Modern Manufacturing

Page 1




บริษัทดำเนินการติดตั้งและผลิตท่อดัก Spiral Pipe กาวาไนท์ สแตนเลส ในการเชื่อมต่อกับเครื่องดักกลิ่นและ AHU โดยช่างชำนาญการ และมีประสบการณ์ด้านดักโดยตรง เรามีโรงงานผลิตงานท่อดัก โดยเครื่องจักรที่ครบวงจรและ ได้มาตรฐานในการผลิตท่อดักทุกชนิด บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด

559/26 หมู่ 7 ตำบลบางพลีใหญ่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540

Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111

E-mail : info@cpmflow.com Website : www.cpmflow.com


C & SLC Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits: - Highly efficient Mouvex principle design - Seal-less design - Self-priming with strong suction power - Dry-run capabilities - Ideal for low and high viscosities - Clean-in Place (CIP) and Sterilize-in-Place (SIP)

Application: - Dairy & yogurt - Cereals

- Beverages, wine and beers - glucofe

- Sauces & chocolate - Cosmetics

P Series Rotary Vane Pumps Features and Benefits: - Highly efficient sliding vane techonology - Self-adjusting vanes sustain perfomance - Self-priming - Line stripping capabilities - Dry-run capabilities - Ideal for thin or non-lubricating, viscous, abrasive and corrosive fluids

Application: - Energy - Pulp & paper

- Food - Bitumen

- Biofuels

- Chemical

A Series Eccentric Disc Pumps Features and Benefits: - Highly efficient - Exceptional self-priming capabilities - No adjustments required - Transfers viscous, non-lubricating, volatile or delicate fluids

HYGHSPIN DF- Hygienic high-pressure twin screw pumps. Features and Benefits: - Differential pressures up to 50 bar - Double-suction pump with 2 product inlets and 1 outlet - Abrasion-free non-contact screws even at high pressure differential - Pumping of aqueous and higly viscous fluids - Hygienic sealing by form rings — no dead spaces - FDA approved elastomers in different qualities

Application : - Beverage industry - Bakery products - Breweries - Confectionery - Delicatessen industry - Dairies & milk industry - Cosmatics & pharmaceuticmls - Cottage cheese - Cream

Application: - Asphalt - Fuel

- Paint & coating - Solvents

- Heavy fuel oil - Emulsions

- Inks & glues - Molasses

ABAQUE™ Series Peristaltic Hose Pumps Features and Benefits: - Seal-less design - Reversible pump - Dry-run capabilities - Self-priming capabilities

Application: - Chemical processing - Industrial water treatment - Municipal water treatment - Mining

- Food - Paints and coatings - Ceramics - Filter press equipment

COPCO CHEMTECH CO., LTD.

89/76 RK Park, Hathairat Rd., Bangchan, Klongsamwa, Bangkok 10510, THAILAND Tel. : +66(0) 2171-5391-2 (Auto), 081-700-8756 Fax. : +66(0) 2171-5287 , +66(0) 2548-7323 E-mail : coct@copcochemtech.co.th Website : www.copcochemtech.co.th





AIR COMPRESSORS AIR DRYER MICROFILTERS เซาท์เทิร์น ครอส | เครื่องอัดลม | เครื่องทำลมแห้ง | เครื่องกรองลมให้สะอาด อีกหนึ่งผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงจาก ประเทศออสเตรเลีย

SOUTHERN CROSS SCREW AIR COMPRESSORS

บริการออกแบบระบบลมอัดที่แหงสะอาดบริสุทธิ์สำหรับ เครื่องคัดแยกสีเมล็ดขาว อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมทั่วไป

-

บริการบำรุงรักษา ฉุกเฉิน 24 ชม. ทุกวัน พร้อมมีอะไหล่ของแท้จากโรงงานผู้ผลิต - ขำย - เชำ - สัญญำบริกำรรำยป - ตรวจซอม - อะไหลของแท้ทุกยี่ห้อ

เปนเครื่องอัดลมแบบโรตำรี่สกรูขับโดยตรง ไมมีชุดเกียร์ ขนำดมอเตอร์ 3 - 540 แรงม้ำ หรือ 2 - 400 กิโลวัตต์ ปริมำณลมอัด 9 - 2624 cfm. แรงดัน up to 13 barg ชุดอัดลม Screw 5/6 อายุการใชงานมากกวา 15 ป มอเตอรประสิทธิภาพสูง TEFC IP 55 กันฝุนละออง 100% มีทั้งชนิดหลอลื่นดวยน้ำมันและชนิดไรน้ำมัน Oil Free สามารถทำงานไดดีในสภาพรอนชื้น - ฝุนละอองมาก

เครื่องทำลมแหง “แหงพิเศษ” แบบ Desiccant, PDP-70 oC

เครื่องทำลมแหง Refrigerated, PDP+3 oC

ชุดกรองฝุน ดักน้ำ-น้ำมัน ละเอียด 0.01 Micron/0.001 ppm

INTEGRATED INDUSTRIAL & ENGINEERING CO., LTD. บริษัท อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

1122 ซ.วชิระธรรมสาธิต 57 ถ.สุขุมวิท 101/1 บางจาก พระโขนง กรุงเทพฯ 10260 Tel : 0-2746-3400 (Auto) Fax : 0-2746-4440 E-mail : iieth@truemail.co.th





ลิขสิทธิ์และเครื่องหมำยกำรค้ำ

เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลีย่ นปลง ตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถประกาศความ เป็นเจ้าของลิขสิทธิไ์ ด้สมบูรณ์ หาก มีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี ารการก ล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปแล้ว ทางนิตยสาร จะไม่ขอกล่าวซ�้า

กำรสงบทควำมเพื่อลงตีพิมพ์ในนิตยสำร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์เวิร์ดบันทึกเป็นรูป แบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียดประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกอง บรรณาธิการโดยตรงที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com

กำรสมัครสมำชิก

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุดเพือ่ เป็นแบบฟอร์ม สมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช� าระเงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 103 หรือ อีเมล marketing@mmthailand.com

กำรติดตอกับบรรณำธิกำรนิตยสำร

ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับเนื้อ หาและรูปแบบ ของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยนิ ดีจะน�ามาตีพมิ พ์ ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชือ่ และทีอ่ ยูส่ �าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อได้ทั้งทางจดหมายตามที่ อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.greenworld@gmail.com

ค�ำประกำศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาห กรรมและการบริ หารธูรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้องรับผิด ชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏในนิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้ เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

COPYRIGHT AND TRADEMARK

As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE

You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.greenworld@gmail.com

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP

You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 103 of at e-mail address: marketing@mmthailand.com

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR

The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.greenworld@gmail.com

THE MANIFEST OF COPYRIGHT

The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.

