ อ้ ง ปรับปรุง 4. Induction Motor กับการประหยัดพลังงาน
หลักสูตรส�ำหรับ - เจ้าของกิจการ / ผู้บริหาร - ผู้จัดการโรงงาน - ฝ่ายวิศวกรรม - ฝ่ายผลิต - ฝ่ายจัดซื้อ MASTER DEALER & SPECIALIST OF HITACHI ก�าหนดงานสัมมนา
วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงแรมสามพราน ริเวอร์ไซด์ จ.นครปฐม สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายประสานงาน คุณวรวุฒิ โทร. 02-731 1191-4 ต่อ 106 หรือ 091-557 7400 ลงทะเบียนออนไลน์ที่ http://www.mmthailand.com/invertersolution E-mail : register@greenworldmedia.co.th
Post Show | METALEX THAILAND 2014
www.metalex.co.th
มหกรรมเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีโลหการที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน
“เมทัลเล็กซ์ 2014” พร้อมผลักดันการผลิต อุตสาหกรรมโลหการอาเซียน สู่ Global Standard
ดร.อรรชการ สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ให้เกียรติเป็นประธานเปิด งาน “เมทัลเล็กซ์ 2014” เวทีแสดงเครือ่ งจักรกลและเทคโนโลยีโลหการ ซึง่ เป็นการรวม เทคโนโลยีจากทั่วโลก เพื่อช่วยยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตโลหการอาเซียนให้ได้ Global Standard พร้อมจับคู่พันธมิตร คาดว่าจะมีอุตสาหกรรมกว่า 70,000 ราย จากทั่วภูมิภาค ร่วมเจรจาธุรกิจ และชมเครื่องจักรกล กว่า 4,000 รายการ จาก 2,700 แบรนด์ และ 9 พาวิลเลียนนาชาติ ประกอบด้วย: ญี่ปุ่น สาธารณะรัฐประชาชน จีน เยอรมัน เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ไต้หวัน อินเดีย อังกฤษ และอิตาลี ระหว่างวันที่ 19 -22 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา นายดวงเด็ด ย้วยความดี รองกรรมการ ผู้จัดการ บริษัทรี้ด เทรดเด็กซ์ จ�ากัด เผยถึงการ จัดงานเมทัลเล็กซ์ในปีนี้ นับเป็นดัชนี ชี้วัดการย้าย ฐานการผลิ ต ญี่ ปุ ่ น สู ่ ไ ทยอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ย เครื่องจักรแบรนด์ญี่ปุ่นมากที่สุดถึงกว่า 65% ของ เครื่องจักรทั้งหมดในงาน ตามด้วยไต้หวัน เยอรมัน และจีน ตามล�าดับ ด้วยการแสดงเครือ่ งจักรกลภาย ใต้คอนเซ็ปท์ SAFE Technology คือ Speed Accuracy Flexibility และ Efficiency โดยได้รับ การตอบรับจากนักลงทุนต่างชาติที่มีคุณภาพกว่า 5,000 ราย ยืนยันทีจ่ ะร่วมงานเพือ่ เจรจาธุรกิจ โดย 96 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มญี่ปุ่นกว่า 150 ราย จากจังหวัด อิชคิ าวา และโอตะ พร้อมจับคูพ่ นั ธมิตร ทีม่ ศี กั ยภาพ ในงาน คาดว่านักอุตสาหกรรม กว่า 70,000 ราย เข้าชมงาน สามารถสร้างรายได้สปู่ ระเทศไม่ตา�่ ว่า 7 พันล้านบาท จากการก้ า วสู ่ ก ารเป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน หมายความว่า ทุกคนเป็นหุ้นส่วนกัน ไม่ใช่ คูแ่ ข่ง เพราะแต่ละประเทศต่างมีการผลิตชิน้ งานใน กลุ่มอุตสาหกรรมโลหการที่แตกต่างกัน จึงเป็นการ แลกเปลี่ยน สร้างเครือข่ายระหว่างกัน ในงานเมทั ลเล็ ก ซ์ จะเป็ น แม่ เ หล็ ก ดึ ง ดู ด นั ก อุ ต สาหกรรม
โลหการจากทัว่ อาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการ ผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการเลือกหา เครือ่ งจักรทีเ่ หมาะกับธุรกิจ และพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิต ให้ได้รายได้และมาตรฐานที่สูงขึ้น งานเมทัลเล็กซ์ ในปีนี้คึกคักเป็นพิเศษ ผู้แสดง สินค้าได้พร้อมใจกัน น�าเทคโนโลยีมากมายและ หลากหลายมาเปิดตัวในงานปีนี้ รวมถึงการเชิญผู้ เข้าชมงานที่มีคุณภาพ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อ พบกับไฮไลท์เครือ่ งจักรและกิจกรรมทีน่ า่ สนใจ อาทิ 1. การเปิดตัวเทคโนโลยีระดับนาโน เครื่อง ตัดเหล็กด้วยเลเซอร์ไฟเบอร์ลา่ สุด เครือ่ งกัดชิน้ งาน
ความเร็วสูง เครื่องกลึงเพื่อการสร้างแม่พิมพ์ รวม ถึง 3D printer และ Green Technology เป็นต้น 2. สัมมนาความรู้ระดับภูมิภาค อาทิ “เมทัล เล็กซ์ คองเกรซ” โดยสมาคมผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ไทย เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยและ สร้างโอกาสหลังการเปิด AEC และ “เมทัลเล็กซ์ นาโน ฟอรัม่ ” โดยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ เพือ่ อั พ เดทเทรนด์ และเทคโนโลยี ร ะดั บ นาโนใน อุตสาหกรรมรถยนต์โลก และสัมมนา Thailand Aerospace เป็นต้น 3. การขยายเครือข่ายจับคู่ทางธุรกิจกับนัก อุตสาหกรรมญี่ปุ่น โดยการน�าของหน่วยพัฒนา
