Cover-aerofluid.pdf 1 3/25/2015 4:31:53 PM
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
146 M
Y
CM
MY
CY
CMY
Vol.13 No.146 APRIL 2015
C
K
P54
การออกแบบเชิงวิศวกรรมกับ การพัฒนาขีดความสามารถใน การผลิตของอุตสาหกรรมไทย
P58
เสนทางสู... การเปนเจาของธุรกิจเงินลานของ คุณสมชาย ศรีประจันทร
P61
เซ็นเซอรตรวจวัดกระแสไฟฟา สำหรับมาตรวัดพลังงานไฟฟาใน งานอุตสาหกรรม
P64
ลดคาใชจายพลังงานดวย เทคโนโลยีปมความรอน
AEROFLUID GROUP
ผูนำดานตนกำลังไฮดรอลิกสแบบครบวงจร สูผูสรางระบบตนกำลังไฟฟา พลังงานชีวมวล
เครื่องประมวลผลการ ทดสอบ (Data Records)
เครื่องวัดสิ่งสกปรก (Patical Counter)
เครื่องมือตรวจสถานะการทำงานของระบบไฮดรอลิกส แบบออนไลน (On Line Condition Monitoring)
Service
www.factoryeasy.com
เครื่องแยกน้ำ (Dewatering System)
Test Stands
www.mmthailand.com Certified by :
Operate & Monitoring
System Integration
บริษัท ไออารซี เทคโนโลยีส จำกัด
สอบถามเพิ่มเติม 719 ชั้น 4 อาคารเคพีเอ็น ถ.พระรามเกา บางกะป หวยขวาง กรุงเทพ 10310
Authorized Distributor and Authorized Service Center
โทร. 02-7171400 แฟกซ. 02-7171422 E-mail info@irct.co.th
ตัวแทนจำหนายในประเทศไทย
Keysight InfiniiVision 3000T X-Series Oscilloscope
Touch, Discover, Solve หนึ่งในนวัตกรรมที่ดีที่สุด Touch (ระบบสัมผัส) - ทำงานและสั่งการด้วยระบบแตะสัมผัสหน้าจอขนาด 8.5 นิ้ว การสัมผัสในแต่ละครั้งจะมีคำอธิบาย Discover (คนพบ) - มีอัตราการอัพเดต Waveform ที่รวดเร็วและมีจุดเด่นที่ Zone Trigger ในการทริกสัญญาณที่รวดเร็ว - มีอัตราการประมวลผลของสัญญาณ 1 ล้าน Waveform/วินาที Solve (แกปัญหา) - รวมฟังก์ชันการทำงานของ 6 เครื่องไว้ในหนึ่งเดียว - มีฟังก์ชันการสาธิตสัญญาณเบื้องต้นของเครื่องมือเพื่อให้ท่าน ได้ทำการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น
Keysight Truevolt DMMs (34465A 6 ½ digit & 34470A 7 ½ digit) ทดสอบด้วยความมั่นใจ ด้วย Truevolt - มี Resolution ถึง 6 ½ หลัก และ 7 ½หลัก - DC volt มีความแม่นยำถึง 16 ppm. - ADC มีขีดความสามารถในการทดสอบถึง 0.5 ppm. - มีอัตราการวัดค่าสูงถึง 50,000 ค่า/วินาที - รองรับ BechVue Software ได้
Exceeding industrial users expectation By Keysight Handheld Product อุปกรณ์วัดขนาดพกพาหลากหลายฟังก์ชันการใช้งานที่สามารถให้ท่านเลือกใช้งาน ให้เหมาะสมกับงานของท่าน
Other Products Function Generator/Arbitrary Waveform Generators | Frequency Counter &Timers | Data Acquisition | Oscilloscope Applications & Probes | Handheld Instruments | USB Modular Products | LCR Meter | DC Power Supplies | AC Power Sources & DC Loads | Power Meter | Power Sensors | Network Analyzers | Spectrum and Signal Analyzer| Signal Generators | Handheld RF Instrument.
AIR COMPRESSORS AIR DRYER MICROFILTERS เซาทเทิรน ครอส | เครื่องอัดลม | เครื่องทำลมแหง | เครื่องกรองลมใหสะอาด อีกหนึ่งผลิตภัณฑคุณภาพสูงจาก ประเทศออสเตรเลีย
SOUTHERN CROSS SCREW AIR COMPRESSORS
บริการออกแบบระบบลมอัดที่แหงสะอาดบริสุทธิ์สำหรับ เครื่องคัดแยกสีเมล็ดขาว อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมทั่วไป
-
บริการบำรุงรักษา ฉุกเฉิน 24 ชม. ทุกวัน พรอมมีอะไหลของแทจากโรงงานผูผลิต - ขาย - เชา - สัญญาบริการรายป - ตรวจซอม - อะไหลของแททุกยี่หอ
เปนเครื่องอัดลมแบบโรตารี่สกรูขับโดยตรง ไมมีชุดเกียร ขนาดมอเตอร 3 - 540 แรงมา หรือ 2 - 400 กิโลวัตต ปริมาณลมอัด 9 - 2624 cfm. แรงดัน up to 13 barg ชุดอัดลม Screw 5/6 อายุการใชงานมากกวา 15 ป มอเตอรประสิทธิภาพสูง TEFC IP 55 กันฝุนละออง 100% มีทั้งชนิดหลอลื่นดวยน้ำมันและชนิดไรน้ำมัน Oil Free สามารถทำงานไดดีในสภาพรอนชื้น - ฝุนละอองมาก
เครื่องทำลมแหง “แหงพิเศษ” แบบ Desiccant, PDP-70 oC
เครื่องทำลมแหง Refrigerated, PDP+3 oC
ชุดกรองฝุน ดักน้ำ-น้ำมัน ละเอียด 0.01 Micron/0.001 ppm
INTEGRATED INDUSTRIAL & ENGINEERING CO., LTD. บริษัท อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
1122 ซ.วชิระธรรมสาธิต 57 ถ.สุขุมวิท 101/1 บางจาก พระโขนง กรุงเทพฯ 10260 Tel : 0-2746-3400 (Auto) Fax : 0-2746-4440 E-mail : iieth@truemail.co.th
13-16 MAY 2015
Visit us at Booth Q8 Hall 102
• The latest technologies shared and transferred from Hexagon Metrology • Deliver the level of accuracy at 2.4 micron • Advance with PC‐DMIS Software • Equipped with after sales service professionals with over 18 years of experience • Reasonable price with high quality
"HEXAGON" CROMA 686
"HEXAGON" OPTIV LITE DCC 322 "JAGURA" CENTERLESS GRINDING MACHINE
"BATY" R14
axis
CHAMPION
THAIMACH SALES & SERVICE CO., LTD.
© 2014 Siemens Product Lifecycle Management Software Inc. Siemens and the Siemens logo are registered trademarks of Siemens AG. All other trademarks, registered trademarks or service marks belong to their respective holders.
ขอเชิญรวมงาน SPLM Thailand Machinery Roadshow Series 2015 ในเดือนพฤษภาคม 2558 นี้ รวมลุนของรางวัลมากมาย ภายในงาน ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com 02 692 3090-4 ตอ 114 www.hitachi-sunway-is.com
Leadership Siemens PLM Software Driving innovation for 29 of 30 top automakers.
Today’s cars are more intelligent, more connected—and more challenging than ever to produce. Software and electronics have become as important as vehicle mechanics. The greatest opportunity for innovation is now at the systems level—where these technologies come together. How will you take the lead? For 29 out of 30 automakers, Siemens PLM Software is key to the answer. Our smart innovation
platform helps automakers and suppliers manage collaboration, optimize processes and realize innovation—from planning and design through manufacturing and support. Find out why so many automotive companies rely on Siemens PLM Software to gain a competitive edge. siemens.com/plm/leader
Realize Innovation.
บริษัท ฮิตาชิ ซันเวย อินฟอรเมชั่น ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จ�ากัด 252/21 ชั้น 17 เมืองไทยภัทร ออฟฟศ ทาวเวอร 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวง/เขตหวยขวาง 10310 Tel. 02 693 2090-1 Fax. 02 693 2095 Email: enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com Website: www.hitachi-sunway-is.com
ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการคา
เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฏในนิตยสารมีจา� นวนมากและมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถประกาศความ เป็นเจ้าของลิขสิทธิไ์ ด้สมบูรณ์ หาก มีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนที่มีการ กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปแล้ว ทางนิตยสาร จะไม่ขอกล่าวซ�้า
การสงบทความเพื่อลงตีพิมพในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์เวิร์ดบันทึกเป็นรูป แบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียดประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกอง บรรณาธิการโดยตรงที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com
การสมัครสมาชิก
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุดเพือ่ เป็นแบบฟอร์ม สมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช� าระเงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 103 หรือ อีเมล marketing@mmthailand.com
การติดตอกับบรรณาธิการนิตยสาร
ทีมงานนิตยสารยินดีรบั ฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกีย่ วกับเนือ้ หาและรูปแบบของ นิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ใน นิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อได้ทั้งทางจดหมายตามที่ อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและการ บริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของ ผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏในนิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัว ของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
COPYRIGHT AND TRADEMARK
As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE
You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.greenworld@gmail.com
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP
You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 103 of at e-mail address: marketing@mmthailand.com
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR
The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.greenworld@gmail.com
THE MANIFEST OF COPYRIGHT
The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
Copyright© © Green World Publication Co., Ltd.
CONTENTS 30
APRIL 2015 VOL.13 No.146
www.mmthailand.com | www.factoryeasy.com
MODERN MANUFACTURER COVER STORY
Hydraulic Specialist Brand แบรนด์มือหนึ่งของคนไทย
32
INTERVIEW คอปโก้ เคมเทค ตอบโจทย์ความคุ้มค่า ด้วยเทคโนโลยีปั๊มอุตสาหกรรมระดับพรีเมี่ยม
46
54
58
มาลด D.O.W.N.T.I.M.E. กันเถอะ
การออกแบบเชิงวิศวกรรมกับการพัฒนาขีด ความสามารถในการผลิตของอุตสาหกรรม
เส้นทางสู่... การเป็นเจ้าของธุรกิจเงินล้าน ของคุณสมชาย ศรีประจันทร์ …มีวันนี้เพราะมุ่งมั่นและอดทน
PRODUCTIVITY BOOSTER
61
ELECTRIC TREND เซ็นเซอร์ตรวจวัดกระแสไฟฟ้า ส�าหรับมาตรวัดพลังงานไฟฟ้าในงาน อุตสาหกรรม
VERTICAL SCOOP
REAL LIFE
67
ENERGY ALEART ลดค่าใช้จ่ายพลังงานด้วยเทคโนโลยีปั๊ม ความร้อน (Heat Pump)
UP-TO-DATE 24 COMMUNITY UPDATE 26 SITUATION 85 INDUSTRAIL AGENDA SOURCING CORNER 20 SUPPLIERS INDEX 104 PURCHASING CATALOGUES 107 EDITOR’S PICK
16 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ออกแบบเพื่อการป้องกันมอเตอรที่ดีที่สุด พรอมสามารถแสดงคาตางๆ ครบถวน
• ขณะมอเตอร์ทำงาน : ป้องกันด้วยเงื่อนไข โปรเทคชั่น กระแสของมอเตอร์ • ขณะมอเตอร์หยุดทำงาน : ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของมอเตอร์
คุณสมบัติที่โดดเดน
TECHNICAL MATTER 70 GURU เทคนิคการท�าความสะอาดชิ้นส่วน (ตอนที่ 1)
72 PRINCIPLE
เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี CAD/CAE/CAM
74 WHITE PAPER
สถาปัตยกรรมระบบ เอพิคอร์ ERP เวอร์ชั่น 10
76 R&D CORNER
รถเข็นคนพิการแบบปรับยืนได้โดยไม่ต้องใช้มอเตอร์ไฟฟ้า
HORIZONTAL COMPETENCY 78 LOGISTICS DESIGN คุณภาพชีวิตพนักงานด้านโลจิสติกส์ Quality of Life of Logistics Personal
80 ALTERNATIVE ENERGY รอบรู้พลังงานไทยใน 10 นาที Thailand Energy in 10 minutes
83 BOTTOM LINE สถานการณ์ในปัจจุบันและโอกาสทางธุรกิจของเมียนมาร์ ตอนที่ 1: สถานการณ์ในปัจจุบัน Prevailing Situation and Business Opportunity of Myanmar Part 1: Prevailing Situation
86 REAL TIME เตรียมพร้อมรับมือกับ Internet of Things Be Ready to Cope Internet of Things
88 FACTORY 3.0 อุตสาหกรรมยางพาราไทย กับแนวทางลดปรากฏการณ์เรือนกระจก Thai Rubber Industry and Way to Minimize Greenhouse Gas Emissions
• ระดับการคุ้มครองมอเตอร์ขั้นสูง (High Level Protection Class) • ป้องกันมอเตอร์ด้านกระแสที่ครบถ้วน (Current based protection) - กระแสมอเตอร์เกิน (Over Current) - กระแสมอเตอร์ต่ำ (Under Current) - กระแสมอเตอร์ขาดเฟส (Phase Loss) - เฟสเข้ามอเตอร์ผิดปรกติ (Reverse Phase) - กระแสมอเตอร์ไม่สมดุล (Unbalance) - โรเตอร์ของมอเตอร์ไม่หมุน (Locked Rotor) - กระแสของมอเตอร์กระชากรุนแรง (Shock/Stall) - มอเตอร์กระแสรั่ว (Ground Fault) • ป้องกันมอเตอร์อุณหภูมิสูง (Sensed by PT100) • ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของมอเตอร์ได้ขณะ มอเตอร์หยุดการทำงานทุกครั้ง • แสดงผลค่าต่างๆ โดยจอ LED สีแดง สามารถแยกจอได้ด้วยสายยาว 2 เมตร - แสดงค่าการใช้กระแสเป็นตัวเลข (Load Current) - แสดงค่ากระแสที่รั่วเป็นตัวเลข (Earth Current) - แสดงค่าความเป็นฉนวนเป็นตัวเลข (Insulation resistance) - แสดงค่าเวลาการทำงานสะสม เป็นตัวเลข (Accumulated working time) - แสดงค่าเปอร์เซ็นต์การทำงานของโหลดเป็น บาร์กราฟ (% Load factor Round Bar graph) • มาตรฐานการสื่อสารส่งออกเป็น 4—20mA. • สามารถเพิ่มการสื่อสารข้อมูล การใช้งานผ่านเข้าระบบคอมพิวเตอร์ • Option 1 : สื่อสารผ่านเข้าอุปกรณ์อื่นๆ ได้โดย Module RTU/Modbus • Option 2 : Motor Working Recorder & Motor Communication with Program.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสำร 0-2769-8043 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com ที่ปรึกษา: ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมการผู้จัดการ: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร: จิรภัทร ข�ำญำติ เลขานุการกองบรรณาธิการ: จิดำภำ แจ้งสัจจำ กองบรรณาธิการ: ณัฐกฤตำ พืชนุกลู , คำวี สุขสำลี, สำวิตรี สินปรุ คอลัมนิสต์: พิชัย ถิ่นสันติสุข, ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง, พิชญ์ รอดภัย, ฉันทมน โพธิพิทักษ์, ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ, นเรศ เดชผล หัวหน้าฝ่ายศิลปกรรม: วรพจน์ บุญเกตุ ฝ่ายศิลปกรรม: กิตติศักดิ์ ม้วนทอง, ธนวัฒน์ เชียงโญ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหารฝ่ายขาย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค ประสานงานฝ่ายโฆษณา: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ายบัญชี: เข็มพร นิลเกษ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ เว็บมาสเตอร์: เชิดศักดิ์ แก้วอุทัย พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์ 0-2731-1155-60 โทรสาร 0-2731-0936 Owner : Green World Media (Thailand) Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8043 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Secretary: Jidapa Janksatja Editorial Staff: Nutgritta Puechnukul, Kawee Suksalee, Sawitree Sinpru Columnists: Phichai Tinsuntisook, Dr.Sittichai Farangthong, Pete Rotpai, Chantamon Potipituk, Natawudh Pintongkum, Nares Dechpol Art-Director: Worapot Boonyakate Graphic Designers: Kittisak Mounthong, Tanawat Chaingyo, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Khemporn Nilget Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Webmaster: Chedsuk Kelwuthai Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์ 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
18 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จิรภัทร ข�าญาติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail : jirapat.k@greenworldmedia.co.th
13th ANNIVERSARY
Vol.13 No.146 APRIL 2015
นโยบายภาครัฐหนุนเอสเอ็มอีไทย พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน เข้าสูเ่ ดือนทีข่ นึ้ ชือ่ ว่าร้อนทีส่ ดุ แห่งปีกนั แล้วนะคะ ช่วงนีเ้ ป็นช่วงทีต่ อ้ งดูแลสุขภาพกันเป็นพิเศษ โดยเฉพาะเรือ่ งอาหาร การกิน เพราะโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารมักเกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงฤดูร้อนเช่นนี้ค่ะ ความเคลื่อนไหวของภาคอุตสาหกรรมที่เอื้อประโยชน์ให้กับเอสเอ็มอี ในการพัฒนาเอสเอ็มอีไทยให้พร้อมก้าวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจที่น่าจับตามอง คงไม่พ้น 3 โครงการหลัก คือ โครงการเตรียมความพร้อม ภาคอุตสาหกรรมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย และโครงการเสริมสร้าง ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมสูก่ ารเป็นเถ้าแก่ใหม่ มุง่ เน้นการสร้างผูป้ ระกอบการให้สามารถเริม่ ต้นธุรกิจและด�าเนินธุรกิจให้ เติบโตและเข้มแข็ง โดยปีนี้มีการตั้งเป้าสร้างผู้ประกอบการใหม่ จ�านวน 1,890 ราย ทัง้ 3 โครงการขับเคลือ่ นโดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นโครงการต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2558-2559 เป็นอีกหนึ่งเรื่องราวดีๆ จากการสนับสนุนของภาครัฐนะคะ ส�าหรับ MODERN MANUFACTORING ฉบับต้อนรับฤดูรอ้ น มีเรือ่ งราวทีช่ วนให้ตดิ ตามเช่นเคยค่ะ เริม่ ต้นทีค่ อลัมน์ ใหม่ REAL LIFE บทสัมภาษณ์เรื่องราวที่น่าสนใจ ส่งต่อแนวคิด ค�าแนะน�า ประสบการณ์ตรงของผู้ที่ประสบความส�าเร็จ ในภาคอุตสาหกรรมทุกแขนง โดยฉบับนี้ เริ่มต้นด้วยเรื่องราวของคุณสมชาย ศรีประจันทร์ Managing Director บริษัท พรสถิตย์ พรีซิชั่น จ�ากัด ในเรื่องเส้นทางสู่การเป็นเจ้าของธุรกิจเงินล้าน… มีวันนี้เพราะมุ่งมั่นและอดทน จากการเป็นหนี้สินหลายสิบล้านในอดีต และด้วยความมุง่ มัน่ ขยัน อดทน ก็สามารถน�าพาแบรนด์พรสถิต พรีซชิ นั่ กลับมาต่อสูก้ บั การด�าเนินธุรกิจรับจ้างผลิตชิน้ ส่วน ที่เกี่ยวข้องในภาคอุตสาหกรรมได้ประสบความส�าเร็จจนถึงปัจจุบัน ติดตามในหน้า 58-60 นะคะ VERTICAL SCOOP ฉบับนี้น�าเสนอเรื่องการออกแบบเชิงวิศวกรรมกับการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตของ อุตสาหกรรมไทย ที่จะพาคุณผู้อ่านได้เข้าใจการออกแบบเชิงวิศวกรรมว่ามีความส�าคัญอย่างไรบ้างต่อภาคการผลิตของ ประเทศไทย โดยนอกจากสาระน่ารู้แล้ว ยังชวนคุณผู้อ่านได้พบกับเรื่องราวของผู้ประกอบการที่ได้ใช้การออกแบบ เชิงวิศวกรรมในการพัฒนาธุรกิจของตนเอง ติดตามได้ที่หน้า 54-57 ค่ะ ในคอลัมน์ ENERGY ALERT ฉบับนี้ คุณอัศวิน อัศวุตมางกุร ได้กล่าวถึงเรื่องลดค่าใช้จ่ายพลังงานด้วยเทคโนโลยี ปั๊มความร้อน หน้า 67-68 เริ่มตั้งแต่การท�าความรู้จักกับปั๊มความร้อน ตลอดจนประเภทการใช้งานของปั๊มความร้อน รวม ไปถึงเปรียบเทียบการใช้ปั๊มความร้อนของกลุ่มประเทศยุโรป เอเชีย ออสเตรเลียและอเมริกานะคะ ส�าหรับคอลัมน์ PRINCIPLE นัน้ รศ. ดร. ชัชพล ชังชู ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้กล่าวถึงเรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี CAD/CAE/CAM หน้า 72-73 ซึ่งเป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ช่วย หรือ Computer-Aided นั่นเอง และยังมีคอลัมน์อื่นๆ ที่น่าสนใจรออยู่นะคะ… อย่าลืมดูแลสุขภาพกายและใจในช่วง หน้าร้อนนี้นะคะ พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร
SUPPLIER INDEX | March 2015 หน้า
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
1, 30-33 แอโรฟลูอิด บจก. 2 โฮฟ คออินดัส บจก.
0-2577-2999 0-2284-1100
www.aerofluid.com www.hofcorindus.co.th
3, 34-37 คอปโก้ เคมเทค บจก.
0-2171-5391-2
www.copcochemtech.co.th
ข้อมูลบริษัท
4
เอสเอสไอ เชฟเฟอร์ ซิสเต็มส์ อินเตอร์เนชั่นแนล บจก. 0-2204-0205
www.ssi-schaefer.co.th
5 6 7
โปรชอป เซนเตอร์ บจก. ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก. เอบีบี บจก.
0-2181-2317 0-2717-1400 0-2665-1000
www.ProshopThai.com www.irct.co.th www.abb.com
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
9
ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2910-9728-29 www.tat.co.th
10
อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2746-3400
iieth@truemail.co.th
ไทยแมค เซลส์แอนด์เซอร์วิส บจก. แอมด้า บจก.
0-2361-3905-7 0-2105-0560
www.thaimach.com www.amda.co.th
HYAIR Hydraulic Specialist Brand แบรนด์มือหนึ่งของคนไทย Hof Hydraulic สินค้าไทย มาตรฐานโลก ผู้เชี่ยวชาญด้านปั้มอุตสาหกรรม, อาหาร, ยา, เคมีคอล, ของกินของใช้ ยี่ห้อ WILDEN, MOUVEX, QUATTRO FLOW, JUNG ผู้น�าตลาดด้านระบบคลังสินค้าและสายพาน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวางแผน ออกแบบ และการติดตั้ง ในสายงานที่เกี่ยวกับ การจัดระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ (Intralogistics) ผู้น�าเข้าอุปกรณ์ท�าความสะอาดอับดับ 1 ของโลกจากประเทศเยอรมัน Leader in Test and Measurement ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�าหรับระบบไฟฟ้าแรงสูงและไฟฟ้าแรงต�่า ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของ ประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก Technological Solutions For You เพาเวอร์ซีสเต็ม เครื่องอัดลม เครื่องท�าลมแห้ง เครื่องกรองลมให้สะอาด อีกหนึ่ง ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงจากกลุ่มประเทศยุโรป ประเทศอิตาลี Quality Services for Quality Product Autonics Sensors & Controllers
ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ บจก.
0-2693-2090-4
www.hitachi-sunway-is.com
Hitachi Sunway...End To End PLM Solutions Provider
กลอบอลซีล บจก. บีทีที ยูไนเต็ด บจก. เอเบ็กซ์ ไฮดรอลิคส์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2591-5256-7 0-2586-8733 0-2397-9200
www.globalseal.co.th www.BTTunited.com www.abexhyd.com/th
11 12 13, 52-53 15 17 19 21
คอนเควส อิควิปเม้นท์ บจก.
22 23 25
อินโนเวชั่น กรุ๊ป (ประเทศไทย) บจก. เพาเวอร์เรด บจก. อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.
27
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
29
โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.
39
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
41
เดรเกอร์ เมดิคัล (ประเทศไทย) บจก.
43
ซุ่นไถ่จั่น อิมปอร์ต บจก.
44 45
คอมโพแม็ก บจก. ไทร์เนอร์ยี่ อินสทรูเม้นท์ บจก.
47
คราสส์เทค บจก.
48
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
49-51 63 65 66 113
ไซ-อาร์กัส บจก. เอ็กซโปซิส บจก. ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก. ริททัล จ�ากัด แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
115
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
116
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร จ�าหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�่าครบวงจร "Your Reliable Partner" YOUR PARTNER FOR STAINLESS STEEL FITTINGS, VALVES & 0-2136-2317 www.conquest.co.th ACTUATORS 0-2375-5197 www.elastomer-polymer.com "Innovation Group“Polymer Technology Solutions Provider” 0-2322-0810-6 www.powerade.co.th Electrical & Energy Solutions 0-2937-1190 www2.emersonprocess.com EMERSON. CONSITION IT SOLVED. ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานใน 0-2186-7000 www.parker.com/thailand เครื่องจักรและเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก 0-2150-7808-10 www.motology.co.th ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร 0-2693-1222 www.interlink.co.th รับเหมาติดตั้ง 0-2744-0914 www.draeger.com Draeger.Technology for Life L.S.T. Group Seeking For Fasteners? We are your answer! ทุกค�าตอบ 0-2234-9555-8 www.grouplst.com ของสกรูน๊อตคุณภาพสูง 0-2105-0555 www.compomax.co.th ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี 0-2645-4588 www.trinergy.co.th จ�าหน่ายเครื่องมือวัดและทดสอบ ตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม ประเภทเครื่องจักร และอุปกรณ์ เทคโนโลยี 0-2732-1144 www.krasstec.com ต่างๆ รวมกว่า 30 แบรนด์ ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของ 0-2810-2000 www.tnmetalworks.com ประเทศไทย 0-2319-9933 www.zi-argus.com Industrial Automation, Everything Under Control 0-2559-0856-8 www.wire-southeastasia.com Tube Southeast Asia 0-2613-9166-71 www.inb.co.th ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย 0-2704-6580-8 www.rittal.com/th-en/ Rittal – The System. Faster – better – everywhere. 0-2865-2501-8 sales@magna.co.th Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูป 083-207-8888 www.crm.co.th แบบและทุกกลุ่มอุตสาหกรรม - Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers 0-2721-1801-8 www.alphac.co.th and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�าขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�าถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว
20 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Valves For Aseptic Applications Out products are diaphragm and seet valves with on-off function up to the control application matched with the valves , an extensive range of mechanicaland electrical equipment for monitoring and control is available.
WELCOME TO CONQUEST YOUR PARTNER FOR STAINLESS STEEL FITTINGS, VALVES & ACTUATORS
Innovative, Practical, Affordable -
Orbital Welding Controller Inverter Enclosed Weld Head Open-Frame Weld Head Wire Feed Units Tube-to-Tube Sheet Weld Head Orbital Cutting Saw Tube Squaring System Purging, Oxygen Analysers Welding Accessories
Fittings for Pharmaceutical Industry Product Stainless Steel Fittings comply with ASME BPE standards. Gaskets are made from compounds which are FDA approved and USP 87, 88 Pharmaceutical Class VI certified.
Twist Max Actuators
Small, Strong, Light EGMO is proud to introduce Twist Max, the new series of innovated actuators which offer maximum power in compact size. The unique design saves you as much space as possible! Twist Max actuator are pneumatically operated, and their special structure guarantees increased life cycle and reliability.
Sanitary Valves, Sample Coolers, and SIP Accessories Pressure Regulating Valves - Pressure Reducing Valves, outlet pressure reduction - Back Pressure Regulating Valves, inlet pressure regulation Control Valves Ball Valves - 2-way - 3-way
บริษัท คอนเควส อควิปเมนท จำกัด (
CONQUEST EQUIPMENT CO., LTD.) 56 Moo 2, Soi Kanchanaphan Bangplee-Tamru Rd., Phraeksamai,Muang, Samutprakarn 10280
Check Valves Clean (Pure) Steam SIP Specialties - Steam Traps - SIP Specialties Sample Cooler – Heat exchangers Sight Glass Gas Distribution Manifolds
Tel: 0-2136-2317 086-408-0944 Fax: 02-136-2314
Email: natcha.r@conquest.co.th Website: www.conquest.co.th
COMMUNITY UPDATE
APRIL 2015
อินเตอรลิ้งค โครงการแขงขัน
Cabling Contest สุดยอดฝีมือสายสัญญาณ บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) ผูน้ า� อันดับ 1 ในธุรกิจข่ายสาย สัญญาณสื่อสารคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคมของประเทศไทย บริษัทฯ ได้เล็งเห็น ความส�าคัญของการพัฒนาทักษะและความสามารถของนักเรียนนักศึกษา ทีจ่ ะเป็นก�าลัง ส�าคัญของประเทศต่อไปในอนาคต บริษทั ฯ จึงได้จดั การแข่งขัน Cabling Contest ต่อเนือ่ ง เป็นปีที่ 3 ทัว่ ทุกภูมภิ าคภายใต้การสนับสนุนของผลิตภัณฑ์ยหี่ อ้ LINK จากสหรัฐอเมริกา ซึง่ การแข่งขันจะจัดทุกภูมภิ าคอย่างต่อเนือ่ ง โดยในครัง้ นีน้ บั เป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ และขวัญก�าลังใจทีส่ มเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานถ้วยรางวัลให้แก่ผชู้ นะเลิศในครัง้ นี้ พร้อมทัง้ จะได้รบั เงินรางวัลมูลค่า 100,000 บาท นอกจากนั้นรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง จะได้รับ ถ้วยเกียรติยศจากนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุตต์ จันทร์โอชา พร้อมเงินรางวัล 50,000 บาท และรางวัลรองชนะเลิศ อันดับสอง จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร คุณพรชัย รุจปิ ระภา พร้อมเงินรางวัล 30,000 บาท
ชไนเดอรเผยวิสัยทัศนปี 2558 ชู 4 กลยุทธ
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เผยวิสยั ทัศน์ และทิศทางการด�าเนินธุรกิจในประเทศไทย ปี 2558 ด้วยความมุง่ หวังต้องการเข้าถึงลูกค้าให้มากยิง่ ขึน้ บริษทั ฯ พัฒนากลยุทธ์ 4 เสา หลักทีม่ งุ่ เน้นเสริมสร้างศักยภาพในการน�าเสนอโซลูชนั ครบวงจร รวมถึงการบริการและการ สนับสนุนให้แก่ลกู ค้าทัว่ ประเทศ โดยจะท�างานร่วมกันอย่างใกล้ชดิ กับพันธมิตรธุรกิจเพือ่ สร้าง เครือข่ายพันธมิตรที่แข็งแกร่งไว้รองรับโอกาสทางธุรกิจในแต่ละภาคตลาด โดยเฉพาะ การขยายไปยังตลาดต่างจังหวัดมากขึน้ คุณมาร์ค เพลิทเิ ยร์ ประธาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทยกล่าวว่า โลกพลังงาน ก�าลังเปลีย่ นโฉมหน้าจากระบบพลังงานพัฒนาไปสูร่ ะบบกระจายศูนย์ มีแหล่งก�าเนิดพลังงาน ทีห่ ลากหลาย สาเหตุหลักของการเปลีย่ นแปลงมาจากสองปัจจัยด้วยกัน นัน่ คือ เรือ่ งของ เทคโนโลยีสารสนเทศในภาคพลังงานเอง และมีแหล่งพลังงานทางเลือกใหม่ๆ เกิดขึ้น โดยสามารถขยายเพิม่ ตามระดับความต้องการได้ “ตัวเลขการใช้พลังงานทัง้ หมดนับตัง้ แต่ปจั จุบนั ไปจนถึงปี 2593 หรือในอีก 35 ปีขา้ งหน้า จะโตเป็นสองเท่า รวมถึงการใช้ไฟฟ้าในปัจจุบนั จนถึงปี 2573 หรืออีก 15 ปีขา้ งหน้า ก็จะเพิม่ เป็นสองเท่าเช่นกัน นัน่ หมายความว่าจะมีการลงทุนด้านพลังงาน
มิตซูบิชิ อิเล็คทริค เปิดตัวระบบกล้องรักษาความปลอดภัยคุณภาพสูง มิตซูบชิ ิ อิเล็คทริค คอร์ปอเรชัน่ (Mitsubishi Electric Corporation) ผูน้ า� ด้านอุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ระดับโลก ประกาศว่า ในเดือนมิถนุ ายนทีก่ า� ลังจะถึงนี้ บริษทั จะเปิดตัวระบบกล้องวิดโี อดิจติ อล รักษาความปลอดภัยรุน่ ใหม่ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง คุณสมบัตริ อบด้าน และปรับขนาดความละเอียดภาพได้ตาม ความต้องการ เป็นการผนวกรวมเทคโนโลยีระบบกล้องซีรสี่ ์ 7000 และระบบเครือ่ งบันทึกวิดโี อซีรสี่ ์ 5000 ของมิตซูบชิ ิ อิเล็คทริค โดยมีจดุ เด่นส�าหรับการใช้งานเพือ่ รักษาความปลอดภัยต่างๆ โดยระบบกล้องสามารถ บันทึกภาพในอัตรา 30 เฟรม/วินาที ด้วยความละเอียดระดับ Full HD (2.0M พิกเซล) พร้อมกันจากกล้อง ทัง้ หมด 16 ตัว ด้วยเทคโนโลยีบนั ทึกภาพความคมชัดระดับเหนือชัน้ ของ มิตซูบชิ อิ เิ ล็คทริครวมทัง้ ระบบซูม แบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบกล้องซีรสี่ ์ 7000 มาพร้อมกับเทคโนโลยีปรับความไวของแสงแบบดิจติ อลและระบบชดเชยแสง ทัง้ ภาพ เพือ่ ให้ภาพออกมาคมชัดและชัดเจนยิง่ ขึน้ โดยฟังก์ชนั่ ความไวแสงดิจติ อลนัน้ ช่วยโฟกัสภาพให้ชดั และไว ช่วยก�าจัดภาพค้าง (after-image) และความมัวส�าหรับวัตถุเคลือ่ นทีเ่ ร็วในสภาวะแสงน้อย โดยระบบ กล้องซีรสี่ น์ มี้ คี วามไวแสงเหนือกว่าถึงแปดเท่าเมือ่ เทียบกับรุน่ ทัว่ ไป ส�าหรับเครือ่ งบันทึกวิดโี อซีรสี่ ์ 5000 นัน้ สามารถเชือ่ มต่อได้สงู สุดถึง 32 เครือ่ ง (ต่อตรง 16 เครือ่ ง และผ่านระบบกลางอีก 16 เครือ่ ง) ซึง่ สามารถ บันทึกภาพได้นานยิง่ ขึน้ ด้วย HDD ขนาดใหญ่ นอกจากนี้ ยังสามารถควบคุมตรวจสอบระบบในระยะไกล ได้ผา่ นคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต เพือ่ ให้ผใู้ ช้งานปรับใช้ได้ตามความต้องการ ระบบกล้องดิจติ อลรักษาความปลอดภัยของมิตซูบชิ ิ อิเล็คทริค มีความเหมาะสมส�าหรับการใช้งานใน อาคาร โรงงานขนาดใหญ่ ร้านสะดวกซือ้ ซุปเปอร์มาร์เก็ต และสถานทีอ่ นื่ ๆ โดยทางบริษทั มัน่ ใจว่า ระบบ ใหม่ลา่ สุดทีป่ ระกอบด้วยกล้องซีรสี่ ์ 7000 และเครือ่ งบันทึกซีรสี่ ์ 5000 นัน้ จะได้รบั การยอมรับเป็นอย่างดี จากลูกค้าผูท้ ตี่ อ้ งการระบบรักษาความปลอดภัยทีม่ คี ณ ุ ภาพและสมรรถนะสูงทัว่ โลก 26 26 MODERN | MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINEMAGAZINE
พีอีเอ เตรียมจัดงาน
ไทยแลนด์ ไลท์ ต ้ ิ ง แฟร์ ครั้งแรก ระดมสุดยอดเทคโนโลยีระบบแสงสว่าง ต้อนรับเออีซี
ก
ารไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ พีอีเอ จับมือเมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต ผู้ เชี่ยวชาญด้านการจัดงานแสดงสินค้า จากประเทศเยอรมนี และดิ เอ็กซิบสิ ทุม่ งบกว่า 10 ล้านบาท จัดงาน ไทย แลนด์ ไลท์ติ้ง แฟร์ 2015 (Thailand Lighting Fair 2015) ในระหว่างวันที่ 19-21 สิงหาคม 2558 ณ อาคาร 106 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค โชว์สดุ ยอดเทคโนโลยีลา่ สุดด้าน ไฟฟ้าและแสงสว่างจากผู้ผลิตชั้นน�า กว่า 200 บริษัท พร้อมชี้ช่องทาง ขยายตลาดธุรกิจด้านระบบไฟฟ้าและ แสงสว่ า งในไทยและกลุ ่ ม ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) นายสาธิต รุง่ จิรธนานนท์ รองผูว้ า่ การ รักษาการผู้ว่าการพีอีเอ กล่าวว่า งานไทย แลนด์ ไลท์ ติ้ ง แฟร์ 2015 มุ ่ ง น� า เสนอ นวัตกรรมด้านไฟฟ้าและแสงสว่างเพื่อการ ประหยัดพลังงาน เป็นการส่งเสริมให้ทกุ ภาค ส่วนใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็น มิตรกับสิง่ แวดล้อมตามนโยบายรัฐบาล ทัง้ นี้ พีอีเอ ได้ร่วมกับบริษัท เมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต
จากประเทศเยอรมนี ซึ่ ง มี ประสบการณ์ในการจัดงาน แสดงสินค้าชัน้ น�ากว่า 100 งาน ทัว่ โลก รวมถึงงานแสดงสินค้าด้าน ไฟฟ้าและแสงสว่างที่ใหญ่ที่สุดใน โลก คือ งาน “Guangzhou International Lighting Exhibition” และ “Light + Building” ซึ่งเป็นงาน ด้านไฟฟ้าแสงสว่างและอาคาร ที่เยอรมนี การจัดงานในครัง้ นีม้ งุ่ หวังให้งาน “Thailand Lighting Fair” เป็นศูนย์รวมสินค้าและ บริการด้านไฟฟ้าและแสงสว่างที่ครบวงจร และทันสมัยที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ภายในงานจะจัดแสดงเทคโนโลยีด้าน ไฟฟ้าและแสงสว่างส�าหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจประเภทต่างๆ เทคโนโลยีแอลอีดี และพลังงานสะอาด อุปกรณ์และอะไหล่ ส�าหรับระบบแสงสว่าง เทคโนโลยีแสงสว่าง ส�าหรับพื้นที่กลางแจ้งและพื้นที่สาธารณะ เช่น ถนน อุโมงค์ สนามกีฬา แสงสว่าง ส�าหรับที่อยู่อาศัย ระบบแสงสว่างอัจฉริยะ แสงสว่างในอาคาร หลอดไฟและโคมไฟ รวม ถึ ง การทดสอบและการรั บ รองมาตรฐาน ระบบแสงสว่าง โดยมีสินค้าและบริการที่ หลากหลายจากผูผ้ ลิตกว่า 200 บริษทั ชัน้ น�า จากทัง้ ในประเทศ ไทยและต่างประเทศ อาทิ จีน ไต้หวัน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น อินเดีย สิงคโปร์ และมาเลเซีย นอกจากนี้ยังมีการจัดสัมมนา ให้ความรู้แก่ผู้เข้าชมงาน ในหัวข้อต่างๆ ที่ น่าสนใจ เช่น ทิศทางและแนวโน้มด้านการ ออกแบบแสงระดับสากล ความรู้ด้านการ ออกแบบแสงของเมืองต่างๆ พร้อมกรณี
ศึกษาด้านการออกแบบแสงจาก ผู้ออกแบบชื่อดัง และ Smart Lighting, Modern Lighting Solutions เป็นต้น นายสาธิต กล่าวเพิ่มเติมว่า ปัจจุบันพีอีเอ มีภารกิจในการผลิต และจ�าหน่ายไฟฟ้าแก่ผู้ใช้งานใน 74 จังหวัดของไทย คิดเป็นร้อยละ 99.4 ของทั้งประเทศ โดยในปี 2558 จะด�าเนิน โครงการสว่างไสวทั่วไทย จ่ายไฟทุกครัว เรือน ด้วยงบประมาณกว่า 20,000 ล้านบาท ประกอบด้วย การขยายเครือข่ายให้ทุกครัว เรือนมีไฟฟ้าใช้ภายในเดือนธันวาคม 2558 การก่อสร้างโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) โครงการปรับปรุงระบบสายส่งเคเบิล ใต้ดินในเมืองใหญ่ 12 เมืองหลัก โครงการ ก่อสร้างสถานีย่อย 4 สถานีในพื้นที่เขต เศรษฐกิจพิเศษชายแดน 5 แห่งตามนโยบาย รัฐบาล และโครงการเปลีย่ นหลอดไฟฟ้าทาง หลวงเป็นหลอดแอลอีดีจ�านวน 400,000 หลอด นายนิคม เลิศมัลลิกาพร ตัวแทนเมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต ประจ�าประเทศไทย กล่าวว่า งานไทยแลนด์ ไลท์ตง้ิ แฟร์ 2015 เป็นโอกาส ครั้งส�าคัญของผู้ผลิตในการแนะน�าสินค้า บริการ และนวัตกรรมล่าสุด เพื่อขยายฐาน ลูกค้าและสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ สร้างแบรนด์และกระชับสัมพันธ์กับลูกค้า ตลอดจนเป็นโอกาสในการรับรู้ข้อมูลและ แนวโน้มตลาดด้านไฟฟ้าและแสงสว่างทั้งใน ประเทศไทย ซึ่ ง มี มู ล ค่ า ตลาดรวมกว่ า 25,000 ล้านบาท และประเทศในประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่ที่มีประชากรมากกว่า 600 ล้าน คน เพือ่ น�าไปสูก่ ารขยายธุรกิจและการลงทุน ในภูมิภาคนี้ต่อไป คาดว่างานนี้จะมีผู้เข้าชม กว่า 10,000 คน โดยมีทั้งผู้ออกแบบระบบ แสงสว่ า ง สถาปนิ ก วิ ศ วกร ผู ้ รั บ เหมา ก่อสร้าง นิคมอุตสาหกรรม โรงแรม โรง พยาบาล ห้างสรรพสินค้า องค์กรและสมาคม ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ หน่วยงานราชการท้องถิน่ อบต. อบจ. และกรุงเทพมหานคร หลังจากนี้ทางพีอีเอ มีแผนจะเดินสาย จัดงานสัมมนาให้ความรูแ้ ก่ผปู้ ระกอบการใน จังหวัดต่างๆ อาทิ อุบลราชธานี ภูเก็ต ระยอง และในต่างประเทศ เช่น จีน ไต้หวัน พม่า เวียดนาม เป็นต้น เพื่อประชาสัมพันธ์งาน ไทยแลนด์ ไลท์ติ้ง แฟร์ 2015 ให้เป็นที่รู้จัก ของกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น ผู้สนใจเข้าร่วมแสดงสินค้าสามารถติดต่อ ฝ่ายขายงาน Thailand Lighting Fair 2015 ได้ที่หมายเลข 02 641 5483 # 100, 111, 112 และ 117 อีเมล์ info@theexhibiz.com หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.thailandlightingfair.com
P1D is a cylinder design of the highest possible quality, every detail has been thought through, without making any compromises. It has a large number of innovations which could only be achieved by using the best possible materials and methods. The result is a complete family of ISO/VDMA cylinders, of which we are very proud. P1D is a high technology cylinder design for just about every conceivable application, both simple and highly complex.