Copyright© © Green World Publication Co., Ltd.



CONTENTS 28

MARCH 2015 VOL.13 No.145

www.mmthailand.com | www.factoryeasy.com

MODERN MANUFACTURER COVER STORY

32

XXXXXXXXXX XXXXXXXXXX

xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx

INTERVIEW

40

49

ก้าวทัน… เทรนด์พลังงานไทย

การเลือกใช้ AC Adjustable Speed Drives กับมอเตอร์ชนิดต่างๆ ในงาน อุตสาหกรรม

VERTICAL SCOOP

54

INDUSTRIAL TREND ทิศทางการปรับโครงสร้างพลังงานไทย จุดเปลี่ยนเพื่อความยั่งยืน

16 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ELECTRIC TREND

59

ENERGY ALEART โครงการสนับสนุนการลงทุนเพื่อ ปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

PRODUCTIVITY BOOSTER 36 การเพิ่มผลิตภาพองค์กร อย่างมีกลยุทธ์ 38 เติมสุขให้ชีวิตการทำางาน ด้วยธรรมะง่ายๆ UP-TO-DATE 24 COMMUNITY UPDATE 26 SITUATION 85 INDUSTRAIL AGENDA SOURCING CORNER 20 SUPPLIERS INDEX 104 PURCHASING CATALOGUES 107 EDITOR’S PICK


TECHNICAL MATTER 58 GURU ระวัง... น�้าทะเลหนุนสูงกว่าที่คิด

61 PRINCIPLE

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (SMART GRID)

67 R&D CORNER

ผลิตภัณฑ์ ระบบสงถำยกำลัง SKF

อินเวอร์เตอร์ส�าหรับระบบปั๊มน�้าทางการเกษตร โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์

HORIZONTAL COMPETENCY 70 BOTTOM LINE การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย ก�าลังจะกลับมา... อย่างช้าๆ The Growth of Thai Economy Is Going to Gradually Return

73 ALTERNATIVE ENERGY รัฐเพิ่ม FiT ผลิตไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรม เกม Carrot & Stick FiT For Industrial Waste: The Carrot & Stick Game

76 LOGISTIC DESIGN แรงจูงใจของพนักงานขับรถส่งสินค้าที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน Effect of Freight Truck Driver’s Motivation to Work Performance

78 INDUSTRIAL MARKETING กลยุทธ์ 10 ด้านส�าหรับปี 2015 ของ Gartner ตอน 2 Gartner’s 10 Strategies for the Year 2015 (Part 2)

80 REAL TIME สร้าง Social Network ในองค์กรด้วย Bitrix24 Establishing Social Network in Organization with Bitrix24

82 FACTORY 3.0 ทางเลือกเทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสียและแนวทางการจัดการ Wastewater Treatment Technology Options and Management Approaches

MOTOLOGY (THAILAND) CO., LTD. 55/26 Moo 4 Buengkhamphroi, Lamlukka, Pathumthani 12150 Thailand. Tel : 0-2150-7808-10 Fax : 0-2150-7811 E-mail : sales@motology.co.th Website : www.motology.co.th


MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสำร 0-2769-8043 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com ที่ปรึกษา: ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมการผู้จัดการ: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร: จิรภัทร ข�ำญำติ เลขานุการกองบรรณาธิการ: จิดำภำ แจ้งสัจจำ กองบรรณาธิการ: ณัฐกฤตำ พืชนุกลู , คำวี สุขสำลี, สำวิตรี สินปรุ คอลัมนิสต์: พิชัย ถิ่นสันติสุข, ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง, พิชญ์ รอดภัย, ฉันทมน โพธิพิทักษ์, ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ, นเรศ เดชผล หัวหน้าฝ่ายศิลปกรรม: วรพจน์ บุญเกตุ ฝ่ายศิลปกรรม: กิตติศักดิ์ ม้วนทอง, ธนวัฒน์ เชียงโญ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหารฝ่ายขาย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค ประสานงานฝ่ายโฆษณา: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ายบัญชี: เข็มพร นิลเกษ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ เว็บมาสเตอร์: เชิดศักดิ์ แก้วอุทัย พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์ 0-2731-1155-60 โทรสาร 0-2731-0936 Owner : Green World Media (Thailand) Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8043 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Secretary: Jidapa Janksatja Editorial Staff: Nutgritta Puechnukul, Kawee Suksalee, Sawitree Sinpru Columnists: Phichai Tinsuntisook, Dr.Sittichai Farangthong, Pete Rotpai, Chantamon Potipituk, Natawudh Pintongkum, Nares Dechpol Art-Director: Worapot Boonyakate Graphic Designers: Kittisak Mounthong, Tanawat Chaingyo, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Khemporn Nilget Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Webmaster: Chedsuk Kelwuthai Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์ 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket

18 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

จิรภัทร ข�าญาติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail : jirapat.k@greenworldmedia.co.th

