www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
19-22 NOVEMBER 2014 BITEC
BANGKOK
THAILAND
BOOTH H535 Hall 105
» เหล็กกลาความแข็งแรงสูง » เพิ่มผลิตภาพในงาน เพื่อยานยนตที่ปลอดภัย และประหยัดพลังงาน » นวัตกรรมจอกยางนาโน... ลดการสูญเสียนับหมื่นลานบาท
ดวยการสรางจิตสำนึก การเพิ่มผลิตภาพในองคกร » สรางคลังความรูออนไลน สำหรับองคกรดวย MediaWiki
บทสัมภาษณ คุณนภดล ไกรฤกษ กรรมการผูจัดการ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จำกัด
ซี.จี.เอส. มุงพัฒนาคีออส สูตลาดนิทรรศการนานาชาติ ภายใตแนวคิด คุมคา คุมใช ดวยเทคโนโลยีสีเขียว
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
C & SLC Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits:
- Highly efficient Mouvex principle design - Seal-less design - Self-priming with strong suction power - Dry-run capabilities - Ideal for low and high viscosities - Clean-in Place (CIP) and Sterilize-in-Place (SIP)
Application:
- Dairy & yogurt - Cereals
- Beverages, wine and beers - glucofe
- Sauces & chocolate - Cosmetics
P Series Rotary Vane Pumps Features and Benefits:
- Highly efficient sliding vane techonology - Self-adjusting vanes sustain perfomance - Self-priming - Line stripping capabilities - Dry-run capabilities - Ideal for thin or non-lubricating, viscous, abrasive and corrosive fluids
Application:
- Energy - Pulp & paper
- Food - Bitumen
- Biofuels
- Chemical
A Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits:
- Highly efficient - Exceptional self-priming capabilities - No adjustments required - Transfers viscous, non-lubricating, volatile or delicate fluids
HYGHSPIN DF- Hygienic high-pressure twin screw pumps. Features and Benefits:
- Differential pressures up to 50 bar - Double-suction pump with 2 product inlets and 1 outlet - Abrasion-free non-contact screws even at high pressure differential - Pumping of aqueous and higly viscous fluids - Hygienic sealing by form rings — no dead spaces - FDA approved elastomers in different qualities
Application :
- Beverage industry - Bakery products - Breweries - Confectionery - Delicatessen industry - Dairies & milk industry - Cosmatics & pharmaceuticmls - Cottage cheese - Cream
Application: - Asphalt - Fuel
- Paint & coating - Solvents
- Heavy fuel oil - Emulsions
- Inks & glues - Molasses
ABAQUE™ Series Peristaltic Hose Pumps Features and Benefits:
- Seal-less design - Reversible pump - Dry-run capabilities - Self-priming capabilities
Application:
- Chemical processing - Industrial water treatment - Municipal water treatment - Mining
- Food - Paints and coatings - Ceramics - Filter press equipment
COPCO CHEMTECH CO., LTD.
89/76 RK Park, Hathairat Rd., Bangchan, Klongsamwa, Bangkok 10510, THAILAND Tel. : +66(0) 2171-5391-2 (Auto), 081-700-8756 Fax. : +66(0) 2171-5287 , +66(0) 2548-7323 E-mail : coct@copcochemtech.co.th Website : www.copcochemtech.co.th
ค ร เ อ ช ่ ื ใ ง ร ฉ า ด ี ก นำ้ รอ ง ีอ ด อ ข นแ ข
ังด สงู น ร
a s จาก K rcher erie
HDS S
An Authorized Distributor of THK Products in Thailand
” ด ั ะหย
Applications of Electric Actuators
ร ป “ชุด
เครื่องปดฝาขวด
การประกอบ
อุปกรณการตัด
การทำงาน
อร ต เ อ มี
EC3เภทแกนยงื่นตรงโดยไมม ประ บตอพว แบ
หมายเลขรุน
ES3
” ด ั ย ระห
ป ด ุ “ช
ES สามารถนำมาใชสำหรับการลำเลียงฝาปดเพื่อชวย
ลดความผิดพลาดและสามารถประหยัดแรงงานบุคคลได ES มากขึ้น การทำงาน เครื่องเจาะแบบหลายแกน
หมายเลขรุน
PC USW
การตัดดวยการกดโดยใชรุน PC ชุดกดแรงดัน ไฟฟานี้ทำใหความสูงของเครื่องลดลงได เนื่องจาก ขนาดของรุนที่มีความกระทัดรัด
เครื่องปอนชิ้นงานสำหรับเครื่องกลึงอัตโนมัติ
การปอนชิ้นงาน
อร ต เ อ มี
ด ยไมม ล ไ ส ล็อคงตรงโด บ ท ประเภบตอพว แบ
หมายเลขรุน
KRF สามารถนำมาใชสำหรับเครื่องเจาะแบบหลาย แกน ซึ่งจะชวยใหเครื่องที่มีขนาดเล็กกวาและมีความ แข็งแกรงสูง
ES เครื่องปดฝาขวด
การปอนชิ้นงาน
หมายเลขรุน
ES สามารถนำมาใชเปนเครื่องปอนชิ้นงานเพื่อรองรับการ ทำงานของเครื่องกลึงอัตโนมัติ ซึ่งสามารถใชปอนชิ้นงาน ที่มีราคาประหยัดได
ES อุปกรณการตัด
การตรวจสอบชิ้นงาน
ค ง ระส
T ป 8 ก USชุดเอน อพวงตรง “ รแบบต อ
มอเต
หมายเลขรุน
KRF สามารถนำมาใชในเครื่องเปลี่ยนถาดแบบโครงสราง
้น ซึ่งทำใหชุดนี้มีความกระทัดรัดและมีความ KRF ตลับลูกปน LM สองชั แข็งแกรงสูงกวาหุนยนตปอนชิ้นงานทั่วไป
หมายเลขรุน
ES ตลับลูกปนสไลด
ES สามารถนำมาใชสำหรับอุปกรณตรวจสอบชิ้นงาน ที่ติดตั้งกลอง CCD ทั้งนี้ยังสามารถลดตนทุนเครื่อง โดยใชรวมกับตลับลูกปนสไลดเองได
©© 2014 Siemens Product Lifecycle Management Software Inc. All rights reserved. Siemens and the Siemens logo are registered trademarks of Siemens AG. All other logos, trademarks or service marks used herein are the property of their respective owners.
ความจำาเป็นของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมให้ทันโลกปัจจุบัน Industry Breakthrough Position Brief.
OEMs ในกลุม่ ธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ได้มกี ารแข่งขันเพือ่ เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพของรถยนต์ โดยมีปจั จัย การประหยัดน�า้ มันเป็นสองเท่าและการลดมลพิษทางอากาศลงครึง่ นึงเป็นปัจจัยหลักทีข่ บั เคลือ่ นท�าให้เกิดการเปลีย่ น แปลงในระบบส่งก�าลังและโครงสร้างของรถยนต์ ดังนัน้ ระบบอิเล็คทรอนิกส์และซอฟท์แวร์ตา่ งๆ ถูกน�ามาใช้ในรถยนต์ เพิ่มมากขึ้นควบคู่ไปกับการเติบโตของตลาดรถยนต์ทั่วโลก เพือ่ ให้อยูร่ อดในตลาดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง Tier1 Suppliers ต้องปรับตัวเพือ่ ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิด ขึ้น ซึ่ง Tier 1 Suppliers ต้องการ การประมวลผลโปรแกรม (Program Execution) เพื่อท�าให้สามารถที่จะผลิต สินค้าให้ตรงตามเวลา และตามงบที่วางไว้ รวมถึงได้มาตรฐานตามที่ก�าหนดไว้ ยิ่งไปกว่านั้น Tier 1 Suppliers ต้องปรับปรุงระบบอิเล็คทรอนิกส์และซอฟท์แวร์เพื่อรองรับการผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนมากขึ้นและความหลาก หลายของสินค้าที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นเพื่อที่จะผลิตและส่งไปในตลาดโลก Suppliers ต้องการระบบที่ง่ายและได้มาตรฐาน 1. ปรับปรุงการออกแบบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบ 2. เพิ่มความสามารถในการพัฒนาโปรดักส์บางชิ้นที่ถูกใช้ในหลายระบบ 3. ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก 4. เพิ่มความสามารถในการมองเห็นการประมวลผลโปรแกรมรวมถึงปัจจัยเสี่ยง ทีมต่างๆ ทั้ง เครื่องกล อิเล็คทรอนิกส์ และ ระบบซอฟท์แวร์ต้องท�างานร่วมกันอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ Siemens PLM เรียกแนวคิดนี้ว่า Execution Program Innovation ซึ่งเป็นรูปแบบที่เป็นตัวขับเคลื่อนหลักในการ เพิ่มความร่วมมือกันระหว่างแผนกต่างๆ รวมถึงการตัดสินใจร่วมกัน ด้วยรูปแบบนี้ Tier 1 Suppliers สามารถที่ จะเข้าใจและทราบถึงผลกระทบที่เกิดจากการตัดสินใจที่เกิดขึ้นในระบบวงจรคุณภาพรวมถึงต้นทุน
Strategies to achieve fuel efficiency and emission standards Improving efficiency of the drivetrain
59%
Lightweighting vehicles Greater reliance on embedded software to control systems
48% 42%
Investing in hybrid technology
39%
Investing in electric drive technologies
30%
Improving battery performance
30%
Investing in fuel cell technology
29%
Other
7%
0% All respondents
20%
40%
60%
Percentage of respondents, n = 218
Source: “How Prepared is the Automotive Industry? Solutions for Meeting Fuel Efficiency and Emissions Standards.” January, 2014. Aberdeen Group, Inc.
Siemens PLM ได้ชว่ ยเหลือ Tier1 Suppliers รายใหญ่ทวั่ โลก ในการผลิตสินค้าให้ได้ตรงตามเวลา ตามงบประมาณ และตามมาตรฐานที่วางไว้ ถ้าคุณอยากเรียนรู้วิธีการเอาชนะความท้าทายในอุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถ ดาวน์โหลด white paper ได้ที่ bit.ly/autoinnovations
ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฏในนิตยสารมีจา� นวนมากและ มีการเปลีย่ นปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถประกาศความ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนที่มีการกล่าวอ้างถึง ในบทความหากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปแล้ว ทาง นิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในนิตยสาร ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com
การสมัครสมาชิก ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ทโี่ ทรศัพท์ 0-2731-119194 ต่อ 103 หรือ อีเมล marketing@mmthailand.com
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร ทีมงานนิตยสารยินดีรบั ฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกีย่ วกับเนือ้ หาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อ และทีอ่ ยูส่ า� หรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิป์ รับแต่ง ถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อได้ทั้งทางจดหมาย ตามทีอ่ ยูข่ องนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาห กรรมและการบริหารธูรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็น บทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิด กรณีการละเมิดลิขสิทธิข์ นึ้ ทางนิตยสารจะไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อความ ผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏในนิตยสารเล่มนี้เป็นความ คิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิด เห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
2014 COPYRIGHT AND TRADEMARK
As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE
You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.greenworld@gmail.com
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP
You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 27311191-94 ext. 103 of at e-mail address : marketing@mmthailand. com
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR
The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat. greenworld@gmail.com
THE MANIFEST OF COPYRIGHT
The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
Copyright© © Green World Publication Co., Ltd.
19-22 NOVEMBER 2014 BITEC
BANGKOK
THAILAND
BOOTH H535 Hall 105
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
CONTENTS OCTOBER 2014
VOL.12 No.140
www.mmthailand.com | www.factoryeasy.com
30 COVER STORY
กลอบอลซีลโชว์ความเหนือชั้นด้วย ‘นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ’ ยืนหยัดความเป็นผู้น�าด้วยผลิตภัณฑ์ และการบริการ... คุณภาพเกินร้อย
34
INTERVIEW
ซี.จี.เอส. มุ่งพัฒนาคีออส สู่ตลาดนิทรรศการนานาชาติ ภายใต้แนวคิดคุ้มค่า คุ้มใช้ ด้วยเทคโนโลยีสีเขียว
34
PRODUCTIVITY BOOSTER
สร้างจิตส�านึกการเพิ่มผลิตภาพ ในองค์กร
40
PRODUCTIVITY BOOSTER
ปัจจัยเทียบเคียงผลิตภาพ (ตอนจบ)
44
INDUSTRIAL TREND
เข้ม… มาตรการเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อสร้างความปลอดภัยในโรงงานแบบ 360o (ตอนจบ)
TECHNICAL MATTER
61 R&D CORNER
การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศึกษา : โรงงานประกอบแผง วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ) 16 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
70 R&D CORNER
จอกยางนาโน… ลดการสูญเสียนับ หมื่นล้านบาท
75 KURU
แบริ่ง (ตอนที่ 4)
72 PRINCIPLE
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง เพื่อยานยนต์ที่ปลอดภัยและประหยัด พลังงาน
HORIZONTAL COMPETENCY
82
80 BOTTOM LINE
ความส�าคัญของ CFO ที่มีต่อกิจการ The Significance of CFO to Business
82 ALTERNATIVE ENERGY อัศจรรย์ พันธุ์พืช ยางพารา Amazing Rubber Tree
86 LOGISTICS DESIGN
กลยุทธ์การสร้างก�าไรจากฝ่ายจัดซื้อ Profit Making Strategy from Purchasing Department
90
88 REAL TIME
สร้างคลังความรู้ออนไลน์ส�าหรับองค์กรด้วย MediaWiki Establishing Online Knowledge Base for Organization With MediaWiki
90 FACTORY 3.0
ความเข้าใจของผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ส�าหรับคนกรุงเทพ Consumer perceptions of organic foods in Bangkok
TECHNICAL MATTER SOURCING CORNER 24 20 SITUATION SUPPLIERS INDEX 28 104 COMMUNITY UPDATE PURCHASING CATALOGUES 92 108 INDUSTRIAL AGENDA EDITOR’S PICK
จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail : jirapat.greenworld@gmail.com
12th ANNIVERSARY MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Vol.12 No.140 October 2014
ร่วมยินดีกับ
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมหญิง คนแรกของไทย
สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน MODERN MANUFACTURING ขอแสดงความยินดี กับคุณอรรชกา สีบุญเรืองกับการเข้ารับต� าแหน่งปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม ตามการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีใน การโยกย้ายต�าแหน่งข้าราชการระดับสูง ประจ�ากระทรวง อุตสาหกรรมนะคะ ถือได้วา่ คุณอรรชกา เป็นปลัดกระทรวง อุ ต สาหกรรมหญิ ง คนแรก ที่ จ ะสานต่ อ และริ เ ริ่ ม เพื่ อ สร้างสรรค์สงิ่ ทีเ่ ป็นประโยชน์สา� หรับวงการอุตสาหกรรมค่ะ เรามาติ ด ตามเรื่ อ งราวดี ๆ ที่ ก� า ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ผ่ า นบท สัมภาษณ์ของคุณอรรชกา สีบุญเรือง ที่นี่ เร็วๆ นี้นะคะ ในเดือนนี้เป็นการย่างเข้าสู่ไตรมาสสุดท้ายของปีกัน แล้วนะคะ เป็นช่วงทีห่ ลายๆ องค์กรล้วนเร่งเครือ่ งในหลายๆ ด้าน อาทิ การสร้างยอดขาย การจัดการงานต่างๆ ตาม แผนที่ได้วางแผนไว้ในช่วงต้นปีให้บรรลุเป้าหมาย บาง องค์กรก็เริม่ วางแผนธุรกิจส�าหรับปีหน้า เอาใจช่วยกับทุกๆ องค์กรทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจต่างๆ ให้ด�าเนิน การตามเป้าหมายได้อย่างเต็มร้อยนะคะ ส�าหรับเนื้อหาของ MODERN MANUFACTURING ฉบับนี้ มีเรื่องเด่นๆ ที่ไม่ควรพลาด อาทิ เรื่องเหล็กกล้า ความแข็งแรงสูง เพื่อยานยนต์ที่ปลอดภัยและประหยัด พลังงาน โดยรศ.ดร.พงศ์พนั ธ์ แก้วตาทิพย์ ภาควิชาาเครือ่ งจักรกล
18 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ที่จะมาบอกเล่าถึงความส�าคัญของเหล็กกล้าความ แข็ ง แรงสู ง ที่ มี บ ทบาทส� า หรั บ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ น ปัจจุบัน ด้วยการตอบสนองความต้องการด้านประหยัด พลังงานทัง้ การใช้เชือ้ เพลิงและปล่อยมลพิษในปริมาณน้อย มาติดตามเรื่องราวเหล่านี้ได้ที่หน้า 78 นะคะ นอกจากนั้น ในคอลัมน์ R&D CORNER ในเรื่องการ เพิม่ ผลิตภาพของการผลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศกึ ษา: โรงงานประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ น�าเสนอเป็นตอนจบแล้วนัน้ ยังมีอกี หนึง่ เรือ่ งราวงานวิจยั ที่น่าสนใจส�าหรับวงการอุตสาหกรรม นั่นคือ เรื่องจอกยาง นาโน… ลดการสูญเสียนับหมื่นล้านบาท ซึ่งเป็นผลึกความ คิดของนักวิจัยจากสถานวิจัยความเป็นเลิศนาโนเทคโนโลยี เพื่อพลังงาน ร่วมกับสมาคมน�้ายางข้นไทย ในการร่วมกัน พัฒนานวัตกรรมนาโนผลิตภัณฑ์พ่นเคลือบผิว เพื่อลดการ สูญเสียน�า้ ยางตัง้ แต่เก็บเกีย่ วจนถึงระบบการผลิตน�า้ ยางข้น ในระดับอุตสาหกรรม ติดตามได้ที่หน้า 70-71 แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ
• ParkerStore เอเบ็กซไฮดรอลิคส แอนด เอ็นจิเนียริ่ง สาขา อ.เมือง จ.สระบุรี โทร (036) 223-100 สาขา อ.บอวิน จ.ชลบุรี โทร (038) 337-677 สาขา อ.มาบตาพุด จ.ระยอง โทร (038) 607-056 สาขา ปราจีนบุรี โทร (02) 397-9200 สาขา อ.บางปู จ.สมุทรปราการ โทร (02) 323-2899 สาขา อมตะนคร โทร (02) 397-9200
• ParkerStore คิงส ออฟ วาลว สาขา จ.โคราช โทร (044) 324-462 สาขา อ.หาดใหญ จ.สงขลา โทร (074) 559-022
• ParkerStore อนาไลติคอล แอนด คอนโทรล เทคโนโลยี สาขา อ.มาบตาพุด 2 จ.ระยอง โทร (038) 607-747
• ParkerStore เคพีเอส เทค สาขา อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โทร (02) 995-8305
• ParkerStore ปารคเกอร สโตร ภูเก็ต สาขา จ.ภูเก็ต โทร (076) 238-665
• ParkerStore เอเอ็นเอส ไฮโดรนิวแมติค สาขา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ โทร (02) 750-6657
• ParkerStore บลู ซี มารีน เอเชีย สาขา พัทยา จ.ชลบุรี โทร (038) 237-730
• ParkerStore ยัวร เอ็นจิเนีย เฟล็กซ แอนด ฟตติ้ง สาขา พระราม 2 จ.สมุทรสาคร โทร (034) 458-030
• ParkerStore ดอมนิค ฮันเตอรอารแอล (ประเทศไทย) สาขา พัทยา จ.ชลบุรี โทร (038) 377-791 สาขา นวนคร จ.ปทุมธานี โทร (02) 520-4545 สาขา โรจนะ จ.อยุธยา โทร (035) 745-654
• ParkerStore เทอรมินอล แมชชีนเวิรค สาขา อ.เมือง จ.โคราช โทร (044) 289-482 สาขา อ.กบินทรบุรี จ.ปราจีนบุรี โทร (037) 282-001
SUPPLIER OCTOBER INDEX 2014
หน้า
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
ข้อมูลบริษัท
1, 15, 30-33
กลอบอลซีล บจก.
0-2591-5256-7
www.globalseal.co.th
กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร
2
โฮฟ คออินดัส บจก.
0-2284-1100
www.hofcorindus.co.th
Hof Hydraulic สินค้าไทย มาตรฐานโลก
ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.
0-2369-2990-4
www.cgsreboardthai.com
“New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board”
4
จีทีซี บจก.
0-2651-5551
www.getece.com
“COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENTS FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED รถยก รถลาก และอุปกรณ์ขนย้าย คลอบคลุมทุกความต้องการในอุตสาหกรรม”
5
ซีลลิค สเตเบิล เซอร์วิส บจก.
0-2616-7766-9
www.silic.co.th
บุคลากรมีความรู้ ควบคู่เครื่องมือทันสมัย พัฒนาสินค้ากว้างไกล เข้าถึงและใส่ใจบริการ
6
คอปโก้ เคมเทค บจก.
0-2171-5391-2
www.copcochemtech.co.th
ผู้เชี่ยวชาญด้านปั้มอุตสาหกรรม, อาหาร, ยา, เคมีคอล, ของกินของใช้ ยี่ห้อ WILDEN, MOUVEX, QUATTRO FLOW, JUNG
ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2910-9728-29
www.tat.co.th
Technological Solutions For You
3, 34-37
7, 68-69 8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
โปรชอป เซนเตอร์ บจก.
0-2181-2317
www.ProshopThai.com
ผู้น�าเข้าอุปกรณ์ท�าความสะอาดอับดับ 1 ของโลกจากประเทศเยอรมัน
10
ยูไนเต็ด แอร์เพาเวอร์ บจก.
0-2746-2534
iieth@truemail.co.th
เพาเวอร์ซีสเต็ม เครื่องอัดลม เครื่องท�าลมแห้ง เครื่องกรองลมให้สะอาด อีกหนึ่ง ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงจากกลุ่มประเทศยุโรป ประเทศอิตาลี
11
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
www.inb.co.th
ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
12
ทีเอชเค บจก.
0-2751-3001
www.thk.com/th
ASEAN Customer Support
13
ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ บจก.
0-2693-2090-4
www.hitachi-sunway-is.com
Hitachi Sunway... End To End PLM Solutions Provider
17
บีทีที ยูไนเต็ด บจก.
0-2586-8733
www.BTTunited.com
จ�าหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�่าครบวงจร
19
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักรและ เครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก
21
โลจิสติกส์ มาร์ท บจก.
0-2751-1466
www.logisticsmart.net
Smart Solutions Smile Services, Material Handling & Industrial Equipment, One Stop Service for Logistics Solution Equipment
22
อินโนเวชั่น กรุ๊ป (ประเทศไทย) บจก.
0-2375-5197
www.elastomer-polymer.com “Innovation Group“Polymer Technology Solutions Provider”
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6
www.powerade.co.th
25
0-2613-9166-71
Electrical & Energy Solutions
เมอซ์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2328-6674-6
phornsak@merz-thailand.com Built to last technology
27, 50-51
อิปรอสส์ คอร์ปอเรชั่น บจก.
0-2612-7342
http://thai.tech-dir.com/th
29
วินแซนซ์ อินดัสตรีส์ บจก.
0-2346-5151
www.winchance.co.th
ผู้น�าเข้าและจัดจ�าหน่าย อุปกรณ์ไฟฟ้าโรงงาน และอุปกรณ์นิวเมติก
39
คอมโพแม็ก บจก.
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี
41
เมนเนเคส บจก.
0-2741-5266
www.MENNEKES.de
MENNEKES’s slogan is “ Plugs for the world”
47
โกลบอลโฟลเทค บจก.
0-2754-4702
www.gft.co.th
ตัวแทนจ�าหน่าย อุปกรณ์นิวเมติกแบรนด์ AirTAC ของแท้ ได้รับการแต่งตั้งจาก บริษัทแม่ที่ประเทศไต้หวัน สินค้าทุกชิ้นรับประกันจากโรงงานผลิตโดยตรง
48, 67
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์ ปั้มน�้า พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย
49
อีโนวา ออโตเมชั่น บจก.
0-2967-1379
www.enova-automation.com
Leader in IPP/SPP Package Approach, Leader in Grid Code - VSPP
เอพีที กรุ๊ป บจก.
0-2757-8222-5
www.aptgroup.co.th
ตัวแทนจ�าหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคทรอนิคส์ ฟิวส์ ไดโอด ไทริสเตอร์ คาปาซิเตอร์ รีซิสเตอร์ ไอจีบีที โพเทนชั่นมิตเตอร์ และอุปกรณ์ป้องกันไฟกระชาก มาตรฐานสากล
57
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
www.amda.co.th
Autonics Sensors & Controllers
58-59
แลงเซส บจก.
065-6725-5814
mark.seah@lanxess.com
เทคโนโลยีอันก้าวล�้าเพื่อน�้าบริสุทธิ์
52-56
คราสส์เทค บจก.
0-2732-1144
www.krasstec.com
ตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม ประเภทเครื่องจักร และอุปกรณ์ เทคโนโลยีต่างๆ รวมกว่า 30 แบรนด์
107
ไทยโพลิเมอร์ ซัพพลาย บจก.
0-2750-4852-8
www.thaipolymer.co.th
ผู้น�าในด้านพลาสติกวิศวกรรม ผลิตชิ้นส่วนพลาสติก งานสั่งท�า ด้วยเครื่องจักรที่ทัน สมัย และ ประสบการณ์ด้านสินค้าและบริการ มากกว่า 30 ปี
113
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8
sales@magna.co.th
Pressure Gauges : Nuovo Fima, Gas springs : Bansbach
114
ไทโค พูวา บจก.
0-2599-2471-4
www.thaikogroup.com
สินค้าไทย รักไทย มาตรฐานสากล
115
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888
www.crm.co.th
ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและ ทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
116
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
0-2721-1801-8
www.alphac.co.th
Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
65, 72-74
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�าขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�าถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว
20 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เหมาะสำหรับคลังอะไหล คลังยา เวชระเบียน เครื่องมือ (Tooling) โมลดแมพิมพ และอื่นๆ
รับออกแบบ ติดตั้งระบบจัดเก็บแบบ Vertical Storage System BY Hanel (Germany)
- ประหยัดพื้นที่การจัดเก็บ - สะดวก หางาย - ปลอดภัย ปองกันการสูญหาย - รองรับระบบ Inventory Control - สามารถเชื่อมตอขอมูลกับระบบคอมพิวเตอร
LOGISTICS MART CO., LTD. 59/1 Moo. 9 Bangwua Bangpakong Chachoengsao 24180 Tel : 0-2751-1466 Fax : 0-2751-1561 Info Center : 089-001-9001 E-mail : sales_lgm@suteegroup.com Website : www.logisticsmart.net
HOTLINE rungrudee@suteegroup.com 081-936-5006 suradit@suteegroup.com 081-684-1062
SITUATION OCTOBER 2014
กรมโรงงานอุตสาหกรรมผุด…
โครงการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
กสอ. เปิดตัวต้นแบบ ฟู้ดส์วัลเลย์ไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดตัวโครงการไทยแลนด์ฟู้ดส์วัลเลย์ (Thailand Food Valley) น�าร่องพื้นที่ภาคเหนือเป็นแห่งแรก เนื่องจากมี ความพร้อมในเรื่องวัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ์ ผู้ประกอบการมี ศักยภาพที่เข้มแข็ง รวมถึงมีองค์ความรู้และงานวิจัยต่างๆ จากสถาบันการศึกษาในพืน้ ที่ นอกจากนีย้ งั มีโรงงานส่งออก อาหารแปรรูปกว่า 500 โรงงาน ซึง่ ช่วยผลักดันให้ภาคเหนือ เป็นแหล่งผลิตอาหารที่ดีที่สุด และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับผลผลิตจากภาคการเกษตร รวมถึงธุรกิจอาหารได้ อย่างไรก็ตาม เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมผูป้ ระกอบ การสูก่ ารเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ได้มกี ารรวมกลุม่ เป็น เครือข่ายผูป้ ระกอบการในพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอนบน จ�านวนกว่า 200 ราย อาทิ เครือข่ายผูป้ ระกอบการชาอินทรีย์ ดอยแม่สลอง ทีม่ ศี กั ยภาพในการผลิตชาอินทรียท์ มี่ คี ณ ุ ภาพในล�าดับต้นๆ ของ เอเชีย เนือ่ งด้วยกรรมวิธใี นการผลิตทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม และ ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภคเป็นส�าคัญ โดยการใช้ปยุ๋ ชีวภาพ บ�ารุงดินแทนการใช้สารเคมี นอกจากนี้โครงการดังกล่าวยังช่วยผู้ประกอบด้วย การลดต้นทุนในการผลิต รวมทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ กับชาอินทรีย์ได้กว่า 10 เท่า เมื่อเทียบกับการปลูกชาแบบ ใช้สารเคมี ส่งผลให้ชาอินทรีย์จากดอยแม่สลองได้รับการ รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จาก USDA สหรัฐอเมริกา และ EU รวมถึ ง โรงงานผลิ ต ชาอิ น ทรี ย ์ ที่ ไ ด้ รั บ มาตรฐาน GMP จากหน่วยงานทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับ สากลอย่าง OneCert Asia ส่งผลให้ชาอินทรีย์จากดอย แม่สลอง เป็นที่รู้จักและยอมรับในกลุ่มลูกค้าทั้งในและต่าง ประเทศ ซึ่ ง ถื อ เป็ น โครงการที่ ป ระสบความส� า เร็ จ และ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์อาหารได้ไม่ต�่ากว่า ร้อยละ 5-10 24 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คุ ณ ศั ก ดา พั น ธุ ์ ก ล้ า รองอธิ บ ดี ก รมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวเปิด โครงการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่จังหวัดระยองโดยระบุ ว่า พืน้ ทีจ่ งั หวัดระยองนับว่า เป็นจังหวัดทีม่ ภี าคอุตสาหกรรม หนาแน่น และเป็นพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะ ทางทะเลที่สวยงาม ดังนั้นภาครัฐ จึงได้ให้ความส�าคัญกับ การแก้ไขปัญหาภาคอุตสาหกรรมทีเ่ กิดขึน้ ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่เน้นการบริหาร จัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า หมุนเวียนการใช้ของเสีย กลับมาเป็นทรัพยากรและลดการเกิดของเสีย โดยใช้เทคโนโลยี สะอาด ส่งเสริมให้มกี ารแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารและความ ร่วมมือกันระหว่างโรงงาน ชุมชนและภาครัฐ เพื่อเป็นการ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ประเทศและปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ภาคอุ ต สาหกรรม จึ ง ได้ ก� า หนดนโยบายพั ฒ นาเมื อ ง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) ซึง่ เป็นการ พัฒนาเศรษฐกิจของทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคชุมชน
ควบคูก่ บั การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดย ค�านึงถึงการด�ารงอยูข่ องวิถสี งั คมและวัฒนธรรมให้อยูอ่ ย่าง ปกติสุขและยั่งยืน ส�าหรับจังหวัดระยองนั้น เป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นพื้นที่ อุตสาหกรรมที่มีความส�าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็น อย่างมาก แต่ก็มีบางส่วนที่ยังก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางด้าน สิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คม ประชาชนในพื้ น ที่ ยั ง ขาดความ สัมพันธ์อันดีและขาดความไว้วางใจกับผู้ประกอบการจน ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของภาคอุตสาหกรรมโดยรวม จังหวัด ระยองจึ ง เป็ น เป้ า หมายที่ ส� า คั ญ ของกรมโรงงาน อุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะต้องร่วมมือ พัฒนาภาคอุตสาหกรรม เข้าสู่ความเป็นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ซึ่งเป็นแนวทางที่จะส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรม และภาคชุมชน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข เป็นพื้น ฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถแข่งขัน กับตลาดโลกได้อย่างยั่งยืน
สมาคมการพิมพ์ไทยจัดงานมอบรางวัล 9 Thai Print Awards th
การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 9 หรือ 9th Thai Print Awards ซึง่ จัดขึน้ ภายใต้แนวความคิด ‘360 The Supremacy in Print’ ของสมาคมการพิมพ์ไทยประสบความส�าเร็จอย่างสูง หลังได้รบั การตอบรับจากกลุม่ ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมการ พิมพ์ทวั่ ประเทศทีส่ ง่ ผลงานสิง่ พิมพ์เข้าร่วมการประกวดอย่าง มากมาย เชือ่ กระตุน้ อุตสาหกรรมการพิมพ์ให้เกิดการพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ ง พร้อมทัง้ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกับ ประเทศอืน่ ๆ ทัว่ โลก โดยได้รบั รางวัลชนะเลิศระดับเอเชียหลาย ปีตดิ ต่อกันเป็นเครือ่ งยืนยัน นายวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัดงานการ ประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 9 กล่าวว่า การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติของสมาคมการพิมพ์ไทยในปีที่ 9 นีย้ งั คงได้รบั การ ตอบรับจากผูป้ ระกอบการสิง่ พิมพ์ในประเทศไทยส่งผลงานเข้า ร่วมประกวดอย่างต่อเนือ่ ง และมีจา� นวนเพิม่ มากขึน้ ทุกปีรวม ถึงในปีนที้ ที่ า� ลายสถิตทิ ผี่ า่ นมาทัง้ หมด ซึ่งไม่เพียงแสดงถึง ความกระตือรือร้นที่ต้องการพัฒนาศักยภาพทางด้านการ พิมพ์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจการพิมพ์ในประเทศไทย
เท่านั้น แต่ยังหมายถึงงานพิมพ์ที่มีคุณภาพเทียบเท่าหรือดี กว่าประเทศชัน้ น�าอืน่ ๆ ในภูมภิ าคอาเซียน ซึง่ จะเห็นได้จาก การทีป่ ระเทศไทยได้รบั เหรียญทองมากเป็นอันดับหนึง่ ในการ จัดการประกวด Asian Print Awards หลายปีตดิ ต่อกัน เป็นสิง่ ทีย่ นื ยันได้วา่ ขณะนีค้ ณ ุ ภาพการพิมพ์ของโรงพิมพ์ใน ประเทศไทยมีความก้าวหน้าทัดเทียมกับประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว ผลรางวัลการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 มี จ�านวนทัง้ หมด 89 รางวัล ล้วนเป็นชิน้ งานทีม่ คี วามโดดเด่น ทั้งทางด้านคุณภาพการพิมพ์ ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึง การให้ความส�าคัญต่อการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ซึง่ ในปีนี้ ทาง สมาคมการพิมพ์ไทย ได้จัดรางวัลพิเศษขึ้นเพื่อสร้างความ ตื่นตัวให้กับอุตสาหกรรมการพิมพ์ ให้ตระหนักถึงความ จ� า เป็ น ในการช่ ว ยดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มและแก้ ป ั ญ หา มลภาวะ จึงเป็นทีม่ าของแนวความคิด ‘360 The Supremacy in Print’ ซึง่ ผลการตัดสินได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของโรงพิมพ์ ในประเทศไทยล้วนเป็นบริษทั ทีส่ ามารถผลิตชิน้ งานได้อย่าง คุณภาพดีเยีย่ มควบคูไ่ ปกับการพัฒนานวัตกรรมระดับสากล
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
COMMUNITY OCTOBER UPDATE 2014
แคเรียร์… ส่งเครื่องปรับ
อากาศ รุ่น CURIYT บุกตลาด คุณอดิศักดิ์ รัมมณีย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แคเรียร์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ร่วมกับ คุณวรเศรษฐ์ ตันติศิริวัฒน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บี.กริม แคเรียร์ (ประเทศไทย) จ�ากัด และ นายจิตติ คงสุเทพศิร ิ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป โดยมี ตู ่ ภพธร สุนทรญาณกิจ พรีเซ็นเตอร์แอร์แคเรียร์ ร่วมกันเปิดตัวเครือ่ ง ปรับอากาศ ‘แคร์เรียร์ รุ่น CURITY’ แอร์ประหยัดพลังงาน ทรงประสิทธิภาพทีใ่ ช้สารท�าความเย็น R-410 ซึง่ มีคุณสมบัติ ไม่ท�าลายโอโซน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้รับการ รับรองมาตรฐานประหยัดไฟ เบอร์ 5 โดยมีแขก ผู้มีเกียรติ และดีดเลอร์ ทั่วประเทศเข้าร่วมงานอย่างคับคั่ง
‘Technical Training Engineering in Industry’ by Global Seal 2014
เมื่อปลายเดือนสิงหาคม 2557 ที่ผ่านมา บริษัท กลอบอลซีล จ�ากัด จัดการอบรมเชิงเทคนิค ในหัวข้อเกีย่ วกับ Ceramic Coating เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักร และสามารถประหยัดในเรื่อง ของค่าใช้จ่ายและเวลา โดยมีคุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ ผู้เชี่ยวชาญด้าน วิศวกรรมสารเคลือบผิว เป็นวิทยากรในการบรรยาย บริษัทฯ ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน ที่ให้เกียรติมารับ ฟังการบรรยายเชิงเทคนิคในครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัด สัมมนาในครัง้ นี ้ ผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาทุกท่านสามารถน�าความรูจ้ ากการ อบรม ไปเพิ่มประสิทธิภาพในการท�างานในองค์กรของท่านต่อไป
PULIRE Asia Pacific/BMAM Expo Asia/ GBR Expo Asia 2014
บริษัทอิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเม้นท์ จ�ากัด ร่วมกับ สมาคมผู้ผลิตอุปกรณ์ท�าความสะอาดประเทศอิตาลี (AFIDAMP) จัดงานแสดงสินค้าและการประชุม BMAM Expo Asia 2014, GBR Expo Asia 2014 และ Pulire Asia Pacific 2014 สุดยอด งานแสดงสินค้าส�าหรับอาคาร โรงงาน และการท�าความสะอาด พร้อมระดมผูซ้ อื้ -ผูข้ าย นักธุรกิจ และกูรูจากทั่วโลกร่วมงานคับคั่ง ร่วมแสดงสินค้า นวัตกรรม บริการ และสัมมนา หวังยกระดับ อุตสาหกรรมการท�าความสะอาด การบริหารทรัพยากรอาคาร และ การปลูกสร้างอาคารเขียวของไทย เตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ตั้งเป้าเป็นงานแสดงสินค้าส�าหรับอาคาร โรงงาน และการท�าความสะอาดอันดับหนึ่งในภูมิภาคเอเชียมีผู้เข้า
เมทัลเล็กซ์ 2014 ภายใต้แนวคิด ‘ความภาคภูมใิ จแห่งอาเซียน ปรับเปลีย่ น มิตแิ ห่งการผลิต’ ท่านและนักอุตสาหกรรมอีกร่วม 70,000 รายจะได้พบกับ หลากหลายวิธีการในการยกระดับการผลิตจากการแสดงนวัตกรรมและ เทคโนโลยีใหม่ๆ กว่า 4,000 รายการ จากกว่า 2,700 แบรนด์จาก 50 ประเทศ และ รวมถึง 9 พาวิเลียนนานาชาติ นีน่ บั เป็นเวทีอนั ดับหนึง่ ทีผ่ นู้ า� เสนอเทคโนโลยีหลายรายเลือกให้เป็นเวทีในการเปิดตัวนวัตกรรมครั้งแรก ในอาเซียนและประเทศไทย ไม่ควรพลาดกับการสัมมนาสองรายการหลักทีจ่ ะให้ความรูด้ า้ นกลยุทธ์ ทางธุรกิจ และการพัฒนาความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมแก่ผู้เข้าสัมมนา อันได้แก่ ‘เมทัลเล็กซ์ คองเกรส’ ‘เมทัลเล็กซ์ นาโน ฟอรัม’ และ ‘เมทัลเลอร์จี้ ฟอรัม’ มารับองค์ความรูใ้ หม่ๆ ตลอดจนกรณีศกึ ษาทีด่ ที สี่ ดุ จากผูเ้ ชีย่ วชาญ ในวงการ พร้อมกับท�าความรู้จักกับว่าที่พันธมิตรทางธุรกิจรายใหม่ๆ โดย เลือกจากหัวข้อสัมมนาทีท่ า่ นสนใจ ซึง่ ล้วนได้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงาน และสมาคมทีเ่ ป็นทีย่ อมรับในระดับสากล พบได้ทงี่ าน METALEX 2014 19-22 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา 28 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ยกระดับความภาคภูมิใจ แห่งอาเซียน
ซาโต้จบั มือกรีนเวิลด์ จัดงาน ‘Information Technology in Modern Logistics and Supply Chain Management’
บริษัท ซาโต้ ออโต้-ไอดี (ประเทศไทย) จ�ากัด หนึ่งใน บริษัทเครือ ข่ายของบริษัท ซาโต้ ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตชัน้ น�าในประเทศญีป่ นุ่ ทีย่ งั เป็น ผู้ บุกเบิกและผู้ให้บริการชั้นน�า ระดั บโลกในระบบอั ต โนมั ติ (Automatic Identification) แบบครบวงจร โดยสินค้าหลัก จะประกอบด้วย เครือ่ งพิมพ์บาร์โค้ด ทัง้ แบบ Direct Thermal และ Thermal Transfer เครือ่ งลอกลาเบลอัตโนมัต ิ และลา เบลหรือฉลากผลิตภัณฑ์หลากหลายประเภท ซึง่ ได้จบั มือกับ บริษทั กรีนเวิลด์ พับลิเคชัน่ จ�ากัด ผูน้ ติ ยสารอุตสาหกรรมที่ เน้นส่งเสริมนักธุรกิจ นักลงทุน และผูป้ ระกอบการภาคธุรกิจ อุ ต สาหกรรมทั้ ง ในและต่ า ง ประเทศได้จดั งานสัมมนาและงาน แสดงสินค้าเพื่อผู้ประกอบการ ภายใต้ หั ว ข้ อ ‘Information Technology in Modern Logistics and Supply Chain Management’ งานสัมมนาในครัง้ ได้รบั เกียรติจากอาจารย์วชิ ยั ไชยมี และอาจารย์บุญลืม บุญคง วิศวกรที่ปรึกษา Modern Manufacturing Section, Machinery and Automation System Center, Thai-German Institute บรรยายช่วงเช้า ในหัวข้อ ‘Information Technology in Modern Logistics and Supply Chain Management’ ส�าหรับช่วงบ่ายได้รบั เกียรติ Mr.Mannitorn Pathamakajornphong Sale Manager บริษทั ซาโต้ ออโต้-ไอดี (ประเทศไทย) จ�ากัด บรรยายในหัวข้อ ‘Barcode & Labeling for Industrial Application ในปัจจุบนั ’ ซึง่ ผูเ้ ข้าสัมมนาได้ให้ความสนใจเป็น พิเศษ
อินเตอร์ลิงค์จัดงาน ‘Link Rack’ ผ่านไปแล้วกับงานสัมมนา ‘Link Rack’ ซึง่ ทางบริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) ผูน้ า� ด้านธุรกิจสายสัญญาณสือ่ สารคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคมของ ประเทศไทย ได้ไปมอบความรู้และ Update เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดของ Link Rack โดย งานสัมมนานีน้ บั ว่าเป็นอีกหนึง่ งานทีท่ กุ คนต่างให้ความสนใจและเข้าร่วมงานเป็นจ�านวน มาก ภายในงานมีลดราคาต�่ากว่าทุนสูงสุดถึง 40% มีการจัดกิจกรรมแจก Samsung Galaxy Tab มูลค่ากว่า 40,000 บาท พร้อมทั้งแจกของรางวัลอื่นๆ อีกมากมาย อาทิ เช่น ร่มกันฝนสุดจี๊ด, กระเป๋าเดินทาง ฯลฯ ปิดท้ายด้วย Mini Concert และอาหาร นานาชนิดสุดแสนอร่อย เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา ณ Crystal Design Center (CDC) รามอินทรา ห้อง Crystal Ballroom
บริษัท วินแชนซ อินดัสตรีส จำกัด ผูนำเขา - อุปกรณ ระบบไฟฟาโรงงาน - อุปกรณ ระบบนิวเมติกขอตอและวาลวตางๆ - อุปกรณ ระบบออโตเมชั่น (SENSOR) - อุปกรณ ระบบตรวจวัดและระบบคอนโทรลทุกชนิด - อุปกรณ ระบบไอน้ำ ดิชสตรีมแทรป วายเสตนเนอร - วาลวเซฟตี้ วาลวประเภทตางๆ - ATS - ระบบเครื่องกรองน้ำและไสกรองทุกชนิด - เพาเวอรอินเวอรเตอร STEP UP, STEP DOWN
ติดตอขอรับ catalog เลมใหม 2014-2015 ไดตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2014 เปนตนไป
กรณีที่ติดตอใหแจง Volume และ NO. ของหนังสือ Modern จะไดรับสวนลดพิเศษ
วสท. จัดแถลงข่าวการจัดงาน
‘วิศวกรม’ 57
เมื่อวันที่ 24 กันยายนที่ผ่านมา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) จัดแถลงข่าว การจัดงาน วิศวกรรม’57 งานประชุมวิชาการระดับ นานาชาติ งานแสดงสินค้าและนิทรรศการนวัตกรรมด้านวิศวกรรมยิง่ ใหญ่ละทันสมัย ที่สุดแห่งปี ภายใต้แนวคิด ‘วิศวกรรมส�าหรับอนาคต’ เพื่อเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ ยกระดับวิชาชีพและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่เยาวชนรุน่ ใหม่ พบกับไฮไลต์ภายในงาน มากมาย อาทิ การเปิดตัวหุ่นยนต์ดินสอ เวอร์ชั่น 3.1 ที่ถูกพัฒนามาเพื่อช่วยเหลือผู้ สูงอายุและใช้ในงานด้านการแพทย์ จากบริษัท ซีที โรโบติกส์ ผู้ผลิตและพัฒนาหุ่น ยนต์บริการเชิงพาณิชย์รายแรกและรายเดียวของประเทศไทย ชมนิทรรศการชุด ‘บ้านอัจฉริยะ เมืองแห่งอนาคต’ รวมทั้งบริการให้ค�าปรึกษาเรื่องการสร้างบ้านจาก ‘คลินิกช่าง’ เป็นต้น งานวิศวกรรม’57 จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 27 – 30 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
บริษัท วินแชนซ อินดัสตรีส จำกัด (สำนักงานใหญ)
109/39 หมุที่ 21 ถนน บางพลี-ตำหรุ ต.บางพลีใหญ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 Tel : 02-173-4512-20 | Fax : 02-173-4521-22 | Website : www.thaieee.com
COVER STORY
กลอบอลซีลโชว์ความเหนือชั้นด้วย “นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ” ยืนหยัดความเป็นผู้น�าด้วยผลิตภัณฑ์และการบริการ... คุณภาพเกินร้อย
กลอบอลซีลโชว์ความเหนือชั้นด้วย
นวัตกรรม การเคลื อ บผิ ว โลหะ ยืนหยัดความเป็นผู้น�าด้วยผลิตภัณฑ์ และการบริการ... คุณภาพเกินร้อย 30 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อุตสาหกรรมชุบเคลือบผิวใน ประเทศไทยเป็นอุตสาหกรรมที่ ก�าลังเติบโตและมีบทบาทส�าคัญใน การส่งเสริมความก้าวหน้าของ อุตสาหกรรมหลักของประเทศและ ภูมิภาค ซึ่งได้แก่ อุตสาหกรรม ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ก่อสร้าง และอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น โดยปัจจุบัน แนวโน้มการพัฒนาของ อุตสาหกรรมดังกล่าวก�าลัง มุ่งเน้นในเรื่องของการผลิตที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม การลด ปริมาณของเสียในผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผิวชุบเคลือบที่มี คุณสมบัติพิเศษ ดังนั้น การวิจัย และพัฒนารวมถึงการสร้างสรรค์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ จึงเป็นความจ�าเป็นอย่างยิ่งของ อุตสาหกรรมทั้งในปัจจุบันและ อนาคต
กลอบอลซีลโชว์ความเหนือชั้นด้วย “นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ” ยืนหยัดความเป็นผู้น�าด้วยผลิตภัณฑ์และการบริการ... คุณภาพเกินร้อย
COVER STORY
บริษัท กลอบอลซีล จ�ำกัด เป็น บริษัทชั้นน�าซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ทางด้าน สารเคลือบผิวโลหะใน ระดับแนวหน้า ของประเทศ ได้น�า นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ เข้ามาส่งเสริมการขับเคลื่อนให้ อุตสาหกรรมทุกแขนงที่เกี่ยวข้อง ให้มีการเติบโตต่อไป คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท กลอบอลซีล จ�ากัด
กลอบอลซีล... เส้นทางความส�าเร็จในวงการอุตสาหกรรม
คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท กลอบอลซีล จ�ากัด กล่าวถึงนโยบายหลักของบริษทั ฯ ในการ ด�าเนินธุรกิจว่า บริษทั ฯ ด�าเนินธุรกิจด้านการผลิต งานขาย รวมถึงงานซ่อมบ�ารุงสินค้าประเภทต่างๆ อาทิ ปัม๊ ปิโตรเคมี กระบอกไฮดรอลิก นิวแมติกส์ และซีลชนิดต่างๆ ให้แก่ภาค อุ ต สาหกรรมทุ ก แขนงภายใต้ แ บรนด์ ชั้ น น� า ระดั บ โลก นอกจากธุรกิจด้านการจ�าหน่ายสินค้าแล้ว บริษทั ฯ ยังได้นา� สินค้าเข้ามาเสริมทัพให้กับด้านงานบริการทั้งรับซ่อมแซม สร้าง และการเคลือบผิวโลหะอุปกรณ์ชนิ้ ส่วนของเครือ่ งจักร และบริษัทฯ ยังมีทีมวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน คอยให้ค�าปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ โดยที่ ผ ่ า นมาบริ ษั ท ฯ ได้ เ ชิ ญ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ เกี่ยวข้อง อาทิ บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) การไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย เป็นต้น เพือ่ ให้เข้าร่วมฟังการสัมมนา เรือ่ งนวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ ซึง่ นวัตกรรมดังกล่าวนัน้ มีประโยชน์กับลูกค้าทั้งในปัจจุบันและอนาคต “ด้วยความมุ่งมั่นในการเป็นผู้น�า เราพร้อมให้ค�ามั่นว่า เราจะไม่หยุดยัง้ ในการพัฒนาศักยภาพความพร้อมในทุกด้าน เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของภาคอุ ต สาหกรรมและจะขั บ เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยให้เติบโตไปพร้อมกัน” คุณชาลิตติกล่าว คุณชาลิตติ กล่าวต่อถึงการขยายตลาดเพื่อให้เหมาะ กับสถานการณ์ปัจจุบันว่า ที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการ
ก่อสร้างโรงงาน โรงกลั่นน�้ามัน โรงงานปิโตรเคมี เป็นต้น การติดตัง้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ในโรงงานเป็นเวลา 30-40 ปี ซึ่งจะเห็นได้ว่าเครื่องจักรมีการใช้งานอย่างต่อเนื่อง โดย จะต้องผ่านสภาพแวดล้อมทางอากาศและสารเคมีตา่ งๆ ใน โรงงาน จึงส่งผลให้อุปกรณ์ ชิ้นส่วนของเครื่องจักรเกิดการ ผุกร่อน การกัดกร่อนจากสารเคมีทั้งภายนอกและภายใน ของเครื่องจักร เสื่อมสภาพตามกาลเวลา ด้วยปัจจัยที่กล่าวในข้างต้น ทางบริษัทฯ จึงได้น�า นวั ต กรรมการเคลื อ บผิ ว โลหะมาใช้ กั บ เครื่ อ งจั ก รและ อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการยืดอายุการใช้งาน และลดต้นทุนการซื้อเครื่องจักรใหม่ เนื่องจากการสั่งซื้อ เครื่ อ งจั ก รใหม่ จ ะท� า ให้ เ สี ย เวลาในการท� า งาน ทั้ ง นี้ นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะยังช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถได้ รั บ ประโยชน์ ทั้ ง การฟื ้ น ฟู การปรั บ ปรุ ง สภาพผิ ว ของ เครื่องจักร รวมถึงชิ้นส่วนที่ส�าคัญของเครื่องจักรด้วย
‘นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ’ เสริมทัพวงการอุตสาหกรรม
คุณชาลิตติ กล่าวต่อว่า บริษัทฯ เป็นผู้แทนจ�าหน่าย สินค้าหลากหลายประเภท อาทิ ปั๊มปิโตรเคมี กระบอก ไฮดรอลิก รวมถึงนวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ ซึ่งถือเป็น นวัตกรรมใหม่ที่สามารถเข้ามาช่วยเสริมคุณภาพงานด้าน การซ่อมปัม๊ และอุปกรณ์เครือ่ งจักรทีม่ ผี วิ ผุกร่อน ทรุดโทรม และจะช่วยป้องกันการเกิดความเสียหาย พร้อมทั้งยืดอายุ การใช้งานให้กับอุปกรณ์ต่างๆ
ตัวอย่างงานเคลือบผิวโลหะ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
31
COVER STORY
กลอบอลซีลโชว์ความเหนือชั้นด้วย “นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ” ยืนหยัดความเป็นผู้น�าด้วยผลิตภัณฑ์และการบริการ... คุณภาพเกินร้อย
นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ คือ นวัตกรรมการเคลือบ ผิวชิ้นงานด้วยสารโพลีเมอร์ เซรามิค และตัวยึดเกาะ เพื่อ ป้องกันการกัดกร่อน หรือเพิ่มความทนทานการสึกหรอให้ กับชิ้นงานได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ ชิ้นงานในงานอุตสาหกรรม เกือบทุกประเภท รวมถึงชิน้ งานทีเ่ ราพบเห็นในชีวติ ประจ�าวัน สามารถใช้นวัตกรรมการเคลือบผิวได้ทั้งสิ้น เช่น ปั๊มน�้าปั๊ม น�้าหล่อเย็น ปั๊มสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม Screw Conveyor Tank และพื้นผิวทุกชนิดที่เป็นโลหะ เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทฯ มีจุดเด่นด้วยการเลือกผลิตภัณฑ์ให้ เหมาะสมกับการใช้งานของชิ้นส่วนของเครื่องจักร เช่น เครื่องจักรที่ต้องทนต่อแรงกระแทก หรือการกัดกร่อนของ สารเคมี ทาง บริษทั ฯ ก็จะเลือกผลิตภัณฑ์เพือ่ ตอบโจทย์ตอ่ ความต้องการนั้นๆ ให้กับลูกค้าได้เช่นกัน บริษัทฯ ยังเน้นย�้า และให้ความส�าคัญเป็นอย่างมากใน การเตรียมผิวก่อนเคลือบชิน้ งาน เนือ่ งจากการเคลือบชิน้ งาน จะมีความซับซ้อน รวมทั้งชนิดของพื้นผิวก็มีหลากหลาย ประเภท อาทิ ถ้าเป็นผิวไม่ดีไม่ว่าจะเป็นผิวที่มีความชื้น ความหยาบ ความสะอาดไม่เพียงพอก็จะท�าให้สารที่เข้าไป ยึดเกาะครั้งแรกจะมีคุณภาพไม่ดีไปด้วย แต่หากมีผิวที่ได้ คุณภาพไม่มีสิ่งเจือปนและมีความหยาบที่เหมาะสมก็จะส่ง ผลให้สารเข้าไปยึดเกาะ และสามารถเคลือบผิวได้ดี
นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ มากด้วยคุณประโยชน์
คุ ณ ชาลิ ต ติ กล่ า วต่ อ ถึ ง คุ ณ ประโยชน์ ส� า หรั บ การ เคลือบผิวโลหะ ว่า 1. ช่วยป้องกันการสึกกร่อนจากสารเคมี พร้อมยืดอายุ การใช้งานของเครื่องจักรได้ 2. ช่วยเพิม่ อัตราการไหลของเหลวในปัม๊ รวมทัง้ ช่วยลด แรงเสียดทานการไหล 3. ช่วยลดต้นทุนในการซื้อชิ้นส่วนของเครื่องจักรใหม่ อาทิ กรณีทตี่ อ้ งสัง่ ซือ้ ชิน้ ส่วนเครือ่ งจักรใหม่นนั้ ส่งผล ให้ตอ้ งใช้ระยะเวลานาน ซึง่ จะส่งผลเสียต่อไลน์การผลิต ฉะนั้น การน�าชิ้นส่วนเก่ามาบูรณะซ่อมแซมด้วยการ เคลือบผิวโลหะก็จะท�าให้ชิ้นส่วนของเครื่องจักรกลับ มาใช้งานได้ใกล้เคียงกับของเดิม 4. สารเคลือบผิวโลหะสามารถทนต่อแรงกระแทก การ ขัดสี รอยขีดข่วนได้ดี ส�าหรับสิ่งที่คุณชาลิตติ กล่าวในข้างต้น ซึ่งถือเป็น ประโยชน์หลักๆ ของนวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะที่เข้ามา มีบทบาทต่อภาคอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก เนื่องจาก นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะในปัจจุบนั สามารถน�ามาใช้กบั เครือ่ งจักร อะไหล่ และอุปการณ์ตา่ งๆ ในโรงงาน อาทิ ปัม๊ น�า้ ปัม๊ หล่อเย็น หรือพืน้ ผิวทุกชนิดทีเ่ ป็นโลหะ เป็นต้น ทัง้ นีก้ าร เคลือบผิวโลหะยังป้องกันการเกิดสนิม การเป็นกรด-ด่าง ใน เครื่องจักรได้อีกด้วย
ก่อนท�า
หลังท�า
คุณสมบัติของนวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ
ส�าหรับคุณสมบัตขิ องสารเคลือบผิวโลหะประกอบด้วย คุณสมบัติดังนี้ คือต้องสามารถยึดเกาะ ไม่หลุดลอกง่าย ทนต่อแรงกระแทก การขัดสี ทนต่อความเป็นกรด-ด่างที่มี การกัดกร่อน และทนอุณหภูมทิ มี่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอด เวลาได้ เนือ่ งจากประเทศไทยนัน้ มีภมู อิ ากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง อยูต่ ลอดเวลา ฉะนัน้ เมือ่ น�าเครือ่ งจักรมาใช้ในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าค่าความชื้นในชั้นบรรยากาศจะมีความแปรผัน มากกว่าต่างประเทศ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อเครือ่ งจักร เช่น การเกิดสนิม การผุกร่อนโดยเฉพาะสินค้าที่ไม่ได้มีการ เคลือบผิวโลหะหรือท�าสีทนเคมี เป็นต้น
32 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ตัวอย่างงานเคลือบผิวก่อนและหลังท�า
กลอบอลซีลโชว์ความเหนือชั้นด้วย “นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะ” ยืนหยัดความเป็นผู้น�าด้วยผลิตภัณฑ์และการบริการ... คุณภาพเกินร้อย
หลักการทางวิศวกรรมที่ประยุกต์ใน อุตสาหกรรม
ส�าหรับหลักการทางวิศวกรรมที่น�ามาประยุกต์ใช้ใน วงการอุตสาหกรรมนั้น บริษัทฯ จะให้ความส�าคัญทั้งงาน สร้าง ซ่อม วิเคราะห์ ตรวจสอบ การวัด การรายงาน การ ตรวจสอบวิเคราะห์สภาพตามหลักฐานทีเ่ กิดขึน้ จาการตรวจ สอบจริงในหน้างาน เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามปัญหาที่เกิด ขึน้ นัน้ วิศวกรต้องชีแ้ จงรายละเอียดข้อมูลอย่างชัดเจน เพือ่ ง่ายต่อการประมวลผลเมือ่ น�ามาวิเคราะห์หาสาเหตุทแี่ ท้จริง “การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องวิศวกรโรงงานก็เปรียบเหมือนกับ หมอซึง่ จะท�าหน้าทีว่ เิ คราะห์ เพือ่ หาสาเหตุการเสียหายของ เครื่องจักร เนื่องจากเครื่องจักรเมื่ออยู่ในไลน์การผลิตจะ มี ห น้ า ที่ ที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไป หรื อ เปรี ย บเหมื อ นระบบ ร่างกายของคนที่มีกระบวนกาท�างานที่แตกต่างกันออกไป เช่นกัน อาทิ ระบบร่างกายของคนมีหัวใจที่ท�าหน้าในการ ปัม๊ เลือดไปหล่อเลีย้ งร่างกาย ถ้าเป็นโรงงานก็เปรียบเสมือน ปั๊มน�้าในโรงงาน ปอดเปรียบเหมือนปั๊มแก๊ส ออกซิเจนก็ เปรียบเหมือนปั๊มลมที่อยู่ในโรงงาน ส่วนตับ ไต เปรียบ เหมือนฟิลเตอร์ท�าหน้าที่คัดกรองของเสียออกเพื่อน�าไป บ�าบัด สมองเปรียบเหมือนห้องควบคุมในโรงงาน เป็นต้น” คุณชาลิตติ กล่าวเสริม
COVER STORY
อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่าโรงงานทั่วโลกจะต้องมี วิ ศ วกร โดยท� า หน้ า ที่ ควบคุ ม ตรวจสอบ ดู แ ลความ เรียบร้อยภายในโรงงาน เพือ่ ไม่ให้เครือ่ งจักรในไลน์เกิดการ สู ญ เสี ย ของการผลิ ต ได้ แต่ ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น หากอะไหล่ ใ น เครื่องจักรเกิดปัญหาส่งผลให้เครื่องจักรไม่สามารถท�างาน ได้ นวัตกรรมการเคลือบผิวโลหะของบริษทั ฯ ก็สามารถตอบ โจทย์ในแง่ของการป้องกันผิว และชิน้ ส่วนของเครือ่ งจักรให้ กับลูกค้าได้เช่นกัน Metalex 2014 นับเป็นมหกรรมงานแสดงอุตสาหกรรม ด้านเครือ่ งจักรและโลหการครัง้ ยิง่ ใหญ่แห่งอาเซียน ซึง่ แน่น ไปด้วยบรรดาผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรแบรนด์ดงั รวมถึง ‘กลอบอล ซีล’ ซึ่งเป็นบริษัทฯ หนึ่งที่ได้น�าสินค้าเข้าร่วมงานในครั้งนี้ โดยทางบริษทั ฯ ได้ยกกองทัพสินค้าพร้อมด้วยนวัตกรรมการ เคลือบผิวโลหะด้วยสารโพลีเมอร์ และเซรามิคมาจัดแสดง ให้ผู้เข้าร่วมงานได้ร่วมชมด้วย นอกจากนี้ยังมีผู้เชี่ยวชาญ คอยให้ค�าปรึกษา ซึ่งหากลูกค้าท่านใดสนใจเรียนเชิญได้ที่ บูธ H535 Hall 105 หรือสามารถติดต่อสอบถามกับ พนักงานได้ คุณชาลิตติกล่าวทิ้งท้าย
“การใช้งานของสารเคลือบผิวโลหะทั่วไปนั้นจะมีอายุ ประมาณ 5 -10 ปี ส่วนโลหะที่มีของเหลวไหลผ่านจะมีอายุ การใช้งาน 3-5 ปี และการเคลือบผิวโลหะสามารถเคลือบ ซ�้าได้ โดยการลอกสารเคลือบเก่าออกก่อน จนกว่าอะไหล่ จะเสื่อมสภาพ แต่อย่างไรก็ตาม อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับ ลักษณะในการใช้งานของเครือ่ งจักรด้วย นอกจากนี้ สารดัง กล่าวยังมีคุณสมบัติท�าให้ผิวลื่น ลดแรงเสียดทาน และที่ ส�าคัญไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและผู้ใช้งานอีกด้วย” คุณชาลิตติกล่าวเสริม
กลอบอลซีล… ให้บริการอย่างครบวงจร
คุณชาลิตติ กล่าวต่อถึงข้อดีจากการใช้ผลิตภัณฑ์ และ บริการของบริษทั ฯ ว่าเนือ่ งจากทีผ่ า่ นมาจะเห็นได้วา่ บริษทั ฯ อืน่ ๆ จะรับการเคลือบผิวโลหะเพียงอย่างเดียว แต่ไม่รบั การ ประกอบ ถอดประกอบ การซ่อมแซมเครือ่ งจักร แต่สา� หรับ บริษทั ฯ จะรับทัง้ งานประกอบ ถอดประกอบ ซ่อมแซม บ�ารุง ปัม๊ และเครือ่ งจักร รวมถึงการบริการรับเคลือบผิวโลหะของ เครื่องจักรนั้น โดยบริการทั้งนอก และในพื้นที่ของโรงงาน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
33
ซี.จี.เอส. มุ่งพัฒนาคีออส INTERVIEW สู่ตลาดนิทรรศการนานาชาติ ภายใต้แนวคิด คุ้มค่า คุ้มใช้ ด้วยเทคโนโลยีสีเขียว
ซี.จี.เอส. มุ่งพัฒนาคีออส
สู่ตลาดนิทรรศการนานาชาติ ภายใต้แนวคิด คุ้มค่า คุ้มใช้ ด้วยเทคโนโลยีสีเขียว
นับตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 จนถึงปัจจุบัน รวมระยะเวลา 2 ปีกว่า ที่บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด ได้ ด�าเนินธุรกิจการผลิตสินค้าจากกระดาษรีบอร์ด ภายใต้แนวคิดการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม โดยมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์มาอย่างต่อเนื่อง ทั้งคุณภาพการผลิต คุณภาพการพิมพ์ ตลอดจน การพัฒนาด้านการออกแบบที่เน้นความคิดสร้างสรรค์เป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าซึ่งมี ความสนใจผลิตภัณฑ์จากกระดาษรีบอร์ดเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
คุณนภดล ไกรฤกษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด
คีออส (Kiosk) เป็นอีกหนึง่ ผลิตผลจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์รีบอร์ด ของ บริษทั ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึง่ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่าง ดี และนับเป็นอีกหนึ่งก้าวของความส�าเร็จของบริษัทฯ โดยความส�าเร็จของบริษัทฯ การันตีได้จากหลากรางวัลที่ได้รับจาก สถาบันต่างๆ ระดับประเทศตลอดระยะการด�าเนินงานที่ผ่านมา และ ล่าสุด จากการประกวด Thai Print Award ครั้งที่ 9 ซึ่งจัดโดยสมาคม การพิมพ์ไทย คีออสของ ซี.จี.เอส. ก็ยังได้รับอีก 2 รางวัล ในประเภทชั้น วางสินค้าแนวใหม่ ได้แก่ รางวัลรองชนะเลิศประเภทงานพิมพ์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์บริษทั หรือผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ และรางวัล รองชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมทางการพิมพ์ นับเป็นก้าวย่างส�าคัญของ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด คุ ณ นภดล ไกรฤกษ์ กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ซี . จี . เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด ผูบ้ กุ เบิกการน�าเทคโนโลยีการสร้างสรรค์งานจาก รีบอร์ดรายแรกของประเทศไทย ได้คิดค้นการผลิตและจัดจ�าหน่ายชุด นิทรรศการ ผนังและเฟอร์นิเจอร์ส�าหรับตกแต่งบูธและร้านค้า ตลอด จนชั้นวางสินค้าและคีออสจากเทคโนโลยีรีบอร์ด ที่มีรูปลักษณ์สวยงาม แข็งแรงทนทาน และที่ส�าคัญคือมีกระบวนการผลิตและใช้วัสดุในการ พิมพ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
34 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คุ ณ นภดลกล่ า วว่ า คี อ อสที่ ผ ลิ ต จากรี บ อร์ ด ของเรา ได้ รั บ การ ออกแบบให้เป็นชั้นวางส�าหรับการจัดนิทรรศการเพื่อประโยชน์ใช้สอย แบบอเนกประสงค์ ก�าลังเป็นทีน่ ยิ มอย่างกว้างขวางมากขึน้ เราได้พฒ ั นา ชิน้ งานให้มคี ณ ุ ภาพทีค่ งทนแข็งแรง สามารถรองรับน�า้ หนักมากๆ ได้ อีก ทัง้ ยังผสมผสานเทคโนโลยีดา้ นการพิมพ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ โดยมีลวดลายต่างๆ ให้เลือกมากกว่า 50 แบบ
KIOSK... ผลิตผลจากเทคโนโลยีรีบอร์ดตอบโจทย์ผู้ประกอบการไทย
คีออสได้เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมการจัดแสดงนิทรรศการใน ประเทศไทยมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะเป็นกระแสที่ท�าให้องค์กรและ บริษทั ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้วสั ดุเพือ่ การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมและการ พัฒนาที่ยั่งยืน ได้หันมามองผลิตภัณฑ์จากรีบอร์ดกันมากขึ้นเป็นล�าดับ คุณนภดลกล่าวถึงกระแสการตอบรับจากลูกค้า ในผลิตภัณฑ์คอี อส ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ทั้งจากผู้ประกอบการ ร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้าหรือซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ ในขณะนี้ กลุ่มลูกค้าหลักที่ใช้ผลิตภัณฑ์คีออสของเราคือ ผู้ประกอบการในกลุ่ม อุตสาหกรรมอาหาร อาหารเสริม เครื่องส�าอาง เป็นต้น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
35
ซี.จี.เอส. มุ่งพัฒนาคีออส INTERVIEW สู่ตลาดนิทรรศการนานาชาติ ภายใต้แนวคิด คุ้มค่า คุ้มใช้ ด้วยเทคโนโลยีสีเขียว
นอกจากนี้ ยังให้ความส�าคัญกับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและ เครื่องจักรด้วย เนื่องจากอุตสาหกรรมในกลุ่มนี้ยังมีการจัดนิทรรศการ อย่างต่อเนื่อง โดยได้วางแผนพัฒนาคีออสให้สามารถรองรับน�้าหนักให้ ได้มากขึ้น ส�าหรับการวางแสดงสินค้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีน�้าหนัก มากและมีขนาดใหญ่ สิง่ ที่ ซี.จี.เอส. ให้ความส�าคัญเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการใส่ใจในคุณภาพด้านการพิมพ์และการออกแบบ ก็ คือ การผลิตชิ้นงานเพื่อส่งถึงมือลูกค้าได้รวดเร็วทันตามความต้องการ ของลูกค้า และลูกค้าสามารถสั่งท�าสินค้าโดยไม่จ�าเป็นต้องสั่งท�าใน จ�านวนมากๆ ได้ และเมือ่ สัง่ ท�าในจ�านวนทีม่ ากขึน้ ก็จะสามารถลดต้นทุน กล่าวคือได้สินค้าที่มีราคาที่ถูกลงเมื่อคิดราคาต่อจ�านวนชิ้นนั่นเอง
ผลิตภัณฑ์จากรีบอร์ด… คุ้มค่า คุ้มใช้
คุณนภดลได้กล่าวย�า้ ถึงจุดเด่นของการน�าเทคโนโลยีรบี อร์ดมาใช้ใน การจัดนิทรรศการต่างๆ ว่า เป็นการลงทุนที่คุ้มค่า และคุ้มใช้ เนื่องจาก น�าคีออสจากรีบอร์ดมาใช้งาน คงดูเป็นการลงทุนที่สูง แต่หากพิจารณา ในเรื่องความคุ้มค่าและการคุ้มใช้แล้ว นี่คือการลงทุนที่มีต้นทุนราคาถูก ทีส่ ดุ เนือ่ งจากมีทงั้ ความสวยงามด้านการออกแบบและทีส่ า� คัญสามารถ น�ากลับมาใช้ใหม่ได้หลายต่อหลายครัง้ ด้วยกัน อีกทัง้ สามารถจัดการบน พืน้ ทีใ่ ช้สอยได้ทกุ ตารางนิว้ บนพืน้ ทีก่ ารจัดแสดงนิทรรศการ และสามารถ น�าไปใช้กับงานอื่นๆ ได้อีก ตรงตามมาตรการ 3R ซึ่งได้แก่ Reuse Reduce และ Recycle นั่นเอง • Reuse: สามารถน�าไปใช้แสดงสินค้าหรือนิทรรศการได้ มากกว่าครั้งเดียว • Reduce: ลดพื้นที่การขนส่ง เนื่องจากสามารถถอดประกอบ ได้ง่ายดายและรวดเร็ว ลดแรงงานคน ลดค่าใช้จ่าย • Recycle: สามารถน�าไปแปรรูปเป็นชิ้นงานอื่นได้ “นอกจากความคุ้มค่าด้านการใช้งานแล้ว การน�าเทคโนโลยีรีบอร์ด มาใช้ในการจัดงานนิทรรศการ ยังสร้างคุณค่าทางจิตใจให้กบั เจ้าของบูธ
36 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ทีไ่ ด้มบี ธู นิทรรศการทีส่ วยงามแปลกตาและทันสมัยอีกด้วย ทัง้ ยังเป็นการ ดึงดูดความสนใจจากผู้เดินชมงานนิทรรศการให้เข้ามาที่บูธได้เป็นอย่าง ดี นอกจากนั้นการที่เราได้พิมพ์โลโก้ของบริษัทลงไปในบอร์ดนิทรรศการ ที่สวยงาม และมีผู้ชมงานมาขอถ่ายรูปก็ยังจะได้เป็นการส่งเสริมการ ตลาดและการโฆษณาบริษัทให้เป็นที่รู้จักกว้างขวางมากยิ่งขึ้นด้วย” จะเห็นได้ว่า การลงทุนเพื่อน�ารีบอร์ดมาใช้งานนั้น เป็นการลงทุนที่ คุ้มค่าและคุ้มใช้อย่างแท้จริง
คีออส...นวัตกรรมสีเขียวสูต่ ลาดการจัดนิทรรศนานาชาติ
ขณะนี้คีออสจากผลิตภัณฑ์รีบอร์ดก�าลังได้รับความนิยมในระดับ นานาชาติมากขึน้ ในส่วนของผูป้ ระกอบการไทยทีส่ ง่ ออกสินค้าไปยังต่าง ประเทศ รวมทั้งผู้ประกอบการจากต่างประเทศ ก็หันมามองสินค้าของ เรามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบประเทศเพื่อนบ้านของเรา เช่น กัมพูชา อินโดนีเซีย เป็นต้น นับเป็นโอกาสอันดีที่เราจะได้บุกตลาดต่าง ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคอาเซียน คุณนภดลกล่าว คุณนภดลยังเผยอีกว่า บริษทั ฯ ได้รบั การติดต่อจากกรมส่งเสริมการ ค้าระหว่างประเทศ เพือ่ ร่วมมือกับบริษทั ผูป้ ระกอบการสินค้าเพือ่ การส่ง ออก ในการเป็นผูจ้ ดั นิทรรศการแสดงสินค้าส่งออกของไทยทีต่ า่ งประเทศ โดยใช้เทคโนโลยีรบี อร์ด ในการจัดท�าบูธ โดยวางแผนทีจ่ ะใช้จดุ เด่นด้าน ศิลปะและวัฒนธรรมของประเทศไทยไปน�าเสนอในรูปแบบ Thai Pavilion สู่สายตานานาชาติด้วย
แผนการขยายตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
สืบเนื่องจากการที่ ซี. จี.เอส. ได้ส่งผลงานผลิตภัณฑ์จากรีบอร์ดเข้า ร่วมประกวดในงาน Thailand Innovation and Design Expo 2014 ซึ่งเป็นงานที่มีการรวบรวบรวมนวัตกรรมและงานออกแบบทั้งของไทย และต่างประเทศมาไว้ดว้ ยกัน จัดโดยกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 18-21 กันยายนที่ผ่านมา ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์นั้น บริษัทฯเองก็ได้รับเลือกทั้งสิ้น 5 ผลิตภัณฑ์เพื่อให้น�าไปจัดแสดงใน
ซี.จี.เอส. มุ่งพัฒนาคีออส สู่ตลาดนิทรรศการนานาชาติ INTERVIEW ภายใต้แนวคิด คุ้มค่า คุ้มใช้ ด้วยเทคโนโลยีสีเขียว
งานด้วย นับว่าเป็นงานที่เปิดตัวสินค้าของเราให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้าง ขวางมากยิ่งขึ้น และเป็นช่องทางที่จะได้มีผู้ประกอบการรายย่อยที่ ต้องการเป็นตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าของเราติดต่อเข้ามามากขึ้นอีกด้วย “ในส่วนภูมภิ าค ขณะนีเ้ รามีตวั แทนจ�าหน่ายในภาคเหนือ และมีแผน จะขยายตลาดไปสูภ่ าคตะวันออก เพือ่ ตอบสนองธุรกิจในด้านอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวที่มีการเจริญเติบโตอย่างมาก” คุณนภดลกล่าวเสริม นอกจากนัน้ บริษทั ฯ มีแผนในการเพิม่ ขีดความสามารถด้านการผลิต ด้วยการสร้างสรรค์มุมนิทรรศการเพื่อส่งเสริมความช�านาญในธุรกิจ ใน 2 หมวดด้วยกัน ได้แก่ • การจัดนิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้ประกอบการด้านโรงแรมเป็นล�าดับแรก • การจัดนิทรรศการตามเทศกาลส�าคัญๆ ภายในห้างสรรพสินค้า และโรงแรมต่างๆ เช่น งานเทศกาลปีใหม่ ตรุษจีน คริสต์มาส เป็นต้น ทัง้ นี้ หน่วยงานด้านการท่องเทีย่ ว โรงแรม และห้างสรรพสินค้าต่างๆ เมือ่ ใช้บริการการจัดมุมนิทรรศการด้วยรีบอร์ดแล้ว ก็จะเป็นการส่งเสริม การท่องเทีย่ วไปในตัว ผูท้ มี่ าพักหรือเดินซือ้ สินค้าสามารถจะถ่ายรูปและ แชร์ภาพนัน้ ลงในสือ่ สังคมออนไลน์ตา่ งๆ จึงนับว่าเป็นการเพิม่ มูลค่าและ ส่งเสริมด้านการตลาดให้กับผู้ประกอบการด้วยเช่นกัน ซึ่งนอกจากผู้ ประกอบการด้านโรงแรมจะได้รับประโยชน์แล้ว ยังส่งผลดีในแง่การส่ง เสริมการท่องเที่ยวของประเทศ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลใน การกระตุน้ เศรษฐกิจด้านการท่องเทีย่ วซึง่ ถือเป็นรายได้หลักของประเทศ อีกด้วย ในช่วงเทศกาลปีใหม่ทกี่ า� ลังใกล้เข้ามานี้ คุณนภดลได้เผยถึงการผลิต ชิ้นงานจากรีบอร์ดส�าหรับใช้เป็นของขวัญเพื่อมอบให้กับลูกค้าหรือ พนักงานของบริษัทต่างๆ ชิ้นงานที่ได้รับการออกแบบขึ้นมา ได้แก่ แท่น วางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างโทรศัพท์มือถือและ Tablet ที่มีการ ออกแบบลวดลายและสีสันที่สดใสสวยงาม
ด้วยเจตนาที่ ต้องการ สร้างสรรค์และ พัฒนานวัตกรรม ใหม่ๆ ที่สามารถ ตอบโจทย์ความ ต้องการของ ผู้ประกอบการใน ด้านการจัดงาน นิทรรศการในทุก มิติ บริษทั ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด จึงกลายเป็นผู้น�า ด้านเทคโนโลยี รีบอร์ดและ ผลิตภัณฑ์เพื่อการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างแท้จริง
นอกจากนี้ ซี.จี.เอส. ได้เริ่มผลิตป้ายดิสท์เพลย์จากรีบอร์ดเพื่องาน แต่งงานแล้วด้วย มีบ่าวสาวหลายคู่ให้ความสนใจใช้บริการ นับเป็นกลุ่ม ลูกค้าน้องใหม่ที่ก�าลังเป็นที่น่าจับตามอง
คืนก�าไรสู่สังคมด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์
บริษัท ซี.จี. เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด โดยคุณนภดล ไกรฤกษ์ มีนโยบายที่ต้องการคืนก�าไรให้กับสังคม ด้วยการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อ การสร้างสรรค์ผลงานจากวัสดุรีบอร์ดในกลุ่มนักเรียนในต่างจังหวัด ตลอดจนนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาด้วย กิจกรรมหนึ่งที่ ซี.จี.เอส.ร่วมกับภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดการประกวดการสร้าง ผลงานนิทรรศการ ภายใต้หัวข้อ ‘การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทย’ โดย มีทีมนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน 18 ทีม มีการมอบทุนการศึกษาให้กับ ทีมผูช้ นะการประกวด และผลงานทุกชิน้ จะถูกน�าไปแสดงนิทรรศการจริง เป็นการสร้างจิตส�านึกรักบ้านเกิดและการเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมไทยให้ กับเยาวชนรุ่นใหม่ ผ่านกิจกรรมดังกล่าว อีกทั้งยังเป็นการเผยแพร่ วัฒนธรรมไทยในจังหวัดและภูมิภาคต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นด้วย นอกจากนั้น ทางบริษัทฯ ยังได้ส่งเสริมการเรียนรู้และจินตนาการ ของเยาวชนไทย ด้วยการบริจาคชิ้นงานจากรีบอร์ดที่ใช้แล้วแต่ยัง สามารถใช้ ง านได้ อ ยู ่ ให้ กั บ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นหนองรี ป ระชานิ มิ ต อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี เพื่อน�าไปสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์การ ออกแบบและเทคโนโลยี จนได้รับรางวัลระดับประเทศ นับว่าเป็นการ ปลูกฝังค่านิยมด้านการคิดสร้างสรรค์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่ เยาวชนอีกทางหนึ่งด้วย ด้วยเจตนาที่ต้องการสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ที่ สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้ประกอบการในด้านการจัดงาน นิทรรศการในทุกมิติ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ากัด จึงกลายเป็น ผู้น�าด้านเทคโนโลยีรีบอร์ดและผลิตภัณฑ์เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างแท้จริง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
37
PRODUCTIVITY สร้างจิตส�านึก BOOSTER การเพิม่ ผลิตภาพในองค์กร
สร้างจิตส�านึก
การเพิ่มผลิตภาพในองค์กร ภายใต้การเปลีย่ นแปลงของโลกธุรกิจ องค์กรจะอยูร่ อด ได้จา� เป็นต้องปรับตัวและเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา พร้อม ทั้งต้องสร้างนวัตกรรม เพื่อให้องค์กรสามารถแข่งขันได้
เพิ่มผลิตภาพในงาน
การเพิ่มผลิตภาพในองค์กร (Productivity) เพื่อสร้าง ความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยัง่ ยืนนัน้ องค์กรจ�าเป็น ต้องค�านึงถึงลูกค้า พนักงาน และสังคม ซึ่งจะใช้หลักการ QCDSMEE ในการบริหารจัดการประกอบด้วย Q-Quality: คุณภาพของสินค้า/บริการได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ C-Cost: ต้นทุนต่างๆ ที่ส่งผลกับราคาขาย D-Deliver การส่งมอบให้ตรงตามความต้องการ และไม่เกิดความเสีย หายระหว่างการขนส่ง S-Safety: ความปลอดภัยของพนักงานในการท�างาน พนักงานต้องมีสุขอนามัยที่ดี M-Morale: การสร้างขวัญและก�าลังใจ ให้พนักงาน เกิดความรักและผูกพันกับองค์กร จะเชือ่ มโยงกับค่าจ้างและ สวัสดิการ E-Environment: ไม่ทา� ลายสิง่ แวดล้อม ค�านึงถึงส่วน รวม E-Ethic ด�าเนินธุรกิจโดยไม่เบียดเบียน เอารัดเอา เปรียบผู้อื่น
หัวข้อการอบรม ทางลัดสู่การพัฒนาธุรกิจอย่างก้าวกระโดด ทักษะการขายและน�าเสนอเพื่อเพิ่มยอดขาย กลยุทธ์บริหารการผลิต เทคนิคการเป็นพี่เลี้ยงและโค้ชทีมงาน วิธีสร้างดัชนีความส�าเร็จของงาน 38 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Productivity เป็นเรื่องของใคร
หากจะถามว่า Productivity เป็นเรื่องของใครก็คงจะ หาค�าตอบที่ถูกต้องไม่ได้ เพราะจริงๆ แล้ว Productivity เป็นเรื่องของคนทุกคนในองค์กร ทั้งผู้บริหาร หัวหน้างาน และพนักงาน เพราะการที่จะท�าให้พนักงานทุ่มเทกับการ ท�างาน ผู้บริหารจะต้องเป็นแบบอย่างมุ่งมั่น ตั้งใจท�างาน และ ก�าหนดนโยบายให้ชัดเจน อีกทั้ง ต้องท�าให้พนักงาน เห็นความส�าคัญของงานทีท่ า� เพือ่ ให้พนักงานมีทศั นคติ ที่ดีต่อการท�างาน จะเห็นได้ว่าทัศนคติมีผลอย่างมากต่อการท�างานหาก พนักงานมีทัศนคติที่ดีต่อการท�างานก็จะส่งผลให้เกิดการ พัฒนาและปรับปรุงงานให้ดียิ่งขึ้น เกิดความคิดริเริ่มสร้าง สรรค์ใหม่ๆ ซึ่งทัศนคติที่ดีในการปรับปรุงงาน มีดังนี้ • อย่ายอมรับในสิ่งที่เป็นอยู่ • อย่ามองข้ามในจุดทีค่ ดิ ว่าไม่เป็นปัญหา เพือ่ ค้นหา ปัญหา • อย่าท�างานไปวันๆ แต่ต้องเน้นที่คุณภาพ • อย่าเพียงแต่รับรู้ปัญหา ต้องรู้จักคิดแก้ไข
แบบเล็กๆ ด้วยตนเองตามแบบ Kaizen ซึ่งเป็นพื้นฐานใน การปรับปรุงงานใหญ่ๆ ทีต่ อ้ งอาศัยการมีสว่ นร่วมของคนใน องค์กร ก่อให้เกิดความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ซงึ่ จะน�ามาสูก่ าร สร้างนวัตกรรมในขั้นต่อไป แนวคิด Productivity นั้น จะมีการน�าวงจร PDCA เข้ามาช่วยเพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การปรับ ปรุงงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพต้องท�าให้วงจรนีห้ มุนไปเรือ่ ยๆ เพือ่ ให้เกิดการปรับปรุงทีด่ ขี นึ้ เพราะโลกธุรกิจมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา
จิตส�านึกสร้างได้
การสร้างจิตส�านึกด้านการเพิ่มผลิตภาพ จะต้องปรับ เปลี่ยนทัศนคติของพนักงาน เพื่อให้ตระหนักถึงคุณภาพ ในทุกขั้นตอนของการท�างาน Productivity จึงกลายเป็น กุญแจแห่งความส�าเร็จที่ไม่อาจมองข้ามได้เพราะจะน�า ไปสู่ ประสิทธิภาพในการท�างาน อันส่งผลต่อความส�าเร็จ ที่ยั่งยืนขององค์กร
โดยเริ่มจากการส่งเสริมให้พนักงานรู้จักคิด วางแผน แก้ไขปรับปรุงการท�างานของตนเอง เป็นการปรับปรุงงาน
วันที่ 14 ตุลาคม 2557 17 ตุลาคม 2557 21 ตุลาคม 2557 28 ตุลาคม 2557 29-30 ตุลาคม 2557
จากการบรรยายในหัวข้อ การสร้างจิตส�านึกด้านการเพิ่มผลิตภาพในองค์กร โดย อ.เชษฐพงษ์ สินธารา Productivity Talk วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 การฝึกอบรมประจ�าเดือนตุลาคม 2557 ข้อมูลเพิ่มเติม: www.ftpi.or.th หรือ http://www.ftpi.or.th/ portals/0/Public/PublicTraining2557/public_month_57.html
PRODUCTIVITY ปัจจัยเทียบเคียงผลิตภาพ (ตอนจบ) BOOSTER โกศล ดีศีลธรรม
ปัจจัยเทียบเคียง
ผลิ(ตอนจบ) ตภาพ ฉบับทีแ่ ล้วกล่าวถึงเรือ่ งปัจจัยเทียบเคียงผลิตภาพในระดับนานาชาติ และผลิตภาพระดับชาติ ตามกันต่อในฉบับนีท้ กี่ ล่าวถึงผลิตภาพระดับ อุตสาหกรรมและระดับองค์กร ซึ่งจะสร้างความเข้าใจในการน�าไป ประยุกต์ใช้ในแต่ละองค์กรมากขึ้น ผลิตภาพระดับนานาชาติ
ผลิ ต ภาพระดั บ อุ ต สาหกรรม คื อ การวั ด ผลิ ต ภาพโดยใช้ ป ั จ จั ย แรงงานแต่ ล ะ อุตสาหกรรม อาทิ การผลิต ขนส่ง ก่อสร้าง การเงิน โดยมีปัจจัยหลัก คือ มูลค่าเพิ่ม ที่ประเมินจากค่า GDP แต่ละอุตสาหกรรมหารด้วยจ�านวนแรงงานแต่ละอุตสาหกรรม ผลิตภาพระดับอุตสาหกรรม =
มูลค่าเพิ่มในอุตสาหกรรม จ�านวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม = มูลค่าเพิ่มองค์กร 1+...+มูลค่าเพิ่มองค์กร n จ�านวนแรงงานองค์กร 1+...+จ�านวนแรงงานองค์กร n ผลลัพธ์การประเมินวัดผลิตภาพระดับอุตสาหกรรม ท�าให้เกิดสารสนเทศส�าคัญ ได้แก่ • ตัวชี้วัดเศรษฐกิจ (Economic Indicators) เนื่องจากผลิตภาพเป็นตัวชี้วัด สภาพอุตสาหกรรม ท�าให้สามารถประเมินสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ • วิเคราะห์ก�าลังคน (Manpower Analyses) ระดับความเปลี่ยนแปลงการใช้ ก�าลังคนได้เป็นตัวบอกแนวโน้มค่าจ้างแรงงานและผลกระทบในความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี • วิเคราะห์ผลประกอบการของธุรกิจ (Company Performance Analysis) ด้วยการเทียบเคียงผลประกอบกับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อเป็นข้อมูล พัฒนาองค์กร • พยากรณ์แนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรม
ผลิตภาพระดับองค์กร
การวัดผลิตภาพระดับองค์กรได้ถูกใช้เป็นดัชนีเทียบเคียงระหว่างเป้าหมายกับผลลัพธ์ ทางธุรกิจที่เกิดขึ้นในรูปผลการด�าเนินงาน เช่น การเพิ่มยอดขายและสัดส่วนผลิตผล ดีหรือค่ายีลด์ (Yield) ในสายการผลิต ข้อมูลผลิตภาพถูกใช้ปรับปรุงกระบวนการของ องค์กรด้วยการเทียบเคียงกับองค์กรในอุตสาหกรรมเดียวกัน แสดงด้วยมูลค่าทางการ เงิน แต่หากผลิตภาพองค์กรสูงขึ้นจะท�าให้เกิดผลก�าไรมากขึ้นและสร้างผลตอบแทนให้ พนักงานด้วยเงินเดือนที่สูงขึ้น (Higher Real Earning) ส�าหรับผลก�าไรประเมินได้จาก
40 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
PRODUCTIVITY ปัจจัยเทียบเคียงผลิตภาพ (ตอนจบ) BOOSTER โกศล ดีศีลธรรม
ผลก�าไร = รายได้ - ต้นทุนการขายสินค้า/บริการ (การใช้ทรัพยากรแรงงานและสิ่ง อ�านวยความสะดวก) นอกจากนี้ ผลก�าไรยังส่งผลให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ลูกค้าสามารถซื้อสินค้าที่มี คุณภาพสูงด้วยราคาที่ถูกลงและท�าให้ภาครัฐจัดเก็บภาษีได้มากขึ้น แนวทางวัดผลิตภาพ ระดับองค์กรอาจจ�าแนกได้เป็นแนวทางต่างๆ อาทิ • การวัดผลด้วยดัชนี (Index Approach) โดยใช้ขอ้ มูลเชิงปริมาณทีแ่ สดงถึงราคา หรือมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงไปตามฐานรอบเวลา (Based Period Price) ได้แก่ ดัชนีผลิตภาพโดยรวม (Total Productivity Index) = มูลค่าผลิตผลที่วัด ณ เวลาฐาน มูลค่าปัจจัยน�าเข้าทีว่ ดั ณ เวลาฐาน ดัชนีปัจจัยผลิตภาพโดยรวม (Total Factor Productivity Index) = ผลิตผลสุทธิ ผลรวมปัจจัยน�าเข้า เมื่อผลิตผลสุทธิ (Net output) = ผลิตผล - สินค้า/บริการขั้นกลาง (Intermediate Goods & Service) ส่วน Productivity Gain คือ ส่วนต่างระหว่างผลิตผลสุทธิกับผลรวมปัจจัยน�าเข้า • การวัดผลิตภาพโดยรวม (Total Productivity) ผลิตภาพโดยรวม = สินค้า หรือ บริการ ผลรวมปัจจัยการแปรรูป = ผลรวมผลิตผล แรงงาน+ ทุน+พลังงาน + ค่าวัสดุ+…….. มูลค่าผลิตผลอาจแสดงด้วยมูลค่ายอดขาย (ปริมาณ x ราคาขาย) รวมกับผลตอบแทน ในรูปเงินปันผลจากหลักทรัพย์และผลตอบแทนอื่นๆ ที่มีการปรับมูลค่าตามรอบเวลา • การใช้อตั ราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio) โดยมุง่ ทีอ่ ตั ราผลตอบแทนจาก การลงทุน (Return on Investment) ได้แก่ ราคาสินค้าหรือบริการ ต้นทุนต่อ หน่วย อัตราการใช้ประโยชน์จากสิง่ อ�านวยความสะดวก (Facilities Utilization) และการจัดสรรสินทรัพย์ถาวรกับเงินทุนหมุนเวียน โดยตัวแปรเหล่านีแ้ สดงด้วย ความสัมพันธ์สดั ส่วนเพือ่ วัดผลิตภาพองค์กร ดังนี้
42 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ผลก�ำไร = (รายได้จากการขาย - ต้นทุนโดยรวม) x ผลิตผล x ก�าลังการผลิต x การลงทุนสินทรัพย์ถาวร มูลค่าการลงทุนรวม ผลิตผล ผลิตผล ก�าลังการผลิต การลงทุนสินทรัพย์ถาวร มูลค่าการลงทุนรวม ส� า หรั บ สั ด ส่ ว นสามตั ว แรกทางด้ า นขวาเป็ น การประเมิ น ความเปลี่ ย นแปลงผล ตอบแทนระยะสั้นและสัดส่วนที่เหลือแสดงถึงความเปลี่ยนแปลงระยะยาว ดังนั้นแนวคิด วัดผลิตภาพระดับองค์กรแสดงด้วยมุมมองต่างๆ ดังนี้ • มุมมองนักบัญชี (Accountant ‘s View) โดยนักบัญชีจะใช้งบประมาณและ ต้นทุนส�าหรับประเมินวัดผลด้วยผลตอบแทนจากทุน (Return on Capital) ที่เป็นการวัดผลทางการเงิน แต่มุมมองนี้อาจไม่สะท้อนถึงผลิตภาพแท้จริง เนื่องจากมีความยุ่งยากในการตีความเพื่อเทียบเคียงผลิตภาพระหว่างองค์กร • มุมมองนักเศรษฐศำสตร์ (Economist’s View) โดยมุ่งการวัดผลด้วยผลิต ภาพเฉพาะส่วน (Partial Measure) อาทิ ผลิตภาพแรงงาน • มุมมองผู้จัดการฝ่ายบุคคล (Personnel Manager‘s View) โดยมุ่งใช้ประโยชน์ บุคลากรสูงสุดหรือเรียกว่า “Percentage Utilization Concept” มีมุมมอง ผลิตภาพบุคลากรแต่ละบุคคลด้วยปริมาณเวลาที่ใช้ท�างานเทียบกับเวลาตาม ก�าหนดการ แต่แนวคิดดังกล่าวเป็นมุมมองที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากสัดส่วนเวลาที่ ใช้ท�างานสูงขึ้นก็ไม่ได้หมายความว่าจะเกิดผลิตภาพสูงขึ้นเสมอไป หากพนักงาน ไม่เอาใจใส่ต่องานอย่างจริงจัง • มุมมองวิศวกร (Engineers’ View) ส�าหรับวิศวกรได้ใช้การวัดผลด้วย สินทรัพย์ทางกายภาพและทรัพยากรอื่นๆ อาทิ เวลาที่ใช้สร้างผลิตผลต่อ หน่วย อัตราการใช้ประโยชน์จากเครื่องจักร (Machine Utilization) และการ ใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอย เป็นต้น แม้ว่ามุมมองวิศวกรจะมุ่งการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรสูงสุด แต่ก็อาจมองข้ามผลิตภาพโดยรวม เช่น การมุ่งลดต้นทุน แรงงานทางตรงด้วยการลงทุนจัดซื้อเครื่องจักรราคาแพง ดังนัน้ ผลลัพธ์การวัดผลิตภาพระดับองค์กร ท�าให้องค์กรทราบทิศทางด�าเนินงานเมือ่ ได้ เทียบเคียงกับคู่แข่งขันและสามารถประเมินประสิทธิภาพการจัดสรรทรัพยากรในการ ด�าเนินงาน โดยน�าข้อมูลมาใช้วางแผนทรัพยากรทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว รวมทัง้ การก�าหนด ระดับผลก�าไรและจัดท�ากลยุทธ์เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับธุรกิจ
DocuWorld – Smarter Communication for Smart Business
เน้นเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการงานเอกสารส�าหรับลูกค้าในพื้นที่แถบอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด
FUJI XEROX จัดงาน
บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้น�ำด้ำนผลิตภัณฑ์กำรพิมพ์และโซลูชั่นส�ำหรับกำร จัดกำรงำนเอกสำรอย่ำงครบวงจร ได้จดั งำน “DocuWorld – Smarter Communication for Smart Business ณ พัฒนำ กอล์ฟ คลับ แอนด์ สปอร์ต รีสอร์ท จ.ชลบุรี” ซึ่งงำน ครั้งนี้ได้รวบรวมเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ของกำรบริหำรจัดกำรงำนเอกสำรส�ำหรับ องค์กรธุรกิจต่ำงๆ มำจัดแสดงอย่ำงครบครัน
โดยในงานนี้ ได้จัดให้ มีการสั มมนาในหั วข้ อ “การ ท� า งานที่ ส มาร์ ท กว่ า ด้ ว ย ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ คลาวด์ LCT โซลูชั่น” ซึ่ง Light Communication Tools (LCT) คือ โซลูชั่นแพ็คเกจที่รวมการท�างานของซอฟแวร์ และการ บริการไว้ด้วยกัน เพื่อลดกระบวนการท�างานในแต่ละวันลง เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการบริหารจัดการเอกสาร อย่างเป็นระบบ ซึ่งโซลูชั่นนี้ประกอบด้วย 1. โปรแกรมจัดการเอกสารยอดนิยมอย่าง Docuworks 2. ระบบจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์ที่ได้รับความไว้วางใจ
มากที่สุดในขณะนี้ อย่าง “Working Folder” 3. บริการแปลภาษาบนคลาวด์ผ่านเครื่องมัลติฟังก์ชั่น เสมือนการถ่ายเอกสาร “Scan Translation” 4. การบริการบ�ารุงรักษาเครื่องมัลติฟังก์ชั่นอัตโนมัติ อย่าง “EP-BB” นอกจากนี้ภายในงาน ยังได้จัดสาธิตการแสดงเทคโนโลยีของเครื่องพิมพ์มัลติฟังก์ชั่น และระบบจัดการเอกสาร ต่างๆ เช่น ระบบการจัดการเอกสารด้วยการแสกน (OCR) ให้เป็น Microsoft Word หรือ Microsoft Excel ระบบ
ช่วยแปลเอกสารภาษาต่างประเทศบนคลาวด์ ผ่านเครื่อง มัลติฟังก์ชั่น หรือการแชร์ข้อมูลผ่านคลาวด์ ระบบการรับ แฟ็กซ์ในรูปแบบเอกสารดิจิตอล และกระจายส่งต่อไปยัง ปลายทางโดยอัตโนมัติ, ระบบสนับสนุนการจัดการเอกสาร อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ, ระบบจั ด การและรั ก ษาความ ปลอดภัยของงานพิมพ์ และระบบการจัดการงานพิมพ์ใบ แจ้งหนี้รูปแบบใหม่ (Planet Press Suite) เป็นต้น ซึ่งการ จัดงานครั้งนี้ได้รับความสนใจจากลูกค้าในพื้นที่แถบนิคม อุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด เข้าร่วมงานเป็นจ�านวนมาก อีกด้วย
หมายเหตุ: ผู้ที่พลาดงานนี้ ท่านสามารถเข้าร่วมงาน DocuWorld อีกครั้งได้ใน วันที่ 30-31 ตุลาคม 2557 ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิร์ล กรุงเทพฯ หรือ โทรสอบถามข้อมูลได้ที่ 02 660 8000 ต่อฝ่ายประชาสัมพันธ์การตลาด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
43
เข้ม… มาตรการเชิงรุกและเชิงรับ INDUSTRIAL เพื่อสร้างความปลอดภัยในโรงงานแบบ 360O (ตอนจบ) TREND ณัฐกฤตา พืชนุกูล
เข้ม… มาตรการ เชิงรุกและเชิงรับ
เพื่อสร้างความปลอดภัย o ในโรงงานแบบ 360 (ตอนจบ) จากตอนที่แล้วได้กล่าวถึงปัญหาความไม่ปลอดภัยในการท�างาน การพัฒนา ระบบมาตรฐานความปลอดภัย พ.ร.บ.ว่าด้วยความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�างาน รวมถึงสถิติการประสบอุบัติเหตุจากการ ท�างานในสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ในฉบับนี้จะกล่าวถึงการ ป้องกันระงับอัคคีภัยในโรงงาน อุปกรณ์การป้องกันระงับอัคคีภัยในโรงงาน สัญลักษณ์เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือทีค่ วรรู้ การตรวจสอบ ทดสอบ บ�ารุง รักษาระบบและอุปกรณ์ต่างๆ และแผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย โดย คุณ เมธินพัฐ บวรธรรมรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไฟร์เทคอินโนเวชั่น จ�ากัด เป็นผู้ไขค�าตอบ การป้องกันระงับอัคคีภัยในโรงงาน
คุณเมธินพัฐ บวรธรรมรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไฟร์เทคอินโนเวชั่น จ�ากัด กล่าวในงาน สัมมนาเรือ่ งการป้องกันระงับอัคคีภยั ในโรงงาน โดยอยูภ่ ายใต้การด�าเนินงาน ส�านักงานเทคโนโลยีความ ปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมว่า อัคคีภัยที่เกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรม นัน้ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ตัง้ แต่ในอดีตจนปัจจุบนั จะเห็นได้วา่ นับวันอัคคีภยั มีความรุนแรงมากขึน้ ทุกวันจนกลาย เป็นเอกลักษณ์อนั ดับหนึง่ ของโลกอุตสาหกรรม ซึง่ อัคคีภยั ทีเ่ กิดขึน้ ในโรงงานอุตสาหกรรมส่วนมากเกิด จากสาเหตุธรรมดาเนือ่ งจากความประมาทของคนงานและผูป้ ระกอบกิจการโรงงาน เช่น การจุดไม้ขดี ไฟหรือการสูบบุหรี่ภายในสถานที่ไวไฟ การหุงต้มอาหาร การใช้เชื้อเพลิงและความร้อนโดยไม่เหมาะ สมและขาดความระมัดระวัง การใช้ไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อนและแสงสว่างโดยไม่ปลอดภัย และขาด การตรวจสอบให้ถูกต้อง การปล่อยให้วัสดุสิ่งของกองวางไม่เป็นระเบียบ ตลอดจนการจัดเก็บสารเคมี หรือสารไวไฟอย่างไม่ถูกต้องและความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ด้วย ด้วยเหตุนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงได้ออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรือ่ ง การป้องกันและ ระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552 ซึ่งในรายละเอียดได้มีข้อก�าหนดเกี่ยวกับความปลอดภัย ด้านอัคคี ภัย ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือ ระบบน�า้ ดับเพลิง ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ การตรวจสอบ ทดสอบ และบ�ารุงรักษาระบบและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงการฝึกอบรมเรื่องการป้องกัน และระงับอัคคีภัยด้วย ซึ่งกฎหมายฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้กับโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงานแล้ว เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา นอกจากนี้ ส�านักเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้เตรียมบุคลากรไว้ค่อยให้ ความรู้ ความเข้าใจให้กับสถานประกอบกิจการ โดยผ่านสื่อการสอนซึ่งประกอบด้วยคู่มือและสื่อ การเรียนรูแ้ บบ Multimedia (VDO) รวมถึงการจัดฝึกอบรมให้กบั บุคลากรของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานดังกล่าว เพือ่ ให้มคี วามรูแ้ ละสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในการก�ากับ ดูแล การประกอบ
44 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เข้ม… มาตรการเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อสร้างความปลอดภัยในโรงงานแบบ 360O (ตอนจบ) INDUSTRIAL ณัฐกฤตา พืชนุกูล TREND
กิ จ การโรงงานให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายฉบั บ นี้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพต่อไป ส�าหรับการป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552 เป็นการก�าหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานทีจ่ ะต้อง มีมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการ โรงงาน และแก้ไขหน้าทีข่ องผูร้ บั ใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2513 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 อาศัยอ�านาจตามความในข้อ 18 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับ การจ�ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งตามมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระท�าได้โดย อาศัยอ�านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ คุณเมธินพัฐ กล่าวต่อว่า ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ได้มกี ารแบ่งโรงงานออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่สามารถประกอบ กิจการโรงงานได้ทนั ทีตาม ความประสงค์ของผูป้ ระกอบ กิจการโรงงาน 2. โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่เมื่อจะประกอบ กิจการโรงงานต้องแจ้งให้ทราบก่อน 3. ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่ตั้งโรงงาน ต้องได้รบั ใบอนุญาตก่อนจึงจะด�าเนินการได้ กรมโรงงาน เมื่อมีการออกพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ณ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535ในมาตรา 3 ของพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ แม้ได้กา� หนดให้ยกเลิกพระราชบัญญัตทิ อี่ อกก่อนหน้า นี้ คือ • พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2521 • พระราชบัญญัติโรงงาน ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2518 • พระราชบัญญัติโรงงาน ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2522 ทัง้ นี้ กระทรวงอุตสาหกรรมได้กา� หนดบทเฉพาะกาลไว้ ว่า “บรรดากฎกระทรวงและประกาศทีอ่ อกตามกฎหมายว่า ด้วยโรงงาน (ฉบับที่ยกเลิกไปแล้ว) ให้ใช้บังคับได้ต่อไปเท่า ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัติฉบับนี้” ดังนั้น หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงานตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2513 ออกตามความในพระราช บัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 จึงยังคงใช้บังคับอยู่ตามนัย บทเฉพาะกาลดังกล่าว ในการออกประกาศฉบับนีจ้ งึ ได้มกี าร ยกเลิกบทบัญญัติในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2513 เฉพาะในเนื้อหาที่ประกาศใหม่ ได้แก่ • ข้อ 6-10 ในหมวด 2 เรื่องเกี่ยวกับทางออก ฉุกเฉินในโรงงาน • ข้อ 11-13 ในหมวด 3 เรื่องเกี่ยวกับสัญญาณ แจ้งเหตุอันตราย • ข้อ 14-18 ในหมวด 4 เรื่องเกี่ยวกับเครื่องดับ เพลิงหรือสิ่งอื่นที่ใช้ในการดับเพลิงและการ ป้องกันอัคคีภัย