SITUATION
APRIL 2015
UNEP หารือประสิทธิภาพพลังงานของอุปกรณ์แสงสว่าง
ส�านักโลจิสติกส์จับมือ “เอเซนเทค” จัดเต็มเทคโนโลยี
United Nations Environment Programme (UNEP) ได้ จัดการประชุม 11th lites.asia Meeting (Lighting Information and Technical Exchange for Standards) ในวันที่ 3 – 4 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ผ่านมา ณ United Nations Building ถ.ราชด�าเนินนอก กรุงเทพฯ โดยมีผู้แทนจากประเทศในเอเชีย ออสเตรเลีย และฝรั่งเศส เข้าร่วมประชุม การประชุมในครั้งนี้ เกีย่ วกับงานด้านการตรวจติดตาม พิสจู น์ และบังคับใช้กฎระเบียบ (Monitoring, Verification and Enforcement: MVE) รวมถึงหารือเกี่ยวกับประสิทธิภาพพลังงานของอุปกรณ์แสงสว่างในภูมิภาคเอเชีย และน�าเสนอผลการทดสอบเปรียบ เทียบค่าประสิทธิภาพพลังงานของหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์และหลอด LED ในเอเชีย รายละเอียดเพิม่ เติมดูได้จาก เวปไซต์ http://www.lites.asia/
- เสริมศักยภาพผู้ประกอบการไทย
คุณญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์ ประธานกรรมการ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) เปิ ด เผยว่ า ได้ ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ กั บ ส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการ ส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs ที่มีเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ให้เติบโตอย่างยั่งยืน โครงการความร่วมมือครั้งนี้ แสดงถึงการประสานการ ท� า งานร่ ว มกั น ของหน่ ว ยงานรั ฐ ในมิ ติ ใ หม่ ตอบสนอง แผนงานรัฐ อย่างรวดเร็ว และมุ่งประโยชน์สูงสุดสู่กลุ่ม เป้าหมายเดียวกัน คือ กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs โดยมี บสย. ท�าหน้าทีค่ า้� ประกันสินเชือ่ ถ่ายทอดโนว์ฮาวด้านการ ค�า้ ประกัน เอือ้ ประโยชน์สงู สุดแก่ผปู้ ระกอบการ SMEs อาทิ เมือ่ ปีทผี่ า่ นมา บสย. ได้เชิญผูท้ รงคุณวุฒจิ ากหน่วยงานด้าน ค�้ า ประกั น จากสาธารณรั ฐ เกาหลี ( เกาหลี ใ ต้ ) มาร่ ว ม ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ท่ี จ ะเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้ กับผู้ประกอบการต่อไป เช่น การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ทางปัญญา ซึ่งถือเป็นโนฮาวด์ ใหม่ในประเทศไทย
ส�านักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการ เหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับบริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดท�าโครงการ“ส่งเสริมการปรับ กระบวนการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ด ้ ว ยการใช้ เ ทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode เพื่อส่งเสริม บสย.ผนึก สวทช. ให้ผู้ประกอบการน�าเทคโนโลยี RFID และ Barcode มา สงเสริม SMEs กลุมนวัตกรรม ใช้ ใ นการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ภ ายในองค์ ก รได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ เปิดตัวโครงการอย่างเป็นทางการโดยมี ผู้ประกอบการกว่า 100 รายร่วมในงาน พร้อมปาฐกถา บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) พิเศษเรื่อง ส�านักโลจิสติกส์กับการส่งเสริมการใช้ RFID ลงนามความร่วมมือกับ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ ในยุค Digital Economy คุณอนงค์ ไพจิตรประภาภรณ์ ผู้อ�านวยการส�านัก เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เชื่อมโยงจุดแข็ง 2 หน่วยงาน โลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ รัฐ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs กลุ่มเทคโนโลยี กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวภายหลังการเปิดโครงการ และนวัตกรรม ต่อยอดธุรกิจ เพิม่ โอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุน ส่งเสริมการปรับกระบวนการจัดการโลจิสติกส์ด้วยการใช้ เทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcodeว่า ส�านักโลจิสติกส์เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาส่งเสริม ระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรมตลอดโซ่อุปทาน โดยการ เสนอแนะนโยบายและแผนงานในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ อุ ต สาหกรรม ด� า เนิ น การพั ฒ นาส่ ง เสริ ม ระบบบริ ห าร ผศ.ดร.ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์ หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีการเคลือบผิวโลหะ สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ เ ชื่ อ มโยงตลอดโซ่ อุ ป ทานของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (MMRI) เปิดเผยถึงนวัตกรรมล่าสุด GN Coating ทีใ่ ช้ในการเคลือบผิวเหล็ก เพือ่ ป้องกันเหล็ก อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย จั ด ท� า มาตรฐานและตั ว ชี้ วั ด จากการกัดกร่อนและการเกิดสนิมในภาวะการกัดกร่อนสูง เช่น บริเวณใกล้น�้าทะเล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเทคโนโลยีนี้ ประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์อุตสาหกรรม สร้างองค์ความรู้ จะเข้ามาตอบโจทย์ความต้องการของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ก่อสร้าง ปิโตรเคมี และขุดเจาะปิโตรเลียมกลางทะเล และพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ทั้งในภาครัฐและภาค โดยทาง MMRI จะน�านวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นมานี้ไปเปิดตัวในส่วนจัดแสดงพิเศษภายในงานแสดงสินค้านานาชาติ เอกชน และเป็นศูนย์กลางข้อมูลโลจิสติกส์อุตสาหกรรม เพื่ออุตสาหกรรมการเตรียมผิวโลหะ สี และการเคลือบผิว Surface & Coatng 2015 ระหว่างวันที่ 24 – 27 มิถุนายน ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย 2558 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยด�าเนินงานตามแผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ อุตสาหกรรม พ.ศ.2555-2559 ใน 3 ยุทธศาสตร์หลัก ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นมืออาชีพด้าน การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ใ นสถานประกอบการของภาค อุตสาหกรรม (2) ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้เกิดความร่วม มือและการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยธุรกิจในโซ่อุปทานของ ภาคอุตสาหกรรม และ (3) ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการ สร้างปัจจัยเอื้อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของ โซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ทั้งนี้ส�านักโลจิสติกส์ ได้มอบหมายให้บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดท�าโครงการ ส�าหรับกิจกรรมเปิดโครงการในวันนี้ถือว่า ประสบความส�าเร็จ เพราะมีผู้สนใจร่วมสัมมนาเกินความ คาดหมาย และที่ ส� า คั ญ มี ผู ้ ป ระสงค์ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ เกินจ�านวนที่ตั้งไว้
หนุนใช้เทคโนโลยีต่อยอดธุรกิจ
MMRI โชว์นวัตกรรมเคลือบผิวไร้สนิม
28 28 MODERN | MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINEMAGAZINE
รมว. พาณิชย์ ผนึกก�าลังรัฐ-เอกชน เร่งขยายการค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว
‘พาณิชย์’ ใช้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเป็นหัวหอกเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดน ตั้งเป้าดันยอดทะลุ 1.5 ล้านล้านบาทภายในปีนี้ เผยผลการหารือกับสปป.ลาว ตกลงเพิ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน ทุกด้าน ด้านมหกรรมการค้า ชายแดนคึกคัก ประชาชนทั้งไทยและสปป.ลาว แห่ช็อปสินค้า คาดเงินสะพัด ไม่ ต�่ากว่า 100 ล้านบาท พล.อ. ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า กระทรวงพาณิชย์ได้จัดคณะผู้แทนการค้าภาครัฐและเอกชนเดินทางมายังเขต พั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร โดยได้ พ บปะหารื อ กั บ คุ ณ บุ น เพ็ ง มูนโพไซ รัฐมนตรีประจ�าห้องว่าการรัฐบาล สปป.ลาว เพื่อเพิ่มความร่วมมือ ในการขยายการค้าชายแดนไทยกับสปป.ลาวให้ขยายตัวเพิ่มขึ้น 1.5 เท่าภายใน 3 ปี จากปัจจุบันที่มูลค่าการค้าระหว่างกันมีประมาณ 1.51 แสนล้านบาท และยัง จะเป็นส่วนช่วยเสริมให้เป้าหมายการค้าชายแดนในภาพรวมกับประเทศเพื่อนบ้าน ในปีนี้ที่ตั้งเป้าไว้ 1.5 ล้านล้านบาทเกิดขึ้นได้จริง “กระทรวงพาณิ ช ย์ ไ ด้ ด� า เนิ น การผลั ก ดั น การค้ า ชายแดนให้ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะใช้โอกาสและประโยชน์จากการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ที่ขณะนี้รัฐบาลได้อนุมัติให้มีการจัดตั้งแล้ว 6 แห่งใน จ.ตาก มุกดาหาร สระแก้ ว สงขลา ตราด และหนองคาย โดยจะจั ด กิ จ กรรมร่ ว มกั บ ประเทศ เพื่ อ นบ้ า นที่ มี พื้ น ที่ ติ ด กั บ เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ในการเพิ่ ม ความร่ ว มมื อ ในการขยายการค้า ซึ่งได้จัดไปแล้วที่จ.ตาก และจัดที่มุกดาหารในครั้งนี้ โดยมีแผน ที่จะจัดตั้งพื้นที่จังหวัดอื่นๆ ต่อไป”
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 29
COVER STORY
“Friendly Brand for Innovative Partner in Fluid Service
Mr. Aerofluid มือหนึ่งไฮดรอลิกส์ จ
ตัวแทนจ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ นิวแมติก และออโตเมชั่น แบรนด์ชั้นน�ำ พร้อมทีมงานผู้ช�ำนาญการ ส�ำหรับกระบวนการผลิตในทุกภาคอุตสาหกรรม
กลุม่ บริษทั แอโรฟลูอดิ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2535 โดย ดร.กฤษดา อัครพัทธยากุล กรรมการผูจ้ ดั การ เป็นผูร้ เิ ริม่ ก่อตัง้ จากการท�ำสายไฮดรอลิกส์เป็นหลัก ต่อมา ได้ขยายธุรกิจเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ แบรนด์ชนั้ น�ำหลายยีห่ อ้ และเจริญเติบโตสู่การให้บริการงานสร้างระบบต้นก�ำลังไฮดรอลิกส์ภายใต้ แบรนด์ HYAIR และซ่อมบ�ำรุงระบบไฮดรอลิกส์ นิวแมติกส์ ปัจจุบันพัฒนา ก้าวสูง่ านสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลแบบครบวงจร พร้อมทัง้ มีศนู ย์ฝกึ อบรมส�ำหรับบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมให้สามารถดูแลงานด้านการบ�ำรุง รักษาเครื่องจักรแบบเชิงรุกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดค่าใช่จ่าย เพิ่มราย ได้ และยืดอายุการใช้งานของเครือ่ งจักร ด้วยทีมงานผูเ้ ชีย่ วชาญการทีป่ ระจ�ำ อยู่ 7 สาขา ทั่วประเทศ ภายใต้ระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2008, ISO 14001 : 2004 และอยูร่ ะหว่างการท�ำระบบคุณภาพ ISO 18001 : 2007
“AEROFLUID CHONBURI BRANCH”
เทคโนโลยีการตรวจวัด และการก�ำจัด สิ่งปนเปื้อนในระบบไฮดรอลิกส์พร้อม ทีมงานผู้เชี่ยวชาญ
แอโรฟลูอิด
เปิดบ้านต้อนรับกลุ่ม อุตสาหกรรมภาคตะวันออก ดร.กฤษดา อัครพัทธยากุล กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ บริษทั แอโรฟลูอดิ กรุป๊ เล็งเห็นการเจริญเติบโตของแหล่ง อุตสาหกรรมภาคตะวันออก จึงมีนโยบายสร้างศูนย์ซ่อม ไฮดรอลิกส์แห่งที่ 2 ขึน้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าในด้านการให้บริการด้านระบบและอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ โดยก�ำหนดพร้อมให้บริการเดือนกรกฎาคม 2558 นี้
Product Sales
ากผู้น�ำด้านระบบต้นก�ำลังไฮดรอลิกส์ พัฒนาสู่ผู้สร้างระบบต้นก�ำลังโรงไฟฟ้า พลังงานชีวมวล โครงการโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาด 9.9 MW. มูลค่ากว่า 500 ล้านบาท บริ ห ารงานออกแบบก่ อ สร้ า งโดย บริ ษั ท เค พี เอ็น กรีน เอ็นเนอจี โซลูชนั่ จ�ำกัด
เราคือผู้น�ำการผลิต และน�ำเข้าอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ นิวแมติกส์ และออโตเมชั่นแบรนด์ชั้นน�ำจากยุโรป และอเมริกา อาทิ
ระบบไฮดรอลิกส์เป็นหัวใจส�ำคัญของเครื่องจักร จึง จ�ำเป็นต้องได้รับการดูแล และควบคุมสิ่งสกปรกอย่างดี เยี่ยม เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรไฮดรอลิกส์ โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายระหว่างการผลิต สาเหตุ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ระบบไฮดรอลิกส์ชำ� รุดเสียหาย 75% เกิดจาก สิ่งสกปรกที่ปนเปื้อนอยู่ในน�้ำมันไฮดรอลิกส์ ซึ่งอาจจะ เปรียบเสมือนเลือดในร่างกาย บริษัท แอโรฟลูอิด จ�ำกัด ให้ความส�ำคัญกับการ ท�ำงาน การถ่ายทอด และการให้ค�ำปรึกษาด้านการบ�ำรุง รักษาไฮดรอลิกส์เชิงรุก ด้วยความร่วมมือกับทาง HYDAC ซึง่ เป็นผูน้ ำ� เทคโนโลยีในการตรวจสอบ โดยมี รศ.ดร.สุรพล ราษฎร์นุ้ย พร้อมด้วยทีมงานผู้เชี่ยวชาญกว่า 23 ปี เพื่อ ให้บริการตรวจสอบสภาวะน�้ำมันไฮดรอลิกส์ และให้ ค�ำแนะน�ำแนวทางการป้องกัน การก�ำจัดสิ่งปนเปื้อนใน ระบบไฮดรอลิกส์ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง และ การยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ แนวทางการตรวจสอบ โดยเริ่มจากการสุ่มตัวอย่าง น�้ ำ มั น ด้ ว ยอุ ป กรณ์ เ ฉพาะด้ า น และที ม งานที่ มี ค วาม ช�ำนาญ หลังจากนั้นน�ำมาวิเคราะห์ผ่านเครื่อง Particle Counter ในห้องทดสอบ (Lab Oil) ทีไ่ ด้คณ ุ ภาพมาตรฐาน
30 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Cover-story1.indd 30
7/3/2015 3:36:59 PM
“Friendly Brand for Innovative Partner in Fluid Service
ในกรณีที่ลูกต้องการทราบผลการวิเคราะห์ นํ้ามันแบบเร่งด่วน เรามีรถทดสอบเคลื่อนที่ (MobileLab Van) พร้อมส�ำหรับให้บริการทีห่ น้า งาน (On-Site Service) เพื่อวิเคราะห์หาชนิด ของสิ่งสกปรกรวมถึงแนะน�ำการป้องกัน และ ก�ำจัดสิง่ สกปรกในระบบไฮดรอลิกส์ดว้ ยเครือ่ งมือ ป้องกัน (Filtration Unit) ที่มีประสิทธิภาพ โดย ทีมงานผูช้ ำ� นาญการและประสบการณ์ดา้ นนีโ้ ดย เฉพาะ
สิ่งปนเปื้อนชนิดนํ้า หากตรวจพบ “นาํ้ ” ผสมอยูใ่ นนาํ้ มันไฮดรอลิกส์ เกินกว่ามาตรฐาน จะส่งผลให้นํ้ามันเสื่อมคุณภาพ เกิดสนิมขึ้นกับตัวอุปกรณ์ในระบบไฮดรอลิกส์ ซึ่ง ลักษณะของการมีนาํ้ เข้าไปผสมในนาํ้ มันสามารถ สังเกตได้จากสีของนํ้ามันที่เปลี่ยนไปเป็นสีขุ่น มัว แต่จะไม่สามารถระบุได้ถงึ ปริมาณนาํ้ ทีผ่ สม อยู่ โดยมาตรฐานไม่ควรเกิน 300 ppm
HYDAC Monitoring Technology ด้วยเทคโนโลยีการตรวจสอบสภาวะระบบไฮดรอลิกส์จาก HYDAC ท�ำให้เราสามารถ ตรวจสอบ และวิเคราะห์ถงึ รากของสาเหตุ รวมถึงแหล่งทีม่ าของสิง่ ปนเปือ้ น (Contamination) ในระบบไฮดรอลิกส์ ที่สามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ใหญ่ๆ ดังนี้ วัสดุแข็ง นํ้า อากาศ และ ความร้อน ซึ่งเป็นตัวการส�ำคัญท�ำให้นํ้ามันไฮดรอลิกส์เสื่อมสภาพ และส่งผลให้อุปกรณ์ ไฮดรอลิกส์สึกหรอเร็วกว่าอายุการใช้งานที่ควรจะเป็น
สิ่งปนเปื้อนชนิดวัสดุแข็ง
หากพบสิ่ ง ปนเปื ้ อ นวั ส ดุ แ ข็ ง จะส่ ง ผลให้ อุปกรณ์ในระบบไฮดรอลิกส์เกิดการสึกหรออย่าง รุนแรง กัดกร่อนหรือติดขัด โดยเฉพาะอุปกรณ์ ไฮดรอลิกส์แรงดันสูงจะมีช่องว่างของฟิล์มนํ้ามัน (Clearance) ที่แคบประมาณ 0.5-3 Micron จึง จ�ำเป็นต้องได้รบั การควบคุมระดับสิง่ สกปรกในนาํ้ มันไฮดรอลิกส์ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า การตรวจวัดระดับความสะอาดนํ้า สามารถใช้เครื่องมือ Portable Particle Counter (FCU 1000, FCU 2000) เทคโนโลยีตรวจวัดอนุภาคของสิ่งสกปรกจาก HYDAC ซึ่งสามารถ วัดค่าระดับความสะอาดของนํ้ามันเป็นค่ามาตรฐาน NAS 1638, ISO 4406 และ SAE AS 4059 Standard เพื่อวิเคราะห์หาแหล่งที่มาของสิ่งสกปรก และน�ำไปสู่แนวทางการป้องกัน เชิงรุกต่อไป หากตรวจพบสิง่ สกปรกชนิดวัสดุของแข็ง สามารถท�ำการดัก และก�ำจัดสิง่ สกปรก โดยการติดตั้งชุดกรอง (Off-Line Filtration Unit)
การตรวจวั ด ปริ ม าณนํ้ า ที่ ผ สมอยู ่ ใ นนํ้ า มั น โดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว จะต้ อ งท� ำ การวั ด ใน ห้องทดสอบ แต่ดว้ ยเทคโนโลยีจาก HYDAC เครือ่ ง Aquar Sensor สามารถติดตัง้ ได้ทรี่ ะบบ หรือถังนํ้ามันท�ำให้สามารถรู้ปริมาณนํ้าได้แบบ Real Time และสามารถต่อสัญญาณจากตัว Sensor เพื่อใช้ในการเตือนหรือหยุดระบบได้ทันท่วงที หากพบว่ามีปริมาณนํ้ามากว่ามาตรฐานที่ก�ำหนด ทางแอโรฟลูอิดสามารถก�ำจัดนํ้าออก จากนํ้ามันโดยวิธี Dewaterin ด้วยเครื่อง Fluid Fqua Mobile (FAM) ซึ่งเป็นวิธีการกลั่น นํ้าในสภาวะสุญญากาศที่อุณหภูมิห้อง สามารถก�ำจัดนํ้าได้ในขณะที่เครื่องจักรก�ำลังท�ำงาน
ความเสื่อมสภาพที่เกิดจากอากาศ และความร้อน โดยอากาศจะท�ำให้ปั๊มเกิดเสียงดัง ร้อน และการสั่นสะเทือน ส่งผลให้นํ้ามันไฮดรอลิกส์ เสือ่ มสภาพ ความร้อนจะท�ำให้ความหนืดของนํา้ มันลดลง เป็นเหตุให้เกิดการสึกหรอ และการ เสื่อมสภาพกับระบบไฮดรอลิกส์ การตรวจวัด Condition ของระบบจ�ำเป็น ต้องวัดอัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น รอบเครื่อง ตลอดจนระดับความสะอาดในขณะ ใช้งานพร้อมๆ กัน เพื่อหาความสัมพันธ์และ วิเคราะห์รากของสาเหตุของความผิด ปกติในเครื่องจักรด้วยชุด HYDAC Monitoring Technology อาทิ Pressure Tranducer, Temperature Sensor, Flow Transducer, Frequency Sensor ร่วมกับชุด Data Recorder โดยสามารถท�ำการบันทึกค่าต่างๆ เพื่อเก็บ เป็นข้อมูล และรายงานผลในรูปแบบของกราฟได้อีกด้วย
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Cover-story1.indd 31
| 31
7/3/2015 3:37:00 PM
“Friendly Brand for Innovative Partner in Fluid Service
System Integration
Service Sales
ด้วยประสบการณ์การท�ำงานร่วมกับลูกค้าเป็นเวลานาน พร้อมทั้งได้รับการถ่ายทอด เทคโนโลยี จ ากผู ้ ผ ลิ ต โดยตรงจากต่ า งประเทศ ท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท แอโรฟลู อิ ด กรุ ๊ ป มี ประสบการณ์และความช�ำนาญด้านการออกแบบ และสร้างระบบไฮดรอลิกส์ อาทิ Power Unit Cylinder รวมถึงชุดควบคุมทางไฟฟ้าอย่างครบวงจร เพื่อทดแทนเครื่องจักรเก่าที่ เสื่อมสภาพ และสร้างใหม่ตามความต้องการของลูกค้า ท�ำให้ลูกค้าประหยัดค่าใช้จ่ายใน การน�ำเข้าระบบจากต่างประเทศ โดยให้บริการกับกลุม่ ลูกค้าทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ ด้วยทีมงานวิศวกรมากกว่า 30 คนพร้อมเครื่องจักรในกระบวนการผลิตแบบอัตโนมัติบน พื้นที่กว่า 1,600 ตร.ม. ภายใต้มาตรฐาน ISO 9001 : 2008 และคุณภาพผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก. 975-2538
กลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิดกรุ๊ป ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา จึงได้จัดตั้ง ศูนย์ซอ่ มบ�ำรุงทีม่ าตรฐาน (Service Center) ทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากผูผ้ ลิต อาทิ Rexroth Bosch Group, Hydac, Sauer Danfoss Daikin และ Hawe บนพื้นที่กว่า 800 ตร.ม. ด้วยชิน้ ส่วนอะไหล่แท้โดยทีมงานผูม้ ปี ระสบการณ์มากกว่า 20 ปี ในการให้บริการตรวจสอบ ซ่อมบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ ทัง้ ในศูนย์ซอ่ ม (In House) และนอกสถานที่ (On Site service) อาทิ Hydraulic Piston Pump & Motor Proportional & Servo Valve, Accumulator และ Cylinder ด้วยระบบมาตรฐาน ISO 9001:2008 โดยเริ่มตั้งแต่การ ตรวจรับสินค้าจากลูกค้า และตรวจสอบสภาพ เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายและให้ค�ำแนะน�ำ ซึ่ง มีการทดสอบ พร้อมรายงานผลการทดสอบ ก่อนส่งมอบให้กับลูกค้า เพื่อให้มั่นใจได้ว่า สินค้ามีประสิทธิภาพตรงตามมาตรฐานของผู้ผลิต
ผลงานที่ผ่านมา
- Hydraulic Direct Drive For Ash Ash and Gypsum Handling System For Hongsa Mine-Mount Power Plant Project - TEST STAND เครือ่ งมือทดสอบประสิทธิภาพการท�ำงานของอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์ ปั๊ม วาล์ว และมอเตอร์ เป็นต้น
เครื่องมือและอุปกรณ์ทดสอบที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย
Proporional & Servo Valve บริการตรวจเช็ค ปรับตั้งวาล์วควบคุมชนิดแม่นย�ำสูง (Proportion & Servo Valve) ด้วยเครื่องล้างแบบ Ultrasonic และท�ำการทดสอบ (Hydraolic Test Stand) ด้วยเครื่องมือพิเศษ Valve Checker จาก Rexroth Bosch Group และ Moog
32 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Cover-story1.indd 32
7/3/2015 3:37:01 PM
“Friendly Brand for Innovative Partner in Fluid Service
Service Sales
ศูนย์พัฒนาบ�ำรุงรักษาไฮดรอลิกส์ Aerouid Training Center
นอกจากนี้ ทางบริษัทยังรับทดสอบประสิทธิภาพปั๊มและระบบไฮดรอลิกส์ที่ติดตั้งอยู่ ในเครื่องจักร ด้วยเครื่องมือที่มีความแม่นย�ำสูงจาก HYDAC รองรับการประมวลผลได้ มากกว่า 10 จุดในรูปแบบของอัตราการไหล ความดัน อุณหภูมคิ วามเร็วรอบ และกระแสไฟ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา และความพร้อมของเครื่องจักร ปัจจุบนั ในหลายบริษทั ได้ให้ความส�ำคัญการบ�ำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีสว่ นร่วมหรือ TPM (Total Productive Maintenance) ซึ่งเป็นกิจกรรมเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในเรื่องของความสะอาด และการแก้ไขปัญหาที่ซ่อนเร้น ลดการเกิดสูญเสียในภาค อุตสาหกรรมโดยเฉพาะอย่ายิ่งในงานระบบไฮดรอลิกส์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความสามารถ ในการปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยความส�ำคัญดังกล่าว แอโรฟลูอดิ จึงจัดตัง้ ศูนย์ พัฒนาบ�ำรุงรักษาไฮดรอลิกส์เชิงรุก (Aerofluid Training Center) ขึ้น เพื่อต้องการที่จะ พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน รวมถึง การถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์เฉพาะด้านให้กับคนรุ่นหลังต่อไป ภายใต้กองทุน คุณพ่อเคี้ยงล้ง และคุณแม่เพ็กจู ในลักษณะของ Non Profitable Organization
Pump, Motor ทดสอบด้วยเครื่องทดสอบไฮดรอลิกส์ (Hydraulic Test Stand) ที่มี ความสามารถในการทดสอบอัตราการไหลมากกว่า 1,000 ลิตร/นาที จ�ำนวน 2 เครื่อง Data Recorder ทีม่ คี วามละเอียดในการอ่านค่า 0.1 ms. เพือ่ วัดประสิทธิภาพของปัม๊ และ มอเตอร์ไฮดรอลิกส์ ด้วยการบริการที่ได้คุณภาพมาตรฐาน แอโรฟลูอิดจึงได้รับความไว้ วางใจจากผูผ้ ลิตปัม๊ ชัน้ น�ำ อาทิ Bosch Rexroth Group, Sauer Danfoss Daikin, Hawe, Moog แต่งตั้งให้เป็นตัวแทนศูนย์ซ่อมบ�ำรุง ( Service Center ) ในประเทศไทย นอกจาก นี้ยังบริการงานซ่อมบ�ำรุงไฮดรอลิกส์ปั๊ม, ไฮดรอลิกส์มอเตอร์ และคอลโทรลวาล์ว อีก หลายยี่ห้อ อาทิ Meteris, Hagglund, Parker Denison, Eaton, Hydrokraft, Oil Gear และ Kawasaki
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
บริษัท แอโรฟลูอิด จ�ำกัด
169/4, 169/5 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลล�ำผักกูด อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี Tel : 0-2577-2999 Fax : 0-2577-2700 E-mail : info@aerofluid.com Website : www.aerofluid.com
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Cover-story1.indd 33
| 33
7/3/2015 3:37:03 PM
EXCLUSIVE INTERVIEW
34 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คอปโก้ เคมเทค
ตอบโจทย์ความคุม้ ค่าด้วยเทคโนโลยี ปั๊มอุตสาหกรรมระดับพรีเมี่ยม
บริษัท คอปโก เคมเทค จ�ากัด ผู้น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายปั๊มอุตสาหกรรมและอะไหล่ชั้นน�า ที่ได้ รับความไว้วางใจจากบริษัทผู้ผลิตปั๊มอุตสาหกรรมแบรนด์ต่างๆ ให้เป็นผู้แทนจ�าหน่าย ตลอดจนได้รับความไว้วางใจจากผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในประเทศมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยความใส่ใจในการให้บริการ และเข้าถึงทุกความต้องการของผู้ใช้งาน ตลอดจนสามารถ คัดสรรโซลูชั่นที่ดีที่สุดให้แก่บรรดาผู้ประกอบการ จนครองใจผู้ใช้งานมาอย่างยาวนาน และ ประสบความส�าเร็จมาถึงทุกวันนี้ ยกระดับธุรกิจ เจาะเป้าหมายผลิตภัณฑระดับพรีเมี่ยม
ด้วยประสบการณ์ในธุรกิจปั๊มอุตสาหกรรมที่สั่งสม มากว่า 7 ปี และความมุง่ มัน่ ทีต่ อ้ งการสรรหานวัตกรรมและ เทคโนโลยี ที่ ดี ที่ สุ ด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การผลิ ต ของภาค อุตสาหกรรมไทย บริษัท คอปโก้ เคมเทค จ�ากัดได้ก้าวขึ้น สูค่ วามเป็นผูน้ า� ในการเป็นตัวแทนจ�าหน่ายปัม๊ อุตสาหกรรม อันดับ 1 ที่ผู้ใช้งานไว้วางใจ คุณชิษณุพงศ์ อินทสา กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอปโก้ เคมเทค จ�ากัด เผยถึงแนวทางการด�าเนินธุรกิจ ว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ มุ่งเน้นให้ บริการ กลุ่มลูกค้าในทุกระดับ โดยมีสินค้าให้ เลือกหลากหลายแบรนด์ ตามแต่ความเหมาะ สมของการใช้งานของลูกค้าที่แตกต่างกัน ออกไป ซึ่งแน่นอนว่า สินค้าแต่ละแบรนด์ นั้น ล้วนเป็นสินค้าระดับพรีเมี่ยมที่ผ่านการ เลือกสรรมาอย่างดี และเป็นแบรนด์คณ ุ ภาพ ที่ทั่วโลกให้การยอมรับ อั น เนื่ อ งมาจากสภาพการแข่ ง ขั น สู ง ท่ามกลางผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามหลากหลายจากผูผ้ ลิตทีม่ ี ระดับคุณภาพทีแ่ ตกต่างกัน ท�าให้ผใู้ ช้งานมีทางเลือกในการ บริโภคมากขึ้น แน่นอนว่าผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ย่อมมีราคา สูงไปด้วย ในขณะที่สินค้าที่มีคุณภาพรองลงมา ก็คงมีราคา ทีล่ ดหลัน่ ไปตามกันการท�าตลาดในสินค้าคุณภาพรอง ท�าให้ มีขอ้ จ�ากัดบางประการทีเ่ พิม่ ความซับซ้อนให้แก่ธรุ กิจ ไม่วา่ จะเป็นการแข่งขันด้านราคา ความยุง่ ยากด้านการให้บริการ การซ่อมบ�ารุง การให้บริการด้านอะไหล่ ท�าให้ภาระการ ท�างานเพิ่มมากขึ้น แต่ให้ผลตอบแทนที่น้อยและไม่คุ้มค่า
ดังนั้น คุณชิษณุพงศ์จึงเน้นท�าตลาดในสินค้าเกรดดี เยี่ ย ม มี คุ ณ ภาพสู ง และวิ ธีก ารสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ ผลิตภัณฑ์ อายุการใช้งานยาวนาน ซึ่งนับว่าเป็นการลงทุน ที่คุ้มค่ากว่า เมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าคุณภาพรอง ที่ต้อง เสียงบประมาณไปกับการซ่อมบ�ารุงที่อาจเกิดขึ้นบ่อยครั้ง “แนวทางในการหันมาประกอบธุรกิจโดยเน้นสินค้าระดับ พรีเมี่ยม จะช่วยลดความยุ่งยากทางธุรกิจ เป็นประโยชน์ โดยตรงต่อลูกค้า คือ สามารถใช้งานสินค้าคุณภาพเยีย่ ม ไม่ ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ารุงบ่อยๆ” คุณ ชิษณุพงศ์กล่าว หากเปรียบเทียบกับการซื้อสินค้าเกรดล่างๆ ซึ่ง แน่ น อนว่ า การซ่ อ มบ� า รุ ง หรื อ โอกาสในการ สึกหรอของผลิตภัณฑ์จะต้องเกิดขึน้ บ่อย จะส่ง ผลโดยตรงต่อผู้ใช้งานและผู้ประกอบการ กล่าวคือ สูญเสียโอกาสในการผลิตและเสีย ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ารุง และเมื่อค�านวณ ความเสียหายในระยะยาวแล้ว การลงทุนซื้อ สินค้าที่มีระดับคุณภาพที่ดีเยี่ยม มีโอกาสการ ซ่อมบ�ารุงน้อยกว่า ก็ยอ่ มเป็นทางออกทีด่ สี า� หรับผู้ ประกอบการในการลงทุนที่คุ้มค่ากว่านั่นเอง ทั้งนี้ กลุ่มตลาดอุตสาหกรรมสินค้าที่บริษัทฯ ให้ความ ส�าคัญมากเป็นอันดับต้นๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร เครือ่ ง อุปโภคบริโภค อาทิ อุตสาหกรรมเครือ่ งส�าอาง อุตสาหกรรม ยา เป็นต้น รวมทัง้ กลุม่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรม สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งบริษัทฯ ให้ความส�าคัญ อย่างมากกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยพยายามจัดหา สินค้าที่เป็นโซลูชั่นใหม่ๆ ที่เป็นเทคโนโลยีสีเขียว สามารถ ตอบโจทย์ดา้ นการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม และส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 35
EFFICIENCY UP TO 60% REDUCTION IN AIR CONSUMPTION
ผลิตภัณฑโดดเดน สรางความคุมคา แกผูประกอบการ
คุณชิษณุพงศ์ กล่าวถึงเทคโนโลยีที่ถือเป็นสุดยอดของปั๊มอุตสาหกรรมที่ บริษทั ฯ ได้รบั ความไว้วางใจให้เป็นผูแ้ ทนจ�าหน่าย 2 แบรนด์ดว้ ยกัน คือ WILDEN และ MOUVEX ซึง่ ถือเป็นผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมีย่ ม ทีส่ ามารถตอบโจทย์ความคุม้ ค่าด้านการลงทุนของบรรดาผู้ประกอบการอย่างเห็นได้ชัดเจน
• WILDEN ปั๊มอุตสาหกรรมอันดับ 1 ของโลก WILDEN เทคโนโลยีปั๊มอุตสาหกรรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้การ ก�ากับดูแลของ DOVER COMPANY ซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัทชั้นน�าของกลุ่ม PSG (Pump Solutions Group) นับว่าเป็นแบรนด์สินค้าคุณภาพที่มีการเติบโตอย่าง ก้าวกระโดด เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมเคมี และอุตสาหกรรม อาหาร ทั้งในประเทศไทยและประเทศต่างๆ ทั่วโลก ส่งผลให้ WILDEN เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มียอดจ�าหน่ายสูงสุด และครองแชมป์การเป็นแบรนด์อันดับ 1 มา อย่างยาวนาน บริษัทคอปโก้ เคมเทค จ�ากัด เล็งเห็นถึงความโดดเด่นของผลิตภัณฑ์แบรนด์ ดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ น� า เข้ า และจ� า หน่ า ยสิ น ค้ า แบรนด์ นี้ สู ่ ต ลาดอุ ต สาหกรรมใน ประเทศไทย และได้รับการตอบรับและความไว้วางใจจากผู้ประกอบการอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ แบรนด์WILDEN มีหลากหลายผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถตอบโจทย์ความ ต้องการใช้งานของผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน WILDEN รุ่น PRO-FLO SHIF เป็นรุ่นที่ได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพโดดเด่น ในด้านการประหยัดพลังงาน และสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตด้วย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการ ช่วยลด Air Consumption ได้ถึง 60% เมื่อเทียบกับแบรนด์อื่นๆ ที่เป็น AODD Pumps สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานได้ถึง 50% เมื่อเทียบกับการใช้ Compressor แบบเดียวกัน ซึ่งเมื่อคิดเป็นเงินแล้วสามารถช่วยประหยัดค่าใช้ จ่ายและต้นทุนการผลิตได้มากกว่า 4,800 ดอลลาร์สหรัฐต่อเครื่อง/ปี นอกจากนี้ ยังสามารถดูแลรักษาได้ง่ายกว่าปั๊ม AODD แบรนด์อื่นๆ เนื่องจากมีการเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานด้วย Air Control Spool ในระบบ กระจายอากาศ มีกลไกการควบคุมวาล์ว โดยไม่มีช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และ ไม่มีชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ท่ีมีความซับซ้อน จึงท�าให้ใช้งานได้ง่าย ปลอดภัย เพียง ต่อสายลมเข้ากับตัวปั๊ม โดยไม่ต้องผ่านอุปกรณ์ควบคุมลมซึ่งเป็นการควบคุม จากตัวปั๊มได้เลย
Mouvex A series_b
36 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
• MOUVEX สุดยอดปั๊มอุตสาหกรรม ประสิทธิภาพการท� างานสูง MOUVEX สุดยอดปัม๊ อุตสาหกรรมแบรนด์ชนั้ น�าจากประเทศฝรัง่ เศส เป็น แบรนด์ทเี่ ปิดกิจการมายาวนานกว่า 108 ปี เริม่ ต้นจากการด�าเนินธุรกิจในทวีป ยุโรป ก่อนทีจ่ ะมีการขยายตลาดสูภ่ มู ภิ าคเอเชียมากขึน้ ในช่วง 7 ปีทผี่ า่ นมา และ ได้รบั ความนิยมแพร่หลายในปัจจุบนั โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ อุตสาหกรรมทีม่ ี มูลค่าสูง อย่างอุตสาหกรรมยา เครือ่ งส�าอาง และอุตสาหกรรมเคมีตา่ งๆ เป็นต้น บริษทั คอปโก้ เคมเทค จ�ากัด เล็งเห็นว่า ผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์MOUVEX มีประสิทธิภาพการท�างานทีโ่ ดดเด่น เป็นทีย่ อมรับจากผูใ้ ช้งานในวงกว้าง ด้วยความ สามารถในการดูดของเหลวทีต่ กค้างในระบบได้มากถึง 90% ส่งผลให้มขี องเหลว ตกค้างอยูใ่ นระบบเพียง 10% เท่านัน้ ซึง่ นับว่าน้อยมากเมือ่ เทียบกับปัม๊ ชนิดอืน่ จึงนับว่าเป็นโซลูชน่ั ทีด่ ที ส่ี ามารถแก้ปญ ั หาของเหลวติดค้างในท่อและกระบวนการ ผลิตทีม่ กั เกิดขึน้ อยูเ่ ป็นประจ�า ด้วยคุณสมบัตพิ เิ ศษดังกล่าว จึงช่วยให้ผปู้ ระกอบการสามารถลดต้นทุน และ ความสูญเสียจากปัญหาของเหลวตกค้างท่อ ทั้งยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ อุตสาหกรรมการผลิตได้โดยตรง นอกจากนัน้ MOUVEX มีคณ ุ สมบัตทิ โี่ ดดเด่น ด้านความคงทน และอายุการ ใช้งานที่ยาวนาน ไม่ต้องซ่อมบ�ารุงบ่อย เนื่องจากได้รับการออกแบบเป็น Eccentric Disc Pump ซึ่งเป็นระบบที่สามารถปรับระยะของ Disc และ Cylinder เพื่อรักษาประสิทธิภาพและอัตราการไหลหรือแรงดันให้คงที่อยู่เสมอด้วยตัวเอง ที่ส�าคัญคือ มีระบบที่สามารถป้องกันการรั่วไหลของของเหลวได้ 100% จึงมั่นใจ ได้ว่ากระบวนการผลิตจะไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแน่นอน
ยืนยันคุณภาพ... จากผูใชงานจริง
ปั๊มอุตสาหกรรมแบรนด์ต่างๆ ที่น�าเข้าและจ�าหน่ายโดยบริษัท คอปโก้ เคมเทค จ�ากัด ได้รับการยอมรับจากเจ้าของโรงงาน ผู้จัดการโรงงาน ทีมวิศวกร ตลอดจนผู้ ประกอบการภาคอุตสาหกรรมจากหลากหลายแขนงสามารถทดสอบและเห็นผลว่า เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีอายุการใช้งานยาวนาน โดยไม่จ�าเป็นต้องซ่อม บ�ารุงบ่อยครั้ง โดยคุณชิษณุพงศ์ได้เล่าถึงผู้ประกอบการทั้ง 4 รายที่ไว้วางใจใน ผลิตภัณฑ์ของบริษัท คอปโก้ เคมเทค จ�ากัด ดังนี้
Calculate Your Savings Suction and Discharge Line Losses with Mouvex’s product recovery capabilities on both suction (self priming) and discharge (compressor effect) capability:
“บริษัท อาหารสยาม จ�ากัด ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอาหารแปรรูป ประเภทพืชผัก ทางการเกษตรเพื่อการส่งออกหนึ่งในผู้ใช้งานที่ให้ความไว้ในผลิตภัณฑ์ MOUVEX มาอย่างยาวนาน ซึ่งสามารถตอบโจทย์ความต้องการใช้งานของตน หลังจากที่ได้ใช้ งานสินค้าแบรนด์ MOUVEX แล้ว เกิดความประทับใจในประสิทธิภาพการท�างาน ของปั๊มเป็นอย่างมาก” “ห้างหุน้ ส่วนจ�ากัด แพลนเพ้นท์ ซึง่ เป็นบริษทั ผูผ้ ลิตและจ�าหน่ายสีพน่ รถยนต์ทกุ ชนิด ให้ความไว้วางใจใช้งานผลิตภัณฑ์ปั้มจากบริษัท คอปโก้เคมเทค จ�ากัด มาโดย ตลอดเป็นระยะเวลายาวนาน ตั้งแต่แรกเริ่มประกอบธุรกิจ รวมระยะเวลากว่า 10 ปี โดยน�าไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ไม่ว่าจะขั้นตอนการเตรียมการผลิต ขั้นตอนการ ผลิต จนกระทั่งกระบวนการสุดท้ายของการผลิตสี” “บริษทั ไมย์เออร์อนิ ดัสตรีส์ จ�ากัด ผูผ้ ลิตและส่งออกอุปกรณ์เครือ่ งครัวรายใหญ่ ของโลก ให้ความไว้วางใจใช้งานสินค้าแบรนด์ WOLDEN มาหลายปีเช่นกัน ใน กระบวนการล้างชิ้นส่วนต่างๆ”
Estimated Product Cost* per gallon or liter = ________ Ideally to include sale value and disposal cost
“บริษัท มิชลิน (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้ผลิตและจ�าหน่ายยางรถยนต์สมรรถนะ เยี่ยมคุณภาพระดับโลก ใช้บริการเครื่องปั๊มอุตสาหกรรมแบรนด์ MOUVEX จาก บริษัท คอบโก้เคมเทค จ�ากัด มาอย่างยาวนานกว่า 10 ปี และพบว่ายังไม่มีความเสีย หายเกิดขึ้น และยังคงมีความต้องการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์รุ่นเดิมที่เคยใช้ แม้ว่าจะมีการ พัฒนาเทคโนโลยีไปสู่รุ่นใหม่ๆแล้วก็ตามที แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมั่นและไว้ใจใน คุณภาพของผลิตภัณฑ์” และนี่คือตัวอย่างที่แสดงถึงความเชื่อมั่นจากบริษัทผู้ใช้งานจริง การันตีได้ถึง คุณภาพและความคุ้มค่าของผลิตภัณฑ์ ที่ทางบริษัท คอปโก้เคมเทค จ�ากัด พยายาม สรรหา เพือ่ ตอบโจทย์การใช้งานของผูป้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรมของเมืองไทย และสามารถแก้ปัญหาการใช้งานผลิตภัณฑ์ปั๊มได้ทุกกรณี ท�าให้บริษัทฯ เป็นผู้แทน จ�าหน่ายที่ครองใจผู้ประกอบการได้อย่างแท้จริง ด้วยการเป็นเสมือนเพื่อนคู่คิด และ อยู่เคียงข้างกับบริษัทผู้ประกอบการมาโดยตลอด
C & SLC Series Eccentric Disc Pumps
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 37
PRODUCTIVITY BOOSTER
การบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์...
กลยุทธ์สู่ความส�าเร็จของ การบ�ารุงรักษาเชิงรุก
ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมได้มีการน�าเอาเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในกระบวนการผลิตเพื่อให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเครื่องจักรและอุปกรณ์ ฉะนั้น เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตจะ ต้องมีประสิทธิภาพสูงและเครื่องจักรจะต้องหยุดการท�างานจากการช�ารุดน้อยที่สุด คุณมนตรี หลวงจันทร์ ที่ปรึกษาอิสระ สถาบันไทย-เยอรมัน
38 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ดังนั้น แผนกการซ่อมบ�ารุงรักษาเครื่องจักรจะต้อง สามารถที่จะรักษาสมรรถนะความพร้อมในการใช้งานของ เครื่องจักร และรักษาประสิทธิผลของเครื่องจักร เพื่อให้ สามารถใช้งานได้ตามแผนทีว่ างไว้ มีคา่ ใช้จา่ ยต�า่ ทีส่ ดุ รวม ถึงการบ�ารุงรักษาเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้งาน เครื่องจักร
การวัดประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักร
คุณมนตรี หลวงจันทร์ ที่ปรึกษาอิสระ สถาบันไทยเยอรมัน เปิดเผยในงานสัมมนางาน MODERN MANUFACTURING FORUM 2015 ซึ่งจัดโดย บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ากัดว่า ทุกองค์กรจะต้องทราบจุดเริ่มต้นของ องค์กรจากนัน้ ทุกคนภายในองค์กรเดินไปยังเป้าหมายเดีย่ วกัน อาทิ องค์กร บริษัท A. แผนกฝ่ายผลิตจะตั้งเป้าหมายเพื่อ ผลิตสินค้าให้ทันเวลาที่ลูกค้าต้องการ ส่วนฝ่ายซ่อมบ�ารุง ต้องดูแลเครื่องจักรไม่เกิดการหยุดระหว่างการผลิตได้ เป็นต้น ฉะนัน้ ทุกองค์กรจะต้องมีสงิ่ ทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ อ่ ไปนี้ คือ เครื่องมือ วิธีการ และหนทาง การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE – Overall Equipment Effectiveness) เป็นวิธีการที่ดีวิธี หนึง่ ทีน่ อกจากท�าให้รปู้ ระสิทธิผลของเครือ่ งจักรแล้วยังรูถ้ งึ สาเหตุของความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ในภาพใหญ่ คือ สามารถ แยกประเภทการสูญเสียและรายละเอียดของสาเหตุนั้น ท�าให้สามารถที่จะปรับปรุง ลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ อย่างถูกต้องและเป็นระบบ ในปั จ จุ บั น วิ ธีใ นการวั ด ประสิ ท ธิ ผ ลโดยรวมของ เครือ่ งจักรอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ นัน้ มีเพียง วิธนี วี้ ธิ เี ดียวซึง่ เป็นทีน่ ยิ มมาก เนือ่ งจากหลักการและวิธคี ดิ พื้นฐานไม่ซับซ้อนและเห็นภาพได้อย่างชัดเจนในแง่ของ ความเป็นจริง ทั้งยังสามารถพิสูจน์ได้และสะท้อนถึงปัจจัย ต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตได้อย่างชัดเจน โดยมีหลักการทีส่ ามารถเข้าใจได้งา่ ยตัง้ แต่ผบู้ ริหารระดับสูง จนถึงระดับพนักงานคุมเครื่องจักร 40 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เครือ่ งจักรทีด่ ไี ม่ใช่เป็นเพียงแค่เครือ่ งจักรทีไ่ ม่เสีย เปิด สวิตช์เมือ่ ใดท�างานได้เมือ่ นัน้ หากแต่ตอ้ งเป็นเครือ่ งจักรทีเ่ ปิด ขึน้ มาแล้วท�างานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ คือ เดินเครือ่ งได้ เต็มก�าลังความสามารถ แต่ถา้ เครือ่ งจักรใช้งานได้ตลอดเวลา และเดินเครื่องได้เต็มก�าลัง แต่ชิ้นงานที่ผลิตออกมาไม่มี คุณภาพก็คงไม่มปี ระโยชน์อะไร ดังนัน้ เรือ่ งคุณภาพของงาน ทีอ่ อกมาจึงเป็นอีกปัจจัยหนึง่ ทีจ่ ะใช้ในการพิจารณาเครือ่ งจักร และทีส่ า� คัญเครือ่ งจักรทีด่ ตี อ้ งใช้งานได้อย่างปลอดภัย ดังนั้น เป้าหมาย OEE เป็นเป้าหมายที่ทุกคนภายใน องค์กรต้องปฎิบตั ริ ว่ มกัน แต่วธิ กี ารและกลยุทธ์อาจจะแตก ต่างกัน เช่น มีการสั่งสินค้าเข้ามา สั่งวัตถุดิบ ผลิตสินค้า ตรวจเช็ค พร้อมส่งมอบไปยังผู้สั่งสินค้า เป็นต้น ส่วนเป้า หมายการซ่อมบ�ารุง คือ จะต้องไม่ให้เครื่องจักรเบรคดาวน์ เช่น ธุรกิจการบินห้ามเกิดเครื่องเบรคดาวน์เพราะจะสร้าง ความเสียหายให้กับทั้งองค์กรได้
แนวทางการแกปัญหา...
ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ภายในองค์กรนัน้ บางคนอาจมองปัญหา เดียวกันเป็นปัญหาใหญ่ แต่บางคนกลับมองว่าเป็นเพียง ปัญหาเล็กๆ เท่านั้น เช่น มีพนักงาน 2 คนเดินเข้าไปในไลน์ การผลิ ต ด้ ว ยกั น เพื่ อ ไปดู น�้า มั น หล่ อ เครื่ อ งจั ก รรู โดย พนักงานทั้ง 2 คน จะมองเห็นปัญหาที่แตกต่างกัน โดย พนักงานคนแรกบอกว่ามีน�้ามันหล่อหยดลงพื้นแต่ก็ไม่มีผล กระทบต่อการท�างานของเครื่องจักร เนื่องจากปัญหาดัง กล่าวเกิดขึ้นมานานแล้ว แต่พนักงานคนที่ 2 กลับบอก ว่าการทีม่ นี า�้ มันหล่อหยดลงพืน้ จะท�าให้พนื้ ไม่สะอาดและอาจ ท�าให้เกิดอุบัติเหตุกับพนักงานได้ อย่างไรก็ตาม การมอง ปัญหาที่เกิดขึ้นในไลน์การผลิตนั้นทุกโรงงานจะต้องมองถึง สาเหตุวา่ ปัญหาดังกล่าวเกิดจากอะไร และควรหาวิธีแก้ไข อย่างถูกต้อง ทัง้ นี้ จะเห็นได้วา่ ปัญหาทีท่ กุ องค์พบในแต่ละวันนัน้ บาง ปัญหาก็ซอ่ นอยู่ ฉะนัน้ จะต้องมีวธิ กี ารตรวจเพือ่ หาปัญหาที่ เกิดภายในโรงงาน คือ เข้าใจ วิเคราะห์ และแยกแยะ เพือ่ ให้ พนักงานสามารถท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
TPM… คือ การเปลี่ยนวิธีคิดจากผู้ใช้เครื่องจักรเพียง อย่างเดียวมาเป็นผู้ดูแลเครื่องจักรด้วย เพื่อให้เครื่องจักร สามารถใช้งานได้ยืนยาวและมีประสิทธิภาพ
การบ�ารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีสวนรวม Total Productive Management (TPM)
TPM คือ การบ�ารุงรักษาเครือ่ งจักร เพือ่ ป้องกันไม่ให้ เครื่องจักรเกิดการเสียหายหรือขัดข้อง ด้วยการท�าความ สะอาด, หยอดน�้ามัน, ขันน็อต, ตรวจเช็ค อย่างจริงจัง นอกจากนั้น ยังต้องให้ผู้เชี่ยวชาญมาด�าเนินการตรวจเช็ค ตามเวลาทีก่ า� หนด แล้วท�าการซ่อมแซมบ�ารุงรักษา ทัง้ นี้ การ บ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน ไปสูก่ ารบ�ารุงรักษาเพือ่ เพิม่ ผลผลิต การบ�ารุงรักษาเรียกว่า TPM ซึง่ กลุม่ ทีใ่ ห้สนใจในเรือ่ ง นีก้ ค็ อื แผนกช่างซ่อมบ�ารุง แต่พนักงานแผนกอืน่ จะไม่เข้าใจ ดั ง นั้ น หลั ก การที่ จ ะให้ เ ข้ า ใจร่ ว มกั น เพื่ อ ต้ อ งการให้ เครื่องจักรผลิตงานได้ทัน อาทิ กรณีผู้จัดการจะเข้าไปช่วย ในโรงงานจะต้องดูตามหลักที่ถูกต้อง คือ ดูเค่รื่องจักร เป็นหลักเพราะทุกคนที่เข้าไปดูเครื่องจักรสามารถคุยกับ เครื่องจักรได้อิสระมากกว่าพูดคุยกับพนักงานด้วยกัน ส� า หรั บ เป้ า หมายของการบ� า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งจั ก ร ประกอบด้วย ดังนี้ 1. เพือ่ ให้เครือ่ งจักรมีความพร้อมใช้งาน (Availability) อยู่เสมอ 2. เพือ่ ให้เครือ่ งจักรมีประสิทธิภาพ (Efficiency) สูงใน การผลิต 3. เพื่อให้ยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรให้นานที่สุด (Useful Life) 4. เพือ่ ให้เครือ่ งจักรผลิตงานได้อย่างมีคณ ุ ภาพ (Quality) 5. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อม Safety & Environment) 6. บริ ห ารจั ด การให้ เ หมาะสมกั บ ทรั พ ยากรและงบ ประมาณระยะสั้นถึงระยะยาว ดังนั้น หากทุกองค์กรท�าได้ครบที่กล่าวให้ข้างต้นก็จะ ช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในองค์กรได้
การบ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance)
การบ�ารุงรักษาเชิงป้องกันคือ การวางแผน การบ�ารุง รักษาเครือ่ งจักรและโรงงาน เพือ่ ทีจ่ ะปรับปรุงประสิทธิภาพ และยืดอายุการใช้งานเครื่องจักร ตลอดจนหลีกเลี่ยงความ เสี ย หายเนื่ อ งจากการหยุ ด เดิ น เครื่ อ งจั ก รที่ ไ ม่ อ ยู ่ ใ น แผนการบ�ารุงรักษา ส่วนการบ�ารุงรักษาโดยทั่วไปจะเริ่มตั้งแต่การทาสี ท�าความสะอาด การปรับแต่ง การหล่อลืน่ การเปลีย่ นชิน้ ส่วนเล็กน้อยเพื่อยืดอายุการใช้งานเครื่องจักร และส่วน ประกอบทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง โดยมีจดุ ประสงค์หลักเพือ่ ลดความเสีย หายของเครื่องจักรให้น้อยที่สุด หรือท�าให้ความเสียหาย เครือ่ งจักรเป็นศูนย์ ซึง่ จะช่วยให้ขบวนการผลิตด�าเนินการได้ อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ธรุ กิจบรรลุจดุ มุง่ หมายตามทีไ่ ด้ตงั้ ไว้ ประโยชน์หรือผลส�าเร็จของการบ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน 1. ท� า ให้ ส ามารถซ่ อ มเครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งมื อ ที่ ช� า รุ ด ได้ อย่างถูกต้อง 2. สามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดท�าคู่มือในการซ่อม บ�ารุงได้ 3. ใช้วางแผนหรือก�าหนดด�าเนินการซ่อมบ�ารุง 4. เป็นแนวทางในการจัดเตรียมของใหม่ส�าหรับซ่อม บ�ารุงรักษา 5. ใช้เป็นข้อมูลในการวิจัยเครื่องจักรนั้น
ประเภทของการบ�ารุงรักษา
ส�าหรับในทางปฏิบตั สิ ามารถแยกประเภทของการบ�ารุง รักษาได้เป็น 2 ประเภทดังต่อไปนี้ ประเภทที่ 1 การบ�ารุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance) คือ การบ�ารุงรักษาตามก�าหนด ตามแผน งานที่ระบบวางไว้ทุกประการ และเป็นงานที่สามารถคาด การณ์ได้ล่วงหน้า ซึ่งมีการก�าหนดระยะวัน เวลา สถานที่ และจ� า นวนผู ้ ป ฎิ บั ติ ง านที่ จ ะเข้ า ด� า เนิ น การได้ ทั้ ง นี้ 42 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
แนวทางการบ�ารุงรักษานั้นอาจเลือกใช้ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น การบ�ารุงรักษาเชิงป้องกันหรือการบ�ารุงรักษาเพื่อ แก้ไข เข้าด�าเนินการ ส่วนระยะเวลาเข้าไปท�าการบ�ารุง รักษา อาจจะก�าหนดหรือวางแผนเข้าซ่อมแซมในขณะ เครื่องจักรก�าลังท�างานหรือหรือขณะเครื่องช�ารุด (Breakdown Maintenance) หรือหยุดเครื่องจักรเพื่อท�าการ ซ่อมบ�ารุงรักษา (Shutdown) เพราะการซ่อมบ�ารุงรักษา ประเภทนี้จะมีปัญหาน้อยเนื่องจากมีเวลาเตรียมการล่วง หน้าได้ทุกขั้นตอน ประเภทที่ 2 การบ�ารุงรักษานอกแผน (Unplanned Maintenance) คือ การบ�ารุงรักษานอกระบบงานทีว่ างไว้ เนื่องจากเครื่องจักรเกิดการขัดข้อง ช�ารุดเสียหายอย่าง กะทันหัน ทัง้ นี้ ต้องเร่งท�าการซ่อมแซมเพือ่ ให้เสร็จเรียบร้อย ทั น การใช้ ง าน การบ� า รุ ง รั ก ษาประเภทนี้ จ ะเกิ ด ปั ญ หา มากกว่าการบ�ารุงรักษาตามแผน เนือ่ งจากไม่ทราบล่วงหน้า มาก่อนและไม่สามารถก�าหนดวัน เวลา สถานทีท่ แี่ น่นอนได้ จึงส่งผลให้ไม่สามารถเตรียมจัดหาผู้ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ อะไหล่ที่ใช้บ�ารุงได้ทันที ฉะนัน้ เพือ่ ให้งานส�าเร็จตามเป้าหมายและไม่เกิดปัญหา ภายหลัง แผนกช่างซ่อมบ�ารุงต้องมีการวางตรงการปฏิบัติ งาน 8 ชั่วโมงด้วยการแบ่งเวลาการท�างาน คือ ปฏิบัติงาน วางแผน 6 ชั่วโมง ส่วนที่เหลืออีก 2 ชั่วโมงมาปฏิบัติงาน นอกแผน ดังนั้น เมื่อปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ภายใน โรงงานก็จะไม่เกิดปัญหาเครื่องจักรเบรกดาวน์
มารูจักโมเดลเครื่องจักรวาเป็นอยางไร
ส�าหรับโมเดลการซ่อมบ�ารุงเครื่องจักรตามสภาพ ซึ่ง ได้มีการแบ่งระยะการซ่อมเครื่องจักร โดยมีโมเดลรูปอ่าง น�้าเป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เวลาการท�างาน (Operating Time, แนวแกน X) กับ อัตราความเสียหาย (Failure rate, แนวแกน Y) โดยกราฟถูกแบ่งเป็น 3 ระยะ ประกอบไปด้วย
ระยะเริ่มต้นใช้งาน (Run in phase) คือ ระยะที่ เครือ่ งจักรเริม่ ใช้งานได้ หลังจากการผลิตหรือหลังจากซ่อม บ�ารุงครัง้ ใหญ่ ซึง่ กราฟแสดงให้เห็นว่า อัตราความเสียหาย จะมีค่าสูงแล้วลดลงเมื่อเวลาหรือชั่วโมงการท�างานของ เครื่องจักรเพิ่มขึ้น ซึ่งสาเหตุที่ท�าให้ระยะนี้มีค่า อัตราความ เสียหายสูง เนื่องมากจาก การติดตั้ง การประกอบชิ้นส่วน ต่ า งๆ เป็ น ต้ น ในการบ� า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งจั ก รนั้ น ผู ้ ดู แ ล เครื่องจักร ควรให้ความส�าคัญเป็นอันดับต้นๆ เนื่องจากใน ระยะเวลาเริม่ ต้นใช้งานนัน้ ถ้าสามารถท�าให้อตั ราความเสีย หายลดต�่าได้ที่สุดยิ่งดี ระยะใช้งานปกติ (Useful life phase) เป็นช่วงที่ต่อ เนื่องจากระยะเริ่มใช้งาน (Run in phase) เป็นช่วงระยะ การใช้งานปกติของเครือ่ งจักร ซึง่ เป็นช่วงที่ หน่วยงานบ�ารุง รักษาและหน่วยงานผลิต ต้องร่วมมือกัน เพื่อให้เครื่องจักร สามารถท�างานได้อย่างคุ้มค่าที่สุด ปัจจัยที่จะท�าให้ระยะใช้ งานปกติ มีอัตราความเสียหายเพิ่มขึ้น อาทิเช่น การใช้งาน เกินภาระที่เครื่องจักรรับได้, การขาดการบ�ารุงรักษาอย่าง ถูกต้อง, การท�างานภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม กับเครืองจักร เป็นต้น ระยะสึกหรอ (Wear out phase) เป็นช่วงเวลาที่ เครือ่ งจักรเกิดการสึกหรอ จนท�าให้เครือ่ งจักรเกิดความเสีย หายหรือช�ารุดในที่สุด การบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์ท่ีครอบคลุมตลอดช่วง การผลิต นับตั้งแต่การวางแผน การผลิต การบ�ารุงรักษา และอื่นๆ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกคนที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ฝ่ายบริหารระดับสูงจนถึงพนักงานปฏิบัติการที่เกี่ยว เนื่ อ งกั บ การผลิ ต ที่ จ ะท� า ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพของอุ ป กรณ์ และเครื่องจักรได้ดียิ่งๆ ขึ้นไป
Your safety is our passion.
Supportingyoursafetyculturesince1889
Anzeigennummer
Safetyequipment,trainingandservicefromDrägerhelpyoutoensuremaximumefficiencyand productivitywithsolutionsforgasdetection,personalprotection,firefightingandemergency escape.FormoreinfoonoursolutionsoffreeinspectionforyourDrägerequipment,please contactusatSales.Thailand@draeger.comorcall0-2744-0110Promocode:DSTL321for freechargeinspection
L.S.T. Group Seeking For Fasteners? We are your answer! ทกุคำตอบของสกรนูอต
-
มัลติมิเตอร์ความแม่นยำสูง ความละเอียด 3 ½ ถึง 7 ½ Digits ค่าความคลาดเคลื่อนในการวัดค่า DCV พื้นฐาน 1 ปี 14 PPM มีย่านการวัดรองรับการจับสัญญาณที่มีระดับสัญญาณต่ำ 100 mV, 1 Ohm และ 10 uA สามารถวัดค่าความต้านทานที่มีค่าต่ำด้วยการปรับชดเชยความต้านทาน, ฟังก์ชั่นการวัดแบบ four-wire และ ฟังก์ชั่น dry circuit จับสัญญาณ และแสดงรูปสัญญาณหรือ Transients ด้วยอัตราสุ่ม 1 MS/sec มีบัฟเฟอร์หน่วยความจำขนาดใหญ่ รองรับการเก็บค่าการวัดได้มากกว่า 11 ล้านค่าในโหมดปกติ และ 27.5 ล้านค่าการวัดใน compact mode มี Auto – calibration เพื่อปรับปรุงความถูกต้องในการวัดและความเสถียรด้วยการลดผลที่เกิดจาก อุณหภูมิและ time drift แสดงผลด้วยหน้าจอสัมผัส ความละเอียดสูง ขนาด 5 นิ้ว ค่าที่อ่านได้และรูปภาพสามารถบันทึกได้อย่างรวดเร็วด้วยพอร์ต USB ด้านหน้าเครื่อง มีตัวเลือกการเชื่อมต่อที่หลากหลาย เช่น GPIB, USB และ LAN เป็นต้น
ฟงกชั่น High Speed Digitizing ช่วยให้จับสัญญาณและแสดงผลได้อย่างรวดเร็ว การแสดงผลกราฟภายในตัวเครื่องรองรับการ แสดงผลและเปรียบเทียบค่าการวัดหรือรูป สัญญาณ ได้สูงสุด 4 บัฟเฟอร์ในครั้งเดียว
PRODUCTIVITY BOOSTER | สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
มาลด
D.O.W.N.T.I.M.E. กันเถอะ
แต่เดิมความสูญเปล่าที่ใช้อ้างอิงกันในระบบการผลิต แบบโตโยต้า (Toyota Production System: TPS) แบ่ง ออกเป็น 7 ประการ ที่คุ้นหูในค�าไทยๆ ว่า ย้ายบ่อย คอย นาน สต็อกบาน งานผิด ผลิตเกิน เดิน-เอื้อม-หัน ขั้นตอน ไร้ ค ่ า และมาเพิ่ ม เติ ม อี ก หนึ่ ง ความสู ญ เปล่ า ในยุ ค หลั ง คือ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรไม่เต็มก�าลัง ล่าสุดจาก บทความในจดหมายข่าว APO News ได้อธิบายไว้ ในรูป แบบที่เป็นภาษาอังกฤษว่า D.O.W.N.T.I.M.E. และให้ทุก องค์กรส�ารวจ ตรวจสอบ และด�าเนินการลดทอนหรือก�าจัด ออกไปให้ได้ด้วยการใช้ กระบวนการคิดแบบลีน (Lean Thinking) ได้แก่ 1. D - Defects เกิดของเสีย ข้อผิดพลาด และการแก้ไข งาน อยู่เสมอ 2. O - Overproduction การผลิตมากเกินไป คาดการณ์ ผิดหรือเผือ่ กรณีมปี ญ ั หา อันเนือ่ งมาจากระบบการผลิต เชือ่ ถือ ไม่ได้ 3. W - Waiting ความล่าช้า และการรอคอยอันเนื่อง มาจาก ความไม่พร้อมหรือเตรียมการไม่ทนั ท�าให้ขาด ข้อมูล ขาดวัตถุดบิ ขาดคน และขาดอุปกรณ์เป็นต้น 4. N - Non-utilized Talent การใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรทีม่ อี ยูไ่ ม่ได้เต็มทีห่ รือเต็มก�าลังความสามารถ โดยเฉพาะ ทักษะ ความรูแ้ ละความสามารถของคน
5. T - Transportation มีการขนส่ง เคลื่อนย้ายใน ระยะทางไกล อ้อมไปมา ใช้เวลามาก หรือระยะทาง ใกล้แต่เคลื่อนย้ายบ่อย 6. I - Inventory สินค้าคงคลัง โดยเฉพาะวัตถุดิบและ ชิ้นส่วนมากเกินความจ�าเป็น เป็นภาระในการดูแล เปลืองสถานที่ จัดเก็บ ต้นทุนจม และยังอาจท�าให้ เสื่อมสภาพได้ด้วย 7. M - Motion การเคลือ่ นไหวของผูป้ ฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ถกู หลักกายศาสตร์เป็นผลให้เกิดการล้า บาดเจ็บและ ท�างานได้ช้าลง 8. E - Excess Processing ขั้นตอนการผลิตไม่มี ประสิทธิผล ออกแบบกระบวนการไม่ดีมีขั้นตอนมาก เกินจ�าเป็น ท�าให้ล่าช้า
หัวข้อการอบรม การสร้างสัมพันธภาพในงาน การลดต้นทุนจากการความสูญเสีย 7 ประการ กลยุทธ์การพัฒนาบุคลากร การวางแผนกลยุทธ์องค์กรสู่ความเป็นเลิศ กลยุทธ์การบริหารคุณภาพเพื่อความยั่งยืนของธุรกิจ
เมื่อส�ารวจ ตรวจสอบพบความสูญเปล่าทั้ง 8 ประการ ในจุดใด ก็ตาม ให้ด�าเนินการใน 4 ลักษณะนี้ในทางใดทาง หนึ่ง คือ ขจัดออกไป (Eliminate) ควบรวมเข้าด้วยกัน (Combine) จัดล�าดับขั้นตอนใหม่ (Rearrange) และท�าให้ ง่ า ยขึ้ น ด้ ว ยแนวคิ ด หรื อ เทคนิ ค วิ ธีก ารใหม่ (Simplify) รับรองได้ว่าเห็นผลการเปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอน
ตรวจสอบพบความสูญเปล่า ทัง้ 8 ประการ วันที่ 6-7 พฤษภาคม 2558 8 พฤษภาคม 2558 12 พฤษภาคม 2558 19-20 พฤษภาคม 2558 26-27 พฤษภาคม 2558 การฝึกอบรมประจ�าเดือนพฤษภาคม 2558 ข้อมูลเพิ่มเติม: www.ftpi.or.th
46 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
13-16 MAY 2015
Visit us at Booth G2 Hall 103
VACON 速 100 FLOW INTELLIGENT PROCESS CONTROL
VACON100FLOW อยู่ในสิ่งใกล้ตัว โดยที่เราไม่รู้ตัว VACON แบรด์ของมืออาชีพ และผู้น�าด้านนวัตกรรม ของ AC VSD จากประเทศ Finlandได้พัฒนา AC VSD รุ่น ใหม่ (ขอใช้ค�านี้ตลอดทุกหัวข้อที่กล่าวถึง ซึ่งให้ความหมาย เดียวกับ AC DRIVE หรือ AC INVERTER อุปกรณ์ควบคุม ความเร็วรอบของมอเตอร์)ที่เหมาะส�าหรับปั้มน�้า และพัดลม ระบายอากาศภายในระบบอาคารอัตโนมัติ “VACON100FLOW” เป็นผลงานที่ทีมงานวิศวกรใช้ เวลาร่วม 20 ปี เพื่อที่จะได้ AC VSD ที่ท�างานควบคุมระบบ ล�าเลียงน�้าหรืออากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส�าคัญต้อง เป็น AC VSD ที่ราคาประหยัด แต่มีฟังก์ชั่นที่หลากหลาย ตอบสนองต่อระบบรวดเร็ว เทีย่ งตรง และตัง้ ค่าต่างๆ ได้งา่ ย ไม่ยุ่งยากกับผู้ใช้งาน Mr. Hans Carsson, (VACON Product Marketing Director) กล่าวว่า “เราได้เลือกคุณสมบัตทิ ดี่ ที เี่ ป็นเอกลักษณ์ เหมาะส�าหรับระบบปั้มน�้า และระบบหมุนเวียนอากาศ ไม่ว่า จะเป็น Multipump Control, PID Control ซึ่งเป็นฟังก์ชั่น พืน้ ฐานทีใ่ ห้มากับ VACON100FLOW อยูแ่ ล้ว โดยคุณสมบัติ ที่ว่าทั้งหมด ทางเราได้บรรจุ “Electrolytic-Free DC Link Capacitors” เพือ่ อายุการใช้งานทีย่ าวนานขึน้ นอกจากนี้ ยัง มีหน้าจอรุ่นใหม่ที่เป็นแบบ “Graphical Keypad” ซึ่งมีเมนู ช่วยเหลือในการเลือกการท�างานของ VSD ให้เหมาะกับ ลักษณะงานทีแ่ ตกต่างกันอย่างง่ายดาย และในส่วนระบบการ เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก เราได้ติดตั้ง Ethernet Port (RJ45) มาให้โดยไม่ต้องซื้อเป็น Option แต่อย่างใด เพื่อเพิ่ม ช่องทางการท�างานของผู้ใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น”
เทคโนโลยี Multipump
Multipump Solution ถูกออกแบบมาเพือ่ ให้รองรับการ ท�างานทีซ่ บั ซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพหลักๆ จะมี 3 ฟังก์ชนั่ 1. Multipump Single Drive 2. Multimaster 3. Multifollower 50 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ตามค�าสอนโบราณ น�้าและอากาศเป็นสององค์ ประกอบหลักที่หมุนโลก เฉก เช่นเดียวกับดินและไฟ วันนี้นา�้ และ อากาศมีบทบาทส�าคัญในชีวิต ประจ�าวันของเราและอยู่ในชีวิต ประจ�าวันของเรา ไม่ว่าจะเป็นระบบ ระบายอากาศภายในอาคาร รวมไปถึงระบบน�า้ ประปา
www.zi-argus.com
การเลือกใช้ในแต่ละฟังก์ชั่น จะขึ้นอยู่กับการประมาณความต้องการใช้น�้าในระบบ หรือการระบายอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามช่วงเวลาต่างๆ ของในแต่ละวัน ยกตัวอย่าง ง่ายๆ เช่น ในทุกวันนี้ส่วนใหญ่ในเวลาเช้าก่อนเข้าท�างานในแต่ละวัน ปริมาณความ ต้องการใช้น�้าในระบบประปาจะมีมาก เพราะในทุกครัวเรือนประชาชนจะใช้น�้าเพื่อการ ช�าระล้างและเตรียมอาหารในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกันมาก ซึ่งจะแตกต่างจากช่วงเย็นที่ ปริมาณการใช้น�้าจะไม่มากในช่วงเวลาเดียวกัน จากเหตุการณ์ที่กล่าวมา การใช้ “เทคโนโลยี Multipump” จึงเข้ามามีบทบาท เราจะสามารถส่งน�า้ ไปยังบ้านเรือนต่างๆ ได้โดยการใช้ VACON100FLOW ร่วมกับปั้มน�้าได้มากถึง 8 ตัว จึงท�าให้ง่ายต่อการ ปรับเปลีย่ นการท�างานของปัม้ เพือ่ ทีจ่ ะตอบสนองต่อความต้องการของสถานะการณ์ใน แต่ละช่วงเวลาได้อย่างถูกต้อง ยังเป็นการลด Pressure Suage และความเครียดของ ระบบที่เกิดจากการท�างานของปั้มได้อีกด้วย ในระบบที่ใช้งาน VACON100FLOW ร่วมกับปั้ม 8 ตัวนั้น นอกจากการจ่ายน�้าจะ ราบรื่นกว่าการที่เราใช้เพียงแค่ปั้มตัวเดียวแล้ว VACON100FLOW ยังสามารถสลับ การท�างานของปั๊มเป็นการยืดอายุการท�างานของปั้ม เพราะการใช้งานปั้มแค่ตัวเดียว จะท�าให้ปั้มรับภาระการท�างานมากจนเกินไป
ใชงานงานงาย และประหยัดเวลา
มีประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับผู้ที่ใช้งาน VSD ทั้งในการติดตั้งระบบใหม่ และที่ ใช้งานอยู่ การปรับเปลี่ยนค่าต่างๆ ในตัว VSD นั้น เรื่องของการเข้าไปตามเมนูภายใน ตัว VSD เป็นสิ่งที่ผู้ใช้งานต้องท�า เพื่อปรับเปลี่ยนค่าภายใน VSD ซึ่งการเข้าไปหาเมนู ค่อนข้างที่จะยุ่งยาก และซับซ้อนอยู่สักหน่อยส�าหรับคนที่ไม่เคยปรับหรือไม่ค่อยได้ไป ปรับ ต้องอาศัยคู่มือในการปรับค่า ซึ่งจะท�าให้เสียเวลาไปไม่น้อยในการปรับตั้งค่าแต่ ละครั้ง VCAON100FLOW ท�าให้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงอดีต เนื่องจากเมนู ต่างๆ ภายในตัว VACON100FLOW มีการจัดหมวดหมู่ต่างๆ ให้อย่างชัดเจนและง่าย ต่อการปรับค่าต่างๆ ไม่ต้องเสียเวลาใช้คู่มือเพื่อการหาต�าแหน่งของ Parameter ที่ ต้องการปรับ เพียงมีรายการที่เราจะปรับค่าภายในตัว VSD ก็พอ ท�าให้เราไม่เสียเวลา ในการค้นหา Parameter และไม่ต้องปรับโดยผู้ช�านาญการเพียงคนเดียว ส�าหรับผู้ที่ เริม่ ฝึกใช้ VSD ก็สามารถท�าได้งา่ ยเช่นเดียวกัน เราเชือ่ ว่า “เวลาเป็นสิง่ ส�าคัญ เราควร ได้งานที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยใช้เวลาที่สั้นที่สุด” VACON100FLOW เป็น VSD ที่ถูกพัฒนามาเพื่อปรับปรุง และควบคุมคุณภาพ ของของไหล ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของระบบส่งจ่ายน�้า ระบบบ�าบัดน�้า รวมไปถึงการ ระบายอากาศต่างๆ ในระบบอาคารอัตโนมัติ ซึง่ มีฟงั ก์ชนั่ พิเศษต่างๆ ทีก่ ล่าวไปแล้วข้าง ต้นช่วยในการท�างานของระบบได้เป็นอย่างดี
VACON100FLOW คุณสมบัติ VACON100FLOW
• Power range of 0.55 kW/0.75 HP to 160 kW/250 HP • Available in two voltage versions 208 - 240 V and 380 - 500 V • IP21/UL Type 1 or IP54/UL Type 12 certified enclosures • Dedicated flow control functionality • Multipump single drive, Multimaster and Multifollower pump control solutions as standard • Graphical keypad with wizards and application menus • Electrolytic-free DC link capacitors for long lifetime and high reliability • Integrated Safe torque off (STO) option, Safe Stop and ATEX thermistor protection • BACnet IP, Modbus TCP, Profinet IO (optional) and Ethernet IP (optional) via on-board Ethernet • Modbus RTU, Metasys N2 and BACnet MSTP via RS485 available as standard
จุดเดน
• ฟังก์ชั่นพิเศษเฉพาะส�าหรับปั๊มพัดลม และคอมเพรสเซอร์ ช่วยในการตั้งค่า ในระบบได้ง่ายขึ้น และยังได้ ประสิทธิภาพที่สูงขึ้น • “Electrolytic-free DC link capacitors” ช่วยให้อายุการใช้งาน ของ VSD ยาวนามขึ้น ท�าให้ช่วยลด การใช้จ่ายในการดูแลรักษา • หน้าจอรุ่นใหม่ที่ เป็น “Graphical Keypad” ตัวช่วย ในการตั้งค่า VSD ท�าให้สะดวกในการ ท�าความเข้าใจ และมีการจัดเรียง เมนูตามประเภท ท�าให้การตั้งค่าต่างๆ ง่ายขึ้น ประหยัด เวลามากขึ้น • ติดตั้งช่องทางการเชื่อมต่อในรูปแบบ Ethernet and RS485 ซึ่งเป็น การ เชื่อมต่อมาตราฐานของระบบอัตโนมัติ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ท�าให้สะดวกในการใช้งาน มากยิ่งขึ้น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 51
โปรแกรม Hitachi Mold Solution ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยได้รับข้อมูล จากนักออกแบบและผู้ผลิตแม่พิมพ์ เพื่อให้ แน่ใจว่าโปรแกรมตรงกับความต้องการ ของ ผู้ผลิต แม่พิมพ์และสามารถตอบโจทก์การ ออกแบบที่ท้าทายในปัจจุบัน
3D
Hitachi Mold Solution มีเครื่องมืออัตโนมัติ สาหรับช่วยใน การออกแบบของขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านที่ ย ากและซั บ ซ้ อ นที่ เกีย่ วข้องในการออกแบบแม่พมิ พ์ โปรแกรมจะช่วยให้คณ ุ ประหยัด เวลาตลอดขัน้ ตอนการออกแบบ และให้ 3D models เต็มรูปแบบ เพือ่ การผลิต ถ้าคุณปรับเปลีย่ นการออกแบบผลิตภัณฑ์คณ ุ จะสูญ เสียเวลาน้อยมากเพราะการเปลีย่ นแปลงรูปแบบของผลิตภัณฑ์มี การเชื่อมโยงขององค์ประกอบในการออกแบบแม่พิมพ์ 52 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Hitachi Mold Solution
Comprehensive libraries of mold bases, standard parts and component systems accelerate the complete mold assembly
Analyze parts for wall thickness and moldability considerations. Easily visualize results.
Work concurrently with team members, search, access and re-use project and process data all withon the managed development environment
ประโยชนและคุณคา ราคา การจัดการและการลด ค่าใช้จ่าย ควบคุมการออกแบบและกระบวนการ ผลิต ขจัดข้อผิดพลาด (มนุษย์และการออกแบบ) ท�างานกับข้อมูลหลายรูปแบบ เวลา ลดระยะเวลาการทางาน ลดระยะเวลาในการ ออกแบบ เพิ่มปริมาณการผลิต นามาใช้ความรู้และ ข้อมูล ลดและจัดการความพยายามเปลี่ยนแปลง การออกแบบและเวลา ลดการผลิตและเวลาที่เครื่อง คุณภาพ รักษาคุณภาพการออกแบบเครื่องมือ รักษาคุณภาพของสินค้า บรรลุความต้องการ ของลูกค้า
Parting เป็นกระบวนการของการ สร้างส่วนแบ่ง core และ cavity ตามแบบชิ้นงานพลาสติก ขั้นตอน การแบ่ง parting เป็นส่วนสาคัญ ของการออกแบบแม่พิมพ์พลาสติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับชิ้นส่วนที่ มีรูปร่างซับซ้อน Mold bases และข้อมูลขององค์ ประกอบของแม่พิมพ์ จะถูกรวมจาก ความหลากหลายของแคตตาล็อก และองค์ ป ระกอบที่ ก าหนดเองได้ รวมทัง้ sliders, lifters, sub-inserts และ electrodes ที่มีให้ยังอยู่ในชิ้น ส่วนมาตรฐาน และเราสามารถช่วย เชื่อมโยงการทา Pocket มาที่ช้ิน ส่วนมาตรฐานได้ด้วย Hitachi Mold Solution มีวิธีที่ใช้ งานง่ายในการจัดการที่แตกต่างกัน ของชิ้นส่วนมาตรฐาน คุณสามารถ ใช้ ชิ้ น ส่ ว นมาตรฐานในไลบรารี ได้ และปรั บ แต่ ง ไลบรารี ข องชิ้ น ส่ ว น มาตรฐานตามที่คุณกาหนด
บริษัท ฮิตาชิ ซันเวย อินฟอรเมชั่น ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จ�ากัด
252/21 ชั้น 17 เมืองไทยภัทร ออฟฟศ ทาวเวอร 1 ถนน รัชดาภิเษก แขวง/เขตหวยขวาง 10310 Tel. 02 693 2090-1 Fax. 02 693 2095 Email: enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com Website: www.hitachi-sunway-is.com
Hitachi Mold Solution ช่วยให้ คุ ณ สามารถรั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก ของ ผลิตภัณฑ์ที่เห็นภาพการไหล สมบัติ ทางความร้อน และเพิม่ ประสิทธิภาพ ของกระบวนการทางกายภาพ ก่อน ที่จะถูกผลิตขึ้นจริง Hitachi Mold Solution ช่วย ให้การออกแบบผลิตภัณฑ์บริษัทมี คุณภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนา และการร่นระยะเวลาในการออกสู่ ตลาด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 53
VETICAL SCOOP
การออกแบบ เชิ ง วิ ศ วกรรม กับการพัฒนาขีดความสามารถใน การผลิตของอุตสาหกรรมไทย Source: http://www.moldex3d.com/en/ news/20121210
คณิตศาสตร์และการค�านวณเป็นศาสตร์ ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีได้ มากกว่าเราคิด เพราะปัจจุบันเทคโนโลยีที่ เกิดขึน้ ทุกวันนีล้ ว้ นแล้วแต่มกี ารพัฒนามา จากความรู้ด้านคณิตศาสตร์ทั้งสิ้น การ ออกแบบเชิงวิศวกรรมก็เป็นศาสตร์หนึง่ ที่อาศัยความรู้ทางคณิตศาสตร์และการ ค�านวณเช่นเดียวกัน ซึ่งปัจจุบัน มีการ สร้างซอฟแวร์ที่ช่วยในการออกแบบเชิง วิศวกรรม และมีการน�าไปใช้อย่างกว้าง ขวาง ในวงการอุตสาหกรรมต่างๆ ทัว่ โลก ผู้เขียนขอน�าท่านผู้อ่านทุกท่าน ไปรู้จักกับการ ออกแบบเชิงวิศวกรรมในมิตติ า่ งๆ เริม่ ต้นจากการเรียน รูค้ วามส�าคัญของการออกแบบเชิงวิศวกรรมจากนานา แนวคิดของคนในวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท�าความเข้าใจกับวิธีการที่ท�าให้ได้มาซึ่งเครื่องมือช่วย ในการออกแบบวิศวกรรม นอกจากนั้น เราขอน�าท่าน ไปรู้จักกับองค์กรผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบเชิง วิศวกรรมด้วยเครื่องมือคอมพิวเตอร์ องค์กรที่ถือเป็น เสาหลักของการพัฒนาการออกแบบเชิงวิศวกรรมและ อุตสาหกรรมการผลิตของไทย สุดท้าย ท่านจะได้เรียน รูว้ า่ การออกแบบเชิงวิศวกรรม เมือ่ ถูกน�าไปใช้งานจริง แล้วนั้น สามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้ประกอบการได้ อย่างไร จากกรณีศกึ ษาของผูป้ ระกอบการทีใ่ ช้งานจริง การออกแบบเชิงวิศวกรรม มีความส�าคัญอย่างไร ต่อภาคการผลิตของประเทศไทย ขณะที่ในยุคปัจจุบัน อุตสาหกรรมต่างๆ ก�าลังเผชิญกับภาวะทีม่ กี ารแข่งขัน สูงเช่นนี้ เราจะไปติดตามและเรียนรู้จากทรรศนะของ ผูท้ มี่ บี ทบาทส�าคัญในวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศกันครับ 54 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ศ.ดร.วัลลภ สุระก�าพลธร ผู้อ�านวยการสถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีขั้นสูง ส�านักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
คุณยศกร ปทุมวัลย์ วิทยากรอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแห่งชาติ (MTEC) ส�านักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
“ในอดีตที่ผ่านมา คนไทยเรามี ทรัพยากรธรรมชาติ และแรงงานมี ฝีมือ เป็นตัวแปรหลักในการขับ เคลื่อนการพัฒนาของประเทศ ท�าให้ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้รับจ้างผลิต เพียงเท่านั้น แต่ยังไม่ความสามารถ ที่จะก้าวขึ้นสู่ประเทศเจ้าของสินค้าได้ อย่างเต็มตัว การพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะเป็นอีก หนึ่งตัวแปรส�าคัญในการท�าให้ ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นประเทศ เจ้าของสินค้าได้ในอนาคต การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยี การออกแบบเชิงวิศวกรรมก็เป็น โซลูชั่นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้แก่ ผู้ประกอบการไทยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ”
“ปัจจุบันอุตสาหกรรมการผลิต รถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์และ อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ มี การน�าเทคโนโลยีการออกแบบและ Simulation มาใช้กันอย่างกว้าง ขวาง อาศัยการออกแบบบนหน้า จอคอมพิวเตอร์ก่อนลงมือผลิต เป็นชิ้นงานจริง ซึ่งถือเป็นเครื่อง มือหนึ่งในการน�าไปใช้แก้ปัญหางาน ทางด้านวิศวกรรม แต่สิ่งที่ส�าคัญ คือ การน�าผลจากการค�านวณมาใช้ จะถูกต้องหรือไม่นั้น จ�าเป็นต้อง พิสูจน์จากชิ้นงานจริง ความถูก ต้องแม่นย�าของการค�านวณจึงเป็น ขั้นตอนแรกที่ผู้ใช้งานเครื่องมือนี้ จ�าเป็นต้องให้ความส�าคัญ และ พึ่งพาผู้ให้ความรู้และผู้เชี่ยวชาญใน การค�านวณและวิเคราะห์ผล”
ศ.ดร.ปราโมทย์ เดชะอ�าไพ อดีต Senior Aerospace Engineer ระดับ GS-14 องค์การอวกาศ NASA สหรัฐอเมริกา และรองผู้น�านวยการศูนย์ โลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช.
ดร.คมเมธ จิตวานิชไพบูลย์ ผู้จัดการโครงการ สถาบันวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีขั้นสูง ส�านักงานคณะ กรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโน โลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
“ศักยภาพการใช้ CAE ทุกวันนี้ ช่วยให้นักวิเคราะห์รู้ถึงปัญหาที่เกิด ขึ้นกับชิ้นงานและสามารถแก้ปัญหา นั้นๆ ได้อย่างตรงจุดและแม่นย�า โดย ไม่ต้องอาศัยการใช้ประสบ การณ์ หรือความเคยชินในการกะเกณฑ์ ปัญหาเหมือนที่ผ่านๆมา ประโยชน์ที่ เกิดขึ้นคือ ท�าให้สามารถมองเห็น ปรากฏ การณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่าง ชัดเจน ลดเวลาในการออกแบบ และ หลีกเลี่ยงการลองผิดลองถูก”
“ส�าหรับประเทศไทย ได้รับการ ยอมรับมาตลอดว่า เป็นประเทศที่ อยู่ได้ด้วยการปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิต แต่การที่เราจะก้าวขึ้นสู่ การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และมี รายได้สูงนั้น เราจะต้องเดินหน้า สร้างนวัตกรรมเป็นของตัวเอง ฉะนั้น การวิจัย การออกแบบ และ การพัฒนาคุณภาพการผลิตอย่าง จริงจังถือเป็นแนวทางที่จะท�าให้ ประเทศไทยก้าวสู่จุดๆ นั้นได้อย่าง ภาคภูมิ”
ปัจจุบัน มีการสร้างซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ช่วย ในการออกแบบเชิงวิศวกรรม ได้แก่
หลายปีทผี่ า่ นมา มีการพัฒนาเครือ่ งมือช่วยในการ ออกแบบขึ้นมาโดยใช้คอมพิวเตอร์ และน�าไปสู่การต่อ ยอดพัฒนา และน�าไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย ในปัจจุบัน
ระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนต และซอฟตแวรชวยออกแบบทางวิศวกรรม
ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ (Finite Element Method: FEM) คือ การใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยใน การแก้ปัญหาทางวิศวกรรม เช่นปัญหาทางโครงสร้าง และการกระจายตัวของความร้อนภายในวัสดุ เป็นต้น โดยเริ่มจากการจ�าลองรูปร่างของปัญหาแล้วท�าการ แบ่งรูปร่างออกเป็นองค์ประกอบเล็กๆ เพือ่ ลดความซับ ซ้อนและเพือ่ ความสะดวกในการแก้ปญ ั หา ท�าการก�าหนด สมบัติของวัสดุและสภาพการใช้งานจริง และท�าการ แก้ปัญหาโดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์
• CAD เป็นค�าย่อของ Computer Aided Design ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่าคอมพิวเตอร์ช่วย ในการ ออกแบบ เป็นการน�าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการ สร้ า งชิ้ น ส่ ว น ด้ ว ยแบบจ� า ลองทางเรขาคณิ ต ปัจจุบัน CAD software บางตัวยังสามารถ ใช้ใน งานวิศวกรรมย้อนกลับ (Reverse engineering) ได้ คุณภาพของพืน้ ผิวทีส่ ร้างขึน้ มาจาก ซอฟต์แวร์ วิศวกรรมย้อนกลับส่วนมากขึ้นอยู่กับ 2 องค์ ประกอบ คือ คุณภาพของแบบจ�าลองหรือ ส่วน ประกอบทีน่ า� มาสแกน และคุณภาพของข้อมูลเชิง ตัวเลข บางครั้งในการท�างานจริงเราไม่สามารถ ได้แบบจ�าลองที่สมบูรณ์ หรือคุณภาพของข้อมูล เชิงตัวเลขทีไ่ ด้ไม่ดี เนือ่ งจากชิน้ ส่วนช�ารุดหรือถูก ท�าลาย CAD software บางตัวสามารถแก้ไข ปัญหาพื้นผิวของแบบจ�าลองในบริเวณที่ช�ารุด ได้ หรืออาจแต่งเติมดัดแปลงให้ดกี ว่าของเดิมทีส่ แกน มาได้ • CAM คือค�าย่อของ Computer Aided Manufacturing แปลเป็นภาษาไทยว่า คอมพิวเตอร์ชว่ ย ในการผลิต เป็นการน�าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการ สร้างรหัสจี (G-code) เพือ่ ควบคุมเครือ่ งจักรซีเอ็น ซีในการกัดขึ้นรูปชิ้นส่วน โดยใช้ข้อมูลทางรูปร่าง จาก CAD ด้วยการพัฒนา CAM software อย่าง ต่อเนื่อง ปัจจุบัน CAM software ได้รับการ พัฒนาให้ช่วยส่งเสริมการกัดหยาบได้รวดเร็วขึ้น และสามารถกัดละเอียดด้วยความเร็วสูง รวมถึง การกัด 5 แกนด้วย • CAE เป็นค�าย่อของ Computer Aided Engineering แปลเป็นไทยว่าคอมพิวเตอร์ช่วยงาน วิศวกรรม CAE เป็นสาขาหนึ่งของวิศวกรรม ซึ่ง เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการ แก้ปัญหาที่ซับซ้อนซึ่งยากเกินไป หรือเป็นไปไม่ ได้ทจี่ ะแก้ปญ ั หาโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปญ ั หา แบบเดิม CAE เป็น เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูง ส�าหรับการท�านายพฤติกรรมของชิ้นส่วน การใช้ CAE จ�าลองชิ้นส่วนในสภาวะแวดล้อมใช้งาน ปฏิกริ ยิ าของชิน้ ส่วนต่อภาระงาน สามารถท�านาย ได้ แล้วเลือกใช้ค่าที่เหมาะสมที่สุด
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 55
อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส
ส�าหรับประเทศไทย หน่วยงานหลักที่มีบทบาทส�าคัญในการเป็นผู้เชี่ยว ชาญและให้คา� ปรึกษาด้านการออกแบบเชิงวิศวกรรมนัน้ ก็คอื ศูนย์บริการ ปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (DECC) ซึง่ เปรียบเสมือนแหล่งความ รูแ้ ละทีพ่ งึ่ ส�าหรับผูป้ ระกอบการไทย ทีต่ อ้ งการพัฒนาคุณภาพการผลิต ด้วยการออกแบบเชิงวิศวกรรม
Flow Part Condensing Unit
วิเคราะห์การไหลของอากาศที่ผ่าน Condensing Unit เพื่อปรับปรุงรูปแบบใบพัด ตะแกรง และปากป่องลม ให้มีปรับประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น
กลุมอุตสาหกรรมรถยนต
STRESS ON BUS
การวิเคราะห์ความแข็งแรงของโคตรงสร้างรถ โดยสาร 2 ชั้น เพื่อช่วยออกแบบโครงสร้างใหม่ที่มี ความแข็งแรงและปลอดภัย ต่อผู้โดยสาร
อุตสาหกรรมการแพทย
STRESS ON HIP PROSTHESES
การวิเคราะห์ความเค้นในสะโพกเทียมโลหะ ช่วยให้ ทราบถึงต�าแหน่งที่จะเกิดการแตกหักได้ล่วงหน้า ท�าให้สามารถออกแบบรูปร่างสะโพกเทียบสามารถ รับแรงให้ความปลอดภัยมากขึ้น
อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร
FURNIITURE DESIGN
วิเคราะห์ความแข็งแรงของโครงสร้างเก้าอี้หวาย ขณะรับน�้าหนักจากคนนั่ง เพื่อออกแบบรูปร่างและ ความหนาของเก้าอี้ได้อย่างเหมาะสม โดยเน้น ประมาณวัสดุที่น้อยที่สุด
56 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
DECC หนวยงานผูสนับสนุนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมของไทย
ศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (Design & Engineering Consulting Service Center, DECC) จัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2549 มีสถานะเป็น หน่วยงานที่อยู่ภายใต้ข้อบังคับคณะกรรมการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์ฯ มีความ เชีย่ วชาญในด้านเทคโนโลยี CAE (Computer–Aided Engineering) ด�าเนินงานบริการวิศวกรรม (Engineering Service) และแก้ปัญหางานออกแบบ งาน ผลิ ต และงานซ่ อ มบ� า รุ ง รวมทั้ ง งานฝึ ก อบรมและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี CAE ให้กับภาคอุตสาหกรรมและ สถาบันต่างๆของประเทศ ส�าหรับประเทศไทย ในอดีตผู้ประกอบการในกลุ่ม อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพียงผู้รับช่วงการผลิต (OEM: Original Equipment Manufacturer) หรือ รับจ้างผลิต และต้องลดราคาสินค้าลงมาอย่างต่อเนือ่ ง เพื่ อ ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ สิ น ค้ า น� า เข้ า ได้ การใช้ กระบวนการ Digital Engineering จะเป็นการยก ระดับความสามารถของผูป้ ระกอบการไทยจากการเป็น
ผู้รับจ้างผลิตตามแบบ (OEM) ให้มาเป็นผู้รับจ้างผลิต ที่มีการออกแบบและพัฒนาสินค้าได้เป็นของตนเอง (ODM: Original Design Manufacturing) ซึง่ จะช่วย ให้สนิ ค้าทีผ่ ลิตมีความโดดเด่นและแตกต่างจากคูแ่ ข่งขัน โดยการใช้ CAE นั้นเป็นหนึ่งในกระบวนการ Digital Engineering ซึ่งเป็นโปรแกรมเชิงบูรณาการ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการออกแบบผลิต ภัณฑ์และกระบวนการผลิตที่มีความซับซ้อนภายใน ระยะเวลาอันสั้น โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ข่าวสาร และการจ�าลองโดยใช้ระบบซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์เป็น ส�าคัญ ด้วยการจ�าลองเสมือนจริง (Virtual Simulation) โดยอาศัยซอฟท์แวร์ CAD/CAM/CAE Process Simulation ส�าหรับงานออกแบบและพัฒนาการผลิต ในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ กลุ่มอุตสาหกรรม เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์และชิน้ ส่วน ยานยนต์ การแพทย์ และเฟอร์นเิ จอร์ เป็นต้น กระบวน การ Digital Engineering จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และคุ ณ ภาพในการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product Design) และการพัฒนากระบวนการผลิต (Production Development)
ที่สามารถควบคุมความเร็วลมขณะบดน�้าตาลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้ลดการฟุง้ กระจายของ ผงน�า้ ตาล ทีเ่ ป็นสาเหตุของการสูญเสียได้ถงึ 99.9 เปอร์เซ็นต์
คุณสมพงษ ตังคเศรษฐกุล ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทพีเอพี แก๊ส แอนด์ ออยล์ จ�ากัด
บริษทั น้องใหม่ในวงการพลังงานของไทย ผูใ้ ห้บริการ สถานีบริการก๊าซรถยนต์ ผู้ผลิตก๊าซเพื่อใช้ใน โรงงานอุตสาหกรรม และก๊าซหุงต้มส�าหรับครัว เรือน ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รบั การพัฒนาอันเนือ่ งมาจาก การใช้งานการออกแบบเชิงวิศวกรรมเข้ามาช่วย คือ ถังแก๊สคอมโพสิต ภายใต้แบรนด์ ‘อิ่มอุ่น’ ที่ ได้รบั การพัฒนารูปแบบจากถังแก๊สเหล็กแบบเก่า ให้มคี วามทันสมัย และสะดวกสบายต่อการใช้งาน มากขึ้น ซึ่งนับเป็นนวัตกรรมถังแก๊สแอลพีจีท่ีมี วัสดุหลักเป็นพอลิเมอร์ อาศัยการเชื่อมประสาน ด้วยกระบวนการผลิตแบบพัน โดยมีวัสดุเสริม ความแข็ ง แรงที่ ป ระกอบด้ ว ยเส้ น ใยและเรซิ่ น ท�าให้ทนทานต่อการกระแทก การเฉือน และต้าน ทานต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆ
ผูแทนจากฝ่ายวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ พลาสติกบริษัทสิงห คอปอเรชั่น จ�ากัด
เมือ่ การออกแบบเชิงวิศวกรรมถูกน�าไปใช้งานจริง สิ่งที่ได้คือการพัฒนา ปรับปรุง และแก้ไขปัญหาของ ผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้เกิดประโยชน์โดยตรงต่อผูป้ ระกอบ การ ในการลดต้นทุนและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ปัจจุบนั หน่วยงานภาคธุรกิจ ทัง้ ผูป้ ระกอบการราย ใหญ่และรายย่อย ต่างให้ความส�าคัญกับการใช้เทคโน โลยีเพือ่ การออกแบบเชิงวิศวกรรมกันอย่างกว้าง ขวาง มากขึน้ เรือ่ ยๆ เพือ่ เป็นการยกระดับขีดความสามรถใน การแข่งขัน และเพิ่มศักยภาพการผลิตให้ทัดเทียมคู่ แข่งทั้งในและต่างประเทศ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของผู้ ประกอบการที่ใช้การออกแบบเชิงวิศวกรรมในการ พัฒนาธุรกิจของตนเอง
คุณชาคริต ศรีขาว ผู้จัดการฝ่ายโรงงาน บริษัทวินเนอร์กรุ๊ป เอ็นเตอร์ไพรซ์ จ�ากัด (มหาชน)
ผูน้ า� เข้า ผลิตและจ�าหน่ายสารเติมแต่งอาหารและ ผลิตภัณฑ์อาหารส�าเร็จรูปให้กับลูกค้าทั่วประเทศ และมีแผนการขยายธุรกิจและส่งออกไปยังประเทศ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษทั ฯ ได้นา� การออกแบบเชิงวิศวกรรมเข้ามาใช้ในกระบวน การผลิตน�า้ ตาลไอซิง่ เพือ่ แก้ปญ ั หาการฟุง้ กระจาย ของน�้าตาลในกระบวนการบด ซึ่งท�าให้สูญเสีย วัตถุดิบไปโดยเปล่าประโยชน์ การออกแบบเชิง วิศวกรรมได้ถูกน�ามาใช้ในการผลิตระบบไซโคลน