13th ANNIVERSARY

Vol.13 No.145 MARCH 2015

MODERN MANUFACTURING ก้าวขึ้นสู่ปีที่ 13 อย่างมั่นคง

สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน ก้าวย่างขึ้นสู่ปีที่ 13 แล้วนะคะ ส�าหรับนิตยสาร MODERN MANUFACTURING นิตยสารอุตสาหกรรมรายเดือน ทีน่ า� เสนอข่าวสารในแวดวงอุตสาหกรรม และสาระความรูใ้ นโรงงานอุตสาหกรรม ครอบคลุมตัง้ แต่พนื้ ฐานกระบวนการผลิต จนถึงการบริหารและจัดการในโรงงานอุตสาหกรรม การเติ บโตของนิ ต ยสาร MODERN MANUFACTURING นั้ น สิ่ ง ส� า คั ญ คื อ การสนั บ สนุ น จากคุ ณ ผู ้ อ ่ า น ที่น่ารักทุกท่าน อีกทั้ง พันธมิตรทั้งทางวิชาการและพันธมิตรผู้สนับสนุนทุกท่าน ทีมงานมุ่งมั่นที่จะพัฒนาและสร้างสรรค์ นิตยสารอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบแทนความเชื่อมั่นของทุกท่านค่ะ ส�าหรับฉบับนี้มีเรื่องราวของ ENERGY SAVING, RENEWABLE ENERGY AND POWER INDUSTRY มาบอก กันค่ะ ดังเช่น คอลัมน์ VERTICAL SCOOP กับข้อมูลที่น่าสนใจจากกูรูด้านพลังงานทดแทน คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธาน กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยค่ะ ซึ่งจะมาเล่าถึงแนวโน้มของพลังงานทดแทน ในปี 2558 และภาพรวมพลังงานในปี 2557 ที่ผ่านมาว่าเป็นอย่างไรบ้าง รวมถึง พลังงานน้องใหม่มาแรงอย่างบลูมบ็อกซ์ ก็มีข้อมูลมาเล่าสู่กันฟัง ติดตามนะคะ ต่อเนื่องกันด้วยข้อมูลชวนรู้เรื่องโครงการสนับสนุนการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์เพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน โดยคุณอัศวิน อัศวุตมางกุร วิศวกรช�านาญการพิเศษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ โดยโครงการดังกล่าว กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เป็นหน่วยงานที่ด�าเนิน โครงการ ปีงบประมาณ 2558 โดยให้การสนับสนุนเงินลงทุนให้เปล่ากับสถานประกอบการในการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร อุปกรณ์ ประกอบด้วย ค่าเครือ่ งจักร วัสดุ อุปกรณ์ใหม่ รวมค่าติดตัง้ โดยสถานประกอบการสามารถขอรับการสนับสนุนได้หลายมาตรการ ทดแทน ของเดิมที่มีประสิทธิภาพต�่า ในวงเงินสนับสนุนไม่เกิน 3,000,000 บาท ต่อราย เงื่อนไขระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 7 ปี ในปีงบประมาณนี้ มีเงินสนับสนุนจ�านวน 500 ล้านบาท ติดตามรายละเอียดในคอลัมน์ ENERGY ALEART ค่ะ ทางด้านเรือ่ งน่ารูท้ สี่ ง่ ตรงมาจาก ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มี ง านวิ จั ย ที่ น ่ า สนใจเรื่ อ งอิ น เวอร์ เ ตอร์ ส� า หรั บ ระบบปั ๊ ม น�้ า ทางการเกษตรโดยใช้ พ ลั ง งาน แสงอาทิตย์ในคอลัมน์ R&D CORNER มาบอกกันนะคะ ส่วนในคอลัมน์ ALTERNATIVE ENERGY ก็มีข้อมูลเรื่อง รัฐเพิ่ม FiT ผลิตไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรม เกม Carrot & Stick มาท�าความเข้าใจไปพร้อมกันนะคะ นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวที่น่าสนใจอื่นๆ อีกนะคะอย่างเรื่องการเลือกใช้ AC Adjustable Speed Drives กับมอเตอร์ชนิดต่างๆ ในงานอุตสาหกรรม โดยคุณปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ในคอลัมน์ ELECTRIC TREND ค่ะ พบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร



SUPPLIER INDEX | March 2015 หน้า

ชื่อบริษัท

1, 28-31 อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.

โทรศัพท์

E-mail / Website

ข้อมูลบริษัท

0-2937-1190

www.emersonprocess.com

EMERSON. CONSITION IT SOLVED.

2

โฮฟ คออินดัส บจก.

0-2284-1100

www.hofcorindus.co.th

Hof Hydraulic สินค้าไทย มาตรฐานโลก

3, 6, 32-35

คอปโก้ เคมเทค บจก.

0-2171-5391-2

www.copcochemtech.co.th

ผู้เชี่ยวชาญด้านปั้มอุตสาหกรรม, อาหาร, ยา, เคมีคอล, ของกินของใช้ ยี่ห้อ WILDEN, MOUVEX, QUATTRO FLOW, JUNG

4

เจเอสอาร์กรุ๊ป

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม

5

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.

0-2325-0321-3

www.cpmflow.com

ความสม�่าเสมอในการท�างานผลักดันให้งานมีคุณภาพพร้อมกับมาตรฐานในความปลอดภัย “Good Team Change The Future”

7

อเดคอม คอมเพรสโซเรน (ประเทศไทย) บจก. 0-2453-2374-5

www.adekom-thailand.com

“World class air compressor”

8

เวอร์ทสั บจก.

0-2876-2727

www.virtus.co.th

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้า ของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก

9

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.

0-2682-6522-31 www.mitsubishifa.co.th

เราน�าเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้าผ่านเครือข่ายในการ จ�าหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล

10

อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2746-3400

iieth@truemail.co.th

เพาเวอร์ซีสเต็ม เครื่องอัดลม เครื่องท�าลมแห้ง เครื่องกรองลมให้สะอาด อีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ คุณภาพสูงจากกลุ่มประเทศยุโรป ประเทศอิตาลี

11

โปรชอป เซนเตอร์ บจก.

0-2181-2317

www.ProshopThai.com

ผู้น�าเข้าอุปกรณ์ท�าความสะอาดอับดับ 1 ของโลกจากประเทศเยอรมัน

12

แอมด้า บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

13

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

www.interlink.co.th

คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ขา่ ยสาย คอมพิวเตอร์และสือ่ สาร รับเหมาติดตัง้

15

อีพีเอ็มซี บจก.

0-2322-1678-87 www.epmc.co.th

จ�าหน่าย พร้อมให้คา� ปรึกษาด้านอุปกรณ์ระบบไอน�า้ และวาล์วทีใ่ ช้ในโรงงานอุตสาหกรรม

17

โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.

0-2150-7808-10 www.motology.co.th

ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF

19

ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักรและ เครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก

21

คอนเควส อิควิปเม้นท์ บจก.

0-2136-2317

www.conquest.co.th

YOUR PARTNER FOR STAINLESS STEEL FITTINGS, VALVES & ACTUATORS

22

อินโนเวชั่น กรุ๊ป (ประเทศไทย) บจก.

0-2375-5197

www.elastomer-polymer.com

“Innovation Group“Polymer Technology Solutions Provider”

23

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

25

เมอซ์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2328-6674-6

phornsak@merz-thailand.com

Built to last technology

27

อิพรอส (ประเทศไทย) บจก.

0-2252-0005

http://thai.tech-dir.com/th

39

ริททัล บจก.

0-2704-6580-8

www.rittal.com/th-en/

Rittal – The System. Faster – better – everywhere.

42

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี

47

ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2910-9728-29 www.tat.co.th

Technological Solutions For You

48

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย

64

ทีเอชเค บจก.

0-2751-3001

www.thk.com/th

ASEAN Customer Support

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71 www.inb.co.th

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.