อุปกรณ์การป้องกันระงับอัคคีภัยในโรงงาน
คุณเมธินพัฐ กล่าวต่อว่า ส�าหรับอุปกรณ์ที่ช่วยในการ ระงับอัคคีภัยภายในโรงงานนั้นประกอบด้วยกันดังนี้ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้คือ เครื่องตรวจจับ ควันหรือความร้อนหรือเปลวไฟที่ท�างานโดยอัตโนมัติและ อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้แบบกดหรือดึง เพื่อให้สัญญาณ
เตือนภัย ซึง่ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ มีสว่ นประกอบ หลักทีส่ า� คัญ คือ อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ ตูค้ วบคุมระบบ และ อุปกรณ์เตือนภัย โดยแต่ละส่วนประกอบเชื่อมต่อกัน ด้วยสายสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งระบบจะท�างานตรวจจับเพลิง ไหม้และส่งสัญญาณเตือนภัย เพื่อให้ผู้อยู่ภายในอาคาร อพยพออกไปนอกอาคารหรืออพยพไปยังพื้นที่ที่ปลอดภัย ซึ่งมีการก�าหนดไว้ ฉะนัน้ อาคาร โรงงานต้องจัดให้มอี ปุ กรณ์ตรวจจับและ แจ้งเหตุเพลิงไหม้ครอบคลุมทั่วทั้งอาคารตามความเหมาะ สมกับสภาพพืน้ ที่ โดยเฉพาะในพืน้ ทีท่ ไี่ ม่มคี นงานปฏิบตั งิ าน ประจ�าและมีการติดตัง้ หรือใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือจัดเก็บ วัตถุไวไฟหรือวัสดุตดิ ไฟได้งา่ ยจะต้องติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับ และแจ้งเหตุเพลิงไหม้อัตโนมัติ อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ ต้องเป็นชนิดทีใ่ ห้สญ ั ญาณโดยไม่ตอ้ งใช้ไฟฟ้าจากระบบแสง สว่างและที่ใช้กับเครื่องจักรหรือมีระบบไฟส�ารองที่จ่ายไฟ ส�าหรับระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง
แต่ทั้งนี้ การติดตั้งระบบหัวกระจายน�้าดับเพลิงอาจไม่ เหมาะสมในบางพื้นที่ เช่น ห้องหม้อแปลงไฟฟ้า ห้อง คอมพิวเตอร์ เนื่องจากน�้าดับเพลิงอาจท�าให้อุปกรณ์ทาง ไฟฟ้าภายในพื้นที่เหล่านั้นเสียหาย ประกาศฉบับนี้อนุญาต ให้ติดตั้งระบบอื่นที่เทียบเท่าระบบหัวกระจายน�้าดับเพลิง อัตโนมัติ ในพื้นที่เหล่านั้นแทนได้ ส�าหรับระบบดับเพลิงแบบอืน่ ทีส่ ามารถท�างานได้เทียบ เท่าระบบหัวกระจายน�้าดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบสาร สะอาดดับเพลิง ตามมาตรฐาน NFPA 2001 Standard on Clean Agent Fire Extinguisher Systems, ระบบก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ดับเพลิง ตามมาตรฐาน NFPA 12 Standard on Carbon Dioxide Extinguisher Systems และระบบหมอกน�้าดับเพลิง ตามมาตรฐาน NFPA 750 Standard on Water Mist Fire Protection Systems เป็นต้น
“การติดตั้งอุปกรณ์ทั้งหมดในระบบสัญญาณแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับ ตัวอย่างมาตรฐานสากล ได้แก่ National Fire Protection Association (NFPA) ซึ่ ง มี ส� า นั ก งานอยู ่ ที่ ป ระเทศ สหรัฐอเมริกา และมีการน�าไปใช้เป็นกฎหมายหรือมาตรฐาน ในหลายๆ ประเทศ โดยมาตรฐาน NFPA ที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบและติดตัง้ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ คือ NFPA 72 - National Fire Alarm Code” คุณเมธินพัฐ กล่าว ระบบดั บ เพลิ ง อั ต โนมั ติ คุ ณ เมธิ น พั ฐ กล่ า วต่ อ ว่ า โรงงานที่มีสถานที่จัดเก็บวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นวัตถุ ที่ติดไฟได้นั้นต้องมีพื้นที่ต่อเนื่องติดต่อกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้ น ไป และต้ อ งมี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบดั บ เพลิ ง อัตโนมัติ เช่น ระบบหัวจ่ายน�้าดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) หรือระบบอื่นที่เทียบเท่าให้ ครอบคลุมพื้นที่นั้น เพราะหัวจ่ายน�้าดับเพลิงจะท�างานเมื่อ ไฟไหม้ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ ที่มีอุณหภูมิถึงค่าที่หัวจ่ายน�้า ดับเพลิงได้เท่านั้น
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ คุณเมธินพัฐ กล่าวต่อว่า อาคาร โรงงานนอกจากได้มกี ารติดตัง้ ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ แล้วยังต้องติดตัง้ เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือโดยให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ทไี่ ด้กา� หนดไว้ เนือ่ งจากเครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือ ต้องเหมาะสมกับประเภทของเชือ้ เพลิงและเป็นไปตาม มอก. 332 โดยเครื่องดับเพลิงแบบมือถือมีหลายประเภท เช่น เครือ่ งดับเพลิงยกหิว้ ชนิดผงเคมีแห้ง หรือ มอก.881 เครือ่ ง ดับเพลิงยกหิว้ คาร์บอนไดออกไซด์หรือ มอก. 883 เครือ่ งดับ เพลิงยกหิว้ โฟม หรือมาตรฐานทีส่ า� นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมก�าหนดหรือมาตรฐานอืน่ ทีเ่ ทียบเท่า “แม้จะมีการติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติในโรงงาน แล้วทุกโรงงานจ�าเป็นต้องมีการติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบ มื อ ถื อ ด้ ว ย เนื่ อ งจากเครื่ อ งดั บ เพลิ ง แบบมื อ ถื อ มี วั ต ถุ ประสงค์ในการใช้ดับเพลิงเบื้องต้น หรือเมื่อมีผู้พบเห็นเหตุ เพลิงไหม้เริ่มต้นจะสามารถใช้เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ท�าการดับเพลิงได้ในทันที โดยไม่ต้องรอให้ระบบดับเพลิง อัตโนมัติท�างานซึ่งอาจท�าให้เกิดความเสียหายกับอุปกรณ์ หรือทรัพย์สินภายในพื้นที่นั้นๆ” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
45
เข้ม… มาตรการเชิงรุกและเชิงรับ INDUSTRIAL เพื่อสร้างความปลอดภัยในโรงงานแบบ 360O (ตอนจบ) TREND ณัฐกฤตา พืชนุกูล
สัญลักษณ์เครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่ควรรู้
ส�าหรับสารดับเพลิงแต่ละชนิดทีบ่ รรจุในเครือ่ งดับเพลิง แบบมือถือมีความสามารถและความเหมาะสมกับการดับ เพลิงแต่ละประเภทที่แตกต่างกัน ซึ่งมีอยู่ 5 ประเภท ดังนี้ • เพลิงประเภท Ordinary Combustibles คือ เพลิงไหม้ที่เกิดจากเชื้อเพลิงธรรมดาทั่วไป เช่น ไม้ ผ้า กระดาษ ยาง และพลาสติกประเภทต่างๆ โดยมี สั ญ ลั ก ษณ์ เ ป็ น อั ก ษร เอ อยู ่ ภ ายในรู ป สามเหลี่ยมสีเขียว • เพลิงประเภท Flammable Liquids คือ เพลิง ไหม้ทเี่ กิดจากของเหลวไวไฟของเหลวติดไฟ และ ก๊าซไวไฟ โดยมีสัญลักษณ์เป็นอักษรบี อยู่ภายใน รูปสี่เหลี่ยมสีแดง • เพลิงประเภท Electrical Equipment คือ เพลิงไหม้ที่เกิดกั บ อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ าที่ ยังมี การใช้ กระแสไฟฟ้าอยู่ โดยมีสัญลักษณ์เป็นอักษร ซี อยู่ภายในรูปวงกลมสีฟ้า • เพลิงประเภท Combustible Metals คือ เพลิงไหม้ที่เกิดกับโลหะติดไฟ เช่นแมกนีเซียม ไททาเนียม โซเดียม และโปตัสเซียม โดยมีสัญ ลักษณ์อกั ษร ดี อยูภ่ ายในรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง • เพลิงประเภท Combustible Cooking คือ เพลิงไหม้ที่เกิดกับเครื่องครัวที่มีการปรุงอาหาร โดยใช้น�้ามันพืช หรือไขสัตว์ ซึ่งสามารถติดไฟได้ มีสัญลักษณ์อักษร เค อย่างไรก็ตาม เครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่เลือกใช้ ต้องได้รับการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานของประเทศ ไทย คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไทย (มอก.) หรือ มาตรฐานอื่ น ที่ เ ที ย บเท่ า ตั ว อย่ า งเช่ น มาตรฐาน UL (Underwriters Laboratories Inc.) ซึ่งเป็นมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ด้านความปลอดภัยของประเทศสหรัฐอเมริกา
การตรวจสอบ ทดสอบ บ�ารุงรักษาระบบและ อุปกรณ์ต่างๆ
คุณเมธินพัฐ กล่าวต่อว่า ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานต้อง ตรวจสอบทดสอบ และบ�ารุงรักษาระบบและอุปกรณ์สา� หรับ การป้องกันและระงับอัคคีภัยให้สามารถพร้อมท�างานได้ ตลอดเวลา โดยการตรวจสอบทดสอบและบ�ารุงรักษาระบบ และอุปกรณ์เหล่านั้นให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลที่เป็น ที่ยอมรับทั่วโลก ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มแี ผนการตรวจสอบ การทดสอบ และการบ�ารุงรักษาระบบและอุปกรณ์ส�าหรับ การป้องกันและระงับอัคคีภัย เพื่อให้ระบบและอุปกรณ์มี ความพร้อมในการท�างานได้ตลอดเวลา โดยการตรวจสอบ ทดสอบและบ�ารุงรักษาระบบ และอุปกรณ์นสี้ ามารถด�าเนิน การโดยการใช้ตามมาตรฐานสากลทีเ่ ป็นที่ยอมรับ ตัวอย่าง เช่น NFPA 25 Standard forthe Inspection, Testing, and Maintenance of Water-Based Fire Protection Systems เป็นต้น และผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดเก็บ เอกสารการตรวจสอบ ทดสอบ บ�ารุงรักษาระบบและอุปกรณ์ โดยให้เก็บรักษาไว้ทโี่ รงงาน พร้อมทีจ่ ะให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบได้ “เมื่อด�าเนินการตรวจสอบ การทดสอบ และการบ�ารุง รักษาระบบและอุปกรณ์ส�าหรับการป้องกันและระงับอัคคี ภัยเรียบร้อยแล้ว ต้องมีการบันทึกข้อมูลต่างๆ ไว้เป็นหลัก ฐาน และต้องมีการจัดเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดีภายในโรงงาน เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา” 46 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
รวมทั้งผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีบุคลากรที่ ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยของโรงงาน ด�าเนินการตรวจ ความปลอดภัยด้านอัคคีภัยเป็นประจ�าอย่างน้อยเดือนละ ครั้ง โดยจัดท�าเป็นเอกสารหลักฐานที่พนักงานเจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบได้ หากพบสภาพทีเ่ ป็นอันตรายทีอ่ าจก่อ ให้เกิดเพลิงไหม้ได้ ต้องด�าเนินการปรับปรุงแก้ไขโดยทันที นอกจากนีผ้ ปู้ ระกอบกิจการโรงงานต้องก�าหนดบุคลากร ที่ท�าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยด้านอัคคีภัยในโรงงานให้ ชัดเจน ซึง่ ควรมีความรูแ้ ละความเข้าใจในระบบป้องกันและ ระงับอัคคีภยั เป็นอย่างดีและควรเป็นผูเ้ ข้ารับการอบรมตาม ที่ระบุไว้ในหมวด 7 ของประกาศฉบับนี้ เพราะการตรวจ ความปลอดภัยด้านอัคคีภยั ถือได้วา่ เป็นการตรวจสอบสภาพ การประกอบกิจการ พื้นที่กระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงงานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย เช่น ระบบ ไฟฟ้าพื้นที่จัดเก็บวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ สถานที่เก็บสาร ไวไฟ ฯลฯ ว่าอยู่ในสภาพปลอดภัยไม่มีโอกาสเกิดเพลิงไหม้ ขึ้นได้ คุณเมธินพัฐได้ย�้าต่อว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานต้อง จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงานประกอบ ด้วยแผนการตรวจสอบความปลอดภัยด้านอัคคีภัย แผน การอบรมเรื่องการป้องกันและระงับอัคคีภัย แผนการดับ เพลิง และแผนการอพยพหนีไฟ โดยเก็บแผนนี้ไว้ที่โรงงาน พร้อมให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้และต้องปฏิบัติ ให้เป็นไปตามแผน การจัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงานถือ เป็นเรื่องส�าคัญในการบริหารความปลอดภัยด้านอัคคีภัย และทางโรงงานต้องจัดให้มีการอบรมและฝึกซ้อมตามแผน ป้องกันและระงับอัคคีภัยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้ พนักงานในโรงงานทุกคนเข้าใจและมีความคุ้นเคยกับขั้น ตอนภายในแผนย่อยนั้น พร้อมทั้งต้องมีการบันทึกข้อมูล ต่างๆ ของการอบรมและฝึกซ้อมไว้เป็นหลักฐานและจัดเก็บ ไว้อย่างดี
แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย
อุบตั เิ หตุตา่ งๆ สามารถเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา โดยทีบ่ าง ครัง้ เราอาจไม่ทนั รูต้ วั ซึง่ อาจเกิดจากธรรมชาติหรือเกิดจาก การกระท�าทีม่ มี ลู เหตุจากความประมาท ดังในกรณีของอัคคี ภัยนั้นสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และหากไม่ได้รับการ
ดูแล ตรวจตราเอาใจใส่ให้ความส�าคัญ โดยเฉพาะกับ องค์การที่มีการผลิตหรือเรียกว่าโรงงานซึ่งมักจะเป็นแหล่ง ก�าเนิดหรือบ่อเกิดของอุบตั ภิ ยั นัน้ ๆ ได้ เนือ่ งจากเป็นจุดรวม พลังงานหลายๆ ประเภทอยู่ในระบบของการผลิต รวมทั้ง ยังเป็นการรวมบุคลากรจ�านวนมากที่เกี่ยวข้องกับเครื่อง จักรอุปกรณ์ตา่ งๆ หลากหลายชนิด ซึง่ สิง่ เหล่านีล้ ว้ นแต่เป็น ปัจจัยส�าคัญที่ก่อให้เกิดอุบัติภัยชนิดที่เรียกว่าอัคคีภัยได้ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยขึ้นทั้งชีวิตและทรัพย์ สินทั้งหมดที่มีอยู่ จึงควรจัดท�าแผนป้องกันอัคคีภัยขึ้นซึ่ง ประกอบด้วยแผนการย่อยต่างๆ ดังนี้ • แผนการตรวจสอบความปลอดภัยด้านอัคคีภัย • แผนการอบรมเรือ่ งการป้องกันและระงับอัคคีภยั • แผนการดับเพลิง • แผนการอพยพหนีไฟ แผนการย่อยต่างๆ ทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้น ต้องมีการปรับปรุง ให้มคี วามเหมาะสมกับสภาพโรงงานและการท�างานในพืน้ ที่ ต่างๆ รวมทั้งการจัดเก็บวัตถุติดไฟหรือไวไฟที่ทางโรงงานมี การจัดเก็บโดยต้องมีการทบทวนแผนการป้องกันและระงับ อัคคีภัยในโรงงานอย่างน้อยปีละครั้ง และแผนการต่างๆ เหล่านี้ต้องมีการจัดเก็บไว้ในที่ที่สามารถน�ามาใช้ได้โดย สะดวก ดังนั้น ทุกโรงงานต้องด�าเนินการ เรื่องระบบสัญญาณ แจ้งเหตุเพลิงไหม้ตาม เรื่องเครื่องดับเพลิงแบบมือถือตาม เรือ่ งระบบน�า้ ดับเพลิงตามและเรือ่ งระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ตามให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 3 ปี นับแต่วันถัดจากวัน ทีป่ ระกาศฉบับนีป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึง่ ได้ประกาศ ไว้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ดังนั้นประกาศฉบับนี้ จะครบ 3 ปี ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 จากบทความทีก่ ล่าวในข้างต้น หากพนักงานและองค์กร ให้ความตระหนักถึงความปลอดภัยขณะท�างานในสถาน ประกอบกิจการ ทัง้ การป้องกันอุบตั เิ หตุจากการท�างานทีท่ กุ คนสามารถท�าได้ ด้วยการมีสติและไม่ประมาณ รวมทัง้ องค์ ต้องมีการตรวจสอบเครือ่ งมือ เครือ่ งจักรอย่างสม�า่ เสมอ และ ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบอย่างเคร่งครัด นอกจากสร้างความ ปลอดภัยไร้อบุ ตั เิ หตุแล้ว ยังน�าไปสูก่ ารเพิม่ ประสิทธิภาพใน การท�างานอีกด้วย
Stage floor Silo, Hopper, Damper
Mixing Tank Elec. System
STOCK MATERIAL
ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด
เปนผูนำในการดำเนินธุรกิจดาน วิศวกรรม ที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มคุณภาพสินคา และบริการอยางตอเนื่อง รับผลิตและติดตั้งงานถัง ทออุตสาหกรรม และการขยายโรงงานผลิต เชน STAGE FLOOR, SILO, HOPPER, DAMPER, Mixing Tank ELEC. SYSTEM, STOCK MATERIAL บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด
559/26 หมู 7 ตำบลบางพลีใหญ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com Website : www.cpmflow.com
Enhancing client confidence From concept through commissioning, we consistently provide our customer with confidence that their solution will be deliveried to their requirement.
Innovative solution We strive to innovate in all areas including technology, system design, workplace relation, installation, testing and commissioning to delivery more cost-effective and high valued service.
AUTOMATION Enova is a result-focused Engineering, Supplier, Solution Provider and System intergator to five area of business.
Leader in IPP/SPP Package Approach • Remote Terminal Unit • PABX Telephone System • SDH/Multiplexer + Fiber Optic Communication • Meter and Remote Meter Reading • Teleprotection • Consulting & Engineering Services Leader in Grid Code – VSPP • Power Meter & Power Quality Meter • Power System Protection • MV Switchgear • Distribution Transformer • Consulting & Engineering Services
Building lasting relationship With a client base, our commitment to our customers extends beyond the project, with an emphasis on safety and environmental issues.
Delivering business results We belive the key to successful delivery of any project rests in the ability to ensure the project outcomes are aligned with business objectives.
Enova Automation Company Limited
134/469 Nonthaburi Road, Thasai, Muang, Nonthaburi 11000 Thailand Tel: +66 2967 1379 Fax: +66 2967 1378 E-mail: sales@enovagroup.net Website: www.enova-automation.com, www.enova.co.th
http://www.ipros.jp/
ค้นหาเทคโนโลยีชั้นยอดของ ประเทศญี่ปุ่นด้วยภาษาไทย
TECHNOLOGY MATCHING WEBSITE ของไทยและญี่ปุ่น TECH DIRECTORY THAILAND
50 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
บ่อยครั้งใช่ไหมที่คุณมักจะคิดว่าเวลาที่ต้องค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการผลิตจากเว็บไซต์ภาษาไทยใน ประเทศไทยแล้วประสบปัญหาว่า
“ไม่เห็นเจอข้อมูลที่ดีสักที”
เพิ่มช่องทางการบริการเพื่อการช่วยบรรเทาปัญหา ดังกล่าว เว็บ ไซต์ที่อยากให้วิศวกรรมชาวไทยเข้าไป ศึกษา TECH DIRECTORY THAILAND พัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง
ข้อมูลความรู้ “ภาคอุตสาหกรรม” เป็นธุรกิจที่ก�าลังพัฒนาในหลายๆภูมิภาคของ ประเทศไทยแต่ไม่ว่าจะเป็นความช�านาญ ขนาด ระดับของเทคโนโลยียังไม่ เป็นระบบอยู่ แต่ทว่าในพื้นที่ ที่มีสถาบันวิจัยเทคโนโลยีขั้นสูง ความรู้ต่างๆ เทคโนโลยีต่างๆ ก�าลังเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอเมริกา เยอรมันและญี่ปุ่นนั้นเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุด
TECH DIRECTORY THAILAND คือ?
จะพบว่า ที่ประเทศเหล่านั้นเวลาต้องการที่จะท้าทาย กับสิ่งใหม่ๆ ก็จะมีเทคโนโลยีเยี่ยมยอดต่างๆส�าหรับต่อ ยอดการพั ฒ นานั้ น อยู ่ ใ กล้ ตั ว มากกว่ า เมื่ อ เที ย บกั บ ใน ประเทศไทย ผู้คนที่มีความเกี่ยวข้องกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศเหล่ า นั้ น จะสามารถค้ น หาองค์ ค วามรู ้ ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ได้ง่ายกว่าพวกเราชาวไทย ซึ่งความ ได้เปรียบเหล่านี้ไม่ได้หาได้ง่ายๆจากบุคลากรของกลุ่ม บริ ษั ท คู ่ ค ้ า ต่ า งๆ พื้ น ที่ ที่ มี ค วามเพี ย บพร้ อ มทางด้ า น ภูมิศาสตร์หรือทางด้านอุตสาหกรรม แต่ยังหมายรวมถึง ความได้เปรียบทางด้านข้อมูลในอินเตอร์เน็ตอีกด้วย
ที่ประเทศญี่ปุ่นวิศวกรรมก็ค้นหาข้อมูลความรู้ ต่างๆ จากในอินเตอร์เน็ต
เช่ น นั ก วิ ศ วกรชาวญี่ ปุ ่ น แทบทุ ก คนจะค้ น หาข้ อ มู ล ความรู้จากในอินเตอร์เน็ต ซึ่งในอินเตอร์เน็ตของญี่ปุ่นนั้น ไม่ได้มีดีแค่ปริมาณแต่ยังคงมีข้อมูลทางด้านเทคโนโลยี ใหม่, ค�าใบ้เพื่อน�าไปใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆอยู่มากมาย อีกด้วย แต่ถ้าเรามองจากอีกมุมหนึ่ง ก็จะเห็นได้ถึงความ มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะแสดงศั ก ยภาพทางเทคโนโลยี ที่ เ ยี่ ย มยอดที่ บริษัทของตนเองมีผ่านทางอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะในเว็บไซต์ “Technology data base Ipros” (http://www.ipros.jp/) ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่รวมรวบเทคโนโลยี ท างด้ า นการผลิ ต ของวงการอุ ต สาหกรรมไว้ อ ย่ า ง มากมายนั้นได้รับความนิยมในการเข้าไปค้นหาข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยีจากวิศวกรชาวญี่ปุ่น เป็นจ�านวนมาก โดยมีจ�านวนผู้เข้าเยี่ยมชมมากถึง 1.8 ล้านคนต่อเดือน ว่ากันว่าที่ญี่ปุ่นมีวิศวกร 5 ล้านคน นั่น หมายความว่า 1 ใน 3 คนจะเข้าไปเยี่ยมชมเว็บไซต์นี้ต่อ เดือนนั้นเอง หลากหลายบริษัทที่พากันส่งข้อมูลเข้าไป รวบรวมไว้ในเว็บไซต์ Ipros นี้เพื่อให้นักวิศวกรจ�านวนมาก ได้ร่วมกันศึกษาหาความรู้จากเว็ปไซด์นี้เช่นกัน
ข้อด้อยในการค้นหาข้อมูลความรู้ทางด้าน เทคโนโลยีชั้นสูงในประเทศไทย คือ อะไร
ถ้าหากว่าเราเข้าไปในเว็บไซต์ “Ipros” ที่กล่าวไว้นี้ เราก็สามารถค้นหาข้อมูลความรู้ทางด้านเทคโนโลยีชั้นสูง จากประเทศญี่ปุ่นได้เช่นเดียวกันใช่ไหม แน่นอนว่าค�าตอบ ก็คือ Yes แต่อย่าลืมว่าภาษาต่างๆ ที่ใช้ในเว็บไซต์ Ipros นั้นเป็นภาษาญี่ปุ่น และชาวไทยส่วนใหญ่ก็ยังไม่เข้าใจ ภาษาญี่ปุ่น แต่ในทางกลับกัน บริษัทญี่ปุ่นหลายๆ บริษัทก็ยังคง วางแผนที่จะเข้ามาขยายเทคโนโลยีหรือผลิตภัณฑ์ของ บริษัทตนเองในประเทศไทย จะปรับให้บริษัทมีความเป็น สากล และเพื่อให้บริษัทของตนเองเป็นสากล ประเทศไทย ก็ยังคงเป็นตลาดเป้าหมายที่น่าจะเข้ามาลงทุนและสร้าง ความแข็ ง แกร่ ง ทางธุ ร กิ จ ได้ ดี เ ป็ น อย่ า งมาก แต่ ก็ ยั ง มี ปัญหาอีกข้อหนึ่งส�าหรั บ การเข้ ามาในประเทศไทยของ บริษัทญี่ปุ่น นั่นคือการส่งข้อมูลต่างๆเป็นภาษาไทยนั่นเอง หลายๆ คนคงเข้าใจกันดีอยู่แล้ว ปัญหาหลักส�าหรับ การจั บ คู ่ กั น ระหว่ า งวิ ศ วกรชาวไทยที่ ต ้ อ งการจะใช้ เทคโนโลยีชั้นสูงของประเทศญี่ปุ่นกับบริษัทญี่ปุ่นที่มีองค์ ความรู้และข้อมูลของเทคโนโลยีชั้นสูงนั่นคือ “ภาษา”
เว็บไซต์ที่รวบรวมข้อมูลทางด้านเทคโนโลยี ชั้นสูงของประเทศญี่ปุ่นส�าหรับภาคการ ผลิตไว้เป็นภาษาไทย สามารถดาวน์โหลด ข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีเป็น PDF ได้ เว็บไซต์ที่สามารถค้นหาข้อมูลความรู้ทางด้าน ตั้งแต่เปิดบริษัทมา เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี เทคโนโลยีชั้นสูงของญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย 2013 บริษัทได้มีการขยายตัวอย่างต่อ “เว็ บ ไซต์ ที่ ส ามารถค้ น หาข้ อ มู ล ความรู ้ ท างด้ า น เทคโนโลยี ชั้นสูงของญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย” เพียงเท่านี้ก็จะ เนื่อง บริหารงานโดย Ipros ที่ดูแลการจับคู่ ช่ ว ยคลายปั ญ หาด้ า นภาษาให้ คุ ณ ได้ ม ากที เ ดี ย ว ทาง ทางเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น TECH DIRECTORY THAILAND (ต่อจากนี้จะเรียกว่า ขยายตัวเข้าสู่อีก 7 ประเทศในเอเชีย เรายังมีการให้บริการเช่นเดียวกันนี้ภายใต้ ชื่อ TECH DIRECTORY Asia ซึ่งได้ขยาย การให้บริการทั้งภาษาไทย, อินโดนีเซีย, เวียดนาม และก�าลังขยายการให้บริการไปยัง ประเทศมาเลเซีย, สิงค์โปร์, ฟิลิปปินส์ และ ประเทศจีนอีกด้วย โดยมุ่งหวังว่า การที่เรา ได้น�าเสนอข้อมูลต่างๆในรูปแบบภาษาของ คุณนี้ จะช่วยให้การจับคู่ทางธุรกิจใน ภูมิภาคเอเชียเป็นไปอย่างราบรื่น
TDT) จะเป็นผู้ช่วยคุณเอง TDT ได้ น� า ข้ อ มู ล ความรู ้ ท างเทคโนโลยี ชั้ น สู ง จาก บริษัทชั้นน�าของประเทศญี่ปุ่นมาน�าเสนอด้วยภาษาญี่ปุ่น และภาษาไทย เราจัดท�าเป็น 2 ภาษา เนื่องจากบริษัท ญี่ปุ่นที่เข้ามาเปิดธุรกิจในประเทศไทยก็สามารถเข้ามาใช้ งานได้และเพื่อให้การเจรจาธุรกิจระหว่างชาวญี่ปุ่นและ ชาวไทยเป็นไปอย่างราบรื่น ในปัจจุบันนี้มีหลายๆโครงการในประเทศไทยที่ด�าเนิน งานไปได้อย่างราบรื่นด้วยการใช้ TDT เช่นการออกแบบ และวางโครงสร้างของเครื่องบ�าบัดน�้าในโรงงาน ในขั้น ตอนการรวบรวมข้ อ มู ล ทางบริ ษั ท ลู ก ค้ า ได้ เ ปิ ด เจอ เทคโนโลยีของญี่ปุ่นจากทางเว็ปไซด์ของ TDT และเข้า มาขอค�าปรึกษา หลังจากที่ได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ปรากฏว่ า ความคื บ หน้ า ของโครงการนั้ น เป็ น ไปด้ ว ยดี มากกว่าแผนการที่วางไว้ในตอนแรก นับว่าเป็นการจับคู่ ทางธุรกิจที่เกิดขึ้นได้ด้วยการแนะน�าข้อมูลเทคโนโลยีใน การบ�าบัดน�้าของประเทศญี่ปุ่นจากทาง “อินเตอร์เน็ต” ด้วย “ภาษาไทย” นั่นเอง
TECH DIRECTORY THAILAND ที่ก�าลังเติบโต
ทาง TDT ได้เริ่มลงทะเบียนบริษัทสัญญาญี่ปุ่นอยู่ ปัจจุบันนี้ และจ�านวนวิศวกรชาวไทยที่เข้าใช้งานก็มีเพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ ผู้รับผิดชอบของบริษัทญี่ปุ่นที่ตอบรับ TDT นั้น ได้กล่าวค�าขอบคุณกับทางเราว่า “มีนักวิศวกรชาวไทย ติดต่อเข้ามาเป็นจ�านวนมาก” และยังมีบริษัทญี่ปุ่นเป็น จ�านวนมากที่ “ต้องการจะเข้ามาเปิดสาขาในประเทศไทย” มาลงทะเบียนกับ TDT เราคาดว่า “การติดต่อจับคู่ทาง เทคโนโลยีระหว่างไทยและญี่ปุ่น” ผ่านทาง TDT นั้นจะ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ลองเข้ามาใช้บริการ TDT ดูสักครั้ง แล้วปัญหาต่างๆทางด้านเทคโนโลยีที่คุณประสบอยู่จะหมด ไปอย่างแน่นอน
For enquiries about listing, please contact us.
iPROS CORPORATION Thailand office
1308 13th Floor Wave Place Building, No. 55 Wireless Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Account Executive Mr.Visit Wongthavornkij (Oat) Mobile: 09-4490-4050 Mail: visit-w@ipros.jp
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
51
®
MiniSKiiP half bridge modules and high power PCBs A new approach for cost effective inverters up to 90 kW More than 20 million MiniSKiiP® modules can be found in drives and frequency converters across the globe. European inverter manufacturers, in particular, use these modules for low-power applications of up to 30-40 kW. Three quarters of these applications are standard drives for pumps, robotic arms, printing presses or compressors. This figure is expected to increase by a further three million MiniSKiiP® modules this year. Besides the established European market, the MiniSKiiP® family is gaining ground on Asian markets, too. This product is also available from two other suppliers, a fact that ensures that customer Also in the range of 40kW to 90 kW, the major manufacturers of frequency inverters expect average market prices to drop by around 3% each year. In order to stay competitive, drive and inverter manufacturers need to optimise their products by way of cost-efficient production and reduced material costs. The module solutions for frequency inverters in the range of 40kW to 90kW are currently dominated by baseplate modules with screwed bus bar
connections. By cutting down on costly bus bars, reducing module costs and using quick and easy single-screw assembly, the MiniSKiiP® concept is an excellent way to reduce costs for power modules, connectors and assembly also in the 40kW-90kW power range. In order to meet the constant market requirement for cost reduction, and to make the advantages of MiniSKiiP® available also for the higher power range, MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
53
the MiniSKiiP® product platform is extended with MiniSKiiP® half bridge modules. The new MiniSKiiP® Dual allows customers to use the well-established easy one/two screw mounted modules up to 90 kW in the voltage classes of 650V, 1200V and 1700V. The new MiniSKiiP® Dual features an optimised module design and printed circuit board (PCB) connection concept for 3-phase inverter applications, especially developed for compact inverter solutions and it significantly reduces the overall system cost compared to present module solutions. To enable module solutions with PCB power connectors to be applicable for higher power ratings, several design considerations have to be made. The reason for the approximately 40kW power limit of MiniSKiiP® is not that baseplate-free modules could not be used for high power. Baseplate-free solutions like SKiM and SKiiP are in the market for drives, wind, UPS and automotive applications up to MW range. In those modules, an intelligent internal chip layout provides optimum heat spread and, compared to baseplate modules, the required thickness of thermal interface material can be reduced by approx. 50%. Enhanced dissipation of thermal losses combined with pressure contact technology lead to low operating temperatures and increased reliability. However, all these solutions use screwed bus bar terminals for the power connection, whereas one-screw mounting concepts require the usage of PCB contacts for the power connectors. Using the MiniSKiiP®, auxiliary and power signals are transferred via the PCB board. Especially when high currents are transferred via the board, the operating temperature of the PCB will rise. However, 70-80°C operating temperature of the PCB should not be exceeded for reliable and safe operation. Due to width and thickness of the metal layers used in standard PCB boards, the maximum current is limited to about 150A rated module current. In order to extend the MiniSKiiP® to 80-90kW, nominal currents of up to 300A are required, which corresponds to about 180A RMS for 1200V configurations. Furthermore, the power density and heat generation inside the power module need to be addressed as the MiniSKiiP® is already a highly integrated module: topologies with 3 phase inverters, rectifier input bridges and a brake chopper and driver IC’s can be integrated in one housing. On the one hand, a high level of integration enables low volume and cost-effective inverter designs. On the other hand, thermal losses need to be managed and as power has to be increased further, the heat generated inside the modules requires optimised thermal management. For the MiniSKiiP® Dual, three main design objectives were important. Firstly, the use of existing module sizes of the MiniSKiiP® module platform. Together with the SPRING contacting concept, this ensures maximum compatibility of the MiniSKiiP® Dual with the existing MiniSKiiP® models. Secondly, the adaptation of the thermal management to the higher power in order to reduce chip and module operating temperatures. Thirdly, the increase of maximum usable current transferred by the PCB.
Module design The basic concept of the MiniSKiiP® Dual connects three MiniSKiiP® modules in parallel, one for each phase. The alignment of the power terminals is designed for 3-phase applications: the AC terminals are located opposite the DCconnections as shown in figure 1. The advantages of this power terminal alignment include the easy paralleling of MiniSKiiP® Dual modules and a low inductive connection of the DC terminals, allowing faster switching of the IGBTs and a higher DC link voltage due to the lower overvoltage peaks. These features are required for the design of efficient and space-saving inverters. In addition, the separation of the three phases into different modules improves the heat spread and increases the overall dissipation of thermal losses. The heated areas on the heat sink, caused by the thermal losses of the modules, are separated from each other. Heat build-up und heat concentration in the heat sink are avoided, and module temperatures are reduced even if operated at high current and power densities. The next design step was to adapt the spring contact concept to higher currents. Standard MiniSKiiP® modules are available in 6-Pack configurations up to nominal currents of 150A and CIB (Converter Inverter Brake) configurations up 100A nominal current. Up to eight springs in parallel are used for the AC, DC minus and DC plus connections. With one spring being capable of 20A RMS, a maximum of 160A per power connection is reached with this concept. Enabling the MiniSKiiP® Dual for high currents, up to 16 spring terminals per power contact are used. This ensures a maximum output current of approx. 320A RMS and leaves enough safety margin for the targeted 170-180A RMS, even if operated on overload. Thermal management The thermal management is one of the most important factors regarding the design of power modules. Maximum chip temperatures of 175°C and continuous operating temperatures of 150°C require efficient heat transfer to the heat sink. The heat transfer from chip to heat sink is influenced by several factors, mainly the heat conduction capability of the materials involved and the total area of heat dissipation. In case of baseplate-free modules like MiniSKiiP®, the heat path requires heat flow through chip, solder, DCB, thermal paste layer and the heat sink. Compared to baseplate concepts, the total number of interfaces and materials involved in the heat patch are reduced, as no base plate is present. Thus, the heat flow becomes more efficient. On the other hand, the elimination of the baseplate also has a disadvantage. In most module designs, the baseplate is not only used to establish the mechanical contact between module and heat sink, but it also acts as a heat spreader. The heat generated locally in the IGBT and diode chips spreads horizontally inside the copper baseplate, which increases the total area of heat transfer
Figure 1: Case layout of the MiniSKiiP Dual. The MiniSKiiP housings are paralleled for each phase, the AC terminals are opposite the DC terminals.
54 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
between module and heat sink. In turn, the total thermal resistance from the chip to the heat sink is reduced. Designing a base-free module without countermeasures for the heat spread would increase the thermal resistance compared to a solution with baseplate. Therefore, the design of baseplate-free modules follows different design rules. For the MiniSKiiP® Dual, the design requirements of high power modules come in handy: higher power requires paralleling of the several power semiconductor chips inside the module. For instance, in a standard baseplate module with 300A nominal current, two 150A IGBT’s and two 150A flyback diodes are switched in parallel for top and bottom switch - a principle sketch is shown in figure 2a). For the MiniiSKiiP Dual, this design was optimised by increasing the number of chips while maintaining the overall nominal current the same: four 75A IGBTs and three diodes are paralleled per switch, figure 2: b). In principle, the heat spread otherwise provided by the baseplate is now transferred into the module and resolved by the chip and DCB layout itself. The heat generated in each power device is distributed over a larger area, thus increasing the total area of heat flow to the heat sink, overcoming the missing thermal spread provided by the base plate. In addition, as no baseplate is present, the DCB can be pressed more homogeneously to the heat sink. Using the pressure system concept of MiniSKiiP®, the pressure stress of the central screw is transferred via several pressure points to the DCB, ensuring a tight contact between module and heat sink. As the pressure stress of the DCB to the heat sink is much more homogenous compared to baseplate solutions, the thickness of the thermal paste can be reduced by up to 50%. Since the thermal paste has the highest thermal resistance of all materials involved in the thermal path, the reduction of thermal paste thickness is a significant advantage of baseplate-free concepts, since the thermal resistance of the whole assembly is reduced significantly. Combining the reduced thermal paste thickness with the optimised internal chip layout, the heat dissipation and thermal spread of the MiniSKiiP® Dual are significantly increased, shown by finite element calculations in Figure 2.c). To analyze the limits of the current design, thermal losses of IGBT and flyback diode chips were subjected to the same thermal losses. This is a somewhat artificial operating condition for a drives application, but represents the condition of highest heat generation as heat is generated in all chips simultaneously. In the finite element calculation, the losses of the IGBT and the flyback diodes could be increased to 1 Wmm-2 until a junction temperature close to 150°C was reached for the hottest devices, which is the recommended maximum operating temperature for current chip generations. As expected, the highest temperatures are seen in the chips at the center of the module. A total power loss of 216 W for IGBT and 45 W for the flyback diodes can be efficiently dissipated by the multi-chip layout of the MiniSKiiP® Dual, which
Figure 2: a) schematic chip and DCB layout of a 300A baseplate module. Two 150A IGBT’s and diodes are paralleled for top and bottom switch. b) chip layout of MiniSKiiP Dual, showing four 75A IGBT’s and 3 diodes are in parallel. c) heat distribution of 300A/1200V MiniSKiiP Dual module. Thermal simulation by finite element analysis (Al2O3 substrate, Tambient: 25°C, convection: 1800Wm-2K, power losses for IGBT’s and diodes: 1 Wmm-2 , thermal paste thickness 50µm)
is the same range of conventional half bridge baseplate modules with equivalent nominal current. Replacing bus bars by high power PCB’s So far, the use of a printed circuit board for power and control terminals instead of copper bus bars was limited due to the maximum current capability of the PCBs. Standard PCBs for MiniSKiiP® use copper layers of 75µm – 105 µm thickness, which is sufficient for up to 40 kW. Using the MiniSKiiP® concept with spring connections for up to 90kW requires the replacement of screwed bus bar connections with solder- free PCB connections. In the case of 1200V modules, continuous RMS currents as high as 150A – 180A have to be transferred by the PCB board, which makes it necessary to optimise the PCB design and the routing of the power tracks. In a first step, the copper layers inside the PCB were more than doubled and increased to 210µm in order to decrease the resistivity of the power tracks and reduce heat generation inside the PCB. In a second step, the line width of the PCB tracks has been increased, leading to a further reduction of the track resistance. An additional advantage coming with larger track width is the larger area where the heat generated in the power track is cooled by convection of air. Thermal measurements performed on MiniSKiiP® modules show that with multi-layer PCBs with copper track thicknesses of up to 210µm or copper profiles [1], maximum continuous load currents of up to 170A are possible. In-situ temperature measurements of the PCB with an infrared camera shows progress in PCB temperature control, Figure 3. The setup shows a two-layer high power PCB with 210µm copper thickness mounted on a 300A/1200V MiniSKiiP® Dual. The MiniSKiiP® Dual is mounted on a water cooled heat sink. To simulate the conditions in inverter operation, the heat sink temperature was set to 83°C throughout the test. In order to study the effect of track width and PCB layout on the PCB operating temperature, different track routing was used for AC and DC terminals. For the AC terminal, a track width of 7cm was used, whereas at the DC minus terminal the track width is significantly smaller. A continuous DC current of 170A was applied from AC to DC minus terminal. The temperature measurement reveals an average PCB temperature of ~70°C. However, areas of higher temperatures can be observed in regions of higher current density close to the AC and DC minus connections. Especially at the DC minus terminal, temperatures above 90°C occur, whereas at the AC terminal the PCB temperature is between 70°C-80°C, showing the effect of layout and track width on the operating temperature on the PCB. The larger track width at the AC terminal reduces the track resistance and leads to lower operating temperatures. These analyses and considerations are used to define basic design rules for track width and PCB routing. Following these design rules which will be part of the technical documentation, low operating temperatures of the PCB are achieved, even if subjected to continuous currents as high as 170 A, maintaining safe and reliable operation of the
Figure 3: PCB temperature measurement with infrared camera, Top view of high power PCB. I=170A (DC) between AC and DC minus terminal. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
55
Type designation
VCES in V
Inom in A
Housing size
150
MiniSKiiP 2
200
MiniSKiiP 2
SKiiP 38 GB 07 E3 V1
300
MiniSKiiP 3
SKiiP 24 GB 12 T4 V1
150
MiniSKiiP 2
200
MiniSKiiP 2
SKiiP 38 GB 12 E4 V1
300
MiniSKiiP 3
SKiiP 22 GB 17 E4 V1
100
MiniSKiiP 2
150
MiniSKiiP 2
200
MiniSKiiP 3
SKiiP 24 GB 07 E3 V1 SKiiP 26 GB 07 E3 V1
SKiiP 26 GB 12 T4 V1
SKiiP 24 GB 17 E4 V1
650
1200
1700
SKiiP 36 GB 17 E4 V1 Figure 4: Output current Iout as a function of switching frequency fsw . DC link voltage = 750V, output voltage = 400V. Output frequency 50Hz, power factor = 0.85. Forced air cooling at 40°C ambient temperature.