การเชือ่ มโยงอุตสาหกรรม (BUILD) ส�านักงานคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน มากกว่า 100 ราย จาก จังหวัดอิชิคาวาและโอตะ เป็นต้น เมทัลเล็กซ์ 2014 ปิดม่านลงด้วยจ�านวนผู้เข้า ชมงานคุณภาพร่วม 76,054 รายจากทั้งในอาเซียน และต่างประเทศ พันธมิตรทางธุรกิจได้เชื่อมโยง เครือข่ายอย่างไร้พรมแดนผ่านนวัตกรรมอันหลาก หลายทีม่ ารวมตัวกันเพือ่ น�าเสนอโซลูชนั่ ทีด่ ที สี่ ดุ แก่ ผู้ชมงาน เครื่องจักรใหม่หลายรุ่นได้เปิดตัวเป็นครั้ง แรกในอาเซียน เทคโนโลยีที่จัดแสดงในงานได้เผย ศักยภาพผ่านการสาธิตการท�างานจริง ห้องสัมมนา เต็มไปด้วยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เข้าร่วม
ประชุมที่สนใจจะศึกษาเพื่อจุดประกายความคิด สร้างสรรค์ในการท�าธุรกิจ สัญญาณเหล่านี้ล้วนบ่งชี้ถึงภาคอุตสาหกรรม ของอาเซียนทีเ่ ข้มแข็งขณะทีอ่ าเซียนมุง่ สูค่ วามเป็น AEC ร่วมกัน ผู้จัดงานเมทัลเล็กซ์ขอขอบคุณผู้ร่วม งานทุกท่าน และสมาคมทีใ่ ห้การสนับสนุนทุกสมาคม ที่ร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งในมหกรรมที่เป็นความ ภาค ภูมิใจแห่งอาเซียน และหวังว่าจะได้ต้อนรับทุกท่าน อีกครั้งที่เมทัลเล็กซ์ 2015 ที่ทุกโซลูชั่นจะมาผนึก ก�าลังกันอีกครั้งเพื่อสร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้ธุรกิจ และอุตสาหกรรมของคุณ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 97
3 พันธมิตรผนึกก�ำลัง จัดงำน
‘Power Productivity Program’
ยิ่งใหญ่ตระการตา
ส
ถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือ ข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเป็น ห น ่ ว ย ง า น ที่ ใ ห ้ บ ริ ก า ร ด ้ า น ก า ร พัฒนาการจัดการและการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต ด้วยการฝึกอบรม ให้ค�าปรึกษาแนะน�า และ ให้ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า นการเพิ่ ม ผลิ ต ภาพ เพื่ อ พั ฒ นาขี ด ความสามารถทางการแข่ ง ขั น ข อ ง ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ท ย ร ่ ว ม กั บ กลุ ่ ม บริ ษั ท PMG และบริ ษั ท กรี น เวิ ล ด์ พั บ ลิ เ คชั่ น จ� า กั ด ได้ ร ่ ว มจั ด งานสั ม มนาใน โครงการ Power Productivity Program: ขับเคลื่อนผลิตภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ซึ่งงานดังกล่าวจัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
98 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
วิทยาการสุดล�้า วิศวกรรม’57
งานสั ม มนาในครั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก อ.วุฒิพงศ์ บุญนายวา ผู้จัดการส่วนบริหาร การผลิต สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ มาบรรยาย ในหัวข้อ ‘เสริมแกร่งให้องค์กร ด้วยวิถีแห่ง การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพ: Productivity Tools Integrated’ และ อ.ดุจดาว ดวงเด่น วิทยากร ที่ปรึกษาอาวุโส-บริหารการผลิต และ อ.ธนพล รัตนปริคณน์ วิทยากรที่ปรึกษาอาวุโส-บริหาร การผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ บรรยาย ในหัวข้อ “การพัฒนาหัวหน้างานสมรรถนะสูง ด้านการเพิม่ ผลิตภาพ” วัตถุประสงค์ในการจัดงานครั้งนี้เพื่อส่งเสริม วงการอุตสาหกรรมไทยให้เกิดการพัฒนาด้าน แนวคิดการเพิม่ ผลิตภาพ ให้แก่ผู้ประกอบการภาค การผลิต รวมทั้งยังช่วยเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการ แข่งขันให้กบั ผูป้ ระกอบการ โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการ
ในเขตกรุงเทพฯ นนทบุรี และปทุมธานี และจังหวัด ใกล้เคียง โดยผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับความรู้ในหัวข้อ การเป็นหัวหน้างานที่มีคุณภาพ เพือ่ เป็นการสร้าง การยอมรับจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชา และบุคคลภายนอก การเลือกใช้ระบบเพิ่มผลิตภาพให้ เ หมาะสมกั บ องค์กร เช่น ระบบไคเซ็น, TPM, LEAN เป็นต้น ทัง้ นี้ องค์กรจ�าเป็นต้องเข้าใจถึงแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติของระบบเพิ่มผลิตภาพเหล่านั้น เพื่ อ น� า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นองค์ ก รและสามารถ เชื่อมโยงระบบต่างๆ ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดได้ อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากสาระความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงานยั ง มี โ อกาสเยี่ ย มชมบู ธ แสดงสินค้าอุตสาหกรรมที่ทางกลุ่มบริษัท PMG ยกทัพสินค้าและน�าเทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาจัดแสดง ในงาน รวมทั้ ง ยั ง มี กิ จ กรรมมอบโชคให้ กั บ ผู้เข้าร่วมงานอีกด้วย
งานประชุมระดับนานาชาติ งานแสดงสินค้าและนิทรรศการนวัตกรรมด้านวิศวกรรมยิ่งใหญ่และ ทันสมัยที่สุดแห่งปี “วิศวกรรม’57” หรือ “Engineering‘14” ภายใต้แนวคิด “วิศวกรรมส�าหรับอนาคต” ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ได้จัดอย่างยิ่งใหญ่ปลายเดือนที่ผ่านมา
ท่
านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (อดีตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัตน์ พรวรชายา เป็นประธานเปิดงาน วิศวกรรม’57 ภายใต้แนวคิด “วิศวกรรม ส�าหรับอนาคต” จัดขึ้นปลายเดือนที่ผ่านมา ระหว่างวันที่ 27-30 พฤศจิกายน ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา พร้อมด้วยงานประชุมสัมมนาวิชาการ ระดับนานาชาติ นิทรรศการผลิตภัณฑ์และบริการทุกสาขาวิศวกรรมมาจัดแสดง อย่างครบวงจร มากกว่า 1,000 รายการ รวมทั้ง จัดเป็นศูนย์กลางการค้าเจรจา ธุรกิจในระดับสากลครั้งแรก น�าผู้ประกอบการชั้นน�าและผู้ชมงานจากทั่วโลกมาพบ กัน โดยมีผู้เข้าชมงานกว่า 50,000 ราย และมูลค่าการซื้อขายรวมกว่า 1,200 ล้าน บาท ตลอดระยะเวลาการจัดงาน ศาสตราจารย์ ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสมาคม วิศวกรรมสถาน แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ เปิ ด เผยว่ า “วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ บริษัท วีเอ็นยู เอ็กซิบิชั่นส์ เอเชีย แปซิฟิค จ�ากัด (วีเอ็นยู) และผู้ประกอบการชั้นน�ากว่า 200 ราย จัดวิศวกรรม’57 เพื่อแสดงศักยภาพ วิทยาการและนวัตกรรมล่าสุดด้านวิศวกรรมในสาขาต่างๆ ต่อ การด�ารงชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เวทีสัมมนาด้านวิศวกรรมที่ยิ่งใหญ่ ที่สุดมากกว่า 120 หัวข้อ อาทิ อนาคตวิศวกรไทยกับการเตรียมความพร้อมรับ AEC เทคโนโลยีการเสริมก�าลังโครงสร้างอาคารและสะพาน การบริหารจัดการและ นวัตกรรมระบบราง นวัตกรรมอาคารป้องกันแผ่นดินไหว เป็นต้น
ไฮไลท์เด่นในปีนี้ นิทรรศการชุดพิเศษ “บ้านอัจฉริยะ เมืองแห่งอนาคต” หรือ “Smart Home and Living” รวบรวมผลิตภัณฑ์ด้านวิศวกรรมล�้าสมัยยังไม่เคยจัดแสดงที่ใด มาก่อน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และกระตุ้นให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ จาก กลุ่มนักสร้างสรรค์ นักประดิษฐ์ด้านวิศวกรรม อาทิ หลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ การ ควบคุมเครื่องใช้ภายในบ้านด้วยระบบสมาร์ทโฟนเต็มรูปแบบทั้งหลัง รวมทั้งพื้นที่พิเศษ ส�าหรับครอบครัว “ลานอัจฉริยะวิศวกรแห่งอนาคต” หรือ “Engineering Play Ground” จัดแสดงสิ่งประดิษฐ์ หุ่นยนต์นานาชนิด เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านความคิด สร้างสรรค์ สร้างความเข้าใจในวิชาชีพวิศวกรรมให้แก่ประชาชนทั่วไป อาทิ หุ่นยนต์ ช้อปปิ้งช่วยเหลือผู้พิการ หุ่นยนต์ทางการแพทย์ช่วยเหลือผู้ป่วย รถยนต์ไฟฟ้าระบบไฮ โดรลิค เป็นต้น” ส�าหรับงานวิศวกรรม ‘57 ครั้งนี้ เป็นการสร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้แก่ผู้เข้าชม งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มครอบครัว และเยาวชน ได้มีโอกาสเรียนรู้และเข้าใจวิชาชีพ วิศวกรรมมากยิ่งขึ้น เพราะทุกสิ่งรอบตัวของทุกคน ล้วนเป็นผลผลิตส�าคัญจากเหล่า วิศวกร รวมทั้งได้ชมเทคโนโลยีและวิทยาการจากองค์กรชั้นน�าจากทั่วโลก ตลอดจนการ ให้บริการปรึกษาปัญหาเรื่องบ้าน ฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย ให้แก่ประชาชนทั่วไปของ “คลินิก ช่าง” โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายการก่อสร้าง ปัญหาการก่อสร้างที่พบบ่อย เช่น บ้านทรุด บ้านร้าว ผู้รับเหมาทิ้งงาน เป็นต้น สามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.engineeringexpo2014.com หรือ Facebook: Thailand Engineering Expo MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 99
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Electric & Electronics ELECTRICAL & POWER ELECTRONICS
1
Bearing 2012 BENCH PRODUCT CATALOG
2
3
NEW PRODUCTS
THE MARK OF LINEAR MOTION
7
A.P.T. GROUP CO., LTD.
TRINERGY INSTRUMENT CO., LTD.
BTT UNITED CO., LTD.
4
5
6
MISUBISHI SAFETY CONTROLLER MELSEC-WS SERIES
MITSUBISHI ELECTRIC AUTOMETION (Thailand) CO., LTD.
อุปกรณไฟฟา
จำหนายอุปกรณไฟฟา แรงสูง-ต่ำ ทุกชนิด รับทำ ตูสวิทซบอรด ทุกระบบ ทุกขนาด ตามตองการ
RITTAL - THE SYSTEM. FASTER - BETTER EVERYWHERE.
เครื่องมืออุตสาหกรรม
JSR GROUP ตัวแทนจำหนาย ผลิตภัณฑเครื่องมืออุตสาหกรรม มากวา 40 ป
• Filtration • Pneumatic • Hydraulic Fitting • Push - Lok Hose • Hydraulic Hose
PARKER HANNIFIN (THAILAND) CO., LTD.
12
M
10
METROLOGY PRODUCT • CMM • PCMM • Laser Tracker • Vision Machine • White Light Scanning
HEXAGON METROLOGY (Thailand) CO., LTD. METROLOGY PRODUCTS Metrology & Inspection Product and Calibration Service
MAX VALUE TECHNOLOGY CO., LTD.
าสัมพันธ ะช ร ป ร า ก ง อ ต หากทาน คา/บริการ น ิ ส ค อ ็ ล า ต ต แค ระกอบการ ป ู ผ ม ุ ล ก บ ั ก ให รม ดานอุตสาหกร ฟรี! ไมมีคาใชจาย
CYLINDER SERVICE
17
ศูนยซอมและสราง กระบอกไฮโดรลิคและนิวเมติกซ แบบครบวงจร
A.P.S. CONTROL CO., LTD.