0-2369-2990-4

www.cgsreboardthai.com

“New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ reboard”

113

แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8

sales@magna.co.th

Pressure Gauges: Nuovo Fima, Gas springs: Bansbach

114

เอสเอสไอ เชฟเฟอร์ ซิสเต็มส์ อินเตอร์ เนชั่นแนล บจก.

0-2204-0205

www.ssi-schaefer.co.th

ผู้น�าตลาดด้านระบบคลังสินค้าและสายพาน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวางแผน ออกแบบ และการติดตั้ง ในสายงานที่เกี่ยวกับ การจัดระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ (Intralogistics)

115

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรม ต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและทุกกลุ่ม อุตสาหกรรม

116

เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.

0-2721-1800

www.apscontrol.co.th

ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรลและอุปกรณ์วัดปริมาณ ฝุ่น, วาล์และหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ อุปกรณ์นิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�าขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�าถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว

20 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


Valves For Aseptic Applications “EXTENSIVE RANGE” Out products are diaphragm and seet valves with on-off function up to the control application matched with the valves , an extensive range of mechanical and electrical equipment for monitoring and control is available.

Twist Max Actuators Small, Strong, Light EGMO is proud to introduce Twist Max, the new series of innovated actuators which offer maximum power in compact size. The unique design saves you as much space as possible! Twist Max actuator are pneumatically operated, and their special structure guarantees increased life cycle and reliability.

ORBITEC MAXPURE FITTINGS SPECIFICATIONS Product Stainless Steel Fittings comply with ASME BPE standards. Gaskets are made from compounds which are FDA approved and USP 87, 88 Pharmaceutical Class VI certified.

EGMO MAXPURE FITTINGS SPECIFICATIONS Product Stainless Steel Fittings comply with ASME BPE standards. Gaskets are made from compounds which are FDA approved and USP 87, 88 Pharmaceutical Class VI certified.

Sanitary Pressure Regulatore • Lifetime warranty on jorlon diaphragm • Accuracy drop ( set point offset ) Performance is best in the industry • Soft seat for ANSI Class VI shutoff available • Corrosion Resistant ASTM A479 316L body housing and T-handle • Spring cylinder contains when disassembled • Diaphragm restraint standard – supports diaphragm during vacuum service • Body/ferrule heat numbers on bottom surface for material traceability

OFFICE ADDRESS CONQUEST EQUIPMENT CO.,LTD. 56 Moo 2, Soi Kanchanaphan Bangplee-Tamru Rd., Phraeksamai, Muang, Samutprakarn 10280

Tel: 02-136-2317

Email: natcha.r@conquest.co.th

Fax: 02-136-2314

Website: www.conquest.co.th




COMMUNITY UPDATE

MARCH 2015

ซีเกทวางแผนปักธง‘นครราชสีมา’

เป็นฐานการผลิตฮาร์ดดิสก์ใหญ่ เทคเอ็นซีเปิดบ้าน

โชว์เทคโนโลยีเครื่องจักรสุดเจ๋ง

คุณสัญชัย นันทกิจโสภณ Managing Director บริษทั เทคเอ็นซี จ�ากัด กล่าว ว่า บริษทั ฯ ด�าเนินธุรกิจน�าเข้าและจ�าหน่ายเครือ่ งจักรหนัก โดยได้รบั ความไว้วางใจจาก หลากหลายแบรนด์ชนั้ น�าระดับโลก และได้รบั การแต่ตงั้ ให้เป็นตัวแทนจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ด้านอุตสาหกรรมอย่างเป็นทางการจากแบรนด์ชนั้ น�าต่างๆ อาทิ Okuma TOYODA Eumach Mitsubishi เป็นต้น ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รบั การยอมรับจากผูใ้ ช้งานทีม่ ที งั้ คุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เปิดบ้านต้อนรับนักศึกษาปริญาโทจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เพือ่ เข้าชมเทคโนโลยี เครือ่ งจักรอันทันสมัยมากทีส่ ดุ ในประเทศไทยพร้อมกับรับฟังค�าบรรยายเกีย่ วกับเทคนิค คอลเทรนนิง่ เซ็นต์เตอร์จากวิทยากรสถาบันไทย-เยอรมัน โดยเป็นสิง่ ส�าคัญส�าหรับการ สร้างนิคมอุตสาหกรรมใหม่ ซึง่ การเดินทางเข้าเยีย่ มชมบริษทั ฯ ในครัง้ นี้ เพือ่ เป็นการ เรียนรูธ้ รุ กิจระหว่างประเทศไทยและเมียนมาร์ ตลอดจนการสร้างโอกาศในการท�าธุรกิจ ระหว่างสองประเทศ นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างสรรค์ประสบการณ์และเสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใน การด�าเนินธุรกิจในประเทศไทยให้แก่คณะศึกษาชาวเมียนมาร์และสามารถพัฒนาน�าไป ใช้ประโยชน์ในการด�าเนินธุรกิจต่อไปอีกด้วย