MiniSKiiP® Dual in inverters up to 90kW. In conclusion, high power PCBs can be used for high current densities, and continuous currents up to 170A can be handled by commercially available PCBs. This allows for replacing the copper bus bars with PCBs, and makes the technical opportunities of the MiniSKiiP® concept usable in higher power ranges. Output Power The above design considerations and experimental results of module layout and thermal management were used as input for thermal loss calculations to address the usable output power of the MiniSKiiP® Dual. Figure 4 shows the output current of a 3-phase inverter with a 300A/1200V MiniSKiiP® Dual. For the latest IGBT and flyback diode generations, a junction temperature of 150°C is the maximum temperature for continuous operation. The output current in Figure 4 refers to a maximum calculated junction temperature of 150°C of IGBT or flyback diode, depending on the chip representing the highest temperature for given application conditions. With a 4kHz switching frequency, an output current of 180A RMS can be achieved. This is equivalent to an output power of more than 100kW at a DC link voltage of 750V. At 8kHz, an output current of 125A can be achieved (74 kW output power), and even at 12Khz 90A output current it’s possible to utilize more than 50KW output power. The considerations and design features of MiniSKiiP® Dual concerning the thermal management are pushing the output power of the MiniSKiiP® Dual right into the power range of comparable baseplate module designs up to 90kW, leaving enough headroom for overload conditions. Conclusion MiniSKiiP® is an established name in the world of power electronics. These modules are prized for their excellent power density, but also their fast and easy assembly. In fact, to connect the MiniSKiiP® module, PCB and heat sink, just one single screw is needed. Instead of soldered contacts, all of the power, gate and auxiliary connections to the PCB use pressure contacts. Thanks to the spring contact system - a unique selling point of this system over competitor IGBT modules – the electrical contacts boast longer service life and greater reliability, and the vibration resistance of the entire system is improved. The new addition to the MiniSKiiP® platform, the high power MiniSKiiP® Dual, now offers all design and cost reduction benefits that come with the MiniSKiiP® concept for a higher power range between 40-90kW, a power range 56 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Table 1: MiniSKiiP Dual Portfolio
which was not accessible so far and that used to be dominated by baseplate modules. A comprehensive portfolio for 650V, 1200V and 1700V applications will be available, covering a broad range of different applications – see table 1. The MiniSKiiP® Dual comes with nominal chip currents from 150A to 300A, using Trench IGBTs in combination with SEMIKRON CAL diodes. The housing sizes of the MiniSKiiP® Dual are equivalent to the standard MiniSKiiP® 2 and 3 housings, with the advantage that the principle design of existing power inverters with MiniSKiiP® can be transferred to higher power, saving cost and development time. In order to enable the MiniSKiiP® for higher power, several design features have been implemented. For a 3-phase inverter, three MiniSKiiP® half bridge modules are connected in parallel, one for each phase. AC and DC connectors sit opposite each other, supporting a compact and low inductive inverter layout. As the three phases are separated into different modules, a better thermal spread is obtained, giving more headroom for effective thermal management. The chip layout on the DCBs was designed for a baseplate-free module layout by paralleling of up to 4 IGBTs and 3 flyback diodes. The better heat spread obtained by this, combined with the reduced thermal paste thickness, enables the MiniSKiiP® Dual to handle output currents up to 180A in a 1200V setup. Special care has been taken to address the replacement of solid copper bus bars with high power PCBs. With the use of 210µm thick copper layer PCBs, increased track width and optimised PCB layout, phase currents of 170A can be used, keeping the PCB operating temperatures at a moderate 70°C to 80°C. The proven MiniSKiiP® spring technology is expanded by paralleling up to 16 springs for AC and DC connections. This allows for using the high reliability and easy mounting concept by spring contacts even for high current densities. In conclusion, the MiniSKiiP® Dual opens the door for new, cost-effective inverter designs in the 40-90 kW range, addressing the cost pressure that inverter manufacturers are facing. The key feature is the replacement of copper bus bars with high power PCBs. Cutting down on costly bus bars, reducing module costs and using the quick and easy single-screw assembly, MiniSKiiP® modules can be used to reduce the costs of inverter systems by more than 20% over inverters based on standard modules with baseplate and screw connections. The MiniSKiiP® Dual is an ideal extension of the existing MiniSKiiP® platform. Together with the MiniSKiiP® standard topologies, the 3-level MiniSKiiP® MLI and the MiniIPM, featuring an integrated driver, MiniSKiiPs cover a power range from 4-90kW and a large variety of different applications.
เทคโนโลยีอันกาวลํ้าเพื่อนํ้าบริสุทธิ์ นวัตกรรมการบําบัดนํา้ ของ บริษทั แลงเซส (LANXESS) เพอื่ ผูบ ริโภคและเพอื่ ใช ในภาคเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม
จากปริมาณนํ้ามากมายมหาศาลที่ปกคลุมบนพื้นผิวโลกของเรา แลงเซสนําเสนอเทคโนโลยีอันกาวหนาสําหรับการบําบัดนํ้าอยางมือ มีเพียงรอยละ 3 ที่เปนนํ้าจืดและเปนประโยชนโดยตรงสําหรับมนุษย อาชีพเพื่อใหแนใจวาทรัพยากรอันมีคานีจ้ ะมีเพียงพอตอการใชงาน เนื่ อ งจากความต อ งการนํ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งทั่ ว โลก ทั่วโลกในอนาคต ทํ า ให นํ้ า ส ะ อ า ด แ ล ะ นํ้ า ดื่ ม ป ร ะ ส บ ภ า ว ะ ข า ด แค ล น ม า ก ขึ้ น
การบํ า บั ด นํ้ า สํ า หรั บ กระบวนการผลิตอาหาร ทัง้ Lewabrane และ Lewatit สามารถใชบาํ บัด นํ้าสําหรับอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร โดย Lewabrane ใชบาํ บัดนํา้ สําหรับกระบวนการผลิต (อาทิ นํา้ ตม) หรือการรีไซเคลิ นํา้ กลับมาใชใ นกระบวน การผลิตใหม ขณะที่ Lewatit ใชสาํ หรับการทําให ผลิตภัณฑบริสทุ ธิย์ งิ่ ขึน้ (อาทิ การฟอกสีในนํา้ ตาล) ®
®
®
®
การบําบัดนํ้าเสียในเมือง เทคโนโลยีการบําบัดนํา้ ดวยระบบ รีเวอรส ออสโมซิส (Reverse Osmosis) ดวยเยอื่ เมมเบรน – Lewabrane ที่มีประสิทธิภาพสูงของเราจะชวยบําบัดนํ้าเสียในเมืองใหเปนนํ้าที่สามารถนํากลับมาใชงานไดอีกครั้ง ดวยการขจัดสารที่เปนอันตราย เชน เหล็ก และ แมงกานีส เยื่อเมมเบรน Lewabrane จะชวยทําให นํา้ ประปามีความสะอาด ปลอดภัยและยัง่ ยืน ซึง่ มีความสําคัญตอพืน้ ทีท่ มี่ สี ภาพอากาศทีแ่ หงแลงหรือมี ขอจํากัดในการใชนํ้าบริสุทธิ์ ®
®
การแยกเกลือออกจากนํ้าทะเลบนชายฝง ดวยแผนเยือ่ เมมเบรน Lewabrane ทีส่ ามารถกรองแยกเกลือออกจากนํา้ ทะเลไดตามความตองการ และรองรับการใชงานไดทงั้ กลุม ใหญหรือกลางทีม่ คี วามตองการใชนาํ้ ในปริมาณทีไ่ มมาก เชน อาคาร โรงแรมหลังจากกระบวนการแยกเกลือออกจากนํา้ ทะเล แลวนํา้ จะถูกเตมิ ดวยแรธาตุเพอื่ ใหสามารถบริโภค ไดตอ ไป ดวยคุณสมบัตเิ ฉพาะของ Lewabrane และ Lewatit จะสามารถกําจัดและกรองสารประกอบ ที่เปนอันตราย เชน โบรอน ออกไดอยางมีประสิทธิภาพ ®
®
®
ไสกรองเมมเบรน Lewabrane เปนการทํานํ้าใหบริสุทธิ์ดวย กระบวนการรีเวอรส ออสโมซิส ไสก รองดังกลาวประกอบดวย เมมเบรนผสมที่มีลักษณะเยื่อบางซอนเปนขดเกลียวซึ่งถูก พัฒนาเพื่อการบําบัดนํ้ากรอยและนํ้าทะเลโดยเฉพาะ รับประกัน การไหลผานของเกลือในระดับตํา่ มากและชวยกักเก็บสารอินทรีย ไวได คุณสมบัติทางเคมีของเมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส และโครงสรางไสกรองยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพและควบคุม ตนทุนการผลิตนํ้าดื่มได ®
การบำบัดน้ำด้วย Lewatit เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่มีความ หลากหลายช่วยแยกและขจัดอนุภาคสารละลายออกจากของ เหลวเรซินแลกเปลีย่ นไอออนถูกใช้ประโยชน์หลายด้าน รวมถึง การขจัดสารพิษในน้ำเสียของภาคอุตสาหกรรมและรวมถึง น้ำบาดาล Lewatit สามารถใช้ผลิตน้ำบริสทุ ธิค์ ณ ุ ภาพสูง และไอน้ำ ซึง่ ช่วยให้เครือ่ งมือและเครือ่ งจักรมีอายุใช้งานทีย่ าว นานกว่าและมีการปฏิบัติงานที่น่าเชื่อถือมากขึ้น นอกจากนี้ Lewatit ยังจำเป็นสำหรับการผลิตอาหารและเครื่องดื่มที่มี ความบริสุทธิ์และต้องการรสชาติแบบดั้งเดิม ®
®
®
การบําบัดนํ้าสําหรับภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมใช Lewabrane และ Lewatit สําหรับการบําบัดนํา้ ในแมนาํ้ เพอื่ ใช ในกระบวนการผลิต อาทิ นํา้ สําหรับหมอตมหรือนํา้ บริสทุ ธิค์ ณ ุ ภาพสูง สําหรับใชใน กระบวนการผลิต ซึง่ มีความสําคัญในดานความปลอดภัยและการใชงานระยะยาวของ โรงงานอุตสาหกรรมเทคโนโลยีทั้งสองแบบนี้สามารถทํางานผสมผสานกันไดอยาง ลงตัวดวยซอฟตแวร LewaPlus ®
®
®
ซอฟตแวร LewaPlus เปน เครือ่ งมือสําหรับการวางแผนระบบ บําบัดนํา้ ทีค่ รอบคลุมดวยการใชระบบรีเวอรส ออสโมซิส และ เรซินแลกเปลีย่ นไอออน ซอฟตแวรจะชวยออกแบบระบบ เมอื่ ตองการระบบแบบผสมระหวางเมมเบรน รีเวอรส ออสซิส Lewabrane และ เรซินแลกเปลี่ยนไอออนของ Lewatit โดยที่ลูกคาของเราไมมีคาใชจายเพิ่มเติมและสามารถปรับแตง ใหตอบสนองตอการใชงานและขอกําหนดของลูกคาเฉพาะ รายได ®
®
การแยกเกลือออกจากนํ้าทะเลนอกชายฝง เนอื่ งจากเมมเบรน Lewabrane ทีไ่ มจาํ เปน ตองการการบํารุงรักษามากและประหยัดเนอื้ ที่ จึงสามารถ นําไปใชเพื่อการบําบัดนํ้า เพื่อบริโภค และใชงานบนเรือเดินสมุทรและยานพาหนะทางนํ้าได เทคโนโลยีการ บําบัดนํ้าของเราแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพการบําบัดนํ้ารูปแบบใหมและการพัฒนาระบบนํ้าประปาที่ ทํางานอยางเปนอิสระ ®
ขอมูลติดตอ: LANXESS sales representative: Mark Seah Tel: +65 6725 5814 E-mail: mark.seah@lanxess.com
®
TECHNICAL MATTER P.61 R&D CORNER การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศึกษา: โรงงานประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ) โดย ศิวะ ไวท์รงุ่ โรจน์ นักศึกษาปริญญาโทภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ณฐา คุปตัษเฐียร หัวหน้าประจ�าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี “เมื่อฉบับที่แล้ว ได้กล่าวถึงบริษัทตัวอย่างกรณีศึกษาซึ่งเป็นบริษัทที่ด�าเนินธุรกิจเกี่ยวกับการประกอบแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ควบคุมการท�างานของฮาร์ดดิสก์ โดยมีปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต คือ ก�าลังการผลิต ไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าและต้นทุนการผลิตที่สูง ดังนั้น จึงต้องท�าการปรับปรุงขั้นตอนในกระบวนการผลิต โดยใช้เทคนิค DMAIC ซึ่งมีเรื่องราวของผลการด�าเนินการวิจัยในด้านการเพิ่มผลิตรุ่น Helios 3.0 เป็น 20,000 ชิ้นต่อวัน มาตามกันต่อในฉบับนี้จนจบเรื่องราวของงานวิจัยเรื่องนี้”
P.70 R&D CORNER
จอกยางนาโน… ลดการสูญเสียนับหมื่นล้านบาท สถานวิจยั ความเป็นเลิศนาโนเทคโนโลยีเพือ่ พลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สมาคมน�า้ ยางข้นไทย “อัพเดทงานวิจัยรอบด้าน ด้วยหลากเรื่องราวและหลากผู้คิดค้นผลงานคุณภาพ ให้นักอุตสาหกรรมได้ต่อยอด และสานต่อแนวคิด ฉบับนี้เป็นผลงานวิจัยของสถานวิจัยความเป็นเลิศนาโนเทคโนโลยีเพื่อพลังงาน มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ร่วมกับสมาคมน�้ายางข้นไทย ในการพัฒนานวัตกรรมนาโนผลิตภัณฑ์พ่นเคลือบผิว เพื่อลดการสูญเสีย น�้ายางพาราสด โดยมุ่งหวังให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยลดการสูญเสียน�้ายางให้แก่ภาคอุตสาหกรรมไทยได้เป็นจ�านวนมาก”
P.75 KURU
แบริ่ง (ตอนที่ 4) โดย สุรยิ นั ต์ เทียมเพ็ชร์
ทีป่ รึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking
“เจาะลึกถึงเทคนิคด้วยข้อมูลคุณภาพ โดยคอลัมน์นิสต์ประจ�าผู้มากด้วยประสบการณ์ อาจารย์ สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking โดยฉบับนี้เป็นเรื่องราวของแบริ่ง (ตอนที่ 4) ซึ่งกล่าวถึงเรื่อง Rolling Bearing ซึ่งภาษาเยอรมันเรียกว่า Waelzager ส่วนช่างไทยส่วนใหญ่เรียกว่า ลูกปืน”
P.78 PRINCIPLE
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง เพื่อยานยนต์ที่ปลอดภัยและประหยัดพลังงาน รศ.ดร.พงศ์พันธ์ แก้วตาทิพย์ ภาควิชาเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี “เหล็กกล้าความแข็งแรงคืออะไร ท�าไมรถยนต์สมัยใหม่ต้องใช้เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง มีกี่ประเภท และเหล็กกล้าความแข็งแรงสูงใช้ท�าชิ้นส่วนไหนของรถยนต์ เป็นค�าถามที่จะพบในบทความในคอลัมน์นี้ค่ะ ที่ว่าจะว่าด้วยเรื่องของการประยุกต์ใช้เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงเพื่อยานยนต์ที่ปลอดภัยและประหยัดพลังงาน”
R&D CORNER การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศึกษา : โรงงานประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ)
การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC
กรณีศึกษา : โรงงานประกอบ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ)
เมือ่ ฉบับทีแ่ ล้ว ได้กล่าวถึงบริษทั ตัวอย่างกรณีศกึ ษาซึง่ เป็นบริษทั ทีด่ า� เนินธุรกิจเกีย่ วกับการประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทใี่ ช้ควบคุมการ ท�างานของฮาร์ดดิสก์ โดยมีปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต คือ ก�าลังการผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าและต้นทุนการ ผลิตทีส่ งู ดังนัน้ จึงต้องท�าการปรับปรุงขัน้ ตอนในกระบวนการผลิตโดยใช้เทคนิค DMAIC ซึง่ มีเรือ่ งราวของผลการด�าเนินการวิจยั ในด้าน การเพิ่มผลิตรุ่น Helios 3.0 เป็น 20,000 ชิ้นต่อวัน มาตามกันต่อในฉบับนี้ ศิวะ ไวท์รุ่งโรจน์ นักศึกษาปริญญาโทภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ณฐา คุปตัษเฐียร หัวหน้าประจ�าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
1.4 การปรับปรุงกระบวนการ (Improve Phase)
เริ่มปรับปรุงกระบวนการในสายการผลิตที่ 1 เพียงสายเดียวก่อนเป็นเวลา 3 วัน แล้วเปรียบเทียบกับข้อมูลก่อนการปรับปรุงกระบวนการ พบว่าได้ปริมาณงานเพิ่มขึ้น 17% จากนั้นท�าการปรับกระบวนการทั้ง 3 สายการผลิตแล้วเก็บข้อมูลเป็นเวลา 6 วัน ต่อเนื่อง พบว่าปริมาณงานผลิตที่เป็นผลผลิตแรก (First Yield) มีค่าเฉลี่ยที่ 20,229 ชิ้น และไม่มีวันใดที่ได้ยอดผลิตต�่ากว่าเป้าหมายที่ 20,000 ชิ้น
1.5 การควบคุมกระบวนการ (Control Phase)
เฝ้าระวังรอบเวลางานของสายประกอบทั้ง 3 สายผลิตด้วยแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ย และแผนภูมิควบคุมพิสัย (X Bar - R Chart) เพราะอาจเกิดการผิดพลาดในขั้นตอนการ วางอุปกรณ์เนือ่ งจากการสึกหรอของหัวหยิบ (Nozzle) หรือการผิดพลาดอืน่ ๆ ซึง่ อาจส่ง ผลให้รอบเวลางานสูงขึ้น โดยท�าการเก็บข้อมูลต่อเนื่องเป็นเวลา 2 เดือน พบว่ามีเพียง 4 วันที่ปริมาณการผลิตรวมไม่ถึง 20,000 ชิ้น แต่ก็ไม่ส่งผลกระทบเนื่องจากปริมาณงาน ทีข่ าดนัน้ มีจา� นวนไม่มาก ซึง่ สามารถน�างานดีจากวันก่อนหน้ามาเติมให้ครบตามจ�านวนได้
1.6 สรุปผลการทดลอง
รูปที่ 6 ปริมาณงานผลผลิตแรก (First Yield) หลังจากปรับปรุงกระบวนการเป็นเวลา 2 เดือน
น�าข้อมูลก่อนปรับปรุงกระบวนการ ช่วงวันที่ 3 มกราคม - 12 กุมภาพันธ์ 2555 ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 17,290 ชิ้นต่อวัน เปรียบ เทียบกับหลังปรับปรุงกระบวนการช่วงวัน ที่ 13 กุมภาพันธ์ - 12 เมษายน 2555 ซึ่ง มีค่าเฉลี่ย 20,147 ชิ้นต่อวัน พบว่ายอด งานเพิม่ ขึน้ 16.5% ซึง่ บรรลุเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ 15%
2 ลดปริมาณสิ่งบกพร่องอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอย 2.1 การก�าหนดปัญหา
การผลิตสินค้ารุ่น Helios 3.0 พบว่าปัญหาของสิ่งบกพร่องที่เกิดขึ้นสูงสุดคืออุป กรณ์คอนเนคเตอร์ลอยซึ่งคิดเป็น 4.12% จากงานที่ผลิตตั้งแต่มกราคม - มีนาคม 2555 โดยขอบเขตของงานวิจยั นีจ้ ะท�าการแก้ไขเฉพาะทีเ่ กิดจากสาเหตุการโก่งของตัวอุปกรณ์ หลังจากผ่านเครือ่ งหลอมดีบกุ (Reflow Soldering) ซึง่ เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการ ผลิตเท่านัน้ ถ้าเป็นปัญหาจากบริษทั ผูผ้ ลิต (Supplier) ทีมงานจะส่งข้อมูลไปให้หน่วยงาน ที่รับผิดชอบต่อไป ซึ่งเป้าหมายที่ตั้งไว้คือลดจ�านวนของเสียลงให้เหลือต�่ากว่า 2%
2.2 การวัดกระบวนการ (Measure Phase)
1) การประเมินความสามารถของ ระบบการวัดแบบข้อมูลนับ (Attribute Gage R&R) วิเคราะห์ประสิทธิภาพของพนักงาน ในการตรวจสอบสิง่ บกพร่องทีม่ ผี ลลัพธ์อยู่ รูปที่ 7 ลักษณะปัญหาอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอย 2 ทางคืองานดีหรืองานเสีย ซึ่งมีขั้นตอน ทดสอบคือเตรียมชิ้นงานต้นแบบจ�านวน 40 ชิ้น ซึ่งเป็นงานดี 15 ชิ้น งานเสีย 15 ชิ้น งานเกือบดี 5 ชิ้น และงานเกือบเสียอีก 5 ชิ้น แล้วให้พนักงานประจ�าจ�านวน 6 คน ท�าการตรวจสอบชิ้นงานต้นแบบทุกชิ้นๆ ละ 2 ครั้งโดยท�าการทดลองแบบสุ่ม ซึ่งในการตรวจสอบนั้นให้ใช้เกจวัด ความหนา (Feeler Gauge) ความหนา 0.15 มม. สอดเข้าไปใต้ตัวอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ (Connector) ดังรูปที่ 8 โดยมี ข้อก�าหนดเฉพาะคือต้องไม่สามารถสอดเก จวัดความหนาเข้าไปได้ถึงจะเป็นงานดี ซึ่ง หมายความว่าตัวอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ไม่ รูปที่ 8 การตรวจสอบปัญหาอุปกรณ์คอนเนค ลอยหรือลอยไม่เกิน 0.15 มม. จากนั้น เตอร์ลอย ให้บันทึกผลการตรวจสอบแล้วค�านวณค่า ทดสอบต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 2 ซึ่งจะเห็นว่าพนักงานทุกคนมีค่าความมั่นใจ (Consistency) ที่ 100% แสดงว่าพนักงานมีความมั่นใจในการตรวจสอบชิ้นงานดีมาก มี ประสิทธิผลในการตรวจสอบมากกว่า 95% ซึ่งมากกว่าเกณฑ์การยอมรับที่ 90% มีค่า ปฏิเสธผิดพลาดไม่เกิน 5% ซึ่งเท่ากับเกณฑ์การยอมรับ และค่ายอมรับผิดพลาดที่ 0% ซึ่งหมายความว่าพนักงานกลุ่มนี้จะไม่ปล่อยงานเสียออกไปสู่ลูกค้า สรุปคือ ระบบการ วัดผลของพนักงานกลุ่มนี้อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ไม่ต้องส่งพนักงานคนใดกลับไปอบรมใหม่ แล้วสามารถน�าข้อมูลที่ผ่านระบบการวัดผลนี้ไปวิเคราะห์ในขั้นตอนต่อไปได้ 2) ความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) ส�าหรับปัญหาอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอยต้องใช้หลักการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบ ทวินาม (Binomial) เพราะข้อมูลสิง่ บกพร่องทีใ่ ช้วเิ คราะห์เป็นแบบไม่ตอ่ เนือ่ ง (Discrete Distribution) ซึ่งจากข้อมูลตั้งแต่ มกราคม - มีนาคม 2555 ได้ค่าคะแนนมาตรฐาน (Process Z Score) เท่ากับ 1.737 หรือค�านวณเป็นดัชนีวัดความสามารถกระบวนการ (Cpk) เท่ากับ 0.58 (1.737/3) MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
61
R&D CORNER การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศึกษา : โรงงานประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ) ตารางที่ 2 ความสามารถในการตรวจสอบ อุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอยของพนักงาน
2.3 การวิเคราะห์กระบวนการ
วิเคราะห์ปญ ั หา “อุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอย” ผ่านแผนภูมกิ า้ งปลาผ่านแผนภูมกิ า้ ง ปลาและการวิเคราะห์สาเหตุของลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบซึ่งได้ปัจจัยป้อนเข้า ที่น่าจะส่งผลต่อความผันแปรคือ ตัวอุปกรณ์คอนเนคเตอร์มีความสามารถทนอุณหภูมิ ได้ต�่าเลยเกิดการโก่งหลังจากผ่านเครื่องหลอมดีบุก 1. ทดสอบสมมติฐานการโก่งตัวของ SATA connector หลังผ่านเครื่องอบ ความร้อน หาขนาดของสิ่งตัวอย่างที่จะท�าการทดสอบ (Sample Size) ซึ่งได้ขนาดของสิ่ง ตัวอย่างที่ 1,572 โดยมีค่าก�าลังการทดสอบเป็น 95% 1.1 วีธีการประกอบอุปกรณ์คอนเนคเตอร์แบบใหม่ เมื่อทราบแล้วว่าความร้อนในเครื่องหลอมดีบุก (Reflow Soldering) ส่งผลให้อุป กรณ์คอนเนคเตอร์เกิดการโก่งตัวจนท�าให้เกิดปัญหาการลอยขึ้น แต่เมื่อท�าการตรวจ สอบอุณภูมิโปรไฟล์พบว่าเป็นค่าที่อยู่ในข้อก�าหนดของลูกค้าซึ่งไม่สามารถที่จะปรับลด ค่าอุณหภูมิลงมาได้ เพราะอาจท�าให้ความสามารถในการเชื่อมติดระหว่างอุปกรณ์กับ แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PCB) มีคุณภาพต�่าลง ดังนั้นจึงน�าทองเหลืองมาท�าเป็นแท่ง ยาวแล้ววางพาดลงบนอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ดังรูปที่ 9 ก่อนที่ชิ้นงานจะเคลื่อนที่เข้าสู่ เครื่องหลอมดีบุกเพื่อกดไม่ให้มีการโก่งตัวขณะดีบุกก�าลังหลอมเหลว 1.2 การตั้งสมมติฐานการทดลอง การทดลองนี้ใช้การเปรียบเทียบสัดส่วน ของเสีย 2 กลุ่มตัวอย่าง (2 Proportion - T) ระหว่างวิธีประกอบแบบเดิมกับวิธีประกอบ แบบใหม่ ว่าสัดส่วนของเสียจากวิธแี บบใหม่มี ค่าน้อยลงจากวิธีแบบเดิมมากกว่า 2% อย่าง มีนัยส�าคัญทางสถิติหรือไม่ ซึ่งสามารถตั้ง สมมติฐานการทดลองดังนี้
รูปที่ 9 การวางทองเหลืองกดทับ อุปกรณ์คอนเนคเตอร์
H0: p1 - p2 H1: p1 - p2
= >
0.02 0.02
(3)
ก�าหนดให้ P1 = สัดส่วนของเสียคอนเนคเตอร์ลอยด้วยวิธีการเดิม P2 = สัดส่วนของเสียคอนเนคเตอร์ลอยด้วยวิธีการใหม่ 1.3 การทดสอบสมมติฐานการทดลอง ขั้นแรกท�าการคัดตัวอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ที่โก่งงอจากผู้ผลิตออกไปก่อน ให้เหลือ แต่ตัวดีที่ใช้ทดลองจ�านวน 3,200 ตัว เพื่อเป็นการควบคุมปัจจัยให้ผลการทดลองมีความ น่าเชื่อถือมากที่สุด จากนั้นท�าการทดสอบโดยผลิตแบบเดิม 1,600 ชิ้น และผลิตแบบวิธี ใหม่ที่ใช้แท่งทองเหลืองกดทับอีก 1,600 ชิ้น ซึ่งทดลองในสายผลิตเดียวกันและอุณหภูมิ โปรไฟล์ของเครือ่ งอบเท่ากัน จากนัน้ ทดสอบสมมุตฐิ านด้วยการเปรียบเทียบสัดส่วนของ เสีย 2 กลุม่ ประชากร (2 Proportion – T) ซึง่ ได้คา่ ความแตกต่างของประชากร (P-Value) เท่ากับ 0.012 สามารถตีความได้ว่าสัดส่วนของเสียในการประกอบด้วยขั้นตอนแบบใหม่ มีค่าน้อยกว่าสัดส่วนของเสียในการประกอบด้วยขั้นตอนแบบเดิมมากกว่า 2% อย่างมี นัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% 1.4 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน จากผลการทดสอบสมมติฐานสามารถลดของเสียอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอยจาก 5% เหลือ 1.6% ด้วยการน�าแท่งทองเหลืองมาวางกดทับบนอุปกรณ์คอนเนคเตอร์หลังจาก วางด้วยเครื่องจักรวางอุปกรณ์ที่ 4 แล้วจึงผ่านชิ้นงานเข้าเครื่องหลอมดีบุก
2.4 การปรับปรุงกระบวนการ
1. สั่งผลิตแท่งทองเหลือง ค�านวณแท่งทองเหลืองที่ต้องใช้จากรอบเวลางานของสายประกอบคือ 36 วินาที ซึ่ง ได้เท่ากับ 400 แท่งต่อสายผลิต หรือคิดเป็นทั้งหมด 1,200 แท่ง 2. เพิ่มขั้นตอนการวางแท่งทองเหลือง ปัจจุบันมีพนักงานประจ�า 1 คนท�าการสุ่มตรวจสอบการวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ของเครื่องจักรก่อนที่ชิ้นงานจะเคลื่อนเข้าสู่เครื่องหลอมดีบุกอยู่แล้ว ดังนั้นการเพิ่ม กิจกรรมนี้ จึงไม่ได้เป็นการเพิ่มจ�านวนคนเพียงแต่เป็นการเพิ่มงานให้กับพนักงาน ซึ่งสิ่งที่ ต้องควบคุมคืออย่าให้รอบเวลาท�างานของพนักงานในจุดนี้มีค่าสูงกว่า 36 วินาที เพราะ อาจส่งผลกระทบต่อยอดงานผลิต แต่จากการวัดรอบเวลางานพบว่าแม้เพิ่มกิจกรรมการ วางแท่งทองเหลืองแต่รอบเวลาเฉลีย่ ก็ยงั มีคา่ เท่ากับ 26 วินาที ดังนัน้ สรุปว่ากิจกรรมการ วางแท่งทองเหลืองที่เพิ่มขึ้นมาจะไม่ส่งผลกระทบต่อยอดงานผลิต 3. ใช้การวางแท่งทองเหลืองกับทั้ง 3 สายผลิต เริ่มใช้วิธีการประกอบแบบใหม่กับทั้ง 3 สายผลิตเป็นเวลา 6 วัน พบว่าปริมาณของ เสียเหลือเพียง 1.43% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่น้อยกว่า 2%
2.5 การควบคุมกระบวนการ
ออกเอกสารถึงขั้นตอนการวางแท่งทองเหลือง (Process Instruction) และรวมถึง เอกสารเกี่ยวกับการตรวจสอบสภาพของแท่งทองเหลืองหลังจากถูกใช้งาน (PM Check Sheet) เพราะต้องผ่านเข้าออกเครือ่ งอบความร้อนซ�า้ ๆหลายครัง้ จึงอาจมีการเสือ่ มสภาพ ได้ และเนื่องจากข้อมูลของเสียเป็นข้อมูลแบบนับจึงใช้แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (P - Chart) ในการเฝ้าระวังกระบวนการเป็นระยะเวลา 9 สัปดาห์ ซึ่งพบว่าสัดส่วนของ เสียอยู่ภายใต้การควบคุมแสดงว่ากระบวนการอยู่ในสภาวะเสถียรสามารถน�าข้อมูลนี้ไป วิเคราะห์และใช้ในการตัดสินใจขัน้ ต่อไปได้ โดยมีคา่ เฉลีย่ ของเดือนพฤษภาคม – มิถนุ ายน 2555 เท่ากับ 1.42% ดังรูปที่ 10
รูปที่ 10 การเฝ้าระวังของเสีย อุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอย
62 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
R&D CORNER การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศึกษา : โรงงานประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ)
2.6 สรุปผลการทดลอง
1. การลดปริมาณของสิ่งบกพร่อง สามารถลดสิง่ บกพร่องจากอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอย โดยเมือ่ น�าข้อมูลก่อนปรับปรุง กระบวนการช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม 2555 มาเทียบกับข้อมูลหลังปรับปรุง กระบวนการช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2555 พบว่าสิ่งบกพร่องลดลงจาก 4.12% เหลือเพียง 1.42% ซึ่งบรรลุเป้าหมายคือต�่ากว่า 2%. 2. ความสามารถของกระบวนการเพิ่มขึ้น ข้อมูลของสิ่งบกพร่องหลังปรับปรุงกระบวนการตั้งแต่ พฤษภาคม - มิถุนายน 2555 สามารถค�านวณค่าคะแนนมาตรฐาน (Process Z Score) ได้เท่ากับ 2.193 สูงขึ้นจาก เดิมที่ 1.7375 หรือเพิ่มขึ้น 26.22% 3. วิเคราะห์จุดคุ้มทุนของโครงการ ในการลดปัญหาอุปกรณ์คอนเนคเตอร์ลอยได้ใช้แท่งทองเหลืองเป็นอุปกรณ์ช่วยใน การประกอบแผงวงจรอิเล็คทรอนิกส์ซึ่งก่อให้เกิดต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงสรุป ต้นทุนและค�านวณจุดคุ้มทุนซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ • เงินลงทุนค่าทองเหลืองทั้งหมด 72,000 บาท • ต้นทุนค่าซ่อมงานที่ลดลงเท่ากับ 25,770 บาทต่อเดือน ซึ่งคิดจากสิ่งบกพร่อง ที่ลดลงจาก 4.12% เหลือ 1.42% • ค�านวณจุดคุ้มทุนโดยน�าเงินลงทุน 72,000 หารด้วยต้นทุนค่าซ่อมงานที่ลดลง ต่อเดือน ซึ่งจะได้ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 3 เดือน
3 เปลี่ยนยี่ห้อดีบุกครีมเพื่อลดต้นทุนในการผลิต 3.1 การก�าหนดปัญหา
วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Material) ที่มีค่าใช้จ่ายการสั่งซื้อมากที่สุดคือ ดีบุกครีม (Solder Paste) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 250,000 บาทต่อเดือน จึงเป็นเหตุผลที่เลือกท�าการ ลดต้นทุนของวัตถุดิบนี้และเมื่อเทียบราคาดีบุกครีมใหม่ที่มีราคาถูกลงกิโลกรัมละ 250 บาท จะสามารถลดต้นทุนค่าวัตถุดิบลงได้ประมาณ 10%
3.2 การวัดกระบวนการ
1. ค่าเอนเอียง (Bias) และสมบัติเชิงเส้น (Linearity) ให้พนักงาน 1 คนท�าการวัดค่าความสูงต้นแบบ 3 ค่าคือ 0.10257, 0.12145 และ 0.15052 มม. โดยวัดซ�้าค่าละ 10 ครั้งโดยการทดลองแบบสุ่ม แล้ววิเคราะห์ผลพบว่า ค่าเอนเอียงของระบบการวัดมีความเบีย่ งเบนในการวัดค่าความสูงห่างจากค่าอ้างอิงเทียบ
กับความผันแปรของกระบวนการมีค่า 2.0% และค่าสมบัติเชิงเส้นพบว่าเปอร์เซ็นต์ เชิงเส้นตรงเทียบกับความผันแปรของกระบวนการมีค่าเท่ากับ 0.6% และค่าสัมประสิทธิ์ การตัดสินใจ (R-Square) มีค่าเท่ากับ 81.3% แสดงว่าข้อมูลนี้มีความน่าเชื่อถือ สรุปได้ ว่าค่าเอนเอียงและสมบัติเชิงเส้นตรงของระบบการวัดค่าความสูงดีบุกอยู่ในเกณฑ์ดี 2. ความมีเสถียรภาพ (Stability) เลือกความสูงต้นแบบ 1 ค่าคือ 0.12145 มม. เพราะเป็นความสูงที่ใกล้เคียงกับค่าที่ ต้องการศึกษา แล้ววัดความสูง 2 วัน ต่อครั้งๆ ละ 5 ข้อมูล โดยเก็บข้อมูล 20 ตัวอย่าง (ตลอดช่วงของงานวิจัย) แล้ววิเคราะห์เสถียรภาพด้วยแผนภูมิควบคุม พบว่าข้อมูลอยู่ ภายใต้สภาวะควบคุมของแผนภูมิควบคุมค่าพิสัยแสดงว่าระบบการวัดมีเสถียรภาพและ มีความสม�่าเสมอที่ดี และอยู่ภายใต้สภาวะควบคุมของแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยแสดงว่า ระบบการวัดไม่มปี ญ ั หาด้านความถูกต้องในค่าวัด จึงสรุปว่าระบบการวัดมีความสามารถ ในการวัดอย่างสม�่าเสมอภายในระยะเวลาที่ก�าหนด 3. ความเที่ยงตรง (Precision) ให้พนักงาน 2 คนวัดค่าความสูงดีบุกของชิ้นงานทั้งหมด 10 ชิ้นจากสายผลิต โดย วัดชิ้นละ 2 ครั้งด้วยการทดลองแบบสุ่ม ในต�าแหน่งอุปกรณ์ IC-U5 เพราะมีจ�านวนจุด เชือ่ มต่อ (Pad) มากและระยะห่างของจุดเชือ่ มต่อใกล้กนั มาก จึงเสีย่ งกับปัญหาการเชือ่ ม ต่อของดีบุกระหว่างจุดเชื่อมข้างเคียง (Solder Bridging) หากค่าความสูงดีบุกมากเกิน ไป แล้ววิเคราะห์ผลได้ดังนี้ 3.1 ค่าการแยกประเภทข้อมูล (Number of Distinct Categories) มีค่าเท่ากับ 10 หมายความว่าเครื่องมือวัดสามารถแยกความแตกต่างข้อมูลได้ 10 ประเภท และตรวจ จับความผันแปรในกระบวนการได้ดี 3.2 ค่าความผันแปรเครื่องมือวัด (Contribution) เท่ากับ 1.83 % หมายความว่า ค่าวัดที่ได้จากเครื่องวัดความสูงดีบุกมีความผันแปรเนื่องจากเครื่องมือวัดเพียง 1.83% แสดงว่าสามารถใช้เครื่องวัดนี้ท�าการทดลองได้ 3.3 อิทธิพลของปัจจัยร่วมระหว่างพนักงานวัดและสิ่งตัวอย่าง พบว่าค่าความแตก ต่างของประชากร (P-Value) เท่ากับ 0.962 ซึ่งมากกว่า α = 0.05 หมายความว่าไม่มี อิทธิพลร่วมระหว่างพนักงานวัดและสิ่งตัวอย่าง 3.4 ปัจจัยพนักงานวัด พบว่าค่าความแตกต่างของประชากร (P-Value) เท่ากับ 0.521 ซึง่ มากกว่า α = 0.05 หมายความว่าพนักงานทัง้ สองคนวัดความสูงดีบกุ ได้ไม่แตก ต่างกัน
3.3 การวิเคราะห์กระบวนการ
ดีบุกครีมต่างยี่ห้ออาจมีคุณสมบัติทางเคมีที่เหมือนกันแต่ลักษณะทางกายภาพอาจ แตกต่างกัน เช่น ความหนืด (Viscosity) หรือขนาดของเม็ดดีบุกที่เป็นส่วนประกอบ ซึ่ง จะส่งผลต่อการปรับค่าพารามิเตอร์ของเครื่องจักรเพื่อให้ได้ค่าความสูงของดีบุกที่พิมพ์ ลงบนชิ้นงานตามต้องการ ดังนั้นต้องท�าการทดลองเพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การเปลีย่ นแปลงค่าความสูงดีบกุ ส�าหรับการใช้ดบี กุ ครีมใหม่พร้อมทัง้ หาค่าระดับทีเ่ หมาะ สมในแต่ละปัจจัย โดยก�าหนดค่าตอบสนองคือค่าความสูงดีบุก (Solder Height) ที่ถูก พิมพ์ลงบนแผงวงจรในต�าแหน่งอุปกรณ์ IC-U5 ซึ่งแบ่งปัจจัยดังนี้ 1. ปัจจัยควบคุม (Fixed Factor) • ทดลองในสายผลิตที่ 1 • แบบพิมพ์ (Stencil) ความหนา 0.125 มม. • ปริมาณดีบุกครีม 500 กรัม • ใบปาดดีบุกขนาดยาว 30 ซม. 2. ปัจจัยผันแปร (Variable Factor) • ความเร็วการปาดดีบุก (Printing Speed) • แรงกดใบปาดดีบุก (Print Force) • ระยะห่างการพิมพ์ (Print Gap) • ความเร็วแยกจาก (Separate Speed) • ความห่างแยกจาก (Separate Distance) รูปที่ 11 การพิมพ์ดีบุก
ลงบนแผงวงจรอิเล็ค ทรอนิกส์
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
63
R&D CORNER การเพิ่มผลิตภาพของการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยเทคนิค DMAIC กรณีศึกษา : โรงงานประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ตอนจบ)
การทดลอง 5 ปัจจัยด้วยแบบการทดลอง 25-1 แฟคทอเรียลบางส่วน (Fractional Factorial Design) โดยก�าหนดให้ E = ABCD และทดลองซ�้า 2 ครั้ง ด้วยการท�าการ ทดลองแบบสุ่ม ซึ่งก�าหนดปัจจัยและค่าระดับดังนี้ A = ความเร็วการปาดดีบุก (ค่าต�่า = 70 ค่าสูง = 90) B = แรงกดใบปาดดีบุก (ค่าต�่า = 6 ค่าสูง = 9) C = ระยะห่างการพิมพ์ (ค่าต�่า = 0 ค่าสูง = 1) D = ความเร็วแยกจาก (ค่าต�่า = 5 ค่าสูง = 10) E = ความห่างแยกจาก (ค่าต�่า = 2 ค่าสูง = 5) การวิเคราะห์ผลและแยกอันตรกิริยาของคู่แฝดแฝง (Alias) พบว่ามีเพียง 3 ปัจจัย ที่ส่งผลกระทบต่อค่าความสูงดีบุกคือ ความเร็วการปาดดีบุก แรงกดใบปาดดีบุก และ ระยะห่างการพิมพ์ อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ในแต่ละสายผลิตทั้งหมด 4 สัปดาห์ พบว่าข้อมูลของทุกสายผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม แสดงว่ากระบวนการอยู่ในสภาวะเสถียร ข้อมูลน่าเชื่อถือ 3. พิจารณาค่าความสามารถกระบวนการ หาค่า Cpk โดยมีข้อก�าหนดเฉพาะ (Specification) เท่ากับ 0.125 +/- 0.015 มม. ได้ค่าเท่ากับ 1.56, 1.37 และ1.60 ตามล�าดับ ซึ่งมีค่าน้อยลงเมื่อเทียบกับใช้ดีบุกครีม ยี่ห้อเดิมแต่ก็อยู่ในเกณฑ์ที่ลูกค้ายอมรับที่ค่า Cpk ไม่น้อยกว่า 1.30 4. เฝ้าระวังปัญหาการเชื่อมต่อของดีบุกระหว่างจุดเชื่อมข้างเคียง (Solder Bridging) ของอุปกรณ์ IC-U5 เก็บข้อมูลทั้ง 3 สายผลิตตลอดเวลา 4 สัปดาห์ พบว่ามีค่าเฉลี่ยที่ 0.25% ซึ่งอยู่ใน ระดับเดียวกับใช้ดบี กุ ครีมยีห่ อ้ เดิม แสดงว่าการเปลีย่ นใช้ดบี กุ ครีมใหม่ไม่สง่ ผลให้ของเสีย เพิ่มมากขึ้น
การวิ เ คราะห์ ค ่ า ตอบสนองที่ ดี ที่ สุ ด (Response Optimization) เพื่อหาค่าระดับ ของแต่ละปัจจัยให้ใกล้เคียงกับค่าความสูง ดีบุกเดิมที่ 0.126 มม. ซึ่งได้ค่ารหัส (Code Unit) คือ A = (-1) B = (1) และ C = (-1) หรือเทียบเป็นค่าตัวแปร (Parameter) คือ ความเร็วการปาดดีบุกเท่ากับ 70 มม./วินาที ตารางที่ 3 การแยกอันตรกิริยาของคู่แฝดแฝง แรงกดใบปาดดีบกุ เท่ากับ 9 กิโลกรัมแรง และ (Alias) ของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อค่าความสูง ระยะห่างการพิมพ์เท่ากับ 0 มม. จากนั้น ดีบุก ทดสอบปัจจัยเหล่านี้ด้วยการทดลองแบบ แฟคทอเรียลเต็มรูปทั่วไป (General Full Factorial Design) ซ�้าอีกครั้ง
3.6 สรุปผลการทดลอง
3.4 การปรับปรุงกระบวนการ
น�าปัจจัย A, B และ C ที่ส่งผลต่อค่าความสูงดีบุกมาแบ่งค่าระดับใหม่ โดยให้ค�านึง ถึงค่าที่สูงสุดที่ยอมรับได้คือ 0.1297 มม. (ได้ค่า Cpk ต�่าสุดเท่ากับ 1.3) ซึ่งได้ค่าระดับ ของแต่ละปัจจัยคือ 1. ความเร็วการปาดดีบุก แบ่ง 3 ระดับคือ 70, 75 และ 80 2. แรงกดใบปาดดีบุก แบ่ง 2 ระดับคือ 8.5 และ 9.0 3. ระยะห่างการพิมพ์ แบ่ง 2 ระดับคือ 0.0 และ 0.5 ผลวิเคราะห์พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าความสูงดีบุกมีเพียง 3 ปัจจัยคือความเร็วการ ปาดดีบุก (Printing Speed) ระยะห่างการพิมพ์ (Print Gap) และอิทธิพลร่วมของ ความเร็วการปาดดีบุกกับระยะห่างการพิมพ์ (Printing Speed x Print Gap) ที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95% จากรูปที่ 12 สามารถวิเคราะห์ค่า ระดั บ ของปั จ จั ย ที่ เ หมาะสมคื อ หาก ต้องการความสูงดีบุกใกล้เคียง 0.126 มม. ต้ อ งก� า หนดระยะห่ า งการพิ ม พ์ (Print Gap) เท่ากับ 0 มม. และความเร็ว การปาดดีบกุ (Printing Speed) ทีค่ า่ 70 หรือ 75 มม./วินาที ส่วนแรงกดใบปาด ดีบุก (Print Force) ไม่ส่งผลต่อค่าความ รูปที่ 12 อิทธิพลร่วมของความเร็วการปาดดีบุกกับ สูงดีบุกในแบบการทดลองนี้ จึงใช้ได้ทั้ง ระยะห่างการพิมพ์ (Printing Speed x Print Gap) 8.5 และ 9.0 กิโลกรัมแรง
3.5 การควบคุมกระบวนการ
1. พารามิเตอร์เครื่องพิมพ์ดีบุก ก�าหนดพารามิเตอร์เครื่ องพิ มพ์ ดีบุ ก ตามตารางที่ 4 เพื่อควบคุมค่าความสูงดีบุก โดยก�าหนดความเร็วการปาดดีบกุ เท่ากับ 75 มม./วินาที เพื่อจะได้ไม่ส่งผลต่อรอบเวลา งานให้สูงขึ้น และแรงกดใบปาดดีบุกเท่ากับ 8.5 กิโลกรัมแรงเพื่อยืดอายุการใช้งานของ ตารางที่ 4 พารามิเตอร์ของเครื่องพิมพ์ดีบุก แบบพิมพ์ดีบุก 2. เฝ้าระวังค่าความสูงดีบุก เฝ้าระวังค่าความสูงดีบกุ ด้วยแผนภูมคิ วบคุมค่าเฉลีย่ และค่าพิสยั (X Bar - R Chart) 64 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การทดลองนี้มีจุดประสงค์ต้องการเปลี่ยนใช้ดีบุกครีมใหม่เพื่อลดต้นทุนการผลิตลง ประมาณ 10% โดยท�าการทดลองเพื่อหาระดับของปัจจัยที่เหมาะสมกับลักษณะทาง กายภาพของดีบุกครีมใหม่ เพื่อให้ได้ค่าความสูงดีบุกไม่แตกต่างจากเดิมและค่า Cpk อยู่ ในช่วงที่ลูกค้ายอมรับ ซึ่งต้องควบคุมปัจจัยที่ไม่ได้ศึกษาคือความหนาแบบพิมพ์ ปริมาณ ดีบุกครีมที่ใช้ในกระบวนการพิมพ์ซึ่งก�าหนดให้ใส่เพิ่ม 250 กรัม ในทุกๆ 6 ชั่วโมง
อภิปรายผล
งานวิจัยทั้ง 3 ส่วนนี้ใช้เทคนิค DMAIC เป็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ขั้นตอนก�าหนดปัญหา (Define) จะมีการตั้งเป้าหมายและก�าหนดขอบเขต ของการทดลองด้วยเช่น ปัญหาคอนเนคเตอร์ลอยจะท�าการแก้ไขเฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นใน กระบวนการผลิตเท่านั้น ไม่เข้าไปปรับปรุงในส่วนของวัตถุดิบที่ไม่ได้มาตรฐาน ขั้นตอน การวัดกระบวนการ (Measure) จะตรวจสอบว่าปัญหาเกิดจุดใดเพื่อให้ง่ายต่อการแก้ไข และตรวจสอบระบบการวัดผลว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด เพราะถ้าระบบการ วัดผลไม่ดีพอ เราจะไม่สามารถน�าข้อมูลไปวิเคราะห์หรือไปตั้งเป็นเกณฑ์ได้ ขั้นตอนการ วิเคราะห์ (Analyze) ต้องระดมความคิดจากหลายส่วนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเพื่อหาว่า สาเหตุน่าจะเกิดจากจุดใดแล้วคิดหาวิธีในการแก้ปัญหา โดยเลือกแก้ไขในสาเหตุที่มี คะแนนล�าดับความส�าคัญของความเสีย่ งทีส่ งู ก่อนซึง่ อาจใช้หลักพาเรโตหรือใช้คา่ คะแนน เป็นเกณฑ์ก็ได้ จากนัน้ ท�าการทดสอบสมมติฐานตามหลักทางสถิตเิ พือ่ ให้ทราบว่าวิธกี ารใหม่ทคี่ ดิ นัน้ สามารถแก้ไขปัญหาหรือลดข้อบกพร่องของปัญหาได้หรือไม่ ขั้นตอนการปรับปรุง (Improve) เริม่ ทดลองใช้วธิ กี ารทีส่ ง่ ผลต่อค่าตอบสนองในทิศทางทีด่ ขี นึ้ หรือหาค่าระดับ ที่ดีที่สุดของแต่ละปัจจัยเพื่อใช้ในกระบวนการด้วยเทคนิคการออกแบบการทดลอง (Design and Analysis of Experiment: DOE) และสุดท้ายคือขั้นตอนควบคุมกระบวนการ (Control) เป็นการเฝ้าระวังกระบวนการที่ปรับปรุงแล้วโดยใช้แผนภูมิควบคุม (Control Chart) เพื่อให้สามารถปรับเครื่องจักรได้ทันเวลา ไม่ให้เกิดของเสียหรือการสูญเสีย เนื่องจากเครื่องจักรหยุด (Downtime) รวมถึงเฝ้าระวังผลกระทบเนื่องจากการปรับ กระบวนการผลิตด้วยเช่น หากเปลีย่ นวัตถุดบิ เพือ่ ต้องการลดต้นทุนก็ตอ้ งเฝ้าระวังปัญหา สิ่งบกพร่องว่าสูงขึ้นตามด้วยหรือไม่
เอกสารอ้างอิง 1.เสกสรรค์ นกใหญ่, 2551 การลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ สารนิพนธ์ วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2. ชัยรัตน์ แจ้งเจนรบ, 2545 การปรับปรุงคุณภาพของการผลิตชิ้นส่วนหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 3. สหพร ข�าขจร, 2547 การเพิ่มผลิตภาพการผลิตหัวอ่านเขียนส�าหรับฮาร์ดดิสก์ วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 4. อรรถพล เฉลิมพลประภา, 2547 การปรับปรุงกระบวนการผลิต โดยใช้เทคนิคลีน และซิกส์ ซิกมาในโรงงาน ผลิตชิ้นส่วนฮาร์ดดิสก์ วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5. ณัฐนารี แก้วยัง, 2546 การปรับปรุงค่าซีสกอร์ความสูงของแขนหัวอ่านฮาร์ดดิสก์โมเดล 10K.7 โดยใช้แนวทางซิกซ์ ซิกม่า วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีจอมเกล้าธนบุรี 6. สมอุษา วรรณฤมล, 2547 การลดจ�านวนผลิตภัณฑ์ที่บกพร่องโดยใช้เทคนิคซิกส์ซิกมา วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7. ศุภกฤต หวังสิทธิเดช, 2552 การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยวิธีการทางซิกส์ซิกม่า กรณีศึกษาโรงงานประกอบแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 8. ปฐม์พงศ์ พันธ์พิบูลย์, 2552 การหาสภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการการเคลือบฟิล์มบางโดยการใช้วิธีการทางซิกซ์ซิกม่า. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