บริษัทผู้ดูแลรับผิดชอบในสินค้าและผลิตภัณฑ์น�้า ดื่มและแอลกอฮอล์ประเภทเบียร์ และเครื่องดื่ม Sport Drink ซึ่งมีโรงงานผลิตกระจายอยู่ใน จังหวัดต่างๆ ทุกภูมภิ าคของประเทศ ซึง่ หน้าทีห่ นึง่ ของฝ่ายวิจยั และพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ คือการคิดค้น และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับบรรจุภัณฑ์ การออก แบบเชิงวิศวกรรมได้เข้ ามามีบทบาทและช่วย เหลือในการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์แบบใหม่ๆ จะ เห็ น ได้ จากรู ป ลั ก ษณ์ ข องขวดน�้ า ดื่ ม ตราสิ ง ห์ ที่ เปลี่ยนแปลงไป จากแต่เดิมที่เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นรูปทรงกระบอก การใช้วิธี การออกแบบเชิงวิศวกรรม มีสว่ นส�าคัญในการลด ความซ�้าซ้อนของกระบวนการผลิต ซึ่งแน่นอนว่า จะส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนการผลิตที่ลดลงนั่นเอง จะเห็นได้ว่า การออกแบบเชิงวิศวกรรม ได้เข้ามา มีบทบาทส�าคัญ ในแง่ของการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต และลดความสูญเสีย ทั้งต้นทุนและเวลา ให้กับ อุตสาหกรรมต่างๆ ในโลกปัจจุบัน ทั้งยังน�ามาซึ่งการ สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ โดยใช้หลักการทางคณิต ศาสตร์และการค�านวณ วิเคราะห์ และแก้ปัญหาความ บกพร่องทีม่ คี วามแม่นย�า มากกว่าการใช้ประสบการณ์ ในการคาดคะเนเหมือนเช่นแต่ก่อน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 57
REAL LIFE
เส้นทางสู่... การเป็นเจ้าของ ธุรกิจเงินล้านของคุณ
สมชาย … ศรีมีปวันนีระจั น ทร์ ้เพราะมุ่งมั่นและอดทน
‘สมชาย ศรีประจันทร’ นักธุรกิจแนวหน้า แห่ ง แวดวงอุ ต สาหกรรม น� าพาแบรนด์ พรสถิ ต ย พรี ซิ ช่ั น ครองใจนั ก ลงทุ น ประเทศญี่ปุ่น 100 % จากเมื่อก่อนเคยเป็น เพียงพนักงานภายในบริษัทแห่งหนึ่ง หลัง จากนัน้ เมือ่ เก็บเกีย่ วชัว่ โมงบิน และได้ผนั ชีวติ มาร่วมทุนกับเพื่อนในวงการอุตสาหกรรม ซึ่งในช่วงแรกที่ด�าเนินธุรกิจก็ถือว่าประสบ ความส�าเร็จ แต่เมื่อด�าเนินธุรกิจได้ระยะหนึ่ง ก็เหมือนโชคซะตาเล่นตลกต้องประสบกับ ปัญหาขาดทุน จึงส่งผลให้เป็นหนี้หลายสิบ ล้านบาท ดังนั้น จึงได้ตัดสินใจลาออกจากวงการธุรกิจ และกลับไปพัก ณ หุบเขาแถบภาคใต้ พร้อมกับฝึก วิทยายุทธ์ และกลับมาต่อสู้กับการด� าเนินธุรกิจ รับจ้างผลิตชิ้นที่เกี่ยวข้องในภาคอุตสาหกรรมได้ ประสบความส�าเร็จจนถึงปัจจุบันได้อย่างไร
ความทาทาย... สูความส�าเร็จในภาคอุตสาหกรรม
กว่าจะก้าวสูค่ วามส�าเร็จในการด�าเนินธุรกิจนัน้ มีอุปสรรคนานัปการที่ท�าให้เหล่าบรรดานักธุรกิจ ต้องรับมือ ต่อสู้ด้วยความมุ่งมานะ อดทน อดกลั้น เพื่อน�าพาบริษัทไปสู่ความส�าเร็จ คงไม่มีใครปฏิเสธ ได้ว่าเป็นเรื่องง่าย แต่วันนี้ คุณสมชาย ศรีประ จันทร์ Managing Director บริษัท พรสถิตย์ พรีซชิ นั่ จ�ากัด ได้นา� ประสบการณ์จริงในการด�าเนิน ธุรกิจมาแชร์ให้ผู้อ่านรวมถึงผู้ประกอบการในภาค อุตสาหกรรมที่จะน�าพาบริษัทของท่านไปสู่ความ ส�าเร็จได้รับรู้ถึงการด�าเนินธุรกิจแบบถึงพริก ถึงขิง ว่า ส�าหรับสิ่งที่ท�าให้ประสบความส�าเร็จในการ คุณสมชาย ศรีประจันทร์ Managing Director บริษัท พรสถิตย์ พรีซิชั่น จ�ากัด
58 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จากเส้นทางเข้าสู่วงการอุตสาหกรรมที่ต้องบุกน�้า ลุยไฟ จึงท�าให้บริษัทฯ ประสบความส�าเร็จ วันนี้บริษัทฯ มีไลน์การผลิตที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
ด�าเนินธุรกิจนัน้ ทุกคนจะต้องมีความมานะ มุง่ มัน่ ในการท�างาน และมีเลือดของ นักสู้โดยมีทั้งจิตวิญาณ กลยุทธ์ และกุศโลบาย เพื่อเป็นช่องทางในการด�าเนิน ธุรกิจให้ประสบความส�าเร็จ จากความมุ่งมานะ ขยัน อดทน บวกกับประสบการณ์ที่สั่งสมมานานกว่า 14 ปี จึงท�าให้บริษัทฯ ประสบความส�าเร็จในด้านต่างๆ ดังนี้
‘ภายในระยะเวลา 10 กว่าปี สามารถมีโรงงานผลิตได้ ทั้งหมด 3 โรงงาน และในปีนี้มีแผนที่จะขยายโรงงาน เป็นโรงานแห่งที่ 4 ’ ‘ได้รับการยอมรับจากนักลงทุนประเทศญี่ปุ่น 100%’ ‘ไลน์การผลิตที่เติบโตอย่างต่อเนื่องถึง 5 ไลน์’ ‘มีเครื่องจักรซีเอ็นซี 100 ตัว โดยเก็บไว้ใช้เองและ จ�าหน่ายให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม’ “การมีองค์กรใหญ่ผบู้ ริหารจะต้องเป็นผูเ้ สียสละพร้อมกับสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กับลูกจ้าง เพื่อให้สามารถท�างานร่วมกับบริษัทฯ ได้ยาวนาน ซึ่งจะเห็นได้ว่า ลูกจ้างที่เข้ามาท�างานในบริษัทฯ แต่ละคนมีอายุการท�างานนานกว่า 10 ปี ทั้งนี้ ตนมองว่าเมือ่ มีลกู จ้างทีม่ ปี ระสบการณ์ในการท�างานมากก็จะส่งผลต่อระบบการ ท�างานและการบริหารงานภายในองค์กรได้ง่ายขึ้น” คุณสมชาย ได้กล่าวย�้า
เสนทางกาวยางสูวงการอุตสาหกรรม
ส�าหรับเส้นทางในการก้าวเข้าสู่วงการอุตสาหกรรม คุณสมชาย เล่าให้กับ ทีมงานนิตยสาร Modern Manufacturing ฟังว่า บริษัทฯ ได้เริ่มต้นด�าเนิน ธุรกิจด้วยการรับจ้างผลิตชิ้นส่วนเกี่ยวข้องในภาคอุตสาหกรรม โดยได้ร่วมทุน กับเพื่อนๆ แต่การร่วมท�าธุรกิจก็ประสบปัญหาขาดทุนทุกครั้ง ด้วยเหตุนี้ จึงส่ง ผลให้เกิดภาวะการเป็นหนี้สินร่วมหลายสิบล้านบาท “ตลอดระยะเวลากว่า 14 ปี ที่ผ่านมา ตนได้มุ่งมั่นท�างานกลับบ้านหลังตี 3 ทุกวัน และมาท�างานก่อน 6 โมงเช้าทุกวัน โดยปฏิบัติมาเป็นระยะเวลา 365 วัน คูณด้วย 3 ปี ซึง่ ท�างานไม่หยุดแม้แต่วนั เดียว เนือ่ งจาก ณ เวลานัน้ สภาพร่างกาย ยังแข็งแรงและพร้อมที่จะท�างานอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้ สิ่งที่ท�าให้มุ่งมานะท�างาน ก็เพราะมีสิ่งเตือนใจเนื่องจากตอนที่ด�าเนินธุรกิจร่วมกับเพื่อนไม่ประสบความ ส�าเร็จและได้ปฏิญาณกับตัวเองว่าจะไม่ท�าธุรกิจร่วมกับผู้ใด” อย่างไรก็ตาม ตอนที่ไปอยู่ ณ หุบเขาแถบภาคใต้ เป็นระยะเวลา 4 ปี ได้ศกึ ษาค�าสอน และการน�ากลยุทธ์จากวรรณกรรมและบุคคลผูม้ ชี อื่ เสียง ในต�านาน เช่น วรรณกรรมสามก๊ก เหมาเจ๋อตุง ฉินซีฮ่องเต้ เป็นต้น จนแตกฉานหรือเรียกได้ว่าแบบละเอียดมาก และหลังจากนั้นเมื่อกลับ มาท�าธุรกิจอีกครัง้ ก็ได้นา� แนวคิดทีศ่ กึ ษามาปรับใช้ในการด�าเนินธุรกิจ อาทิ การท�าธุรกิจไม่จ�าเป็นต้องมีเงิน แต่อยู่ที่กระบวนการคิดของ ตัวเองมากกว่า เป็นต้น คุณสมชาย เล่าให้ฟังต่อว่า จากแนวคิดที่ได้ไปศึกษามาเป็น ระยะเวลา 4 ปี เมื่อกลับมาท�าธุรกิจอีกครั้ง ได้ท�าการจดทะเบียน บริษัทฯ ภายใต้ชื่อบริษัท พรสถิตย์ พรีซิชั่น จ�ากัด (ซึ่งชื่อบริษัทเป็น ของมารดา) พร้อมกับซื้อเครื่องแฟกซ์หนึ่งเครื่องเพื่อน�ามาใช้ด�าเนิน ธุรกิจรับจ้างผลิตชิ้นงาน โดยงานชิ้นแรกที่บริษัทฯ ได้รับจ้างผลิต Trumpets Heisting ในราคา 70,000 บาท โดยได้รับการสนับสนุน จากเพื่อนที่ท�างานอยู่ในบริษัทแห่งหนึ่งในนิคมอุตสาห กรรมไฮเทค นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ใช้ตึกแถวเพียง 1 คูหาเล็กๆ แถวถนน กิ่งแก้วในจังหวัดสมุทรปราการ สร้างเป็นอาคารส�านักงาน ต่อมา เมื่อรู้จักกับนักลงทุนมากขึ้นก็ได้รับจ้างผลิตชิ้นงานที่ใช้ในภาค อุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม ยานยนต์ และอุตสาหกรรมอืน่ ทีเ่ กีย่ งข้อง โดยได้รบั การสนับสนุน จากนักลงทุนชาวต่างชาติ
ไลนการผลิต... เติบโตอยางตอเนื่อง
นอกเหนือจาก ความมุงมานะ ขยันในการ ท�างานแลวอีก สวนหนึ่งที่ท�าให บริษัทฯ ประสบ ความส�าเร็จ จนถึงทุกวันนี้ คือ ประสบ การณที่ไดสั่งสม มาอยางยาวนาน จนท�าใหไดรับค�า กลาวขานในภาค อุตสาหกรรม
คุณสมชายกล่าวต่อว่า ส�าหรับ ไลน์การผลิตแรกที่บริษัทฯ เริ่มเดิน เครื่องจักร คือ ไลน์ Jig & Fixture โดยเครื่องจักรตัวแรกเริ่มผลิตชิ้นงานเมื่อ วันที่ 10 เดือนตุลาคม 2538 ซึ่งไลน์แรกบริษัทฯ ได้เริ่มด�าเนินธุรกิจมานานกว่า 20 ปี และในปัจจุบันบริษัทฯ ก็ยังมีการผลิตชิ้นงานอยู่ หลังจากนั้นบริษัทฯ ก็ได้ เพิ่มไลน์การผลิตอีกหนึ่งไลน์ คือ การผลิตชิ้นงานจ�านวนมาก (Mass Product) โดยงานชิ้นแรกที่บริษัทฯ รับจ้างผลิต คือ ชิ้นส่วนภายในมอเตอร์ฮาดร์ดิส คอมพิวเตอร์ของบริษัท มินิแบ ประเทศไทย จ�ากัด ซึ่งถือได้ว่าเป็นงานชิ้นแรก ของไลน์ Mass Product และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการผลิตชิ้นส่วนจ�านวนมาก ของบริษัทฯ โดยไลน์ผลิตนี้ ได้ผลิตชิ้นงานมานานกว่า 14 ปี จนถึงปัจจุบันและ มีลูกค้าเพิ่มขึ้นอีกหลายบริษัท หลังจากที่บริษัทฯ ได้สั่งสมประสบการณ์ในภาคอุตสาหกรรมมาอย่าง ยาวนานบวกกับมีบุคคลกรที่เปี่ยมด้วยความสามารถ บริษัทฯ ก็ได้เบนเข็มมา รับจ้างผลิตชิน้ งานทีเ่ กีย่ วข้องกับในภาคอุตสาหกรรมให้กบั นักลงทุนซึง่ เป็นบริษทั ญี่ปุ่น 100 % ปัจจุบันบริษัทฯ มีโรงงานทั้งหมด 3 โรงงาน โดยตั้งอยู่บนที่ 4 ไร่ ซึง่ โรงงานทัง้ 3 โรงงานตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ดียวกัน และได้มกี ารแบ่งเป็นไลน์การผลิต ดังนี้ • Tire Mold: เป็นไลน์ส�าหรับผลิตแม่พิมพ์ยางรถยนต์ • Mass Product: เป็นไลน์ผลิตอะไหล่รถให้กับค่ายฮอนด้า ทั้งรถยนต์ และมอเตอร์ไซค์ และไลน์ผลิตชิ้นส่วนคอปั้มน�้า • Machine Die Casting Parts • Jig & Fixture: เป็นไลน์สา� หรับผลิตชิน้ ส่วนของ บริษทั ฮอนด้า เอเชีย จ�ากัด • Mold & Die Casting
จากไลน์การผลิตที่กล่าวในเบื้องต้น ในช่วง ระยะเวลา 20 กว่าปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้เดินไลน์ การผลิตตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีการแบ่งออกเป็น 2 กะ ในการผลิตชิ้นงานเพื่อให้ทันต่อความต้องการ ของลูกค้า ซึ่งงานที่รับจ้างผลิตนั้นได้รับการสนับ สนุนจากนักลงทุนที่เป็นบริษัทญี่ปุ่น 100% โดย บริษัทฯ ได้ยึดหลักในกระบวนการท�างานที่ว่า ‘งาน มีคุณภาพ พร้อมส่งมอบงานได้ตรงเวลา’ “ตลอดระยะเวลาทีบ่ ริษทั ฯ ได้เปิดด�าเนินธุรกิจ มานานกว่า 20 ปี บริษทั ฯ ไม่มเี ซลล์ แต่สงิ่ ทีบ่ ริษทั ฯ อยูไ่ ด้คอื การรับจ้างผลิตงานชิน้ งานเฉพาะ (Special Part) ซึ่งเป็นการผลิตชิ้นงานที่มีคุณภาพสูง แต่ บริษทั อืน่ ไม่สามารถรับจ้างผลิตได้”คุณสมชายกล่าว นอกเหนือจากบริษัทฯ จะรับจ้างผลิตชิ้นงานที่ เกี่ยวข้องในภาคอุตสาหกรรมแล้ว บริษัทฯ ยัง ด�าเนินธุรกิจขายเครื่องจักรซีเอ็นซีมือสอง โดยซื้อ เครื่ อ งจั ก รมื อ สองที่ น� า เข้ า มาจากญี่ ปุ ่ น ได้ น� า มา ปรับปรุงและซ่อมแซม เพือ่ น�าขายในการผูป้ ระกอบ การในภาคอุตสาหกรรมและใช้เอง ปัจจุบันบริษัทฯ มีเครื่องจักรซีเอ็นซีประมาณ 100 กว่าตัว ด้วยความอดทน ขยัน จึงท�าให้บริษัทฯ ประสบ ความส�าเร็จพร้อมกับได้รับค�ากล่าวขานในวงการ งานเครื่องจักรกล แต่ก็เหมือนโชคชะตาเล่นตลก โดยในช่วงปี 2550 ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต�่า จึง ส่งผลท�าให้บริษัทฯ ต้องประสบปัญหากับภาวะ เศรษฐกิจตกต�่า
ความอยูรอดของ... พรสถิตย พรีซิชั่นในชวง ปี 2550
คุ ณ สมชายกล่ า วว่ า จากที่ ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ จน ประสบความส�าเร็จและได้รบั การตอบรับจากบริษทั ทีจ่ า้ งผลิตชิน้ งานมาเป็นอย่างดี แต่เมือ่ เข้าสูป่ ี 2550 บริษัทฯ ต้องประสบกับปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต�่า และยอดการจ้างผลิต ชิ้นงานก็ลดลง จึงส่งผลให้ บริษทั ฯ เกิดภาวการณ์สนั่ คลอน แต่ในความโชคร้าย บริษัทฯ ก็ยังสามารถรับจ้างผลิตชิ้นงานได้ โดยการ ใช้กลยุทธ์ปรับเปลี่ยนไลน์การผลิตด้วยการใช้ไลน์ การผลิตหนึ่งมาทดแทนอีกไลน์หนึ่ง เช่น ไลน์ Jig & Fixture ไม่มีการผลิตชิ้นงานก็สามารถน�าไลน์ Tire Mold มาทดแทนรายได้ส่วนที่ขาดหายไปได้ เป็นต้น คุณสมชายกล่าวทิง้ ท้ายว่า ส�าหรับหนทางการ
เครื่องจักรตัวแรก ของบริษัท พรสถิตย์ พรีซิชั่น จ�ากัด
แก้ ป ั ญ หาพิ ษ เศรษฐกิ จ ที่ ต กต�่ า ในปี 2550 นั้ น บริษทั ฯ ได้นา� กลยุทธ์ทไี่ ปศึกษาเมือ่ ครัง้ อดีตมาปรับ ใช้ในกระบวนการผลิต จึงท�าให้บริษทั ฯ ไม่มกี ารปลด พนักงานออกแม้เพียงท่านเดียวและได้มีการประ คองพนักงานไว้ ด้วยการขายเครือ่ งจักรและรถยนต์ ส่วนตัวเพื่อน�าเงินมาจ่ายค่าจ้างให้กับพนักงาน ซึ่ง ในปี 2550 เป็นปีเดียวที่บริษัทฯ ไม่จ่ายโบนัส ทั้งนี้ จากความพยายามที่ทางบริษัทฯ ประคับประคอง บุคลากรไว้ เนือ่ งจากหากสถานการณ์เศรษฐกิจกลับ เข้าสู่ภาวะปกติ และบริษัทต่างชาติกลับมาลงทุน ทางบริษทั ฯ ก็สามารถเดินเครือ่ งจักรในไลน์การผลิต ได้ทันท่วงที ด้วยความมุง่ มานะ อดทน ขยัน และใส่ใจอย่าง รอบด้านผสานกับประสบการณ์ที่สั่งสมมานานกว่า 20 ปี ณ วันนี้ จึงท�าให้บริษัท พรสถิตย์ พรีซิชั่น จ�ากัด ได้รบั ความเชือ่ มันจากนักลงทุนประเทศญีป่ นุ่ 100% และเคียงข้างภาคอุตสาหกรรมไทยด้วยความ พร้อมเกินร้อย
บริษัท พรสถิตย์ พรีซิชั่น จ�ากัด ด�าเนินธุรกิจรับจ้างผลิตชิ้นส่วนที่ เกี่ยวข้องในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งก่อตั้งโดย คุณสมชาย ศรีประจันทร์ เมื่อ ประมาณเดือนตุลาคม 2538 ด้วยทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท หลังจากนั้นได้ เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 5 ล้านบาท และย้ายโรงงานมาอยู่ท่ี ถนนกิ่งแก้ว เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2543 (บ้านเลขที่ 59/8 หมู่ที่ 7 ถ.กิ่งแก้ว ต.ราชา เทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ) จากนั้นได้มีการซื้อที่จ�านวน 4 ไร่และสร้างโรงงาน โดยย้ายโรงงานมา ที่อยู่ปัจจุบัน เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2549 และมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 15 ล้านบาท
ขอบเขตธุรกิจ
1. ประกอบกิจการรับสร้างอุปกรณ์ จับยึดชิ้นงาน (JIG & FIXTURE) เพื่อใช้ในกิจการยานยนต์ 2. ประกอบกิจการ งาน Mass Product เพื่อใช้ในงานผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์และยานยนต์ 3. ประกอบกิจการรับจ้างท�าแม่พิมพ์ส�าหรับใช้ในกิจการขึ้นรูปโลหะทุก ชนิด 4. ประกอบกิจการผลิตและจ�าหน่าย อะไหล่ ชิ้นส่วนที่ใช้กับอุปกรณ์แม่ พิมพ์ 5. ประกอบกิจการผลิตชิ้นส่วน อะไหล่และอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องจักร กลทุกชนิด 6. ประกอบกิจการรับจ้างกลึง ไส เจาะ ตัด เจียร โลหะและวัสดุอื่นๆ ทุกชนิด รวมถึงงานที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ
60 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ELECTRIC TREND
เซ็นเซอร์ตรวจวัดกระแสไฟฟ้า
ส�าหรับมาตรวัดพลังงานไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การใชงาน ‘Solid-State Meter’ ส�าหรับใชเป็นมาตรวัดพลังงานไดเขามาแทนทีม่ เิ ตอรไฟฟ้าแบบธรรมดาทีใ่ ชงานอยางยาวนาน สวน ใหญของวันนี้มาตรวัดขั้นสูงน�ามาใชสถาปัตยกรรมแบบสัญญาณผสมกับ A/D คอนเวอรเตอรและ DSP สถาปัตยกรรมนี้ชวย ใหมนั่ ใจความถูกตองและความนาเชือ่ ถือทีด่ สี า� หรับชีวติ การใชงานยาวนานของมิเตอรวดั พลังงาน การใชงาน ‘Solid-State Meter’ ในการตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 61
ทัง้ นี้ การตรวจวัดกระแสไฟฟ้าเป็นปัญหาทีย่ ากมากขึน้ เพราะการเปลีย่ นแปลงโหลดกว้างและฮาร์โมนิคส์ในกระแส ไฟฟ้า รวมถึงการสิ้นเปลืองกระแสไฟฟ้าสูงสุดที่เกิดขึ้นใน ระบบยังคงเพิ่มขึ้น มันเป็นเรื่องที่ถึงจุดที่การแก้ปัญหาการ ตรวจจับในกระแสไฟฟ้าวันนี้จะไม่เพียงพอ ดังนัน้ การเลือกใช้งานขดลวด Rogowski ส�าหรับการ ใช้วัดค่ากระแสสูงๆ ร่วมกับการแก้ปัญหาด้วยเทคนิคทาง ดิจติ อลทีแ่ สดงถึงการใช้เซ็นเซอร์วดั กระแสไฟฟ้าทีเ่ ป็นไปได้ มาตรวัดพลังงานในงานอุตสาหกรรม แสดงดังรูปที่ 1. จากรูปที่ 2. หลักการท�างาน คือ ทรานสดิวเซอร์ท�า หน้าที่ในการตรวจจับค่ากระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าทาง อินพุตทีเ่ ป็นสัญญาณแอนาลอก (Analog) จากนัน้ สัญญาณ จะถูกแปลงจากสัญญาณแอนาลอกเป็นสัญญาณดิจิตอล (A/D Converter) และการประมวลผลสัญญาณแบบดิจติ อล (Digital Signal [Processing: DSP) สัญญาณที่ได้ทา� การ วัดและเปรียบเทียบในบล็อกนี้จะส่งผ่านไปยังชุดควบคุม (MCU) ท�าหน้าที่เชื่อมต่อสัญญาณชุดแสดงค่าผลสัญญาณ (Display Monitoring) และภาคส่วนภายนอกที่ต้องการ ต่ อ เชื่ อ มด้ ว ยผ่ า นทางคลื่ น วิ ท ยุ แ ละสายเชื่ อ มต่ อ กั บ คอมพิวเตอร์
รูปที่ 1: แสดงมาตรวัดพลังงานแบบดิจิตอล โดยใช้การวัดกระแสไฟฟ้าด้วยขดลวด Rogowski ที่มาของภาพ: www.electricity-today.com/wp-content/uploads/201V4/12/Figure-1.gif
Inside an Energy Measurement ASIC จากรูปที่ 2 และ รูปที่ 3 เป็นผลการท�างานร่วมกันของ ขดลวด ‘Rogowski’ กับการออกแบบวงจรดิจิตอลมีข้อได้ เปรียบกว่าการใช้งานตัวตรวจจับกระแสโดยปกติ คือ ข้อ ผิดพลาดน้อยกว่า 0.1% ในช่วง 1000: 1 (60 dB) การวัด ช่วงแบบไดนามิก โดยใช้สถาปัตยกรรมแบบสัญญาณผสม กั น ระหว่ า งการแปลงสั ญ ญาณแอนาลอกเป็ น ดิ จิ ต อล (Analog to Digital: A/D) คอนเวอร์เตอร์และการประมวล ผลสัญญาณดิจิตอล (DSP) สถาปัตยกรรมนี้ช่วยให้มั่นใจ ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือที่ดี การตรวจวัดกระแสไฟฟ้าที่นิยมใช้ ซึ่งการเลือกใช้งาน เซ็นเซอร์มีข้อดีและข้อจ�ากัดในแต่ละแบบ ดังนี้ 1. การตรวจวัดกระแสไฟฟ้า โดยใช้ Current Shunt รูปที่ 4. (A),(B),(C) แสดงชั้นต์รีซิสเตอร์ วิธีการวัดค่า กระแสไฟฟ้าไหลผ่านชัน้ ต์และค่าเหนีย่ วน�าแฝงในวงจร ตาม ล�าดับ การวัดกระแสโดยใช้ Rshunt โดยอาศัยหลักการ คือ วัดแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานค่าน้อยๆ ซึ่งต่ออนุกรมกับ RLoad เรียกว่า Rshunt โดยอาจมีชอื่ เรียกว่า ‘Current Shunt’ เป็นตัวต้านทานที่มีความต้านทานต�่ามากประมาณ 100μΩ μΩแต่ข้อจ�ากัดของเซ็นเซอร์ดังกล่าวนี้จะมีค่า ‘Parasitic Inductance’ (โดยปกติมีค่าประมาณ 2-3 นาโนเฮนรี่ แสดง ดังรูปที่ 4.(C) แสดงแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมชันต์รีซิสเตอร์ (Shunt Resistor และตกคร่อมตัวเหนีย่ วน�าแฝง) เป็นสัดส่วน กับกระแสไฟฟ้าในวงจร ซึง่ ส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นเฟสอย่าง มีนัยส�าคัญที่จะท�าให้เกิดข้อผิดพลาดในการวัดที่มาก ณ ก�าลังไฟฟ้าที่ต�่า โดยปกติสามารถน�าไปใช้งานกับกระแส ไฟฟ้าที่สูงมาก ดังนั้น การออกแบบ ‘Current Shunt’ จากผู้ผลิต ควรผลิตอุปกรณ์ให้มีขนาดใหญ่ ส�าหรับค่ากระแสไฟฟ้าที่ มาก (เพื่อการระบายความร้อน) ทั้งนี้ ปัญหาความร้อน (Self-Heating Problem) ขององค์ประกอบความต้านทาน นี้จะท�าให้มันไม่เหมาะสมส�าหรับการวัดกระแสไฟฟ้าที่มี ขนาดใหญ่ 2. การตรวจวัดกระแสไฟฟ้า โดยใช้หม้อแปลง กระแส (Current Transformer: CT) รูปที่ 5. แสดงหม้อแปลงกระแส (CT) ที่นิยมใช้มาก ที่สุดในงานอุตสาหกรรมที่ไม่ต้องการความละเอียดสูงมาก ส�าหรับการวัดกระแสไฟฟ้าที่มีค่าสูง แต่สัญญาณจะมีการ 62 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
รูปที่ 2: แสดงบล็อกไดอะแกรมการท�างานพื้นฐานของ ASIC [1]
เปลี่ยนเฟสระหว่าง 0.1 องศา ถึง 0.3 องศา วัสดุที่ใช้ คือ แกนเหล็กเป็นส�าคัญโดยแกนเหล็กจะเกิดการอิ่มตัวได้ง่าย เมื่อระดับปริมาณของกระแสไฟฟ้ามีค่าเกินพิกัด ส่งผลให้ ความถูกต้องของมันจะลดลง ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาการความ อิม่ ตัว คือ การเลือกใช้วสั ดุทมี่ กี ารซึมซับของแกนสูง (High Permeability Material) แต่จะน�าไปสู่คุณลักษณะเฟสที่ คุณภาพต�่ามากๆ เมื่อการใช้งานกระแสไฟฟ้าที่มีค่าสูงและ อุณหภูมิที่สูงมากเป็นพิเศษ 3. การตรวจวัดกระแสไฟฟ้า โดยใช้ Hall-Effect Sensor จากรูปที่ 6.(A) หลักการตรวจวัดกระแสไฟฟ้า คือ เมื่อ น�าแท่งแม่เหล็กที่มีฟลักซ์แม่เหล็ก (Magnetic Flux) มาก ระท�าในทิศทางตัง้ ฉากกับแผ่นตัวน�า ซึง่ ท�าให้เกิดสนามไฟฟ้า หรือแรงดันไฟฟ้าที่มีชื่อเรียกว่า ‘แรงดันฮอลล์’ (Hall Voltage) ขึ้นที่ขั้วของตัวน�าในทิศทางตั้งฉากกับกระแสไฟ ฟ้าและฟลักซ์แม่เหล็กไฟฟ้า ข้อดีของเซ็นเซอร์นี้ คือ การ ผลิตสัญญาณแรงดันไฟฟ้าด้านเอาต์พตุ เป็นอิสระจากอัตรา การตรวจวัดอินพุตและมีอตั ราการท�างานทีค่ วามเร็วสูงและ ไม่ได้รับผลกระทบจากสภาวะแวดล้อม เช่น ฝุ่นละออง ความชืน้ และการสัน่ สะเทือน ด้านการใช้งานเซนเซอร์ Hall Effect มีขนาดเล็กมากๆ และไม่จ�าเป็นต่อเชื่อมโดยตรงกับ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลลดการเคลื่อนไหวของอุปกรณ์ จึงท�าให้เซ็นเซอร์มกี ารใช้งานทีย่ าวนานสามารถท�างาน ในช่วงอุณหภูมิในช่วงกว้างและมีความสามารถในการวัด
กระแสที่มีค่าสูงมากๆ ได้ แต่ข้อจ�ากัดของเซ็นเซอร์นี้ คือ Hall Effect ไม่สามารถวัดการไหลของกระแสในระยะทาง มากกว่า 10 ซม. อย่างไรก็ตาม การใช้ความเข้มของฟลักส์แม่เหล็กที่ เพิ่มมากขึ้นอาจเพียงพอที่จะสามารถใช้งานได้ การรบกวน จากสนามแม่ เ หล็ ก ภายนอกที่ ส ่ ง ผลต่ อ การวั ด การไหล ของกระแสไฟฟ้า การใช้งานบางครั้งแรงดันไฟฟ้าเอาต์พุต ปรากฏในขณะที่ ไ ม่ มี ส นามแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า นอกจากนี้ อุณหภูมมิ ผี ลกระทบต่อความต้านทานไฟฟ้าในวงจร เป็นต้น 4. การตรวจวัดกระแสไฟฟ้า โดยใช้ Rogowski Coil เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวน�าจะเกิดสนามแม่ เหล็กเกิดขึน้ รอบตัวน�า ขนาดของสนามแม่เหล็กเป็นสัดส่วน โดยตรงกับกระแสไฟฟ้า แสดงดังรูปที่ 7. แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวน�าในวงลูปของขดลวด ซึ่งมีการ เปลี่ยนสนามแม่เหล็กเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงในสนามแม่ เหล็กที่ก่อให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า (EMF) ภายในวงลูป ของลวด EMF เป็ น สั ญ ญาณที่ แ รงดั น ไฟฟ้ า และเป็ น สัดส่วนกับการเปลี่ยนแปลงขนาดสนามแม่เหล็กในลูปของ ขดลวด แรงดันไฟฟ้าทางด้านเอาต์พุตเป็นสัดส่วนกับ di/ dt โดยสามารถเขียนสมการสูตรได้ดังรูปที่ 7.(C) แรงดัน ไฟฟ้าทางเอาต์พุตของวงลูปของขดลวดแกนอากาศ จึง เป็นสัดส่วนกับความแตกต่างของเวลา (di/dt) ของกระแส ไฟฟ้า ดังตัวอย่าง di/dt ที่เกิดขึ้นในเซ็นเซอร์
A
รูปที่ 5: (A),(B) แสดงหม้อแปลงกระแส (CT) ในรุ่นต่างๆ และหลักการท�างานพื้นฐาน ตามล�าดับ ที่มาของภาพ: www.ieldelectrical.wordpress.com/2012/12/11/current-sensors/ และ www.electronics-tutorials.ws/transformer/current-transformer.html
รูปที่ 3: แสดงส่วนย่อยภายในมาตรวัดพลังงานของ ASIC
A
B
A B รู ป ที่ 6: (A),(B) แสดงหลั ก การพื้ น ฐานและโครงสร้ า งภายนอกของ Hall-Effect ในอุตสาหกรรม ตามล�าดับ ที่มาของภาพ: www.electronics-tutorials.ws/electromagnetism/hall-effect.html
C
รูปที่ 4: (A),(B),(C) แสดงชัน้ ต์รซี สิ เตอร์ วิธกี ารวัดค่ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านชัน้ ต์และค่าเหนีย่ ว น�าแฝงในวงจร ตามล�าดับ
A
B
การจ�ากัดขนาดสัญญาณรบกวนจากภายนอก 1. ลดขนาดของพื้นที่วงลูปที่ไม่พึงประสงค์ ขดลวด Rogowski อาศัยห่วงตัวน�าในการตรวจสอบ การเปลี่ยนแปลงขนาดของสนามแม่เหล็กโดยลูปตัวน�า จะรั บ สั ญ ญาณและสั ญ ญาณการรบกวนจากการแทรก สอด การลดขนาดลูปตัวน�าที่ไม่พึงประสงค์ในเซ็นเซอร์ จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ จ� า เป็ น ที่ ผู ้ อ อกแบบสร้ า งควรให้ ค วามสนใจ เป็นพิเศษ 2. การออกแบบที่มีการจ�ากัดการแทรกสอดของ สัญญาณรบกวน การแทรกสอดสัญญาณรบกวน โดยปกติจะเป็น “Far Field” ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ โดยลูปตัวน�าจะรับสัญญาณ และสัญญาณการรบกวนจากการแทรกสอด ดังนั้น การ ออกแบบขดลวดให้ปราศจากการแทรกสอดของสัญญาณ รบกวนสนามแม่เหล็กระยะไกล (Far Field) ในขณะสัญญาณ สนามแม่เหล็กระยะใกล้ (Near Field) ยังคงอยู่ 3. การป้องกัน (Shielding) การชีลล์เป็นการป้องกันความถี่ต�่าของสนามแม่เหล็ก เป็นเรือ่ งยาก; มันต้องมีการป้องกันหนาหรือวัสดุการซึมซับ ผ่านที่มีค่าสูง การลดลูปห่วงที่ไม่พึงประสงค์และการจ�ากัด สัญญาณรบกวนสนามแม่เหล็กระยะไกลจะให้ประโยชน์ มากกว่าการชีลล์ปอ้ งกัน ดังนัน้ การชีลล์ปอ้ งกันสามารถใช้ เป็นแนวทางสุดท้าย 64 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
B
C
รูปที่ 7: (A),(B),(C) แสดงการเกิดสนามแม่เหล็กเกิดขึ้นรอบตัวน�า แรงเคลื่อนไฟฟ้า และสมการ ตามล�าดับ
การเปรี ยบเที ยบข้ อ ดี ข อง di/dt เซ็ นเซอร์ กับ CT การเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีที่แตกต่างกันของ โดย di/dt เซ็นเซอร์มีข้อดีอย่างเดียวกันกับการตรวจจับ การตรวจจับกระแสในงานอุตสาหกรรม กระแสแบบ CT คือ • การแยกกั น ไฟฟ้ า โดยตั ว ตรวจจั บ ด้ ว ย di/dt เซ็นเซอร์ไม่จ�าเป็นต้องต่อเชื่อมไปยังตัวน�าใดและ ความสามารถในการทนทานต่อค่ากระแสสูงชัว่ ขณะ ได้มาก • ใช้พลังงานต�่าไม่มีการใช้พลังงานอย่างมีนัยส�าคัญ ที่จ�าเป็นส�าหรับการตรวจวัดกระแสไฟฟ้า • การเปลี่ ย นแปลงค่ า อุ ณ หภู มิ ที่ มี ค ่ า ต�่ า สั ญ ญาณ เอาต์พุตเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันน้อยมากกับการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ แต่ di/dt เซ็นเซอร์มีข้อได้เปรียบดีกว่าการตรวจวัดค่า กระแสไฟฟ้าด้วย CT มีหลายประการ คือ • ไม่เกิดความอิ่มตัวสูงของกระแสไฟฟ้าในลูปวงจร • จุดอิ่มตัวของอากาศจะสูงมาก เมื่อเทียบกับแกน เฟอร์ไรต์และมีขนาดน�า้ หนักเบา เนือ่ งจากไม่จา� เป็น ต้องใช้แกนเฟอร์ไรต์ • แกนอากาศมีการตอบสนองเฟสสัญญาณแบบเชิงเส้น ที่มา: (90 องศาของการเปลีย่ นแปลงเฟสสัญญาณไซน์) 1. www.altenergymag.com/emagazine/2012/06/how• ค่าใช้จ่ายต�่าและสามารถออกแบบ di/dt เซ็นเซอร์ to-choose-and-implement-current-sensors/1920 ที่สามารถตรวจจับค่ากระแสสูงได้มากกว่า 100 2. www.libelium.com/102932933528 แอมแปร์ ขึ้นไป 3. www.panpwr.com/technology/wireless-sensors.html
An Authorized Distributor of THK Products in Thailand
” ด ั ะหย
Applications of Electric Actuators
3 C E
ร ป ด ุ “ช
เครื่องปดฝาขวด
การทำงาน
หมายเลขรุ่น
” ด ั ะหย
ES3
อุปกรณการตัด
อร ต เ อ มี
ม ม ไ น ่ ื ย ย น ตรงโด ก แ ท ง ประเภบตอพว แบ
ร ป “ชุด
การประกอบ
ES สามารถนำมาใช้สำหรับการลำเลียงฝาปิดเพื่อช่วย ลดความผิดพลาดและสามารถประหยัดแรงงานบุคคลได้ มากขึ้น
ES เครื่องเจาะแบบหลายแกน
การทำงาน
หมายเลขรุ่น
PC USW
การตัดด้วยการกดโดยใช้รุ่น PC ชุดกดแรงดัน ไฟฟ้านี้ทำให้ความสูงของเครื่องลดลงได้ เนื่องจาก ขนาดของรุ่นที่มีความกระทัดรัด
เครื่องปอนชิ้นงานสำหรับเครื่องกลึงอัตโนมัติ
การปอนชิ้นงาน
อร ต เ อ มี
ไมม ด ล ไ ็อคสตรงโดย ล บ ท พวง ภ เ ะ ร ป บตอ แบ
หมายเลขรุ่น
KRF สามารถนำมาใช้สำหรับเครื่องเจาะแบบหลาย แกน ซึ่งจะช่วยให้เครื่องที่มีขนาดเล็กกว่าและมีความ แข็งแกร่งสูง
ES เครื่องปดฝาขวด
การปอนชิ้นงาน
หมายเลขรุ่น
ES สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องป้อนชิ้นงานเพื่อรองรับการ
หมายเลขรุ่น
ES สามารถนำมาใช้สำหรับอุปกรณ์ตรวจสอบชิ้นงาน ที่ติดตั้งกล้อง CCD ทั้งนี้ยังสามารถลดต้นทุนเครื่อง โดยใช้ร่วมกับตลับลูกปืนสไลด์เองได้
ทำงานของเครื่องกลึงอัตโนมัติ ซึ่งสามารถใช้ป้อนชิ้นงาน ES ที่มีราคาประหยัดได้ การตรวจสอบชิ้นงาน อุปกรณการตัด
ค ง ระส
T นกป ง 8 S U ชุดเอ อพวงตร “ อรแบบต มอเต
หมายเลขรุ่น
KRF สามารถนำมาใช้ในเครื่องเปลี่ยนถาดแบบโครงสร้าง
้น ซึ่งทำให้ชุดนี้มีความกระทัดรัดและมีความ KRF ตลับลูกปน LM สองชั แข็งแกร่งสูงกว่าหุ่นยนต์ป้อนชิ้นงานทั่วไป
ES ตลับลูกปนสไลด
Rittal IT SMART Package A perfect solution for Small & Medium Enterprise Protect IT devices from Heat / Humidity / Un-authorized Access. Modular Design Faster than build a IT room Less Space for your small Data Center Less Energy Consumption Lower Deployment Cost
• High efficiency Rittal IT cooling unit (from 1 -10kW capacity) • Rittal CMC III monitoring system to detect temperature, front / rear door access. Alert/ Alarm by email when SMS is optional.
• 42U useable for IT equipment. • Take up to 1500kg static load • Glazed front door, vertical divided rear door and single-piece side panel to comply IP55. • Supplied with gland plate and a fix shelf. • Sepearte hot/cool area within the unit to maximize cooling performance.
Option: • Fire extinguish system • UPS • Automatic door opening • Customized design
Solutions for IT Security Room and Data Center Container RITTAL LTD.
122/1 Krungthep-Kreetha Road Kwaeng Sapansoong Khet Sapansoong Bangkok 10250 Thailand Phone : +66 (0) 2704 6580-8 Fax : +66 (0) 2704 6589 Website : www.rittal.com/th-en/ or info@rittal.co.th
ENCLOSURES
POWER DISTRIBUSTION
CLIMATE CONTROL
IT INFRASTRUCTURE
SOFTWARE & SERVICE
ENERGY ALERT
โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรม บางประเภทต้องใช้น�้าร้อนในกระบวนการผลิต ซึ่ ง การผลิ ต น�้ า ร้ อ นสามารถผลิ ต ได้ จ าก เครื่องท�าน�้าอุ่นไฟฟ้า หม้อน�้าที่ใช้เชื้อเพลิง เช่น น�า้ มันดีเซล น�า้ มันเตา เชือ้ เพลิง LPG หรือ ไม้ฟนื เป็นต้น ซึง่ ในปัจจุบนั เทคโนโลยีการผลิต น�้าร้อนจากปั๊มความร้อนมีการพิสูจน์แล้วว่า สามารถช่วยให้ผู้ประกอบการประหยัดค่าใช้ จ่ายด้านพลังงานจากการผลิตน�า้ ร้อนได้ คุณอัศวิน อัศวุตมางกุร วิศวกรช�านาญการพิเศษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน
จากการศึกษาข้อมูล การตลาดของประเทศไทยช่วงปี 2551-2555 พบว่ามีการใช้ปั๊มความ ร้อนจ�านวน 1,603 เครื่อง มีขนาดของ ปั๊มความร้อนตั้งแต่ 0.5 – 100 kW โดย ขนาดของปั๊มความร้อนที่ขายมากที่สุดขนาด 25 kW คิดเป็นร้อยละ 47.41 รองลงมาที่ ขนาด 18 kW คิดเป็นร้อยละ 9.79 น้อย กว่า 18 kW คิดเป็นร้อยละ 15.66 และมากกว่า 25 kW คิดเป็น ร้อยละ 27.14 ก่อนอื่นมาท�าความรู้จักปั๊มความร้อน (Heat Pump) กัน ก่อน ปัม๊ ความร้อนเป็นชุดอุปกรณ์ทา� ความร้อนทีใ่ ช้คอมเพรส เซอร์แบบเดียวกับที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ มาดึงความร้อน จากแหล่งความร้อนต�า่ แล้วถ่ายเทความร้อนให้กบั แหล่งความ ร้อนสูง จากหลักการดังกล่าวจึงถูกเรียกว่าปัม๊ ความร้อนเพราะ ท�าหน้าที่ในการปั๊มเอาความร้อนไม่ได้เป็นตัวสร้างความร้อน แต่ส่งผ่านความร้อน ซึ่งวัฏจักรการท�างานก็ไม่แตกต่างจาก ระบบการท�าความเย็นทั่วไปที่มีใช้กันอยู่ ซึ่งเป็นระบบอัดไอ (Mechanical Vapor Compression Refrigeration System) ต่างกันเพียงแต่ปั๊มความร้อนจะเลือกใช้ประโยชน์จากด้าน ความร้อนเป็นหลัก และควบคุมอุณหภูมิด้านความร้อนแทน
ด้านความเย็น ส่วนความเย็นที่ได้ก็จะกลายเป็นผลพลอยได้ ของระบบ โดยที่ปั๊มความร้อนมีส่วนประกอบ ดังนี้ – ชุดคอยล์ร้อน (Condenser) ท�าหน้าที่ระบายความ ร้อนจากสารท�างานไปสู่แหล่งระบายความร้อน – ชุดคอยล์เย็น (Evaporator) ท�าหน้าที่ดูดความร้อน จากแหล่งความร้อน – เครือ่ งอัดไอ (Compressor) ท�าหน้าทีอ่ ดั ไอของสาร ท�างาน (Working Substance) ให้มอี ณ ุ หภูมสิ งู กว่า อุณหภูมิรอบคอนเดนเซอร์เพื่อจะถ่ายเทความร้อน ออกจากสารท�างาน – วาล์วลดความดัน หรืออาจเรียกว่าวาล์วขยายตัว (Expansion Valve) ในกรณีที่ระบบมีขนาดเล็กจะ ใช้ทอ่ ขนาดเล็ก (Capillary Tube) ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการ ลดความดันของสารท�างาน โดยทั่วไประบบปั๊มความร้อนจะมีอุปกรณ์เสริมได้แก่ ถัง น�้าหุ้มฉนวน ซึ่งมีหน้าที่ส�าคัญสองประการด้วยกัน คือ ประการแรกเพือ่ กักเก็บน�า้ ให้เพียงพอกับความต้องการน�า้ อุน่ ของการใช้งานนั้น และประการที่สอง คือ เพื่อแบ่งระดับ อุณหภูมนิ า�้ ในกรณีทมี่ ากกว่า 1 ถัง นอกจากนัน้ ก็เป็นอุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับ ปั๊มน�้า ชุดควบคุมและวัดความดัน ชุดควบคุมและ วัดอุณหภูมิ ชุดควบคุมและวัดไฟฟ้า
ประเภทการใชงานของปั๊มความรอน
ประเภทการใช้งานของปั๊มความร้อนสามารถแบ่งตาม แหล่งความร้อนได้ 5 ประเภท ดังนี้
1. Air to Air Heat Pump Air to Air Heat Pump เป็นการแลกเปลี่ยนความร้อน จากอากาศภายนอกอาคารถ่ายเทความร้อนให้อากาศภาย ใน อาคาร สามารถใช้ได้ทั้งท�าอากาศร้อน ในฤดูหนาว และท�า อากาศเย็นฤดูร้อน 2. Air to Water Heat Pump Air to Water Heat Pump เป็นการแลกเปลี่ยนความ ร้อนจากอากาศถ่าย เทให้แก่นา�้ เพือ่ วัตถุประสงค์ในการผลิต น�้าร้อนมาใช้งาน นิยมใช้ตามโรงแรม โรงพยาบาล และ โรงงานอุตสาหกรรม 3. Water to Water Heat Pump Water to Water Heat Pump เป็นปั๊มความร้อน ที่ใช้ น�้าเป็นตัวแลกเปลี่ยนความร้อนของสารท�าความเย็นทั้งฝั่ง condenser และ evaporator โดยทัว่ ไปมีการใช้กบั ธุรกิจสปา ที่ทั้งอ่างน�้าร้อนและน�้าเย็น 4. Water to Air Heat Pump Water to Air Heat Pump เป็นอีกลักษณะหนึ่งของปั๊ม ความร้อน ทีด่ งึ เอาความร้อนจากแหล่งน�า้ หรือแม่นา้� ไปถ่ายเท พลังงานความร้อนให้กบั อากาศ เพือ่ ท�าความร้อนให้แก่อากาศ ภายในอาคาร 5. Ground Source Heat Pump เป็นการใช้งาน ของ Ground Source Heat Pump ซึ่ง ใช้พลังงานจากพื้นพิภพถ่ายเทความร้อนให้แก่น้�าภายใน อาคารในรูปแบบน�้าร้อน เพื่ออุ่นน�้าร้อนกักเก็บไว้ใช้งานหรือ ให้ความร้อนกับพื้นอาคาร
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 67
เปรียบเทียบการใชปม๊ั ความรอนของกลุม ประเทศ ยุโรป เอเชีย ออสเตรเลีย และอเมริกา 1. ข้อมูลปั๊มความร้อนของกลุ่มประเทศยุโรป การใช้ปั๊มความร้อน (heat pump) ในการท�าความร้อน ในยุโรป โดยเฉพาะในอาคารสามารถแบ่งลักษณะการใช้งาน ออกได้เป็น (1) การใช้เพื่อการเพิ่มอุณหภูมิของบริเวณที่อยู่ อาศัยในฤดูหนาว และ (2) การใช้ในการผลิตน�้าร้อน ซึ่งจาก ข้อมูลของ European Heat Pump Association แสดงให้ เห็นว่า สัดส่วนของตลาดการขายปัม๊ ความร้อน เพือ่ ใช้ในการ ผลิตน�า้ ร้อน มีเพียง ร้อยละ 4.5 – 8 ของสัดส่วนตลาดทัง้ หมด ของอุปกรณ์ปั๊มความร้อน ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การใช้งานปั๊ม ความร้อน โดยส่วนใหญ่ในยุโรปจึงเป็นไปเพือ่ การเพิม่ อุณหภูมิ ของบริเวณอยู่อาศัยในฤดูหนาว ซึ่งแตกต่างจากตลาดใน ประเทศไทยซึ่งอยู่ในประเทศเขตร้อน ที่ใช้ heat pump ส�าหรับท�าน�้าร้อนในหลากหลายรูปแบบ จากการส�ารวจของ Northwest Energy Efficiency Alliance โดยอ้างอิงข้อมูลของ European Heat Pump Association (EHPA) ระบุปริมาณหน่วยของการขายปั๊ม ความร้อน เพื่อใช้ในการท�าน�้าร้อนในปี ค.ศ. 2008 ไว้ที่ 50,000 เครื่อง ซึ่งเป็นปริมาณที่รวมระบบขนาดใหญ่ที่ ออกแบบเพือ่ การเพิม่ อุณหภูมขิ องบริเวณอยูอ่ าศัยในฤดูหนาว ร่วมกับการท�าน�้าร้อน
จากการส�ารวจของ EHPA ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 – 2009 โดยส�ารวจยอดการจ�าหน่ายปั๊มความร้อนที่ใช้ในการผลิตน�้า ร้อนในเขตยุโรป ประกอบด้วย ออสเตรีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี นอร์เวย์ สวีเดน และสวิตเซอร์แลนด์ พบว่า ประเทศเหล่านีม้ แี นวโน้มการใช้ปม๊ั ความร้อนเพิม่ ขึน้ ทุกปี โดย ประเทศ ฝรั่งเศส สวีเดน นอร์เวย์ และเยอรมนี มีการเติบโต ของตลาดปั๊มความร้อนสูง เป็นล�าดับต้นๆในโซนยุโรป 2. ข้อมูลการศึกษาปั๊มความร้อนของประเทศออสเตรเลีย และประเทศนิวซีแลนด์ การท� า น�้ า ร้ อ นในประเทศออสเตรเลี ย และประเทศ นิวซีแลนด์เป็นตัวแปรหลักของการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคาร ประเภททีพ่ กั อาศัย ซึง่ จะเป็นส่วนส�าคัญทีท่ า� ให้เกิดก๊าซเรือน กระจก (greenhouse gas) ปั๊มความร้อนที่ใช้ท�าน�้าร้อน (Heat Pump Water Heater (HPWH)) ซึง่ เป็นปัม๊ ความร้อน ทีใ่ ช้เทคโนโลยีการท�าความเย็น (refrigeration technology) มีข้อได้เปรียบในด้านประสิทธิภาพพลังงาน ที่สูงกว่าการท�า น�้าร้อนด้วยฮีตเตอร์ไฟฟ้า ทั้งนี้ HPWH สามารถสร้างความร้อนแก่น�้าได้มากถึง 2-3 เท่าเมื่อเปรียบเทียบกับการให้ความร้อนด้วยฮีตเตอร์ ไฟฟ้า ซึง่ จ�านวนปัม๊ ความร้อนทีข่ ายในออสเตรเลียมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ความนิยมใน HPWH นั้นเริ่มจากปี ค.ศ. 2006 และสูงสุดในปี ค.ศ. 2009 เนื่องจากมีการส่งเสริมจาก
รัฐบาล ในการสนับสนุนด้านการเงิน ในปี ค.ศ. 2010 นั้น จ� า นวนขายของเครื่ อ งปั ๊ ม ความร้ อ นลดลงเนื่ อ งจากการ สนับสนุนทางการเงินของรัฐบาลลดลงท�าให้ลดแรงจูงใจกับ ผู้บริโภค 3. ข้อมูลการศึกษาปั๊มความร้อนของกลุ่มประเทศเอเชีย ประเทศในแถบเอเชียมีการใช้ปั๊มความร้อนทั้งในภาค อุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัยเป็นอย่างมาก ท�าให้มีส่วนแบ่ง การตลาดประมาณ 80 เปอร์เซนต์ ซึ่งสูงที่สุดเมื่อเทียบกับ กลุ่มประเทศอื่นๆ ในช่วงปี ค.ศ. 2011 ถึง 2013 ส่วนแบ่ง การตลาดในประเทศกลุม่ ยุโรปมีแนวโน้มลดลง ในขณะทีส่ ว่ น แบ่งการตลาดของประเทศในแถบเอเชียมีแนวโน้มเพิ่มมาก ขึ้น ประเทศในเอเชียที่เป็นแนวหน้าทางเทคโนโลยีปั๊มความ ร้อน ได้แก่ ญี่ปุ่น เกาหลีและจีน โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนา แล้ว เช่น ญี่ปุ่นและสิงคโปร์มีการอัตราการใช้เครื่องท�าน�้า ร้อนแบบปั๊มความร้อนมากถึง 70 เปอร์เซนต์ โดยมุ่งเน้นเพื่อลดการใช้พลังงานและลดการปลดปล่อย CO2 ซึง่ ในประเทศญีป่ นุ่ มีการใช้ปม๊ั ความร้อนอย่างกว้างขวาง ในรูปแบบต่างๆ เช่น การท�าน�้าร้อนใช้ในงานอุตสาห กรรม ยานยนต์ การน�าความร้อนทิ้งกลับมาใช้เพิ่มอุณหภูมิน�้าป้อน หม้อน�า้ การท�าน�า้ ร้อนใช้ในทีอ่ ยูอ่ าศัย รวมถึงการใช้ปม๊ั ความ ร้อนผลิตไอน�า้ ความดันต�า่ โดยสถานะเทคโนโลยีปม๊ั ความร้อน ในประเทศต่างๆ พบว่าญี่ปุ่นและเกาหลีซ่ึงเป็นผู้น�าทางด้าน เทคโนโลยีปั๊มความร้อนมีค่า Heating COP เฉลี่ยประมาณ 4 ซึ่งสูงกว่าในแถบประเทศอื่นๆ และประเทศจีนมีแนวโน้ม การใช้ปั๊มความร้อนเพื่อท�าน�้าร้อนในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และกลางเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา 4. ข้อมูลการศึกษาปั๊มความร้อนของประเทศอเมริกา จากการส�ารวจในปี 2011 พบว่าในภาคครัวเรือนมีการ ใช้ระบบท�าความร้อนในหลากหลายรูปแบบ เช่น เตาความ ร้อน (Warm-air furnace) ระบบไอน�า้ ร้อน (Stream or hot water system) และระบบ Electric Heat Pump ซึ่งพบว่า มีปริมาณความต้องการระบบท�าความร้อนเพิ่มมากขึ้นตาม ล�าดับในแต่ละปี ในช่วงระหว่างปี 1989 - 2009 พบว่าภาค ครัวเรือนมีสัดส่วนการใช้งานในระบบไอน�้าร้อน (Stream or hot water system) เป็นล�าดับทีส่ องมากกว่า Electric Heat Pump ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา จนกระทั่งปี 2009 สัดส่วนการ ตลาดของ Electric Heat Pump เพิ่มขึ้นจนเป็นอันดับที่สอง เนือ่ งจากการผลักดันจากรัฐบาลให้เปลีย่ นมาใช้งาน Electric Heat Pump ซึ่งมีประสิทธิภาพทางพลังงานที่สูงกว่าระบบ ท�าความร้อนประเภทอื่นๆ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าปั๊มความร้อนมีด้วยกัน หลายประเภท แต่ประเภททีจ่ ะแนะน�าส�าหรับการผลิตน�า้ ร้อน เป็นแบบ Air to water heat pump ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยน ความร้อนจากอากาศถ่ายเทให้แก่น�้า ซึ่งปั๊มความร้อนส่วน ใหญ่ที่จ�าหน่ายในประเทศไทยในช่วงปี 2551 – 2555 เป็นปั๊ม ความร้อนประเภท Air to Water เพือ่ จุดประสงค์ในการผลิต น�้าร้อน คิดเป็นสัดส่วน 97.13 เปอร์เซ็นต์ และการน�าปั๊ม ความร้อนไปใช้งานส่วนใหญ่จะน�าไปใช้ในภาคบริการประเภท โรงแรมหรื อ โรงพยาบาล รองลงมาคื อ ใช้ ใ นโรงงาน อุตสาหกรรมที่ต้องใช้น้�าร้อนในกระบวนการผลิต การที่จะ เลือกซือ้ ปัม๊ ความร้อนเราจะดูทคี่ า่ สัมประสิทธิส์ มรรถนะ (Coefficient of Performance: COP) โดยค่า COP สูงแสดงถึง สมรรถนะที่ดีหรือมีค่าประสิทธิภาพพลังงานสูงนั่นเอง ใน บทความถัดไปจะเปรียบเทียบให้เห็นถึงผลการประหยัดค่าใช้ จ่ายจากหากมีการเปลีย่ นการผลิตน�า้ ร้อนทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั มา เป็นเทคโนโลยีปั๊มความร้อน ว่าจะช่วยคุณประหยัดค่าใช้จ่าย ได้มากเท่าไหร่
68 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อ.สุรยิ นั ต เทียมเพ็ชร ทีป่ รึกษาฝ่ายวิชาการนิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking
รศ.ดร.ชัชพล ชังชู ภาควิชา วิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร
Robin Chao Regional Sales Director – South Asia, Epicor Software Asia Pte Ltd.