ไออาร์พีซีเพิ่มประสิทธิภาพ

ดาต้าเซ็นเตอร์ ขานรับเอซี บริษทั ไออาร์พซี ี จ�ากัด (มหาชน) เป็นผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีครบ วงจรแห่ ง แรกของภู มิ ภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิน หน้าเพิ่มประสิทธิภาพดาต้า เซ็ น เตอร์ เ พื่ อ การท� า งานที่ สมบู ร ณ์ แ บบ รองรั บ การ ขยายตัวของธุรกิจบริษทั ไออาร์พซี ี จ�ากัด (มหาชน) เพือ่ ให้การประมวลผลและงาน บริการด้านข้อมูลต่างๆ ในระบบด�าเนินไปอย่างรืน่ ไหล ไม่สะดุด ทีส่ า� คัญช่วยตอบ โจทย์ด้านการบริหารจัดการ และใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วย ประหยัดค่าใช้จา่ ยได้เป็นอย่างดีเยีย่ ม (Smart and Green Datacenter) คุณสุวรรณ ศรีนวล ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษทั ไออาร์พซี ี จ�ากัด (มหาชน) เปิดเผยว่า เป้าหมายของ ไออาร์พซี ี ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือ ปตท. ได้จดั วางแนวทางการด�าเนินธุรกิจไปในทิศทางเดียวกัน ภายใต้แนวคิด Big, Long, Strong โดยมุง่ เน้นสร้างการเติบโตให้กบั ธุรกิจ (Big) พัฒนาโรงกลัน่ ปิโตรเคมีแบบ ครบวงจรไปพร้อมกับการด�าเนินธุรกิจแบบยัง่ ยืน (Long) และต้องมีผลการด�าเนิน งานทีแ่ ข็งแกร่ง (Strong) โดยมีเป้าหมาย คือ การสร้างผลตอบแทนของเงินลงทุน (Return on Investment Capital) เพือ่ ให้ ไออาร์พซี ี เป็นบริษทั ทีม่ ผี ลก�าไรอยูใ่ น อันดับต้นๆ ของบริษทั แม่ ปตท. ดังนัน้ ไออาร์พซี ี จะต้องด�าเนินการเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพทุกภาคส่วน หนึง่ ใน ภารกิจส�าคัญของฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การเพิม่ ประสิทธิภาพดาต้าเซ็นเตอร์ ให้สามารถรองรับการเติบโตของของข้อมูลทีจ่ ะหลัง่ ไหลเข้ามายังระบบในปริมาณ มากจากการขยายตัวของธุรกิจ ทัง้ นี้ ประมาณการว่า จ�านวนข้อมูลทีจ่ ะมีการขยาย ตัวน่าจะสูงถึง 10 เปอร์เซ็นต์ตอ่ ปี ท�าให้บริษทั ฯ ต้องเพิม่ ประสิทธิภาพของดาต้า เซ็นเตอร์ให้สามารถรองรับการเติบโตทีจ่ ะตามมา ซึง่ วิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ เร็วทีส่ ดุ และ ประหยัดค่าใช้จา่ ยมากทีส่ ดุ คือ การปรับปรุงดาต้าเซ็นเตอร์ทใี่ ช้งานอยูใ่ ห้สามารถ ท�างานได้เต็มประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ 24 24 MODERN | MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINEMAGAZINE

บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี จ� า กั ด มหาชน (NASDAQ: STX) ประกาศสร้างอาคารใหม่ เพิ่ ม เติ ม ในโรงงานผลิ ต และ วิจัยพัฒนาทีม่ อี ยูเ่ ดิมในจังหวัด นครราชสีมา (โคราช) ด้วยเงิน ลงทุ น 1.53 หมื่ น ล้ า นบาท (470.7 ล้านเหรียญดอลลาร์ สหรัฐ) ภายในระยะเวลา 5 ปี ซึ่งการลงทุนในครั้งนี้เป็นการตอกย�้าถึงความส�าคัญของโรงงานผลิต ใน จ.นครราชสีมา โดยในปัจจุบนั ถือเป็นศูนย์ผลิตฮาร์ดไดรฟ์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกของซีเกท ทัง้ นี้ อาคาร ใหม่ดังกล่าวจะช่วยเพิ่มพื้นที่การผลิตขึ้นอีกร้อยละ 49 จากขนาดเดิม 160,060 ตารางเมตร เป็น 237,856 ตารางเมตร ซึ่งจะท�าให้ซีเกทสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดที่เพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากการเติบโตของเทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจในปัจจุบัน มร.เจฟฟรี่ย์ ดี ไนการ์ด รองประธานอาวุโส ฝ่ายปฏิบัติการหัวอ่านและบันทึกข้อมูล บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี จ�ากัด มหาชน กล่าวเพิม่ เติมว่า ศักยภาพของอาคารหลังใหมในประเทศไทย นี้ จะส่งผลให้ซีเกทสามารถรองรับเทคโนโลยีใหม่ได้ดยี ิ่งขึ้น ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ด้านการ ผลิตเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการส�าหรับการผลิตทัว่ โลก และพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในการผลิตให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ อาคารหลังใหม่น้ี คาดว่าจะแล้วเสร็จพร้อมใช้งานได้ในปี พ.ศ.2559 ซึ่งจะส่งผลให้เกิด การจ้างงานเพิ่มขึ้นราว 2,500 ต�าแหน่ง และเป็นการช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยซี เกทจะใช้งบการก่อสร้างอาคารและสิ่งอ�านวยความสะดวกถึง 4.6 พันล้านบาท (141.5 ล้านเหรียญ ดอลลาร์สหรัฐ) และใช้อีก 1.07 หมื่นล้านบาท (329.2 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ) เพื่อลงทุนด้าน เครือ่ งจักรกลและอุปกรณ์ตา่ งๆ สะท้อนให้เห็นถึงการลงทุนอย่างต่อเนือ่ งของบริษทั ฯ ในประเทศไทย ตลอดระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า

เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ จัดงานแสดงเทคโนโลยีโลหะ

GMTN 2015 ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก

เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ พร้ อ มแล้ ว กั บ การจั ด งาน แสดงเทคโนโลยี โ ลหะ GMTN 2015 ซึ่งประกอบ ด้วยงานแสดงเทคโนโลยี โลหะ 4 งาน (งานจีฟา่ งาน เมทเทค งานเธิร์มพรอเซส และงานนิวแคสท์) และเป็น เวทีทใี่ ห้ผปู้ ระกอบการทัว่ โลกได้พบปะเรียนรูน้ วัตกรรม รวมไปถึงทิศทางของอุตสาหกรรมโลหะ ณ เมือง ดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี ระหว่างวันที่ 16-20 มิถุนายน 2558 ภายใต้แนวคิด ‘Bright World of Metals’ ส�าหรับประเทศไทยถูกเลือกให้เป็นตัวแทนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการจัด งานสัมมนาเพื่อแนะน�าและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับงานดังกล่าว ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นประเทศ ที่มีศักยภาพและมีอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมโลหะอย่างต่อเนื่อง มร.เฟรดริค จอร์จ เคเรอร์ ผู้อ�านวยการจัดงานแสดงเทคโนโลยีโลหะ GMTN 2015 กล่าว ว่า งานแสดงเทคโนโลยีโลหะของเรามีสัญญาณเป็นไปทางทิศทางบวกแตกต่างจากงานแสดงสินค้าที่ จัดขึน้ ในสถานทีอ่ นื่ ๆ ซึง่ งานแสดงเทคโนโลยีโลหะทัง้ 4 งานได้ครองต�าแหน่งระดับโลกทีไ่ ม่มใี ครเทียบ เท่าได้ ด้วยภูมิประเทศและการอ�านวยความสะดวกของ เมืองดุสเซลดอร์ฟ จึงท�าให้เป็นสถานที่แห่ง เดียวเท่านั้นที่บริษัทต่างๆ สามารถเข้าถึงตลาดทั่วโลกได้ทั้งหมด ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ส�าคัญอย่างยิ่งในการ ด�าเนินธุรกิจ งานแสดงเทคโนโลยีโลหะ คือ งานยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกด้านการหล่อโลหะและเป็นที่รู้จักกันในชื่อ GMTN มีประวัตยิ าวนานถึง 60 ปี ถูกจัดขึน้ เป็นประจ�าทุก 4 ปี ณ เมืองดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกันทางด้านโลหะทั้งหมด เริ่มต้นจากอุตสาหกรรม ต้นน�า้ อย่างการหล่อโลหะจนเกิดเป็นเหล็ก ผ่านขบวนการน�าความร้อน และปิดท้ายด้วยการหล่อโลหะ เพื่อการขึ้นรูป โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโลหะทั่วโลกเกือบ 2,000 ราย จาก 83 ประเทศ ให้มาพบปะและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันบนพื้นที่จัดแสดงใหญ่ถึง จ�านวน 12 ฮอลล์ เป็น ระยะเวลา 5 วัน