สนับสนุนบทความโดย วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลับเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
รรศก d าร
องด Re การจ bo ัดนิท ar
M
Y
ขียว นึกสีเ
จิตสำ ระตุน
ิใหมข
C
วัสดุก
รมิต ีบอร
ใหม ก ื อ งเล ดุทา แสดง ส ั ว เปน รจัดงาน ด ร ด อ ร ีบ กา ฑรีบอะแข็งแรง รา รองรับ ัณ ล เบ แข็ง ี้ ลิตภีเดน เบา แษที่มีความงดี ุ เนื้อ พิเศษน ด า ผ ส ั างเบสูง เปนวแบบมาเปน ิจิตัลหรือ VERหมจากสว ษณะพิเศไดเปนอยา บ E ต แ T S กรรมใ ีคุณลัก าดเล็ก าน าม ชื้นไดการออก วยระบบด E ท B น ม น ท ตอคว ี่ผาน ิมพ ด R THEยอดนวัตงทน แต ญ และ ข E ท สุด ีความค นาดให NGชั้นสูง ทในนแนวตั้ง ารถนำไปพ O R ม ที่ม คาทั้งข T STนวัตกรร งเรียงตัวดงาย สาม U สิน B อ น andvents ร ER วัสดุที่เป ะเปน ร งตางๆ ไ T P H LIG อรดเปน างลักษณนรูปทร ยงามได /POdee/e ิทรรศกา N ีรบ นกล รดเป ใหสว O I IT / stanารจัดทำนา ผนัง B I H ที่มีแกหตัดรีบอ ทตกแตง n r EXstructioและแนะนำ กั้นวางสินค ทาใ ปลามิเน o f S n ร ช นำไ DEAlay/coิษัทใหบริกาิทรรศการ I NEWS disp ทางบรทำบอรดนอรตางๆ PO การ ฟอรนิเจ และเ
C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 Rama 9 Rd., Bangkapi, Huaikhwang, Bangkok 10310, Thailand Tel : 66(2) 369 2990-4 Fax : 66(2) 369 2763-5 Website : www.cgsdesigncenter.in.th, www.cgsreboardthai.com E-mail : cgsthai.reboard@gmail.com, rain10310@gmail.com Facebook : www.facebook.com/ReboardDesign
CM
MY
CY
CMY
K
การลดการใช้ค่าความ ต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand) โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปั จ จุ บั น อั ต ราค่ า ไฟฟ้ า ในแต่ ล ะองค์ ก รมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะสู ง ขึ้ น เรื่ อ ยๆ เนื่องจากปัจจัยหลายประการ เช่น ต้นทุนการผลิตกระแสไฟฟ้าที่สูง ขึ้น นโยบายด้านพลังงานของรัฐบาล หรือ สภาพอากาศและสิ่ง แวดล้อมที่ท�าให้จ�าเป็นต้องใช้กระแสไฟฟ้ามากขึ้น เป็นต้น ดังนั้นหลาย องค์กรจึงหันมาให้ความส�าคัญในการประหยัดพลังงานไฟฟ้ากันมาก ขึ้นทั้งเพื่อต้องการจะลดค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนหรือเพื่อที่จะช่วยรักษา สิ่งแวดล้อมตามนโยบายเพื่อสังคมขององค์กร
ทุกวันนี้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ได้กลายมาเป็น ส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจ�าวันของคนส่วนมาก รวมไปถึงแวดวง การอนุรกั ษ์พลังงานด้วยเช่นกัน ท�าให้มกี ารพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้า รวมไปถึงน�ามาควบคุมและลดค่าความต้องการพลังงาน ไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand) เพื่อลดค่าไฟฟ้ากันอย่าง แพร่หลาย บทความนี้จะขอน�าเสนอวิธีการลดค่าความ ต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand) ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านน�าไปประยุกต์ใช้ใน องค์กรต่อไป ก่อนที่เราจะใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการบริหาร จัดการค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand) อันดับแรก เราจะต้องรู้ก่อนว่าองค์กรของเรามีการเสียค่าไฟฟ้าอยู่ใน 68 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ประเภทใด ซึ่งการแบ่งประเภทของการคิดค่าไฟฟ้าใน ประเทศไทยส�าหรับองค์กรที่ต้องมีการคิดค่าความต้องการ พลังไฟฟ้าสูงสุดนั้น มี 3 ประเภท คือ 1. แบบปกติ (Normal) 24 Hours on peak 2. แบบ TOD (Time Of Day) On Peak 18:30 - 21.30 Partial Peak 8:00 - 18:30 Off Peak 21:30 - 8:00 3. แบบ TOU (Time of USE) On Peak (จ-ศ) 9:00-22:00 Off Peak (จ-ศ) 22:00- 9:00 Off Peak (ส-อ) ตลอด 24 ชั่วโมง และวันหยุดราชการ (ตามการไฟฟ้าก�าหนด)
เมื่ อ เรารู ้ ว ่ า เรามี ก ารเสี ย ค่ า ไฟฟ้ า อยู ่ ใ นอั ต ราของ ประเภทใดแล้ว ต่อไปเราก็จะสามารถวางแผนเบื้องต้นใน การแบ่งช่วงเวลาในการควบคุมค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand) ได้ กล่าวคือ 1. แบบปกติ (Normal) 24 Hours on peak จะต้องมีการควบคุมการใช้ความต้องการพลังไฟฟ้า ตลอดเวลา 2. แบบ TOD (Time Of Day) จะต้องมีการควบคุมการใช้ไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ช่วง เวลาของทุกวัน คือ On Peak 18:30 - 21.30 (ช่วงเวลาที่ค่า Demand แพงที่สุดของวัน) Partial Peak 8:00 - 18:30
3. แบบ TOU (Time of USE) จะต้องมีการควบคุมการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลา On Peak (จ-ศ) 9:00-22:00 หลังจากได้ชว่ งเวลาในการควบคุมค่า Demand ในช่วง เวลาต่างๆตามประเภทของการคิดค่าไฟฟ้าแล้ว ผูร้ บั ผิดชอบ จะต้องท�าการจัดหา Load ที่มีความจ�าเป็นน้อยที่สุด หรือ ไม่มีความจ�าเป็นที่จะต้องใช้งานเลยในช่วงเวลานั้นๆ เอาไว้ เพื่อที่จะได้สามารถปิดการใช้งานได้เมื่อค่า Demand มี แนวโน้มที่จะเกินกว่าค่าที่ตั้งเอาไว้ ต่ อ ไปจะขอกล่ า วถึ ง หลั ก การท� างานของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่จะช่วยในการบริหารจัดการควบคุมค่าพลัง ไฟฟ้าสูงสุด (Demand) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จะขอยกตัวอย่างนี้จะมีการ แสดงค่า parameter ต่างๆทางไฟฟ้าที่มิเตอร์สามารถวัด ได้แบบ Rea Time และมีการค�านวนค่า Demand และ ประมาณการค่า Demand ล่วงหน้าก่อนครบ 15 นาที (นิยามของค่าความต้องการไฟฟ้าสูงสุด จากการไฟฟ้า นครหลวง “ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาที ที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโล วัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโล วัตต์”) หลักในการเริม่ ต้นส�าหรับการก�าหนดค่า Demand ทีเ่ รา ต้องการจะควบคุมนั้นสามารถท�าได้ง่ายๆ โดยการค�านวน จากบิลค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บในแต่ละเดือน ตัวอย่างเช่น
ภาพตัวอย่างโปรแกรมฯ แสดงหน้าจอที่แสดงผลแบบ Real time พร้อมการประมาณการค่า Demand ล่วงหน้าก่อนครบ 15 นาที
ภาพโปรแกรมฯ แสดงแนวโน้มการประมาณการค่า Demand ทีจ่ ะเกิน ภาพตัวอย่างแสดงบางส่วนจากบิลค่าไฟจากการไฟฟ้าฯ
จากภาพตัวอย่างข้างต้น เป็นการคิดค่าไฟฟ้า แบบ TOD
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าในช่วง On Peak คือ 632 Kw ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าในช่วง Partial Peak คือ 774 Kw เป้าหมายในการลดค่า Demand คือ 5% ดังนั้นค่า Demand ส�าหรับใส่ลงในโปรแกรมเพื่อการควบคุม คือ ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าในช่วง On Peak 600 Kw ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าในช่วง Partial Peak 730 Kw เราสามารถน�าค่าที่ค�านวนได้มาใส่ในโปรแกรมตาม ช่วงเวลา จากนั้นโปรแกรมจะท�าการค�านวนค่า Demand ล่วงหน้าก่อนครบ 15 นาทีให้ดังรูป อีกทั้งยังแสดงผลค่า Kw ที่เกิน หรือ ขาดในแบบ Real Time ได้อีกด้วย ในกรณีที่เราไม่มีการควบคุมแบบอัตโนมัติ เมื่อมีการ Alarm ว่า ค่าประมาณการค่าDemand ล่วงหน้าเมื่อครบ 15 นาทีมีแนวโน้มที่จะเกินจากค่าที่ตั้งไว้ดังภาพ
ภาพจากโปรแกรม แสดงช่วงเวลา On Peak, Partial Peak, Off Peak
เจ้าหน้าที่ที่ดูแลและอนุรักษณ์พลังงาน ก็สามารถรู้ได้ ว่า สามารถที่ควบคุมการใช้พลังงาน โดยการปิด Load ที่ ไม่จ�าเป็นในช่วงเวลานั้นลง จนกระทั่งค่าประมาณการค่า Demand ล่วงหน้าเมื่อครบ 15 นาทีมีแนวโน้มที่จะต�่ากว่า ค่าที่ตั้งไว้ดังภาพ
ภาพโปรแกรมฯ แสดงแนวโน้มการประมาณการค่า Demand ทีส่ ามารถใช้ได้ไม่เกินค่าทีค่ วบคุมไว้
ส่วนกรณีทมี่ กี ารควบคุมแบบอัตโนมัตโิ ดยผ่านโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สามารถตั้งค่าเพื่อให้โปรแกรมเป็นตัวควบคุม อุปกรณ์ที่เราจัดเอาไว้ เช่น Remote I/O ที่ต่อกับ Magnetic Relay โดยอัตโนมัติตามภาพ เห็นได้ว่าการลดค่า Demand ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ยากเลย เพียงแต่ขอให้ค�านึงถึงหัวใจหลักคือ การบริหารการใช้ไฟฟ้าให้สม�่าเสมอ ด้วยการย้ายงานไป ท�าในเวลาที่เหมาะสม โดยที่ยังคงได้เนื้องานเท่าเดิม (แต่ ในเวลาที่ต่างไป) หรือ การควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่ ให้เกินกว่าที่จ�าเป็น และที่ส�าคัญต้องได้รับความร่วมมือ จากทุกฝ่าย
ภาพแสดงการตั้งค่าการติดต่อโหลดแบบอัตโนมัติ
สแกน QR CODE เพื่อดาวน์โหลด โปรแกรมบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า ครบทุกฟังก์ชั่นใช้งานได้จริง ไม่จ�ากัด ชั่วโมงการใช้งาน พร้อมคู่มือ ฟรี The Power Management Software : SmartEE Software โปรแกรมบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า
บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด ผู้ผลิตและพัฒนาซอฟท์แวร์ทางด้านวิศกรรม 15 ปี แห่งการพัฒนา Call 088-8546615
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
69
R&D CORNER สถานวิจัยความเป็นเลิศนาโนเทคโนโลยีเพื่อพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
70 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จอกยางนาโน… ลดการสูญเสีย นับหมื่นล้านบาท นักวิจัย มอ. จับมือ สมาคมน�้ายางข้นไทย พัฒนานวัตกรรมนาโน ผลิตภัณฑ์พ่นเคลือบผิว ลดการสูญเสียน�้ายางตั้งแต่เก็บเกี่ยว จนถึงระบบการผลิตน�้ายางข้นในระดับอุตสาหกรรม คาดเป็น ผลิตภัณฑ์ช่วยลดการสูญเสียน�้ายางให้แก่อุตสาหกรรมยางไทยได้ กว่า 3 แสนตันต่อปี ประเทศไทยมีพนื้ ทีก่ ารปลูกต้นยางพาราทัง้ สิน้ กว่า 18 ล้านไร่ หรือกว่า 1,000 ล้าน ต้น ซึ่งกระจายไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งเกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่จะขาย ในลักษณะของน�า้ ยางสดให้แก่อตุ สาหกรรมเพือ่ แปรรูปต่อไป ซึง่ ในขัน้ ตอนการเก็บเกีย่ ว น�า้ ยางนัน้ จ�าเป็นทีจ่ ะต้องใช้แรงงานจ�านวนมากเพือ่ รวบรวมน�า้ ยางทีไ่ ด้จากการกรีด ซึง่ จะต้องปาดน�า้ ยางออกจากจอกยางให้ได้มากทีส่ ดุ เพือ่ ลดการสูญเสียในขัน้ ตอนดังกล่าว เนือ่ งจากน�า้ ยางมีความเหนียวมากในขัน้ ตอนของการเก็บเกีย่ วจะมีนา�้ ยางทีต่ ดิ ค้าง อยูท่ จี่ อกยางซึง่ เกษตรกรส่วนใหญ่มกั จะปล่อยให้แห้งแล้วเก็บไปขายในลักษณะขีย้ างซึง่ เป็นยางที่ขายได้ราคาถูกและคุณภาพต�่ากว่าน�้ายางสด
R&D CORNER สถานวิจัยความเป็นเลิศนาโนเทคโนโลยีเพื่อพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วอนนาเทค สานต่อแนวคิดสู่การน�าไปใช้
ล่าสุดบริษทั วอนนาเทค จ�ากัด ได้เล็งเห็นถึงประสิทธิภาพของงานวิจยั น�า้ ยาพ่นเคลือบ ผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน�้ายางอย่างยิ่งยวด จึงมีการขออนุญาตใช้สิทธิจากทางมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์น�าผลงานวิจัยดังกล่าวไปผ่านกระบวนการผลิตน�าร่องเป็นผลิตภัณฑ์ 2 ประเภทใช้ชอื่ ทางการค้าว่า ‘ฟาสซี่ (Fazzy)’ เป็นผลิตภัณฑ์สา� หรับการเคลือบผิวจอกยาง และ ‘แล็กซ์ (lax)’ เป็นผลิตภัณฑ์ส�าหรับเคลือบผิวภาชนะที่ใช้ในอุตสาหกรรมน�้ายางข้น และคาดว่าจะขยายผลไปยังอุตสาหกรรมแปรรูปน�้ายางพาราต่อไป ทั้งนี้ หากมีผู้ประกอบรายใดเล็งเห็นความคุ้มค่าของการลงทุนตลอดจนการผลักดัน จ�าหน่ายยังต่างประเทศสามารถร่วมมือผนึกก�าลังกับบริษัทและสมาคมน�้ายางข้นไทยจะ ช่วยน�ามาซึ่งความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมยางพาราของไทยและความรุ่งเรืองทาง เศรษฐกิจของชาติอย่างแน่นอน โดยส�าหรับผูส้ นใจผลิตภัณฑ์หรือร่วมพัฒนาสามารถติดต่อ ตัวแทนของบริษัท วอนนาเทค จ�ากัดได้โดยตรง
น�้ายาพ่นเคลือบผิว… ลดการสูญเสียน�้ายางพาราสด
ด้วยเหตุนี้เองดร.ฉลองรัฐ แดงงาม นักวิจัยของสถานวิจัยความเป็นเลิศนาโน เทคโนโลยีเพื่อพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงพัฒนางานวิจัยที่มีชื่อว่า ‘น�้ายาพ่นเคลือบผิวที่มีคุณสมบัติไม่ชอบน�้ายางอย่างยิ่งยวด’ ดร.ฉลองรัฐ กล่าวว่าหากลองเปรียบเทียบภาพรวมของไทย สวนยางพารา 1 ไร่ เฉลี่ยปลูกยางได้ประมาณ 75 ต้น จากข้อมูลเมื่อปี 2556 พบว่าประเทศไทยมีพื้นที่ที่ สามารถกรีดยางได้ประมาณ 15,130,363 ไร่ จะมีตน้ ยางพาราประมาณ 1,134,777,225 ต้น หากยังปล่อยให้มีการสูญเสียน�้ายางในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวประมาณ 2 กรัมต่อต้น ต่อวัน คิดเป็นน�้ายางที่สูญเสียไปประมาณ 2,270 ตันต่อวัน และในหนึ่งปีสามารถกรีด ยางได้ 150 วัน ดังนั้น ประเทศไทยจะสูญเสียน�้ายางพาราสดปริมาณ 340,555 ตันต่อ ปี เทียบเท่ากับว่าเราจะสูญเงินไปโดยเปล่าประโยชน์จ�านวนนับหมื่นล้านบาทต่อปี อันเป็นทีม่ าของนวัตกรรมชิน้ นีท้ จี่ งู ใจให้อาจารย์พฒ ั นาสูตรน�า้ ยาทีท่ า� ให้การเก็บน�า้ ยางง่ายดายขึ้นนั่นคือ น�้ายางไม่เกาะติดกับผิวของจอกยางได้เป็นผลส�าเร็จ
ผลึกความคิดเพื่อคุณภาพอุตสาหกรรมยาง
ในฐานะอุปนายกสมาคมน�้ายางข้นไทย คุณอภิชาติ เตชะภัทรกุล ได้กล่าวเสริม งานวิจัยชิ้นนี้ว่ายินดีร่วมมือที่จะส่งเสริมผลงานวิจัยชิ้นนี้ เนื่องจากคุณอภิชาติ ทราบดี ว่านอกจากการสูญเสียระหว่างการเก็บเกีย่ วน�า้ ยางสดแล้วเกษตรกรบางรายมีการใช้จอก ยางทีม่ ขี ยี้ างติดอยูม่ ากซ�า้ แล้วซ�า้ อีกซึง่ เป็นสาเหตุให้เกิดเชือ้ และปนเปือ้ นมาทีน่ า�้ ยางสด เรียกว่า VFA หรือ Volatile fatty acid น�้ายางจะถูกเชื้อท�าลายจนเกิดการเสียสภาพ ส่งผลต่อคุณภาพของน�้ายางโดยตรง และยังส่งผลไปถึงผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นจากน�้ายาง เหล่านั้นเช่น ถุงมือยาง หรือถุงยางอนามัย ที่จะเป็นรูหรือรั่วง่าย โดยทั่วไปน�้ายางข้นมีความหนืดสูงกว่าน�้ายางสดมักมีการเกาะติดตามบ่อพัก ราง และท่อล�าเลียง โรงงานต่างๆ จึงต้องใช้พลังงานสูงเพื่อให้มีแรงส่งน�้ายางในระบบการ ผลิต และยังมีคา่ ใช้จา่ ยในการจ้างแรงงานเพือ่ ท�าความสะอาดระบบทีอ่ าจต้องหยุดการ ผลิต 2-3 วัน ส่งผลให้การผลิตไม่ตอ่ เนื่อง โดยทั้งหมดนั้นล้วนเป็นผลท�าให้ต้นทุนในการ ผลิตน�้ายางข้นสูงขึ้น “ถึงแม้วา่ อุตสาหกรรมน�า้ ยางข้นจะเป็นเพียง 1 ใน 4 ของภาพรวมอุตสาหกรรมยาง ทั้งประเทศแต่ถ้าเราท�าให้เป็น 1 ส่วนที่เต็มประสิทธิภาพได้คงจะดีกว่า สมาคมน�้ายาง ข้ น ไทยจึ ง สนั บ สนุ น งานวิ จั ย นี้ เ พราะเรามั่ น ใจว่ า จะสามารถแก้ ป ั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน อุตสาหกรรมน�า้ ยางข้นตอนนีไ้ ด้อกี ทัง้ งานวิจยั นีเ้ ป็นผลงานทีม่ ศี กั ยภาพสูงและสามารถ พัฒนาไปได้อีกมากเพื่ออุดช่องโหว่ของปัญหาอุตสาหกรรมยางไทยต่อไป” คุณอภิชาติ กล่าวเสริม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
71
TRUMPF TruTool S130
from Switzerland The smallest Li-Ion battery metal shear in the world The new TRUMPF TruTool S130, the smallest and lightest battery shear in the world, is now available. It measures only 255 x 130 mm and, together with its 10.8 V battery, weighs only 1.3 kg. Designed for thin sheets up to 1.3 mm, the cordless tool cuts long stretches quickly at a working speed of up to 7 m/min. In response to the request of many thin sheet users, TRUMPF has developed a new battery shear, the TruTool S130. It is especially designed for insulation, roof and wall, ventilation sheet work, heating construction and similar industries. TRUMPF engineers and technologists have succeeded in combining high quality with practical and ergonomic features. The tool is small, light, strong—and thanks to a Softgrip handle, vibration-free. The optimized girth of this grip and the well-planned cutting table ergonomics make the machine agreeable to run, so that the user can work for a long time without tiring. With a maximum working speed of 7 m/min, the TruTool S130 cuts steel sheets up to 1.3 mm thick (400 N/mm2) or aluminium sheets up to 2 mm thick without chips. Tight curves up to a radius of 15 mm are not a problem, and neither is working overhead since in addition to extreme maneuverability there is always a clear view of the cutting line. The scissors can be applied to any exterior side of the sheet; to start in the middle of the sheet, a starting hole of 27 mm diameter is sufficient. A change of blades is seldom necessary, thanks to the great durability of the four reversible blades. But when necessary, they can be changed without additional tools in a few seconds. A special advantage of the TruTool S130 comes from the lithium ion batteries. They ensure a long-lasting and continuous output with low-level selfdischarge and without memory effect. 72 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
73
Depending on the material and the sheet thickness, the new TRUMPF shears can function for between 20 m and 60 m with a full battery. When the energy reserve is exhausted, the standard second battery can be inserted in a matter of seconds. The quick charge device, that is also standard equipment, refills the empty battery completely in 30 min; a 75% charge status is reached in 15 min. The TruTool S130 is flexible in its use, at building sites in particular, but also in production halls and workshops. These characteristics, as well as the good price / performance ratio make the battery shears a realistic alternative to hand shears, which are currently used particularly in the insulation industry. TRUMPF TruTool S130 กรรไกรไฟฟ้าที่เบาและเล็ก ที่สุดในโลกรุ่นใหม่จาก TRUMPF สวิสเซอร์แลนด์ ด้วย ขนาดเพียง 255 x 130 มม. น�้าหนักเบาเพียง 1.3 ก.ก. มา พร้อมแบตเตอรี่ 10.8V รูปทรงกะทัดรัดเหมาะกับการตัด โลหะบาง 1.3 มม. ตัดได้รวดเร็วถึง 7 เมตรต่อนาที เพือ่ ตอบสนองความต้องการใช้งานทีม่ มี ากส�าหรับเหล็ก บาง TRUMPF จึงได้พฒ ั นากรรไกรตัดรุน่ นีอ้ อกมาให้เหมาะ อย่างยิ่งส�าหรับงานชิ้นงานประเภทลอนหลังคาและผนัง 74 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ส�าหรับงานโครงสร้างฉนวนกันความร้อน และระบบระบาย อากาศ วิศวกรผูเ้ ชีย่ วชาญของ TRUMPF ประสบความส�าเร็จ ในการคิ ด ค้ น พั ฒ นาเครื่ อ งตั ด ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง ภายใต้ เทคโนโลยีที่เหนือชั้น จึงได้เครื่องที่มีความเหมาะสมกับการ ใช้งานที่หลากหลาย ด้วยรูปทรงที่ออกแบบมาให้เหมาะกับ หลักสรีระศาสตร์ ตัวเครือ่ งมีขนาดเล็ก น�้าหนักเบา แข็งแรง และมีดา้ มจับทีน่ มุ่ กระชับมือ ซึง่ สามารถลดการสัน่ สะเทือน ขณะใช้งาน คุณสมบัตเิ หล่านีท้ า� ให้ผใู้ ช้งานสามารถใช้ทา� งาน ได้ติดต่อกันเป็นเวลานานโดยไม่เหนื่อยล้า ด้วยความเร็วสูงสุดในการตัดที่ 7 เมตรต่อนาที ตัดเหล็ก ที่มีความหนาได้ 1.3 มม. หรืออลูมิเนียมความหนา 2 มม. โดยไม่เสียเศษ สามารถตัดโค้งรัศมีตา�่ สุด 15 มม. จะตัดจาก ขอบแผ่นเหล็ก หรือเริ่มตัดตรงกลางแผ่นโดยการเจาะรูน�า ขนาดเพียง 27 มม. ใบมีดมีความทนทานสูงและสามารถ ใช้ได้ทั้ง 4 ด้าน จึงมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน และการ เปลี่ยน ใบมีดก็สามารถท�าได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้ เครื่องมือใดๆ คุณสมบัติที่พิเศษของ TruTool S130 ได้แก่แบตเตอรี่ แบบลิเธียมไออน ใช้งานได้นาน และต่อเนื่อง โดยพลังงาน ของแบตเตอรี่จะถูกปล่อยออกจากช้าๆ โดยไม่กระทบต่อ ความสามารถในการท�างานของเครื่อง แบตเตอรี่มีการชาร์จเต็ม จะสามารถตัดชิ้นงานได้ถึง ระยะ 20-60 เมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัสดุและความหนาของ เหล็กแผ่น หากขณะใช้งานพบว่าแบตเตอรี่อ่อน ก็สามารถ
เปลีย่ นเป็นแบตเตอรีส่ า� รองได้ในเวลาอันรวดเร็ว ส่วนระยะ เวลาในการชาร์จแบตเตอรี่จนเต็มอยู่ที่ 30 นาที ในขณะที่ หากต้องการชาร์จเพียง 75% จะใช้เวลาเพียง 15 นาที คุณสมบัติที่โดดเด่น และลักษณะการใช้งานที่หลาก หลายของ กรรไกรตัดระบบแบตเตอรี่ จึงสามารถใช้ได้น�า ไปใช้ได้ทตี่ า่ งๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ส�าหรับงานประกอบและ ติดตั้งระบบกันความร้อนต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก อาคารได้อย่างเหมาะสม
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และชมการสาธิตได้ที่ KRASSTEC CO., LTD. Tel. 02-732 1144 E-mail : krasscom@krasstec.com, powertool@krasstec.com Website : www.krasstec.com บริษัท คราสส์เทค จ�ากัด โทร 02-732 1144 อีเมล์ krasscom@krasstec.com, powertool@krasstec.com เว็บไซต์ :www.krasstec.com
KURU แบริ่ง (ตอนที่ 4)
การศึกษา: 2508 2511 2514 2517 2524
โรงเรียนสระแก้ว จัวหวัดสระแก้ว วิทยาลัยเทคนิค ไทย-เยอรมันขอนแก่น เตรียมวิศวฯ จาก Institut fuer auslaendische Fachhochschulbewerber ของแคว้น Niedersachsen ณ เมือง Hannover, สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต Dipl.-Ing. (FH) in Gas-, Water-, Heating-and Cooling System จาก University of Applied sciences, เมือง Braunschweig-Wolfenbuettel สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต Dipl.-Ing. in Energy & Process Engineering จาก Technical University of Berlin, กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอมัน
การท�างาน: 2517-2518 2522-2523 2524-2525 2525-2527 2527-2539 2539-2542 2542-2547 2552-2556 ปัจจุบัน
วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรมประจ�าบริษัท Hermann Ehlert KG. เมือง Hildesheim, สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน TA ช่วยค้นคว้างานวิจัยของ Prof.Dr.Helmut Knapp จาก Thermodynamic Inst. ของ Technical University of Berlin. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรมประจ�าบริษัท Schaeler Engineering GmbH, กรุง Berlin สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รองผู้อ�านวยการฝ่ายปฏิบัติการ ส�านักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รักษาการผู้อ�านวยการ ศูนย์บริการเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปราจีนบุรี ผู้แทนกิตติมศักดิ์สมาคมวิศวกรเคมีและไบโอเทคโนโลยีเยอรมัน (DECHEMA e.V) ในประเทศไทย ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking
แบริ่ง (ตอนที่ 4)
สามตอนแล้วนะครับที่เราคุยกันเกี่ยวกับเรื่องของแบริ่ง ซึ่งเราได้ แยกประเภทออกเป็น Plain bearing และ Rolling bearing โดยที่ ผ่านมาเราพูดถึงเฉพาะเรื่องของ Plain bearing ตั้งแต่รูปแบบที่มี ใช้ เทคนิคในการหล่อลื่นและวัสดุที่ใช้ในการผลิต ก็คิดว่าพอจะช่วย ผู้อ่านแก้ปัญหาหน้างานไปได้บ้าง ต่อไปนี้เราจะคุยกันในเรื่องของ Rolling bearing บ้างนะครับ
Rolling bearing ในภาษาเยอรมันเรียก Waelzlager (เวล์ซลาเกอร์) ส่วนช่างไทย เราส่วนใหญ่เรียกลูกปืน อาจเป็นเพราะในสมัยแรกๆ ทีเ่ ทคโนโลยีเข้ามาสูบ่ า้ นเรานัน้ ช่าง คงสังเกตเห็นว่าการจะท�าให้จดุ หมุนคล่องตัวได้กด็ ว้ ยลูกกลมๆ ทีเ่ ขาใส่ไว้ในตลับหรือเบ้า รอบแกนเพลา ซึง่ ลูกกลมดูแล้วไม่ตา่ งจากลูกกลมๆ ทีบ่ รรจุอยูใ่ นล�ากล้องปืนแก๊ปหรือปืน โบราญแต่อย่างใด สมัยเมื่อผู้เขียนเรียนอยู่ระดับมัธยมก็เคยท�าปืนแก๊ปบรรจุด้วยลูกหิน หรือลูกปืนจากรถจักรยานที่หาได้จากร้านซ่อมจักรยานทั่วไปเช่นกัน จริงๆ แล้วค�าว่า Rolling และ Waelz ต่างก็หมายถึง กลิ้ง ฉะนั้นรูปทรงของลูกกลิ้ง ฝรั่งจึงมิได้มีแต่ทรงกลมเท่านั้น
รูปทรงพื้นฐานของลูกปืน
โดยหลักการพืน้ ฐานแล้ว อาจจัดแบ่งประเภทของลูกปืนออกตามรูปทรงของลูกกลิง้ ได้ 5 ประเภทด้วยกันคือ (1) ลูกปืนทรงกลม (2) ลูกปืนทรงกระบอก (3) ลูกปืนเข็ม (4) ลูกปืนทรงเรียว (5) ลูกปืนทรงถังเบียร์
ประวัติอุตสาหกรรมของ Rolling bearing
ลูกปืนที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้มีการพัฒนามากว่า 2,700 ปีแล้ว โดยนักประวัติศาสตร์ ได้ขดุ ค้นพบแท่งไม้เล็กๆ ทรงกระบอกอยูใ่ กล้กบั เบ้าล้อรถของชาวเคล์ทส (อังกฤษ Celts, เยอรมัน Kelten, ละติล Celtae) ชนเผ่าเก่าแก่ของยุโรปตอนกลางช่วงประมาณ 700 ปี ก่อนคริสตกาล ซึง่ นักวิจยั วิเคราะห์วา่ เป็นลูกปืนทรงกระบอกของล้อรถ นอกจากนีย้ งั พบ ว่าชาวโรมันใช้ลูกกลมๆ เป็นจุดหมุนของคานดีดคานงัดด้วยเช่นกัน ในยุคของการพัฒนาอุตสาหกรรมมีความจ�าเป็นต้องใช้แบริ่งมากขึ้นและพบว่าการ หมุนที่ความเร็วรอบต�่าๆ ผสมกับการหล่อลื่นที่ไม่ดีพอ จะท�าให้ Plain bearing สึกหรอ เร็วมากจนล้อรถจักรไอน�้าต้องถูกหลอมเบ้าบ่อยครั้ง ปี ค.ศ.1759 ช่างท�านาฬิกาชาวอังกฤษ John Harrison คิดประดิษฐ์ Rolling bearing ใช้กับนาฬิกาเดินเรือ Marine – Chronometer H3 ของเขา 1794 Philip Vanghan ชาวอังกฤษได้รับลิขสิทธิ์เกี่ยวกับเพลาที่ใช้ลูกปืนทรงกลม บรรจุในร่องเบ้าเป็นคนแรก
รูปที่ 1: ลักษณะต่างๆ ของลูกกลิ้งในตลับลูกปืนหรือใน Rolling bearing a) ทรงกลม DIN 5401, b) ทรงกระบอก DIN 5402, c) ทรงเรียว, d) ทรงถังเบียร์, e) ทรงเข็ม DIN 5402
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
75
KURU แบริ่ง (ตอนที่ 4)
1869 Jules Suriray ชาวฝรั่งเศสได้รับลิขสิทธิ์เกี่ยวกับการใช้ลูกปืนทรงกลมในรถ จักรยาน ส�าหรับในเยอรมัน Friedrich Fischer สร้างโรงงานผลิตลูกปืน FAG – Kugelfischer ขึ้นในเมือง Schweinfurt เมื่อปี ค.ศ.1883 และสร้างเครื่องเจียร์ลูกปืนขึ้นเป็น เครือ่ งแรก ท�าให้สามารถผลิตลูกปืนกลมจากเหล็กได้ขนาดแม่นย�าขึน้ ผูร้ ว่ มงานคนส�าคัญ ในการพัฒนาของ Fischer คือ Wilhelm Hoepfinger ซึ่งต่อมาแยกตัวออกมาร่วมกับ Engelbert Fries ก่อตั้งบริษัท Fries & Hoepfinger ขึ้นในปี ค.ศ.1890 เพื่อผลิตลูกปืน ณ เมือง Schweinfurt เช่นกัน 1895 Kart Fichtel และ Ernst Sachs ร่วมกันก่อตั้งโรงงาน Fichtel & Sachs เพื่อผลิตลูกปืนขึ้นในเมือง Schweinfurt อีกแห่งหนึ่ง เมือง Schweinfurt กลายเป็น ศูนย์กลางอุตสาหกรรมการผลิตลูกปืนของเยอรมันไปในยุคนั้น 1910 เกิดโรงงานผลิตลูกปืนขึ้นอีกหลายบริษัท เช่น DWF หรือ Deutsch Waffen – und Munitionsfabriken AG กรุง Berlin และ Karlsruhe, บริษัท Maschinenfabrik Rheinland ที่ Duesseldorf, บริษัท Riebe – Werke กรุง Berlin, DKF หรือ Deutsche Kugellager fabrik เมือง Leibzig, บริษัท Fritz Hollmann เมือง Wetzlar และบริษัท G.u.J.Jaeger ที่เมือง Wuppertal 1912 บริษัท Svenska Kullagerfabriken หรือ SKF ของสวีเดนที่ก่อตั้งขึ้นในเมือง Goeteborg เมือ่ ปี ค.ศ.1907 เข้ามาในเยอรมันเพือ่ ร่วมกับ Albert Hirth ก่อตัง้ Norman – Compagnie ขึ้นในเมือง Stuttgart Bad Cannstatt เพื่อผลิตลูกปืน 1929 กิจการของ SKF เฟืองฟูในเยอรมันกดดันให้ 6 บริษัทผลิตลูกปืนของเยอรมัน ยกเว้น FAG รวมตัวกันเป็น VKF-AG หรือ Vereinigte Kugellagerfabriken Aktien Gesellschaft ภายใต้การบริหารงานของสวีเดน 1934 Erich Franke คิดประดิษฐ์วิธีบรรจุลูกปืนในกรงลวดแทนการบรรจุในตลับ ระหว่างปี ค.ศ.1943 – 1945 ซึ่งอยู่ระหว่างช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงงานผลิต แบริ่งของเยอรมันส่วนใหญ่ถูกทิ้งระเบิดเสียหาย 1946 หลังจากสงครามสงบสองพี่น้อง Georg และ Wilhelm Schaeffler ก่อตั้ง บริษัทผลิตลูกปืนเข็ม INA-Nadellager ขึ้นที่เมือง Herzogenaurach
รูปที่ 2: ส่วนต่างๆ ของ Rolling baering 1. วงแหวนนอก 2. ร่องลูกปืน 3. ลูกกลิ้งหรือตัวลูกปืน 4. กรงลูกปืน 5. วงแหวนใน
76 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
KURU แบริ่ง (ตอนที่ 4)
1949 Erich Franke และ Gerhard Heydrich ก่อตั้งบริษัท Franke & Heydrich ขึ้นที่เมือง Aalen ซึ่งปัจจุบันคือ บริษัท Franke GmbH ผลิตลูกปืนในกรงลวด (Drahtwaelzlager) 1953 บริษัท VKF-AG เปลี่ยนชื่อเป็น SKFDeutschland GmbH. โดยมีส�านักงาน ใหญ่อยู่ในเมือง Schweinfurt 1991 ภายหลังจากการล่มสลายของเยอรมันตะวันออกทีถ่ กู แยกดินแดนไปอยูใ่ นค่าย คอมมิว-นิสต์นานเกือบ 50 ปี และบริหารโรงงานผลิตลูกปืน DKF ที่เมือง Leipzig อยู่ ท�าให้กิจการของ DKF ชะงักไปด้วย บริษัท FAG Kugelfischer จึงเข้าซื้อกิจการ แต่ DKF ภายใต้การบริหารของรัฐบาลเยอรมันตะวันออกนัน้ ทรุดโทรมจนท�าให้ FAG Kugelfischer อยู่ในสถานการณ์ล�าบาก 2001 Scharffler โดยบริษทั INA-Nadellager เข้าควบกิจการ FAG Kugelfischer กลายเป็น FAG ในค่ายของ Schaeffler ในปัจจุบัน
รูปที่ 3: เป็นรูปแบแหนึ่งของลูกปืนพลาสติกจาก SMG-Kunststofftechnik
องค์ประกอบของลูกปืน
เพือ่ ให้เข้าใจตรงกันในการพูดคุยเรือ่ งของลูกปืนต่อไปเราจึงควรท�าความรูจ้ กั กับชิน้ ส่วนพื้นฐานที่ประกอบเป็นลูกปืนเสียก่อน โดยหลักการทัว่ ไปลูกปืนตลับหนึง่ จะประกอบด้วย วงแหวนนอก, ร่องลูกปืน, ลูกกลิง้ หรือตัวลูกปืน, กรงลูกปืนและวงแหวนใน ดังรูปที่ 2 นอกเหนือจากนี้อาจมีการอัดไขหรือ ชะโลมน�้ า มั น หล่ อ ลื่ น ปิ ด ด้ ว ยซี ล และฝาตลั บ อี ก ซึ่ ง ก็ แ ล้ ว แต่ ช นิ ด ของลู ก ปื น และ กระบวนการของผู้ผลิตที่ต่างกันไป ลูกกลิ้งรูปทรงต่างๆ ที่บรรจุอยู่ในตลับลูกปืนปัจจุบันจะถูกยึดด้วยกรงลูกปืนให้เรียง อยูห่ า่ งกันเป็นระยะๆ แต่เราก็ยงั พบตลับลูกปืนสมัยเก่าหรือลูกปืนรุน่ พิเศษทีบ่ รรจุลกู กลิง้ โดยไม่มกี ารยึด เช่น ลูกปืนทีใ่ ช้อยูใ่ นส่วนของระบบควบคุมในเครือ่ งบิน การไม่ใส่กรงยึด ลูกกลิง้ ท�าให้สามารถบรรจุลกู กลิง้ ในตลับได้มากกว่าท�าให้สามารถรับแรงได้มากกว่า แต่ มันก็ไม่เหมาะที่จะน�ามาใช้กับจุดหมุนรอบจัด โดยไม่ควรให้จุดหมุนมีความเร็วรอบในการ หมุนเกินกว่า 300 รอบ/นาที วัสดุทใี่ ช้ทา� กรงลูกปืนสมัยก่อนจะเป็นทองเหลืองเพราะช่วยท�าให้ลกู ปืนวิง่ ได้นมิ่ นวล ซึง่ ปัจจุบนั ก็ยงั คงมีใช้ในขณะทีม่ กี รงลูกปืนทีผ่ ลิตด้วยวัสดุอนื่ เช่น พลาสติก (Polyamide) เสริมใยแก้วและแผ่นเหล็กประกอบแทน ทั้งนี้ก็เพื่อลดต้นทุนแต่ส� าหรับผู้ใช้แล้วการ ประหยัดเช่นนี้กับลูกปืนขนาดใหญ่มักไม่คุ้ม วัสดุทใี่ ช้ทา� Rolling bearing ส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กโครเมีย่ ม (Chromstahl) ซึง่ แข็ง แต่เป็นสนิมได้ง่าย เช่น เหล็ก 100 Cr6 ซึ่งเป็นเหล็กผสมคาร์บอนด์ประมาณ 1% และ โครเมี่ยมประมาณ 1.5% เหล็กอื่นๆ ที่มีใช้อีก ตัวอย่างเช่น เหล็ก 100 CrMn6 และ 100 CrMo6 ซึ่งเป็นเหล็กผสมแมงกานิส (Mn) และโมลิดินัม (Mo) ส�าหรับการใช้งานในบรรยากาศกัดกร่อน เราอาจเลือกลูกปืนทีผ่ ลิตจากเหล็กประเภท X65Cr13 และ X30CrMoN15-1 แต่เหล็กชุปแข็งเหล่านี้ไม่ใช่เหล็กไร้สนิท มันทนการ กัดกร่อนได้ระยะหนึ่งเท่านั้น ในบางสภาวะการใช้งานแบริ่ง เราก็จ�าเป็นต้องหาวัสดุพิเศษมาใช้ในกระบวนการ ผลิต เช่น • เหล็กไร้สนิม • ไฮบริดแบริง่ หรือแบริง่ สองวัสดุ เช่น วงแหวนนอกและวงแหวนในท�าจากเหล็ก ส่วนลูกกลิ้งอาจเป็นเซรามิก • เซรามิกแบริ่งซึ่งทั้งลูกกลิ้งและส่วนประกอบอื่นๆ เป็นเซรามิก • แบริ่งพลาสติกที่มีลูกกลิ้งท�าจากแก้วหรือเซรามิกซึ่งทนต่อการกัดกร่อนจาก กรด ด่าง ในอุตสาหกรรมเคมีและอุตสาหกรรมอาหาร • แบริ่งที่ใช้กรงพลาสติก เพื่อลดเสียงขณะใช้งาน • แบริ่งป้องกันไฟฟ้าลัดวงจรจ�าเป็นต้องมีการเคลือบฉนวนทั้งวงแหวนในและ วงแหวนนอกในระดับหนึ่งเพื่อป้องกันความเสียหายจากการเซาะกร่อนด้วย ประกายไฟฟ้า (Elektroerosion)
ตามอ่านมาตรฐานของ Rolling bearing ในฉบับต่อไปนะครับ...
รูปที่ 4: เป็นรูปแบบหนึ่งของลูกปืนเซรามิกจาก FAG Schaeffler
เอกสารอ้างอิง www.wikipedia.de ;
“Gleitlager” “Hydrodynamisches Gleitloger” “Hydrostatisches Gleitlager” “Lagerungskonzepte” “Reibung” “Waelzlager” Karl – Heiz Decker ; “Maschinenelemente” 11. Aufl.,1992 Carl Hanser Verlag Muenchen, Wien Appold, Boehm, Vomdamme ; “Fachkenntnisse – Landmaschinenmechaniker” 11. Aufl.,1983 Verlag Handwerk und Technik GmbH., Hamburg Dubbel Bd.I ; “Taschenbuch fuer den Maschinenbau” 13. Aufl.,1974 Springer – Verlag, Berlin, Heidelberg, Newyork www.kupferinstitut.de ; “Bronze – unverzichtbarer Werkstoff der Moderne” “Kupfer – Zinn – und Kupferzinn – Zink – Gusslegierungen (Zinnbronzen)” “Kupfer – Zinn – Knetlegierungen (Zinnbronzen)” “Kupfer – Zink – Legierungen (Messing und Sodermessing) Struers Ltd. ; “Metallografische Praeparation von Gleit – und Lager – Werkstoffen” Zeitschrift fuer Materialografie 12/2006
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
77
PRINCIPLE รศ.ดร.พงศ์พันธ์ แก้วตาทิพย์ ภาควิชาเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง เพื่อยานยนต์ที่ปลอดภัย และประหยัดพลังงาน หลายๆ คนอาจจะยังไม่ทราบว่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ววิ ฒ ั นาการ ทางการผลิตสามารถทีจ่ ะมีการพัฒนาก้าวไปได้ไกล รถยนต์ใหม่ๆ ก็ ใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัยมากขึน้ รวมทัง้ เทคโนโลยีวสั ดุ เช่น การประยุกต์ ใช้เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงเพื่อยานยนต์ที่ปลอดภัยและประหยัด พลังงาน ในเรือ่ งนีม้ อี ะไรทีค่ วรรูบ้ า้ ง มาดูกนั ครับ
กลุ่มที่สองเป็นเหล็กกล้าที่ปั๊มขึ้นรูปที่อุณหภูมิสูง โดยจะท�าการขึ้นรูปที่อุณหภูมิสูง กว่า 800 องศาเซลเซียส และให้ชิ้นงานเย็นตัวอย่างรวดเร็วในแม่พิมพ์ท�าให้เกิดการ เปลีย่ นโครงสร้างเป็นมาร์เทนไซต์ และได้ชนิ้ ส่วนยานยนต์ทมี่ คี วามแข็งแรงสูงถึง 1,500 MPa แต่วิธีนี้ต้องใช้เหล็กกล้าที่มีธาตุผสมพิเศษ โดยต้องผสมธาตุโบรอนเพื่อให้อัตรา การเย็นตัวทีท่ า� ให้เกิดโครงสร้างมาร์เทนไซต์ไม่สงู จนเกินไป รวมทัง้ ต้องอาศัยผูเ้ ชีย่ วชาญ ในการออกแบบแม่พมิ พ์ เนือ่ งจากต้องค�านึงถึงอัตราการถ่ายเทความร้อนทีเ่ หมาะสม แต่ มีข้อดีคือ ไม่มีการดีดตัวกลับของชิ้นงานและการสึกหรอของแม่พิมพ์น้อยกว่ากลุ่มแรก
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงคืออะไร
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงหรือ High Strength Steel เป็นเหล็กกล้าทีถ่ กู พัฒนาให้มี ความแข็งแรงสูงกว่าเหล็กกล้าผสมคาร์บอนทั่วๆไป โดยมักใช้การผสมธาตุพิเศษร่วมกับ กลไกทางโลหะวิทยาเพื่อควบคุมให้เหล็กมีความแข็งแรงตามที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่วไปมัก นิยมใช้ผลิตเป็นชิน้ ส่วนยานยนต์ในส่วนของโครงสร้างเพือ่ เพิม่ ความแข็งแรงให้กบั รถยนต์ เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงที่นิยมใช้ท�าเป็นชิ้นส่วนยานยนต์จะมีความแข็งแรงดึงสูงสุด ตั้งแต่เกือบ 600 MPa ขึ้นไปถึง 1,500 MPa หรืออาจจะมากกว่านั้น โดยถ้าเทียบกับ เหล็กกล้าทั่วๆไป จะมีความแข็งแรงเพิ่มกว่า 2-6 เท่าตัว
ท�าไมรถยนต์สมัยใหม่ต้องใช้เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง
เนือ่ งจากในปัจจุบนั ไม่สามารถปฏิเสธได้วา่ ผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อมเป็นเรือ่ งที่ ทุกฝ่ายต้องค�านึงถึง ในอุตสาหกรรมยานยนต์ก็เช่นเดียวกัน มีทิศทางที่ชัดเจนในการ ออกแบบรถยนต์ทปี่ ระหยัดพลังงานโดยมีการใช้เชือ้ เพลิงและปล่อยมลพิษในปริมาณน้อย วิธีการหนึ่งที่ส�าคัญคือ ผู้ผลิตทุกค่ายพยายามท�าให้รถมีน�้าหนักน้อยที่สุดเพื่อให้ประหยัด เชื้อเพลิง ซึ่งการใช้วัสดุที่มีความหนาลดลงก็เป็นแนวทางหนึ่ง แต่จะท�าให้รถยนต์มีความ แข็งแรงหรือความปลอดภัยเมื่อเกิดอุบัติเหตุลดลงไปด้วย ซึ่งสวนทางกับความต้องการ ของผู้บริโภค ดังนั้นเหล็กกล้าความแข็งแรงสูงจึงเข้ามามีบทบาทสูงมากในอุตสาหกรรม ยานยนต์ในปัจจุบัน เพราะท�าให้ผู้ผลิตสามารถลดน�้าหนักรถยนต์ลงได้ในขณะที่มีความ ปลอดภัยสูงขึ้น
รูปที่ 1: ประเภทของเหล็กกล้าความแข็งแรงสูง (ที่มา: http://www.autospeed.com/cms/article.html?&A=3042)
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงมีกี่ประเภท
เหล็กกล้าความแช็งแรงสูงแบ่งสามารถแบ่งประเภทได้หลายวิธี ดังรูปที่ 1 ถ้าแบ่ง ตามค่าความแข็งแรงจะแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือ เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง (ความแข็ง แรงอยู่ในช่วง 270 – 700 MPa) และเหล็กกล้าความแข็งแรงสูงพิเศษ (Ultra or Advanced High strength Steel, ความแข็งแรงสูงกว่า 700 MPa) หรืออาจแบ่งตามกลไก การสร้างความแข็งแรงเช่น เหล็กกล้าสองเฟส (Dual phase steel: DP) เหล็ก TRIP (Transformation Induced Plasticity) เหล็กกล้ามาร์เทนไซต์ (Martensitic steel: MART) เป็นต้น แต่การแบ่งประเภทที่ส�าคัญอีกวิธีหนึ่งคือการแบ่งตามกระบวนการขึ้นรูปชิ้นงาน โดยกลุ่มแรกเป็นเหล็กกล้าที่แสดงในรูปที่ 1 ซึ่งเป็นเหล็กกล้าที่ผลิตเป็นชิ้นส่วนยาน ยนต์ได้ทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ้ ง แต่เนือ่ งจากตัววัสดุเริม่ ต้นมีความแข็งแรงทีส่ งู มาก มักจะพบปัญหา ในกระบวนการผลิต เช่น การฉีกขาดได้ง่ายของชิ้นงานที่มีรูปร่างซับซ้อน การดีดตัวกลับ ของชิ้นงานท�าให้ไม่ได้ขนาดรูปทรงที่ต้องการ และแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปสึกหรอเร็ว เป็นต้น 78 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
รูปที่ 2: ส่วนของรถยนต์ที่ใช้เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงเป็นวัตถุดิบ
(ที่มา: http://www.autospeed.com/cms/title_ Steel-Identification-Using-Hardness-Testing/A_109717/article.html)
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงใช้ท�าชิ้นส่วนไหนของรถยนต์
เนื่องจากเหล็กกล้าความแข็งแรงสูงมีราคาสูง และต้องการกระบวนการผลิตที่ พิเศษกว่าเหล็กกล้าทัว่ ๆ ไป ดังนัน้ มักจะใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตชิน้ ส่วนทีป่ กป้องห้อง โดยสารของรถยนต์เมือ่ เกิดการชน ดังแสดงในรูปที่ 2 เช่น ชิน้ ส่วนคานด้านข้าง (Side beam) หรือเสาหน้า (Front or A Pillar) และเสากลางของรถยนต์ (Center or B Pillar) เป็นต้น
HORIZONTAL COMPETENCY P.80 พิชญ์ รอดภัย
BOTTOM LINE
“ว่าด้วยเรือ่ งบทวิเคราะห์วจิ ารณ์ขา่ วสารและปรากฏการณ์ดา้ นเศรษฐกิจ – การเงินทีเ่ กิดขึน้ ในแวดวงธุรกิจ และอุตสาหกรรมทัว่ โลกอย่างรอบด้าน เพือ่ เป็นข้อมูลส�าหรับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมน�ามาประยุกต์ใช้ได้ อย่างสอดคล้องกับธุรกิจ”
P.82 พิชัย ถิ่นสันติสุข
ALTERNATIVE ENERGY
“คอลัมน์นจี้ งึ เป็นแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ สะท้อนความคิดความเห็นจากภาคเอกชนอย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์โดยตรงกับนักลงทุนหรือผูท้ สี่ นใจลงทุนในธุรกิจนี้ เนือ่ งจากพลังงานทดแทนเป็นทัง้ ธุรกิจ สาธารณูปโภค การลงทุน และความมัน่ คงของรัฐ ดังนัน้ หากเกิดความ เปลีย่ นแปลงใดๆ ย่อมส่ง ผลกระทบโดยตรงกับส่วนรวม”
P.86 สิทธิชัย ฝรั่งทอง
LOGISTIC DESIGN
“การแข่งขันของธุรกิจปัจจุบนั นับวันจะมีทวีความรุนแรงขึน้ ดังนัน้ ธุรกิจะต้องมีการออกแบบระบบการ โลจิสติกส์ ทีส่ ามารถตอบโจทย์ทางธุรกิจทีย่ ากขึน้ ด้วยส่วนผสมทีห่ ลากหลาย มิใช่มงุ่ เน้นเพียงลดต้นทุนเพียง อย่างเดียว แต่ตอ้ งค�านึงถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับองค์กรด้วย”
REAL TIME
P.88 นเรศ เดชผล
“เท่าทันการเปลีย่ นแปลง รับรูข้ อ้ มูลเตือนภัย และก้าวไปพร้อมกับการพัฒนาทางเทคโนโลยีดา้ นไอที อินเทอร์เน็ตและการสือ่ สาร เพือ่ การใช้งานเครือ่ งมือไอทีอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป้าหมาย คือ การน�าไปสนับสนุนและประยุกต์ใช้กบั องค์กรในการลดต้นทุนและเพิม่ พูนผลผลิต”
FACTORY 3.0
P.90 ฉันทมน โพธิพิทักษ์
“แนวคิดของอุตสาหกรรมทีเ่ น้นศูนย์กลาง คือ สังคมและชุมชน ซึง่ นอกจากภาคอุตสาหกรรมจะเน้นในตัว ผลิตภัณฑ์แล้ว ยังต้องส่งเสริมคุณค่าและใส่ใจต่อส่วนรวม รับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ ปัจจุบนั โลกยุค 3.0 เป็น โลกยุคการสือ่ สารและสังคมเป็นหลักทีจ่ า� เป็นจะต้องมุม่ เน้นในภาคส่วนรวม พร้อมใส่ใจในสังคมและ สิง่ แวดล้อม”
BOTTOM LINE
พิชญ์ รอดภัย / PETE ROTPAI (pr150286@gmail.com) นักวิเคราะห์เศรษฐกิจ การเงิน การลงทุน และผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐกิจ การลงทุน โครงสร้างการเงิน และการธนาคาร การศึกษา : บธ.บ. สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เกียรตินิยม) และ MSc. in Finance, University of York, UK.