ผศ.ดร.บรรยงค รุง เรืองดวยบุญ และทีมนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรม เครื่องกล มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ศูนยรังสิต
TECHNICAL MATTER P.70
P.72
P.74
P.76
GURU
PRINCIPLE
WHITE PAPER
R&D CORNER
“...กระบวนการบ�าบัดใน อุตสาหกรรมการผลิตสวน ใหญจะอยูในโรงงานโดยผนวก เขากับสายการผลิต เชน จัดให เป็นสวนหนึ่งของสายการ ประกอบ ซึ่งระบบบ�าบัดก็ตอง สามารถรองรับไดทั้งขนาดและ ปริมาณของชิ้นสวนที่ตอง ผานกระบวนการบ�าบัดตอหนึ่ง หนวยเวลาดวย ทั้งนี้ ก็เพื่อให สายการผลิตด�าเนินไปโดยไม สะดุด...”
“...โดยพื้นฐานแลว โปรแกรม CAD/CAE/CAM จะแบงเป็น 2 สวนหลักๆ คือ สวนแรกจะ เป็นกลุมของโมดูลส�าหรับการ จ�าลองสภาวะการณ (Simulation) และสวนที่สอง คือ กลุม ของโมดูลที่ใชส�าหรับการ วิเคราะห (Analysis) ส�าหรับ โมดูลที่ใชกันบอยส�าหรับสวน แรก ไดแก Motion Simulation Module สวนที่โมดูลกันมากใน งานวิเคราะห ไดแก โมดูลที่ใช ส�าหรับวิเคราะหความแข็งแรง และโมดูลที่ใชส�าหรับวิเคราะห การขึ้นรูปวัสดุตาง เป็นตน...”
“...คอนโซลควบคุมของเอพิ คอร สถาปัตยกรรมระบบของ เอพิคอร ERP เวอรช่ัน 10 และซอฟตแวรเว็บเซิรฟเวอร IIS ท�างานรวมกันเพื่อเพิ่ม ความพรอมใหแกระบบ ERP บริการของระบบนี้สามารถ ท�างานไดหลายประเภทในเวลา เดียวกัน (Multi-Threaded) และสามารถถายโอนขอมูลได ตามความตองการ...”
“…นวัตกรรมดังกลาว ถือ เป็นตนแบบรถเข็นคนพิการที่ สามารถปรับยืนไดโดยไมตอง อาศัยมอเตอรท่ีมีประสิทธิภาพ สูงแตราคาถูกและเหมาะสมกับ การใชงานในประเทศไทย นอกจากนั้น รถเข็นปรับยืนได ผานการออกแบบทาง วิศวกรรมมาอยางดี สามารถ ปรับยืนไดดวยแรงแขนของผู พิการเอง โดยไมตองอาศัย พลังงานจากมอเตอรไฟฟ้า นอกจากนี้ยังครอบคลุมผู พิการหรือผูป่วยที่ไมมีแรงแขน โดยรถเข็นถูกออกแบบให สามารถปรับยืนไดโดยผูป่วย หรือผูชวยดูแล… ”
เทคนิคการท�าความ สะอาดชิ้นสวน (ตอนที่ 1)
เรื่องที่ตองรูเกี่ยวกับ เทคโนโลยี CAD/CAE/ CAM
สถาปัตยกรรมระบบ เอพิคอร ERP เวอรชั่น 10
รถเข็นคนพิการแบบ ปรับยืนไดโดยไมตองใช มอเตอรไฟฟ้า
(ตอนที่ 1) ค�GURU ากลาวที่วา “เปนชางมือตองด�า” เปนความจริงอยูไมนอย เพราะในหนาที่การงานจะมัวส�ารวย จับจด หยิบโยงและเชื่องชาไมได ตองตื่นตัวกับงานตลอดเวลา เพื่อใหงานด�าเนินไปตามขั้นตอนของกระบวนการ มิฉะนั้นอาจกอความเสียหายตอผลผลิต ตอสิ่ง แวดลอมและบางกรณีตอชีวิตของผูที่เกี่ยวของได ในทางตรงกันขามกับความด�าของมือคนงาน คือความสะอาดในกระบวนการที่ ผูปฏิบัติตองค�านึงถึง MM ฉบับนี้ขอน�าเอาเรื่องของเทคนิคการท�าความสะอาดชิ้นสวนในอุตสาหกรรมและสถานประกอบการมา เลาสูกันฟัง
เทคนิคการท�าความสะอาดชิ้นส่วน (ตอนที่ 1)
เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing. Suriyan Tiampet)
ใ
ค�ากล่าวที่ว่า ‘เป็นช่างมือต้องด�า’ เป็นความจริงอยู่ไม่น้อย เพราะในหน้าที่การงานจะมัวส�ารวย จับจด หยิบโหย่ง และเชื่องช้าไม่ได้ ต้องตื่นตัว กับงานตลอดเวลา เพื่อให้งานด�าเนินไปตามขั้นตอนของกระบวนการ มิฉะนั้นอาจก่อความเสียหายต่อผลผลิต ต่อสิ่งแวดล้อมและบางกรณีต่อ ชีวิตของผู้ที่เกี่ยวข้องได้ ในทางตรงกันข้ามกับความด�าของมือคนงาน คือ ความสะอาดในกระบวนการที่ผู้ปฏิบัติต้องค�านึกถึง Modern นอุ ต สาหกรรมการผลิ เรามั ก จะพบกั บ ความสะอาดชิ ้นส่วนตามลั ษณะการใช้ พลังงาน ด้วยความร้อนอุณาหภู Manufacturing ฉบับนี้ ตขอน� าเอาเรื ่องของเทคนิ คการท�าความสะอาดชิ ้นส่วกนในอุ ตสาหกรรมและสถานประกอบการมาเล่ สู่กมันิตฟั่�ากว่ ง า 100oC การเพิ่ม
ค�าภาษาอังกฤษว่า metal cleaning หรือ metal surface cleaning, part หรือ component cleaning และ degreasing อยู่เสมอ หัว ข้อรวมๆ ทั้งหมดในที่น้ีเราขอใช้ภาษาไทยค�าว่า “การท�าความสะอาดชิน้ ส่วน” เพือ่ ไม่ให้เกิดความ สับสนกับงานท�าความสะอาดในโรงงานของแม่ บ้านท�าความสะอาดทั่วไป ซึ่งในภาษาเยอรมันก็ เลือกใช้ค�าว่า “Teilereinigung” ส�าหรับกรณีนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการเข้าสุใจผิ ดเช่นกัน ริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)
ตองก�าจัดอะไร?
สิการศึ ง่ ทีกเ่ ษา:จือปนหรื อติดวอยู ่ ดบั สระแก้ ชิน้ วส่วนจากกระบวน 2508 โรงเรียนสระแก้ จัวหวัก 2511 วิทยาลัยเทคนิค ไทย-เยอรมันขอนแก่น การผลิ ้ เตรีตอนหนึ ง่ อาจเป็ นสิauslaendische ง่ ทีจ่ า� เป็นในการ 2514ตในขัน ยมวิศวฯ จาก Institut fuer Fachhochschulbewerber ของแคว้น Niedersachsen ผลิตขั้นตอนนัณ ้นเมือง แต่ พอเข้ ้นนตอนต่อ Hannover สหพัานไปอยู ธ์สาธารณรั่ ใฐนขั เยอรมั 2517 วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต Dipl.-Ing. (FH) in Gas-, ไปมันกลายเป็Water-, นสิ่งHeating-and ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งจากจะต้ องถูก Cooling System University of Applied sciences, ก�าจัดออกไปเพื ให้ชิ้นส่วนสะอาดเหมาะสมกั เมือง่อBraunschweig-Wolfenbuettel สหพันธ์สาธารณรัฐ บ เยอรมัน วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณอ ฑิตไปของกระบวนการ Dipl.-Ing. in Energy & การด�2524 าเนินการในขั ้นตอนต่ Process Engineering จาก Technical University of Berlin เบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรั ผลิต, ประกอบ หรืกรุองตรวจสอบ เช่นฐเยอมั สีทนี่เคลือบ ไว้เพืการท� ่อป้อางาน: งกันการกัดกร่อนชิ้นงานจะเป็นสิ่งที่เรา 2517-2518 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�าบริษัท ่ อ Hermann เมือง Hildesheim, ต้องก�าจัดออกไปเมื จ�าเป็Ehlert นต้อKG.งตรวจสอบหา สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน TA จัยของ Prof.Dr.Helmut Knapp จาก รอยร้2522-2523 าวเป็นต้Thermodynamic น ช่วยค้นคว้างานวิInst. ของ Technical University of Berlin. สหพันธ์สสาธารณรั ฐเยอรมั หากเราวิ เ คราะห์ ิ ่ ง ที ่ เ คลื อนบติดกับผิวแผ่น 2524-2525 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�าบริษัท Schaeler Engineering กรุง Berlin โลหะโดยทั่วไปอาจแสดงให้ เห็นได้ดGmbH, ังภาพขยาย สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล รูปที่ 2525-2527 1 คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ ในการท� า ความสะอาดชิ ้นส่วนดังรูปที่ 1 เพื่อ 2527-2539 หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า พระนครเหนื จะขจั2539-2542 ดเอาสิ่งรองผู ที่เคลื อบติดกับอผิวของชิ้นส่วนออก ้อ�านวยการฝ่ายปฏิบัติการ ส�านักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ ตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนื ไปจ�า2542-2547 เป็นต้อรัอุงใช้ พลังสถาบั งานนเทคโนโลยี โดยความสิ ้นเปลืออ ง ก ษาการผู ้ อ� า นวยการ ศู น ย์ บ ริ ก ารเทคโนโลยี สถาบั น พลังงานจะสู งเทคโนโลยี ขึ้นเมืพ่อระจอมเกล้ ชั้นที่ตาพระนครเหนื ้องก�าจัอดปราจี อยูน่ตบุริดี กับผิว 2552-2556 ผู ้ แ ทนกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส มาคมวิ ศ วกรเคมี แ ละไบโอเทคโนโลยี งานมากขึ้น เยอรมัน (DECHEMA e.V) ในประเทศไทย ัน ่มหลั ที่ปรึก กษาฝ่ ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & การจัปัจดจุบกลุ การท� าความสะอาด Metalworking Wikipedia เยอรมันแบ่งกลุ่มหลักการท�า 70 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อุณหภูมิในอ่างบ�าบัด เพื่อแยกไขมันซึ่งทั้งหมด ก็ ออกเป็น - เชิงกล (เกิดการขูดข่วน) ; เช่น การเจียร์, ขึ้นอยู่กับชนิดของสารบ�าบัด เชิน้ งตอนต่ เคมี อ(เกิ กิริยนาสิง่ ที/ ไ่ ม่มีพกงึ ารหลุ การพ่ ด (เช่น พ่นตทราย) ไปมัดนปฏิ กลายเป็ ประสงค์ดลอก) ; ในอุนตขัสาหกรรมการผลิ เรามักจะพบกับค�าภาษาอังกฤษ พอเข้าไปอยู- ใ่ นขั องถูกาก�บัาดจัดโดยอาศั ออกไปเพืย่อพลาสมา, ให้ชิ้นส่วนสะอาดเหมาะสม ว่า Metal อ Metal Partการ ซึ่งจะต้ การบ� Sputter cleaning, - เชิCleaning งกล (ไร้กหรืารขู ดข่วSurface น) ; เช่นCleaning, การกวน, หรือ Component Cleaning และ Degreasing อยู่เสมอ กับการด�าเนินการในขั้นตอนต่อไปของกระบวนการผลิต ฉีหัวดข้ล้อารวมๆ ง, การใช้ คลื่น่นเสีี้เราขอใช้ ยงต�่า ภาษาไทยค�าว่า ‘การ ประกอบ การกัหรืดอด้ตรวจสอบ วยสารละลาย, eren. เช่น สีที่เคลืElektropoi อบไว้เพื่อป้องกั นการ ทั้งหมดในที นสิ่งที(ไร้ ่เราต้ จ�าเป็น ท�าความสะอาดชิ ้นส่วน’อนเพื(เกิ ่อไม่ดให้ปฏิ เกิดกความสั เชิงเคมี ปฏิองก�กิราจัิยดา)ออกไปเมื ; ด้ว่อยสารละลาย - เชิงความร้ ิริยา)บสนกั ; เช่บนงานการ กัดกร่อนชิ้น-งานจะเป็ ท�าความสะอาดในโรงงานของแม่บ้านท�าความสะอาดทัo ่วไป ต้องตรวจสอบหารอยร้าวเป็นต้น อินทรียเ์,คราะห์ ด้วยน� ย ดCO ในสภาวะเหนื บ�ซึ่งาในภาษาเยอรมั บัดด้วยความร้ ูงกว่า 100 C ภาย หากเราวิ สิ่ง้าที,่เคลืด้อวบติ กับผิวแผ่ นโลหะโดย อจุด นก็เอลืนอุ อกใช้ณคหภู � าว่ามิส‘Teilereiningung’ ทั่วไปอาจแสดงให้ ส�าหรั ี้เพื่อ่สหลี กเลี่ยงการเข้ ใต้ ปฏิบกรณี กิริยนาสู ภาวะก๊ าซ าใจผิดเช่นกัน วิกฤต เห็นได้ดังภาพขยายรูปที่ 1 ในการท�าความสะอาดชิ้นส่วนดังรูปที่ 1 เพื่อจะขจัดเอา การจัดาเป็แบ่ ลักพษณะของชั ้น ตองก�- เชิ าจังดความร้ อะไร อน (ไร้ปฏิกริ ยิ า) ; เช่น การบ�าบัด สิง่ ทีเ่ คลือบตินอกจากนี ดกับผิวของชิ้ ยน้ ส่ั งวมีนออกไปจ� นต้งองใช้ ลังงาน สิ่งที่เจือปนหรือติดอยู่กับชิ้นส่วนจากกระบวนการผลิต ในขัน้ ตอนหนึง่ อาจเป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็นในการผลิตขัน้ ตอนนัน้ แต่
โดยความสิ้นเปลืองพลังงานจะสูงขึ้นเมื่อชั้นที่ต้องก�าจัดอยู่ ติดกับผิวงานมากขึ้น
ชั้นสวนสกปรก, สิ่งตกคางจากการผลิต > 1µ ไมครอน ชั้นดูดซับ 1-10 นาโนเมตร สวนใหญเปนความชื้น, C และ O2 ชั้นปฏิกิริยา (โลหะอ๊อกไซด) 1-10 นาโนเมตร ผิวชิ้นสวนที่ไมเรียบ > 1µ ไมครอน
วัสดุหลักชิ้นสวน Nach B. Haase, Bremerhaven ดแผ่นโลหะ รูรูปปทีที่ 1:่ 1:ภาพขยายแนวตั ภาพขยายแนวตั ดแผ่นโลหะ
การจัดกลุมหลักการท�าความสะอาด
Wikipedia เยอรมันแบ่งกลุ่มหลักการท�าความสะอาด ชิ้นส่วนตามลักษณะการใช้พลังงานออกเป็น - เชิงกล (เกิดการขูดข่วน) เช่น การเจียร การพ่น ขัด (เช่น พ่นทราย) - เชิงกล (ไร้การขูดข่วน): เช่น การกวน การฉีดล้าง การใช้คลื่นเสียงต�่า - เชิงความร้อน (เกิดปฏิกิริยา) เช่น การบ�าบัดด้วย ความร้อนอุณหภูมสิ งู กว่า 100oC ภายใต้ปฏิกริ ยิ า สู่สภาวะก๊าซ - เชิงความร้อน (ไร้ปฏิกิริยา) เช่น การบ�าบัดด้วย ความร้อนอุณหภูมิ <100oC การเพิ่มอุณหภูมิใน อ่างบ�าบัด เพื่อแยกไขมันซึ่งทั้งหมดก็ขึ้นอยู่กับ ชนิดของสารบ�าบัด - เชิงเคมี (เกิดปฏิกิริยา / มีการหลุดลอก): การกัด ด้วยสารละลาย การบ�าบัดโดยอาศัยพลาสม่า Sputter cleaning, Elektropofieren - เชิงเคมี (ไร้ปฏิกริ ยิ า) ด้วยสารละลายอินทรีย์ ด้วย น�้า ด้วย CO2 ในสภาวะเหนือจุดวิกฤต นอกจากนี้ ยังมีการจัดแบ่งลักษณะของชัน้ ทีต่ อ้ งก�าจัด ออกเป็นรูปแบบต่างๆ กัน อาทิ ตามทีม่ า ตามองค์ประกอบ ตามสถานะและคุณสมบัติทางเคมี/ทางฟิสิกส์ Handbook ‘Choosing a cleaning’ จาก American Society for Testing and Materials (ASTM) จ�าแนกสิ่ง สกปรกที่ต้องก�าจัดออกเป็น 6 กลุ่ม พร้อมทั้งกระบวนการ บ�าบัดทีผ่ สู้ นใจหาซือ้ อ่านได้ ส�าหรับการจัดแบ่งกลุม่ ของสิง่ สกปรก 6 กลุ่ม คือ - กลุ่มสารเกาะยึดผสมเม็ดสี - กลุ่มเศษโลหะและน�้ามันหล่อเย็น - กลุ่มสนิมและรอยไหม้ - กลุ่มน�้ามันและไขไร้เม็ดสี - กลุ่มสารขัดและเจียร - อื่นๆ
การบรรจุชิ้นสวนเพื่อการบ�าบัด
เพื่อให้สามารถเลือกใช้สารบ�าบัดได้ถูกต้องเหมาะสม กับกรรมวิธกี ารบ�าบัด จ�าเป็นต้องทราบทัง้ ปริมาณและอัตรา การส่งผ่านชิ้นส่วนเข้ากระบวนการบ�าบัด ด้วยการลงทุน กระบวนการบ�าบัดใหญ่โตเพือ่ บ�าบัดชิน้ ส่วนปริมาณน้อยจะ มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต รูปแบบการผลิตชิน้ ส่วนเพือ่ ส่งเข้าสู่กระบวนการบ�าบัดจ�าเป็นต้องมีการก�าหนดให้ แน่นอนเช่นกัน ชิน้ ส่วนทีเ่ สีย่ งต่อการแตกหักอาจต้องยึดไว้ กับที่ให้มั่นคง การเทบรรจุชิ้นส่วนลงในภาชนะเพื่อส่งเข้า สู่กระบวนการบ�าบัดอาจเป็นวิธีที่สะดวกและง่ายต่อการ ปฏิบัติแต่อาจบ�าบัดได้ไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะส่วนของผิวชิ้น ส่วนที่ท�ากันอยู่ผู้ปฏิบัติจึงต้องตรวจสอบให้ดี
สถานที่ที่ใชในการท�าความสะอาด
การเลือกใช้กรรมวิธกี ารบ�าบัด ส่วนหนึง่ ขึน้ อยูก่ บั สถาน ที่เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการซ่อมแซมและงานซ่อม บ�ารุง ซึ่งไม่สามารถถอดออกและย้ายสถานที่บ�าบัดได้ กระบวนการบ�าบัดในอุตสาหกรรมการผลิตส่วนใหญ่จะ อยู่ในโรงงานโดยผนวกเข้ากับสายการผลิต เช่น จัดให้เป็น ส่ ว นหนึ่ ง ของสายการประกอบ ซึ่ ง ระบบบ� า บั ด ก็ ต ้ อ ง สามารถรองรับได้ทั้งขนาดและปริมาณของชิ้นส่วนที่ต้อง ผ่านกระบวนการบ�าบัดต่อหนึ่งหน่วยเวลาด้วย ทั้งนี้ ก็เพื่อ ให้สายการผลิตด�าเนินไปโดยไม่สะดุด
รูปที่ 2: การท�าความสอาดด้วยน�้าแข็งแห้ง
อุตสาหกรรมบางชนิดที่มีกระบวนการผลิตชิ้นส่วน คล้ายๆ กันในขั้นตอนท�านองเดียวกัน สามารถจัดตั้งเป็น ศูนย์กลางการบ�าบัดได้โดยที่ระบบบ�าบัดก็สามารถปรับให้ เข้ากับความจ�าเป็นทางเทคนิคได้ด้วยเช่นกัน
เทคนิคที่ใชในการท�าความสะอาด
เบื้องต้นง่ายๆ อาจจ�าแนกเทคนิคที่ใช้ในการท�าความ สะอาดเป็นการด�าเนินการด้วยมือ ด้วยเครือ่ งมือเครือ่ งจักร อัตโนมัติ และภายใต้การสนับสนุนโดยหุ่นยนต์หรือแขนกล กระบวนการท�าความสะอาด อาจด�าเนินการให้เสร็จ สิน้ ได้ภายในขัน้ ตอนเดียวโดยเฉพาะอย่างยิง่ กับการด�าเนิน การด้วยมือ แต่ตามปกติแล้วกระบวนการท�าความสะอาด จะมีหลายขั้นตอน ในอุตสาหกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์ทาง เทคโนโลยีการแพทย์และอุปกรณ์ทางสายตาจะมีขั้นตอน การบ�าบัดที่ซับซ้อนมากกว่า 10-20 ขั้นตอน หากไม่มีการ จัดการทีด่ จี ะท�าให้ผปู้ ฏิบตั หิ ลงลืมและท�างานผิดขัน้ ตอนจน ส่งผลเสียต่อผลผลิตได้ ขั้นตอนการท�าความสะอาดที่พบบ่อยในการปฏิบัติ คือ 1. การท�าความสะอาดเบื้องต้น 2. การท�าความสะอาดหลัก 3. การล้าง 4. การล้างด้วยน�้าไร้ไอออน 5. การล้างด้วยสารป้องกันการกร่อน 6. การท�าให้แห้ง ในทุกขั้นตอนการบ�าบัดดังกล่าว อาจด�าเนินไปในอ่าง หรือในถังและหากเป็นการฉีดล้างจะเป็นไปในกล่องหรือห้อง
ที่ต่อกันเป็นระบบบ�าบัด แต่ก็มีระบบบ�าบัดที่ท�าเป็นห้อง เดียวแล้วสามารถปรับเปลี่ยนสารบ�าบัดให้กระบวนการ ท�าความสะอาดส�าเร็จลุล่วงไปทั้ง 6 ขั้นตอนได้ สารท�าความสะอาดทีใ่ ช้ในกระบวนการบ�าบัดส�าคัญไม่ แพ้เทคนิคและกรรมวิธีที่ด�าเนินการ ทั้งนี้ เพราะท้ายที่สุด แล้วมันจะต้องถูกน�าไปแยกเอาสิ่งสกปรกออกและน�ากลับ มาใช้เพื่อการประหยัดต้นทุน สารท�าความสะอาดจะถูก หมุนเวียนใช้อยู่นาน 3-12 เดือน แล้วแต่การใช้งานมาก น้อยเท่าใด จากนั้นจึงมีการเปลี่ยนใหม่ สารบ�าบัดที่ใช้เป็น ของเหลวที่อาจได้จากการผสมกับน�้าเป็น Emulsion เป็น สารละลายไฮโดรคาร์บอนด์และฮาโลคาร์บอนด์ที่โดยทั่วๆ ไป เป็นสารประกอบกับคลอรีน ดังนั้น แต่ละขั้นตอนการ บ�าบัดจึงมักท�าเป็นห้องปิดเพื่อป้องกันอันตรายอันอาจเกิด แก่สุขภาพและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ สารบ�าบัดบางตัวอาจติดไฟหรือระเบิดได้ซงึ่ ผู้ออกแบบระบบและผู้ใช้ต้องค�านึงเป็นพิเศษควบคู่ไปกับ สารท�าความสะอาดและอุณหภูมิที่ใช้เพื่อการบ�าบัดในแต่ ละขั้นตอน ยังมีการใช้เทคนิคพิเศษประกอบเพื่อให้การ ท�าความสะอาดประสบผลส�าเร็จดียิ่งขึ้น เทคนิคพิเศษที่ใช้ มีหลากหลายอาทิ การสเปรย์ การฉีดล้าง การพ่นขัด การ แช่ การท�าละเหยแยกไข การเคลื่อนชิ้นส่วนรูปแบบต่างๆ กัน การกวนในอ่างบ�าบัด การฉีดในอ่างบ�าบัด การต้มภาย ใต้แรงดัน การใช้คลื่นเสียงหลากหลายความถี่ ฯลฯ เทคโนโลยีใหม่ที่ถูกน�ามาใช้ในการท�าความสะอาดชิ้น ส่วน คือ การพ่นขัดด้วยเม็ดน�้าแข็งแห้งหรือเกล็ดหิมะ ซึ่ง Modern Manufacturing จะน�าเสนอในฉบับต่อไป
เอกสารอ้างอิง www.wikipedia.de; “Teilereiningung” “Trockeneisstrahlen” “Schneestrahlen” “Strahltechnik” “Reinigungsloesungen” “Technische Sauberkeit Automotive” “Die Trockeneis – Strahltechnik” “Das Arbeitsprinzip der Trockeneisstrahlung” “Grundprinzip der Trokeneisstrahl” “Trockeneisreinigung – Reinigen von Oberflaechen”
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 71
PRINCIPLE | รศ.ดร.ชัชพล ชังชู
เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี CAD/CAE/CAM เมื่อกล่าวถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วย หรือ Computer-Aided นั้น โดยปกติจะหมายรวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใน 3 กลุ่มงาน คือ คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (Computer-Aided Design, CAD) คอมพิวเตอร์ช่วยผลิต (Computer-Aided Manufacturing, CAM) และ คอมพิวเตอร์ช่วยวิศวกรรม (Computer-Aided Engineering, CAE) ซึ่งจะถูกเรียกจนติดปากว่า CAD/CAM/CAE แต่ในการใช้งานทั่วไป แล้ว ผู้ประกอบการจะใช้ CAD, CAE และCAM ตามล�าดับ ดังนั้น การเรียกขานที่ถูกต้องจึงควรเป็น CAD/CAE/CAM สวนประกอบของโปรแกรม CAD/CAE/CAM
ในปัจจุบันโปรแกรมคอมพิวเตอร์ CAD/CAE/CAM ใน ท้องตลาดมีด้วยกันหลากหลายโปรแกรม ทั้งในระดับ HiEnd, Mid-Range และ Low-End ส�าหรับโปรแกรมที่เป็นที่ รู้จักในประเทศไทย เช่น CATIA, NX (Unigraphics), Pro/ ENGINEER, และ SolidWorks เป็นต้น ซึ่งโครงสร้างของ โปรแกรมเหล่านี้จะประกอบด้วย 5 ส่วนหลักๆ คือ 1. Operating System Module 2. Graphics Module 3. Applications Module 4. Programming Module 5. Communications Module โดยส่วนแรกจะเป็นการควบคุมการเชือ่ มต่อกับ Operating System และการจัดการเกี่ยวกับ File ทั้งหมด (เช่น Save Delete และ Exit เป็นต้น) ในส่วนที่สองจะเน้นที่การขึ้นรูป ชิ้นงานในลักษณะต่างๆ เป็นหลัก ส่วนที่สามจะเป็นส่วนที่ รวบรวมโมดูลเกี่ยวกับการใช้งานของ CAM และ CAE ส่วน ที่สี่นั้นจะใช้งานโดยผู้พัฒนาโปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่นมาก กว่าเพราะเป็นส่วนอนุญาตให้มีการเขียน Code เพิ่มเติมที่ ควบคุมการท�างานของโปรแกรม CAD/CAE/CAM และ ส�าหรับส่วนสุดท้ายจะเป็นส่วนทีใ่ ช้งานการสือ่ สาร การส่งถ่าย ข้อมูล (Data Exchange) ระหว่างผู้ใช้ตั้งแต่สองคนขึ้นไปให้ สามารถท�างานร่วมกันได้ผ่านระบบเครือข่าย
การขึ้นรูปแบบวาด 3 มิติ ส�าหรับโปรแกรม CAD/CAE/CAM
เมื่อพิจารณาเฉพาะในเรื่องของ Graphic แล้ว การวาด ภาพในโปรแกรม CAD/CAE/CAM นั้นจะเป็นการเริ่มต้น จาก 3D เลย ซึ่งแตกต่างจากโปรแกรม CAD ประเภทการ เขียน Drawing ที่เป็นงาน 2D ดังนั้น การวาดภาพจะกระท�า ได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1. Wireframe Model 2. Surface Model 3. Solid Model ทั้งนี้ ภาพ Wireframe จะเป็นภาพที่แสดงแต่โครงภาพ ที่เป็นเส้นเท่านั้น ส่วนภาพ Surface ก็จะแสดงโครงภาพที่ แสดงพืน้ ผิว แต่หากต้องการภาพทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็นวัตถุ 3 มิติ จริงๆ (สามารถระบุ Material Property ได้) ก็จะต้องเลือก ภาพเป็นประเภท Solid (ดังแสดงในรูปที่ 1) 72 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ในทัศนะส่วนตัวแล้วผู้เขียนเห็นโปรแกรมที่สามารถวาด ภาพวัตถุได้ทั้งสองวิธีจะช่วยให้การวาดภาพ 3D เป็นได้ง่าย ขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากในบางรูปทรงการวาดภาพด้วยวิธีหนึ่งจะ ง่ายกว่าอีกวิธีหนึ่งนั่นเอง ยกตัวอย่าง หากท่านต้องการวาด ภาพกล่องสี่เหลี่ยม (แน่นอนมันเป็นวัตถุง่ายๆ) การวาดด้วย Primitive จะง่ายกว่าการวาดด้วย Sketch (ก)
(ข) (ก)
(ค) รูปที่ 1: (ก) Wireframe Model (ข) Surface Model และ (ค) Solid Model
การขึ้นรูปแบบวาด 3 มิติ แบบ Solid Model
การวาดภาพแบบ Solid นั้น อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า เป็นการวาดวัตถุ 3D อย่างแท้จริง สามารถบรรจุขอ้ มูลทีเ่ ป็น Material Property ให้แก่วัตถุนั้นๆ ได้ ซึ่งโดยทั่วไปการวาด ภาพ Solid สามารถกระท�าได้ 2 วิธี คือ Primitive Type และ Sketch Type (ดังรูปที่ 2) ซึ่งโปรแกรม CAD/CAE/ CAM ส่วนใหญ่ (ซึ่งพัฒนาในระยะหลัง) จะมีการขึ้นรูปเพียง วิธีเดียว คือ Sketch Type แต่ส�าหรับโปรแกรมบางยี่ห้อที่มี การพัฒนามานานแล้วเช่น NX (Unigraphics) จะสามารถ วาดภาพ Solid ได้ทั้งสองวิธี
(ข) รูปที่ 2: Primitive Type และ (ข) Sketch Type
โดยในการใช้งานจริงนัน้ ภาพวัตถุแบบ Solid นัน้ สามารถ น�าไปใช้ในการวิเคราะห์ จ�าลอง และประยุกต์ทางวิศวกรรม อื่นๆ ได้อีกมากมายดังแสดงในรูปที่ 3
รูปที่ 3: ตัวอย่างการใช้งาน Solid Model (ที่มา http://www.pages.drexel.edu/~sunwei/)
CAE ในโปรแกรม CAD/CAE/CAM
โดยพื้นฐานแล้ว โปรแกรม CAD/CAE/CAM จะแบ่ง เป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ ส่วนแรกจะเป็นกลุ่มของโมดูลส�าหรับ การจ�าลองสภาวะการณ์ (Simulation) และส่วนที่สอง คือ กลุ่มของโมดูลที่ใช้ส�าหรับการวิเคราะห์ (Analysis) ส�าหรับ โมดูลส่วนแรกที่ใช้กันบ่อย ได้แก่ Motion Simulation Module ส่วนที่โมดูลกันมากในงานวิเคราะห์ ได้แก่ โมดูลใช้ ส�าหรับวิเคราะห์ความแข็งแรง และโมดูลทีใ่ ช้สา� หรับวิเคราะห์ การขึ้นรูปวัสดุต่าง เป็นต้น ส�าหรับโมดูลที่ใช้ส�าหรับการวิเคราะห์ทางวิศกรรมนั้น เรียกได้ว่าแทบจะทั้งหมดจะใช้ Finite Element ในวิเคราะห์ และโปรแกรม CAD/CAE/CAM ส่วนมากไม่นิยมพัฒนา โมดูลพวกนี้ขึ้นมาเอง แต่จะใช้โมดูลของ Third Party เช่น ใช้ MSC Nastran หรือ Abaqus เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้โปรแกรม CAD/CAE/CAM จะต้อง ค�านึงถึงเสมอ คือ Solver เหล่านี้มิได้มีประสิทธิภาพเต็ม 100% เทียบเท่ากับโปรแกรมของ Third Party ที่จา� หน่าย เฉพาะ แต่ ก็ มี ค วามสามารถในการท� า งานได้ ร ะดั บ หนึ่ ง นอกจากนั้น ในกรณีที่ผู้ประกอบการต้องใช้ โปรแกรม CAE โดยเฉพาะในการค�านวณนั้น สิ่งที่ต้องค�านึงถึงก็คือ จะต้อง แน่ใจว่า โปรแกรม CAE และ CAD ที่ใช้อยู่นั้นรู้จักกัน กล่าว คือสามารถท�า Data Exchange กันได้โดยตรง ไม่เช่นนัน้ จะ เกิดกรณีทวี่ า่ โปรแกรม CAE ไม่สามารถอ่านข้อมูลจาก CAD File ได้ ทริกเล็กๆ ส�าหรับกรณีแบบนี้ คือ ดูว่า Solver ของ โปรแกรม CAD/CAE/CAM มีชื่อโปรแกรม CAE ยี่ห้อใด บ้าง ซึ่งโปรแกรม CAE ที่มีรายชื่อเหล่านั้นจะสามารถท�า Data Exchange กับ Solid Model ที่เขียนขึ้นจากโปรแกรม CAD ได้โดยตรง
CAM ในโปรแกรม CAD/CAE/CAM
การใช้งาน CAM ในปัจจุบนั นัน้ จะเป็นไปในลักษณะของ การให้ Module ที่เกี่ยวข้องท�าการสร้าง Code ส�าหรับ ควบคุ ม เครื่ อ งจั ก รให้ ท� า งานเพื่ อ สร้ า งชิ้ น งานตามที่ ผู ้ ใ ช้ ต้องการ (สร้างชิ้นงานจาก Raw Material หรือ Perform ให้ได้รปู ทรงตาม Solid Model) ซึง่ ลักษณะงานทีพ่ บบ่อยมาก ในปัจจุบัน (มากกว่าร้อยละ 80) คือ การสร้าง NC Code ส�าหรับเครื่องจักรกลซีเอ็นซี และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพใน การท�างานที่สูงสุดของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี ก่อนที่ผู้ใช้จะสั่ง ให้โปรแกรมสร้าง NC Code นัน้ ผูใ้ ช้งานจะต้องเลือกประเภท และรุ่นของ Controller ให้ตรงกับของเครื่องจักรที่ไปใช้งาน ด้วย ท�านองเดียวกันกับ CAE หากผู้ใช้มีความจ�าเป็นจะต้อง ใช้งานโปรแกรม CAM เป็นการเฉพาะเพื่อสร้าง Code ใน การควบคุมการท�างานของเครื่องจักร ผู้ใช้โปรแกรมจะต้อง แน่ใจว่า โปรแกรม CAD และ CAM ทั้งสองนั้นสามารถท�า Data Exchange ระหว่างกันได้อย่างสมบูรณ์ หรือพูดง่ายๆ ว่าโปรแกรมทั้งสองนั้นรู้จักกัน
ขอเตือนใจสงทาย
โปรแกรม CAD/CAE/CAM เป็นแค่เครื่องมือช่วยใน การท�างานเท่านั้น หากเปรียบเทียบง่ายๆ ก็เหมือนเครื่องคิด เลข หากผู้ใช้ใส่ข้อมูลผิด (ใส่ Input ผิด) ผลลัพธ์ที่ได้ออกมา ก็จะผิดไปด้วย รวมถึงการใช้งานโปรแกรมต้องเข้าใจอย่าง ถ่องแท้ด้วยว่าในแต่ละโมดุลนั้นมีข้อจ�ากัดอะไร ซึ่งจะท�าให้ผู้ ใช้เองนั่นแหละที่ทราบว่า ค�าตอบหรือผลที่ได้จากโปรแกรม CAD/CAE/CAM มีความคลาดเคลื่อนในระดับใด เนือ่ งจากราคาของโปรแกรม CAD/CAE/CAM นัน้ ค่อน ข้างสูงและแปรผันตามจ�านวนโมดูลที่เลือกซื้อ ดังนั้นเพื่อให้ ได้ประโยชน์สูงสุดผู้ใช้งานจึงควรเลือกโมดูลเพิ่มเติม (จาก โมดูลพื้นฐานที่บังคับต้องมีแล้ว) เฉพาะเท่าที่จ�าเป็นต้องใช้ งานเท่านั้นนะครับ
Source: http://eduard-x.blogspot.com/2011/05/cad-linux.html
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 73
WHITE PAPER | Robin Choo
สถาปัตยกรรมระบบ เอพิคอร์ ERP เวอร์ชั่น 10 เอพิคอร์ ERP เวอร์ชั่น 10 ถูกออกแบบเพื่อการใช้งานบนซอฟต์แวร์เว็บเซิร์ฟเวอร์ Microsoft Internet Information Services (IIS) ซอฟต์แวร์ เว็บเซิรฟ์ เวอร์ IIS และสามารถปรับเปลีย่ นขนาดตามความเหมาะสมได้ ซึง่ เทคโนโลยีนไี้ ด้รวมเอาคอนโซลและเครือ่ งมือบริหารจัดการส�าหรับก�าหนดค่า สร้างความปลอดภัย และบริการแจ้งเตือนปัญหาเข้าไว้ด้วยกัน นอกจากนี้ ยังรวมเอาระบบการจัดการส�าหรับการใช้งานและจัดการรายการ (Instances) ERP เมื่อ ERP เวอร์ชั่น 10 ได้รับการติดตั้ง คอนโซลควบคุมของเอพิคอร์ (Epicor Administration Console) จะถูกใช้เพื่อสร้าง และจัดการฐานข้อมูลได้อย่างง่าย รวมไปถึงการโยกย้ายข้อมูลและแอพพลิเคชั่นจากเอพิคอร์ ERP เวอร์ชั่นก่อนๆ การผูกรายการ ERP เข้ากับ ใบอนุญาต การจัดการผู้ใช้และช่วงเวลาการใช้งาน ERP เวอร์ชั่น 10 ถูกพัฒนาให้ทา� งานข้ามอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นและมีทางเลือกใน การใช้งานที่หลากหลาย สามารถท�างานได้ทั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ คลาวด์ หรือระบบบริการอื่นๆ คอนโซลควบคุมของเอพิคอร์ สถาปัตยกรรมระบบของ เอพิคอร์ ERP เวอร์ชั่น 10 และซอฟต์แวร์เว็บเซิร์ฟเวอร์ IIS ท�างานร่วมกันเพื่อเพิ่มความพร้อมให้แก่ระบบ ERP บริการ ของระบบนี้สามารถท�างานได้หลายประเภทในเวลาเดียวกัน (Multi-Threaded) และสามารถถ่ายโอนข้อมูลได้ตามความ ต้องการ
การจัดการกระบวนการทางธุรกิจ
โซลูชนั่ การจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management - BPM) ของเอพิคอร์ ERP เวอร์ชนั่ 10
74 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ที่ท�าให้ผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่มเติม หรือแทนที่บริการต่างๆ ตามข้อก�าหนดของลูกค้าหรือแมเนจโค้ด กว่า 20,000 รูป แบบ การปฏิบัติงานบริการที่ประกอบในเวอร์ชั่นนี้สามารถ ยับยั้งหรือผนวกรวมเข้ากับขั้นตอนการท�างานแบบ RulesBased ได้ โซลูชั่น BPM สามารถท�างานก่อน แทนที่ หรือ หลัง การประมวลผลของตารางพื้นฐาน ส�าหรับการอัพเดท ข้อมูลแอพพลิเคชัน่ Rules สามารถท�าได้พร้อมกับการด�าเนิน การโดยทั่วไป หรือท�าอย่างไม่ประสานเวลา (Asynchronously) หลังจากท�าการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในฐานข้อมูล
โซลูชั่น BPM ประกอบด้วยค�าสั่ง 2 ประเภท คือ ค�าสั่ง ที่ผูกกับการปฏิบัติงานบริการ และค�าสั่งที่ผูกกับการปฏิบัติ งานเชิงกายภาพหรือการปฏิบัติงานพื้นฐานบนฐานข้อมูล (CRUD) โซลูชั่น BPM ได้รวมเอาฟังก์ชั่น Business Holds คือ กลุ่มข้อมูลที่สร้างโดยผู้ใช้ ใช้ส�าหรับจ�ากัดหรือก�าหนด เส้นทางของลอจิกประมวลผล ซึ่งท�างานคล้ายกับการระงับ บัตรเครดิตที่จะหยุดรับค�าสั่งใช้เงินใหม่จากลูกค้า ฟังก์ชั่น Business Holds สามารถก�าหนดคอนเซ็ปต์ทผี่ ใู้ ช้กา� หนดเอง และเอนทิตี้ข้อมูลเฉพาะ ฟังก์ชั่น Business Holds ท�างาน สัมพันธ์กับโซลูชั่น BPM ในการจ�ากัดการท�างานของเอนทิตี้ ข้อมูลเฉพาะเมื่อได้รับค�าสั่งระงับ ค�าสัง่ โซลูชนั่ BPM และ Business Holds ท�างานร่วมกัน ในการสร้างกระบวนการท�างานทางธุรกิจที่ซับซ้อน ค�าสั่ง เหล่านี้ยังสามารถขัดจังหวะล�าดับกระบวนการท�างานแบบ ปกติ เพือ่ คิวรี่ (Query) หรือคัดกรองข้อมูลทีผ่ ใู้ ช้อนุญาต หรือ เมื่อเรียกใช้ข้อมูลเพิ่มเติม กิจกรรมค�าสั่งอื่นๆ ยังรวมไปถึง การแนบหรือลบแท็กข้อมูลหรือฟังก์ชั่น Business Holds การประเมินสภาวะที่ข้อมูลหยุดนิ่งหรือเคลื่อนไหว และการ กระตุ้นให้เกิดขั้นตอนการท�างานที่สอดคล้อง ค�าสั่งของโซลูชั่น BPM ส่วนใหญ่ สร้างโดยชุดเงื่อนไข วิซาร์ด (Rule Wizards) เช่นเดียวกับเงื่อนไขที่ใช้แก้ไขใน โปรแกรม Microsoft Outlook ผูพ้ ฒ ั นาสามารถเพิม่ เติมโค้ด โปรแกรมในภาษา C# ได้ในทุกขั้นตอนการท�างาน โซลูชั่น BPM AwPI ท�าให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงค่าเบื้องต้น และค่าที่ เปลี่ยนแปลงในปรากฏเอนทิตี้เอกสารที่เกี่ยวข้อง เงื่อนไข ต่างๆ ถูกจัดเก็บไว้ในเมตาดาต้า ซึ่งหมายถึงเงื่อนไขเหล่านี้ จะไม่ถูกกระทบเมื่อใช้ร่วมกับฟิกซ์รีลีสซ์ เมือ่ ท�างานร่วมกัน การสร้างฟิลด์เพิม่ โดยผูใ้ ช้ และ BPM ท�าให้เกิดเครื่องมื อที่ ใ ช้ จั ดการพฤติ กรรมเซิ ฟ เวอร์ ซึ่ งมี โครงสร้างข้อมูลแบบสแตกที่ก�าหนดเอง (Customization
Stack) ยังรวมถึงไปเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการพัฒนาโปรแกรมแบบ เบ็ดเสร็จ (Integrated Development Environment หรือ IDE) ทีฝ่ งั อยูใ่ นตัว ซึง่ สามารถท�าให้ผใู้ ช้เคลือ่ นย้าย โยน หรือ เพิ่มเติมข้อมูลได้
เทคนิคการปรับแตงโปรแกรม
ผู้พัฒนาโปรแกรมสามารถออกค�าสั่ง Row Rules เพื่อ สร้างพฤติกรรมโดยมีขอ้ มูลขับเคลือ่ น เช่น การเปลีย่ นสี หรือ รูปแบบ นอกจากนัน้ ลอจิกรูปแบบ (Form Logic) ยังสามารถ สร้างด้วยภาษา C# หรือ VB.NET และก�าหนดรูปแบบ Panel, Or Control Events ได้ การปรับแต่งให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้ทั้งหมด ถูกจัดการและจัดเก็บในเมตาดาต้า และถูกน�ามาใช้โดยอัตโนมัตหิ รือเมือ่ ผูใ้ ช้ตอ้ งการ ทัง้ นี้ รูปแบบ การท�างานที่มีเมตาดาต้าเป็นพื้นฐานในการปรับแต่ง จะไม่
ท�าให้เกิดการแทรกแซงข้อมูลในแอพพลิเคชั่นของเอพิคอร์ ซึง่ หมายความว่าการปรับแต่งจะไม่ทา� ให้เกิดการเปลีย่ นแปลง โค้ดพื้นฐาน (Baseline Code) การปรับแต่งโครงสร้างสถาปัตยกรรม สนับสนุนการปรับ แต่งและการท�าให้เป็นส่วนบุคคล (Personalization) ถึง 7 ระดับ ซึง่ ท�าให้ชดุ รูปแบบการท�างานสามารถเปลีย่ นแปลงให้ เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ไปจนถึงความต้องการของ อุตสาหกรรมแต่ละประเภท การปรับแต่งระดับอืน่ ๆ รวมไปถึง การสนับสนุนความต้องการ ERP ในแต่ละพืน้ ที่ โดยพาร์ทเนอร์ และนักพัฒนาของเอพิคอร์ การท�าให้เป็นส่วนบุคคล ท�าให้ผใู้ ช้งานแต่ละคนสามารถ ควบคุมสี รูปแบบ และสัมผัสของระบบ ERP ของแต่ละบุคคล ผูใ้ ช้ (ทีไ่ ด้รบั อนุญาต) สามารถเริม่ การใช้งาน ERP 10 Runtime Styling Tool (RST) ได้ทุกเวลา เมื่อเปิดใช้งาน RST ผู้ใช้ สามารถเลื่อนเคอร์เซอร์บนพื้นที่รูปแบบและเมนูเพื่อเรียกดู ข้อมูลปัจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลนั้นๆ รูปแบบ ส่วนบุคคลนี้สามารถเก็บและแชร์ให้กับผู้ใช้อื่นๆ หรือบริษัท อื่นๆ Epicor Web Access (EWA) ท�าให้ผู้ใช้เข้าถึงรูปแบบ เอพิคอร์ ERP เวอร์ชั่น 10 ผ่านทางบราวเซอร์ได้ EWA แปลงข้อมูลแอพพลิเคชั่นของลูกค้าโดยการใช้ HTML ที่ไม่ ต้องพึง่ การใช้บราวเซอร์ปลัก๊ อิน รูปแบบ HTML นีไ้ ด้มาจาก เมตาดาต้าชุดเดียวกับที่ใช้ก�าหนดรูปแบบแอพพลิเคชั่น เอพิ คอร์ ERP ไคลแอ้นท์ โดยตรง แนวความคิดหลายอย่างได้รบั การสนับสนุนจากเครือ่ งมือเฉพาะแอพพลิเคชัน่ ไคลแอ้นท์ ได้ รับการสนับสนุนจาก EWA เช่นกัน ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้ สามารถปรับแต่ง เอพิคอร์ ERP ด้วยการใช้เครื่องมือ IDE และสามารถน�าการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ปรากฏบนเวอร์ช่ัน บราวเซอร์ได้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 75
ผศ.ดร.บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วยบุญ และทีมนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
| R&D CORNER
รถเข็นคนพิการ
แบบปรับยืนได้โดยไม่ตอ้ งใช้มอเตอร์ ไฟฟ้า
จากรายงานทางการแพทย์พบว่า การยืนจะช่วยให้สุขภาพของผู้พิการดีขึ้นไม่ว่าจะ เป็นระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย และยังช่วยให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรง ป้องกันโรค กระดูกพรุนจากการที่กระดูกไม่ได้รับน�้าหนัก นอกจากนี้ ยังท�าให้ผู้พิการสามารถกลับ มายืนเพื่อใช้ชีวิตประจ�าวันได้ใกล้เคียงกับปกติ ส่งเสริมสุขภาพจิต และเพิ่มโอกาสใน การประกอบอาชีพของผู้พิการ นวัตกรรมยอดเยี่ยม เพื่อผูพิการ
จากการส�ารวจของส�านักงานสถิตแิ ห่งชาติ จ�านวนของ ผู้พิการทางการเคลื่อนไหวและอัมพาตมีประมาณ 100,000 คน ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นกลุ่มเป้าหมายในการใช้สิ่งประดิษฐ์ นอกจากนี้ แล้วหากน�ามาปรับปรุงลักษณะและอุปกรณ์เสริม บางส่วนของรถเข็นเพื่อเพิ่มมูลค่า ก็สามารถส่งออกไปขาย ต่างประเทศได้ อย่างไรก็ตาม หากประเมินทางด้านมูลค่าการตลาด แล้ว ผู้พิการส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้น้อยและด้อยโอกาสใน สั ง คม โดยสามารถสั ง เกตได้ จ ากบริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต เกี่ ย วกั บ อุปกรณ์คนพิการมักจะผลิตเฉพาะอุปกรณ์ทั่วไปส�าหรับคน พิการ เช่น รถเข็นคนพิการธรรมดา ซึ่งมีตลาดที่กว้างกว่า และไม่ตอ้ งลงทุนในการวิจยั ออกแบบและพัฒนา แต่สา� หรับ อุปกรณ์คนพิการเฉพาะด้านมักจะอาศัยการน�าเข้าจากต่าง ประเทศ 76 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Manual Standing Wheelchair หรือรถ เข็นคนพิการแบบปรับยืนได้โดยไม่ต้อง ใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นผลงานจากโครง งานวิจัยของกลุ่มประดิษฐ์ นักศึกษาชั้น ปี ที่ 4 ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่ง คุณนิรันดร์ ใหม่โปธิ ร่วมกับเพื่อนอีก 2 คน คือ คุณกรณรงค์ ศรีมี และคุณอนุสทิ ธ์ ศรีจรรยา โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วย บุญ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ภายใต้แนวคิด ว่าท�าอย่างไรที่จะท�าให้ผู้ป่วยที่ร่างกายเคลื่อนไหวไม่ได้ สามารถยืนได้อีกครั้ง รถเข็นที่ปรับยืนได้จึงเป็นค�าตอบ ทั้งนี้ จากการค้นหา ข้อมูลพบว่ามีการประดิษฐ์รถเข็นปรับยืนได้ในต่างประเทศ บ้ า งแล้ ว แต่ ไ ม่ มี เ รื่ อ งรายละเอี ย ดของการประดิ ษ ฐ์ นักศึกษาจึงตัดสินใจที่จะออกแบบเอง โดยติดต่อไปที่ ศูนย์ สิรนิ ธรเพือ่ การฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติเพือ่ ศึกษาขอข้อมูลเกีย่ วกับคนพิการ รายละเอียดเกีย่ วกับสภาพ ร่างกายของผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวไม่ได้ว่าเป็นอย่างไร เพื่อ ให้การออกแบบมีความเหมาะสมมากที่สุด จากนั้นจึงส่งไป ท�าการผลิตในโรงงานไทยวีล มูลนิธคิ นพิการไทย ทีป่ ากเกร็ด ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการผลิตรถเข็นส�าหรับผู้พิการ ที่ป่วยเป็นอัมพาตอยู่แล้ว รูปแบบของรถเข็นคนพิการแบบปรับยืนได้ ทีน่ กั ศึกษา ของภาควิชาออกแบบและประดิษฐ์มี 3 รูปแบบ คือ แบบ Manual คือ ผู้ป่วยแข็งแรงสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ใน การพยุงตัวเพื่อยืนขึ้นบน เก้าอี้เข็น แบบที่สอง เป็นแบบกึ่ง อัตโนมัติ คือ ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวได้บ้าง แต่อาจไม่มี แรงในบางครั้ง ต้องใช้อุปกรณ์ช่วยในการยืนเสริม แบบ สุดท้าย เป็นแบบ Full Power มีการติดมอเตอร์ไฟฟ้า อัตโนมัติพร้อมปุ่มปรับเลื่อนขึ้นลงโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็น แนวคิดที่ คุณนิรันดร์ และเพื่อนๆ พัฒนาปรับปรุงต่อยอด ส�าหรับผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย
จากจุดเริ่มตน สูตนแบบนวัตกรรมรถเข็น เพื่อผูพิการสมัยใหม
นวัตกรรมดังกล่าว ถือเป็นต้นแบบรถเข็นคนพิการที่ สามารถปรับยืนได้โดยไม่ตอ้ งอาศัยมอเตอร์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ สูงแต่ราคาถูกและเหมาะสมกับการใช้งานในประเทศไทย