GLOBAL SEAL CO., LTD.
Material Handling
C
11
WIKA IS A GLOBAL MARKET LEADER IN PRESSURE, TEMPERATURE AND LEVEL MEASUREMENT TECHNOLOGY.
• Products • Electronic pressure measurement • Mechatronic & Mechanical pressure measurement • Electrical temperature measurement • Mechatronic temperature measurement • Mechanical temperature measurement • Thermowells • Level measurement
Y
18
CM
MOTOR
We are sole distributing of high quality industrail products for the leading brands
13
dustry ocess In13 20 ors for Pr
Sens
Product
Overv
ition iew – Ed
BAUMER
Sensors สำหรับอุตสาหกรรม ประเภท Process Industry (อุตสาหกรรม เคมี, ปโตรเคมี, การแปรรูปอาหาร, ผลิตภัณฑเยื่อ กระดาษและกระดาษ, เซรามิก, แกว, ผลิตภัณฑยาง, ซีเมนต ฯลฯ) และ อุตสาหกรรมอื่น ทั้งดาน Pressure, Temperature, Level, Conductivity, Strain & Force
KANIT ENGINEERING CO., LTD
W21 PREMIUM EFFICIENCY EFF1
19
• Pumps • Fans • Crushers • Conveyor belts • Mills • Centrifugal machines • Presses • Elevators • Packaging equipment • Grinders and orters.
MY
CY
CMY
GLOBAL PUMP MANUFACTURER LEADER
20
• DOUBLE SUCTION SPLIT CASTING • VERTICAL MIXED • VERTICAL AXIAL • SUBMERSIBLE SEWAGE WASTEWATER • SUBMERSIBLE MIXED • SUBMERSIBLE AXIAL
COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENT FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED
21
รถยก รถลาก และอุปกรณ ขนยาย ที่ครอบคลุม ทุกความตองการ ในทุกอุตสาหกรรม
K
SAHA KIM MOTOR CO., LTD. JSR GROUP
อุปกรณในระบบกำจัดฝุน-วาวล และหัวขับสำหรับงานระบบอุปกรณในระบบนิวแมติค
Motor & Pump
I.N.B. ENTERPRICE CO., LTD.
Rittal GmbH & Co. KG
PNEUMATIC
16
LINEAR MOTION SYSTEM
8
• Enclosures • Power Distribution • Climate Control • IT Infrastrure • Software & Services
MAHATHON ELECTRIC PART LTD.
HYDRAULIC AND PNEUMATIC SOLUTION & SERVICE
15
THK CO., LTD.
Metrology & Measurement 9
Hydraulic & Pneumatic
• LM Guide • Ball Screw • Linear Bushing • Slide Pack • Slide Rail • Cam Follower • Roller Follower
• OEM Product & Solution Products • Low-Voltage up to Medium-Voltage Products • Solution Products & Power Quality Product
MERZ (THAILAND) CO., LTD.
THAIKO PUVA CO., LTD.
GeTeCe Co., Ltd.
WIKA INSTRUMENTATION CORPORATION (Thailand) CO., LTD.
14
Green Product
เครื่องมือวัดและควบคุม
ผูนำเขาและจัดจำหนายเทคโนโลยีอุปกรณวัด และระบบควบคุมทางอุกฃตสาหกรรม สำหรับงานควบคุมอัตโนมัติ, PLC, SCADA, Sencer, Heater เปนตน
22
REBOARD THE ORIGINAL AND SUPERIOR
กระดาษ Reboard นวัตกรรมใหม สำหรับงานแสดงสินคา และนิทรรศการ
C.G.S. (THAILAND) CO., LTD.
TECHNOLOGY INSTRUMENT CO., LTD.
1-1/2015
Screw Conveyors 23
TRANSFER SYSTEM SCREW CONVEYORS
24
CORAL
• ระบบดูดควันและฝุน • เครื่องดูดฝุนแรงดันสูง • เครื่องกรองไอน้ำมัน • เครื่องยกระบบศูญญากาศ
Spiral Screw U-Trough Screw Conveyors V-Trough Screw Conveyors Tubular Trough Screw
CPM ENGINEERING CENTER CO., LTD.
Pallet
Air Purification System
SIRIKRAN INDUSTRAL CO., LTD.
1-2/2015
25
PLASTIC PALLET
• กันน้ำ กันชื้น ปลอดเชื้อรา • ปราศจากเสี้ยน และตะปู • แข็งแรง ทนทาน ไรกังวล • ทนตอสภาวะแวดลอมไดดี • ประหยัดเวลา และคาใชจาย • สามารถนำกลับมา Recycle ได
NAWAPLASTIC INDUSTRAIL CO., LTD.