โดยการไปเยี่ยมชมกิจการในครั้งนี้มีอยู่ 2 กิจการที่ เป็นผู้ผลิตสินค้าที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลิตสินค้า ชนิดเดียวกัน แต่ผลปรากฎว่ารูปแบบการด�าเนินกิจการ ของทั้งสองกิจการที่มีเป้าหมายในการด� า เนิ นกิ จ การ เหมือนกันนั่นก็คือ การท�าให้กิจการมีผลก�าไรสูงที่สุด แต่ การด�าเนินกิจการนัน้ มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยมีแนวทางและเป้าหมายที่แตกต่างกันเป็นอย่างมาก เช่นเดียวกัน
การบริหารงานของ CFO และ CEO
ผูเ้ ขียนได้กลับมานัง่ คิดทบทวนจึงเห็นว่าการทีท่ งั้ สอง กิจการมีการด�าเนินงานทีแ่ ตกต่างกันมากขนาดนีส้ ว่ นหนึง่ มาจากความถนัดและความเชีย่ วชาญของเจ้าของกิจการ และผูบ้ ริหาร แต่อกี ส่วนหนึง่ ทีส่ ง่ ผลให้การด�าเนินกิจการ มีความแตกต่างกันก็คอื CFO (Chief Financial Officer) หรือผู้บริหารระดับสูงด้านการเงินของกิจการนั่นเองโดย หน้าที่ของ CFO ก็คือการควบคุมกิจกรรมทางการเงิน ทั้งหมดของกิจการเพื่อให้กิจการได้รับผลก�าไรสูงสุดจาก การด�าเนินงานทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต และโดยหน้าทีน่ ี้ เองที่ท�าให้ CFO ส่วนใหญ่จ�าเป็นที่จะต้องเป็นหนึ่งใน ผู้ที่ช่วยเจ้าของกิจการและ CEO ในการวิเคราะห์จุด อ่อนจุดแข็งของกิจการเพื่อช่วยหาทางแก้ไขปัญหาและ ปรับปรุงการด�าเนินกิจการให้ดีขึ้นอีกด้วย โดยถ้าพูดหน้าที่ของ CFO ให้ละเอียดขึ้นไปอีกใน ทางการเงินก็อาจบอกได้วา่ CFO จะต้องเป็นตัวหลักของ กิจการเพือ่ ให้กจิ การมีเงินทุนในการด�าเนินกิจการทีเ่ พียง พอ ควบคุมดูแลให้เงินสดในมืออยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยจะต้องน�าเงินสดส่วนเกินไปลงทุนเพื่อให้เกิดรายได้ เพิม่ เติมจากการลงทุนภายใต้ความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม รักษา ความสัมพันธ์ที่ดีกับสถาบันทางการเงิน และอาจรวมไป ถึงการดูแลงานด้านบัญชีเพื่อให้งบการเงินที่ออกมามี ความถูกต้องและมีความโปร่งใสอีกด้วย เป้าหมายของ CFO นั้นค่อนข้างชัดเจนนั่นก็คือการ ท�าให้สถานะทางการเงินของกิจการมีความมั่นคงอย่าง ยั่งยืนเพื่อให้เจ้าของกิจการมั่นใจได้ว่ากิจการจะมีเงิน ลงทุนเพื่อให้กิจการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ได้นั่นเอง ดังนั้น CFO ที่ดีจะต้องสามารถบริหารจัดการเพื่อให้ กิจการมีเงินใช้ในการด�าเนินกิจการอย่างพอเพียง ซึ่ง CFO จะต้องพิจารณาแหล่งทีม่ าของเงินให้ดวี า่ แหล่งทีม่ า ของเงินรูปแบบไหนที่เหมาะสมกับความต้องการของ กิจการมากที่สุด เนื่องจากแต่ละแหล่งที่มาของเงินนั้นมี ทัง้ ข้อดีและข้อเสียทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ CFO นัน้ มีความส�าคัญต่อกิจการเป็นอย่างยิง่ เพราะถ้ากิจการ ไหนที่ CFO มีความสามารถที่จ�ากัด อาจท�าให้กิจการ ประสบปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงินและส่งผลให้ กิจการประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรงเลยก็เป็นได้
6 เรื่องส�าคัญที่ CFO ต้องตัดสินใจอย่างรอบคอบ
จากที่กล่าวไปข้างต้นแล้วว่า CFO ในแต่ละกิจการ มีหน้าทีแ่ ละเป้าหมายทีส่ า� คัญต่อกิจการเป็นอย่างยิง่ และ ในกิจการอีกหลายแห่งโดยเฉพาะกิจการขนาดเล็กนั้น CFO เป็นบุคคลากรคนส�าคัญอันดับต้นๆ ที่จะท�าให้
80 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมาผู้เขียนได้มีโอกาสออกไปเยี่ยมชมกิจการอยู่ 3 กิจการด้วยกัน ซึ่งทั้งหมดมีเจ้าของเป็นชาวไทยและเป็นกิจการ ที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก ถึงแม้ว่าทั้ง 3 กิจการจะเริ่มใช้ระบบและ เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ แต่ทั้ง 3 กิจการ ก็ยงั คงพึง่ พาอาศัยความสามารถของผูบ้ ริหารระดับสูงเป็นหลัก อยู่ดี
ความส�าคัญของ CFO ที่มีต่อกิจการ
The Significance of CFO to Business กิจการเติบโตและพัฒนาไปข้างหน้ามากน้อยเพียงใดโดย เรื่องส�าคัญที่ CFO จะต้องตัดสินใจอย่างรอบคอบนั้น ได้แก่
การตัดสินใจเมือ่ กิจการอยูใ่ นระหว่างการขาดแคลน เงิน (Dealing With Cash Shortages) CFO ทุกคนคงจะต้องพบเจอกับสถานการณ์ที่ยาก ล�าบากในการตัดสินใจในช่วงเวลาที่กิจการอยู่ในสภาวะ ขาดแคลนเงินสดส�าหรับการค่าใช้จ่ายที่ส�าคัญต่างๆ จน ในบางครั้ง CFO จะต้องตัดสินใจเลือกให้ดีว่าจะน�าเงินที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด นั้ น ไปใช้ ช� า ระค่ า ใช้ จ ่ า ยทางไหนดี ยกตัวอย่างเช่น การตัดสินใจว่าจะช�าระเงินภาษีให้ตรง เวลาหรือช�าระเงินสินเชื่อกับธนาคารพาณิชย์ดีกว่า อย่างไรก็ตามการตัดสินใจเลือกว่าจะช�าระค่าใช้จา่ ย ใดนัน้ เป็นเลือกทีย่ ากพอสมควรเนือ่ งจากการเลือกทีจ่ ะไม่ จ่ายภาษีอาจท�าให้กิจการต้องช�าระดอกเบี้ยและค่าปรับ เพิม่ เติม แต่การเลือกทีจ่ ะไม่ชา� ระค่างวดสินเชือ่ อาจท�าให้ ความสัมพันธ์ของกิจการกับสถาบันการเงินนัน้ ไม่ดเี หมือน เดิม ซึ่งส่งผลให้กิจการอาจประสบปัญหาในการกู้ยืมเงิน กับสถาบันการเงินแห่งนี้ในอนาคต
การตัดสินใจเฉพาะหน้า (Short-Run Vision)
CFO โดยส่วนใหญ่จะมีแนวความคิดที่รัดกุมและไม่ ชอบความเสี่ยง (Conservative) อยู่พอสมควร ซึ่งท�าให้ CFO ในบางครั้งต้องเป็นผู้ที่มีหน้าที่อนุมัติตัดสินใจว่าจะ ยอมรับค่าใช้จ่ายที่เจ้าของกิจการหรือ CEO เสนอขอมา เพื่อจะด�าเนินการในบางโครงการ ยกตัวอย่างเช่น CFO จะต้องตัดสินใจว่ากิจการควรจะด�าเนินการในการซื้อ กิจการอื่นหรือไม่ โดย CFO จะต้องเป็นผู้ตัดสินใจว่า กิจการมีสถานะทางการเงินที่ดีและพร้อมแล้วหรือไม่ ส�าหรับการไปซื้อกิจการเหล่านั้น
การตัดสินใจในเรื่องของการน�าเงินไปลงทุน (Investment Decisions)
CFO จะต้องเป็นผู้ที่ตัดสินใจในเรื่องของการน�าเงิน ของกิจการไปลงทุนต่อเพื่อก่อให้เกิดรายได้เพิ่มเติมให้
แก่กิจการ แต่การเลือกว่าจะน�าเงินดังกล่าวไปลงทุนใน รูปแบบใดไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก เนื่องจาก CFO จะต้อง พิจารณาให้ดวี า่ สถานะทางการเงินของกิจการในปัจจุบนั นั้นพร้อมที่จะรับความเสี่ยงได้มากน้อยเพียงใด โดยถ้า CFO เห็นว่ากิจการมีความพร้อมทีจ่ ะรับความเสีย่ งได้มาก CFO อาจเลือกที่จะน�าเงินไปลงทุนในเครื่องมือทางการ เงินทีม่ คี วามเสีย่ งค่อนข้างสูงซึง่ จะท�าให้กจิ การอาจได้รบั ผลตอบแทนที่สูงตามไปด้วย ในทางกลับกับกันถ้ากิจการ ไม่พร้อมส�าหรับความเสี่ยง CFO ก็อาจจ�าเป็นจะต้อง น�าเงินไปลงทุนในเครื่องมือทางการเงินที่ให้ผลตอบแทน น้อยแต่มีความเสี่ยงที่ต�่าไปด้วย
การตัดสินใจในช่วงที่ธุรกิจตกต�่า (Overreaction to Business Downturns)
เมือ่ กิจการประสบกับปัญหายอดขายลดลง CFO จะ ต้องควบคุมให้สถานะทางการเงินไม่ออ่ นแอลงไปจากเดิม ซึง่ ส่วนใหญ่ CFO มักจะใช้วธิ กี ารในการควบคุมค่าใช้จา่ ย ให้อยู่ในปริมาณที่ต�่าที่สุด แต่การควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆ อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตของกิจการได้เช่นเดียวกัน ดังนั้น CFO จะพิจารณาข้อดีข้อเสียให้ดีก่อนตัดสินใจ ว่าจะควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนใด
นโยบายลูกหนี้และเจ้าหนี้ (Receivables and Payables Policies)
ตามหลักการทางการเงินแล้วนั้นกิจการทั้งหลาย ควรจะมีนโยบายการเก็บเงินจากลูกหนี้ทางการค้าให้ รวดเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้และช�าระเงินให้แก่เจ้าหนี้ ทางการค้าให้ชา้ ทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ แต่ในทางปฏิบตั จิ ริง แล้วนั้น CFO จะต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนก่อนที่จะก�าหนด นโยบายการเก็บเงินจากลูกหนีแ้ ละการช�าระเงินให้แก่เจ้า หนี้ เนื่องจากในบางครั้งการเร่งการเก็บเงินจากลูกหนี้ ทางการค้าอาจจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ทมี่ ตี อ่ กัน ได้เช่นเดียวกันการพยายามยืดการช�าระเงินกับซัพพลาย เออร์อาจส่งผลกระทบกับการซื้อวัตถุดิบและสินค้าใน อนาคตก็เป็นได้
การตั ด สิ น ใจเรื่ อ งของโครงสร้ า งทางการเงิ น (Capital Structure)
กิจการโดยส่วนใหญ่จะต้องพึ่งพาเงินทุนจากทั้งส่วน ของผู้ถือหุ้นและการกู้ยืมเงิน แต่การตัดสินใจว่ากิจการ พึ่งพาเงินทุนจากแหล่งไหนในสัดส่วนเท่าใดนั้น CFO จะ ต้องเป็นผู้ก�าหนดสัดส่วนดังกล่าวซึ่ง CFO จะต้อง พิจารณาก�าหนดโครงสร้างทางการเงินให้ดี เพราะโดย ส่วนใหญ่กิจการที่พึ่งพาเงินกู้ยืมมากเกินไปอาจถูกมอง ว่าเป็นกิจการทีม่ คี วามเสีย่ งค่อนข้างสูง แต่การพึง่ พาเงิน ทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้นแต่เพียงอย่างเดียวในบางครั้ง อาจท�าให้กิจการขาดความยืดหยุ่นและไม่มีเครดิตกับ สถาบันการเงิน ซึง่ ส่งผลให้กจิ การอาจประสบปัญหาเวลา ที่ต้องการเงินอย่างเร่งด่วนก็เป็นได้ ทัง้ 6 เรือ่ งเป็นเรือ่ งทีจ่ ะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ จากองค์ประกอบหลายๆ ด้านด้วยกัน เพื่อน�าพาให้ธุรกิจ ก้าวไปสู่ความส�าเร็จ Last week the author had an opportunity to visit 3 businesses of which the owners are Thais. Although these 3 businesses are not so large and employ technologies and systems in their management but they still have to principally rely on the competency of top executives. By this visit, there are 2 businesses that are manufacturers in the similar industry, produce the same kind of product but the pattern of management of these two firms is obviously different in spite of having the same business operation goal, i.e. maximized profit. Also, the means and target of these two companies are different quite a lot.
The Management of CFO and CEO
The author pondered about the much difference on operation and management of these two companies and found that part of it is derived from experience and skill of the owner and executive. Nonetheless, another part that brings about the difference on operational result is CFO (Chief Finance Officer) or the top rank executive on finance of the business. The function of CFO is to control all financial activities of business in order that the business can benefit from maximum profit from operation at present and in the future. Such function is the reason why CFO has to be one of the business owner’s and Chief Executive Officer’s (CEO’s) assistants on the firm’s strengths and weaknesses to figure out the problem solving approach and improve the firm’s business operation. If we go a little bit deeper on the function of CFO we may say that CFO has to be one of the key persons of a firm to make it have adequate capital to run business and control cash on hand to be at the appropriate level by applying it to investment for earnings subject to proper risk
taking, keeping good relationship with financial institutions and might include supervising accountancy in order that financial statements will be accurately and transparently issued. The goal of CFO is rather obvious, that is, to make financial status of a firm stable and sustainable in order that a business owner can be assured that a firm has enough fund to make a business meet achievement. A good CFO, thus, has to be able to manage a business to have adequate working capital and CFO has to consider the source of fund that which type is the most proper to the requirement of a business since each source of fund contains both different advantages and disadvantages. Thus, we can see that CFO is very important to a business because the business with limited competence CFO might encounter the financial liquidity problem and cause such business to face with a seriously financial problem.
6 Significant Subjects that CFO Has to Carefully Decide
As being aforesaid that CFO in each business has very significant function and goal to a business. In many businesses, particularly in small scale business, CFO is a priority to make a business grow and develop. The significant subjects that CFO has to carefully make decision are:
Dealing with Cash Shortages
All CFOs have to face with a difficult situation to make decision during the period that a business encounters with cash shortage to pay for significant expense items until sometimes CFO has to decide which expenses should be paid by such limited amount. For example, to decide to punctually pay tax or loan payment to a commercial bank. However, decision to pay for which expense is quite difficult as deciding to not pay tax may cause a firm to pay fine and interest but decision to not pay loan installment may damage the relationship between a firm and this financial institution in the future.
Short-run Vision
Most of CFOs have a careful and conservative thought which sometimes makes CFO be a person to make decision if the expense requested by a business owner or CEO to run some projects should be acceptable. For example, CFO has to decide that if a business should take over other business by CFO has to make decision whether a business has a good financial condition and is available to acquire others or not.
Investment Decisions
CFO has to be the one to decide on a firm’s investment to earn additional income to a business. The decision on which type of business to invest is not easy since CFO has to carefully consider how much the currently financial status of a firm can take risk. If CFO considers that a firm is available to take much risk, CFO may choose to invest on financial instruments with rather high risk that can make a firm obtain a high return accordingly. On the other hand, if a firm is not available for taking risk, CFO may have to invest on financial instruments with low return and low risk.
Overreaction to Business Downturns
When a business faces with decreasing sales volume CFO has to control the financial status to not be more weak. Mostly, CFO often uses the expense control approach to be as low as possible but expense control may affect to the growth of a business as well. CFO, thus, will consider advantages and disadvantages prior to make decision on which expense should be controlled.
Receivables and Payables Policies
According to financial principle, businesses should have a policy on receivables collection as quickly as possible and pay to trade account payables as slowly as possible. But in practice, CFO has to carefully consider before setting a policy on receivables and payables collection as sometimes accelerating receivable collection may affect mutual relationship. Likewise, an attempt to defer payables with suppliers may impact the purchase of raw materials and goods in the future.
Capital Structure
Most of businesses have to rely on capital from both shareholders and loan, but to decide which source of capital and on which proportion should be relied upon by a business CFO has to determine on such proportion. CFO has to carefully determine on financial structure because most of businesses that rely too much on borrowing may be considered that it is a rather high risky business but sometimes relying only upon capital from shareholders may cause a business to lack in flexibility and lose credit with a financial institute that may cause a business to face with a problem when financial support is rapidly needed. All 6 items is the ones to be carefully considered from several components in order to lead a business to success.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
81
ALTERNATIVE ENERGY
พิชัย ถิ่นสันติสุข / PHICHAI TINSUNTISOOK (royal@royalequipment.co.th; http://www.royalequipment.co.th) ประธานกลุ่มบริษัท ราชาอีควิปเมนท์ จ�ากัด และประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย President, Royal Equipment Co., Ltd. Chairman, Renewable Energy Industry Club of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
อัศจรรย์ พันธุ์พืช ยางพารา
Amazing
Rubber Tree
บรรดาพืชหลักที่รัฐเร่งส่งเสริมอันได้แก่ อ้อย มันส�าปะหลัง ปาล์มน�้ามัน และยางพารา มีพืชเพียงชนิด เดียวที่อยู่ใกล้ชิดคนไทยมากที่สุดแต่รับประทานไม่ได้ เป็นตั้งแต่สิ่งปลูกสร้าง เฟอร์นิเจอร์หรู ยางรถยนต์ ถุงมือยาง และถุงยางอนามัย นัน่ ก็คอื ‘ยางพาราง’ นอกจากนีต้ น้ ยางพารายังต้องรับหน้าทีเ่ ป็นเชือ้ เพลิง ส�าหรับโรงไฟฟ้าชีวมวลปลอดสารพิษและเป็น Wood Pellet ทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงให้ความอบอุน่ ในเมืองหนาว... แต่ชาวสวนยางกลับประสบปัญหาราคายางตกต�่าจนต้องร้องขอความช่วยเหลือจากรัฐ จากในอดีตที่ รุ่งเรืองราคายางพารา 180 บาทต่อกิโลกรัม วันนี้ 50 กว่าบาทต่อกิโลกรัม และนี่ความอัศจรรย์ของ ยางพารา
ในขณะที่รัฐบาล คสช. ได้มีความพยายามอย่างสูง ในการแก้ไขปัญหา 4 พืชหลัก ชาวพลังงานทดแทนก็แอบ เชียร์อยู่เงียบๆ อันเนื่องมาจากพืชหลัก 4 ชนิด มีเศษ เหลือทิ้งเป็นวัตถุดิบมีค่า (Feed Stock) ส�าหรับผลิต พลังงานทดแทน เป็นที่ทราบและยอมรับกันแล้วว่า พลังงานทดแทนไทยกว่าร้อยละ 80 มาจากพืชพลังงาน เราเคยเสนอเรื่องของปาล์มน�้ามันไปแล้ว ฉบับนี้จึงมา เจาะลึกเรื่องของยางพารา พืชซึ่งไทยเป็นผู้น�าตลาด ราคาในอดีตเริ่มจาก 20 บาทต่อกิโลกรัมต่อมารัฐบาล สมัยนัน้ มีการบริหารจัดการโดยใช้การตลาดน�า ประกอบ กับ ความต้องการในตลาดโลกเพิ่ มขึ้ นท� า ให้ ราคายาง พาราก้าวกระโดดไปจนแตะที่ราคา 180 บาทต่อกิโลกรัม ล่อใจนักเก็งก�าไรทัง้ หลายพากันขยายฐานการเกษตรปลูก ยางจนเกือบทั่วประเทศ มาวันนี้ราคายางพาราในตลาด โลกลดลง เทคโนโลยียางสังเคราะห์สงู ขึน้ ความต้องการ ยางพาราธรรมชาติลดลง ขณะที่ก�าลังเขียนอยู่นี้ราคา ยางพารากิโลกรัมละ 54 บาท Road Map… Road Map… คือคาถาแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าของไทย มีคุณประโยชน์ 2 ประการคือถ้า Road Map ชีท้ างถูก ก็จะแก้ไขปัญหายางพาราระยะยาว ได้ แต่ถ้าแผนที่น�าทาง (Road Map) ชี้คลาดเคลื่อนก็ยัง ซื้อเวลาไปได้ ส�าหรับยางพาราแล้วเสมือนพืชสองชีวิต (2 lives) ชีวติ แรกยืนหยัดท�าประโยชน์คฟู่ า้ เมืองไทยกว่า 20 ปี ด้วยน�้ายางคงคุณค่า ก่อนจะไปสู่ชีวิตที่ 2 เป็น ไม้ยางพาราเป็นพลังงานอันมีค่า ชีวิตที่ 1 (First Live) ต้นยางพารากว่า 19 ล้านไร่ ทั่วประเทศช่วยดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์และรักษาความชื้น ปรับสมดุล ธรรมชาติโดยมีชาวสวนยางกว่า 6 ล้านคนได้ท�าหน้าที่ แทนคนไทยอย่างสมบูรณ์ที่สุดด้วยการปลูกยางพาราจน ผลผลิตเป็นอันดับหนึ่งของโลก วันนี้จากกลางน�้าสู่ปลาย น�า้ คงต้องท�างานหนัก คงจะส่งออก น�า้ ยาง ยางแท่ง ยาง 82 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
แผ่น ออกเกือบร้อยละ 90 ต่อไปอีกไม่ได้แล้ว หากดูจาก ข้ อ มู ล ของสถานบั น วิ จั ย ยางส� า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรมจะเห็นได้ว่ามูลค่าของยางพาราเมื่อเป็น ผลิตภัณฑ์สูงกว่าวัตถุดิบถึง 10 เท่า
แท้จริงแล้วยางพารายังมีประโยชน์อีกอเนกอนันต์ ลองดูแนวคิด เกษตร-พลังงาน เป็นไปได้หรือไม่ที่ตลอด Value Chain จะมีการแบ่งปัน รายได้เหมือนอ้อยหรือ ปาล์มน�้ามันซึ่งช่วงไหนราคาผลปาล์มล้นตลาดก็น�าไป ผลิตไบโอดีเซลเพิ่ม เป็นต้น ชีวิตที่ 2 (Second Live) กว่า 20 ปีที่ต้นยางท�า หน้าทีอ่ ย่างไม่มโี อกาสบ่นนานๆ จะได้ปยุ๋ อินทรียแ์ ทนสาร เคมีสักครั้ง แต่ต้นยางพาราก็ไม่พ้นวัฏสงสารเพียงแต่มี ค่ากว่าร่างกายมนุษย์ยามสิ้นอายุไข ขอเริ่มต้นจากภาค ใต้ก่อน ซึ่งปลูกยางกว่า 11 ล้านไร่ และเป็นต้นยางที่เริ่ม หมดอายุกว่าปีละ 5 แสนไร่ ปัจจุบนั มีการตัดอยูป่ ระมาณ 3 แสนไร่เพือ่ ปลูกต้นใหม่ทดแทน การตัดต้นยางตามอายุ มีข้อดี คือ ลดปริมาณน�้ายางส่วนเกินและช่วยรักษา เสถียรภาพราคายางและเกิดชีวติ ที่ 2 ของ Value Chain ยางพารา
เรามาเริม่ เรียนรูเ้ รือ่ งของต้นยางพาราไปพร้อมๆ กัน ถูกบ้างผิดบ้างก็ขออภัย... เมือ่ ต้นยางหมดอายุ(ให้นา�้ ยาง น้อย) จึงจ�าเป็นต้องตัด ก่อนหน้านี้เป็นภาระของเจ้าของ
สวนยางพาราต้ อ งว่ า จ้ า งให้ ค นมาตั ด เสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย ประมาณ 2,000 บาทต่อไร่ ปัจจุบันเจ้าของโรงเลื่อยต้อง รับภาระการตัดและซื้อต้นยางดังกล่าวไร่ละ 30,00040,000 บาทต่อไร่ นอกจากนั้น ส�านักงานกองทุน สงเคราะห์การท�าสวนยาง (กสย.) ยังจัดงบมาให้ไร่ละ 16,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายส�าหรับใส่ปุ๋ยและดูแลต้น ยางพาราซึง่ ชาวไร่จะทยอยเบิกในช่วงเวลา 4 ปีทตี่ น้ ยาง ยังเล็กและให้ผลผลิตไม่ได้ ขอน�าตัวเลขผลผลิตจาก ต้นยางพาราที่ชาวโรงเลื่อยหลายร้อยโรงในประเทศไทย ใช้เป็นวัตถุดิบมาเล่าสู่กันฟัง ในช่วงชีวิตที่สองของยางพาราแม้ว่าจะสั้นกว่าช่วง แรก แต่กช็ ว่ ยหล่อเลีย้ งธุรกิจตลอด Value Chain โปรด ศึกษาตารางผลผลิตประกอบกับค�าอธิบายดังต่อไปนี้ 1. กรณีที่ตัดต้นยาง 3 แสนไร่ต่อปี ชาวไร่มีรายได้ไร่ ละ 30,000 บาท จะเป็นเงินเก้าพันล้านบาทต่อปี ถ้าตัด 5 แสนไร่ต่อปีชาวไร่มีรายได้หนึ่งหมื่นห้าพัน ล้านบาทต่อปี
2. เศษเหลือทิ้งจากไม้ยางพารา อาทิ ราคากิ่งไม้ท�า ฟืนราคา 700 บาท/ตัน ปีกไม้ราคา 500 บาท/ตัน ไม้แปรรูปราคา 2,300 บาท/ตัน ขี้เลื่อยราคา 700 บาท/ตัน และ รากไม้ตันละ 400บาท/ตัน หากตัด ต้นยางพารา 5 แสนไร่ต่อปีจะเป็นเงินเท่าไหร่ลอง ค�านวณดู 3. จากการประเมินมีผลผลิต 59 ตันต่อไร่ หากตัดต้น ยางพารา 5 แสนไร่ต่อปี ผลผลิตรวมก็คือ 29.5 ล้านตันต่อปี คาดว่ามีการน�าไม้ยางแปรรูปไปใช้ใน งานก่อสร้างและผลิตเฟอร์นิเจอร์เพียง 50% ส่วน ทีเ่ หลือก็จะไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงชีวมวล และผลิตเชือ้ เพลิงอัดแท่งส่งออก ซึง่ คาดว่าจะมีเชือ้ เพลิงส�าหรับ โรงไฟฟ้าอีกปีละกว่า 10 ล้านตันต่อปี ส�าหรับโรง ไฟฟ้าขนาด 1 MW จะใช้เชือ้ เพลิงชีวมวลประมาณ หนึ่งหมื่นตันต่อปี ดังนั้นชีวมวลภาคใต้คงจะเหลือ พอส�าหรับโรงไฟฟ้ากว่า 1,000 MW ส�าหรับภาค อืน่ ๆ ต้นยางส่วนใหญ่อาจจะยังไม่ครบอายุทจี่ ะต้อง ตัด
อนึ่งโรงไฟฟ้าชีวมวลส�าหรับภาคใต้ ควรจะมีการ ส่งเสริมโรงไฟฟ้าชีวมวลอย่างจริงจัง เพิม่ ความมัน่ คงด้าน ไฟฟ้า และดูดซับสภาพคล่องส่วนเกินของไม้ยางพาราที่ มีการตัดอย่างสม�่าเสมอทุกๆ ปี ปัญหาที่มีในขณะนี้ก็คือ อัตราส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจาก ชีวมวลของภาครัฐยังต�า่ เกินไป ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน นอกจากนี้ยังมีบริษัทที่ไป ขอจ�าหน่ายไฟฟ้าไว้แล้ว แต่ไม่ด�าเนินการได้เป็นจ�านวน มาก ควรมีการยกเลิกใบอนุญาตบริษทั เหล่านีไ้ ปก่อนและ เมื่อพร้อมลงทุนจึงมาขออนุญาตใหม่ ส�าหรับ Wood Pellet นาทีนภี้ าครัฐคงต้องตัดสินใจ ว่าจะเดินทางไหน ก่อนตัดสินใจโปรดศึกษาข้อมูลรอบด้าน ทัง้ จากภาครัฐและเอกชน เนือ่ งจากขณะนีร้ าคาส่งออกเชือ้ เพลิงอัดแท่งหรือทีเ่ รียกว่า Biomass Pellet นัน้ ค่อนข้าง สูงประมาณ $140 USD/ตัน อาจสูงถึง $150 USD/ตัน ใน บางเวลาจึงส่งผลกระทบต่อโรงไฟฟ้าชีวมวลอย่างหลีก เลีย่ งไม่ได้ ข้อดีของ ชีวมวลอัดแท่ง ก็คอื ลงทุนน้อยคืนทุน เร็ว จุดอ่อนคือ ราคายังไม่มนั่ คง ภาครัฐจึงไม่ควรทุม่ ใช้งบ ประมาณแข่งขันกับราคาส่งออกของ Biomass Pellet MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
83
พิชัย ถิ่นสันติสุข / PHICHAI TINSUNTISOOK (royal@royalequipment.co.th; http://www.royalequipment.co.th) ประธานกลุ่มบริษัท ราชาอีควิปเมนท์ จ�ากัด และประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย President, Royal Equipment Co., Ltd. Chairman, Renewable Energy Industry Club of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
ปั ญ หาราคายางตกต�่ า วั น นี้ แ ท้ จ ริ ง มาจากหลาย สาเหตุ แต่กม็ กี รู หู ลายท่านทีม่ ธี รุ กิจเกีย่ วข้องกับยางพารา ได้เล่าให้ฟังว่า อาจจะเกิดจากการที่ก่อนหน้านี้จีนซื้อ ยางพาราในราคาสูงต่อเนื่อง คนไทยจึงแห่กันปลูกทั่ว ประเทศ พอจีนลดการซื้อลง คนไทยปลูกไปแล้วก็คงต้อง ก้มหน้าขายราคาถูก ๆ ดังเช่นปัจจุบัน หรือนี่เป็นกลยุทธ์ การจัดซื้อระดับโลก ดังนั้นแฟนพันธุ์แท้ Wood Pellet ควรชั่งน�้าหนักดูว่านี่คือเกมการจัดซื้อของต่างประเทศ หรือไม่ นอกจากนี้ปัญหาราคายางพาราในระยะยาวยัง อาจต้องเผชิญกับการที่บริษัทยักษ์ใหญ่ในประเทศไทย หันไปส่งเสริมการปลูกยางพาราในประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยเทคโนโลยี และพันธุ์ยางชั้นดี คงอีกไม่นานนักน่าจะ ส่งผลกระทบต่อราคายางพาราในประเทศไทย คงได้เวลาแล้วทีภ่ าคเกษตรต้องหันมามองเกษตรพลังงาน จะท�าอย่างไรให้ตลอด Value Chain มีการ แบ่งปันตั้งแต่ชาวสวนยางจนถึงโรงไฟฟ้า ให้มีความ ร�่ารวยเท่าๆ กัน ใครลงทุนลงแรงมากก็ได้มากแบบ เศรษฐกิจพอเพียง ประเทศไทยเรามีทรัพยากรมาก เพียงพออยูแ่ ล้ว ส่วนกระทรวงอุตสาหกรรมก็ควรเดิน หน้า “อุตสาหกรรมใหม่” เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร จะ ขายเป็นวัตถุดบิ ราคาถูกๆ เหมือนเดิมคงไม่ได้ เพิม่ วิสยั ทัศน์สร้างนวัตกรรม เสาะหาเทคโนโลยีดีๆ น�าเข้ามา ช่วยชาวสวนยางพาราให้หายจน
A
mongst the major plants promoted by the government, i.e. sugar cane, cassava, oil palm and rubber tree. The only one that is very close to Thai and inedible. It can be used for building, furniture, tire, rubber glove and condom. It is “rubber”. The rubber trees can be feedstock for biomass power plant and biomass pellet for making warmth in cold countries. However, the rubber tree growers have suffered by rubber price slump which they have to ask for government’s support. From the flourishing past of rubber price at 180 Baht per kilogram to 50 Baht per kilogram or so in today, this is the miracle of the rubber tree.
While the National Council for Peace and Order (NCPO) has been attempting to solve the problem of 4 major plants, the renewable energy sector has silently cheered on since these 4 major plants are valuable feedstock. For renewable energy production, it has been aware and acceptable that over 80% of Thai renewable energy is derived from energy crops. We have already presented the story of oil palm, so we are 84 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
going to deepen on rubber tree which Thailand is the price leader. Previously, the price was started from 20 Baht/kilogram. Later, with marketing oriented management of the government at that time associated with increasing demand in the world market, the price of rubber tree leaped to touch 180 Baht/kilogram causing speculators to expand rubber tree growing until it nearly covered all over the country. Today, price of rubber tree in the world market lessens while synthetic rubber technology is progressive and the demand of natural rubber declines. At this moment, the price of rubber tree is 54 Baht/kilogram. Road Map is the incantation to solve the facing problem of Thailand with 2 advantages, namely, if Road Map leads to the right way the problem of rubber tree price in the long term will be solved. On the other hand, if it isn’t, we still have time to rethink about. The rubber tree seems to have 2 lives. The first life that has been beneficial to Thailand for more than 20 years is latex and the second life as rubber wood. First Life: More than 19 million rubber trees nationwide have absorbed carbon dioxide, maintained moisture and adjusted natural balance. Over 6 million rubber tree growers have completely represented all Thais on such obligations by growing rubber tree until Thailand becomes the number one rubber tree growers. From midstream to downstream, the growers may change their mind from exporting almost 90% of latex, block rubber and sheet rubber to something else after the data from Rubber Research Institute of Thailand and The Office of Industrial Economics shows that rubber products are worth 10 times higher than the giving the latex.
In fact, rubber trees are multi-purpose trees. Let’s take a look at agri-energy concept if it is possible to share income through its value chain like sugar cane or oil palm by taking them to produce biodiesel during the excess period. Second Life: Over 20 years those rubber trees have been worked without complaint; they rarely obtain organic fertilizer instead of chemical. A rubber tree plant, however, cannot avoid the life cycle. The only thing makes it different from human body is that it is more useful. Let’s start from the southern part first, there are more than 11 million rai of rubber plantations and the number of expired rubber tree is over 500,000 rai a year. At present, about 300,000 rai of rubber tree are demolished for replacement. The benefit demolition is to stabilize rubber price in the market and starting the second life (life after death) of the value chain. Let’s learn about rubber tree. When a rubber tree is overgrown, it is necessary to chop it off. The plantation owners have to hire workers to do this job for 2,000 baht/rai (0.40acer). Nowadays, a sawmill owner has to bear such expense and buy those tree for 30,000 - 40,000 baht/rai (0.40acer). Besides, Office of the Rubber Replanting Aid Fund - ORRAF) endorses 16,000 baht/rai
(0.40acer) for fertilizing and planting. The owners will cash the money in the first 4 years when the trees are young and cannot milk the latex. I would like to share some figures of the rubber trees as the for hundreds of sawmills in Thailand.
Although the second life of the rubber tree is shorter than the first one, it can nourish businesses throughout the value chain. Please study the following tables together with the explanation: 1. In case of 300,000 rai of rubber tree plants are chopped per year, the tree growers earn 30,000 baht/rai (0.40 acer). It is about 9 billion baht per year. If 500,000 rai of rubber tree plants are chopped every year, the rubber growers will earn 1.5 billion baht a year! 2. The rubber residue price: Branch (firewood) is 700 baht/tree, Slab is 500 baht/tree, Lumber 2,300 baht/tree, Sawdust 700 baht/tree and Root 400 baht/tree. 3. When 1 rai (0.4acer) produces 59 tons, the 500,000 rai-chopped rubbers per year can produce 29.5 million tons of rubber wood a year. Half of them will be in the construction and furniture Industries. The rest becomes biomass pellets for export. It is anticipated to have fuel for power plants, A 1 MW consumes 10,000 tons of biomass fuel a year. Thus, this biomass fuel can feed the Thailand south region as they use over 1,000 MW. In addition, biomass power plants in the southern region should be seriously promoted to strengthen electricity stability and absorb the excess supply of rubber tree. The problem that is arising now is that the government incentive for the biomass is very few which make it unattractive to investors. Besides, there still are a lot of companies that have already granted a permit to sell electricity but have not operated. The permit of such companies should be cancelled.
They can resubmit the permit when they are ready to operate. For wood pellet, at this moment the government may have to decide which way to go. Before making decision, please comprehensively study from both public and private sector. Nowadays the export price of compressed fuel or as called “Biomass Pellet” is rather high of about 140 -150 USD per ton. Thus, it inevitably affects to biomass power plants. The advantage of biomass pellet is “Few investment, quick payback” whilst the weakness is unstable price. The government, thus, should not throw the budget to compete with the export price of biomass pellet. The problem of rubber price slump is derived from several causes but many experts with businesses related to rubber tree told that it might be caused by the prior continual buy with high price from China. It makes Thais turn to grow rubber tree nationwide. When China lessens its rubber demand from Thai, the rubber growers have to unwillingly sell their produce at low price.
Is this the world class purchase strategy? The wood pellet devoted fans, thus, should consider if this is a purchasing game. Besides, the problem of rubber tree price in the long run may face with the problem. Some Thai large firms turn to encourage to plant rubber trees in our neighboring countries with better technology and good rubber tree seed. This will affect to the rubber price in Thailand soon. It is about time that agricultural sector has to consider on agri-energy to figure out how to proportionally share benefit throughout the value chain from rubber tree grower to power plant. According to the sufficiency economy philosophy, Thailand has already had adequate resources. Ministry of Industry should step forward to “new industry” in order to add the value to agricultural products and focus on innovation including searching for good technologies to assist rubber tree owners. Thailand will be free from poverty. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
85
LOGISTICS DESIGN
ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง / DR.SITTICHAI FARANGTHONG (farlangthong@hotmail.com) ผู้อ�ำนวยกำรหลักสูตรบริหำรธุรกิจมหำบัณฑิต วิทยำลัยเซำธ์อีส์บำงกอก และกรรมกำรสอบวิทยำนิพนธ์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ อำจำรย์พิเศษวิทยำลัยของรัฐ และที่ปรึกษำสมำคมภัตตำคำรไทย ทั้งยังเป็นคอลัมนิสต์พิเศษให้กับหนังสือพิมพ์และนิตยสำรต่ำงๆ อีกมำกมำย
กลยุทธ์การสร้างก�าไรจากฝ่ายจัดซื้อ
Profit Making Strategy from
Purchasing Department จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ราคา น�้ามัน สภาวะทางเศรษฐกิจ อัตราดอกเบี้ย ระบบและอัตราภาษีศุลกากร อัตรา ค่าแรงขัน้ ต�า่ การควบคุมการน�าเข้าและการส่งออก หรือข้อตกลงทางการค้า ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อการด�าเนินธุรกิจเป็นอย่างมาก ฝ่ายบริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจจึงให้ความ สนใจในเรื่ อ งการลดต้ น ทุ น ของกิ จ กรรมโลจิ ส ติ ก ส์ (Logistics Activity) ภายในองค์กร ซึ่งกิจกรรมโลจิสติ ก ส์ อั น ดั บ แรกก็ คื อ ฝ่ า ยจั ด ซื้ อ จั ด หามี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการจัดให้หาวัตถุดบิ จากแหล่งต่างๆ เพือ่ ตอบสนอง ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายใน และสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ซัพพลายเออร์
6 กลยุทธ์เด็ดพิชิตรายได้และลดต้นทุน
บทบาทของการสร้างก�าไรและลดต้นทุนให้กบั องค์กร จึงตกเป็นภาระหน้าที่ที่ส�าคัญอันดับแรกของฝ่ายจัดซื้อ ซึ่งกลยุทธ์การลดต้นทุนและสร้างก�าไรของฝ่ายจัดซื้อ ผู้เขียนขอน�าเสนอ ดังนี้ 1. สอบถามฝ่ายผลิตหรือฝ่ายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วในการผลิต และจ�าหน่ายสินค้า เพื่อหารายละเอียดของส่วน ประกอบการผลิตของสินค้าว่ามีการใช้วตั ถุดบิ อะไร บ้าง หลังจากนั้นก็พิจารณาลักษณะแต่ละวัตถุดิบ ว่าส่วนใดสามารถลดต้นทุนลงได้หรือสามารถลด เกรดของวัตถุดิบลงได้ 2. ติดตามข้อมูลข่าวสารทางด้านภาษีศุลกากรทุกๆ ประเทศหรือข้อตกลงทางการค้า ไม่ว่าจะเป็น อาฟต้า นาฟต้า เอฟทีเอ หรือ เออีซี ที่ประเทศไทย ไปลงนามท�าข้อตกลงไว้ เพื่อน�าข้อมูลเหล่านั้น มาวิ เ คราะห์ ถึ ง โอกาสหรื อ สิ่ ง ที่ จ ะสามารถเอื้ อ ประโยชน์กับทางบริษัท รวมถึงความช่วยเหลือ ของภาครัฐที่จะมีให้แก่ภาคเอกชน 3. พิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บการสั่ ง ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ จากใน ประเทศกับต่างประเทศ ในเรื่องภาษีน�าเข้าและส่ง ออก สมมติว่าจากการค้นคว้าข้อมูลการสั่งซื้อย้อน หลั ง พบว่ า การสั่ ง ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ในประเทศมี ร าคา หน่วยละ 90 บาท (รวมส่งถึงโรงงาน) หากการสั่ง
86 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ซื้อวัตถุดิบจากต่างประเทศราคา (ชนิดเดียวกัน) ราคาหน่วยละ 82.25 บาท (ขนส่งเอง) ซึ่งทั้งสอง แบบก็จะได้รับส่วนลดเหมือนกัน ดังนั้น หากมีการ สั่งซื้อวัตถุดิบดังกล่าวเป็นจ�านวนมาก จะต้อง พิจารณาเปรียบเทียบสั่งซื้อวัตถุดิบดังกล่าว 4. ใช้วธิ กี ารอ้างนโยบายการจ่ายเงินสดก่อน จากเดิม ที่ขอเป็นเครดิต ซึ่งปกติได้รับส่วนลด 3% อยู่แล้ว แต่เป็นการโยนหินถามทางว่า หากทางบริษัทปรับ เปลีย่ นนโยบายการจ่ายเป็นเงินสดจะมีสว่ นลดหรือ มีอะไรเพิ่มเติมให้ทางบริษัทอีกไหม? 5. ท�าความร่วมมือกับซัพพลายเออร์หรือคูค่ า้ ไม่วา่ จะ เป็นการจัดอบรมให้ความรู้ การจัดสัมมนาหรือการ คิดค้นพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ/กระบวนการใหม่ๆ เพือ่ การลดต้นทุนในทุกๆ ด้านร่วมกัน หรือลดค่าใช้ จ่ายต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในกระบวนการจัดการ โลจิสติก์หรือซัพพลายเชนต่อกัน 6. ใช้โอกาสที่บริษัทต้องการการเปลี่ยนแปลงภายใน บริษัท (Change in Corporation) โดยเสนอ ผู้บริหารทบทวนว่าบริษัทมีความช�านาญในด้านใด บ้าง (Core Competency) แล้วด�าเนินการ เปลี่ยนแปลงวางให้เป็นระบบมากยิ่งขึ้น เช่น เดิม เป็นการจัดซื้อจัดหาเองแบบรวมอ�านาจ แต่มีการ เปลีย่ นแปลงเป็นระบบกระจายอ�านาจ เสนอเทคนิค วิธีการในการจัดซื้อจัดหารด้วยเทคโนโลยี เรื่อง Lead Time ให้สั้นลง ปรับเปลี่ยนวิธีการท�างาน ร่วมกันระหว่างกิจกรรมภายในบริษัท หาวิธีการ ขนส่งที่เหมาะสมหรือการขนส่งแบบอื่นที่ท�าให้เกิด ความรวดเร็วขึ้น การหาวัตถุดิบทดแทน/หาแหล่ง ใหม่ การท�า Sup-contract และก�าหนดเงือ่ นไขเพิม่ ขึ้น และการค�านวณต้นทุนที่เกิดขึ้นในการจัดซื้อ จัดหาแต่ละครั้ง เป็นต้น
อย่างไรก็ดี หากธุรกิจเราเป็นผู้รับจ้างผลิต (OEM) ที่ถูกบังคับให้ต้องซื้อกับซัพพลายเออร์รายนั้นรายเดียว ซึ่งมีราคาแพงและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงการซื้อจัดหา จากซัพพลายเออร์นั้นได้ ก็จะต้องฟ้องด้วยระบบการ ตรวจสอบและค�านวณแสดงราคาต้นทุนให้เห็นว่าวัตถุดบิ ที่ซื้อจากซัพพลายเออร์มีราคาสูงมากกว่ารายอื่น ๆ ทั้งที่ มีคุณภาพเท่าเทียมกัน หากยังต้องการด�าเนินธุรกิจร่วม กันต่อไปก็จะต้องปรับราคาทีร่ บั ซือ้ สินค้าส�าเร็จรูปจากเรา ในราคาที่เพิ่มขึ้นจากเดิม มิใช่ ในราคาต�่ากว่าเดิมตลอด เวลา ดังนั้น จึงต้องมีการก�าหนดกลยุทธ์ในการเจรจาต่อ รองกับบริษัทผู้ว่าจ้างและซัพพลายเออร์อีกครั้ง อนึง่ การเลือกใช้กลยุทธ์การจัดซือ้ และจัดหาทีเ่ หมาะ สมนั้น จะต้องค�านึงถึงสัมพันธภาพระหว่างหน่วยงาน ภายในบริษัทกับซัพพลายเออร์ด้วย และต้องด�าเนินการ ตามยุทธศาสตร์การลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งก็ จะท�าให้องค์กรกับซัพพลายเออร์เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน ในการด�าเนินธุรกิจลักษณะแบบ Win-Win Cost Saving As surroundings has changed, whatever it is currency exchange rate, oil price, economic condition, interest rate, tariff rate and system, minimum wage rate, import and export control or trade agreement, etc. All of these affect to business operation very much. Top management of business organizations then pays attention to cost reduction of logistics activity. The first logistics activity is purchasing/ procurement department that is responsible to buy raw materials to respond to the demand of internal units of the organization as well as establishing good relationship with suppliers.