นอกจากนั้ น รถเข็ น ปรั บ ยื น ได้ ผ ่ า นการออกแบบทาง วิศวกรรมมาอย่างดี สามารถปรับยืนได้ด้วยแรงแขนของ ผู้พิการเอง โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้า นอกจากนี้ ยังครอบคลุมผู้พิการหรือผู้ป่วยที่ไม่มีแรงแขน โดยรถเข็นถูกออกแบบให้สามารถปรับยืนได้โดยผู้ป่วยหรือ ผู้ช่วยดูแล ทีมนักศึกษาเลือกใช้วสั ดุอะลูมเิ นียมอัลลอยเพือ่ ให้มนี า้� หนักเบา เหมาะส�าหรับกลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุม่ ผูป้ ว่ ยทีม่ กี า� ลังแขนดีมปี ระวัตเิ คยยืนหรือเดินได้มาก่อน และผู้ป่วยอัมพฤกษ์หรือผู้สูงอายุที่แขนไม่มีแรงแต่ต้อง ท�าการกายภาพบ�าบัดด้วยการยืนโดยอาศัยคนพยุงช่วย รถเข็นที่ทีมนักศึกษาช่วยกันพัฒนาขึ้นมาจนส�าเร็จ ใช้ ต้นทุนพัฒนาเพียง 1.5-1.6 หมื่นบาทเท่านั้น เทียบกับของ ต่างประเทศที่มีมอเตอร์ส�าหรับปรับยืนอัตโนมัติจะมีราคา หลักแสนบาท แต่เทคโนโลยีท่ีนักศึกษาพัฒนาขึ้นได้น้ีหาก มีการเชิงอุตสาหกรรมราคาจะถูกลงอีก ทีมนักวิจัยตั้งใจไว้ แล้วว่าจะพัฒนาขึ้นเพื่อให้คนพิการได้ใช้อย่างทั่วถึง รถเข็นปรับยืนด้วยกลไกช่วยให้ผู้ใช้สามารถยืนได้เอง โดยไม่ต้องอาศัยผู้อ่ืนช่วย ท�าให้ผู้พิการสามารถใช้ชีวิตได้ ใกล้เคียงกับคนปกติ ไม่ว่าจะยืนตากผ้า รดน�้าต้นไม้ ท�า กับข้าวหรือเพื่อยืดเส้นยืดสายอย่างเดียวก็ตาม เมื่อมีการน�าผลงานของนักศึกษาเหล่านี้ออกแสดง สาธิตโดยมีสื่อต่างๆ ที่สนใจน�าไปเผยแพร่ ปรากฏว่ามีผู้ ป่วยและญาติของผู้ป่วยติดต่อมาที่ภาควิชา ขอให้จัดท�า รถเข็นในแบบดังกล่าวให้ เนื่องจากมีต้นทุนถูกกว่าสั่งเข้า มาจากต่างประเทศ ซึ่งขณะนี้มีจ�านวนไม่ต่�ากว่า 10 ราย มีการจัดส่งให้น�าไปใช้งานแล้วจ�านวนหนึ่ง นับว่าเป็นผลงานวิจัยและพัฒนาชิ้นหนึ่งที่เกิดขึ้นบน พื้นฐานของการเอาใจใส่แก่ผู้พิการในสังคม เพื่อให้พวก เขาเหล่านั้นได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน สามารถท�ากิจกรรม ต่างๆ ได้เหมือนหรือใกล้เคียงคนปกติ และเป็นการลดช่อง ว่างทางสังคมได้อีกด้วย หากคุณมีเรือ่ งราวงานวิจยั ทีน่ า่ สนใจและเป็นประโยชน์ ต่ อ แวดวงอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ต้ อ งการเผยแพร่ เ พื่ อ เป็ น ประโยชน์ต่อสังคม ติดต่อได้ที่ 0 2731 1191 ต่อ 115 หรือ jirapat.k@greenworldmedia.co.th ทุกพลังของความคิด จะเป็นแรงบันดาลใจเพือ่ น�าไปต่อยอดและก่อเกิดประโยชน์ อย่างมากมาย
ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง / DR.SITTICHAI FARANGTHONG (farlangthong@hotmail.com) ผู้อ�านวยก�ารหลักสูตรบริห�ารธุรกิจมห�าบัณฑิต วิทย�าลัยเซ�าธ์อีส์บ�างกอก และกรรมก�ารสอบวิทย�านิพนธ์ มห�าวิทย�าลัยร�าชภัฏสวนสุนันทา อาจารย์พิเศษวิทย�าลัยของรัฐ และที่ปรึกษ�าสม�าคมภัตต�าค�ารไทย ทั้งยังเป็นคอลัมนิสต์พิเศษให้กับหนังสือพิมพ์และนิตยส�ารต�่างๆ อีกม�ากม�าย
พิชัย ถิ่นสันติสุข / PHICHAI TINSUNTISOOK (royal@royalequipment.co.th; http://www.royalequipment.co.th) ประธานกลุ่มบริษัท ราชาอีควิปเมนท์ จ�ากัด และประธานกลุ่มอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย President, Royal Equipment Co., Ltd. Chairman, Renewable Energy Industry Club of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
P.78
LOGISTICS DESIGN
“การแขงขันของธุรกิจปัจจุบันนับวันจะมีทวีความรุนแรงขึ้น ดังนั้น ธุรกิจะตองมีการออกแบบระบบการโลจิสติกส ที่สามารถตอบโจทย ทางธุรกิจที่ยากขึ้นดวยสวนผสมที่หลากหลาย มิใชมุงเนนเพียงลด ตนทุนเพียงอยางเดียว แตตองค�านึงถึงผูมีสวนไดสวนเสียกับ องคกรดวย”
P.80
ALTERNATIVE ENERGY
“คอลัมนนี้จึงเป็นแหลงขอมูล แหลงความรู สะทอนความคิดความ เห็นจากภาคเอกชนอยางมีเหตุผล นอกจากนี้ ยังมีประโยชน โดยตรงกับนักลงทุนหรือผูที่สนใจลงทุนในธุรกิจนี้ เนื่องจาก พลังงานทดแทนเป็นทั้งธุรกิจ สาธารณูปโภค การลงทุน และความ มั่นคงของรัฐ ดังนั้น หากเกิดความ เปลี่ยนแปลงใดๆ ยอมสงผลก ระทบโดยตรงกับสวนรวม”
HORIZONTAL COMPETENCY พิชญ รอดภัย / PETE ROTPAI (pr150286@gmail.com) นักวิเคราะห์เศรษฐกิจ การเงิน การลงทุน และผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐกิจ การลงทุน โครงสร้างการเงิน และการธนาคาร การศึกษา: บธ.บ. สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เกียรตินิยม) และ MSc. in Finance, University of York, UK.
นเรศ เดชผล / NARES DECHPOL (orange_smallfish@hotmail.com, www.orangesmallfish.com) หนึ่งในผู้บริหารเว็บไซต์ชื่อดังของเมืองไทย ผู้คร�่าหวอดในวงการไซเบอร์และไอที อีกทั้ง ยังเป็นผู้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้การหลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
ดร.ฉันทมน โพธิพิทักษ / DR.CHANTAMON POTIPITUK อาจารย์ประจ�า คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ การศึกษา: สถ.บ. เกียรตินิยม (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถ.ม. (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร Ph.D. (Urban Environmental Management) Asian Institute of Technology ประสบการณ์: ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านมุมมองทัศนียภาพ ประสบการณ์มากกว่า 9 ปี
P.83
BOTTOM LINE
“วาดวยเรื่องบทวิเคราะหวิจารณขาวสารและปรากฏการณดาน เศรษฐกิจ – การเงินที่เกิดขึ้นในแวดวงธุรกิจ และอุตสาหกรรมทั่ว โลกอยางรอบดาน เพื่อเป็นขอมูลส�าหรับผูประกอบการ อุตสาหกรรมน�ามาประยุกตใชไดอยางสอดคลองกับธุรกิจ”
P.86
REAL TIME
“เทาทันการเปลี่ยนแปลง รับรูขอมูลเตือนภัย และกาวไปพรอมกับ การพัฒนาทางเทคโนโลยีดานไอที อินเทอรเน็ต และการสื่อสาร เพื่อ การใชงานเครื่องมือไอทีอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป้าหมาย คือ การน�าไปสนับสนุน และประยุกตใชกับองคกรในการลดตนทุนและ เพิ่มพูนผลผลิต”
P.88
FACTORY 3.0
“แนวคิดของอุตสาหกรรมที่เนนศูนยกลาง คือ สังคมและชุมชน ซึ่ง นอกจากภาคอุตสาหกรรมจะเนนในตัวผลิตภัณฑแลว ยังตองสง เสริมคุณคาและใสใจตอสวนรวม รับผิดชอบตอสังคม ซึ่งปัจจุบัน โลกยุค 3.0 เป็นโลกยุคการสื่อสาร และสังคมเป็นหลักที่จ�าเป็นจะ ตองมุมเนนในภาคสวนรวม พรอมใสใจในสังคมและสิ่งแวดลอม”
LOGISTICS DESIGN |
สิทธิชัย ฝรั่งทอง
คุณภาพชีวิตพนักงานด้านโลจิสติกส์ Quality of Life of Logistics Personnel
คุณภาพชีวิต
พนั ก งานด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ Quality of Life of Logistics Personnel ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยมี ความเปราะบางเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาคธุรกิจ ของไทยต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ รอบด้าน เช่น การแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศที่ รุนแรง ปัญหาต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนแรงงาน และต้นทุนพลังงาน ที่เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งก�าลัง พบกับความท้าทายใหม่ที่จะเกิดขึ้นจากการ รวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community หรือ (AEC) ในปลายปี 2558 โดยผู้ประกอบการจะต้อง มี ก ารเตรี ย มการพั ฒ นาศั ก ยภาพและเพิ่ ม ทักษะการท�างานพนักงานให้มีประสิทธิภาพ เพิ่ ม ขึ้ น สอดคล้ อ งกั บ อุ ป สรรคทางด้ า น กฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ และอุปสรรค ในขนส่งสินค้ากระจายไปยังกลุ่มลูกค้าในแถบ อาเซี ย นที่ มี พื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร์ ติ ด กั บ ประเทศไทย
78 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เมือ่ สภาวการณ์เป็นเช่นนี้ จะเห็นได้วา่ ผลกระทบวงกว้าง ทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจแล้ว ยังส่งผลต่อคุณภาพชีวติ ในการท�างาน (Quality of Work-life) ของพนักงานในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะ สายงานด้านโลจิสติกส์ตงั้ แต่ระดับผูบ้ ริหาร จนถึงผูป้ ฏิบตั งิ าน ที่ประสบกับความเครียด การเร่งรีบ ฯลฯ จนขาดความมีสุข ภาวะและขาดการเอาใจใส่ด้านความเป็นอยู่ที่ดี รวมถึงก่อให้ เกิดปัญหาอุบัติเหตุตามมาอีกด้วย ดังนั้น เพื่อสร้างให้เกิด องค์กรแห่งความสุขในสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ให้องค์กรสามารถอยูร่ อด และเติบโตไปได้อย่างยัง่ ยืน องค์กรธุรกิจจึงมีความจ�าเป็นทีต่ อ้ งปรับตัว และพัฒนาองค์กร ให้สอดคล้องกับสภาวะดังกล่าว ด้วยจุดประกายทางความคิด ในเรือ่ ง Happy Workplace อันจะรักษาบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพ ให้ท�างานอยู่กับองค์กรในระยะยาว เพื่อสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันในอนาคต ส่วนลักษณะขององค์กร Happy Workplace ประกอบ ด้วยการเป็นองค์กรทีม่ กี ารจัดสภาพแวดล้อมระบบการท�างาน สวัสดิการ กิจกรรมภายในองค์กร การจัดอบรม อย่างสมดุล รวมถึงครอบครัวของพนักงาน เป็นองค์กรทีม่ กี ารจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาพนักงานด้านต่างๆ ทั้งสุขภาพกายและจิต เปิด โอกาสให้พนักงานแสดงความสามารถและรับฟังความคิดเห็น เต็มที่ พนักงานทุกคนมีความสุขในการท�างานทุกๆ ด้าน โดย องค์กรเอือ้ อ�านวยความจ�าเป็นพืน้ ฐานอย่างพอเพียง ทุกคนใน องค์กรเป็นเพือ่ นทีด่ ตี อ่ กันให้ความร่วมมือและมีความสามัคคี เป็นกันเอง พึง่ พาอาศัยและมีกจิ กรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ท� า งานด้ ว ยกั น อย่ า งเต็ ม ที่ มี ใ จรั ก องค์ ก รและรั ก งานที่ ท� า รวมทั้งผู้บริหารมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชา โดยใช้หลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ส�าหรับการสร้างความสุข 8 ประการ (Happy 8) ประกอบด้วย ดังนี้ 1. Happy Body (สุขภาพดี) การให้ความส�าคัญกับเรื่อง
สุขภาพของพนักงานให้มคี วามแข็งแรง ทัง้ ร่างกาย และจิตใจ โดยจัดกิจกรรมที่สนับสนุนเรื่องสุขภาพร่างกาย เช่น ห้อง Fitness Center จัดให้มกี ารแข่งขันกีฬาประจ�าปีหรือกีฬาพืน้ บ้าน โดยให้พนักงานและครอบครัวมีส่วนร่วมในการแข่งขัน จัดให้มกี ารฉีดวัคซีนป้องกันโรค และจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพ พนักงานประจ�าปี เป็นต้น 2. Happy Heart (น�า้ ใจงาม) มีนา�้ ใจเอือ้ อาทรซึง่ กันและ กัน รวมทั้งรู้จักแบ่งปันกัน เช่น การเยี่ยมพนักงานที่เจ็บป่วย การมอบของขวัญวันเกิด เป็นต้น 3. Happy Relax (ผ่อนคลาย) เพื่อเป็นการผ่อนคลาย ความเครียดจากการท�างาน รวมทั้งให้รู้จักผ่อนคลายต่อสิ่ง ต่างๆ ในการด�าเนินชีวิต สร้างบรรยากาศที่ดีในการท�างาน และกระชับความสัมพันธ์ภายในองค์กร เช่น จัดมุมกาแฟให้ พนักงานได้พกั ผ่อนจากการท�างาน จัดให้มกี จิ กรรมท่องเทีย่ ว ประจ�าปี จัดกิจกรรมสังสรรค์ประจ�าปี หรือพนักงานที่มีวัน เกิดในเดือนนั้น สามารถหยุดได้ 1 วัน เป็นต้น 4. Happy Brain (หาความรู)้ เป็นการศึกษาหาความรู้ พัฒนาตนเองตลอดเวลาจากแหล่งต่างๆ น�าไปสู่การเป็นมือ อาชีพ และความมัน่ คงก้าวหน้าในการท�างาน เช่น Knowledge Sharing หรือ Knowledge Management ผ่านใน Intranet โครงการมุมหนังสือ มีการคัดสรรหนังสือที่ดีให้กับพนักงาน สามารถเลือกอ่านได้ โครงการพีส่ อนน้อง เพือ่ ให้มกี ารแบ่งปัน ความรูร้ ะหว่างเพือ่ นพนักงาน อบรมการสนทนาภาษาอังกฤษ ประจ�าวัน (Daily Conversational English Class) เป็นต้น 5. Happy Soul (คุณธรรม) มีความศรัทธาในศาสนาและ มีศีลธรรมในการด�าเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อ การกระท�าของตน เช่น กิจกรรมการท�าบุญตักบาตรไหว้พระ ตามวัดต่างๆ การนั่งสมาธิ การจัดงานสงกรานต์ รดน�้าด�าหัว ผู้ใหญ่ รวมไปถึงการจัดกิจกรรมตามเทศกาลต่างๆ ในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทย
6. Happy Money (ใช้เงินเป็น) เป็นการสร้างวินยั ให้กบั พนักงานในการรูจ้ กั เก็บ รูจ้ กั ใช้ และการใช้ชวี ติ ทีเ่ หมาะสมตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยอบรมการบริหารเงินทัง้ ใน ส่วนการออม และลงทุนเพือ่ สร้างรายได้ รวมทัง้ การช่วยเหลือ ในด้านต่างๆ เช่น เงินกู้ฉุกเฉิน เงินช่วยเหลือกรณีเสียชีวิต บิดา–มารดาของพนักงาน เงินค่ารักษาพยาบาล งานแต่งงาน การมอบทุนการศึกษาให้กบั บุตรของพนักงานทีม่ ผี ลการเรียนดี หรือโครงการวันหยุดเสาร์เว้นเสาร์เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในการเดิน ทางของพนักงาน โครงการคืนวันหยุดและวันลาทีพ่ นักงานไม่ ได้ใช้ตามสิทธิ์ (ลากิจและลาพักร้อน) โดยบริษทั จะจ่ายคืนใน อัตรา 1.5 เท่า เบีย้ ขยันกับพนักงานทีไ่ ม่ขาด ลา มาสาย เป็นต้น 7. Happy Family (ครอบครัวดี) มีครอบครัวที่อบอุ่น และมั่นคง ซึ่งค�าว่า “ครอบครัว” หมายถึง ครอบครัวของ พนักงานและครอบครัวของบริษัท ดังนั้น บริษัทจึงควรจัด กิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ของครอบครัว เช่น กิจกรรม ในวันพ่อและวันแม่ การมอบทองค�าส�าหรับพนักงานทีท่ า� งาน กับองค์กรมาเป็นระยะเวลานาน เป็นต้น 8. Happy Society (สังคมดี) โดยเป็นการแบ่งปันความ สุขความรักสามัคคีเอื้อเฟื้อต่อชุมชนที่ตนท� างานและที่พัก อาศัยให้เกิดมีสังคมและสภาพแวดล้อมที่ดี เช่น จัดกิจกรรม บริจาคของให้แก่เด็กก�าพร้าโดยอนุญาติให้พาครอบครัวหรือ เพื่อนไปได้ด้วย ปรับปรุงสถานที่ท�างานตามกิจกรรม 5 ส กิจกรรม Big Cleaning Day เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในยุคหน้า ทรัพยากรมนุษย์จะมีความส�าคัญ ต่อองค์การเป็นอย่างมากในด้านการสร้างความสามารถ ทางการแข่งขัน ดังนัน้ หากองค์การสามารถท�าให้ทที่ า� งานเกิด ความสุขในขณะปฏิบตั งิ านได้อย่างเป็นรูปธรรมแล้วล่ะก็จะช่วย ท�าให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการท�างานดีขนึ้ แล้ว ยัง เป็นส่วนหนึง่ ในการเพิม่ ขวัญและก�าลังใจในการท�างานอีกด้วย
Thai economic conTThaioday, dition is more fragile since economic sector has to
widely confront with problems, for example, acute international trade competition, soared cost of raw materials, labor and energy and is facing with new challenge to be taken place from the uniting to be ASEAN Economic Community or AEC in the end of 2015. Entrepreneurs have to prepare on potential development and increase work skill of personnel for more efficiency in line with legal obstacle, regulations and hindrance on shipment and goods distribution to the customer in ASEAN region with geographical area close to Thailand.
By this situation, we can see that wide impact has already taken place to business and also bring about to quality of work-life of personnel in business sector, especially in logistics field from executives to operators who are facing with tension, rush, etc. until lacking happiness and inadvertence on good living including causing accident. Thus, to create an organization of happiness amid the world situation that rapidly changes in order that an organization can survive and sustainably grow. A business organization then needs to adjust and develop itself in line with such condition by igniting an idea on Happy Workplace to maintain potential personnel to work with an organization in the long run to create competitive advantage in the future. For the manner of a Happy Workplace organization, it consists of an organization with the balanced management of working system, welfares, internal activities, training as well as the staff’s family. It is an organization that holds activities to develop personnel in various aspects in both phy sical and mental and gives its staff a chance to show their capability including listening to the opinions. Personnel then are happy in work with adequate basic needs providing by an organization. Everyone in an organization are good colleagues with cooperation and harmony, mutual help and relationship strengthening activities. They fully work together with the love to their job and organization including the executives with positive attitude to their inferiors by applying good governance to the administration. For building of Happy 8, it comprises as follows: 1. Happy Body: Paying attention to the health of personnel to be physically and mentally strong by organizing the activities that support health such as Fitness Center, annual sport event or local games and let personnel and their family take part in the contest, vaccination, annual health checkup, and so on. 2. Happy Heart: Promoting mutual generosity including sharing, for example, visiting ill personnel, presenting a birthday gift, and so on. 3. Happy Relax: This is to loosen up tension from work including an awareness to alleviate stresses in living, create good work atmosphere and tighten relationship in an organization, for instance, arranging a coffee corner for personnel to relax from work, organizing an annual travel, holding an annual party or the personnel who have a birthday in that month can stop working for 1 day, and so on. 4. Happy Brain: It is a continual self study to develop oneself at all time from sources. This brings to professionalism and progress and stability in work, for instance, Knowledge Sharing or Knowledge Management through intranet, a book corner scheme by selecting good books for personnel to
pick out for reading, seniors teach juniors scheme for knowledge sharing among colleagues, daily conversational English class, and so forth. 5. Happy Soul: It aims at having faith on religion and moral living, having shame and fear to one’s sinful act, for instance, making merit, giving food to Buddhist monks, paying respect to Buddha images at temples, meditation, organizing Songkran Festival to pour water on the hands of revered elders and ask for blessing including organizing activities according to festivals to conserve Thai traditions and culture. 6. Happy Money: This is to put up discipline to personnel on saving and the proper living according to the philosophy of sufficiency economy by holding a training course on money management in both saving and investment to make income as well as supports, for example, emergency loan, funeral grant for personnel’s parents, grant for medical treatment fee, wedding grant, scholarship for personnel’s children with a good study result or every other Saturday holiday scheme to lessen travel expense of personnel, giving back of holidays and leave days disclaimed by personnel (personal leave and vacation leave) scheme by a company will pay attendance bonus at the rate of 1.5 times to the personnel who are not absent, do not take leave or arrive late, and so on. 7. Happy Family: Personnel have a warm hearted and stable family. The term “family” means the family of personnel and the company. A company, therefore, should organize the activity that strengthen the relationship of family, for instance, an activity on father’s and mother’s day, bestowing gold to the personnel who have worked with the organization for a long time, and so on. 8. Happy Society: It is the sharing of happiness and harmony to the community in which personnel work and reside in order to make it have a good circumstance and society, for example, organizing a donation activity to orphans by allowing personnel to bring their family or friends with them, improving a workplace according to a 5S activity and Big Cleaning Day, and so on. However, in next era human resource will be very significant to an organization on making competitive capability. If an organization, thus, can make concrete happiness while working it is not only boost efficiency and effectiveness at work but it is also part of morale and will power enlargement.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 79
ALTERNATIVE ENERGY | พิชัย ถิ่นสันติสุข
รอบรู้พลังงานไทย
ใน 10 นาที
Thailand Energy in 10 Minutes ภารกิจ คสช. ในการคืนความสุขให้คนไทยทั้งประเทศ ซึ่งขอเวลาอีกไม่นาน... ท�าท่าจะต้องใช้เวลาเพิ่มขึ้นกว่าที่ประเมินเอาไว้ เมื่อปัญหาของ พลังงานกลายเป็นประเด็นใหญ่ระดับประเทศ และหากปล่อยไว้อาจจะบานปลายกลายเป็นประเด็นทางการเมือง ซึ่งการแก้ไขปัญหาด้านความขัด แย้งอย่างเดียวก็หนักหนาสาหัสอยู่แล้ว จะขอยกค�าพังเพยโบราณมาเปรียบเปรยสถานการณ์ คสช. ว่า ‘ความวัวไมทันหาย ความควาย เขามาแทรก’ คงจะไม่ผิด... ส�าหรับท่านที่ใส่ใจพลังงานโดยรวม แต่ไม่สะดวกในการค้นหาจากเว็บไซต์หรือหาอ่านจากหนังสือ หลายๆ เล่ม Modern Manufacturing คอลัมน์นี้จะช่วยท่านให้สามารถเข้าถึงพลังงานและพลังงานทดแทนทันเพื่อนๆ ได้ระดับหนึ่ง 1. สัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21 เรามั่นใจว่าถ้าท่าน อ่านถึงบรรทัดนีแ้ ล้วต้องมีความเข้าใจเรือ่ งสัมปทานปิโตรเลียม รอบที่ 21 ไม่มากก็น้อย และนี่คือ “เผือกร้อน” ของ คสช. แนวคิดแตกออกเป็นสองขั้วอย่างชัดเจน นั่นคือ ภาครัฐคิด ว่าการสัมปทานน่าจะดีกว่า แต่กลุ่มที่เห็นต่างซึ่งมีตั้งแต่คน เดินดิน นักวิชาการ และนักเคลื่อนไหว ต่างก็คิดว่าการแบ่ง ปันผลประโยชน์น่าจะดีกว่า ศึกครั้งนี้เกมหนักตกไปที่กลุ่มผู้ เป็นกลางที่พยายามจะรักษาภาพลักษณ์ต่างแทงกั๊กกันหมด สื่อมวลชนจึงงงๆ กันไปทั้งประเทศหาข่าวท�าไม่ได้จนบัดนี้ การผลักดันจากภาครัฐให้ใช้วิธีการสัมปทานตั้งเค้ามานาน แล้ว จะเป็นด้วยนโยบายจากผู้มีอา� นาจหรือด้วยเหตุผลและ ประสบการณ์อนั ยาวนานก็ยากจะหยัง่ ถึง ส�าหรับผูเ้ ขียนแล้ว 80 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ขอยืมค�าพูดท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานที่เคยให้ สัมภาษณ์วา่ “จะแบบไหนก็ตาม คนไทยควรมีปโิ ตรเลียมใช้ ในราคาทีต่ า่� กว่าตลาดโลก เนือ่ งจากปิโตรเลียมของบ้าน เราเอง” จะเหมาว่าแทงกั๊กด้วยก็ไม่ว่ากัน... ก็เนื่องจากไม่มี ใครรู้ว่าระบบไหนเหมาะกับสภาพปิโตรเลียมเมืองไทยจริงๆ เป็นการประเมินจากข้อมูลเดิมและความรู้สึก 2. ไฟฟ้า มีหลายเรื่องชวนให้มีการเคลื่อนไหวเพื่อให้มี การรวม 3 การไฟฟ้าให้อยู่ในกระทรวงเดียวกันจะได้ไม่ขัด แย้งกันเอง ตั้งแต่การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน เริ่ม จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาครับซื้อ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตปฏิเสธ โดยให้เหตุผลว่า “ไฟฟ้าไหลย้อนกลับ” ธุรกิจใครต่อใครได้ ผลกระทบกันทัว่ หน้าก็ไม่ใส่ใจ ดังนัน้ ในร่างพระราชบัญญัติ
พลังงานทดแทนที่จะเข้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ใน เร็ววันนีจ้ งึ ได้กา� หนดไว้อย่างชัดเจนว่า 3 การไฟฟ้าต้องรับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเป็นอันดับแรก ซึง่ ก็ไม่รวู้ า่ จะแก้ไข ปัญหาได้หรือไม่? นอกจากนี้ คณะกรรมการก�ากับกิจการ พลังงาน (กกพ.) ยังออกมาเบรกการสร้างโรงไฟฟ้าให้ชะลอ ไปก่อน เนือ่ งจากการส�ารองไฟฟ้าตามมาตรฐาน 15% ได้เกิน เลยไปถึง 40% จึงส่งผลให้คา่ FT สูงจนผูใ้ ช้ไฟฟ้าต้องเดือด ร้อน ส�าหรับภาคใต้เป็นกรณีพิเศษจ�าเป็นต้องสร้างโรงไฟฟ้า ถ่านหินถึง 2 โรง และจ�าเป็นต้องเดินหน้าต่อไป เนือ่ งจากภาค ใต้มปี ริมาณไฟฟ้าส�ารองน้อยกว่าภาคอืน่ ๆ และอีกเรือ่ งหนึง่ ก็ไม่ทราบว่าเป็นข่าวดีหรือข่าวร้าย ทีร่ ฐั บาลทุม่ งบประมาณ จากภาษีของพวกเราอย่างมหาศาลในการเพิ่มโครงข่ายเพื่อ
ให้มีสายส่งเพียงพอกับการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ส่วนเรื่องของ Smart Grid รู้สึกเงียบกันไป ยังไม่มีใคร ออกมาสร้างข่าวเพื่อของบประมาณแผ่นดิน 3. น้า� มันเชือ้ เพลิง กูรทู งั้ หลายคาดการณ์วา่ ในครึง่ ปีแรก ของปีพ.ศ. 2558 น่าจะยังคงต่า� อยู่ ราคาน้า� มันทัว่ โลกไม่แตก ต่างกันมากนัก อยู่ที่อัตราบวกเพิ่มเพื่อน�าส่วนเกินไปบริหาร จัดการเองในแต่ละประเทศ ถ้าคิดแบบอยูก่ บั อนาคตก็ไม่ควร ลดราคาน้�ามัน แม้ว่าราคาตลาดโลกจะลดลง เช่น ในยุโรป ส่วนใหญ่ราคาน้�ามันแพงตลอดปี เพื่อให้มีการประหยัดและ คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ แต่ถ้าจะคิดแบบอยู่เพื่อปัจจุบันอย่าง ไทยๆ ก็จะลดราคาน้า� มันลงแบบสุดๆ (ไทยยังไม่สดุ ) ปริมาณ การใช้นา้� มันก็จะเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วเหมือนอย่างในปัจจุบนั นี้ ใครถูกใครผิดนั้นคงไม่มีค�าตอบ แต่รถยนต์ขายดีแน่นอน ส่วนพลังงานจากเทคโนโลยีใหม่ๆ (New Energy) ที่จะ น�ามาใช้ในรถยนต์แทนน้า� มันนัน้ จากวันนีไ้ ปอีก 10 ปีขา้ งหน้า ยังน่าจะเป็นรถยนต์ Hybrid ระหว่างน้�ามันกับแบตเตอร์รี่ ไฟฟ้าคงจะยังไปไม่ถึง ไฮโดรเจนอย่างที่เป็นข่าวครึกโครม ซึ่งท�าเอาคนไทยฝันไปไกลสุดขอบฟ้า บางท่านถึงกับจะตั้ง โรงงานไฮโดรเจนในบ้านกันเลยทีเดียว 4. ก๊าซ คนไทยคุ้นชินกับการใช้ก๊าซทั้ง LPG และก๊าซ ธรรมชาติอย่างเช่น LNG และ NGV แต่มักไม่ค่อยใส่ใจ หาความรู้จากก๊าซมากนัก จ�าง่าย ๆ ก็คือ LPG ที่เรามาใช้ ในครัวทีบ่ า้ น หรือ บางท่านก็นา� มาดัดแปลงใส่ในรถยนต์ เป็น ก๊าซทีอ่ ยูใ่ นสถานะของเหลวแบบอัดในถังความดันไม่สงู หาก รัว่ ไหลออกสูภ่ ายนอกมีอนั ตรายสูง เนือ่ งจากมีนา้� หนักมากกว่า อากาศไม่สามารถลอยขึน้ สูงในทันที นอกจากนี้ LPG ยังเป็น วัตถุดบิ ของปิโตรเคมีสา� หรับผลิตเครือ่ งใช้แทบทุกชนิดในชีวติ ประจ�าวันของเรา รัฐบาลจึงได้ส่งเสริมให้ใช้เป็นเชื้อเพลิงซึ่ง แตกต่างกับก๊าซธรรมชาติอย่าง NGV ทีอ่ ยูใ่ นสภาพก๊าซมีแรง อัดในถังค่อนข้างสูง แต่เวลารัว่ ไหลจะลอยสูบ่ รรยากาศทันที มีอนั ตรายน้อยกว่า และเพือ่ ให้ลดค่าใช้จา่ ยด้านการขนส่งจึง มีการแปลงสถานะก๊าซธรรมชาติภายใต้อณ ุ หภูมติ ดิ ลบ160 C� ให้เป็นของเหลว ซึ่งเรียกว่า LNG เรื่องราวของก๊าซยังคงไม่ จบลงง่ายๆ ท่านที่สนใจลองติดตามดูก็แล้วกัน
5. พลังงานทดแทน ถ้าจะสรุปสถานการณ์โดยรวมก็ตอ้ ง จัดว่าอยูใ่ นระดับดีพอสมควร ถึงแม้วา่ ภาครัฐเองจะมีการออก มาตรการมาท�าให้นักลงทุนขาดความมั่นใจก็ตาม อาทิ ตาม ประกาศของ FiT Premium ต้องมีการประมูลเหมือนโรงไฟฟ้า ขนาดใหญ่ซงึ่ คาดว่าวิธกี ารนีอ้ าจท�าให้ผปู้ ระกอบการรายเล็กๆ ลดจ�านวนลง และทีแ่ ย่ไปกว่านัน้ ธุรกิจพลังงานทดแทนถูกน�า ไปใช้เป็นเครือ่ งมือในการปัน่ หุน้ โดยไม่มกี ารลงทุนจริง รวมทัง้ การหลอกขายหุน้ ไร้มลู ค่านอกตลาดก็ยงั มีให้เห็นอยู่ กระทรวง พลังงานเองก็ทราบดีจงึ มีภาพสไลด์ทที่ า่ นเห็นอยูน่ อี้ อกมาเผยแพร่
เรามาดูสถานการณ์จริงที่ไม่ถูกยกเมฆปั่นหุ้นดีกว่าโดย พิจารณาจากประเภทเชื้อเพลิง ดังนี้ 1.พลังงานธรรมชาติ ได้แก่ พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ และพลังงานลม พอสรุปได้ว่า พลังงานลมอยู่ในช่วงขาลง เนื่องจากมีผู้เสนอขายไฟฟ้าเกินกว่าปริมาณเป้าหมายการ รับซื้อ นอกจากนี้ ภาครัฐก็ยังลดอัตราการส่งเสริมลง ส่วน พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ หรือที่เราเรียกติดปากว่า Solar Cell ก็ยงั คงครองใจนักปัน่ หุน้ อยูด่ ี แม้วา่ อัตราส่งเสริมจะลง ต่�าลงเท่าใดก็ตาม แต่ควรจับตามอง Solar Rooftop ซึ่งอาจ จะมีการส่งเสริมจริงๆ จังๆ มากกว่านี้ในอนาคต
2. พลังงานชีวภาพ ได้แก่ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และ พลังงานขยะ ทั้งสามพลังงานยิ่งใหญ่นี้หากดูจากอัตรา FiT Premium น่าจะไปได้ดีกว่าเดิม แต่ถ้ามีการประมูลจะท�าให้ ได้รับความสนใจจากนักลงทุนลดลงอันเนื่องจากความยุ่ง ยากและอาจไม่เป็นธรรมอันเนื่องจากเชื้อเพลิง รวมทั้งการ วางแผนพัฒนาโครงการล่วงหน้าท�าได้ยาก แม้แต่พลังงาน จากขยะ ซึง่ ได้ทงั้ ไฟฟ้า ได้ทงั้ ลดของเสีย นักลงทุนก็มคี า� ถาม มากมายว่า จะประมูลอย่างไรในเมื่อต้องผ่านการประกวด ราคามาจากท้องถิ่น ผู้รับผิดชอบขยะแล้วรอบหนึ่ง 3. เชื้อเพลิงชีวภาพ ได้แก่ เอทานอล และ ไบโอดีเซล ซึ่ ง ดู จ ะมี อ นาคตแบบไม่ ห วื อ หวาไปเงี ย บๆ แต่ ก็ มี ก� า ไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วยให้ชาวไร่มีรายได้ดีไปด้วย... นี่แหละ สุดยอดของเกษตรพลังงาน
ยังมีเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจของพลังงานและพลังงานทดแทน ในบ้านเมืองเราอีกมาก และไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไปแล้ว ไม่ว่าท่านจะยากดีมีจนเพียงใด ต้องใส่ใจเรื่องของพลังงาน เริ่มต้นด้วยการประหยัดพลังงานก่อน... แล้วถามตัวเองว่า วันนี้คุณใช้พลังงานทดแทนแล้วหรือยัง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 81
T
he mission of NCPO to give happiness back to all Thai people seems to need longer time than expected. The issue of energy has become the national agenda. If the problem does not solve sooner, it would become the national issue. Besides, solving the political colour shirts game is hard. The proverb for the NCPO from my opinion is that “It never rains but it pours. ” For those energy fans who are not the website research geek, here are the brief to keep pace with the energy and renewable energy.
1. 21st Round of bidding for Concessions for Oil and Gas Exploration: I believe that if you may have few or quite understanding on this “hot potato” for the NCPO. Apparently, there are two different opinions, namely, the government views that concession is better while the opposite site (groups of scholars, activists and people perceive that the profit sharing seems to be better. The burden is then put down on the shoulders of the intermediary who do not want to take sides. The media over the country are stunned and cannot quest the information up until now. The concession approach has been pushed by the government for a long time by policy or influential people, we may not know. To me, I would like to borrow the speech of the Energy Minister who gave an interview stating that “By whatever means, Thai people should have lower world market petroleum price to use as it is our own resource.” This may be assumed that he also hedges his bets since no one knows which one is really proper to Thailand petroleum. Everyone use statistics and gut feeling. 2. Electricity: There are several points to merge 3 electricity authorities (EGAT, PEA and MEA) under the same ministry in order to reduce the conflict such as The Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) rejects to buy the electricity derived from renewable energy from Provincial Electricity Authority (PEA) by giving the reason that “the current flows backward”. Therefore, in the draft of Renewable Energy Act which is proposing to the National Legislative Assembly of Thailand (NLA) has apparently indicated that the 3 electricity authorities have to purchase electricity derived from renewable energy as the priority. Let’s hope that it can solve the problem. Besides, Energy Regulatory Commission (ERC) has manifested to postpone the establishment of power plants since the reserved electricity is surplus to 40% from 15% requirement. As the surplus result, it drives the FT value higher which cause the power users pay too much. Unlike the southern region, the 2 coal-fired power plants needs to be carried on since there is
82 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
the short reserved. Good or bad news is that, the government devotes the huge amount of our tax to extend the national power grid network to be able to purchase electricity from renewable energy and the Smart Grid topic has not been mentioned in the government budget plan. 3. Fuel: Guru anticipate that in the first half of 2015 oil price will remain low. The oil price over the world is not quite different, relying upon the addend to be managed by each country. If we think for the future, the price should not be lessened according to the market price. For example, most of oil price in Europe is expensive for the whole year to encourage saving and invention of new technologies. For Thai Style, we would float the oil price according to the market which boosts up the consumption. There is no right or wrong but the automobile sales volume is certainly increased for sure. For the new technologies for energy to substitute the fossil fuel from now on to the next 10 years will likely to be a hybrid car with the hybrid use between oil and electric motor. The use of hydrogen as being sensationally publicized and makes someone dream about establishing a hydrogen station in Thailand without realizes that it still in the lab scale. 4. Gas: Thai people are familiar with the use of LPG and natural gas like LNG and NGV but they do not pay attention in the detail of gas. To make the long story short, the LPG (Liquefied Petroleum Gas) uses in the kitchen and some automobile in a non-high pressured tank. If the gas leaks, it is very dangerous as it is heavier than the air. Furthermore, the LPG is the based material for all kinds of appliances in our daily lives and the government promotes to use. Unlike the natural gas (CNG: Compressed Natural Gas a.k.a. NGV in Thailand), it compresses the gas in a high-pressure tank. If the gas leaks, it will float in the air which is less dangerous. In the transportation industry use LNG: liquefied natural gas as it is dissolved to the liquid under the -160 �C temperature. There are much more to learn if you browse in the website. 5. Renewable energy: The overall picture is pretty good although the government has issued some measures that cause investors to falter. For instance, the FiT Premium stating to have competitive bidding like the big power plants. It is anticipated that such approach may discourage and drop the small entrepreneurs. The worse thing is that the renewable energy business is manipulated to be a tool for stock speculation without a real investment including a fraudulent sale of worthless stock outside the stock market has still existed. Ministry of Energy itself is aware of it well, therefore, they come up with the slide as shown below for public presentation.