EDITOR’S PICK | January 2015 PERFECT CONTROL WAS NEVER SO SIMPLE
TungSix Drill พบกับงานสัมมนาและงานแสดงสินคา เพื่อผูประกอบการอุตสาหกรรม
ทั่วประเทศ
กิจกรรมภายในงาน - การสัมมนาแนวคิดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการเพิ่มศักยภาพผูประกอบการ - การแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมดานการผลิตจากบริษัทชั้นนำของไทย - บูทแสดงสินคาพรอมทั้งราคาโปรโมชั่นสุดพิเศษภายในงาน - ลุนรับของรางวัลมากมายภายในงาน
ลงทะเบียนฟรี.... สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ 02-731-1191 # 103 คุณปณิชามน ติดตามขาวสารงานสัมมนาไดที่ www.mmthailand.com
Organized
Partner
ส�ำหรับงำนเจำะรูในปัจจุบัน กำรเพิ่มผลผลิตหรือกำรลดต้นทุนเป็นสิ่งที่ท�ำได้ยำก เพื่อ ตอบสนองควำมต้องกำรของตลำด Tungaloy ได้คิดค้นนวัตกรรมดอกสว่ำนเปลี่ยนเม็ดมีด TungSix-Drill ซึง่ จะช่วยเพิม่ ผลก�ำไรให้กบั ลูกค้ำและมีประสิทธิภำพสูงกว่ำดอกสว่ำนเปลีย่ น เม็ดมีดแบบอื่นๆ เม็ดมีดสองหน้ำใช้งำนได้ 6 คมตัด โดยที่เม็ดมีด 1 เม็ด สำมำรถใส่ได้ทั้งเม็ดนอกและเม็ด ใน (peripheral side and central side) ท�ำให้ใช้เม็ดมีดได้เต็มประสิทธิภำพทั้ง 6 คมตัด ด้วยกำรออกแบบเม็ดมีดแบบพิเศษจะช่วยป้องกันกำรใส่ผดิ ช่องระหว่ำง เม็ดนอกกับเม็ด ใน โดยที่เม็ดมีดแต่ละด้ำนจะใส่พอดีกับแต่ละช่อง โดยจะไม่มีส่วนเกินออกมำจำกช่องใส่เม็ด มีด ในส่วนของหน้ำลำยเม็ดมีดได้รับกำรออกแบบให้ทั้งสองด้ำนช่วยในกำรควบคุมเศษและ สำมำรถใช้เจำะงำนกับวัสดุทหี่ ลำกหลำย มุมหลบของเม็ดมีดมีขนำดมำกกว่ำ 90 องศำ ช่วยเพิม่ ควำมแข็งแรงของคมตัดและช่วยป้องกันกำรแตกร้ำวในขณะที่เม็ดมีดได้รับ Load (โหลด) สูง ล�ำตัวของดอกสว่ำนได้รับกำรออกแบบให้มีลักษณะเป็นเกลียวเพื่อช่วยในเรื่องกำรคำย เศษ และมีรนู ำ�้ อยูภ่ ำยใน สำมำรถฉีดสำรหล่อเย็นผ่ำนไปทีค่ มตัดได้โดยตรง ด้วยกำรออกแบบ เช่นนี้จะช่วยลดควำมร้อนของคมตัดและสำมำรถคำยเสร็จได้ดี เม็ดมีดของ TungSix-Drill มีทั้งหมด 4 ขนำดคือ 08, 09, 11 และ 13 มิลลิเมตร ดอก สว่ำนมีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงตั้งแต่ 20-54 มิลลิเมตร สอดคล้องกับเม็ดมีดทั้ง 4 ขนำด TungSix-Drill มีขนำด L/D (แอลบำยดี) 2 และ 3 ครอบคลุมกำรเจำะงำนที่หลำกหลำย TungSix-Drill คือกำรประสำนงำนที่ลงตัวของเม็ดมีดหกคมตัดแบบประหยัดและดอก สว่ำนประสิทธิภำพสูงช่วยเพิม่ ผลผลิตให้สงู ขึน้ และใช้เจำะงำนกับวัสดุทหี่ ลำกหลำยเช่น เหล็กกล้ำ สแตนเลส เหล็กหล่อ อัลลอยอุณหภูมิสูงและเหล็กชุบแข็ง ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติมของ TungSix-Drill Series หรือ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Tungaloy สำมำรถติดต่อได้ที่ส�ำนักงำน ขำยหรือที่ตัวแทนจ�ำหน่ำย
» TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD.
Tel : (66) 2 751 5711 Fax : (66) 2 751 5715 Website : www.tungaloy.co.th
Whether food industry, biotechnology, or automotive industry, whether gigantic manufacturing plant or small consumer product, whether measuring, controlling, or regulating: Our products and system solutions can be found wherever fluids and gases are used. They are highly efficient—in two different respects. Our products and system solutions significantly contribute to an efficient overall process. At the same time, they are not just tailored to their respective application, but can quickly and efficiently be adapted as system solutions for other industries, products, and purposes as well. As one of the few providers on the market, we cover the entire process involved in working with fluid media: measuring, controlling, and regulating. To most of our customers, we are far more than just a provider of excellent products (although currently our product range spans more than 28,500 different products). Our customers also value us as a trusted consultant and experienced system solution provider. Quite possibly no other company’s range of expertise in this sector is as extensive as Bürkert’s. This makes us fast and independent. We are a one-stop shop—even when it comes to complex projects or highly sensitive, hygienically demanding enviroments. Our customers are always on the safe side with Bürkert in other respects, too. Our products, manufacturing, as well as the entire company are DIN ISO 9001 certified. Moreover, we are the first valve manufacturer outside of North America to receive the CSA Category Certification. This allows us to carry out all mandatory measurements ourselves and, if necessary, to issue the required certification to our customers. We also have ATEX certification and Ex approvals for various markets. And for us, it goes without saying that we adhere to international standards and norms.