6 Strategies to Conquer Income and Reduce Cost
The role of profit making and cost reduction to the organization then is the first significant duty of purchasing department. The author, therefore, would like to present the strategy to make profit and reduce cost of purchasing department as follows: 1. Inquire production department or others related to production and sales to find the details of goods production components on what raw materials are needed and then consider the attribute of each raw material that the cost of which part can be reduced or which attribute of raw material can be downgraded. 2. Follow data and information on tariffs or trade agreements of all countries, whatever it is AFTA, NAFTA, FTA or AEC with which Thailand signed the agreement to bring them for analysis of opportunity or support to the benefit of the company including assistance of public sector to private sector. 3. Compare raw material purchasing order from domestic and foreign source on import and export tax. Supposing that according to the tracing back of purchasing data, it is found that domestic raw material purchase costs Baht 90 per unit (including transport to the plant) while the purchase of the same raw material from foreign countries costs Baht 82.25 per unit (self transport) and both obtain similar discount. Therefore, if a large amount of such raw material will be purchased, a comparison between domestic and foreign purchase must be conducted. 4. Refer to cash payment policy first from credit request in the past that has already obtained 3% discount. This is to test the water that if the company changes its policy to pay cash whether it receives more discount or any additions. 5. Cooperate with suppliers or trade partners on whatever activities such as training, seminar or innovation on product/service/ process in order to reduce costs or expenses that may happen in logistics management or supply chain process to each other. 6. Manipulate the chance that the company wants to internally change by proposing the executive to review the company’s core competency and then alter it to be more systematized, for example, the preceding
purchasing/procurement is centralized but it will be altered to be decentralized system then the technology on purchasing/procurement is proposed to shorten lead time, the alteration of cross functional working approach in the company, the search of suitable transport means or other types of transport to be quicker, the search of alternatives/ sources of raw materials, sub-contract deal and additional terms and conditions establishment and calculation of cost occurred in each time of purchasing/procurement, and so on. However, if our business is original equipment manufacturer (OEM) that is compelled to purchase with one and only supplier with expensive price and cannot change supplier, we have to expose
with inspection system and calculation to show that raw material purchased from such supplier is more expensive than others’ in spite of similar quality. If we have to keep on doing business together the price of finished goods bought from us must be raised, not always be lowered. Therefore, negotiation strategy must be determined to negotiate with the employer and supplier once more. In addition, selection of due strategy on purchasing and procurement has to take the relationship between internal units and suppliers too and has to efficiently implement in line with the cost reduction strategy. This will make the company and supplier have good sentiment each other on win-win cost saving approach of business operation. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
87
REAL TIME
นเรศ เดชผล / NARES DECHPOL (orange_smallfish@hotmail.com, www.orangesmallfish.com) หนึ่งในผู้บริหารเว็บไซต์ชื่อดังของเมืองไทย ผู้คร�่าหวอดในวงการไซเบอร์และไอที อีกทั้ง ยังเป็นผู้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้การหลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
สร้างคลังความรู้ออนไลน์ส�าหรับองค์กรด้วย
MediaWiki Establishing Online Knowledge Base for Organization With MediaWiki
การเพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากรนั้นถือเป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ส�าคัญที่จะผลักดันให้องค์กรมีความสามารถในการแข่งขัน กับคูแ่ ข่งได้อย่างทัดเทียม เพราะเมือ่ บุคลากรมีประสิทธิภาพแล้ว การเกิดประสิทธิผลในการท�างานก็ยอ่ มทีจ่ ะแปรผันตาม ไปด้วยเช่นเดียวกัน ส�าหรับผู้ประกอบการนั้น นอกจากจะส่งเสริมให้พนักงานของตนได้รับการฝึกอบรมอยู่เป็นประจ�า แล้ว ก็ควรที่จะต้องเตรียมการหาแหล่งข้อมูลความรู้ไว้ให้ผู้ปฏิบัติงานได้เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองได้ทุกที่ทุกเวลา แน่นอนว่าเราก�าลังกล่าวถึงศูนย์ข้อมูลความรู้หรือคลังความรู้ออนไลน์ส�าหรับองค์กรนั่นเอง ในการเลือกระบบศูนย์ข้อมูลความรู้ออนไลน์เพื่อน�า มาใช้กับองค์กรนั้นไม่จ�าเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูงเสมอ ไป บางระบบก็เป็นของฟรี (Open Source) ที่สามารถ น�ามาติดตั้งได้โดยที่ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ใดๆ เพียงแต่มี ค่าใช้จา่ ยส�าหรับจัดเตรียมพืน้ ทีเ่ พือ่ ท�าเว็บไซต์ (Hosting) และค่าใช้จ่ายส�าหรับชื่อเว็บไซต์ (Domain) ซึ่งเป็นค่า ใช้จ่ายรายปีที่มีราคาไม่ แพงมากนั กหากเที ยบกั บ ผล ตอบแทนทีจ่ ะตามมาในอนาคต ส�าหรับผูป้ ระกอบการทีม่ ี เว็บไซต์ขององค์กรอยูแ่ ล้ว หากมีพนื้ ทีโ่ ฮสติง้ ว่างเพียงพอ ก็สามารถน�าพื้นที่ดังกล่าวมาใช้งานได้และอาจไม่ต้องมี ค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่ม อย่างไรก็ตาม ในการเลือกสรรซอฟต์แวร์ส� าหรับ ระบบศูนย์ขอ้ มูลความรูอ้ อนไลน์นนั้ ผูป้ ระกอบการจะต้อง พิถีพิถันในการศึกษาข้อมูลก่อนที่จะเลือกระบบดังกล่าว มาใช้ และควรมอบมายให้ผู้รับผิดชอบ เช่น ฝ่ายไอที ไป ด�าเนินการหรือหากไม่มั่นใจก็อาจขอค�าปรึกษาจากผู้ ช�านาญการทางด้านนี้ซึ่งก็หาได้ไม่ยากนักในยุคที่การ สืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตเป็นเรื่องที่เข้าใจง่าย
แท้ทจี่ ริงแล้ว MediaWiki คือซอฟต์แวร์ทถี่ กู พัฒนา โดยทีมงานเดียวกันกับ Wikipedia.org ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ ให้บริการศูนย์รวมองค์ความรู้หรือสารานุกรมออนไลน์ที่ ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งนอกจากจะเต็มเปี่ยมไปด้วยศาสตร์ ความรู้มากมายหลายแขนงแล้วยังสนับสนุนข้อมูลรูป แบบภาษาต่างๆ กว่า 286 ภาษาอีกด้วย ข่าวดีก็คือเรา สามารถที่จะมีระบบจัดการคลังข้อมูลความรู้ออนไลน์ แบบเดียวกับเว็บไซต์ Wikipedia.org ใช้งานในองค์กร ของเราได้โดยน�าซอฟต์แวร์ MediaWiki มาติดตัง้ นัน่ เอง
ข้อควรพิจารณาเตรียมการก่อนมี MediaWiki ไว้ใช้ในองค์กร
จุดเด่นของ MediaWiki
•
•
•
MediaWiki พัฒนาโดยทีมงานเดียวกับ Wikipedia.org
•
แน่นอนว่าระบบศูนย์ข้อมูลความรู้หรือคลังความรู้ ออนไลน์ส�าหรับองค์กรนั้นต้องใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อ กลางในการท�างานเพราะสะดวกสบายและมีค่าใช้จ่าย โดยรวมที่ไม่แพงจนเกินไปนัก อีกทั้งบุคลากรยังสามารถ ที่จะเข้าถึงข้อมูลในศูนย์ข้อมูลได้จากทุกสถานที่และทุก เวลา เพียงแค่เชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตจากคอมพิวเตอร์หรือ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารแบบพกพา ทั้ ง โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และ แท็บเล็ต เพียงแค่เปิดก็สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ได้ ทันที หรือหากผู้ประกอบการเห็นว่าข้อมูลในศูนย์ความรู้ เป็นความลับขององค์กรก็สามารถทีจ่ ะท�าการตัง้ รหัสผ่าน ป้องกันได้เช่นเดียวกัน ส�าหรับซอฟต์แวร์ระบบศูนย์ขอ้ มูล ความรู้ออนไลน์แบบฟรีหรือ Open source นั้น ปัจจุบัน ก็มใี ห้เลือกใช้งานอยูห่ ลายตัวไม่วา่ จะเป็น BrainKeeper, DokuWiki, eXo Platform, Foswiki, MindTouch และ SharePoint รวมทัง้ ทีก่ า� ลังจะกล่าวถึงก็คอื MediaWiki
88 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
•
• •
เป็น Open source ที่สามารถน�ามาติดตั้งใช้งาน ได้ โ ดยที่ ไ ม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยเรื่ อ งลิ ข สิ ท ธิ์ ส� า หรั บ ผู ้ ประกอบการที่มีเว็บไซต์ของตนเองเองอยู่แล้วก็ อาจติดตั้งไว้บนพื้นที่ (Hosting) เดียวกันได้เลย ส�าหรับผู้ประกอบการที่ไม่สะดวกใจจะน�าข้อมูล ความรู้ขององค์กรไปเก็บไว้บนอินเทอร์เน็ต ก็ สามารถที่จะติดตั้งไว้ในเครือข่ายภายในองค์กร หรือที่เรียกว่าอินทราเน็ต (Intranet) ได้ MediaWiki มีรูปแบบการใช้งานและฟีเจอร์แบบ เดียวกันกับ Wikipedia.org ที่สามารถใช้งานได้ ง่ายโดยที่ไม่ต้องเรียนรู้มากนัก อย่างไรก็ตาม ส�าหรับผู้ที่ได้รับมอบหมายในการติดตั้งระบบนั้น ควรมีความรูค้ วามช�านาญในเรือ่ งของระบบปฏิบตั ิ การ Linux และระบบฐานข้อมูล MySQL อยู่บ้าง มีระบบสมาชิกทีท่ า� ให้ทราบถึงอัตราการเข้าใช้งาน MediaWiki ของพนักงานในองค์กรได้ จุดเด่นของ MediaWiki ที่ส�าคัญก็คือ เน้นการ ท�างานร่วมกัน หากพิจารณาฟีเจอร์นใี้ ห้ถอ่ งแท้แล้ว ค่อนข้างมีประโยชน์ตอ่ การพัฒนาองค์ความรูอ้ ย่าง มาก เนื่องจากข้อมูลความรู้บางอย่างอาจมีการ ปรับเปลี่ยนให้ทันสมัยขึ้น ระบบของ MediaWiki นัน้ เอือ้ ให้สมาชิกหรือบุคลากรได้ทว้ งติงและสามารถ แก้ไขให้ถูกต้องที่สุดได้ ทั้งยังสามารถที่จะตรวจ สอบและอนุมตั กิ ารแก้ไขปรับเปลีย่ นข้อมูลดังกล่าว จากผู้ที่ได้รับมอบหมายได้อีกด้วย
• •
ควรมีการวางแผนและก�าหนดนโยบายให้ชดั เจนถึง การใช้งานคลังข้อมูลออนไลน์ขององค์กรก่อนที่จะ น�ามาประกาศใช้ ควรมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิคหรือฝ่ายไอทีดูแลความ เรียบร้อยของระบบคลังข้อมูล ทัง้ ในเรือ่ งของความ เสถียรของระบบและการใช้งานได้อย่างต่อเนือ่ งไม่ ติดขัด รวมไปถึงการท�าส�ารองข้อมูล (Backup data) ไว้ในกรณีฉุกเฉินอีกด้วย กฎ กติกา มารยาทของผู้ใช้งานระบบคลังข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ได้สิทธิ์ให้สามารถแก้ไขหรือ ปรับปรุงข้อมูลได้ ควรมีใจเป็นกลาง ยอมรับการ แก้ไขปรับปรุงข้อมูลจากคนอื่น ๆ ได้หากข้อมูลนั้น มีความถูกต้องและทันสมัยกว่า เจ้าหน้าที่ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้สามารถอนุมัติ การน�าเสนอข้อมูลใด ๆ บนคลังความรูน้ นั้ ควรเป็น ผู้ที่ได้รับการยอมรับนับถือจากบุคลากรส่วนใหญ่ ในองค์กรหรือจะเป็นผู้ช�านาญการทางสายงานก็ ได้เช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม แม้ MediaWiki จะสามารถตอบ โจทย์ในเรื่องของการบริการความรู้ได้ในระดับหนึ่ง แต่ก็ ยังมีสิ่งส�าคัญอีกประการที่ผู้ประกอบการควรค�านึงถึง และเป็นสิ่งที่จะมองข้ามไปไม่ได้ก็คือ การวัดผลความรู้ ซึง่ เป็นสิง่ ทีต่ อ้ งก�าหนดไว้ในนโยบายให้ชดั เจน ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ จะได้มีหลักเกณฑ์ในการน� าความรู้ไปใช้ได้จริงในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ผลตามที่ผู้ประกอบการคาดหวังไว้ นั่นเอง To increase potential to personnel is deemed as another significant strategy to push organization to have ability to equally compete with rivals because with efficient personnel, effectiveness will varies accordingly. For entrepreneurs, besides encouraging personnel to be regularly trained,
• •
source of knowledge should be prepared for personnel to study by themselves everywhere and all the time. Of course, we are mentioning to data center or online knowledge base for organization. Choosing data center/online knowledge base system to apply with organization needs not to always be costly. Some system is open source that can be installed without paying for any copyright, only some expenses for preparing space to put up website (hosting) and for website name (domain) with yearly expense that is not so expensive comparing with the return in the future. For entrepreneurs having already had their organization’s own website, if they have enough hosting space they can bring such space to use in work and might not have to pay any additional expenses. However, to choose software for data center/ online knowledge base system, entrepreneurs have to carefully study the data before choosing such system and should assign someone to be responsible for operation such as IT Department. If entrepreneurs are not sure they may ask for advice from the expert whom is not so difficult to find in the era that data search on internet is an easy subject to understand.
MediaWiki Is Developed by the Same Working Team of Wikipedia.org
Certainly, data center or online knowledge base system for organization has to employ internet as a medium in operation because it is convenient and not so expensive. Moreover, personnel can access to data in the data center everywhere and all the time by only linking internet from a computer or portable communicative instruments, both mobile phone and tablet, and
turning it on. If entrepreneurs consider that the data existed in the data center is the secret of organization, they can set password to protect them. For the open source data center/online knowledge base system software, there are, nowadays, many for choice, i.e. BrainKeeper, DokuWiki, eXo Platform, Foswiki, MindTouch and Share Point including what is going to be mentioned to, that is, MediaWiki. As a matter of fact, MediaWiki is the software that is developed by the same working team of Wikipedia.org which is the world’s largest website providing knowledge or online encyclopedia of which consists not only numerous multi disciplinary sciences but it also supports information in more than 286 languages. Good news is that we can have the similar online knowledge base management system as website Wikipidia.org for use in our organization by installing MediaWiki software.
have some knowledge and skill on Linux operational system and MySQL data base. There must be a membership system in order to be aware of the useable rate of MediaWiki of personnel in organization. The crucial prominent point of MediaWiki is that it focuses on collaboration. If we deliberately consider this feature, we will find that it is quite useful to knowledge development because some data may be updated while the system of MediaWiki supports the members or personnel to object and then it can eventually be corrected. Besides, such data can also be examined and approved to modification by the delegates.
Matters for Consideration before Having • • •
•
MediaWiki for Use in Organization There should be a clear planning and policy making about the use of online database of organization before promulgation. There should be an officer from Technical or IT Department to oversee the readiness of database system both on the system stability and continual use without being obstructed including backup data preparation in case of emergency as well. The rules and regulations of database users, especially the ones who are granted the right to correct or modify data are that they should be unbiased and accept the modified data by others if such data are correct and more updated. The officer who is authorized to approve any data presentation on the knowledge base should be the one who is acceptable by most of personnel in organization or is an expert in that field.
Prominent Point of MediaWiki
•
•
However, although MediaWiki can answer the questions on knowledge service provision to some extent but there still is another significant thing that entrepreneurs should take it into account as it cannot be overlooked, that is, knowledge measurement which is to be clearly defined in the policy in order that there will be a criterion on taking the knowledge for actual work to meet the achievement as expected by entrepreneurs.
•
•
It is the open source that can be installed without expense on copyright. For those entrepreneurs whose organization has already had its own website, it may be installed on the same hosting space. For entrepreneurs who are not willing to post the data/knowledge of their organization on internet, they can install it within the internal network of their organization as called “Intranet.” MediaWiki has the same application and feature as Wikipedia.org that can conveniently be applied and personnel do not have to learn too much. Nevertheless, for the ones in charge of system installation they should
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
89
FACTORY 3.0
ฉันทมน โพธิพิทักษ์ / CHANTAMON POTIPITUK (tickchan@hotmail.com) อาจารย์ประจ�าสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ในงานวิเคราะห์สถาปัตยกรรม / การศึกษา : Ph.D.candidate (Urban Environmental Management)
Asian Institute of Technology, Thailand
ความเข้าใจของผู้บริโภค ของผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ส�าหรับคนกรุงเทพ
Consumer Perceptions of
Organic Foods in Bangkok
ความสนใจในอาหารทีผ่ ลิตเชิงอินทรียม์ เี พิม่ ขึน้ ตลอดทัว่ ทุกมุมโลก เพือ่ จะ สนองต่อการเกษตรทีใ่ ส่ใจและตระหนักต่อผูบ้ ริโภค ไปจนถึงต่อสิง่ แวดล้อม ส�าหรับประเทศไทยเช่นเดียวกับหลายๆประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ทีม่ กี ารเจริญ เติบโตและการพัฒนาทางด้าน เศรษฐกิจ-สังคม ซึง่ เกิดขึน้ ในยุคสมัยปัจจุบนั ที่เป็นยุคโมเดิร์นและอุตสาหกรรม โดยเฉพาะทางด้านการผลิตอาหาร เกษตรกรรมในเชิงอุตสาหกรรม รัฐบาลไทยได้โปรโมท กลุม่ อุตสาหกรรม การเกษตร เพื่อส่งออก ซึ่งเป็นการแสดงภาพลักษณ์ว่า ประเทศไทย ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยในคุณภาพของการผลิต เพือ่ สร้างความเชื่อมั่นในขบวนการการผลิต เพื่อป้องกันพืช ผลทางการเกษตรจากศัตรูพืช วัชพืช และโรคของพืช รวมไปถึงหนทางน�าไปสูก่ ารพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร เหล่านี้ อย่างไรก็ตาม การพัฒนา อบรม ฝึกฝนของ เกษตรกรหรือชาวนาทีไ่ ม่เพียงพอ น�าไปสูก่ ารน�าไปใช้สาร เคมีแบบไม่มปี ระสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น เมือ่ มีการแนะน�า การใช้สารเคมี การน� าสารเคมีไปใช้และความถี่ของ การน�าไปใช้ ไม่ได้มกี ารปฏิบตั ติ าม ตามค�าแนะน�าของเจ้า หน้าที่รฐั อย่างเคร่งครัด รวมถึงเกษตรกรหรือชาวนา อีก ทัง้ เกษตรกรหรือชาวนาไทยใช้สารเคมีอนั ตราย ประเภท 1 ซึ่งมีความรุนแรงและถูกห้ามใช้ในประเทศไทยแล้ว ก็ตาม
จุดเริ่มต้น โครงการที่ใส่ใจกับผู้บริโภค
เพือ่ ลดสารเคมี ยาฆ่าแมลงในวัตถุดบิ ของอาหาร จึง ได้มีโครงการ อาหารปลอดภัยเกิดขึ้น ภายใต้โครงการ หลวง หรือ กรมวิชาการเกษตร ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ โดยผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายใต้โครงการจะมีฉลาก ติดและการันตีได้ว่า สารตกค้างจะน้อยกว่าเกณฑ์ที่ มาตรฐานก�าหนดไว้ (ตารางที่ 1) อย่างไรก็ตาม แม้จะมี การควบคุมเพิ่มมากขึ้นแล้ว การตรวจสอบโดยกรม วิชาการเกษตรและ กระทรวงสาธารณสุข ก็ยังปรากฏ ว่าผลผลิตทางการเกษตรยังมีค่าของสารพิษ สารตก ค้างสูงกว่าที่มาตรฐานก�าหนด ผูบ้ ริโภคทราบถึง ความเสีย่ งจากสารพิษ สารตกค้าง และยาฆ่าแมลงในผัก ผลไม้ ได้จากสือ่ ประชาสัมพันธ์ รวม ถึงการอภิปรายในวงเสวนาสาธารณะ ซึง่ จัดโดยกระทรวง สาธารณสุข รวมถึงความเสี่ยงของสารเคมีปนเปื้อนใน
90 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อาหาร ได้สร้างเหตุการณ์วกิ ฤติทางอาหาร มาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคไข้หวัดนก สารกลุ ่ ม ไนโตรฟู ร านซึ่ ง เป็ น ยาปฏิ ชี ว นะที่ สังเคราะห์ขึ้นหรือการใช้ยาปฏิชีวนะต้องห้าม ใน กุ้ง สัตว์ปีก จ�าพวกเป็ด ไก่ (Foodmarket, 2003) ซึ่งท�าให้ผู้บริโภค ไม่มั่นใจในคุณภาพการผลิตในโรงงาน อาหารและภาครัฐที่เป็นตัวแทนควบคุมคุณภาพอาหาร ผลผลิตทางการเกษตรต่างๆ (Delforge, 2004) ภายใต้สิ่งแวดล้อมของสังคมเมือง ความต้องการ อาหารปลอดภัยดูเหมือนน่าจะเพิ่มขึ้น แต่ความจริงแล้ว ผูบ้ ริโภคจะตระหนักถึง อาหารปลอดภัยเป็นล�าดับหลังสุด ในพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหาร (Buzby, 2001) เพราะ อาหารทีป่ ลอดภัย บางครัง้ รูปลักษณ์อาจไม่สวยงาม เช่น ผักที่มีแมลงเจาะ ย่อมมีรูปลักษณ์ภายนอก ไม่สวยงาม หากเปรียบเทียบกับผักที่ไม่มีหนอนเจาะ เป็นต้น ซึ่งใน อเมริกาและยุโรป แนวโน้ม เทรนด์ของอาหาร ผลิตภัณฑ์ อินทรีย์ มีแนวโน้มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น เพราะมี สารพิษหรือสารปนเปือ้ นน้อยกว่า (Magkos et. al., 2006)
กลุ่มลูกค้าผักอินทรีย์ของสังคมเมืองกรุงเทพ
ลูกค้ากลุ่มผักอินทรีย์ในกรุงเทพและปริมณฑล เป็น ผูใ้ หญ่ มีการศึกษาและมีรายได้สงู เช่นเดียวกับการศึกษา วิจัยในชาติตะวันตก (Padel and Foster, 2005) การ ศึกษาเรือ่ งทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกันนีใ้ นภาคเหนือของประเทศไทย จะเห็นได้วา่ เต็มใจทีจ่ ะจ่ายเพือ่ เลือกซือ้ สินค้าอินทรีย์ จะ เป็นไปตามอายุและรายได้ (Posri et al., 2007) แต่ปจั จัย ด้านเพศจากการส�ารวจในกรุงเทพและปริมณฑล จะตรง ข้ามกับการศึกษาที่ผ่านมาระบุว่า หญิงจะใส่ใจต่อการ เลือกซื้อสินค้าอินทรีย์มากกว่าชาย แต่ในกทม.และ ปริ ม ณฑล ชายไทยจะเต็ ม ใจเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า อิ น ทรี ย ์ มากกว่าผูห้ ญิง นัน่ เป็นเพราะปัจจัยของการศึกษา เพราะ
จากการศึกษาของ Roitner-Schobesberger et. al, 2008 ระบุวา่ ชายไทยจากกลุม่ ทีส่ า� รวจ มีการศึกษาที่สูงกว่า และตระหนักถึงข้อดีของการซื้อ สินค้าอินทรีย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสุขภาพ
3 สาเหตุหลักที่ผู้บริโภคเลือกผลิตภัณฑ์ออแกนิก
สาเหตุที่ผู้บริโภคเลือกผลิตภัณฑ์ออแกนิกหรือผลิต ภัณฑ์อนิ ทรียใ์ นกทม.และปริมณฑล คือ 3 สาเหตุหลัก ได้แก่ ประโยชน์ที่จะเกิดกับสุขภาพ ความดึงดูดใจในผลิตภัณฑ์ เทรนด์ใหม่และน�าสมัย และรสชาติถูกปาก โดยตระหนัก ถึงสุขภาพที่จะได้ในอนาคต เป็นสิ่งแรกของการเลือก บริโภคผลิตภัณฑ์ออแกนิก ในประเทศไทย และการศึกษา ของ Roitner-Schobesberger et. al, 2008 ก็สนับสนุนว่า สุขภาพของผูบ้ ริโภคจะขึน้ อยูก่ บั การใช้สารเคมี ผลิตภัณฑ์ ออแกนิก หรือผลิตภัณฑ์อนิ ทรียจ์ ะมีการปนเปือ้ นหรือสาร เคมีน้อย
ความหมายของผลิตภัณฑ์ออแกนิก สร้างความ สับสนแก่ผู้บริโภค
อุปสรรคของการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ออแกนิกคือ ขาด ความรู้ ความเข้าใจในค�าว่าออแกนิก หรือ อินทรีย์ เพราะ เข้าใจว่าอาหารปลอดภัยจะเหมือนกันกับอาหารหรือ
ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ การใช้ฉลากก็มีเกิดขึ้นมากมายทั้ง ฉลากอาหารอนามัย อาหารปลอดภัย อาหารเพือ่ สุขภาพ อาหารปราศจากสารเคมี อาหารปราศจากยาฆ่าแมลง หรือ อาหารแบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ซึ่งผู้บริโภคส่วน ใหญ่กพ็ ดู เป็นเสียงเดียวกันว่า เกิดความสับสนเพราะการ บอกฉลากมีความคล้ายคลึงกัน เหมือนกับ ผลิตภัณฑ์ออ แกนิกหรือผลิตภัณฑ์อนิ ทรีย์ ซึง่ ผูต้ อบแบบสอบถาม 43% ให้ความเห็นว่า รูส้ กึ ไม่มคี วามแตกต่างระหว่างผลิตภัณฑ์ อินทรีย์ กับ ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพอนามัย ปัจจัยล�าดับต่อมาทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อ สินค้าผลิตภัณฑ์ อินทรีย์ คือ ตลาดที่จะขายสินค้าผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีข้อ จ�ากัดที่ ราคา เพราะสินค้าผลิตภัณฑ์อินทรีย์ จะมีราคา สูงกว่าผลิตภัณฑ์ทั่วไปอยู่มาก ซึ่งสูงมากกว่า 50 % ของ สินค้าปลอดภัย ซึ่งเป็นผลต่อราคาสินค้าที่มีราคาสูงขึ้น ใน สินค้ากลุ่มผลิตภัณฑ์อินทรีย์
แล้ว อินทรีย์ คืออะไร….
การลดปริมาณฉลากทีแ่ สดงถึง อาหารปลอดภัย ควร จะระบุความหมายของผลิตภัณฑ์อนิ ทรีย์ ให้มคี วามหมาย ที่ชัดเจน อาจจะระบุว่า “อินทรีย์” หมายถึง ขบวนการ หรือการผลิต เพาะปลูกทีม่ สี ารตกค้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่า มาตรฐานสู ง สุ ด ที่ ท างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยอมรับให้มีได้ รวมถึงเกิดคุณประโยชน์ต่อสภาพแวด ล้อมเพราะใช้ขบวนการหรือการผลิต เพาะปลูกที่พึง พิงธรรมชาติ ในด้านตลาดการบริโภคของประเทศไทย ฉลากผลิตภัณฑ์อินทรีย์ จะเกี่ยวข้องกับเกณฑ์มาตรฐาน ของสองหน่วยงานทีม่ แี นวทางแตกต่างกัน นัน่ ก็คอื เกณฑ์ ตามมาตรฐานของกรมวิชาการเกษตรและส�านักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเกณฑ์ของทั้งสองหน่วยงาน ค่อนข้างมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ หากพิจารณาตาม มาตรฐานของกรมวิชาการเกษตรจะใช้มาตรฐานหรือ เกณฑ์ของสหรัฐอเมริกา ส่วนเกณฑ์ตามมาตรฐานของ ของส�านักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จะใช้เกณฑ์ในกลุม่ ประเทศยุโรป ท�าให้เกิดความแตกต่างกัน ทั้ง 2 หลัก เกณฑ์นี้มีข้อดีแตกต่างกันไป แต่ส�าหรับประเทศไทยก็ ไม่มีฉลากเพียงอันเดียวที่เปรียบเสมือนใช้รับรองกับ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ทั้งหมดได้ ดังนั้นหากมีฉลากที่ระบุ จ�าเพาะส�าหรับ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ได้ทั้งหมดเพียงฉลาก เดียวก็สามารถท�าให้ผบู้ ริโภคเข้าใจและไม่เกิดความสับสน ในการเลือก ‘ผลิตภัณฑ์อินทรีย’
กลยุทธ์การเพิ่มตลาดผลิตภัณฑ์อินทรีย์
สองแนวทางทีส่ ามารถช่วยนักลงทุน ผูป้ ระกอบการ ในการเพิ่มตลาดผลิตภัณฑ์อินทรีย์ คือ ท�าอย่างไรให้เพิ่ม ความถีใ่ นการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์และหาหนทางให้ผบู้ ริโภค ที่เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ทั่วไปมาเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อินทรีย์ แรงจูงใจที่ได้ผลคือ เหตุผลที่เลือกเพราะ สุขภาพของตัว คุณและสิ่งแวดล้อม ความสด สะอาดของสินค้าสามารถ ดึ ง มาเป็ น จุ ด ขายให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิ น ทรี ย ์ ยิ่ ง หากผู ้ ประกอบการแสดงให้เห็นว่า มีสารเคมี สารตกค้างน้อย มากๆ ด้วยแล้ว สุขภาพจะยืนยาวเพราะอาหารออแกนิก จะเป็นค�าตอบทีส่ อื่ ถึงผูบ้ ริโภคอย่างชัดเจน เพราะไม่มคี น ใดที่จะน�าพาสารพิษ สิ่งอันตรายเข้าสู่ร่างกาย เมื่อ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ มีความชัดเจน ประชาชน ผู้บริโภค เข้าใจชัดเจน จะสามารถลดความสับสนระหว่างผลิต ภัณฑ์อินทรีย์กับผลิตภัณฑ์ปลอดภัย และผลิตภัณฑ์ถูก สุขลักษณะ อนามัย ได้อย่างแน่นอน
ดังนัน้ การให้ผบู้ ริโภคตระหนักถึง การเพาะปลูกแบบ ออแกนิก เพื่อสร้างความเข้าใจและความเชื่อมั่นใน ผลิตภัณฑ์ เช่นเดียวกับ การพัฒนาผลผลิตให้สด สะอาด รูปลักษณ์สวยงาม จะเพิ่มตลาดผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และที่ ส�าคัญทั้งผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ร้านผลิตภัณฑ์อินทรีย์ สามารถเข้าใจ อธิบายถึงผลดี และความหมายของ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์แก่ผู้บริโภครุ่นใหม่ได้ ถึงแม้จะมีความ แตกต่างกันกับ อาหารปลอดภัย แต่ท้ายที่สุด ผลิตภัณฑ์ อินทรีย์ก็ดีต่อสุขภาพของผู้บริโภคและส่งผลต่อการ รบกวนกับสิง่ แวดล้อมน้อยมากๆ ตอบทัง้ ส่วนตน ยังตอบ สนองต่อส่วนรวมด้วยค่ะ Interest in organically produced food is increasing throughout the world in response to concerns about intensive agricultural practices and their potential effect on human health as well as on the environment. In Thailand, as in many Asian countries, the rapid socio-economic development was accompanied by a modernization and industrialization of the agri-food production. The Thai government has promoted an industrial, export-oriented agriculture, characterized by a heavy reliance on synthetic chemicals to protect crops against weeds, pests and diseases and thus leading to improved productivity. However, insufficient farmer training has lead to the inadequate use of pesticides, i.e. the recommended application levels and application frequency are not always followed (Chunyanuwat, 2005). Also, farmers use synthetic chemicals that are classified as ‘extremely hazardous’1 and even pesticides that are banned in Thailand.
Beginning Point of Safe Food for Customer
To reduce the pesticide use various on-farm ‘safe food’ projects have been initiated, e.g. by Royal Projects or by the Department of Agriculture. Products originating from these projects carry labels indicating that residues are below the maximum allowable level (Table 1). However, despite increased controls, tests carried out by the Department of Agriculture as well as by the Ministry of Public Health showed that maximum allowable residue levels were still exceeded. The resulting risk from pesticide residues in vegetables is well known to consumers through recurring coverage in mass-media and through discussions in public forums organized by the Ministry of Public Health. The uncertainty over the magnitude of the risks associated with the contamination of food was exacerbated by other food crises, especially avian flu and residues of nitrofuran, a banned antibiotic, in shrimp and poultry (Foodmarket, 2003). These food scares have unsettled consumer confidence in Thailand’s food industry and in the government’s food regulatory agencies (Delforge, 2004).
Within this social and political environment, the demand for (really) safe foods is likely to increase. Indeed, highly publicized food safety incidents can lead to lasting changes in food purchasing behavior (Buzby, 2001). Since organic products are produced without the use of synthetic pesticides, they are well placed to answer the consumers’ food safety concerns. Indeed, analyses of pesticide residues in produce in the US and Europe have shown that organic products tend to have significantly lower residues than conventional products (Magkos et. al., 2006).
The Characteristic of Organic Vegetable Consumers in Bangkok
The consumers of organic vegetables in Bangkok tend to be older, hold an academic degree and have a higher income than those not purchasing organic products. This profile is similar to results from studies in Western countries (Padel and Foster, 2005). A study in Northern Thailand also found that willingness to pay for ‘safe’ vegetables increases with age and income (Posri et. al., 2007). Contrary to reports in the literature, men in Bangkok seem to be more likely to purchase organic foods than women. This might be due to men being willing to pay a higher price premium for organic products than women. Also, the effect of gender is likely to be interlinked with education level, since the men included in the survey were more likely to hold an academic degree.
3 Main Reasons… Why Consumers Choose Organic Products
There are three main motives to purchase organic food in Bangkok: the expected health benefits, the attraction of new and fashionable products and the search for tastier products. In Thailand, as this study confirms, the health aspect is closely associated with the residues from synthetic chemicals used in agriculture. Indeed, organic products generally have a lower level of pesticide residues.
The Definition of Organic Products Makes Consumers to Confuse…
The main barrier to purchase organic products is the lack of information consumers have on organic farming methods. Indeed, the survey shows that the main reason for not buying organic products was that they ‘do not know what organic means’. Two factors might help explain this lack of knowledge: the lack of information on agricultural production methods and the claims by competing ‘‘safe food” labels that seem to promise the same health benefits expected from
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
91
organic labels. The terms used on these labels include ‘‘hygienic food”, ‘‘safety food”, ‘‘quality food”, ‘‘nontoxic food”, ‘‘health food”, ‘‘chemicalfree”, ‘‘pesticide-free” and ‘‘hydroponic” (see Kramol et al., 2006; Posri et al., 2007). For consumers the claims made by these labels are very similar to the health benefits they expect from organic products. It is thus not clear what additional benefits organic products have, leading 43% of respondents to state that there is ‘no difference between organic and hygienic produce’. Another factor often mentioned as limiting the market share of organic products is price, especially the price difference between organic and conventional products. The current premium for organic products in Thailand is approximately 50% above the price of foods with a ‘‘safe” label. This is higher than the premium of 10–20% over conventional products reported as acceptable by studies on the willingness-to-pay for organic products. However, in Thailand as elsewhere, it is unclear to what extent price is really a key factor in the choice between organic and conventional products.
What is the meaning of “organic”?
Reducing the number of ‘safe food’ labels would also allow organic labels to be clearly positioned as indicating more restrictive standards. Organic could then be communicated as indicating that due to the production methods the residues are much lower than the maximum allowable residue limits, and as offering additional benefits, particularly regarding the environmental impact. On the domestic market in Thailand there are currently two major organic labels which are related to two different standards and two certifiers (the Department of Agriculture and Organic Certification Thailand (ACT)). It is debatable whether the way forward lies in only one national organic label (as is implemented in the US) or in a coexistence of a national organic label and private labels (as is the case in most of Europe). Both approaches have specific opportunities and risks. However, in Thailand there is no national label being used on every organic product, with an optional private label. Rather there are two separate labels, adding to the confusion caused by the plethora of labeled food. Thus, establishing a national label could help establish a profile for organic products and communicate a clear message to consumers.
Strategies to Increase the Market Share of Organic Products Two approaches could help the private sector to increase the market share of organic products: increasing the purchasing frequency of the ‘‘or-
92 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ganic buyers” and encouraging the ‘‘organic nonbuyers” to try organic products. Increasing the purchasing frequency of those who are aware of organic products and who purchase them for health and environmental reasons could be achieved by improving availability, offering a wider range of organic vegetables and ensuring that they are always very fresh. Freshness may be a reason for those who purchase organic products for hedonic reasons to become regular buyers. By emphasizing that organic products are produced entirely without synthetic pesticides and are thus least likely to have residues, producers and retailers would address the health aspect, which is the most important issue to consumers. If this message can be conveyed to consumers, it would give organic products a unique and distinctive position on the market and overcome the current lack of distinction between organic, ‘‘safe” and ‘‘hygienic” products. Increasing consumers’ awareness of organic farming, their trust in the rigorous inspections and the organic certification system as well as increasing the availability and range of fresh organic vegetables, may be the most effective way of increasing their market share. Overall, organic foods producers and retailers are well placed to answer the Thai consumers’ health concerns, if they can convey their organic claims with conviction and thus distinguish themselves from other ‘safe food’ labels.
ฉลาก Label
ชื่อของฉลาก (Title of the label)
ที่มา Sources; 1. Buzby, J., 2001. Effects of food-safety perceptions on food demand and global trade. In: Regmi, A. (Ed.), Changing Structure of Global Food Consumption and Trade. Agriculture and Trade Report WRS-01-1. Economic Research Service, US Dept. of Agriculture, Washington, pp. 55–66. 2. Chunyanuwat, P., 2005. Country report Thailand. In: Proceedings of the Asia Regional Workshop: Implementation, Monitoring and Observance International Code of Conduct on the Distribution and Use of Pesticides. RAP Publication 2005/29. FAO Regional Office for Asia and the Pacific, Bangkok. 3. Delforge, I., 2004. Thailand: The World’s Kitchen. Le Monde Diplomatique, July 2004. 4. Foodmarket, 2003. Shrimp: A Review of the News in 2002. (http://www.foodmarket exchange.com/datacenter/ industry/article/idf_shrimp_review2002.php) 5. Kramol, P., Thong-ngam, K., Gypmantasiri, P., Davies, W., 2006. Challenges in developing pesticide-free and organic vegetable markets and farming systems for smallholder farmers in North Thailand. Acta Horticulturae 699, 243–251. 6. Magkos, F., Arvaniti, F., Zampelas, A., 2006. Organic food: buying more safety or just peace of mind? A critical review of the literature. Critical Reviews in Food Science and Nutrition 46, 23–56. 7. Padel, S., Foster, C., 2005. Exploring the gap between attitudes and behaviour. Understanding why consumers buy or do not buy organic food. British Food Journal 107, 606–625. 8. Posri, W., Shankar, B., Chadbunchachai, S., 2007. Consumer attitudes towards and willingness to pay for pesticide residue limit compliant ‘‘safe” vegetables in Northeast Thailand. Journal of International Food and Agribusiness Marketing 19, 81–101. 9. Roitner-Schobesberger,B., Darnhofer , I, Somsook, S., Vogl, C.R. 2008. Consumer perceptions of organic foods in Bangkok, Thailand. Food Policy, 33 , 112–121. รายละเอียดของฉลาก (Origin and description)
อาหารอนามัย โครงการน�าร่องส�าหรับผักและผลไม้สด สะอาด โดยกรมวิชาการเกษตร Hygienic food Pilot project for hygienic fresh vegetables and fruits – Hygienic fresh vegetables and fruits – Department of Agriculture
เริ่มต้นฉลากในปี ค.ศ. 1991 โดยกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์และสหกรณ์ฯ ซึ่งจะควบคุมสารเคมีในผักและผลไม้ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนเป็น โครงการ อาหารปลอดภัย (ตามฉลากด้านล่าง) The label was originally used on produce originating from the ‘‘Hygienic fresh fruit and vegetable production pilot project” that was initiated in 1991 by the Dept. of Agriculture (Ministry of Agriculture and Cooperatives). In the project, the use of synthetic chemicals is regulated and controlled. The label is meant to be replaced by the new ‘Food quality and safety’ label (below)
อาคารปลอดภัย ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Food quality and safety Ministry of Agriculture and Cooperatives – ‘‘Safe Food ”
เป็นฉลากที่ให้กับสินค้าทางการเกษตรและอาหารที่อยู่ในมาตรฐาน ของส�านักงาน มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ This quality and safety certification label is given to agricultural commodities and food products that conform to the standards established by the National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (Ministry of Agriculture and Cooperatives)
ผัก ปลอดภัยจากยาฆ่าแมลง เป็นการรับรองคุณภาพระบบตรวจสอบสารพิษ โดยกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Pesticide-safe vegetables Quality certification for toxic substances control – Department of Medical Science –Ministry of Public Health
กระทรวงสาธารณสุขจัดท�าฉลากขึ้นเพื่อผู้ประกอบการ ร้านค้าที่น�าผักหรือสินค้า ไปตรวจสอบสารพิษในผักหรือสินค้าก่อนที่จะขายสู่ผู้บริโภค ซึ่งผู้บริโภคจะได้ทั้ง ความสด รวมถึงปลอดภัยจากสารพิษ สารตกค้างในผัก ผลไม้ The Ministry of Public Health assigns the label to retailers who conduct tests for toxic substances before selling the products. The label is used on fresh food products that meet the safety requirements of the Ministry of Public Health
ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ Organic Thailand Organic Products
เป็นฉลากแสดงถึงสินค้าหรือผลิตภัณฑ์อินทรีย์อย่างเป็นทางการของกรมวิชาการ เกษตร ซึ่งผลิตและปลูกภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์โดยกรมวิชาการเกษตร The official organic label by the Department of Agriculture. It indicates that the product has been produced according to the organic farming standards set by the Department of Agriculture
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ Organic Agriculture Certification Thailand (ACT)
เป็นการรับรองของไทยโดยใช้มาตรฐานของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ ตั้งแต่ปี 2001 These products are certified organic by Organic Agriculture Certification Thailand (ACT), a private certification body accredited with IFOAM since 2001
IFOAM
ฉลากของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ Label of the International Federation of Organic Agriculture Movements (IFOAM)
OCTOBER 2014
9 – 31 ตุลาคม 2557 การอบรมหลักสูตร Toyota Production System รุ่นที่ 12
INDUSTRIAL AGENDA OCTOBER 2014
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น เปิด การฝึกอบรมในหลักสูตร Toyota Production System รุ่นที่ 12 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรในภาค อุ ต สาหกรรม ให้ มี ค วามสามารถในการ จั ด การภาคอุ ต สาหกรรมได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ท�าหน้าที่ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิต ของ Toyota มากมาย วันที่ 9 - 31 ตุลาคม 2557 ณ สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น พัฒนาการ 37 กรุงเทพฯ www.tpif.or.th หรือ โทร. 0-2717-3000 ต่อ 745 www.oilgasthai.com
16 ตุลาคม 2557 สวัสดีค่ะ ผู้ประกอบการในภาค สัมมนา ‘แม่พิมพ์ 360’ องศา
อุตสาหกรรมทัว่ ทุกแขนง เดือน ตุลาคมนี้ มีกิจกรรมที่น่าสนใจ หลายกิจกรรม เรียกได้ว่าไม่ ท�าให้เหงากันเลยทีเดียว ไปดูกนั ค่ะ ว่ามีอะไรบ้าง
14 – 15 ตุลาคม 2557 Eco Innovation and Solution 2014
สถาบั น สิ่ ง แวดล้ อ มอุ ต สาหกรรม สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ขอเชิญรวม งานสัมมนาวิชาการและการแสดงสินค้า ประจ�าปี 2557 ภายใต้หวั ข้อ ‘Eco Innovation and Solution 2014’ เพื่อเป็นการส่ง เสริมการปรับปรุงภาคอุตสาหกรรมในการ ก้าวสู่การเป็นผู้น�าอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม โดยมี หั ว ข้ อ สั ม มนาที่ น ่ า สนใจมากมาย รวมทั้ ง การน� า เสนอผลงานวิ ช าการทาง ด้านวิศวกรรมนวัตกรรมและการจัดการ อุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน วันที่ 14 - 15 ตุลาคม 2557 ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ 201 -203 ชั้น 2 ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา www.iei.or.th หรือ โทร. 0-2345-1261-5
25 – 26 ตุลาคม 2557 การฝึกอบรมหัวข้อ ‘การบ�ารุง รักษาเครื่องจักรด้วย TPM’
INDUSTRIAL AGENDA
22 – 24 ตุลาคม 2557 มหกรรมการแสดงสินค้าอุปกรณ์ ไฟฟ้าและเทคโนโลยีนานาชาติ ครั้งที่ 15 (EP China 2014) จัดโดยหน่วยงานด้านพลังงานไฟฟ้า สภา ไฟฟ้ า ก� า ลั ง แห่ ง ประเทศจี น และบริ ษั ท เอกชนผู้ประกอบการด้านพลังงาน นับว่า เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่ได้รับการยอมรับจาก สมาคมและองค์กรต่างๆ ทั่วโลก วันที่ 22 - 24 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์การแสดงสินค้านานาชาติประเทศจีน กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนจีน www.epchinashow.com
29 – 30 ตุลาคม 2557 Modern Manufacturing Forum 2014
งานสัมมนาและการแสดงสินค้าส�าหรับผู้ ประกอบการด้านอุตสาหกรรมทุกแขนง เพื่ อ สงเสริ ม ให้ ผู ้ ป ระกอบการในภาค อุตสาหกรรม ได้เกิดการพัฒนาและมี ศักยภาพในการแข่งขันมากยิ่งขึ้น วันที่ 29 - 30 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรม เดอะไทด์ รีสอร์ท ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี www.mmthailand.com หรือ โทร. 02-731-1194
29 – 30 ตุลาคม 2557 การอบรมการใช้งาน การบ�ารุง รั ก ษา และการทวนสอบเครื่ อ ง CMM
สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย จัดงาน สัมมนาเรือ่ ง ‘แม่พมิ พ์ 360 องศา’ เผยแพร่ ความรู้ ความเข้าใจเรื่อง Part Design & Simulation เทคนิคการปรับฉีดเพื่อลด ความสู ญ เสี ย อย่ า งมื อ อาชี พ ระบบการ บริหารจัดการแม่พิมพ์ รวมถึงการท�าตลาด แม่พิมพ์ยุคดิจิตอล โดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ทางในวงการแม่พมิ พ์ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการ สามารถน�าความรูแ้ ละประสบการณ์ทไี่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน กระบวนการผลิตรวมถึงการลดต้นทุน น�า มาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าและผู้บริโภค
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมรูป ถัมภ์จดั การสัมมนาและฝึกอบรมเกีย่ วกับ การบ�ารุงรักษาเครือ่ งจักรด้วย TPM (Total Productive Maintenance) ซึ่งเป็น กลยุ ท ธ์ ห นึ่ ง ที่ ผู ้ บ ริ ห ารและฝ่ า ยซ่ อ ม บ�ารุง สามารถน�ามาใช้ในการปรับปรุง เครื่องจักร แก้ไขจุดบกพร่อง และพัฒนา เครื่องจักรให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่าง ยั่งยืน ซึ่งนับว่าเป็นกิจกรรมที่ได้รับการ ยอมรับในอุตสาหกรรมการผลิตทั่วโลก
ศูนย์คน้ คว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต ทางอุตสาหกรรม (RDiPT) ม.เกษตรศาสตร์ จัดการอบรมส�าหรับวิศวกร ผูจ้ ดั การ ช่าง เทคนิค พนักงานผูเ้ กีย่ วข้องกับการใช้งาน เครือ่ ง CMM ตลอดจนบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ เพือ่ เป็นการส่งเสริมการใช้งาน การบ�ารุง รักษาเครื่อง CMM อย่างถูกต้องและ เหมาะสม
วันที่ 16 ตุลาคม 2557 ณ ห้องแสนสบาย โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ จ.ชลบุรี โทร. 0-2712 -0162
วันที่ 25 - 26 ตุลาคม 2557 ณ วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดาวน์โหลด www.eit.or.th หรือ โทร. 0-2319-2410-3
วันที่ 29 - 30 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์คน้ คว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการ ผลิตทางอุตสาหกรรม www.rdipt.ku. ac.th หรือ โทร. 0-2942-8567-70 ต่อ 210, 209
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
93
OCTOBER 2014
9 – 31 ตุลาคม 2557 การอบรมหลักสูตร Toyota Production System รุ่นที่ 12
INDUSTRIAL AGENDA OCTOBER 2014
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น เปิด การฝึกอบรมในหลักสูตร Toyota Production System รุ่นที่ 12 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรในภาค อุ ต สาหกรรม ให้ มี ค วามสามารถในการ จั ด การภาคอุ ต สาหกรรมได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ท�าหน้าที่ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิต ของ Toyota มากมาย วันที่ 9 - 31 ตุลาคม 2557 ณ สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น พัฒนาการ 37 กรุงเทพฯ www.tpif.or.th หรือ โทร. 0-2717-3000 ต่อ 745 www.oilgasthai.com
16 ตุลาคม 2557 สวัสดีค่ะ ผู้ประกอบการในภาค สัมมนา ‘แม่พิมพ์ 360’ องศา
อุตสาหกรรมทัว่ ทุกแขนง เดือน ตุลาคมนี้ มีกิจกรรมที่น่าสนใจ หลายกิจกรรม เรียกได้ว่าไม่ ท�าให้เหงากันเลยทีเดียว ไปดูกนั ค่ะ ว่ามีอะไรบ้าง
14 – 15 ตุลาคม 2557 Eco Innovation and Solution 2014
สถาบั น สิ่ ง แวดล้ อ มอุ ต สาหกรรม สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ขอเชิญรวม งานสัมมนาวิชาการและการแสดงสินค้า ประจ�าปี 2557 ภายใต้หวั ข้อ ‘Eco Innovation and Solution 2014’ เพื่อเป็นการส่ง เสริมการปรับปรุงภาคอุตสาหกรรมในการ ก้าวสู่การเป็นผู้น�าอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม โดยมี หั ว ข้ อ สั ม มนาที่ น ่ า สนใจมากมาย รวมทั้ ง การน� า เสนอผลงานวิ ช าการทาง ด้านวิศวกรรมนวัตกรรมและการจัดการ อุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน วันที่ 14 - 15 ตุลาคม 2557 ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ 201 -203 ชั้น 2 ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา www.iei.or.th หรือ โทร. 0-2345-1261-5
25 – 26 ตุลาคม 2557 การฝึกอบรมหัวข้อ ‘การบ�ารุง รักษาเครื่องจักรด้วย TPM’
INDUSTRIAL AGENDA
22 – 24 ตุลาคม 2557 มหกรรมการแสดงสินค้าอุปกรณ์ ไฟฟ้าและเทคโนโลยีนานาชาติ ครั้งที่ 15 (EP China 2014) จัดโดยหน่วยงานด้านพลังงานไฟฟ้า สภา ไฟฟ้ า ก� า ลั ง แห่ ง ประเทศจี น และบริ ษั ท เอกชนผู้ประกอบการด้านพลังงาน นับว่า เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่ได้รับการยอมรับจาก สมาคมและองค์กรต่างๆ ทั่วโลก วันที่ 22 - 24 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์การแสดงสินค้านานาชาติประเทศจีน กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนจีน www.epchinashow.com
29 – 30 ตุลาคม 2557 Modern Manufacturing Forum 2014
งานสัมมนาและการแสดงสินค้าส�าหรับผู้ ประกอบการด้านอุตสาหกรรมทุกแขนง เพื่ อ สงเสริ ม ให้ ผู ้ ป ระกอบการในภาค อุตสาหกรรม ได้เกิดการพัฒนาและมี ศักยภาพในการแข่งขันมากยิ่งขึ้น วันที่ 29 - 30 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรม เดอะไทด์ รีสอร์ท ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี www.mmthailand.com หรือ โทร. 02-731-1194
29 – 30 ตุลาคม 2557 การอบรมการใช้งาน การบ�ารุง รั ก ษา และการทวนสอบเครื่ อ ง CMM
สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย จัดงาน สัมมนาเรือ่ ง ‘แม่พมิ พ์ 360 องศา’ เผยแพร่ ความรู้ ความเข้าใจเรื่อง Part Design & Simulation เทคนิคการปรับฉีดเพื่อลด ความสู ญ เสี ย อย่ า งมื อ อาชี พ ระบบการ บริหารจัดการแม่พิมพ์ รวมถึงการท�าตลาด แม่พิมพ์ยุคดิจิตอล โดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ทางในวงการแม่พมิ พ์ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการ สามารถน�าความรูแ้ ละประสบการณ์ทไี่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน กระบวนการผลิตรวมถึงการลดต้นทุน น�า มาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าและผู้บริโภค
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมรูป ถัมภ์จดั การสัมมนาและฝึกอบรมเกีย่ วกับ การบ�ารุงรักษาเครือ่ งจักรด้วย TPM (Total Productive Maintenance) ซึ่งเป็น กลยุ ท ธ์ ห นึ่ ง ที่ ผู ้ บ ริ ห ารและฝ่ า ยซ่ อ ม บ�ารุง สามารถน�ามาใช้ในการปรับปรุง เครื่องจักร แก้ไขจุดบกพร่อง และพัฒนา เครื่องจักรให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่าง ยั่งยืน ซึ่งนับว่าเป็นกิจกรรมที่ได้รับการ ยอมรับในอุตสาหกรรมการผลิตทั่วโลก
ศูนย์คน้ คว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต ทางอุตสาหกรรม (RDiPT) ม.เกษตรศาสตร์ จัดการอบรมส�าหรับวิศวกร ผูจ้ ดั การ ช่าง เทคนิค พนักงานผูเ้ กีย่ วข้องกับการใช้งาน เครือ่ ง CMM ตลอดจนบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ เพือ่ เป็นการส่งเสริมการใช้งาน การบ�ารุง รักษาเครื่อง CMM อย่างถูกต้องและ เหมาะสม
วันที่ 16 ตุลาคม 2557 ณ ห้องแสนสบาย โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ จ.ชลบุรี โทร. 0-2712 -0162
วันที่ 25 - 26 ตุลาคม 2557 ณ วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดาวน์โหลด www.eit.or.th หรือ โทร. 0-2319-2410-3
วันที่ 29 - 30 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์คน้ คว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการ ผลิตทางอุตสาหกรรม www.rdipt.ku. ac.th หรือ โทร. 0-2942-8567-70 ต่อ 210, 209
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
93
้ ี น ไป อ ต ท ั ษ ิ ร บ อ ่ ื ช บ ั ก ง ร ต ให ใสหมายเลขสินคา
กลอบอลซีล บจก. ที.เอ็น. เมตัลเวิรค บจก. คอปโก เคมเทค บจก.