Let’s consider the actual situation that is not lied to speculate the stock by considering from the following kinds of fuel: 1. Natural energy, such as solar cell and wind power. It may be summarized that wind power is in the downturn as the number of vendor exceeds the purchasing target. Besides, the government also lessens the incentive program. Solar cell, meanwhile, still attracted stock speculators even though the incentive program is lessened. Let’s keep an eye on Solar Rooftop which may be extremely promoted in the future. 2. Bio energy, for instance, biomass, biogas and waste to energy. These three great energies are likely to be better from the FiT Premium. However, the competitive bidding process would make them less attractive to investors. It also harder as they are different feedstock and difficult to project planning. Even Waste to Energy which benefits both electricity generating and waste reduction, investors ask a lot of questions whether the competitive bidding for FiT Premium is necessary as they has already passed the bidding from local municipalities. 3. Biofuel, for example, ethanol and bio diesel seem to moderately have the future with profit, especially it can help the agriculturalist to have a good income as well. This is the best of energy agriculture.
There still are many topics on energy and renewable energy in our country. No matter who you are, rich or poor, you have to pay attention. Starting from energy saving first...then ask yourself that have you consume any renewable energy today?
พิชญ์ รอดภัย
| BOTTOM LINE
สถานการณ์ในปัจจุบันและโอกาสทางธุรกิจของเมียนม่าร์ Prevailing Situation and Business Opportunity of Myanmar
ตอนที ่ 1: สถานการณ์ ใ นปั จ จุ บ ั น Part 1: Prevailing Situation ด้วยผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปยังประเทศพม่าเพื่อติดต่อและเจรจาทางธุรกิจเป็นเวลากว่า 4 วัน จึงขอถือโอกาสนี้บอกเล่าถึงสถานการณ์ใน ปัจจุบันของประเทศพม่าเพื่อให้ท่านผู้อ่านที่สนใจได้รับรู้ถึงความเป็นไปในปัจจุบันของประเทศนี้ว่า การที่ประเทศพม่าได้กลับมาเปิดประเทศอีกครั้ง หลังจากที่ได้ปิดประเทศไปเป็นเวลานานนั้น ประเทศพม่ามีลักษณะอย่างไร คนพม่าใช้ชีวิตกันแบบไหน เศรษฐกิจของพวกเขาตามหลังประเทศอื่นๆ มากน้อยเพียงใด และท�าไมประเทศพม่าถึงก�าลังได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างชาติมากที่สุดประเทศหนึ่งของโลก แต่แม้ผู้เขียนจะพยายาม รวบรวมเรื่องราวมาบอกเล่ามากเพียงใดก็คงไม่อาจบอกรายละเอียดปลีกย่อยได้หมด ดังนั้น ถ้ามีโอกาสผู้อ่านควรเดินทางไปเยือนประเทศพม่า สักครั้ง ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าความรู้สึกและมุมมองที่มีต่อประเทศพม่าในสายตาของเราทุกคนจะต้องเปลี่ยนไปอย่างแน่นอน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 83
ส�าคัญคือไม่มีไฟถนนข้างทางอีกด้วย วิธีการที่ชาวพม่าใช้กัน ในเวลาที่รถวิ่งในทางแบบนี้ตอนกลางคืนก็คือการเปิดไฟสูง ตลอดเวลา ใช้การบีบแตรเตือน และเบี่ยงหลบเข้าข้างทาง เพื่อให้รถสวนกันได้ ซึ่งต้องยอมรับเลยว่าการเดินทางออก นอกเมืองใหญ่ของประเทศพม่าในตอนกลางคืนนั้นอันตราย ไม่ใช่นอ้ ย ทีส่ า� คัญการเดินทางไปยังต่างเมืองของชาวพม่านัน้ คนส่วนใหญ่จะเดินทางด้วยรถยนต์เป็นหลัก ต่างจากนักท่อง เทีย่ วหรือชาวต่างชาติทมี่ กั จะใช้เครือ่ งบินในการเดินทางภายใน ประเทศ เพราะถึงแม้วา่ จะมีราคาทีส่ งู กว่า แต่การเดินทางโดย เครือ่ งบินจะประหยัดเวลาและสะดวกสบายกว่าเป็นอย่างมาก เรือ่ งราวของประเทศพม่าในส่วนของสถานการณ์ในปัจจุบนั นัน้ ยังไม่จบ แต่ในส่วนทีเ่ หลือขอน�าไปเล่าต่อในบทความตอน ต่อไป ซึง่ เนือ้ หาส่วนใหญ่จะเป็นเรือ่ งเกีย่ วกับโอกาสในการท�า ธุรกิจในประเทศพม่าว่าท�าไมประเทศทีเ่ พิง่ กลับมาเปิดประเทศ อีกครั้งจึงก�าลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และท�าไมการ เปิดประเทศพม่าในครั้งนี้จึงเป็นโอกาสอันดีส�าหรับนักลงทุน ชาวไทยเรานั่นเอง
A ก่อนจะไปที่สถานการณ์ปัจจุบันจาการที่ได้ไปสัมผัสมา โดยตรงนั้น ผู้เขียนขอพูดถึงข้อมูลที่ส�าคัญและน่าสนใจที่ World Bank ได้จัดท�าเอาไว้เกี่ยวกับประเทศพม่าเพื่อให้เห็น ภาพรวมของประเทศเพือ่ นบ้านของเราประเทศนีก้ นั ก่อน ดังนี้ • ประเทศพม่าก�าลังอยู่ในช่วงของการเปลี่ยนแปลงที่ ส�าคัญนั่นก็คือ การเปลี่ยนแปลงจากการปกครองโดยคณะ ทหารมาเป็นการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย จากการ เปลีย่ นแปลงระบบเศรษฐกิจทีม่ กี ารก�าหนดโดยภาครัฐมาเป็น ระบบเศรษฐกิจที่ถูกก�าหนดโดยตลาดที่แท้จริง และการยุติ ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชนเผ่าต่างๆ ภายในและความ ขัดแย้งกับประเทศเพื่อนบ้าน • ประเทศพม่ายังมีประชากรหนาแน่นน้อยทีส่ ดุ ใน ASEAN • เศรษฐกิจของประเทศพม่าถูกคาดการณ์ว่าจะเติบโต เกือบ 10% ต่อปีนับตั้งแต่ปี 2014 • GDP per Capita ของประเทศพม่ายังคงอยู่ในระดับ ที่ต่�ามาก • ประมาณ 70% ของประชากรยังไม่มีไฟฟ้าใช้ • ประชากรวัยเด็กยังขาดการศึกษาและสารอาหารที่ จ�าเป็นต่อร่างกาย ตัง้ แต่กา้ วแรกทีก่ า้ วลงจากเครือ่ งบินสูส่ นามบินนานาชาติ ย่างกุ้งนั้น ความรู้สึกที่มีต่อประเทศพม่าจากภาพที่ได้เห็นอยู่ เบือ้ งหน้านัน้ ช่างแตกต่างจากประเทศพม่าในจินตนาการมาก เหลือเกิน เพราะสนามบินย่างกุง้ มีรปู แบบทีท่ นั สมัยประกอบกับ มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีกว่าที่คิดไว้ แต่อย่างไรก็ตาม สนามบินทีใ่ ช้สา� หรับการเดินทางด้วยเครือ่ งบินภายในประเทศ พม่ายังคงมีมาตรฐานต่า� โดยลักษณะสนามบินนัน้ ใกล้เคียงกับ สถานีขนส่งหรือสถานีรถไฟขนาดใหญ่ในประเทศไทยเท่านั้น ด้านการให้บริการของคนพม่านัน้ ต้องยอมรับเลยว่าดีและ อาจดีกว่าหลายๆ แห่งในบ้านเราเสียด้วยซ้�า โดยผู้ให้บริการ ในพม่านั้นยิ้มแย้ม ใจเย็น ขยันขันแข็ง และมี Service Mind ที่สูงมาก และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือหรือให้ค�าปรึกษา
84 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นที่ร้านอาหาร โรงแรม หรือแม้แต่ คนขายของข้างทาง แต่ตอ้ งยอมรับว่าด้วยความไม่คนุ้ เคยกับ ภาษา การแต่งกาย และลักษณะท่าทางของชาวพม่า การพบ เจอชาวพม่าในบางพื้นที่ยังคงท�าให้เกิดความรู้สึกกังวลใจอยู่ บ้างในช่วงแรก ทั้งนี้แม้ว่าการให้บริการของชาวพม่าจะอยู่ ในเกณฑ์ที่ดีก็ตาม แต่สิ่งที่แรงงานและพนักงานชาวพม่ายัง ต้องการก็คือทักษะในระดับที่สูงขึ้น กล่าวคือ แม้ว่าพนักงาน ชาวพม่าจะพร้อมให้บริการมากเพียงใดก็ตาม แต่ถา้ พนักงาน เหล่านัน้ ขาดทักษะในการให้บริการแล้วละก็ การให้บริการนัน้ ก็จะไม่ท�าให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจอยู่ดี พูดถึงพนักงานและแรงงานชาวพม่าทีย่ งั ขาดทักษะในการ ให้บริการแล้ว ก็ท�าให้นึกขึ้นได้ว่าอาจเป็นเพราะเด็กชาวพม่า ส่วนใหญ่ยงั ขาดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โดยเด็กจ�านวนมากโดย เฉพาะที่อยู่ตามต่างจังหวัดของประเทศพม่าที่ต้องหยุดเรียน หนังสือตั้งแต่ชั้นประถมเพื่อมาช่วยครอบครัวท�างานหาราย ได้ จึงท�าให้แรงงานชาวพม่าส่วนใหญ่กลายเป็นแรงงานทีข่ าด ความรูแ้ ละทักษะก็เป็นไปได้ แต่เรือ่ งนีจ้ ะโทษครอบครัวของเด็ก เพียงด้านเดียวคงจะไม่ได้ ภาครัฐเองก็ต้องมีส่วนรับผิดชอบ ด้วยเช่นเดียวกัน เพราะระบบการศึกษาที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นั้นไม่ใกล้เคียงกับมาตรฐานสากลเลยแม้แต่น้อย ซึ่งระหว่าง ที่อยู่ที่ประเทศพม่านั้น ได้เห็นนักเรียนนักศึกษาจ�านวนมากที่ ก�าลังเดินทางไปประท้วงรัฐบาลในเรื่องของระบบการศึกษา พูดกันถึงเรือ่ งการเดินทาง การเดินทางของชาวพม่าส่วน ใหญ่ยงั ใช้มอเตอร์ไซค์ รถจักรยาน และรถยนต์เป็นพาหนะหลัก ซึง่ ในเมืองใหญ่อย่างเช่นย่างกุง้ นัน้ ในชัว่ โมงเร่งด่วนจะมีปญ ั หา เรื่องรถติดมากทีเดียว จากแต่เดิมเมื่อประมาณ 5 ปีที่แล้ว เมืองย่างกุง้ ไม่เคยประสบปัญหารถติดเลย ทัง้ นีส้ ว่ นหนึง่ อาจ เนือ่ งมาจากระบบขนส่งมวลชนทีย่ งั ไม่ได้รบั การพัฒนาให้ดเี ท่า ทีค่ วร นอกจากนีก้ ารเดินทางออกสูน่ อกเมืองนัน้ ถนนหนทาง ที่อยู่นอกเมืองยังคงเป็นถนนคอนกรีตแคบๆ ซึ่งในบางครั้งดู เหมือนเป็นถนนเลนเดียวที่มีรถวิ่งสวนทางกันด้วยซ้�า และที่
s the author has a chance to go to M yanmar for business contact and negotiation for 4 days, then taking this occasion to tell about the prevailing situation in Myanmar in order that those who are interested in can perceive how this country looks like nowadays when it returns to reopen the country after a long time of closing, how Myanmar people’s living looks like, how much Myanmar’s economy falls behind others and why Myanmar today is one of the countries in the world that gets the most attention from foreign investors. The author, however, cannot cover every detail of Myanmar, hence, the author recommends the reader to visit Myanmar for one time and your perspective on Myanmar will certainly change.
Before talking about the prevailing situation character of service persons in Myanmar is cheerful, as directly experienced, the author would like to calm and diligent with a very high service mind. talk about the crucial and interesting information They are always available to assist or give counsel on Myanmar prepared by World Bank first in order anywhere: restaurants, hotels or even sidewalk to project the overall image of this neighboring stalls. Nonetheless, we have to accept that because of unfamiliarity with language, dress and guise of country as follows: • Myanmar is now under the significant alteration Myanmar people, meeting with Myanmar people in period, i.e. the alteration from junta regime to be some areas still make us concerned at the beginning. democracy, from the economic system designated Although service providing of Myanmar people is by the government to be the one designated by good but Myanmar labor and personnel have still the real market and the end of the conflict among needed higher skill because although Myanmar contradictory tribes within the country and the personnel are available to provide service but if they lack of skill such service will never make conflict against its neighboring countries. • Myanmar is the country with the least popula- customer satisfied. Talking about Myanmar labor and personnel tion density in ASEAN. • The economy of Myanmar is anticipated to who still lack of service providing skill, the author realizes that because most of Myanmar children grow for almost 10% per year as from 2014. • GDP per Capita of Myanmar is still very low. still lack of fundamental education since many of • About 70% of population has not yet had them, particularly those living in the provincial area of Myanmar, have to stop their study at elementary electricity. • Population in childhood still lack of education level to help their family to earn a living. This may cause most of Myanmar labor to be lacking of and essential nutrients for body. The first step on Myanmar’s soil at Yangon knowledge and skill. The family of these children International Airport makes the author’s viewpoint cannot be solely blamed, the government has to to Myanmar entirely change as Yangon Airport looks be responsible as well since the current situation modern with better security system than the author system is not close to the international standard has thought. However, the standard of other airports at all. During staying in Myanmar, the author sees for inland flights is still low with the appearance many students are going to protest the government on the issue of education system. similar to a big bus or railway depot. Talking about travel, most of Myanmar people Regarding the service of Myanmar people, the author absolutely agrees that it is good and may still use motorcycles, bicycles and automobiles be better than many places in our country. The as a major vehicle. In a big city like Yangon, the
traffic is very congested in rush hours in spite of such problem did not exist 5 years ago. Part of the problem may come from a rather poor mass transit system. Besides, the roads outside Yangon are narrow concrete roads without street isle and the worse is that there is no street lamp. The ways Myanmar people do when driving on such road is to turn on high beam at all time, honk and stand aside on road shoulder. It is, of course, accepted that the journey out of a big city in Myanmar at night is quite hazardous. However, most of Myanmar people use automobile as a vehicle for their domestic travel which contrasts with foreigners who often travel by plane for their journey to other towns or cities in Myanmar even though the cost is more but it is time saving and much more convenient and comfortable. The story of Myanmar on its prevailing situation does not finish yet. The rest of it will be continued in the next part of this article and most of the content involves in the opportunity to do business in Myanmar and the reason why the country that is recently reopened becomes favorable very much, why it is a good chance for Thai investors to do business there.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 85
REAL TIME |
นเรศ เดชผล
เตรียมพร้อมรับมือกับ
Internet of Things Be Ready to Cope Internet of Things จากข้อมูลอัพเดตล่าสุดของ Internet Live Stats (http://www.internetlivestats.com/internet-users-by-country/) ได้รายงานสถิติจา� นวน ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยในปี 2014 ว่ามีทั้งสิ้นกว่า 19.38 ล้านคน โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน (2013) ถึง 1.43 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 29.76 ของประชากรทั้งประเทศ (65.12 ล้านคน) หากเทียบสถิติจา� นวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันก็จะพบว่าจ�านวน ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นต่อไปอีกเรื่อยๆ และในบางปีเราอาจได้เห็นจ�านวนผู้ใช้งานเติบโตแบบก้าวกระโดดอีกด้วย ไม่ เพี ย งเท่ า นั้ น ยั ง มี ข้ อ มู ล สถิ ติ ที่ ส นั บ สนุ น แนวโน้ ม ดังกล่าวจาก ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. (ETDA) ที่ได้ระบุไว้ใน เอกสารรายงานผลการส�ารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทยปี 2557 ถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเอาไว้อีกด้วยว่า คนไทยใช้เวลา อยู่กับอินเทอร์เน็ตมากขึ้น จากที่เคยใช้อินเทอร์เน็ตสัปดาห์ ละ 32.3 ชั่วโมงในปี 2556 มาเป็นสัปดาห์ละ 50.4 ชั่วโมง ในปี 2557 ซึ่งสูงขึ้นถึง 56% เลยทีเดียว สาเหตุส�าคัญก็ เนื่องมาจากการที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหันมาใช้อุปกรณ์สื่อสาร 86 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
พกพา อย่ า งเช่ น แท็ บ เล็ ต และโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ มากขึ้ น เพราะสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้จากทุกที่ทุกเวลานั่นเอง ต่ า งจากเมื่ อ ก่ อ นที่ ห ากจะเข้ า อิ น เทอร์ เน็ ต ก็ ต้ อ งใช้ ผ่ า น คอมพิวเตอร์พีซีที่ไม่ค่อยสะดวกเท่าใดนัก ซึ่งก็มีผู้ใช้งาน หลายคนที่พกพาอุปกรณ์ดังกล่าวมากกว่า 2 อุปกรณ์ขึ้นไป ที่น่าสนใจก็คือ ในปีนี้เราจะได้เห็นผู้ใช้มีอุปกรณ์ทางเลือกอื่น ส�าหรับเข้าถึงอินเทอร์เน็ตนอกเหนือแท็บเล็ตและโทรศัพท์ มือถือมากขึ้นกว่าเดิม ไม่ว่าเป็นอุปกรณ์อัจฉริยะต่างๆ ทั้ง นาฬิกา คาร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ แว่นตา ตู้เย็น สมาร์ตทีวี รถยนต์อัจฉริยะ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ฯลฯ
เห็นได้ชัดว่าอินเทอร์เน็ตก�าลังจะเข้ามามีบทบาทต่อชีวิต ประจ�าวันของเราอย่างแท้จริง และยิ่งเข้าใกล้การเป็นปัจจัย ส�าคัญในการด�ารงชีวิตมากขึ้นทุกที
Internet of Things (IoT) คืออะไร
คือ แนวคิดที่จะน�าอินเทอร์เน็ตมาช่วยในการจัดการงาน หรือกิจกรรมใดๆ ของมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการเพิ่มความสามารถให้กับอุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ใช้งานอยู่ในชีวิตประจ�าวัน ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในภาค ครัวเรือน ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจ ให้สามารถ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยที่มนุษย์ไม่ต้องเสียเวลาบริหาร จัดการมากนัก และยังสามารถส่งรายงานการท�างานผ่าน อินเทอร์เน็ตไปยังผู้รับผิดชอบได้โดยตรงอีกด้วย แน่นอน ว่าการที่อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จะจัดอยู่ใน Internet of Things ได้ นั้ น ย่ อ มต้ อ งมี ส ามารถในการเชื่ อ มต่ อ กั บ อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ ที่มีลักษณะเดียวกัน ซึ่ง ในการผลิตอุปกรณ์ก็จ�าเป็นที่จะต้องผ่านมาตรฐานกลางที่ น่าเชื่อถือด้วยเช่นเดียวกัน และที่ส�าคัญก็คือต้องมีความ แม่นย�าในการท�างานสูงและเป็นที่ยอมรับในระดับสากลอีก ด้วย ปัจจุบันมีตัวอย่างในการน�า Internet of Things มาใช้อยู่กันมาก เป็นต้นว่า ระบบบ้านอัจฉริยะ (Home Automation) ซึ่งเจ้าของบ้านสามารถควบคุมอุปกรณ์และ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ภายในบ้านผ่านอินเทอร์เน็ตได้ ไม่ว่า จะเป็น ตู้เย็นอัจฉริยะที่สามารถส่งข้อมูลให้กับเจ้าของบ้าน ได้หากของในตู้เย็นหมด การสั่งปิดเปิดไฟส่องสว่าง การ เพิ่ ม และลดความสว่ า งของไฟ การสั่ ง ปิ ด เปิ ด ประตู แ ละ หน้าต่าง การควบคุมปิดเปิดทีวีและเครื่องเสียง การสั่งการ และควบคุมเครื่องปรับอากาศ การดูภาพจากกล้องวงจรปิด ได้จากนอกบ้านผ่านอินเทอร์เน็ต การท�างานของอุปกรณ์ ตรวจจั บ ควั น ไฟให้ มี ก ารแจ้ ง เตื อ นไปยั ง เจ้ า ของบ้ า นผ่ า น อินเทอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์สัญญาณกันขโมยซึ่งจะมีการ แจ้งเตือนทุกครั้งที่มีผู้บุกรุก เป็นต้น ส�าหรับ Internet of Things ในแง่ของการน�ามาใช้ใน ภาคธุรกิจนั้นก็มีความจ�าเป็นไม่แพ้กัน ซึ่งนอกจากจะช่วยลด เวลาในการปฏิบัติงานของบุคคลากรแล้วยังช่วยลดปริมาณ การใช้ ท รั พ ยากรได้ เป็ น อย่ า งดี อี ก ด้ ว ย ยกตั ว อย่ า งเช่ น การน�าเครื่องถ่ายเอกสารอัจฉริยะมาใช้ในส�านักงาน ซึ่ง นอกจากจะสามารถสั่งพิมพ์ได้จากนอกส�านักงานแล้ว ก็ยัง สามารถที่จะส่งรายงานการใช้กระดาษให้กับผู้รับผิดชอบได้ อีกด้วย นอกจากนี้ ยังสามารถที่จะควบคุมการใช้ไฟฟ้า การ ปิดเปิดประตูเข้าออก รวมทั้ง ระบบรักษาความปลอดภัย ซึ่ง ก็จะมีลักษณะการท�างานเช่นเดียวกันกับระบบบ้านอัจฉริยะ ที่น่าสนใจก็คือ ในบางส�านักงานได้มีการน�าระบบ Internet of Things มาใช้ในการจัดการที่จอดรถ กล่าวคือ ระบบ เซ็นเซอร์จะท�าการรายงานสถานะปริมาณการใช้งานพื้นที่ จอดรถให้กับพนักงานหรือผู้ดูแลได้ทราบว่าเพียงพอที่รถจะ เข้าไปจอดหรือไม่ เป็นต้น ในภาคอุตสาหกรรมได้มีการน�าระบบ Internet of Things มาใช้กันบ้างแล้ว ดังจะเห็นได้จากการน�าระบบ Radio-frequency identification (RFID) มาใช้ในการ ตรวจสินค้าในสต๊อก โดย RFID จะเป็นแถบอิเล็กทรอนิกส์ ส�าหรับส่งข้อมูลผ่านสัญญาณวิทยุซึ่งเข้ามาทดแทนการใช้ งานระบบบาร์โค้ดแบบเดิม ซึ่ง RFID จะส่งข้อมูลรายงาน การตรวจนับผ่านระบบอินทราเน็ตหรืออินเทอร์เน็ตไปยัง ผู้ รั บ ผิ ด ชอบให้ รั บ ทราบ ในบางองค์ ก รที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบ Logistic ก็ยังสามารถที่จะน�าระบบอินเทอร์เน็ตมาช่วย ในการรายงานสถานะในการปฏิบัติงานของพนักงานและ สถานการณ์รับส่งสินค้าได้เป็นอย่างดีเช่นเดียวกัน แม้การเข้ามาของระบบ Internet of Things จะเป็น เรื่ อ งที่ ค่ อ นข้ า งยากที่ ห ลี ก เลี่ ย งในอนาคต แต่ ก ารจะรั บ เอาแนวคิดนี้เข้ามาใช้ในองค์กรนั้น เจ้าของกิจการจะต้อง พิจารณาตริตรองให้มาก หากตัดสินใจน�ามาใช้แล้วก็ต้อง ค่อยๆ ด�าเนินการไปอย่างระมัดระวัง ทั้งในเรื่องของของ ความปลอดภัยในการใช้งาน การป้องกันการละเมิดจากผู้ไม่ ประสงค์ดีที่อาจเจาะเข้ามาในระบบ รวมไปถึงความช�านาญ ในการใช้งานอุปกรณ์ของบุคคลากร สิ่งต่างๆ เหล่านี้จา� เป็น จะต้องมีการศึกษาหาข้อมูลใหม่ๆ อยู่เสมอ
A
ccording to the most updated information of Internet Live Stats (http://www. internetlivestats.com/internetusers-by-country/) which reports the figure of the number of internet users in Thailand in 2014 that there are over 19.38 million people in total, increasing from the previous year (2013) up to 1.43 million people, equivalent to 29.76 of the total population of the country (65.12 million people). If comparing the figure of internet users in Thailand from past to present we will see that the number of internet users tends to continually grow and in some years we may see the number of internet users grow by leaps and bounds.
Not only that there also is the figure that support such tendency from Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) or ETDA which indicates on the Report Paper of Survey Result on Internet Users in Thailand 2014 about the changing behavior of internet users in Thailand that Thai people spend more time with internet, from 32.3 hours per week in 2013 to be 50.4 hours per week in 2014 which is higher up to 56%. The significant cause is because of internet users turn to use more portable communicative devices like Tablet and mobile phone since they can access to internet from everywhere and at all time. This is different from the previous days that if we want to access internet we have to do it through PC that is not quite convenient. Several users carry such device for more than 2. What is interesting is that in this year we will see more users having other alternative devices to access internet besides Tablet and mobile phone such as smart devices: watch, car entertainment, glasses, refrigerator, television, car, electric appliances, etc. Apparently, internet really plays an important role in our everyday life and more and more approaches to become one of basic factors for living.
What is Internet of Things (IoT)?
It is the concept to bring internet to assist in human’s works or any activities to be more efficient by increasing capability to the devices and electric appliances used in daily life, no matter it is the device used in household sector, industrial sector and business sector, in order to be able to connect with internet within a little time and can also directly send a work report through internet to a responsible person. Certainly, the devices and
electric appliances that can be sorted into Internet of Things because they are able to connect with other devices and electric appliances with the same attribute. To produce such devices, therefore, has to pass a central standard which is reliable as well. Importantly, there must be a high precision on work and is universally reliable too. At present, there are many examples on the adoption of Internet of Things, for instance, home automation that the owner can control devices and electric appliances inside the house through internet, no matter it is a smart refrigerator that can send message to a house owner if the stuff in refrigerator runs out, smart light that can be controlled from the distance to turn on or off and to adjust the brightness, doors and windows that can be ordered to open or close from the distance as well as a television, stereo, air conditioner, view from a close circuit camera from outside through internet, a smoke detector that alarms a house owner through internet and a burglary alarm that alarms every time that someone intrudes into the house, and so on. For the adoption of Internet of Things to business sector, it is similarly necessary since it does not only lessen operation time of personnel but it also lessen the consumption of resources. For example, the use of a smart copy machine in an office that we can order it to copy from outside the office and can also send the report on paper use to the responsible person. Besides, we can control the light, door and security system from outside an office which is similar to what can be done in a smart home. The interesting thing is that in some offices Internet of Things is adopted to manage a car park, that is, a sensor system will report the volume of parking space to the officer or supervisor how many parking lots are available at the moment. In the industrial sector, some Internet of Things are adopted as we can see from the use of Radio Frequency Identification (RFID) in stock check. RFID is an electronic strip for sending data through a radio which is in place of a former bar code system. RFID will report the result of item count through intranet or internet to the responsible person for acknowledgement. In some firms that involve in logistics, they can also apply internet to help in reporting working status of personnel as well as the situation of shipment. Although the coming of Internet of Things is rather difficult to avoid in the future but to adopt this concept into an organization has to be carefully considered by a proprietor. If proprietors decide to adopt such system they have to carefully perform little by little, both in the subject of safety in use, protection from the intrusion of a malicious person who may hack into the system as well as the skill in using the device of personnel. These things need to always seek for new information about it.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 87
FACTORY 3.0 |
ดร.ฉันทมน โพธิพิทักษ์
อุตสาหกรรมยางพาราไทย
กับแนวทางลดปรากฏการณ์ เรือนกระจก Thai Rubber Industry and Way to Minimize Greenhouse Gas Emissions
ประเทศไทยถือว่า แหล่งการผลิตยางที่สา� คัญ 35% ของการผลิตยางดิบทั่วโลกมาจากประเทศไทย (OAE, 2007) ยางพารา ได้รู้จักกัน อย่างกว้างขวางประมาณปี ค.ศ.1910 ซึง่ มีการปลูกยางพาราและอุตสาหกรรมยางพาราก็ขยายเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ซึง่ อุตสาหกรรมยาง มีความส�าคัญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เพราะเป็นพืชเศรษฐกิจทีม่ คี วามส�าคัญต่อประเทศ รวมถึงภาษีจากการส่งออกยางและการจ้างงาน ในสายงานนี้ ในปี ค.ศ.2009 มีประชาชน 6 ล้านคนประกอบชีพปลูกยางพารา และ 6 แสนคนท�างานในอุตสาหกรรมทางยาง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 ประเทศไทยกลายเป็นประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ของโลก และความต้องการยางธรรมชาติ มีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในจีนและอินเดีย จึงน�าไปสู่การปลูกยางและการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น พื้นที่ในการปลูกยางพาราส่วนใหญ่ 70% อยู่ในโซนพื้นที่ภาคใต้ ของประเทศไทย แต่มีข้อจ�ากัดในการขยายพื้นที่ จึงเริ่มมีการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกและภาคจะวันออกเฉียงเหนือของไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา 88 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ในการศึ ก ษา มี ก ารศึ ก ษาทางด้ า นการระบุ ถึ ง มาตรการในการลดปริ ม าณเชื้ อ เพลิ ง และการลดการใช้ พลังงานในการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางพารา (PCD, 2005) ซึ่งสมาคมยางพาราไทยมีหน้าที่ในการพิจารณา โอกาส โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดภายใต้พิธีสารเกียวโต และยังเริ่ม ฉลากคาร์บอน ‘Carbon Label’ (TRA, 2008) ซึ่ ง จะเป็ น ข้ อ มู ล การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกในภาค อุตสาหกรรมยางพารา ซึ่งยังเป็นข้อมูล ยังไม่ได้น�าไป ใช้จริง
ท�าอยางไร ใหปรากฏการณก๊าซเรือนกระจก นอยที่สุด จากอุตสาหกรรมยางพารา
แนวทางในการหลี ก เลี่ ย งปรากฏการณ์ ก ๊ า ซเรื อ น กระจกที่มีประสิทธิภาพ จากอุตสาหกรรมยางพารา คือ ต้องปกป้องพื้นที่ป่าให้คงอยู่ ก่อนที่จะผันเปลี่ยนเป็นสวน ยางพารา เช่นเดียวกับที่เป็นปัญหาในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ที่บุกรุกพื้นที่ป่า ท�าสวนปาล์ม ซึ่งไม่เพียงแต่ ท�าให้เกิดการสะสมคาร์บอนแล้ว ยังก่อให้เกิดปัญหาต่อ การเปลี่ยนแปลงของชีวภาพ ซึ่งเป็นปัญหาเช่นเดียวกันใน การปลูกยางภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย ส�าหรับผลิตภัณฑ์ยางพาราจากการปลูกบนดินเพาะ ปลูก ปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจก จะเกี่ยวเนื่องกับ ปุ๋ยที่ ใช้ในการเพาะปลูกและการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้เขียนจะกล่าวถึงการลดปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจก ต่อจากนี้ค่ะ
ปุ๋ยที่ใช ไมเพิ่มปรากฏการณก๊าซเรือนกระจก
อุตสาหกรรมยางพาราไทย
ช่ ว งอายุ ก ารปลู ก ยางในไทยอยู ่ ที่ ป ระมาณ 20– 25 ปี ในช่วง 7 ปีแรกจะมาสามารถกรีดยางได้ ต้นยางที่ สามารถกรีดได้ น�้ายางอยู ่ ที่ ช่ วงปี ที่ 13–18 ซึ่ งยางดิ บ สามารถน�าไปผลิตเป็นยางล�าดับปฐมภูมิที่สามารถน�าไป แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของยางที่มีความหลากหลาย ซึ่งยางล�าดับปฐมภูมิที่มีความส�าคัญ ได้แก่ ยางดิบข้น ซึ่ง เป็นวัตถุดิบส�าคัญในการท�าถุงมือยางทางการแพทย์ และ ถุงยางอนามัย ยางก้อน ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่มีความเหนียวสูง ในการผลิตพื้นรองเท้า เข็มขัด และยางแผ่นรมควัน ซึ่ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ส� า คั ญ ในการผลิ ต ล้ อ รถ และชิ้ น ส่ ว นใน อุตสาหกรรม (Korwuttikulrungsee, 2002) ตั้งแต่ยางธรรมชาติ เริ่มสู่การส่งออกไปยังตลาดทั่ว โลก เป็นสิ่งที่ท้าทายส�าหรับผู้ประกอบการยางไทยที่จะหา มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่มีความเหมาะสมกับขบวนการ ในการผลิตยางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ครั้งเก่า ก่อน การจัดการทางสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมยางจะ โฟกัสไปที่การลดมลภาวะ โดยเฉพาะการบ�าบัดน�้าเสียและ การควบคุมมลภาวะทางอากาศ ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมใน พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ตั้งแต่ปี ค.ศ.1998 และ แผนยุทธศาสตร์ทางสภาพอากาศในช่วงปี ค.ศ.2009 – 2012 ซึ่งจะค�านึงถึง 6 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญ ได้แก่ การเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวให้เข้า กับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ การโปรโมทสภาพก๊าซ เรือนกระจก และการลดสภาพก๊าซเรือนกระจก และการ สร้างความตระหนักในสภาพแวดล้อม
อันดับแรก การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระหว่างการ ผลิตปุ๋ยเคมีจะลดลง ด้วยการแทนที่ด้วยปุ๋ยจากซากพืช และต้นไม้ หรือปุ๋ยคอก แทน เพื่อลดการปล่อยก๊าซ CO2 ส่ ว นการลดปริ ม าณก๊ า ซ N 2 O สามารถลดโดยการ เปลี่ยนแปลงแบบเร่งปฏิกิริยาธรรมชาติให้มากขึ้น ต่อมา การปรับปรุงช่วงเวลาและความถี่ของการใส่ ปุ๋ยให้อยู่ในอัตราที่ต้องการจริง และหลีกเลี่ยงการสาดปุ๋ย เพราะอัตราการใส่ปุ๋ยที่พอเหมาะ ไม่เร็ว จะมีผลต่อการ เติบโตของยางพาราได้เป็นอย่างดี ซึ่งในหลายต่อหลาย ประเทศ สามารถลดการใส่ปุ๋ยลงได้ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ แต่ ในไทยก็ยังต้องตรวจสอบในล�าดับต่อไป อย่างไรก็ตาม ใน กระบวนการใส่ปุ๋ยสามารถลด ปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ ถึง 50 เปอร์เซ็นต์
การใชพลังงาน
หนทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพของการผลิตยางมี หลายวิธีการ ในการผลิตยางข้น 90% ของการใช้ไฟฟ้าจะ ใช้ในขั้นตอนเซนทริฟิวเกชั่น หรือการเหวี่ยง โดยการ ศึกษาของกรมโรงงานอุตสาหกรรม แนะน�าให้ ติดตั้งตัว แปลงการเหวี่ยงซึ่งจะช่วยเรื่องประสิทธิภาพของการใช้ พลั ง งานไฟฟ้ า ในขบวนการผลิ ต ยางข้ น นี้ รวมถึ ง หาก อุตสาหกรรมใช้เครื่องมือแบบเก่า เช่น ระบบคลัตช์และ ระบบเฟือง ควรเปลี่ยนมาเป็นระบบสายพานแทน ซึ่งจะ ช่วยลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในขบวนการผลิตลงได้ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ (DIW, 2001) นอกจากนี้ ความต้องการการใช้พลังงานในขั้นตอน การผลิต สามารถลดลงได้ด้วยการติดตั้งฉนวนส�าหรับ ห้องอบแห้ง ห้องควบคุมความชื้นส�าหรับไม้เชื้อเพลิง รวม ถึงติดตั้งพัดลมเพื่อการระบายอากาศในห้องรมควัน ซึ่งจะ ลดการใช้เชื้อเพลิงโดยเฉพาะไม้ได้ถึง 770 kgต่อปี ยิ่งหาก ได้ออกแบบให้อุณหภูมิที่เหมาะสม (60 �C) และความร้อนที่ 11 kW จะสามารถลดพลังงานได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์
นอกจากนี้ การประหยั ด พลั ง งานและการพั ฒ นา ประสิทธิภาพพลังงาน โรงงานอุตสาหกรรมควรจะเปลี่ยน ไปใช้ ทรั พยากรที่ส ามารถหมุ นเวีย นน�า กลั บ มาใช้ ใหม่ ได้ ด้วย ซึ่งก็จะสามารถช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก รวม ถึงลดพลังงานไฟฟ้าที่ส่วนใหญ่มาจากซากสัตว์ ซึ่งเป็น พลั ง งานใช้ แ ล้ ว หมดไป โดยอาจแทนที่ ด ้ ว ยพลั ง งาน ทดแทนเช่ น พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ หรื อ พลั ง งานน�้ า ก็ สามารถลดปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจกลงได้
T
hailand is an important rubber producing country. About 35% of the latex produced worldwide is from Thailand (OAE, 2007). Para rubber (Hevea brasiliensis) was introduced to Thailand around the year 1910. Since then, rubber plantations and rubber-related industries have been expanding rapidly. Rubber industry in Thailand is of economic and social importance because of its production value, the revenues from export and the employment in this sector. About six million people are involved in rubber plantation (TRA, 2009), whereas about 0.6 million people work in rubber industries (MOL, 2008). Since 2003, Thailand has become the world’s largest natural rubber (NR) producer (RRI, 2008). The worldwide demand for natural rubber product is growing, especially in China and India, and this will lead to additional rubber plantations and productions. Most rubber plantation sites (70%) are at the south of Thailand (MOL, 2008). Since the rubber plantation area in the south becomes limited, new plantations have been developed in eastern and northeastern Thailand in the past decade.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 89
Thai Rubber Industry
The economic lifetime of rubber plantations in Thailand is around 20–25 years. During the first seven years the trees grow without possibilities to tap latex. This period is followed by 13–18 productive years. Fresh latex is extracted by tapping from the rubber trees. The fresh latex is collected as a liquid. The fresh latex can then be processed to primary rubber products, which are subsequently processed to different final rubber products. The most important primary (intermediate) rubber products include concentrated latex (raw material for dipped
products such as medical gloves and condoms), block rubber (raw material for high viscosity products such as soles and belts), and ribbed smoked sheet rubber (raw material for vehicle tires and industrial rubber parts) (Korwuttikulrungsee, 2002). Since natural rubber products are being exported to the international market, it has been challenging for Thai rubber entrepreneurs to seek for appropriate environmental measures to produce environmentally friendly rubber products. Traditionally, environmental management in rubber mills focused on pollution reduction, especially through wastewater treatment and air pollution control. Thailand has signed the Kyoto Protocol in 1998, and is currently implementing a strategic climate plan for the period 2008–2012. This plan consists of six important strategies, including building capacity to adapt to climate impact, promoting greenhouse gas mitigation, and creating awareness. As a result, several studies were carried out to identify measures to reduce fuel use and energy consumption in the production of rubber products (PCD, 2005). The Thai Rubber Association has recently been considering the opportunity to apply for a Clean Development Mechanism (CDM) project under the Kyoto Protocol, and also the possibility to start a ‘‘Carbon Label’’ for rubber products (TRA, 2008). This, however, requires information on greenhouse gas emissions from the 90 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
rubber industry. However, such information is, to our knowledge, not available.
Minimizing Greenhouse Gas Emissions from Rubber Industry
A very effective way to avoid future greenhouse gas emissions from the rubber industry is to prevent that more forests are converted into rubber plantations. This is in line with other recommendations to avoid deforestation for other types of plantations in Southeast Asia, such as for palm oil. Forest conversion to rubber or palm oil plantations not only results in carbon stock loss,
but also poses a threat to biodiversity. These, and other considerations, need to be taken into account when expanding rubber plantation sites in forested areas in eastern and northeastern areas of Thailand. For rubber products from plantations on cultivated soils, the greenhouse gas emissions are largely associated with fertilizer use in the plantations, and energy use in the rubber industry. In the following, to minimize emissions for each of these will be discussed.
Using Fertilizer to Reduce Greenhouse Effect
There are several ways to reduce these emissions. First of all, industrial emissions during the production of synthetic fertilizers could be reduced. Emissions of CO2 could be reduced by energy efficiency improvement or by replacing fossil fuels by renewables. Emissions of N2O could be reduced by catalytic conversion. A more effective way to reduce these emissions would be to replace synthetic fertilizers by animal manure. This would avoid all emissions of CO2 and N2O during the industrial production of synthetic fertilizers. Second, fertilizers could probably be used more efficiently.This holds for almost all use of fertilizers, so we may assume that also in rubber plantations, the N efficiency may be improved. There are different ways to increase the efficiency, including improved timing and frequency of
fertilization and avoiding spilling of fertilizers. Perhaps slow-release fertilizers are also an option for rubber plantations, but this needs to be investigated. Options like these could in many countries reduce fertilization of soils by 20%. To what extent this also holds for Thai rubber plantations needs to be investigated as well. However, greenhouse gas emissions associated with fertilizer production and use may be reduced by at least 50% by this options.
Energy use
There are several ways to improve the energy efficiency of rubber production. In the production of concentrated latex, 90% of the electricity is used in the centrifugation process. A study by the Thai Department of Industrial Work suggests that installation of inverters to centrifugal machines could improve the energy efficiency (DIW, 2001). Moreover if old centrifugal machines (clutch and gear systems) are replaced by new machines (variable pulleys), a 20% reduction of electricity use could be achieved (DIW, 2001). In addition, the energy requirement can be reduced by installation of insulators in drying chambers, moisture control of the rubber fuel wood, and the installation of fans to improve air circulation in smoking rooms (PCD, 2005). Installation of insulators may reduce the use of fuel wood by 770 kg/year. Optimal design of smoking rooms, with appropriate temperatures (60 �C) and heat supply (11 kW) may reduce energy use by more than 30%. In addition to energy savings and energy efficiency improvement, mills may switch to renewable sources of energy. This would reduce greenhouse gas emissions. Also the electricity currently used is largely fossil based, and replacing this by electricity from solar panels, wind mills or hydropower would reduce emissions effectively. ที่มา Sources; 1. DIW, 2001. Industrial Sector Codes of Practice for Pollution PREVENTION (Cleaner technology) - Concentrated Latex and Blocked Rubber (STR 20). Department of Industrial Work, Ministry of Industry. 2. Jawjit, W.,*, Kroeze, C., and Rattanapan, S. 2010. Greenhouse gas emissions from rubber industry in Thailand. Journal of Cleaner Production, 18 (2010) 403–411. 3. Korwuttikulrungsee, S., 2002. Natural Rubber Production. Prince of Songkhla University, Pattani Campus. 4. MOL. Thailand labour statistic. Ministry of Labour. 5. OAE, 2007. Thailand Agriculture Statistics. Office of Agricultural Economics, Ministry of Agriculture and Cooperative. 6. PCD, 2005. Good Practices on Pollution Prevention and Reduction – Smoked Sheet Rubber Industry. Pollution Control Department, Ministry of Natural Resource and Environment. 7. RRI, 2008. Thailand rubber statistic. Thailand Rubber Research Institute, Department of agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperative 37 (3), 5–13. 8. TRA. The importance of rubber impacts on global warming.
APRIL 2015
INDUSTRIAL AGENDA
INDUSTRIAL AGENDA APRIL 2015 สวั ส ดี ค ะ ผู ป ระกอบการในภาคอุ ต สาหกรรมทุ ก แขนง ส� า หรั บ เดื อ นเมษายนนี้ มี วั น ส� า คั ญ แก ค นไทยทุ ก คน นั่ น ก็ คื อ วั น สงกรานต ห รื อ วั น ปี ใ หม ไ ทย หลั ง จากรดน�้ า ด� า หั ว และขอพรจากผู ใ หญ ที่ เ คารพนั บ ถื อ แล ว ก็ ช วนกั น ไปงานเพื่ อ อุ ต สาหกรรมกั น ต อ เลยนะคะ 2 – 3 เมษายน 2015 ICNME 2015
การประชุมนานาชาติด้านวิศวกรรม นาโนและวัตถุดิบ International Conference on Nano and Materials Engineering (ICNME 2015 ) ครั้งที่ 3 ในการจัดงาน ประชุมซึ่งจัดขึ้นเพื่อเสนอผลงานวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ ด้านวิศวกรรม นาโนและวัตถุดิบ การประชุมครั้งนี้ถือเป็น เวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ใหม่และประสบการณ์ การใช้ งานให้กับเหล่านักธุรกิจและผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยเพื่อที่ จะสร้างความร่วมมือระว่างกันในอนาคต
ณ จังหวัดภูเก็ต www.icnme.org
3 เมษายน 2015 MOU การพัฒนาบุคลากรเพื่อ อุตสาหกรรมยางระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน
3 เมษายน 2015
สร้างเครือข่ายและเพิ่มศักยภาพการลงทุน ผู้ประกอบการไทย
มาตรการส่งสริมการลงทุนนับ เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� า คั ญ ในการพั ฒ นา อุตสาหกรรม ซึง่ น�าไปสูก่ ารขับเคลือ่ น เศรษฐกิ จ ของประเทศมาอย่ า ง ยาวนาน ปัจจุบนั วิสาหกิจขนาดกาลาง และขนาดย่ อ ม(SMEs) ในหลาย ประเทศได้ทวีความส�าคัญและเป็นกล ไกลขับเคลือ่ นการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจเป็นอย่าง มาก อาทิ ประเทสญีป่ นุ่ เกาหลี และไต้หวัน เป็นต้น ด้วยความส�าคัญดังกล่าว รัฐบาลจึงได้กา� หนดให้การส่ง งานสั ม มนาและงานแสดงสิ น ค้ า ส� า หรั บ ผู ้ ป ระกอบ เสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) งานแสดงแฟรนไชส์ SME ปีที่ 9 ส�าหรับงานนี้ท่านจะ เป็นวาระแห่งชาติ พร้อมก�าหนดมาตรการเพื่อเป็นแต้มต่อ ได้พบกับนักลงทุนจากทั่วประเทศ พร้อมเลือกจองพื้นที่ ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับ (SMEs) ให้ ก้าวสู่ระดับสากลมากขึ้น ก่อนได้แล้ววันนี้
ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ – สาธารณรัฐอินเดีย www.boi.go.th
14 – 17 เมษายน 2015 MTA 2015 งานอุตสาหกรรมวิศวกรรม
งาน MTA ครั้งที่ 20 เป็ น งานแสดงสิ น ค้ า จาก พิธีลงนามความร่วมมือการ โรงงานอุตสาหกรรม ไม่ว่า พัฒนาบุคลากรเพื่ออุตสาหกรรม จะเป็น เครือ่ งมือกล และอุปกรณ์ตา่ งๆ ในวงการอุตสาหกรรม ยางระหว่ า งภาครั ฐ และภาค เพือ่ เป็นการส่งเสริมการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมการผลิตใน เอกชนและเสวนาเรื่อง ‘กลไกขับ ภูมิภาค ทั้งยังเป็นเวทีส�าหรับผู้ซื้อและผู้ขายได้เข้าถึงและ เคลื่ อ นเพื่ อ ความยั่ ง ยื น ในการ รู้จักกับเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม่ๆ ในตลาดอีกด้วย แก้ไขปัญหาราคายางตกต�่า’ โดย นอกจากงาน MTA 2015 แล้ว ในงานเดียวกันนี้ ยังมีการ การลงนามและเสวนาครั้งนี้เกิด จัดงาน Metrology Asia 2015 เป็นเวทีคขู่ นาน ซึง่ จะรวบรวม จากความร่วมมือของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เอาสินค้าเกีย่ วกับมาตรวัด อุปกรณ์ตรวจสอบและวัดผล จาก สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตรและ มหาวิทยาลัย แบรนด์ชนั้ น�ามาจัดแสดงสูส่ ายตาผูใ้ ช้งาน เพือ่ เป็นประโยชน์ใน สงขลานครินทร์ การผลิตสินค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพและความถูกต้องแม่นย�าสูง ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพฯ www.fti.or.th
3 เมษายน 2015 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนใหม่ และนโยบายส่งเสริม SMEs
ณ ศู น ย์ นิ ท รรศการและการประชุ ม สิ ง คโปร์ เ อ็ ก ซ์ โ ป ประเทศสิงคโปร์ www.mta-asia.com
ณ โรงแรมมราเคิลแกรนด์ คอนเวนชัน่ กรุงเทพ www.thaichamber.org
28 เมษายน – 3 พฤษภาคม 2015 สถาปนิก’ 58
งานสถาปนิก’ 58 เป็นทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ ใน ฐานะงานแสดงสินค้าและเทคโนโลยีกอ่ สร้างทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ดุ ใน อาเซียน โดยบริษทั เอเจนซีร่ ายใหญ่จากสาธารณรัฐประชาชน จีน CHINA BUILDMAN FAIRS INTERNATIONAL (CBFI) ให้ความไว้วางใจและมัน่ ใจทีจ่ ะพาผูป้ ระกอบการใน ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง มาร่วมน�าเสนอผลิตภัณฑ์เพือ่ วงการก่อสร้าง และสถาปัตยกรรมในปีนี้ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.architectexpo.com
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 91
ลุนรับรางวัลงายิษัทๆ ใหตรงกับรูปสินคา”
เพียงแคจับคู “ชื่อบร มาตาม กซ แฟ อ ื หร th o. .c ia ed m ld or nw ee gr r@ แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn. รับไปเลย บัตรชทภาพยนต จำนวน 2 ใบ เบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอ
้ ี น ไป อ ต ท ั ษ ิ ร บ อ ่ ื ช บ ั ก ง ใสหมายเลขสินคาใหตร
โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก. ไทรเนอรยี่ อินสทรูเมนท บจก. ซุนไถจั่น อิมปอรต บจก. Tel: 0-2731-1191#131 Fax: 0-2769-8043 Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th
โปรชอป เซนเตอร บจก. ปารคเกอร ฮันนิฟน (ไทยแลนด) บจก.