» ALPHA CONTROMATIC CO., LTD. Tel. 0-2721-1801-8 Fax. 0-2721-2657 E-mail : sales@alphac.co.th Website : www.alphac.co.th
MODERN MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINE MAGAZINE |
107
EDITOR’S PICK | January 2015 GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 ประหยัดเวลำ ลดแรงงำนคน กับ GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 อุปกรณ์ ขนย้ำยที่จะท�ำให้คุณลืม Hand pallet แบบเดิมๆ ไปได้ลดแรงงำนคนและท�ำงำนรวดเร็วขึ้น ด้วยกำรเคลื่อนที่จำกมอเตอร์ไฟฟ้ำลำกสิ่งของได้หนักถึง 1,500 กก. ผลิตภำยใต้มำตรฐำน เยอรมัน โดยออกแบบให้มีควำมกะทัดรัด สะดวกและทนทำน พิเศษ! ส�ำหรับท่ำนที่สนใจในอุปกรณ์ GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 เพียง แค่นำ� Hand Pallet ของท่ำนทีใ่ ช้งำนอยู*่ มำแลกซือ้ ท่ำนจะได้รบั ส่วนลดมูลค่ำสูงสุด 10,000 บำท** วันนี้-31 ตุลำคม 2557เท่ำนั้น หมายเหตุ : *Hand Pallet ที่น�ำมำแลกต้องอยู่ในสภำพที่ยังใช้งำนได้เท่ำนั้น ** Hand Pallet ยี่ห้อ GT Mover ได้รับส่วนลด 10,000 บำท และ Hand Pallet ยี่ห้อ อื่นๆ ได้รับส่วนลด 8,000 บำท
อุปกรณ์รุ่นใหม่มาพร้อมกับซอฟต์แวร์ที่ใช้ง่าย และ ความก้าวหน้า ของระบบจับภาพส�าหรับตัวเซ็นเซอร์ ระยะทางด้วยเลเซอร์แบบ 3D รุ่น DS1000 Series
In-Sight Micro 1500 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ท�างานของระบบวิชั่นซิสเต็มส์ให้รวดเร็วยิ่งขึ้น
The New Panel mounted power analyzers, CVM-B100, CVM-B150
รับส่วนลดสูงสุด 10,000 บาท กับ GT MOVER SemiPowered Pallet 1.5 » บริษัท จี.ที.ซี. จ�ำกัด (GeTeCe Co., Ltd.) โทร : 02-651-5551 – 4 แฟ็กซ์ : 02-651-5558 E-mail : info@GeTeCe.com Website : www.GeTeCe.com
CPVR/CPVS Variable Speed Screw Compressors From 20 To 125HP The Chicago Pneumatic CPVR/CPVS variable speed compressors series allows you to drastically reduce your operating costs when your compressed air system is not working at full capacity all day long. Basically the inverter reduces the motor speed to match your air consumption, and as a result, you save energy and money The CPVR/CPVS is great as a standalone machine or networked to a loadunload Chicago Pneumatic compressors where it can function as a master and regulate the air delivery for the whole site
» ENTAIL TECHNOLOGY AND SUPPLY CO., LTD.
Tel : 0-2949-9834 Fax : 0-2949-9835 Website : www.entail.co.th
108 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชั่น (NASDAQ: CGNX) ผู้น�ำระดับโลกทำงด้ำนระบบแมชชีนวิชั่น แถลงข่ำวกำรเปิดตัวกลุ่มผลิตภัณฑ์ตัวเซ็นเซอร์ระยะทำงด้วยเลเซอร์ 3D ที่ได้รับกำรพัฒนำ ต่อยอดจำกเดิม รวมถึงตัวควบคุมกำรจับภำพและเครื่องมือกำรจับภำพ 3D ประสิทธิภำพสูง รุ่นใหม่ ตัวเซ็นเซอร์รุ่น DS1050 DS1101 และ DS1300 สำมำรถรับมือกับกำรใช้งำนระบบ 3D ที่หลำกหลำยส�ำหรับช่วงกำรวัดที่มีควำมละเอียดสูงและเพิ่มเติมจำกระบบเดิม DS1000 Series มำพร้อมกับชุดควบคุมกำรจับภำพรุ่นใหม่คือ Cognex VC5 ซึ่งเป็น ระบบที่ครบวงจรเพื่อตอบสนองกับควำมต้องกำรใช้งำนระบบ 3D ที่มีควำมท้ำทำยในปัจจุบัน VC5 สำมำรถควบคุมตัวเซ็นเซอร์ 3D ได้สูงสุดถึง 4 ตัวเช่นเดียวกับกำรสื่อสำรที่ครอบคลุม ทั้งโรงงำน นอกจำกนี้ยังมำพร้อมกับซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ที่ง่ำยในกำรก�ำหนดค่ำคือ Cognex Designer™ ที่ท�ำให้กำรพัฒนำกำรประยุกต์ใช้งำนระบบ 3D ท�ำได้ง่ำยขึ้นรวมถึงกำรสร้ำงส่วน ติดต่อผู้ใช้ (GUI) ที่ดูเป็น มืออำชีพมำกขึ้น ขณะนี้ DS1000 ยังให้ควำมสำมำรถเพิ่มเติมในกำรเลือกเครื่องมือกำรจับภำพขั้นสูง นอกจำกนี้ยังมีเครื่องมือจับภำพ 2D ที่ได้รับกำรพิสูจน์กำรใช้งำนจำกผู้ใช้ คือ PatMax® IDMax® และ OCRMax DS1000 ยังมีเครื่องมือ 3D มำให้ด้วย เช่น ควำมสูงแบบ 3D รวม ถึงกำรปรับควำมพอดีของระนำบ มุมเชิงระนำบต่อระนำบ และหน้ำตัด กำรรวมกันนี้ยังท�ำให้ DS1000 Series เป็นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภำพสูงส�ำหรับกำรตรวจสอบแบบ 3D ทัง้ หมด โดย สำมำรถจะท�ำกำรวัดในระดับซัพไมครอนและจัดกำรกับกำรใช้งำนระบบ OCR ที่ไม่ขึ้นอยู่กับ ค่ำควำมเปรียบต่ำง และกำรตรวจสอบกำรมี/ไม่มีของวัตถุ “กลุ่มผลิตภัณฑ์ตัวเซ็นเซอร์ 3D ที่พัฒนำเพิ่มเติมของเรำยังท�ำให้ลูกค้ำได้รับประโยชน์ จำกเครือ่ งมือระบบจับภำพ 2D และ 3D คุณภำพระดับโลกของค็อกเน็กซ์ ส�ำหรับควำมละเอียด สูงและขอบเขตกำรมองที่กว้ำงใหญ่ขึ้น” จอร์จ คูเค่น รองประธำนและผู้จัดกำรหน่วยธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ระบบจับภำพกล่ำว “ซอฟต์แวร์ Cognex Designer ยังเปลีย่ นควำมต้องกำรในกำร ท�ำงำนของระบบจับภำพให้เป็นระบบทีง่ ำ่ ยต่อกำรบ�ำรุงรักษำ และยังสร้ำงและจัดวำงระบบที่ สมบูรณ์แบบส�ำหรับกำรประยุกต์ใช้งำน 3D ที่มีควำมท้ำทำย โดยส่วนใหญ่ให้กำรท�ำงำนได้ รวดเร็วกว่ำโดยไม่จ�ำเป็นต้องอำศัยโปรแกรมเมอร์ที่มีทักษะสูงเลย” ตัวเซ็นเซอร์ระยะทำงแบบ 3D ซึ่งเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์รุ่น DS1000 Series ใช้ระบบ เลเซอร์วัดแบบสำมเหลี่ยมเพื่อที่จะดึงข้อมูล 3D ออกมำจำกชิ้นงำนที่ระบบท�ำกำรสแกน ตัว เซ็นเซอร์ระยะทำงท�ำให้สำมำรถตรวจสอบชิ้นงำนได้แม่นย�ำ โดยไม่สนใจสภำพควำมเปรียบ ต่ำงหรือแสงสว่ำงที่มีอยู่ขณะนั้น DS1000 Series ได้มีกำรสอบเทียบมำตรฐำนจำกโรงงำน เพื่อให้ง่ำยในกำรติดตั้ง สอดคล้องกันทั้งระบบ และลดควำมจ�ำเป็นในขั้นตอนกำรสอบเทียบ หรือกระบวนกำรแปลงพิกเซลเพื่อให้ได้ค่ำกำรวัดที่แม่นย�ำในอุปกรณ์ที่ใช้งำนจริง
» คุณศุภสิทธิ์ เชิดไชยกุล, ค็อกเน็กซ์ ประเทศไทย Tel : +66 85 157 1822, +66 81 917 2589 E-mail : cherdchaikul.supasit@cognex.com
•
•
•
• •
ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชั่น (NASDAQ: CGNX) ผู้น�ำทำงด้ำนระบบแมชชีนวิชั่นของโลก เปิดตัว In-Sight® Micro 1500 รุ่นที่มีควำมเร็วในกำรจับภำพสูง มีขนำดกะทัดรัด และ เป็นระบบจับภำพด้วยกล้องอัจฉริยะทีม่ สี มรรถนะในกำรจับภำพด้วยควำมเร็วสูงถึง 200 เฟรมต่อวินำที (fps) In-Sight Micro 1500 มีควำมสำมำรถในกำรท�ำงำนด้ำนกำรตรวจสอบได้มำกถึง 400 แบบต่อวินำทีดว้ ยควำมละเอียดขนำด 640x240 ผลิตภัณฑ์ใหม่นยี้ งั ช่วยให้ ผูใ้ ช้สำมำรถ เลือกควำมละเอียดในกำรตรวจสอบได้มำกถึง 200 รูปแบบต่อวินำทีที่ควำมละเอียด 640x480 และกำรตรวจสอบ 150 รูปแบบต่อวินำทีที่ ควำมละเอียด 800x600 “In-Sight Micro 1500 รวมเอำประสิทธิภำพทำงด้ำนควำมเร็วในกำรจับภำพเข้ำกับ ควำมเร็วในกำรประมวลผลเพื่อด�ำเนินงำนทำงด้ำนกำรตรวจสอบในทุกรำยกำรไม่เว้น แม้แต่ในไลน์กำรผลิตทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ” กล่ำวโดย ยอร์ค คูเค็น รองประธำนและผูจ้ ดั กำรหน่วย ธุรกิจผลิตภัณฑ์ระบบวิชั่นซิสเต็มส์ “ผลิตภัณฑ์นี้จะช่วยให้ผู้ผลิตอำหำร เครื่องดื่มและ สินค้ำอุปโภคบริโภคสำมำรถกระจำยกำรตรวจสอบตำมจุดที่ส�ำคัญต่ำงๆ ตำมสำยกำร ผลิตที่เน้นประสิทธิภำพเพื่อช่วยปรับปรุงคุณภำพสินค้ำและลดต้นทุน” In-Sight Micro มีระบบวิชั่นซิสเต็มส์ที่สมบูรณ์แบบภำยใต้แพ็คเกจขนำดเล็กอย่ำงน่ำ ทึ่งซึ่งวัดได้เพียง 30 มม. x 30 มม. x 60 มม. ซึ่งท�ำให้มันเหมำะส�ำหรับกำร ติดตั้งใน พื้นที่ที่จ�ำกัดมำก อำทิ หุ่นยนต์สำยกำรผลิตและเครื่องจักร In-Sight Micro 1500 เหมำะอย่ำงยิง่ ทีจ่ ะตอบสนองควำมต้องกำรทำงด้ำนอุตสำหกรรม กำรประกอบบรรจุภัณฑ์ควำมเร็วสูง กำรใช้งำนที่ต้องกำรตรวจสอบกำรมี/ไม่มี กำร ติดตำมกำรล�ำเลียงในสินค้ำอุปโภคบริโภค อุปกรณ์ทำงกำรแพทย์และอุตสำหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ระบบวิชั่นซิสเต็มส์ In-Sight Micro 1500 วำงจ�ำหน่ำยแล้ว ส�ำหรับ ข้อมูลเพิ่มเติมโปรดเยี่ยมชม www.cognex.com/
» คุณศุภสิทธิ์ เชิดไชยกุล, ค็อกเน็กซ์ ประเทศไทย Tel : +66 85 157 1822, +66 81 917 2589 E-mail : cherdchaikul.supasit@cognex.com
Much more than power analyzer (มากกว่าค�าว่า ดิจิตอลมิเตอร์ไฟฟ้า) • เป็นผู้น�ำในเครื่องมือวัดคุณภำพสูง จำกประเทศสเปน • ด้วยนวัตกรรมชั้นสูง เป็นผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นในด้ำนกำรออกแบบ ใช้งำนง่ำย และกำร แสดงผลที่เหนือกว่ำด้วยจอสีที่มีควำมละเอียดสูง มีกำรแสดงผล Graphic Interface แบบในลักษณะ SCV Technology (Slide, Choose & View) บนหน้ำจอ display ได้ โดยตรง ขนำด 3.5” ในรุ่น CVM-B100 และขนำดใหญ่ถึง 5.6” ในรุ่น CVM-B150 พร้อมระดับกำรป้องกันน�้ำและฝุ่นสูงถึง IP65 • กำรวัดและแสดงผลในค่ำทำงไฟฟ้ำได้ครบตำมควำมต้องกำร รวมไปถึงค่ำ Harmonic ใน ล�ำดับสูงถึง 51 ล�ำดับ • รองรับกำรคิดและค�ำนวณค่ำไฟฟ้ำแบบใหม่ (Tariff) ได้ทันที โดยไม่ต้องดัดแปลงหรือ แก้ไขเพิ่มเติมใดๆ กับตัวผลิตภัณฑ์ • รองรับกำรค�ำนวณหรือเป็นผูช้ ว่ ยในกำรจัดท�ำรำยงำนผลสรุปในด้ำนสิง่ แวดล้อม (Green Energy ได้ เช่น KgCO2 เป็นต้น) • รองรับกำรเชื่อมต่อ ควบคุมอุปกรณ์ภำยนอก หรือ Network ในกำรบริหำรจัดกำร พลังงำนได้ด้วยระบบ Power Studio SCADA Software ที่แถมให้กับตัวผลิตภัณฑ์ *บริษัทฯ มีทีมงำนที่มีควำมช�ำนำญเฉพำะทำงให้ค�ำปรึกษำ แนะน�ำ รวมทั้งทีมติดตั้งที่มี ประสบกำรณ์ในกำรช่วยบริหำรจัดกำรและควบคุมพลังงำนในองค์กรของท่ำนได้อย่ำง มืออำชีพ*
» บริษัท เอวีร่ำ จ�ำกัด Tel : +662-681-5050 Fax : +662-681-5995 E-mail : marketing@avera.co.th Website : www.avera.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 109
EDITOR’S PICK | January 2015
Susol VCB lead to Susol legend! Renew your thoughts by subverting the dominant paradigm. Focus your thoughts on the advantages and benefits gained through the Susol. Then you Will be able to achieve the Super Solution.