W21-CAST IRON FRAME-HIGH EFFICIENCY-IE2

-

Output: 0.12 up to 330KW Frame: 63 up to 355M/L Class F insulation (temp rise B) Continuous duty: S1 Regreasing nipple from frame 225S/M and above - Thermistors (1 per phase) fitted in frame 160 and above - Suitable for inverter duty application

HGF Motor: High Performance / Low Maintenance costs

-

Output: 90KW to 3150KW Frame 315 to 630 Voltage: 380 to 6600V. Class F insulation (temp rise B) Degree of protection: IP55 Cooling Method: TEFC IC411 Thermal protection: Windings: 3-wire PT-100, 2 per phase Bearings: 3-wire PT-100, 1 per bearing

WEG motors are recognizing as of high reliability motors around the world, it is applied from most simple applications up to process line and crushers M Line Motor: Different Configurations in reference to cooling method and degree of protection - Cast iron frame 280 to 560 / Welded steel plates for frame 630 to 1800 - Sinusoidal power supply of 220 to 13,800 V. - Motor manufactured in 2 to 12 poles - Degree of protection: IP23 to IP55 - Class F insulation (temp rise B) - Thermal protection: Windings: 3-wire PT-100, 2 per phase Bearings: 3-wire PT-100, 1 per bearing

MVW01 Medium Voltage Drive - Motor voltage: 2.3KV., 3.3KV. or 4.16KV. - Power up to 8000HP (6000KW) - Totally digital with a 32 bit, high performance processor (64 bit busbar) - Removable Man-Machine Interface (LCD/LED) with easy operation double display - Mounted on an IP41 / NEMA 1 panel - Air cooled - 12 Pulse input rectifier (18 or 24 pulse optional); high power factor (>0.96) and high displacement power factor (>0.97) - Optical fibers between power and control - Imposed voltage

Authorized Distributor : Merz (Thailand) Co., Ltd. 555/119 On-Nut Rd., Pravej, Bangkok 10250 Tel : 0-2328-6674 Fax : 0-2328-6678 Email : phornsak@merz-thailand.com



PRODUCTIVITY BOOSTER

การเพิ่มผลิตภาพองค์กร

อย่างมีกลยุทธ์ เรื่อง: คาวี สุขสาลี เรียบเรียงจากงานสัมมนา MODERN MANUFACTURING FORUM 2014

ผลิตภาพ... ปัจจัยสร้างเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน

ผลิตภาพ (Productivity) ในมุมมองใหม่ อาจ หมายถึง กระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร และลูกค้า โดยค�านึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม คนและชุมชน จากความไม่แน่นอนของสถานการณ์ ในอนาคต ด้วยแนวคิดผลิตภาพสีเขียว (Green Productivity) การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงอย่าง ก้าวกระโดด (Innovation) และการบูรณาการความ ร่วมมือ (Collaboration) ผลิตภาพ เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของการจัดสรรและการใช้ทรัพยากร อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังเป็นเสมือนตัวชี้วัด ประสิทธิภาพของเศรษฐกิจ เช่น ปริมาณผลผลิตที่ ได้รับเหมาะสมกับปริมาณแรงงานหรือชั่วโมงการ ท�างาน เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลถึงศักยภาพความน่า ลงทุนของประเทศอีกด้วย ทัง้ นี้ องค์กรต่างๆ จ�าเป็น ต้องมุง่ เน้นการสร้างผลิตภาพ เพือ่ เสริมสร้างอ�านาจ ในการแข่งขัน ทั้งในระดับธุรกิจและระดับประเทศ ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมผลิตภาพขององค์กรให้สูง ขึ้ น ได้ นั้ น มี ห ลายปั จ จั ยด้ วยกั น ได้ แ ก่ การน� า เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาปรับใช้ การวิจัยและ พัฒนา และที่ส�าคัญที่สุด คือ การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ อย่างไรก็ตาม อีกหนึง่ ปัจจัยทีไ่ ม่ควรมองข้าม คือ ความสามารถขององค์กร

สร้างผลิตภาพเพื่อองค์กร

องค์กรทีม่ ผี ลิตภาพสูงนัน้ คือ องค์กรทีใ่ ห้ความ ส�าคัญกับปัจจัยหลายด้าน เริ่มจากการให้ความ ส�าคัญกับความต้องการของลูกค้า การให้ความส�าคัญ กับพนักงาน การมุง่ เน้นการท�างานเป็นโครงการ และ ส่งเสริมการแบ่งปันข้อมูล ในการออกแบบองค์กรผลิตภาพนัน้ จ�าเป็นต้อง วางกลยุทธ์ในการด�าเนินงานและสามารถขับเคลือ่ น ให้บรรลุเป้าหมายได้ ซึง่ จ�าเป็นต้องอาศัยโครงสร้าง องค์กรทีม่ กี ารจัดการอย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ ท�างานที่ง่ายไม่ซับซ้อนและรวดเร็ว การสร้างแรง จูงใจด้วยการมอบรางวัลตอบแทน และสุดท้าย คือ การพัฒนาคน ด้านทักษะ และความสามารถ อันจะ ส่งผลถึงประสิทธิภาพขององค์กรโดยตรง 36 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