ABB | Manufacturing Expo 2015
เอบีบี ยกทัพหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชั้นน�า จัดแสดงงาน Manufacturing Expo 2015 หากกล่าวถึงหุ่นยนต์ด้านอุตสาหกรรม ก็ต้องเอ่ยถึงเอบีบีซึ่งเป็นผู้บุกเบิกน�าเทคโนโลยีอันทันสมัยของหุ่นยนต์และอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามาสู่ อุตสาหกรรมในประเทศไทย และได้รับความไว้วางใจจากผู้ใช้มาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ประกาศความยิ่งใหญ่ โดยการบุกตลาด ในงาน Manufacturing Expo 2015 เนื่องด้วยเป็นงานแสดงสินค้าที่รวบรวมเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีเครื่องจักร อีกทั้ง ยัง เป็นเวทีในการเจรจาด้านธุรกิจที่สา� คัญส�าหรับนักลงทุน โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-27 มิถุนายน 2558 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทคบางนา เสนทางเทคโนโลยีหุนยนต... เอบีบี
คุณล�า้ บุญ สิมะขจรบุญ Discrete Automation & Motion Division บริษัท เอบีบี ประเทศไทย จ�ากัด กล่าวว่า บริษทั เอบีบี จ�ากัด เป็นบริษทั ฯ ชัน้ น�า ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นเทคโนโลยี พ ลั ง งานและ ระบบอัตโนมัติ โดยได้รบั การตอบรับจากผูใ้ ช้งานใน ภาคอุตสาหกรรมมานานมากกว่าศตวรรษ ผสานกับ บริษัทฯ ไม่เคยหยุดนิ่งที่จะค้นคว้าและพัฒนาผลิต ภัณฑ์ใหม่ๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างไม่สิ้นสุด ด้วยนวัตกรรมที่เกิดการวิจัยและ พัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้บริษัทฯ ก้าวสู่การเป็น ผูน้ า� ในอุตสาหกรรมหุน่ ยนต์ของโลก โดยเทคโนโลยี หุ่นยนต์ในทรรศนะของบริษัทฯ คือ นวัตกรรมที่จะ เปลี่ยนโลกทั้งใบให้ง่ายขึ้น ดังนั้น การพัฒนาเทคโน
โลยีหุ่นยนต์ของบริษัทฯ แม้จะมีจุดเริ่มที่ชัดเจน แต่ จุดสิน้ สุดนัน้ ยังเป็นสิง่ ทีค่ าดการณ์ได้ยาก เพราะหุน่ ยนต์เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาได้ไม่มีวันสิ้นสุด ปัจจุบนั หุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม ซึง่ สามารถท�างาน ตามค�าสั่งที่สั่งโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ โปรเซสเซอร์ท�างานตามความต้องการของผู้ใช้งาน ได้มากขึ้น อย่างไรก็ตามยังมีการแยกพื้นที่ระหว่าง การท�างานของมนุษย์และหุ่นยนต์ ซึ่งจะมีการแยก พืน้ ทีอ่ ย่างชัดเจนโดยพืน้ ทีข่ องหุน่ ยนต์จะมีปา้ ยระบุ ไว้ห้ามบุคคลเข้า เนื่องจากเป็นที่อันตราย อย่างไร ก็ตาม ในปี 2015 บริษัทเอบีบีจะเปิดหุ่นยนต์รุ่นใหม่ ในต่างประเทศทีห่ นุ่ ยนต์มกี ารท�างานร่วมกับคนมาก ขึ้นซึ่งจะไม่มีรั้วกั้นกลางระหว่างมนุษย์กับหุ่นยนต์ นอกจากนี้ ภายในหุ่นยนต์จะมีระบบเซ็นเซอร์เพื่อ ตรวจมนุษย์ในการเข้าใกล้หุ่นยนต์อีกด้วย
เอบีบีโชวหุนยนตรุน 6700 งาน Manufacturing Expo 2015
คุณล�้าบุญ กล่าวต่อว่า งานแสดงสินค้าเทคโน โลยีด้านอุตสาหกรรมในปีนี้บริษัทฯ ได้มุ่งเน้นไปยัง อุตสาหกรรมยานยนต์ อาหาร เป็นต้น เนื่องจากมี การเติบโตทีต่ อ่ เนือ่ งขึน้ โดยจะเน้นไปยังสินค้าทีเ่ ป็น SpotArc งาน Vision และงาน อื่นๆ ที่จ�าเป็นต้อง อาศั ย หุ ่ น ยนต์ ท� า งานเพื่ อ ลดต้ น ทุ น และสร้ า ง ประสิทธิภาพในการท�างาน โดยอุตสาหกรรมที่มา แรงในปีนี้คือ อุตสาหกรรมอาหาร ส�าหรับในงาน Manufacturing Expo 2015 ครัง้ นีบ้ ริษทั ฯ มีการน�าหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมรุน่ 6700 ไปจัดแสดงด้วย เพราะถือเป็นหุ่นยนต์ที่สามารถ ท�างานได้หลากหลายและมีประสิทธิภาพ ซึง่ หุน่ ยนต์ ที่กล่าวในข้างต้นมีคุณสมบัติในการท�างานดังนี้ คุณล�้าบุญ สิมะขจรบุญ Discrete Automation & Motion Division บริษัท เอบีบี ประเทศไทย จ�ากัด
94 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
24-27 มิถุนายน 2558 | BITEC BANGNA 1. มีการยืดหยุ่นกกว่ารุ่นที่ผ่านมา โดยเฉพาะแขน สามารถอินเตอร์เกรดตามสายได้ดี 2. สามารถรับน�้าหนักได้ดีขึ้น 3. มีการเคลื่อนไหวได้เร็วกว่าเดิม “ทัง้ นีห้ นุ่ ยนต์ดงั กล่าวเหมาะส�าหรับน�าไปใช้อตุ สาหกรรม หลายรูปแบบรวมทั้งหยิบจับ งานเชื่อมและอื่นๆ นอกเหนือ จากน�าเสนอหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมรุน่ ใหม่ของเอบีบี ทางบริษทั ยังได้มีการปรับเปลี่ยนสีแขนหุ่ยนต์จากเดิมเป็นสีส้มเปลี่ยน เป็นสีขาว-เทา เนื่องจากเดิมหุ่นยนต์มักใช้ในอุตสาหกรรม หนักและมีความสกปรกง่ายจึงใช้สีส้มเพื่อให้สะดุดตา และ ปั จ จุ บั น โรงงานส่ ว นใหญ่ มี ก ารน� า เทคโนโลยี ม าใช้ ม าขึ้ น โรงงานมีความสะอาดมากขึ้นเมื่อหุ่นยนต์เป็นสีขาวจะท�าให้ โรงงานดูสะอาดตา บวกกับเทรนด์ของสีขาวนัน้ มาแรง พร้อม ทั้ง ยังตอบโจทย์ต่อความต้องการของผู้ประกอบภายใน โรงงานอีกด้วย ปัจจุบนั เทคโนโลยีในโรงงานถือเป็นภาพลักษณ์ ที่ดีของโรงงาน เพื่อเป็นสิ่งการันตีให้กับลูกค้าที่เข้ามาดูงาน ได้เห็นมาตรฐาน ความปลอดภัย ความสะอาดภายในโรงงาน ด้วย” คุณล�้าบุญกล่าว
เอบีบี... ผลักดันอุตสาหกรรมยานยนต
เมื่อมีการเติบในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์จึงส่งผลให้ ความต้องการด้านออโต้เมชัน่ ก็เพิม่ ขึน้ เป็นเงาตามตัว ด้วยเหตุ นี้ บริษัทฯ จึงได้มีการขยายพื้นที่ Work shop and Training center จากก่อนหน้ามีพื้นที่ 250 ตารางเมตร และได้มีการ ขยายเป็น 1250 ตารางเมตร ซึ่งบริษัทฯ จะมีพื้นที่ในการน�า เสนองานระบบหุน่ ยนต์สา� หรับโครงการใหม่ๆ ของลูกค้าและ เพิ่มศักยภาพงานด้านบริการอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันด�าเนินเสร็จ แล้วกว่า 90% และคาดว่าจะด�าเนินการเสร็จสิน้ ภายในกลาง ปีนี้ ส�าหรับแนวโน้มการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมยาน ยนต์มีการอ้างอิงจากจากข้อมูลของอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยปี 2014 ทีผ่ า่ นมามียอดผลิตยานยนต์ลดลงอยูท่ ี่ 1.8 ล้าน คัน ในปี 2015 นี้ คาดว่าจะมีการผลิตยานยนต์ประมาณ 2.2 ล้านคัน ฉะนัน้ อุตสาหกรรมมีแนวโน้มฟืน้ ตัวกลับมาการดีขนึ้
รวมงาน Manufacturing Expo 2015
คุณล�า้ บุญกล่าวต่อว่า งาน Manufacturing Expo 2015 จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 24-27 มิถนุ ายน 2558 ณ ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา โดยงานนี้ถือได้ว่าเป็นงาน แสดงส�าหรับอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ การผลิตทีค่ รบวงจร รวมทัง้ ผูร้ ว่ มแสดงสินค้าภายในงาน ยังเป็นผู้ผลิตและจ�าหน่ายที่ยกทัพสินค้าแบรนด์ดังระดับโลก มาจัดแสดง โดยงานนี้ถือเป็นงานที่มีการร่วมตัวของนัก อุตสาหกรรมและผู้จ�าหน่ายเทคโนโลยีมากที่สุด และจะจัด เพียงปีละครั้งเท่านั้น ดังนัน้ จึงเป็นโอกาสดีสา� หรับนักธุรกิจวงการอุตสาหกรรม ทีไ่ ม่ควรพลาดการเข้าร่วมงานในครัง้ นี้ ส�าหรับงานทีจ่ ดั ขึน้ ท�า ให้บริษัทฯ มีโอกาสรู้จักขยายฐานลูกค้าเพิ่มมากขึ้น รวมทั้ง ลู ก ค้ า รายย่ อ ยก็ ส ามารถรู ้ จั ก บริ ษั ท ฯ อี ก ทั้ ง มี โ อกาส ประชาสัมพันธ์สินค้าใหม่ให้กับกลุ่มลูกค้าโดยตรงอีกด้วย หากคุณก�าลังมองหานวัตกรรมหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมและ อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม เพื่อเป็นตัวช่วยเร่ง ศักยภาพการผลิตของคุณให้ถงึ ขีดสุด ต้องไม่พลาดการสัมผัส เทคโนโลยีล่าสุดจากเอบีบีได้ในงาน Manufacturing Expo 2015 มหกรรมเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมการผลิตและ อุตสาหกรรมสนับสนุนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 95
• Vietnam’s Only Electronics Parts Manufacturing Event • 200 Leading Brands from 20 countries • 8,000 Quality Buyers • Technical Conference Sessions • Part of World-renowned NEPCON series
With escalating interest to upgrade production capability and eficiency in order to maximize the mounting business opportunities in the electronics industry, manufacturers in the supporting sectors are looking for new technologies, product trends, know-how, and connections. Dedicatedly designed just for them, “NEPCON Vietnam” will be the only circuit of success on which business opportunity current will low and connect all the industry stakeholders together. Over 200 brands from 20 countries will gather to meet 10,000+ potential buyers. Complete with new knowledge and networking opportunities in on-site seminar and activities, NEPCON Vietnam in Hanoi will be the gateway for you to become an integral part of Vietnam’s electronics advancement.
17-19 SEP. 2015
International Center for Exhibition (I.C.E) Culture Palace 91 Tran Hung Dao Street
(THU – SAT)
Hanoi >Vietnam
One of Global NEPCON Series
Vietnam’s Only Exhibition on SMT, Testing Technologies, Equipment, and Supporting Industries for Electronics Manufacturing – 8th Edition
Organized by :
Local partner :
Exhibit space is open for reservation. Vietnam +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 26867299 nepconvietnam@reedtradex.co.th www.nepconvietnam.com www.facebook.com/nepconvietnampage
THAI WATER EXPO 2015 เป็นงานแสดงเทคโนโลยีระดับนานาชาติ ด้านการบริหารจัดการ น�้าดีและน�้าเสียที่ใหญ่ที่สุดที่ในภูมิภาค
นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน ใน ฐานะเลขาธิการ คณะกรรมการด้านการชลประทานและ ระบายน�า้ แห่งประเทศไทย (THAICID) เผยว่า งบประมาณ 55.9 พันล้านบาทจะถูกใช้จ่ายส�าหรับโครงการกว่า 4,227 โครงการ ซึง่ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ของงบประมาณทัง้ หมดจ�านวน 108.23 พันล้านบาท นอกจากนี้ รัฐบาลยังอยู่ในระหว่างด�าเนินการบนแบบ ร่างโครงการบริหารจัดการน�า้ แห่งชาติโครงการใหม่และแผน การต่างๆ เพือ่ เพิม่ จ�านวนการลงทุนให้แตะหลัก 900 พันล้าน บาท ภายในแผนระยะเวลา 10 ปี งบประมาณจ�านวน 108.2 พันล้านบาทส�าหรับโครงการในปีนี้ และอีก 135 พันล้านบาท ส�าหรับโครงการปี 2016 ได้รับการอนุมัติแล้ว ปัจจัยทั้งหมด นี้ท�าให้งาน THAI WATER EXPO 2015 กลายเป็นหนึ่งใน งานแสดงเทคโนโลยีด้านการบริหารจัดการน�้าดีและน�้าเสียที่ ส�าคัญที่สุดแห่งปี งาน THAI WATER EXPO 2015 ถือเป็นการจัดงาน แสดงระดับนานาชาติชั้นน�าของอาเซียนด้านเทคโลยีการ บริหารจัดการน�า้ ดีและน�า้ เสีย และยังเป็นงานแสดงเทคโนโลยี ด้านการบริหารจัดการน�า้ ดีและน�า้ เสียระดับนานาชาติทพี่ เิ ศษ สุดเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยอีกด้วย
ปัจจุบัน
งานแสดงในปี 2015 นีจ้ ะจัดแสดงเทคโนโลยีและอุปกรณ์ ใหม่ลา่ สุดเกีย่ วกับทรัพยากร ส�าหรับเทศบาลและอุตสาหกรรม ระบบต่างๆ รวมถึงระบบการดูแลการบ�าบัดน�า้ เสียทีค่ รอบคลุม ระบบเก็บกักน�า้ ฝน เทคโนโลยีการก�าจัดของเสียอันตราย และ เทคโนโลยีการก�าจัดกากตะกอน สิ่งตกค้าง และอื่นๆ อีก มากมายจะถูกน�ามาจัดแสดงในงานนี้ งาน THAI WATER EXPO 2015 มีบันทึกความส�าเร็จที่พิสูจน์ได้ และการจัดงาน แสดงยังกลายเป็นจุดศูนย์กลางการนัดพบทีส่ า� คัญโดยมีบริษทั ชั้นน�านานาชาติกว่า 1,500 รายจาก 30 ประเทศทั่วโลก คุณสรรชาย นุ่มบุญน�า ผู้อ�านวยการกลุ่มโครงการ บริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) ผูจ้ ดั งาน กล่าวว่า “จะ มีผู้เข้าชมทางการค้าและผู้มีอ�านาจตัดสินใจที่มีคุณภาพกว่า 20,000 คน จาก 35 ประเทศทั่วโลกเข้าชมงาน โดยเฉพาะ จากประเทศในกลุ่มอาเซียน งานปีนี้จะใหญ่กว่างานปีท่ีแล้ว ถึง 20% โดยจะมีพาวิลเลียนนานาชาติจ�านวน 8 พาวิลเลียน จากประเทศเยอรมัน จีน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อิสราเอล ไต้หวัน สาธารณรัฐเช็กและเกาหลี งาน THAI WATER EXPO 2015 จะรวบรวมเทคโลโนโลยีและอุปกรณ์ใหม่ล่าสุดจากบริษัทชั้น น�าระดับโลกในธุรกิจ พบกันที่งาน THAI WATER EXPO 2015 เป็นงานแสดงที่คุณไม่ควรพลาด!”
สถานการณ์น�้าในประเทศไทยมีความ ส�าคัญมากขึ้นกว่าที่เคย ด้วยจ�านวนประชากรที่ เพิ่มขึ้น รวมถึงความต้องการที่มากขึ้นจากภาค อุตสาหกรรม องค์กรเอกชนและรัฐบาล ท�าให้ความ กังวลด้านการจัดการน�้าและน�้าเสียเพิ่มมากขึ้นอย่างที่ไม่ เคยเป็นมาก่อน ซึ่งรัฐบาลไทยก�าลังด�าเนินการอยู่ในขั้น ตอนการจัดตั้งมาตรการด้านการจัดการน�า้ และงบ ประมาณส�าหรับโครงการชลประทานโครงการใหม่ ซึ่งถูก ออกแบบมาเพื่อรับประกันการแจกจ่ายน�้าและการป้องกัน ประเทศจากปัญหาด้านต่างๆเกี่ยวกับการบริหารจัดการน�า้ ไม่นานมานี้ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณ 55.9 พันล้านบาทส�าหรับโครงการในปี 2015 ภายใต้แผนการ การบริหารจัดการน�้าและอุทกภัย ซึ่งโครงการเหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งของมาตรการแก้ปัญหาระยะยาวจาก โครงการทั้งหมด ซึ่งจะเริ่มต้นในปี 2015 และ สิ้นสุดลงในปี 2026
ในงานแสดง จะมีการจัดสัมมนาเชิงวิชาการกว่า 100 หัวข้อและการน�าเสนอเทคโนโลยีจากหลายบริษทั ชัน้ น�าระดับ โลก นอกจากนี้ ผู้ส่งออก นักวิชาการและนักวิจัยระดับ นานาชาติในวงการนี้จะร่วมกันแบ่งปันมุมมองและแนวคิด เกี่ยวกับสถานการณ์น้�าทั่วโลก เทคโนโลยีและแนวทางการ บริหารจัดการและการควบคุมน�้าดีและน�้าเสียในอนาคต งาน THAI WATER EXPO 2015 จะจัดขึ้นร่วมกับงาน PUMPS & VALVES ASIA 2015 ซึ่งเป็นการงานจัดแสดง เฉพาะด้าน ปั๊ม วาล์ว ท่อและอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เกี่ยวข้อง บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้จัดงาน มี ความภูมิใจที่จะถือโอกาสนี้เรียนเชิญให้คุณเข้าชมงานแสดง ระดับภูมิภาคที่ส�าคัญ ซึ่งจะเป็นงานที่ใหญ่ที่สุดและดีที่สุดที่ เคยจัดขึ้นเกี่ยวกับน�้า ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ส�าคัญที่สุดของ โลก
เราหวังว่าจะได้ต้อนรับคุณที่ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ ประเทศไทย ใน วันที่ 3 – 6 มิถุนายน 2015
• ASEAN’s most comprehensive exhibition specializing in Pumps, Valves and Pipes & Fittings • The only specialized event of its kind in Thailand • An international show featuring 1,500 top brands from 30 countries • 6 National Pavilions from Germany, Singapore, Japan, China, Taiwan and Korea • Over 100 Seminars and Presentations from leading companies, top world speakers, academics and researchers
วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมทวาราวดี จ.ปราจีนบุรี 08.30 - 09.00 ลงทะเบียน 09.00 - 10.30 สัมมนาเรือ่ ง Boost up Productivity ตามแนวทางลีน(Lean) โดย อ.กมล ดุรงคกนกพันธ สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติิ 10.30 - 10.45 Coffee Break & Booth Visit 10.45 - 12.00 สัมมนาเรื่อง Boost up Productivity ตามแนวทางลีน(Lean) (Training Within Industrial) โดย อ.กมล ดุรงคกนกพันธ สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ 12.00 - 12.15 กิจกรรม Industrial Product Showcase 12.15 - 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 13.30 กิจกรรม Industrial Product Showcase 13.30 - 15.00 สัมมนาเรื่อง เทคนิคการลดตนทุน (Cost Reduction Techniques) อ.สุชาติ ยุวรี จาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ 15.00 - 15.20 Coffee Break & Booth Visit 15.20 - 16.30 สัมมนาเรื่อง เทคนิคการลดตนทุน (Cost Reduction Techniques) อ.สุชาติ ยุวรี จาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ 16.30 - 16.45 Lucky Draw
วิทยากร อ.กมล ดุรงคกนกพันธ จาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ ป จ จุ บ ั น แนวคิ ด ของระบบการผลิ ต แบบลี น ได เ ข า มามี บ ทบาทอย า งมากต อ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต และบริ ก ารในหลากหลายสาขาโดยมุ ง เน น ในการกำจั ด ความสู ญ เปล า (Waste) ตางๆในกระบวนการทำงาน โดยใชเครื่องมือของลีน (Lean Tools Box) เขามาทำการปรับปรุงใหเกิดการไหลของงานอยางตอเนื่อง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อที่จะใหสินคาหรือบริการมีคุณภาพ สงตรงตอเวลา และตนทุนในการผลิตต่ำ เปนที่พึงพอใจของลูกคาการแปลงแนวคิดของการผลิตแบบลีน ไปสูภาคปฏิบัติที่สำเร็จไดจริงนั้น ปญหาและอุปสรรคเปนอยางไร ตองทำและเริ่มอยางไร Lean Manufacturing จึงเปน หนทางที่เหมาะสมดวยประการทั้งปวง ที่จะตอบโจทยไดในเรื่องตนทุน และประสิทธิภาพการผลิตไดเปนอยางดี
อ.สุชาติ ยุวรี จาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ จากสภาวะเศรษฐกิจของโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ตนทุนแรงงาน ตนทุนการผลิตเริม่ สูงขึ้น และจากการเปดเสรีทางการคารวมถึงการที่อาเซียนรวมกลุมกันเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ในปนี้ อันมีผลใหเกิดการรวมกลุมเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือ รวมถึง ปจจัยการผลิตตางๆ สามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรี ซึ่งจะทำให เกิดผลกระทบตออุตสาหกรรมและผูป ระกอบการภายในประเทศทีม่ ขี ดี ความสามารถต่ำ จึงจำเปน ตองเรงปรับตัวเพื่อยกระดับความสามารถ ใหแขงขันได โดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดยอม ตองไดรับการพัฒนาไปสูมาตรฐานการปฏิบัติในแงผลิตภาพและคุณภาพ ไดแก การ สรางบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กระบวนการผลิต การพัฒนาและ ประยุกตใชเทคโนโลยีอยางมีประสิทธิภาพ อันนามาสูการลดตนทุน และสามารถแขงขันไดใน ตลาดโลก
พิเศษ!!
สำหรับผูเขารวมสัมมนามีสิทธิลุนรับ
Apple iPad Mini3
๏ ลงทะเบียนเขาฟงสัมมนาทั้ง 2 หัวขอ ฟรี... ๏ พบกับ Booth แสดงสินคาอุตสาหกรรม ราคาพิเศษมากมาย ๏ พบกับเทคโนโลยีใหมๆ ที่นำมาจัดแสดงในงาน ๏ สำหรับฝายจัดซื้อที่มารวมในงาน ลงทะเบียน รับของที่ระลึกไดทันทีที่จุดลงทะเบียน ๏ ลุน รับรางวัล Apple iPad Mini3 และของรางวัลอืน่ ๆ อีกมากมาย
๏ ผูจัดการโรงงาน ๏ ฝายผลิต ๏ ฝายซอมบำรุง ๏ วิศวกร
Electric & Electronics นคา
ELECTRICAL & POWER ELECTRONICS
1
Bearing 2012 BENCH PRODUCT CATALOG
2
3
NEW PRODUCTS
THE MARK OF LINEAR MOTION
7
• LM Guide • Ball Screw • Linear Bushing • Slide Pack • Slide Rail • Cam Follower • Roller Follower
• OEM Product & Solution Products • Low-Voltage up to Medium-Voltage Products • Solution Products & Power Quality Product
A.P.T. GROUP CO., LTD.
TRINERGY INSTRUMENT CO., LTD.
BTT UNITED CO., LTD.
4
5
6
MISUBISHI SAFETY CONTROLLER MELSEC-WS SERIES
MITSUBISHI ELECTRIC AUTOMETION (Thailand) CO., LTD.
อปุกรณไฟฟา
จำหนายอปุกรณไฟฟา แรงสูง-ตำ ทกุชนดิ รบัทำ ตสูวทิซบอรด ทกุระบบ ทกุขนาด ตามตองการ
THK CO., LTD. RITTAL - THE SYSTEM. FASTER - BETTER EVERYWHERE.
LINEAR MOTION SYSTEM
8
• Enclosures • Power Distribution • Climate Control • IT Infrastrure • Software & Services
MAHATHON ELECTRIC PART LTD.
I.N.B. ENTERPRICE CO., LTD.
Rittal GmbH & Co. KG
Metrology & Measurement 9
เครอืงมอือตุสาหกรรม
JSR GROUP ตวัแทนจำหนาย ผลติภณ ั ฑเครอืงมอือตุสาหกรรม มากวา 40 ป
JSR GROUP
12
10
METROLOGY PRODUCT • CMM • PCMM • Laser Tracker • Vision Machine • White Light Scanning
HEXAGON METROLOGY (Thailand) CO., LTD. METROLOGY PRODUCTS Metrology & Inspection Product and Calibration Service
MAX VALUE TECHNOLOGY CO., LTD.
ระชาสัมพันธ ป ร า ก ง อ ต น า หากท คา/บริการ น ิ ส ค อ ็ ล า ต ต ค แ ระกอบการ ใหกับกลุมผูป รม ดานอุตสาหกร ฟรี! ไมมีคาใชจาย
13
BAUMER dustry ocess In13 ors for Pr n 20
Sens
Product
Overview
– Editio
Sensors สำหรบัอตุสาหกรรม ประเภท Process Industry (อตุสาหกรรม เคม,ี ปโตรเคม,ี การแปรรปูอาหาร, ผลติภัณฑเยือ กระดาษและกระดาษ, เซรามกิ, แกว, ผลติภณ ั ฑยาง, ซีเมนต ฯลฯ) และ อตุสาหกรรมอนื ทังดาน Pressure, Temperature, Level, Conductivity, Strain & Force
KANIT ENGINEERING CO., LTD
11
WIKA IS A GLOBAL MARKET LEADER IN PRESSURE, TEMPERATURE AND LEVEL MEASUREMENT TECHNOLOGY. • Products • Electronic pressure measurement • Mechatronic & Mechanical pressure measurement • Electrical temperature measurement • Mechatronic temperature measurement • Mechanical temperature measurement • Thermowells • Level measurement
WIKA INSTRUMENTATION CORPORATION (Thailand) CO., LTD.
14
เครอืงมอืวัดและควบคมุ
ผนูำเขาและจดัจำหนายเทคโนโลยีอปุกรณวดั และระบบควบคมุทางอกุฃตสาหกรรม สำหรบังานควบคมุอตัโนมตั,ิ PLC, SCADA, Sencer, Heater เปนตน
TECHNOLOGY INSTRUMENT CO., LTD.
April_01/2015
Hydraulic & Pneumatic HYDRAULIC AND PNEUMATIC SOLUTION & SERVICE
15
PNEUMATIC
16
• Filtration • Pneumatic • Hydraulic Fitting • Push - Lok Hose • Hydraulic Hose
PARKER HANNIFIN (THAILAND) CO., LTD.
อปุกรณในระบบกำจดัฝนุ-วาวล และหวัขบัสำหรบังานระบบอปุกรณในระบบนวิแมตคิ
CYLINDER SERVICE
17
A.P.S. CONTROL CO., LTD.
ศนูยซอมและสราง กระบอกไฮโดรลคิและนวิเมตกิซ แบบครบวงจร
GLOBAL SEAL CO., LTD.
Material Handling
Motor & Pump 18
MOTOR We are sole distributing of high quality industrail products for the leading brands
SAHA KIM MOTOR CO., LTD.
W21 PREMIUM EFFICIENCY EFF1
19
• Pumps • Fans • Crushers • Conveyor belts • Mills • Centrifugal machines • Presses • Elevators • Packaging equipment • Grinders and orters.
MERZ (THAILAND) CO., LTD.
Green Product 22
REBOARD THE ORIGINAL AND SUPERIOR กระดาษ Reboard นวตักรรมใหม สำหรบังานแสดงสนิคา และนทิรรศการ
C.G.S. (THAILAND) CO., LTD.
GLOBAL PUMP MANUFACTURER LEADER
20
• DOUBLE SUCTION SPLIT CASTING • VERTICAL MIXED • VERTICAL AXIAL • SUBMERSIBLE SEWAGE WASTEWATER • SUBMERSIBLE MIXED • SUBMERSIBLE AXIAL
21
รถยก รถลาก และอปุกรณ ขนยาย ที่ครอบคลุม ทุกความตองการ ในทุกอุตสาหกรรม
THAIKO PUVA CO., LTD.
Screw Conveyors 23
COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENT FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED
TRANSFER SYSTEM SCREW CONVEYORS
Pallet
Air Puricfi ation System 24
CORAL • ระบบดดูควนัและฝนุ • เครืองดดูฝนุแรงดนัสงู • เครืองกรองไอนำมนั • เครืองยกระบบศูญญากาศ
Spiral Screw U-Trough Screw Conveyors V-Trough Screw Conveyors Tubular Trough Screw
CPM ENGINEERING CENTER CO., LTD.
GeTeCe Co., Ltd.
SIRIKRAN INDUSTRAL CO., LTD.
April_02/2015
25
PLASTIC PALLET • กนันำ กนัชนื ปลอดเชือรา • ปราศจากเสยีน และตะปู • แขง็แรง ทนทาน ไรกงัวล • ทนตอสภาวะแวดลอมไดดี • ประหยดัเวลา และคาใชจาย • สามารถนำกลบัมา Recycle ได
NAWAPLASTIC INDUSTRAIL CO., LTD.
EDITOR’S PICK | April 2015
TurnLine : New Cermet Grades with Highest Toughness “NS9530/GT9530” For the high performance turning of carbon steels and alloy steels, the Tungaloy Corporation has now launched two new Cermet insert grades. The NS9530 non-coated and the GT9530 coated Cermet grades have been developed by the research and development team at Tungaloy to deliver remarkable fracture resistance, enhanced tool life and superior surface finishes. The new NS9530 non-coated grade incorporates Tungaloy’s “PremiumTec” special surface technology that reduces micro roughness on the surface to support improved tool life. Ideal for finish to medium cutting applications, the NS9530 delivers excellent stability even when conducting interrupted or unstable machining. Created for finish to medium machining at low to medium cutting speeds, the fracture and wear resistance are perfectly balanced to ensure it outperforms competitor grades measurably. For example, under laboratory conditions, the NS9530 grade has doubled the fracture resistance in comparison to competitor inserts Alongside the new NS9530 is the new GT9530 coated Cermet grade from Tungaloy. This new grade now delivers enhanced adhesion between the substrate and the coating layer. This innovation stabilises wear resistance and tool life while delivering a consistently high quality surface finish whereby sudden peeling or fracture are avoided. While the GT9530 insert grade is suitable for machining in the same medium to finish machining parameters as the NS9530, the new GT9530 is more suited to high speed machining applications. Like the NS9530, the GT9530 insert is capable of resisting wear and edge chipping over a wider range of machining speeds and feeds than competitor grades.
» TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD. Tel : (66) 2 751 5711 Fax : (66) 2 751 5715 Website : www.tungaloy.co.th
Drääger PARAT® Escape hoods were developed in cooperation with users – always with the focus on the fastest escape. Optimized operation and wearing comfort, a robust housing and tested filters guarantee that the wearer of the Drääger PARAT® is protected from toxic industrial and fire-related gases, vapours and particles for at least 15 minutes.
READY FOR ESCAPE IN ONLY 3 STEPS
Exceptionally innovative and intuitive: When opening the packaging, the filter plug is automatically released from the filter. The filter is then deployed into operational position and the hood can be immediately donned. Thanks to the self-adjusting internal head harness, no additional adjustment is required. All you have to do is: open the packaging, remove and don the hood and leave the danger zone.
ROBUST AND ERGONOMIC
We at Drääger know: Escape hoods and comparable equipment are usually carried in a closed state and rarely opened – only in situations of danger. That is why both, ergonomics and carrying comfort were considered when designing the packaging of the Drääger PARAT. When on duty, the user can carry the escape hood on a belt or a shoulder strap, a grip clip or a belt clip. The PARAT Hard Case can also be
DrägerPARAT®5500Escapehood
DrägerPARAT® EscapeHoods
mounted on the wall using a wallholder. Additionally, the robust packaging of the Dräger PARAT protects the escape device from damage. You can select between two packaging types: The Hard Case provides splash water protection (IP54) – the Soft Pack provides dust protection (IP5). Both packagings have windows to check the filter expiration date and the condition of the device.
RELIABLE PROTECTION
The escape hoods are equipped with high-performance filters. The filters reliably protect from a wide range of toxic industrial and fire-related gases, vapours and particles. Particularly convenient: The security seal on the packaging shows if the unit has been opened. In addition, the filter is tightly sealed with two filter plugs.
16 YEARS TOTAL SERVICE LIFE
Replacing the filter after 8 years will extend the service life of the Drääger PARAT Escape Hood to 16 years in total. For this, Drääger offers filter replacement service or an expert training for your employees. In the long term, this offers you great cost savings.
» For more info on our solutions please contact us at Sales.Thailand@draeger.com or Tel : 0-2744-0110 Fax : 0-2744-0585 Website : www.draeger.com/Th/th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 107
ถุงมือกันบาดกันเฉือน Kevlar
TufftexTM KEVLAR GLOVES ถุงมือและปลอกแขน KEVLAR ป้องกันการบาดคม เฉีย่ วเฉือน ทนความร้อนได้ดี ถักทอจากเส้นใย KEVLAR 100% เหมาะส�าหรับใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตรถยนต์ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมกระจก อุตสาหกรรมปิโตรเคมี โรงผลิตไฟฟ้า เป็นต้น สินค้าที่จ�าหน่ายได้มาตรฐานตามข้อก�าหนดของโปรแกรมคุณภาพ KEVLAR® โดย ได้รับป้ายเครื่องหมาย “Power of Performance” เพื่อแสดงว่ามีการใช้เทคโนโลยีพิเศษของ KEVLAR® จาก DuPont
ผลิตชุดปฏิบัติงานภาคสนาม Nomex®
ASEAN Customer Support THK ได้ขยายการด�าเนินงานเพื่อเพิ่มกิจกรรมการบริการลูกค้า THK is launching a new customer support service. โดยการเพิ่มกิจกรรมส�าหรับการบริการลูกค้าในประเทศไทย We help our customers in Thailand with a comprehensive support structure • รับผลิตชุดปฏิบัติงานภาคสนาม ชุดหมี ชุดช่าง เช่น ชุดกันความร้อนและประกายไฟ ชุด ซ้อมดับเพลิง ชุดป้องกันไฟฟ้าและทนแรงดันไฟฟ้า ชุดทนสารเคมี เป็นต้น ตัดเย็บด้วยผ้า DuPont™ Nomex® ที่มีคุณสมบัติไม่ลามไฟ ป้องกันเปลวไฟระดับทั่วไป เรามีชา่ งฝีมอื ผูช้ า� นาญงาน ชิน้ งานประณีต เราสามารถผลิตตามแบบทีต่ อ้ งการได้ทงั้ แบบ Standard size และ Tailor-made มีแบบให้เลือกเป็นชุดหมีและแบบเสื้อแยกกางเกงเพื่อ รองรับกับความต้องการทีห่ ลากหลาย ด้วยกระบวนการผลิตและบริการแบบครบวงจร ตัง้ แต่ การแนะน�าผ้าที่ใช้เพื่อความเหมาะสม วัดตัว ออกแบบ แพทเทิร์น ขบวนการตัดเย็บ ปักโลโก้ รีดไอน�้า และแพกกิ้ง ประสบการณ์กว่า 9 ปี ในการผลิตให้แก่บริษัทชั้นน�ามากมาย
» บริษัท ครีเอทีฟ อินโนเวชั่น จ�ำกัด โทร. 02-3755197 ต่อ 235, 250 Website : www.elastomer-polymer.com 108 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
• •
โดยผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่มีประสบการณ์ Technical support by experienced staff from designing stage พร้อมมีสต็อคที่สามารถจัดส่งได้รวดเร็วหลากหลายรุ่น Quick delivery service by variety stock items และมีบริการจัดฝึกอบรมโดยผู้อบรมคนไทย Offering technical trainings by our Thai staff
» THK RHYTHM (THAILAND) CO., LTD. LM System Division Bangkok Branch Tel : 0-2751-3001 Fax : 0-2751-3003 E-mail : thk@trtc.co.th Website : http://www.thk.com/th (Headquarters) 3-11-6, Nishigotanda, Shinagawa-ku, Tokyo 141-8503 Japan Tel : +81-3-5434-0351 Fax : +81-3-5434-0353 (International Sales Department) Website : http://www.thk.com/
JSR Tips: Run-out Run-out นั้นใช้ในการให้ค่าเผื่อส�าหรับพื้นผิวที่เกิดจาการหมุนของเส้นรอบแกนเช่นใน งานกลึง run-out จะหมายถึงเฉพาะความเผือ่ ทีเ่ กิดจากความเแตกต่างของต�าแหน่งหรือรัศมี จากแกนหมุนต่างๆ รอบแกนหมุนเท่านั้นว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ในกรณีนี้เราต้องการ ให้คา่ ความเผือ่ ส�าหรับความแตกต่างของรัศมีระหว่างจุดต่างๆ บนรูปทรงกระบอกนัน้ เมือ่ เทียบ กับแกนหมุน ในการวัดเราจะหมุนชิ้นงานรอบแกนอ้างอิงจากนั้นใช้อุปกรณ์วัดต�าแหน่ง เช่น dial gauge จากนั้นหมุนชิ้นงานไปรอบๆ เพื่อดูว่าค่าต�าแหน่งที่อ่านได้มีการเปลี่ยนแปลงจาก ค่ามากไปน้อยสุดเท่าไร จะยอมรับได้เมื่อค่าความเปลี่ยนแปลงสุงสุดนี้ไม่เกินค่าเผื่อที่ก�าหนด ส�าหรับ run-out จะวัดค่าความเปลีย่ นแปลงสูงสุดนีใ้ นแต่ละระนาบเท่านัน้ ส่วน total run-out จะดูค่าความเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ระนาบนั้น ส�าหรับ total run-out จะหมุนเพลาและเลื่อน อุปกรณ์การวัดไปมาในแนวแกนและจดค่าต�าสุดและสุงสุดน�ามาลบกันเพือ่ หาค่าความเปลีย่ น แปลงสุงสุด ส่วน run-out จะไม่เลื่อนต�าแหน่งอุปกรณ์วัดแต่จะหาความเปลี่ยนแปลงสูงสุด ก่อนซึง่ จะต้องให้ได้ตา่� กว่าค่าเผือ่ ทีก่ า� หนดจากนัน้ ท�าซ�า้ โดยเปลีย่ นต�าแหน่งอุปรกรณ์วดั ไปตาม แนวแกนเพลา total run-out จะมากกว่า run-out เสมอ
IQ Platform Graphic Operation Terminal GOT2000 Series Features • • • • •
High – speed processing Increased memory capacity Easy operations with multi – touch gestures Crisp display with outline fonts and PNG images Enhanced lineup
» บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด 896/19 และ 20 อาคารเอสวี ซิตี้ ออฟฟิศทาวเวอร์ 1 ชั้น 12 ถนน พระราม 3 แขวง บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 Tel: 0-2682-6522 Fax: 0-2682-6020 Website: www.mitsubishifa.co.th
JSR GROUP ขอน�าเสนอ Run-out Gauge System by SK (Niigata Seiki) RUN-OUT GAUGE SYSTEM
• Enable easy concentricity mea-surements using test indicator • A wide selection. Can choose from 2 types of base length, 2 types of rollers and 3 types of carrier for a total of 12 different versions. • Provide 2 µµm maximum accuracy. Ref : Ø20 mm testing work piece. Provideacurate measurement • The timing belt, pulley operation system and grip handle provide frictionfree rotation when measuring • Provided with a fine angle adjustment carriage to offer easy Zero setting. Carriage also provide friction-free movement to Z-axis and support accurate measurement with best fitting • Equipped with ‘work stopper’ that stops the movement during measurement, which allows for radial run-out measurement
» บริษัท จ.ศรีรุ่งเรืองอิมเป็กซ์ จ�ำกัด Central Area: salesjsr@jsr.co.th Tel : 02-327-0351-5, 02-734-4588 » บริษัท ศรีรุ่งเรืองแมชชีนแอนด์ทูลส์ จ�ำกัด Eastern Area: cdcsales@jsr.co.th Tel : 038-743-414-21, 038-215-726-8 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 109
ADEKOM Kompressoren, The world class screw air compressor and treatment system.
ปัม๊ ลมระบบสกรู “ADEKOM” ส�าหรับการใช้งานลมทุกสภาวะอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ปั๊มลมระบบสกรู “ADEKOM” ได้รับการออกแบบส�าหรับการใช้งานหนักอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง (100% Duty Cycle) อุปกรณ์ภายในผลิตในประเทศเยอรมันและอิตาลีที่มีการ ออกแบบเป็นพิเศษ ให้มีความทนทานต่อทุกสภาวะการใช้งานและทุกสถานที่ โดยเฉพาะการ ใช้งานในเขตร้อนอย่างประเทศไทย ปั๊มลมระบบสกรู “ADEKOM” ยังเหนือกว่าด้วยการใช้ งานจริงที่สามารถประหยัดพลังงานได้ในทุกขณะท�างาน (ADEKOM Real Time Energy Saving System) นอกจากนีป้ ม๊ั ลมระบบสกรู “ADEKOM” ยังมีรนุ่ ทีอ่ อกแบบส�าหรับใช้งานในสภาวะพิเศษ ตามการใช้งาน ได้แก่ • Oil Free Screw Air Compressor • High Pressure Air Compressor (Max : 350 bar) • Explosion Proof Screw Air Compressor • Special Gases Compressor (Biogas, Methane, LPG, NGV, etc.) • Air treatment system (Air dryer, air filter) ในด้านการบริการ “ADEKOM” สามารถบริการคุณด้วยทีมวิศวกรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญใน ระบบปั๊มลม สามารถให้ค�าแนะน�าและการติดตั้งปั๊มลมอย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมถึง สามารถบริการซ่อมบ�ารุงปั๊มลมได้ทุกยี่ห้อ
» Adekom Kompressoren (Thailand) Co., Ltd. Tel: 0-2453-2374-5 Fax: 0-2453-2349 E-mail: info@adekom-thailand.com Website: www.adekom-thailand.com
ด้ ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ่ องสว่ า งแอลอี ดี ข อง อโครลักซ์ ได้รับการออกแบบและผลิตใน ประเทศไทย เราจึงได้เปรียบในเรื่องผลิต ภัณฑ์ทหี่ ลากหลาย สามารถตอบสนองได้ทกุ ความต้องการของลูกค้า และตอบสนองได้ ทุกพื้นที่การใช้งาน และนอกเหนือจากผลิต ภัณฑ์รุ่นที่เป็นมาตรฐานของบริษัท เรายัง สามารถออกแบบและผลิต ผลิตภัณฑ์ตาม คุณสมบัติที่ลูกค้าต้องการได้ กินไฟน้อยด้วยคุณสมบัติของแอลอีดี การขับกระแสเพียง 30% จะท�าให้ได้ลูเมนส์ ต่อวัตต์สูงที่สุด แต่ถ้าขับกระแสมากขึ้น จะ ท�าให้ลูเมนส์ต่อวัตต์ลดลง เราจึงออกแบบ ผลิตภัณฑ์โดยขับกระแสให้เม็ดแอลอีดีเพียง 30% แต่เพิม่ จ�านวนเม็ดแอลอีดี เพือ่ ให้กนิ ไฟ น้อยที่สุด แต่ให้แสงสว่างมากที่สุด อุณหภูมิต�่าการออกแบบให้ขับกระแส เพียง 30% ท�าให้พลังงานไฟฟ้าส่วนใหญ่ถูก เปลีย่ นเป็นพลังงานส่องสว่าง เหลือเป็นพลัง งานความร้อนเพียงส่วนน้อย ท�าให้อุณหภูมิ ต�่า อายุการใช้งานยาวนาน ในขณะเดียวกัน ก็ ป ระหยั ด พลั ง งานไฟฟ้ า จากเครื่ อ งปรั บ อากาศด้วยก�าไรมากประหยัดค่าไฟมากทีส่ ดุ ก�าไรจึงมากที่สุด อายุยืนเนื่องจากการออกแบบให้ผลิต ภัณฑ์มอี ณ ุ หภูมติ า�่ ท�าให้เม็ดแอลอีดเี สือ่ มช้า ลง อายุการใช้งานจึงยาวนานขึ้นสว่างมาก ด้วยการออกแบบให้ผลิตภัณฑ์มีลูเมนส์ต่อ วัตต์สงู ทีส่ ดุ รวมทัง้ เทคโนโลยีบริหารจัดการ แสง จึงท�าให้แสงสว่างที่เปล่งออกมาทุกลู เมนส์ ถูกน�าไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ท�าให้ผลิตภัณฑ์ของเรา มีความสว่างมากกว่า ผลิตภัณฑ์ทั่วไป คืนทุนไวเนือ่ งจากการออกแบบให้กนิ ไฟ น้อยทีส่ ดุ ท�าให้ประหยัดค่าไฟได้มากกว่าใคร ระยะคืนทุนจึงเร็วกว่า
110 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
» Thailand Lighting Fair 2015 Tel : 0-2641-5483 # 100, 111, 112 และ 117 E-mail : info@theexhibiz.com Website : www.thailandlightingfair.com
SSI Schaefer LogimatStorage System
Susol VCB lead to Susol legend! Renew your thoughts by subverting the dominant paradigm. Focus your thoughts on the advantages and benefits gained through the Susol. Then you Will be able to achieve the Super Solution.
Susol Vacuum Circuit Breakers • • • • •
Customer needs for the breakers with high Interrupting capacity and large current due to the integration and increase of the load capacity. Worldwide trend of diversification in the medium voltage distribution lines. Increase of the reliability for the temperature characteristics of circuit breakers. Main structure with high reliability application. A variety of accessories and ability to maximize.
บริษัท เอสเอสไอ เชฟเฟอร์ ซิสเต็มอินเตอร์เนชั่นแนล ลอนช์โปรดักใหม่ ลิฟท์เก็บของใน แนวสูงรุ่นใหม่ล่าสุด Logimat บริษัท เอสเอสไอ เชฟเฟอร์ เจ้าตลาดระบบคลังสินค่าอันดับ 1 ของโลกตั้งแต่แร็ควางพา เลท สายพาน ระบบล�าเลียง โมบายแร็ค ไปจนถึงระบบอัตโนมัติ ตอนนี้สร้างนวัติกรรมใหม่ ในการเก็บของประหยัดพืน่ ทีถ่ งึ 80% ซึง่ เป็นคอนเซปใหม่ในการจัดเก็บและเบิกสินค้า จุได้มาก ปลอดภัยมีสามารถล็อคปิดตู้ได้เมื่อเลิกงาน Logimat ตู้เก็บสินค้าสามารถดีไซน์ให้สูงถึง 10 เมตรประหยัดพื้นที่คลังสินค้ากว่า 80% สามารถปรับแต่งความสูงในการเก็บต่อชั้นให้เหมาะ สมกับการเก็บสินค้าหลายประเภท เพิม่ ฟังชัน่ การท�างานให้เชือ่ มต่อกับ ERP ในโรงงานได้ใช้ได้ ทั้งในไลน์ผลิตและคลังสินค้า Voltag 7.2k 12/17.5k 24kV 36kV 40.5kV
Interrupting current 8/12.5/20/25/31.5/40/50k 20/25/31.5/40/50kA 12.5/25/31.5/40k 25/31.5/40kA 25/31.5k
Rated curren 400/630/1250/2000/3150/4000A 630/1250/2000/3150/4000A 1250/2000/2500/3150A 1250/2000/3150 1250/2000/3150
» BTT UNITED CO., LTD. Tel : 0-2586-8733 Fax : 0-2587-8852 E-mail : info@bttunited.com. Website : www.BTTunited.com
เพิม่ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยในทีท่ า� งาน ให้เหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยฟังชั่น พิเศษเอกสิทธิ์เฉพาะ Ligimat SSI Schaefer เท่านั้น • Logilift ระบบอัตโนมัติที่ปรับระดับความสูงให้เหมาะกับผู้ใช้หน้างาน • Logitilt ถาดที่สามารถเอียงอัตโนมัติปรับระดับได้กว่า 45 องศา สามารถเปิดและ ปิดฟังชั่นนี้ได้ ประสิทธิภาพสูงสุด • พื้นที่จัดเก็บสูงสุดได้ถึงหลังคาคลังสินค้า • เหมาะกับสินค้าที่มีการจัดเก็บชิ้นหรือลังและเบิกจ่ายสูงต่อวัน ซึ่งผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้จะน�ามาออกงาน Intelligent Warehouse วันที่ 26-28 สิงหาคม ที่ อิมแพคอารีนา่ เมืองทองธานี เป็นงานแรกทีร่ วมผูน้ า� ในระบบคลังสินค้าในทุกขแนงมารวมตัว ไว้ที่เดียว
» SSI Schaefer Systems International Co.,Ltd. 54 BB Building 9th Fl. Unit 3904-5 Asoke Rd. Tel : 0-2204-0205-10 info@ssi-schaefer.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
| 111
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
144 www.SeeMoreMeasureMore.com
เ
จ ร.อรรชกา ีบุ เรอง
แม่ทัพหญิงแห่งวงการอุตสาหกรรมไทย ขับเคลอนองคกรสู่ความส เร็จอย่างยั งยน ด้วยแนวทางการเพิ่มผลผลิต
เทคนิคการเพิ ม ล ลิตด้วย การลดความเสียหายในงานโลหะ เกาะติดการอนุรัก พลังงานระบบอากาศอัด ในภาคอุตสาหกรรม