โปรชอป เซนเตอร บจก. จี ที ซี บจก.
•• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• •• ••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••
พีอีเอ ประกาศเป็นเจ้าภาพจัดงาน
PEA presents EcoLightTech Asia 2014 ตั้งเป้าไทยเป็นผู้น�าอนุรักษ์พลังงานและนวัตกรรมแสงสว่างแห่งอาเซียน
ก
ารไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ พีอีเอ ประกาศเป็นเจ้าภาพจัดงาน PEA presents EcoLightTech Asia 2014 ร่วมกับ บริษัทเอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จ�ากัด หรือ นีโอ ในฐานะผู้บริหารการจัดงาน ระหว่างวันที่ 12-14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เวลา 10.00 – 18.00 น. ณ ห้องเพลนารี ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ภายใต้แนวคิด Light for Life ผลักดัน นโยบายการอนุรักษ์พลังงานสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง ร่วมกับสถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อประหยัดไฟกู้เต็ม 100% เพื่อ สนับสนุนและช่วยเหลือผูป้ ระกอบการภาคอุตสาหกรรมแสงสว่างไทยให้แข่งขันได้ในตลาดสากล พร้อมเชิญชวนผู้ประกอบการ ชั้นน�าจากไทย และต่างประเทศมาจัดแสดงผลงาน และเปิดเวทีการค้า เจรจาธุรกิจ ตั้งเป้าประเทศไทยเป็นศูนย์กลางนวัตกรรม อนุรกั ษ์พลังงานและตลาดเทคโนโลยีดา้ นแสงสว่างแห่งอาเซียน
นายน�าชัย หล่อวัฒนตระกูล ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เปิดเผยว่า “พีอีเอ มีนโยบายที่ ชัดเจนในการ ส่ งเสริ มและอนุ รัก ษ์ ก ารใช้ พลั ง งานอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ทั้ ง ในภาคครั ว เรื อ น และอุ ต สาหกรรมผู ้ ป ระกอบการ โดยมี มาตรการจู ง ใจให้ ก ลุ ่ ม ผู ้ ป ระกอบการลงทุ น ปรั บ เปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ป ระหยั ด พลั ง งาน และสนั บ สนุ น ให้ ก ลุ ่ ม ครั ว เรื อ นลดการใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ขณะเดียวกันได้ ส่ งเสริ มการวิ จั ยพั ฒนา ก� า หนดมาตรฐาน อุ ปกรณ์ ไ ฟฟ้ า และ อาคารประหยั ดพลั งงานอี กด้ ว ย” นายศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัท เอ็น.ซี.ซี. กล่าว เสริมว่า “การตอบรั บ เป็ นเจ้ าภาพจั ดงาน PEA presents EcoLightTech Asia 2014 งานแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านแสงสว่างประหยัดพลังงาน เพื่อผู้ประกอบการ ครั้ งที่ 2 ของ พี อีเ อ นั้ น จะท� า ให้ ง านครั้ ง นี้ กลายเป็ น งาน ระดับนานาชาติที่เป็นที่จับตามองมากยิ่งขึ้น เพราะจากความส�าเร็จในปีที่ผ่าน มา ผู้ประกอบการ ชั้นน�าสนใจเข้าร่วมงานแสดงงานกว่า 80 ราย และมีผู้เข้า ชมงานกว่า 4,000 รายจาก 10 ประเทศในภู มิภาคอาเซี ย น อาทิ จี น ไต้ ห วั น ญี่ปุ่น เกาหลี ฟิ ลิป ปิ นส์ พม่ า และอิ นโดนี เ ซี ย ส่ งผลให้ มี มู ล ค่ า การซื้ อ ขาย มากถึง 3,000 ล้ านบาท จึ งท� า ให้ สามารถมั่ นใจได้ ว่ า การจั ด งานจะเติ บโตขึ้ น
สู ่ ร ะดั บ สากล ทั้ ง ในด้ า นการพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานสู ่ ร ะดั บ ภู มิ ภ าค ด้ า นเศรษฐกิ จ ของประเทศด้ ว ยเวที ก ารค้ า อุ ต สาหกรรมพลั ง งานแสง สว่ า ง และด้ า นการพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี เพื่ อ ให้ ประเทศไทยสามารถแข่งขันได้ในตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สอดคล้อง กั บ เป้ า หมายที่ จ ะผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางนวั ต กรรมอนุ รั ก ษ์ พลั ง งานและตลาด เทคโนโลยี ด ้ า นแสงสว่ า งแห่ ง อาเซี ย น” “ส�า หรั บผู ้ ประกอบการที่ ส นใจเข้ า ร่ ว มแสดงงาน นี โอ ในฐานะผู ้ บ ริ ห าร การจั ด งาน PEA presents EcoLightTech Asia 2014 ครั้ ง ที่ 2 ได้ ก� า หนด แผนงานมุ ่ ง เน้ น ตลาดนานาชาติ โดยคาดว่ า จะสร้ า งมู ล ค่ า การซื้ อ ขายทาง เศรษฐกิจได้มากขึ้นกว่าเดิม เติบโตสู่ระดับ 5 พันล้านบาท ด้วยแผนการตลาด ต่ า งประเทศใน 3 ประเทศส� าคั ญ คื อ อิ น โดนี เ ซี ย ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ และเวี ย ดนาม รวมทั้ ง จั บ มื อ พั น ธมิ ต รธุ ร กิ จ ในต่ า งประเทศ เปิ ด เกมรุ ก ตลาดประเทศจี น เกาหลี ญี่ ปุ่ น และไต้ ห วั น ท� าให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า ตลอดการจั ด งาน จะมี ผู ้ ส นใจเข้ า ชมงานกว่ า 5,000 ราย ทั้ ง นี้ สามารถติ ด ตามความเคลื่ อ นไหวเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ www.ecolight-tech.com หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดได้ ที่ โทรศั พ ท์ 02 203 4261-2 ทุ ก วั น จั น ทร์ - ศุ ก ร์ ” นายศั ก ดิ์ ชัย กล่ า วทิ้ ง ท้ า ย
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
97
TAKAMATSU INTERVIEW ชูเครื่องจักรคุณภาพสุดล�้า… ให้สัมผัสอย่างใกล้ชิดในงาน METALEX 2014
บริษัท TAKAMATSU MACHINERY (THAILAND) CO., LTD. บริษัทน�ำเข้ำและ จัดจ�ำหน่ำยเครื่องจักรประเภทเครื่องกลึง CNC โดยมีบริษัทแม่อยู่ที่เมืองอิชิกำว่ำ ประเทศญี่ปุ่น ด�ำเนินธุรกิจมำยำวนำนกว่ำ 60 ปี ในประเทศญี่ปุ่น ส่วนในประเทศไทย TAKAMATSU ด�ำเนินงำนมำแล้วเป็นปีที่ 11 โดยเครื่องจักรของบริษัทฯ เป็น เครื่องจักรที่เน้นให้บริกำรกับอุตสำหกรรม ยำนยนต์เป็นหลักเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ไม่ ว่ำจะเป็นเครื่องกลึงส�ำหรับรถจักรยำนยนต์ ไปจนถึงรถยนต์ค่ำยต่ำงๆส�ำหรับงำน METALEX 2014 ในครั้งนี้ TAKAMATSU ก็ไม่พลำดที่จะยกทัพผลิตภัณฑ์สุดล�้ำ มำจัดแสดง
TAKAMATSU
ชูเครื่องจักรคุณภำพสุดล�้ำ… ให้สัมผัสอย่ำงใกล้ชิดในงำน
METALEX 2014
งานบริการแบบครบวงจรและรอบด้าน
TAKAMAZ XC-100 เป็นเครื่องจักรส�าหรับกลุ่ม Automobile โดยจุดเด่นคือเป็น เครื่องจักรที่ใช้พื้นที่ประหยัด และ สามารถป้อนชิ้นงานได้รวดเร็วด้วย ระบบ High Speed Automation
100 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คุ ณ อติ พ ล จุ ติ เ สรี พ ร ผู ้ จั ด การทั่ ว ไปบริ ษั ท TAKAMATSU MACHINERY (THAILAND) CO., LTD. กล่าวว่า เรามีระบบการให้บริการทีเ่ รียกว่า Double Service คือมีตัวแทนจ�าหน่ายของ TAKAMATSU ซึ่งมีทีมงาน บริการทีค่ อยดูแลลูกค้าอย่างใกล้ชดิ อีกทัง้ มีทมี บริการจาก ส่วนกลางทัง้ ชาวไทยและญีป่ นุ่ ทีค่ อยประสานงานให้บริการ ลูกค้าร่วมกันอีกทีมหนึ่ง นอกจาก TAKAMATSU ในประเทศไทยจะรับผิดชอบ ดูแลลูกค้าในประเทศ ยังครอบคลุมการดูแลไปถึงประเทศ ในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาทิ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และสิงค์โปร์ ซึ่งในขณะนี้เราได้ไปเปิด บริษัทฯ ใหม่ในประเทศอินโดนีเซียแล้ว ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ยังนับ ว่าเป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้นเอง ในส่วนของอะไหล่ต่างๆก็ ยังคงต้องอาศัยการน�าเข้าจาก TAKAMATSU ประเทศไทย อยู่ กล่าวคือ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการให้บริการด้าน อะไหล่นั่นเอง
TAKAMATSU ชูเครื่องจักรคุณภาพสุดล�้า… INTERVIEW ให้สัมผัสอย่างใกล้ชิดในงาน METALEX 2014
คุณอติพล จุติเสรีพร ผู้จัดการทั่วไป บริษัท TAKAMATSU MACHINERY (THAILAND) CO., LTD.
ทิศทางความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน
คุณอติพล กล่าวถึงการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจอาเซียน ในปีหน้านี้ว่า บริษัทฯ ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้าน ภาษา โดยเน้นภาษาอังกฤษเป็นหลัก ซึ่งมองว่าเรื่องนี้คง ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ เนื่องจากพนักงานส่วนใหญ่ของบริษัทฯ ก็ ถือว่ามีทักษะทางภาษาอังกฤษที่ดีอยู่พอสมควร เพราะใช้ ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าในต่างประเทศ เป็นประจ�าอยู่แล้ว ในส่ ว นของการเตรี ย มพร้ อ มรั บ มื อ ด้ า นการพั ฒ นา เครื่องจักรและการออกแบบในส่วนของอุตสาหกรรมยาน ยนต์นนั้ มองว่าเรือ่ งหนึง่ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ คือ แรงงานคน อาจ เป็นปัญหาและในขณะเดียวกันอาจมีแนวโน้มที่ดี เนื่องด้วย การเปิดเสรีอาเซียนเป็นช่องทางที่แรงงานคนสามารถเดิน ทางเข้ามาท�างานในประเทศไทยเพื่อหารายได้ที่ดีกว่า หรือ แรงงานในประเทศไทยก็สามารถออกไปท�างานยังประเทศ ในกลุ่มสมาชิกอาเซียนเพื่อหารายได้ที่ดีกว่าได้อย่างเสรี
นั่นเอง ฉะนั้น มองว่าผลิตภัณฑ์เครื่องจักรที่ใช้ระบบออโต้ Loading ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ทักษะหรือฝีมือแรงงาน แต่สามารถด�าเนินการผลิตได้ ก็จะเป็นการแก้ปัญหาด้าน แรงงานคนให้กับลูกค้าได้
ผลิตภัณฑ์เด่น… ในงาน METALEX 2014
คุณอติพล กล่าวต่อว่า ส�าหรับงาน METALEX 2014 ในปีนี้ ทางบริษทั ฯ ได้จดั แสดงเครือ่ งจักรต่างๆ โดยแบ่งออก เป็น 2 กลุ่มด้วยกันคือ 1. เครื่ อ งจั ก รส� าหรั บอุ ตสาหกรรม Automation System ประกอบด้วย เครื่องจักรส�าหรับโหลดชิ้น งาน ซึง่ มีสว่ นช่วยในการลดก�าลังคน เพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิต ซึ่งนับว่าเป็นการช่วยลดต้นทุนให้กับลูกค้า อีกทางหนึ่งด้วย 2. เครื่องจักร Low Cost ซึ่งเป็นเครื่องจักรที่ผลิตใน ประเทศญีป่ นุ่ เน้นตอบโจทย์ลกู ค้าในกลุม่ ธุรกิจ SME ได้เปิดโอกาสให้กับ TAKAMATSU
สินค้าเด่นที่เตรียมไว้ส�าหรับการแสดงงานในปีนี้คงจะ เป็นสินค้าที่เคยเปิดตัวไปแล้วในงาน METALEX เมื่อปีที่ แล้วเนื่องจากได้รับผลตอบรับจากลูกค้าที่ดีมาก ส่วนในปีนี้ เรายังไม่มกี ารผลิตเครือ่ งจักรรุน่ ใหม่ออกมา จึงน�าสินค้ารุน่ เดิมซึง่ นับว่าเป็นสินค้าเด่นของเราอยูก่ ลับมาแสดงในงานปี นี้อีกครั้งหนึ่ง ได้แก่ เครื่องจักรรุ่น TAKAMAZ XC-100 เป็นเครื่องจักร ส�าหรับกลุ่ม Automobile โดยจุดเด่นคือเป็นเครื่องจักรที่ ใช้พื้นที่ประหยัด และสามารถป้อนชิ้นงานได้รวดเร็วด้วย ระบบ High Speed Automation จึงช่วยลดระยะเวลาการ ผลิตชิ้นงานของลูกค้าได้ ส่วนสินค้าในกลุ่ม Low Cost คือเครื่องจักรกรุ่น GSL-10 มีจดุ เด่นด้านราคาทีไ่ ม่สงู โดยมีการผลิตทีป่ ระเทศ ญี่ปุ่น ใช้เทคโนโลยีการออกแบบเครื่องจักรที่ทันสมัย ลด ต้นทุนการผลิต แต่แน่นนอนว่าเรายังคงไว้ซึ่งคุณภาพ มาตรฐานการผลิตไว้อย่าง 100 เปอร์เซ็นต์นอกจากนี้ก็ยัง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น ๆ อี ก มากมายที่ น� า มาจั ด แสดงในงาน METALEX 2014
GSL-10 มีจุดเด่นด้านราคาที่ไม่สูง โดยมีการผลิตที่ประเทศญี่ปุ่น ใช้เทคโนโลยี การออกแบบเครื่องจักรที่ทันสมัย ลดต้นทุนการผลิต
“จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ของเราคือ สินค้าทุกชิ้นถูก ประกอบจากประเทศญีป่ นุ่ ทัง้ หมด นอกจากนีส้ นิ ค้ายังได้รบั การออกแบบมาให้มีสัดส่วนกะทัดรัดเหมาะกับรูปร่างของ คนแถบเอเชีย เพือ่ การใช้งานทีส่ ะดวกมากยิง่ ขึน้ ” คุณอติพล กล่าวเสริม เชื่อว่างาน MATALEX 2014 ในปีนี้จะเป็นงานที่ ยิ่งใหญ่เหมือนเช่นเคยอย่างแน่นอน ทุกท่านคงรู้จักงานนี้ดี อยูแ่ ล้ว ในงานนีท้ กุ ปีกจ็ ะมีผลิตภัณฑ์ตา่ งๆรวมทัง้ เทคโนโลยี นวัตกรรม มาจัดแสดงมากมาย เพื่อรองรับและตอบสนอง ธุรกิจต่างๆ นับว่าเป็นงานที่เป็นประโยชน์มาก จึงขอเชิญ ชวนนักธุรกิจ ผู้ประกอบการ รวมทั้งนักเรียนนักศึกษา ที่มีความสนใจในเรื่องของเทคโนโลยี เข้ามาศึกษาดูงาน ซึ่งรับรองว่าไม่ผิดหวังอย่างแน่นอน คุณอติพล กล่าว ทิ้งท้าย
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
101
นักอุตสาหกรรมปราจีนบุรีร่วมงาน Modern Manufacturing Forum 2014 อย่างคับคั่งเต็มอิ่มด้วยการเพิ่มศักยภาพการผลิต และพบผลิตภัณฑ์คุณภาพอย่างหลากหลาย
เ
มื่อวันที่ 23 กันยายนที่ผ่านมา สภาอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ และบริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ� ากั ด ผู ้ ผลิ ตนิ ตยสารอุ ตสาหกรรม Modern Manufacturing และ MM Machine Tools & Metalworkingร่ ว มจั ด งาน Modern Manufacturing Forum 2014 งานสั มมนาและแสดงสิ น ค้ า เพื่ อ ผู ้ ประกอบการอุ ต สาหกรรม ภายในงานมี ก ารสั ม มนาในหั ว ข้ อ การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพอย่างมีกลยุทธ์ และหัวข้อ Six Sigma : The Quest for Systematic Improvement โดยวิทยากรจากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ซึ่งงานสัมมนา ดังกล่าวจั ด ขึ้ น ณ โรงแรมทวาราวดี รี ส อร์ ท จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี โ ดยมี คุ ณ คมสรร ศรี ตู ม แก้ ว รองประธานสภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ให้ เกี ย รติ เป็นประธานในพิ ธี ซึ่งการจัดงานครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อมุ่งเน้นการน�าเสนอแนวคิด เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการลดต้นทุนและเพิ่มผลิตภาพควบคู่ ไปกับการการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร พร้อมเปิดรับแนวคิดใหม่ๆ จากแหล่งภายนอกองค์กร ซึ่งแนวคิดที่ได้จากการสัมมนาในครั้งนี้ สามารถน�ามา ประยุกต์ใช้กับองค์ กรได้ เ ป็ นอย่ างดี ทั้ งยั งช่ วยเสริ มศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ให้ กั บองค์ ก รและรองรั บการขยายตั ว ในอนาคต นอกจากสาระความรู ้ ที่ ไ ด้ ผู ้ เ ข้ าร่ วมงานยั งได้ เ ยี่ ยมชมบู ธ แสดงสิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมจากบริ ษัทชั้ น น� าที่ ข นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ต ่ า งๆ มาจั ด แสดง ภายในงานอีกด้ว ย โดยในครั้งนี้มี ผู้ สนใจเข้ าร่ ว มตั้ งแต่ ระดั บ ผู ้ บ ริ หาร ผู ้ จั ด การโรงงาน วิ ศ วกร ฝ่ า ยผลิ ต ฝ่ า ยซ่ อ มบ� ารุ ง และฝ่ า ยอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บการผลิ ต ในโรงงาน มาร่วมงานกันอย่ างคึ กคั ก และผู ้ ที่ มาร่ ว มงานต่ างรู ้ สึกพึ ง พอใจและได้ รั บความรู ้ รวมถึ ง ได้ แ นวคิ ด ใหม่ ๆ จากการเข้ า ร่ ว มงานในครั้ ง นี้ เป็ น อย่ า งมาก ถื อ เป็นกิจกรรมส�าคั ญ ที่ จ ะช่ ว ยเสริมทั กษะ พั ฒนาตนเองและองค์ ก รที่ ตนท� าอยู ่ ใ ห้ มีก ารพั ฒ นาและก้ า วหน้ าต่ อ ไป นอกจากนี้ ช่ ว งท้ า ยของงานยั ง มี กิ จกรรม มอบโชคให้กับผู้มาร่ วมงานคื อ Ipad Air จ� า นวน 1 รางวั ล และรางวั ล อื่ น ๆจากผู ้ ส นั บสนุ น อี ก มากมาย งานสัมมนาและแสดงสินค้าอุตสาหกรรม Modern Manufacturing Forum 2014 จะจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีและให้ครอบคลุมทั่วทุกภูมิภาค ของประเทศ โดยสั มมนาครั้ งต่ อไปจะจั ดขึ้ น วั นที่ 29-30 ตุ ล าคม 2557 ณ เดอะไทด์ รี ส อร์ ท จั ง หวั ด ชลบุ รี ท่ า นสามารถสอบถามข้ อ มู ล และลงทะเบี ย น ล่วงหน้าได้ที่ฝ่ายประสานงานการจั ดงานโทร 0-2731-1191-4 ต่ อ 103 หรื อ 08-1371-1460 (คุ ณปณิ ช ามน) 102 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Electric & Electronics ELECTRICAL & POWER ELECTRONICS
1
Bearing 2012 BENCH PRODUCT CATALOG
2
3
NEW PRODUCTS
• OEM Product & Solution Products • Low-Voltage up to Medium-Voltage Products • Solution Products & Power Quality Product
A.P.T. GROUP CO., LTD.
TRINERGY INSTRUMENT CO., LTD.
BTT UNITED CO., LTD.
4
5
6
MISUBISHI SAFETY CONTROLLER MELSEC-WS SERIES
MITSUBISHI ELECTRIC AUTOMETION (Thailand) CO., LTD.
อุปกรณไฟฟา
จำหนายอุปกรณไฟฟา แรงสูง-ต่ำ ทุกชนิด รับทำ ตูสวิทซบอรด ทุกระบบ ทุกขนาด ตามตองการ
1 4/23/2014
AD_THK.pdf
9:56:27
THE MARK OF LINEAR MOTION
AM
7
• LM Guide • Ball Screw • Linear Bushing • Slide Pack • Slide Rail • Cam Follower • Roller Follower
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
THK CO., LTD. RITTAL - THE SYSTEM. FASTER - BETTER EVERYWHERE.
LINEAR MOTION SYSTEM
8
• Enclosures • Power Distribution • Climate Control • IT Infrastrure • Software & Services
MAHATHON ELECTRIC PART LTD.
I.N.B. ENTERPRICE CO., LTD.
Rittal GmbH & Co. KG
C
Metrology & Measurement 9
เครื่องมืออุตสาหกรรม
JSR GROUP ตัวแทนจำหนาย ผลิตภัณฑเครื่องมืออุตสาหกรรม มากวา 40 ป
M
10
METROLOGY PRODUCT • CMM • PCMM • Laser Tracker • Vision Machine • White Light Scanning
11
BREAKTHROUGH IN MACHINE VISION SOLUSIONS • General Vision Box (GVB) • Conveyor Vision Inspection (CVI) • Stage Vision Inspection (SVI) • Robot Vision Inspection (RBVI) • Printing Quality Check System (PQC) • Visual Inspection System (RYOWA)
Y
CM
MY
CY
CMY
K
JAS GROUP
12
HEXAGON METROLOGY (Thailand) LTD. METROLOGY PRODUCTS Metrology & Inspection Product and Calibration Service
MAX VALUE TECHNOLOGY CO., LTD.
าสัมพันธ ะช ร ป ร า ก ง อ ต หากทาน คา/บริการ น ิ ส ค อ ็ ล า ต ต แค ระกอบการ ป ู ผ ม ุ ล ก บ ั ก ให รม ดานอุตสาหกร ฟรี! ไมมีคาใชจาย
13
dustry ocess In13 20 ors for Pr
Sens
Product
Overview
n
– Editio
BAUMER
Sensors สำหรับอุตสาหกรรม ประเภท Process Industry (อุตสาหกรรม เคมี, ปโตรเคมี, การแปรรูปอาหาร, ผลิตภัณฑเยื่อ กระดาษและกระดาษ, เซรามิก, แกว, ผลิตภัณฑยาง, ซีเมนต ฯลฯ) และ อุตสาหกรรมอื่น ทั้งดาน Pressure, Temperature, Level, Conductivity, Strain & Force
KANIT ENGINEERING CO., LTD
SP VISION TECHNOLOGY CO., LTD.
14
เครื่องมือวัดและควบคุม
ผูนำเขาและจัดจำหนายเทคโนโลยีอุปกรณวัด และระบบควบคุมทางอุกฃตสาหกรรม สำหรับงานควบคุมอัตโนมัติ, PLC, SCADA, Sencer, Heater เปนตน
TECHNOLOGY INSTRUMENT CO., LTD.
7-01/2014
Hydraulic & Pneumatic HYDRAULIC AND PNEUMATIC SOLUTION & SERVICE
15
PNEUMATIC
16
• Filtration • Pneumatic • Hydraulic Fitting • Push - Lok Hose • Hydraulic Hose
PARKER HANNIFIN (THAILAND) CO., LTD.
อุปกรณในระบบกำจัดฝุน-วาวล และหัวขับสำหรับงานระบบอุปกรณในระบบนิวแมติค
CYLINDER SERVICE
17
A.P.S. CONTROL CO., LTD.
ศูนยซอมและสราง กระบอกไฮโดรลิคและนิวเมติกซ แบบครบวงจร
GLOBAL SEAL CO., LTD.
Material Handling
Motor & Pump 18
MOTOR
We are sole distributing of high quality industrail products for the leading brands
SAHA KIM MOTOR CO., LTD.
W21 PREMIUM EFFICIENCY EFF1
19
• Pumps • Fans • Crushers • Conveyor belts • Mills • Centrifugal machines • Presses • Elevators • Packaging equipment • Grinders and orters.
MERZ (THAILAND) CO., LTD.
Green Product 22
REBOARD THE ORIGINAL AND SUPERIOR
กระดาษ Reboard นวัตกรรมใหม สำหรับงานแสดงสินคา และนิทรรศการ
C.G.S. (THAILAND) CO., LTD.
GLOBAL PUMP MANUFACTURER LEADER
20
• DOUBLE SUCTION SPLIT CASTING • VERTICAL MIXED • VERTICAL AXIAL • SUBMERSIBLE SEWAGE WASTEWATER • SUBMERSIBLE MIXED • SUBMERSIBLE AXIAL
รถยก รถลาก และอุปกรณ ขนยาย ที่ครอบคลุม ทุกความตองการ ในทุกอุตสาหกรรม
THAIKO PUVA CO., LTD.
Screw Conveyors 23
COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENT FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED
21
TRANSFER SYSTEM SCREW CONVEYORS
Pallet
Air Purification System 24
CORAL
• ระบบดูดควันและฝุน • เครื่องดูดฝุนแรงดันสูง • เครื่องกรองไอน้ำมัน • เครื่องยกระบบศูญญากาศ
Spiral Screw U-Trough Screw Conveyors V-Trough Screw Conveyors Tubular Trough Screw
CPM ENGINEERING CENTER CO., LTD.
GeTeCe Co., Ltd.
SIRIKRAN INDUSTRAL CO., LTD.
7-02/2014
25
PLASTIC PALLET
• กันน้ำ กันชื้น ปลอดเชื้อรา • ปราศจากเสี้ยน และตะปู • แข็งแรง ทนทาน ไรกังวล • ทนตอสภาวะแวดลอมไดดี • ประหยัดเวลา และคาใชจาย • สามารถนำกลับมา Recycle ได
NAWAPLASTIC INDUSTRAIL CO., LTD.
EDITOR’S OCTOBER PICK 2014
PERFECT CONTROL WAS NEVER SO SIMPLE
หัวกัดความเร็วสูงของ Tungaloy DoFeed ซีรีย์ หัวกัดที่ช่วยลดระยะเวลาในการท�างานและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการคายเศษส�าหรับงานกัดหยาบ
Whether food industry, biotechnology, or automotive industry, whether gigantic manufacturing plant or small consumer product, whether measuring, controlling, or regulating: Our products and system solutions can be found wherever fluids and gases are used. They are highly efficient—in two different respects. Our products and system solutions significantly contribute to an efficient overall process. At the same time, they are not just tailored to their respective application, but can quickly and efficiently be adapted as system solutions for other industries, products, and purposes as well. As one of the few providers on the market, we cover the entire process involved in working with fluid media: measuring, controlling, and regulating. To most of our customers, we are far more than just a provider of excellent products (although currently our product range spans more than 28,500 different products). Our customers also value us as a trusted consultant and experienced system solution provider. Quite possibly no other company’s range of expertise in this sector is as extensive as Bürkert’s. This makes us fast and independent. We are a one-stop shop—even when it comes to complex projects or highly sensitive, hygienically demanding enviroments. Our customers are always on the safe side with Bürkert in other respects, too. Our products, manufacturing, as well as the entire company are DIN ISO 9001 certified. Moreover, we are the first valve manufacturer outside of North America to receive the CSA Category Certification. This allows us to carry out all mandatory measurements ourselves and, if necessary, to issue the required certification to our customers. We also have ATEX certification and Ex approvals for various markets. And for us, it goes without saying that we adhere to international standards and norms.
Tungaloy DoFeedMini หัวกัดความเร็วสูงส�าหรับเครื่องจักรขนาดเล็กจนถึงขนาด กลาง เม็ดมีดสองด้านมาพร้อมสีค่ มตัด ช่วยลดต้นทุนการผลิต มีอตั ราป้อนต่อฟันสูงสุด 1.5 มิลลิเมตรและกัดได้ลึกถึง 1 มิลลิเมตร นอกจากนี้คุณสมบัติที่เป็นจุดเด่นของเม็ดมีดคือคม ตัดเป็นมุมลาดเอียง มีความคมสูงและให้แรงตัดเฉือนต�่า DoFeedMini สามารถใช้กับงาน ทีม่ กี ารจับยึดแบบยาวโดยไม่มกี ารสะท้าน และช่วยให้เครือ่ งจักรท�างานที่ spindle load ต�า่ หัวกัดได้รบั การออกแบบช่องใส่เม็ดมีดให้มกี ารป้องกันรักษาคมตัดทีย่ งั ไม่ถกู ใช้ชว่ ยให้ใช้เม็ด มีดได้เต็มประสิทธิภาพ ด้วยคุณสมบัตติ า่ งๆของทัง้ หัวกัดและเม็ดมีดส่งผลให้ DoFeedMini เป็นตัวเลือกที่ดีส�าหรับใช้ในงานกัดหยาบ slotting, helical feed contouring (คอนทัวริ่ง) และ plunging(พลันจ์จิ้ง) DoFeed หัวกัดความเร็วสูงที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าDoFeedMini เม็ดมีด มีคุณสมบัติเหมือนกัน แต่ DoFeed มีระยะกินลึกสูงสุดที่ 1.5 มิลลิเมตรและขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางสูงสุด 80 มิลลิเมตร หัวกัด DoFeed มี รูลม ที่ช่วยในการไล่เศษเพื่อหลีกเหลี่ยง การตัดซ�้าหรือ ReCutting ตัวคัทเตอร์ของซีรีย์นี้มีระยะการวางเม็ดมีด2แบบคือ วางแบบ ชิดหรือ Close pitch ช่วยเพิ่มผลผลิตให้กับลูกค้า และแบบปกติ Coarse Pitch ที่ช่วย ป้องกันการสะท้านได้ดี DoFeed เป็นนวัตกรรมใหม่ของหัวกัดความเร็วสูงที่ให้ผลผลิตได้ อย่างดีเยี่ยม DoFeedQuad หัวกัดความเร็วสูงส�าหรับงานปาดหน้า เม็ดมีดรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสใช้ งานได้ 2 หน้า 8 คมตัด ช่วยประหยัดต้นทุนในการผลิต DoFeedQuad สามารถท�างานได้ อย่างดีเยี่ยมด้วยลักษณะเม็ดมีดแบบ Dove-tail (โดฟเทล) ช่วยให้มีแรงจับยึดสูงโดยใช้สก รูเพียงตัวเดียวและช่วยให้การเดินงานไม่สะดุดแม้ใช้อตั ราป้อนสูง และด้วยการออกแบบคม ตัดแบบลาดเอียง มีแรงตัดเฉือนที่ต�่าแม้ใช้งานที่ความเร็วสูง นอกจากนี้ DoFeedQuad มี รูลม เช่นเดียวกับ DoFeed เพื่อช่วยในการไล่เพื่อหลีกเหลี่ยงการตัดซ�้า DoFeedQuad จึง เป็นตัวช่วยลดต้นทุนในงานปาดหน้าความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี
» TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD. Tel : (66) 2 751 5711 Fax : (66) 2 751 5715 Website : www.tungaloy.co.th
108 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
» ALPHA CONTROMATIC CO., LTD. Tel. 0-2721-1801-8 Fax. 0-2721-2657 E-mail : sales@alphac.co.th Website : www.alphac.co.th
OCTOBER EDITOR’S PICK 2014
PRESS FIT SPRING PLUNGER FEATURES STAINLESS STEEL DESIGN.
MACHINIST CALC™ PRO
Already recognized as the leading producer of top-quality spring plungers throughout the world, Halder recently added a number of new products to its line. One of the more interesting new releases is the stainless steel press fit spring plunger, featuring both a stainless steal and thermoplastic pin. And, as with all Halder spring plungers, a stainless steel spring is used to maximize performance, durability and longevity. Available in 5 thread sizes from M4-M10, Press Fit Spring Plunger features both stainless steel and thermoplastic pin as well as stainless steel spring for maximum longevity. In addition to locating and tightening, plunger can be used as assembly support, detent, or shock absorber and for ejection and applying pressure.
Fast, precise machining calculations
Halder จากเยอรมนีเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นผู้น�าในการผลิต spring plungers คุณภาพ สูง ซึง่ ได้คดิ ค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกสูต่ ลาดอุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ ง หนึง่ ในนัน้ ได้แก่ Press fit spring plunger ท�าจากสเตนเลส และหมุดพลาสติกทนความร้อน ซึ่งมีความแข็งแรง ทนทาน และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ส�าหรับในการก�าหนดต�าแหน่ง และยึดติด เพือ่ วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น ช่วยในการประกอบ กักต�าแหน่ง เป็นตัวหน่วงการสั่นสะเทือน การ ดีดออก และการปรับแรงดัน เป็นต้น มีขนาด M4 ถึง M10
Increase your shop’s productivity and profitability. Precise. Fast. Easy to use. Convenient. • Speeds and Feeds • Built-in Drill and Thread Size Tables • Bolt Pattern hole layouts • 3-Wire measurements • Right Triangle Math / Trigonometry
Product Specifications
Size: 6.25”x 3.5”x 0.9” (160 mm x 90 mm x 25 mm) Weight: 7 oz. (200 gm) Includes Armadillo Gear and Pocket Reference Guide Power: Two 1.5-volt (LR-44/A76) Long-life Batteries Display: 12 Digits (8 normal, 4 fractions) with Full Annunciators LCD Dimensions: 0.625” x 2.5” (15 mm x 65 mm) Accuracy: 12 Digit Internal Accuracy Included with Every Machinist Calc Pro: Armadillo Gear Protective Hard Case, Long-life Batteries (Two LR-44), Quick Reference Guide And Easy-to-Follow User’s Guide. Full One-Year Limited Warranty
» KRASSTEC CO., LTD.
Tel. 0-2732 1144 E-mail : krasscom@krasstec.com Website : www.krasstec.com
CPVR/CPVS Variable Speed Screw Compressors From 20 To 125HP
For more information : JSR GROUP J.Sri Rung Rueng Impex Co., Ltd. Tel : 0-2327-0351-5, 0-2734-4588 Fax : 0-2327-0356-7, 0-2734-4519-20 C.Dureon Machine and Tools Co., Ltd. Tel : 038-743-414-21, 038-215-726-8 Fax : 038-743-422-3, 038-215-729 Website : www.jsr.co.th
The Chicago Pneumatic CPVR/CPVS variable speed compressors series allows you to drastically reduce your operating costs when your compressed air system is not working at full capacity all day long. Basically the inverter reduces the motor speed to match your air consumption, and as a result, you save energy and money The CPVR/CPVS is great as a stand-alone machine or networked to a load-unload Chicago Pneumatic compressors where it can function as a master and regulate the air delivery for the whole site
» ENTAIL TECHNOLOGY AND SUPPLY CO., LTD. Tel : 0-2949-9834 Fax : 0-2949-9835 Website : www.entail.co.th
» TOOLNET (THAILAND) CO., LTD. Tel : 0-2736-2381-4 Fax : 0-2736-2385 E-mail : info@toolnet.co.th Website : www.toolnet.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
109
EDITOR’S OCTOBER PICK 2014
TC156 รีเลย์ดิจิตัลเช็คไฟ 380 V 3P ตก/เกิน/ กลับ/ไม่สมดุล
ASEAN Customer Support THK ได้ขยายการด�าเนินงานเพื่อเพิ่มกิจกรรมการบริการลูกค้า THK is launching a new customer support service. โดยการเพิ่มกิจกรรมส�าหรับการบริการลูกค้าใน ประเทศไทย We help our customers in Thailand with a comprehensive support structure • เพิ่มหมวดสินค้าในการเก็บสต็อคให้ครอบคลุมความต้องการมาก Expanding the in-stock product lineup • บริการด้านเทคนิคส�าหรับผลิตภัณฑ์ประเภทแอคชูเอเตอร์ Offering a technical support for actuators • จัดสัมมนาให้ความรูเ้ รือ่ งการบ�ารุงรักษาผลิตภัณฑ์และอืน่ ๆ Running maintenance workshops and more • เราจะมี ก ารขยายการให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ในกลุ ่ ม อาเซี ย นอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและทั่ ว ถึ ง We continue to further enhance the ASEAN Customer Suport.
» THK CO., LTD. ติดต่อ (THK Thailand)
Tel : 0-2751-3001 Fax : 0-2751-3003 Website : http://www.thk.com/th (Headquarters) 3-11-6, Nishi – Gotanda, Shinagawa-ku, Tokyo 141-8503 JAPAN Tel : +81-3-54434-0351 Fax : +81-3-5434-0353 (International Sales Department) Website :http://www.thk.com/
จุดเด่น 1. ใช้ดูค่าแรงดันไฟฟ้าได้ (ดิจิตัลโวลท์มิเตอร์) 2. มีการแสดงตัวย่อของ Error ที่เกิดโดยระบุเฟสที่เกิดปัญหาด้วย 3. สามารถตั้งโปรแกรมให้ตรวจ ยกเลิก และตั้งโปรแกรมหน่วงเวลาได้ตามใจ การติดตั้ง ยึดราง 35 มม./ ยึดน็อตได้ ระบบไฟที่ตรวจจับ 380V 3เฟส/3สาย ไม่ตรวจนิวตรอน ไฟเลี้ยง 91-250 Volt AC/DC (A1,A2) ตรวจแรงดันไฟตก / เกิน ตั้งโปรแกรมให้ตรวจหรือไม่ตรวจได้ (on/off) ทั้ง under/over โดยตรวจสอบทุกคู่เฟส ทีละคู่เฟส ไม่ว่าคู่เฟสใดคู่เฟสหนึ่งมีปัญหาจะทริปหมดแต่ไม่สามารถตั้งค่าแรงดันแยกเฟส ใครเฟสมันได้ ตรวจไฟขาดเฟส ตั้งโปรแกรมให้ตรวจหรือไม่ตรวจได้ (on/off) ตรวจไฟเฟสสลับ ตั้งโปรแกรมให้ตรวจหรือไม่ตรวจได้ (on/off) การแสดงผลในเวลาปกติ จะแสดงตัวเลขแรงดันไฟฟ้า (phase to phase) และระบุ เฟสทีแ่ สดงออกมาด้วยโดยหน้าจอจะแสดง แรงดันไฟฟ้า สลับไปเรือ่ ยๆ จาก L1-L2, L2-L3, L3-L2 ไม่แสดงแรงดันไฟฟ้า (phase to Ncutral) L1-N, L2-N, L3-N
» วินแชนซ์ อินดัสตรีส์ จ�ำกัด Tel : 02-173-4512-20 Fax : 02-173-4521-22 Website : www.thaieee.com
GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 ประหยัดเวลา ลดแรงงานคน กับ GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 อุปกรณ์ ขนย้ายที่จะท�าให้คุณลืม Hand pallet แบบเดิมๆ ไปได้ลดแรงงานคนและท�างานรวดเร็ว ขึน้ ด้วยการเคลือ่ นทีจ่ ากมอเตอร์ไฟฟ้าลากสิง่ ของได้หนักถึง 1,500 กก. ผลิตภายใต้มาตรา ฐานเยอรมัน โดยออกแบบให้มีความกะทัดรัด สะดวกและทนทาน พิเศษ! ส�าหรับท่านที่สนใจในอุปกรณ์ GT MOVER Semi-Powered Pallet 1.5 เพียง แค่น�า Hand Pallet ของท่านที่ใช้งานอยู่* มาแลกซื้อท่านจะได้รับส่วนลดมูลค่าสูงสุด 10,000 บาท** วันนี้-31 ตุลาคม 2557เท่านั้น หมายเหตุ : *Hand Pallet ที่น�ามาแลกต้องอยู่ในสภาพที่ยังใช้งานได้เท่านั้น ** Hand Pallet ยี่ห้อ GT Mover ได้รับส่วนลด 10,000 บาท และ Hand Pallet ยี่ห้ออื่นๆ ได้รับส่วนลด 8,000 บาท 110 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
» บริษัท จี.ที.ซี. จ�ำกัด (GeTeCe Co., Ltd.) โทร : 02-651-5551 – 4 รับส่วนลดสูงสุด แฟ็กซ์ : 02-651-5558 10,000 บาท กับ E-mail : info@GeTeCe.com GT MOVER SemiWebsite : www.GeTeCe.com Powered Pallet 1.5
OCTOBER EDITOR’S PICK 2014
สินค้าหลัก คือ ชุดรอก และเครน - ชุดรอก แบบมาตรฐาน 1 Speed หรือ 2 Speed มีทงั้ แบบรางเดีย่ ว แบบแขวน แบบ เหนือศีรษะ ชนิดคานเดีย่ ว หรือ คานคู่ แบบ ปั้นจั่น (JIB) แบบ Gantry
Susol VCB lead to Susol legend! Renew your thoughts by subverting the dominant paradigm. Focus your thoughts on the advantages and benefits gained through the Susol. Then you Will be able to achieve the Super Solution.
Susol Vacuum Circuit Breakers • • • • •
Customer needs for the breakers with high Interrupting capacity and large current due to the integration and increase of the load capacity. Worldwide trend of diversification in the medium voltage distribution lines. Increase of the reliability for the temperature characteristics of circuit breakers. Main structure with high reliability application. A variety of accessories and ability to maximize.
ชุดรอกแบบ Gantry
ชุดรอกแบบปั้นจั่นแขนเดียว
- ชุดรอกแบบ Machine ผลิตตามความต้องการ ของลูกค้า (ด้าน Speed ความสูง น�า้ หนัก ความถี)่ ในห้องเครื่องยนต์เรือ ในห้องแบบ Clean room รอกแบบ Explosion proof และ Winch ไฟฟ้า
ชุดรอกแบบ Machine
-
- ชุดรอกแบบ Machine และ รอกแบบเปิด ตัง้ แต่ 2 ~ 400 ตัน (แบบ Crab เครน) Refuse (Bucket) แบบแม่เหล็ก แบบ Clean Room เครนแบบอัตโนมัติ เครนเคลื่อนย้ายรถยนต์ ชุดรอกแบบ Crab เครน
Voltag 7.2k 12/17.5k 24kV 36kV 40.5kV
Interrupting current 8/12.5/20/25/31.5/40/50k 20/25/31.5/40/50kA 12.5/25/31.5/40k 25/31.5/40kA 25/31.5k
Rated curren 400/630/1250/2000/3150/4000A 630/1250/2000/3150/4000A 1250/2000/2500/3150A 1250/2000/3150 1250/2000/3150 Poly & Orange Peel Type
» BTT UNITED CO., LTD. Tel : 0-2586-8733 Fax : 0-2587-8852 E-mail : info@bttunited.com. Website : www.BTTunited.com
Clam Shell Type
Fork Type
» THAIKO PUVA CO., LTD.
Tel : 0-2599-2471-3 Fax : 0-2599-2470 E-mail : Thaikopuva@gmail.com Website : www.thaikogroup.com MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
111
MO 140-2014
ขอมูลผูสมัครสมาชิก ชื่อ - นามสกุล _______________________________________ บริษัท _____________________________________________ ตำแหนง ____________________________________________ E-mail _____________________________________________ ที่อยู ______________________________________________ ___________________________________________________ โทร ___________________ แฟกซ _______________________ มือถือ _____________________________________________ วิธีการชำระเงิน โอนเงินผานธนาคารไทยพาณิชย ชื่อบัญชี บริษัท กรีนเวิลด พับลิเคชั่น จำกัด สาขาหัวหมาก ประเภทบัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 044-3038-214 เช็คขีดครอมจายสั่งจาย บริษัท กรีนเวิลด พับลิเคชั่น จำกัด ลักษณะการอานนิตยสาร ความถีใ่ นการอานนิตยสาร Modern Manufacturing อานเปนประจำทุกเดือน 2-3 เดือน/ครั้ง มากกวา 2-3 เดือน/ครั้ง นิตยสารดานอุตสาหกรรมเลมที่อานเปนประจำ __________________________________________________ ทานสนใจเนื้อหาดานไหน การผลิต เทคโนโลยี การบริหาร จัดการ อื่นๆ
วิศวกรรม ซอฟทแวร/ฮารดแวร การตลาด
ทานสนใจเนื้อหาประเภทไหน ทฤษฎี/ขอมูลทางวิชาการ บทความเชิงประยุกต ขาวสาร/สกูปในแวดวงอุตสาหกรรม Case Study/กรณีศึกษา บทสัมภาษณ โฆษณาแฝงการใหขอมูลสินคา อื่นๆ คอลัมนในนิตยสาร Modern Manufacturing ที่ทานชื่นชอบที่สุด เพราะอะไร ________________________________________________ ทานตองการใหนิตยสาร Modern Manufacturing มีการปรับปรุงหรือพัฒนาในดานใด _________________________________________________ คอลัมน หรือกิจกรรมที่อยากใหเพิ่มในนิตยสาร Modern Manufacturing _________________________________________________ ** หมายเหตุ สง Fax หรือไปรษณียมาที่ บริษัท กรีนเวิลด พับลิเคชั่น จำกัด เลขที่ 244 ซอย ลาดพราว 107 แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 แฟกซ: 0-2769-8120 | โทร: 0-2731-1191 ตอ 102 E-mail: Marketing@mmthailand.com