ปัจจัยเพิ่มผลิตภำพในองค์กร

ดร. ต่อเกียรติ น้อยส�าลี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

ในระยะเวลาอี ก ไม่ กี่ ป ี ข ้ า งหน้ า แนวโน้มของผลิตภัณฑ์ก�าลังลด ลง แต่ไม่ได้หมายความว่าความ ต้องการของผูบ้ ริโภคมีนอ้ ยลง แต่ ความต้องการนั้นเปลี่ยนรูปแบบ ไปจากเดิม คือ ผู้บริโภคมีความ ต้องการที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น สิ่งที่ตามมา คือ รูปแบบของการ ผลิตสินค้าแบบเดิมๆ ที่เน้นการ ผลิตในปริมาณมากๆ (Mass Production) จะไม่สามารถด�ารงอยู่ ได้อีกต่อไป แต่จะเปลี่ยนไปสู่รูป แบบที่ เ รี ย กว่ า การผลิ ต สิ น ค้ า เฉพาะกลุ่ม (Niche Production) มากขึ้น ซึ่งรูปแบบที่เปลี่ยนไปนี้ เราในฐานะผู้ผลิตจึงจ�าเป็นต้อง ตามให้ทัน และมุ่งเน้นการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่ตัวสินค้า ไม่ว่าจะ เป็นรูปลักษณ์ เอกลักษณ์ หรือ แม้แต่การให้ความส�าคัญกับสิ่ง แวดล้อม ล้วนเป็นสิ่งที่จ�าเป็นต่อ การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า นอกจากนี้ ในอนาคต ภาคอุตสาห กรรม จะเปลี่ยนรูปแบบจากการ เป็นห่วงโซ่อุปทานเดี่ยว (Single Supply Chain) ไปสู่การเป็นห่วง โซ่อุปทานแบบเครือข่าย (Network Supply Chain) ซึ่งเป็น โครงข่ายห่วงโซ่อปุ ทานทีส่ ามารถ เชื่อมโยงถึงกันได้ทุกๆ ธุรกิจ และ มีความซับซ้อนมากกว่าเดิม สิ่ง หนึง่ ทีผ่ ผู้ ลิตจ�าเป็นต้องค�านึงถึงใน สภาพการเปลีย่ นแปลง เช่นนี้ คือ การสร้างเสริมผลิตภาพ ในทุกมิติ PRODUCTIVITY BOOSTER มี ใจความที่น่าสนใจ เรื่องการเพิ่ม ผลิตภาพอค์กรอย่างมีกลยุทธ์ ซึ่ง บรรยายโดย ดร. ต่อเกียรติ น้อย ส�าลี สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ มาบอกกันครับ

ปัจจัยทีจ่ า� เป็นส�าหรับการสร้างผลิตภาพองค์กร ประกอบ ด้วย ผลิตภาพสีเขียว (Green Productivity) การร่วมมือ (Collaboration) การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added) และ การสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovation) ผลิตภาพสีเขียว หรือ Green Productivity ถือเป็น กลยุทธ์หนึ่งในการเพิ่มผลิตภาพขององค์กร โดยมุ่งเน้น กระบวนการทีจ่ ะช่วยลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม การพัฒนา คุณภาพชีวิต ซึ่งจะต้องอาศัยเทคนิค เทคโนโลยี และระบบ การจัดการทีเ่ หมาะสมในการผลิตสินค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ การสร้างผลิตภาพสีเขียว มีบทบาท ส�าคัญในการเพิ่มผลิตภาพขององค์กรได้โดยตรง สามารถ สร้างก�าไร ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ และสามารถสร้าง คนได้ จึงกล่าวได้ว่า การเพิ่มผลิตภาพด้วยด้วยกระบวนการ สีเขียวนั้นจะเป็นแนวโน้มการพัฒนาแห่งอนาคตที่ยั่งยืนที่สุด นวัตกรรม (Innovation) เป็นกระบวนการในการ สร้างสรรค์ให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ทมี่ มี ลู ค่าต่อลูกค้าและองค์กร ด้วยการพัฒนา ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลง ให้มีลักษณะ เฉพาะทีแ่ ตกต่างจากเดิม และสามารถน�าไปใช้ประโยชน์และ เพิ่มมูลค่าได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ สาเหตุที่จ�าเป็นต้องมีการสร้างสรรค์นวัตกรรมอยู่เสมอ เนื่องจากความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอด เวลา และกลุ่มลูกค้าที่มีความหลากหลายและเฉพาะเจาะจง มากขึน้ เทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้าและมีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ รวมทั้งการแข่งขันในภาคธุรกิจ ฉะนั้น ผู้ผลิตจึงไม่อาจอยู่นิ่ง ได้อกี ต่อไป จ�าเป็นต้องก้าวให้ทนั และก้าวล�า้ อยูเ่ สมอ ด้วยการ คิดและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ที่เรียกว่านวัตกรรมอยู่เสมอ นั่นเอง

นวัตกรรม สามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ

1. แบ่งตามรูปแบบ (Form) 1.1 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ เป็นการออกแบบองค์ประกอบใหม่ทั้งหมดหรือบาง ชิน้ ส่วนของผลิตภัณฑ์ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพหรือประโยชน์ใน การน�าไปใช้งาน รวมถึงเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ องค์กร นอกจากนี้ ยังครอบคลุมถึงการน�าเทคโนโลยีเข้ามา เพิ่มสมรรถนะของผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ จัดอยู่ในสินค้าอุปโภคบริโภค ได้แก่ รถยนต์ โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ส�านักงาน เครื่องส�าอาง อาหาร รวมไปถึงกลุ่มสินค้าประเภทบ้านลด พลังงาน อุปกรณ์ เครือ่ งมือ และเครือ่ งจักรในโรงงาน เป็นต้น 1.2 นวัตกรรมบริการ เป็นรูปแบบใหม่ของกระบวนการให้บริการทีเ่ ปลีย่ น แปลงและแตกต่างจากเดิม โดยจะส่งผลถึงรูปแบบการด�าเนิน ธุรกิจ ซึ่งส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพที่สูงขึ้นและสามารถตอบ สนองความต้องการของลูกค้าในสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป นวัตกรรมบริการ เช่น การให้บริการฝากเงินผ่าน ระบบฝากเงิ น อั ต โนมั ติ การให้ บ ริ ก ารซื้ อ ตั๋ ว ผ่ า นตู ้ แ บบ ออนไลน์ การให้บริการซื้อขายสินค้าทางออนไลน์ เป็นต้น 1.3 นวัตกรรมกระบวนการ เป็นการออกแบบขัน้ ตอนในการด�าเนินการทีม่ คี วาม แตกต่างจากที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้ บริการและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งนวัตกรรม

กระบวนการจะท�าให้ขั้นตอนในการปฏิบัติเปลี่ยนแปลงไป และมักส่งผลกระทบต่อสังคมในภาพรวม นวัตกรรมกระบวนการ เช่น การน�าเสนอขั้นตอนใหม่ใน กระบวนการจ่ายและเก็บเงินหรือระบบ ERP ลูกค้าสามารถ ฝากและถอนเงินที่เคาท์เตอร์บริการโดยไม่ต้องมีการเขียน เอกสาร การส่งรายชื่อชิงรางวัลด้วยการส่ง SMS แทนการ ส่งไปรษณีย์แบบเดิมๆ เป็นต้น 2.