Susol Vacuum Circuit Breakers • • • • •
Customer needs for the breakers with high Interrupting capacity and large current due to the integration and increase of the load capacity. Worldwide trend of diversification in the medium voltage distribution lines. Increase of the reliability for the temperature characteristics of circuit breakers. Main structure with high reliability application. A variety of accessories and ability to maximize.
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
ASEAN Customer Support THK ได้ขยำยกำรด�ำเนินงำนเพื่อเพิ่มกิจกรรมกำรบริกำรลูกค้ำ THK is launching a new customer support service. โดยกำรเพิ่มกิจกรรมส�ำหรับกำรบริกำรลูกค้ำในประเทศไทย We help our customers in Thailand with a comprehensive support structure Voltag 7.2k 12/17.5k 24kV 36kV 40.5kV
Interrupting current 8/12.5/20/25/31.5/40/50k 20/25/31.5/40/50kA 12.5/25/31.5/40k 25/31.5/40kA 25/31.5k
Rated curren 400/630/1250/2000/3150/4000A 630/1250/2000/3150/4000A 1250/2000/2500/3150A 1250/2000/3150 1250/2000/3150
» BTT UNITED CO., LTD. Tel : 0-2586-8733 Fax : 0-2587-8852 E-mail : info@bttunited.com. Website : www.BTTunited.com 110 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
• • •
โดยผู้เชี่ยวชำญทำงเทคนิคที่มีประสบกำรณ์ Technical support by experienced staff from designing stage พร้อมมีสต็อคที่สำมำรถจัดส่งได้รวดเร็วหลำกหลำยรุ่น Quick delivery service by variety stock items และมีบริกำรจัดฝึกอบรมโดยผู้อบรมคนไทย Offering technical trainings by our Thai staff
» THK RHYTHM (THAILAND) CO., LTD. LM System Division
Bangkok Branch Tel : 0-2751-3001 Fax : 0-2751-3003 E-mail : thk@trtc.co.th Website : http://www.thk.com/th (Headquarters) 3-11-6, Nishigotanda, Shinagawa-ku, Tokyo 141-8503 Japan Tel : +81-3-5434-0351 Fax : +81-3-5434-0353 (International Sales Department) Website : http://www.thk.com/
MO 143-2015
ขอมูลผูสมัครสมาชิก ชื่อ - นามสกุล _______________________________________ บริษัท _____________________________________________ ตำแหนง ____________________________________________ E-mail _____________________________________________ ที่อยู ______________________________________________ ___________________________________________________ โทร ___________________ แฟกซ _______________________ มือถือ _____________________________________________ วิธีการชำระเงิน โอนเงินผานธนาคารไทยพาณิชย ชื่อบัญชี บริษัท กรีนเวิลด พับลิเคชั่น จำกัด สาขาหัวหมาก ประเภทบัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 044-3038-214 เช็คขีดครอมจายสั่งจาย บริษัท กรีนเวิลด พับลิเคชั่น จำกัด ลักษณะการอานนิตยสาร ความถีใ่ นการอานนิตยสาร Modern Manufacturing อานเปนประจำทุกเดือน 2-3 เดือน/ครั้ง มากกวา 2-3 เดือน/ครั้ง นิตยสารดานอุตสาหกรรมเลมที่อานเปนประจำ __________________________________________________
C
M
Y
ทานสนใจเนื้อหาดานไหน การผลิต เทคโนโลยี การบริหาร จัดการ อื่นๆ
CM
วิศวกรรม ซอฟทแวร/ฮารดแวร การตลาด
MY
CY
CMY
K
ทานสนใจเนื้อหาประเภทไหน ทฤษฎี/ขอมูลทางวิชาการ บทความเชิงประยุกต ขาวสาร/สกูปในแวดวงอุตสาหกรรม Case Study/กรณีศึกษา บทสัมภาษณ โฆษณาแฝงการใหขอมูลสินคา อื่นๆ คอลัมนในนิตยสาร Modern Manufacturing ที่ทานชื่นชอบที่สุด เพราะอะไร ________________________________________________ ทานตองการใหนิตยสาร Modern Manufacturing มีการปรับปรุงหรือพัฒนาในดานใด _________________________________________________ คอลัมน หรือกิจกรรมที่อยากใหเพิ่มในนิตยสาร Modern Manufacturing _________________________________________________ ** หมายเหตุ สง Fax หรือไปรษณียมาที่ บริษัท กรีนเวิลด พับลิเคชั่น จำกัด เลขที่ 244 ซอย ลาดพราว 107 แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 แฟกซ: 0-2769-8120 | โทร: 0-2731-1191 ตอ 102 E-mail: Marketing@mmthailand.com
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K