แบ่งตามความแปลกใหม่และทันสมัย (Degree of Novelty) นวัตกรรมลักษณะนี้ สามารถแบ่งออกได้ตามระดับการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ดังนี้ 1. การเปลี่ยนเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย เป็นลักษณะที่ไม่ ได้เปลี่ยนแปลงระบบของผลิตภัณฑ์ แต่เปลี่ยน แปลงในบางองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์เท่านั้น 2. การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใหม่ทั้งหมด 3. การเปลี่ยนระบบของผลิตภัณฑ์ แต่องค์ประกอบ ของผลิตภัณฑ์มีการเปลี่ยนแปลงบางส่วน 4. เปลีย่ นแปลงทัง้ ระบบและองค์ประกอบใหม่ทงั้ หมด การเปลีย่ นแปลงรูปแบบธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงและยก ระดับสินค้าและบริการอย่างสร้างสรรค์ จะส่งผลให้องค์กรมี การพัฒนาอยูเ่ สมอ และน�าองค์กรไปสูก่ ารเป็นองค์นวัตกรรม ในที่สุด

สร้างสรรค์องค์กร สูก่ ารเป็นองค์กรนวัตกรรม องค์กรที่มีขีดความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ในด้านต่างๆ โดยมีการบริหารจัดการระบบและทรัพยากร ต่างๆ ในองค์กรให้ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม เพือ่ สร้างมูลค่าและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กบั องค์กร อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน นอกจากนัน้ การสร้างบรรยากาศในการท�างานให้มคี วาม คล่องตัว และเกิดการสร้างสรรค์ ก็เป็นแรงกระตุ้นที่มีพลัง อย่างมาก ที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์กร น�าไป สู่การเพิ่มผลิตภาพพนักงาน และลดค่าใช้จ่ายในการด�าเนิน งานในระยะยาว ผู ้ น�า ถื อ เป็ น ผู ้ ที่ มีบ ทบาทส� า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นให้ องค์กรก้าวสู่การเป็นองค์กรนวัตกรรม ซึ่งผู้น�าที่ดี จะต้องมี วิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มองเห็นอนาคตใหม่ๆ และสามารถ วิเคราะห์เหตุการณ์ในปัจจุบนั ได้อย่างชัดเจน สามารถคิดนอก กรอบ มีพลังขับเคลื่อนภายใน และสามารถสร้างทีมที่มี คุณภาพได้ สิ่งส�าคัญในการขับเคลื่อนองค์กรสู่การเปลี่ยนแปลง คือ การมีสัญชาตญาณการรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง (Sense of Urgency) เป็นสัญชาตญาณของการตืน่ ตัวอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ คิดถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และมองหาโอกาสที่รออยู่ใน อนาคต อันจะส่งผลกระทบต่อการด�าเนินงานและผลก�าไรของ องค์กร เพื่อหาแนวทางในการจัดการให้องค์กรเติบโตอย่าง ยั่งยืน จากกระแสความเปลี่ ย นแปลงบนโลกใบนี้ ส่ ง ผลให้ องค์การต่างๆ ในทุกธุรกิจ สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้อย่างไร้ ขอบเขต การพัฒนาที่ยั่งยืนเท่านั้น ด้วยการปรับปรุงและ สร้างสรรค์นวัตกรรมจะเป็นตัวช่วยให้ธรุ กิจต่างๆ สามารถยืน อยู่ได้บนภาวะของการแข่งขันเฉกเช่นทุกวันนี้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 37


PRODUCTIVITY BOOSTER | PRODUCTIVITY CORNER สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

เติมสุขให้ชีวิตการท�างานด้วย

ธรรมะง่ายๆ คนท�างานถ้าไม่มีความสุข ประสิทธิภาพในการท�างาน ก็ จะลดลงตามไปด้วย หลายหน่วยงานให้ความส�าคัญ ในเรื่อง การท�าให้คนท�างานมีความสุข โดยเฉพาะหน่วยงานทีเ่ น้นเรือ่ ง ความคิดสร้างสรรค์อย่าง Google ส�านักงานใหญ่ เป็นแบบ อย่างที่ชัดเจนของการสร้างบรรยากาศให้คนท�างานมีความ สุข ด้วยหลักสูตรอบรมภายในให้แก่พนักงานกว่าพันคน ทีช่ อื่ ว่า ‘Search Inside Yourself’ หรือ ‘จงค้นหาตัวตนภายใน ของตน’ เป็นหลักสูตรเข้มข้นที่มุ่งเน้นการพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ทั้ง 5 ประการ คือ การรู้จักตนเอง การควบคุม ตนเอง แรงจูงใจ ความใส่ใจ และทักษะทางสังคม โดย ประยุกต์หลักวิทยาศาสตร์ผสมผสานกับการฝึกสติ และการ พัฒนาความเป็นผู้น�าแบบบูรณาการเข้าด้วยกัน ซึ่งหลักสูตร

ดังกล่าว มีส่วนช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพของการท�างาน และเมื่อประสิทธิภาพมีมากขึ้น ผลผลิตก็ตามมาเช่นกัน ดัง จะเห็นได้จากผลงานของ Google ที่ผ่านมา ค�าว่า ‘ผลิตภาพ’ ‘ประสิทธิภาพ’ และ ‘ความสุข’ จริงๆ แล้ว แทบแยกกันไม่ออก เพราะประสิทธิภาพช่วยท�าให้เกิด ผลิตภาพ และ ถ้าต้องการประสิทธิภาพที่ยั่งยืน คนท�างานก็ ย่อมต้องมีความสุขด้วย ผลิตภาพก็จะตามมา เมื่อพูดถึงความสุข บางคนคิดว่าการที่จะมีความสุขได้ ต้องไม่ทา� งาน ถ้าท�างานก็จะไม่มคี วามสุข แต่จากประสบการณ์ ของหลายคนกลับพบว่า การไม่ทา� งานต่างหากทีจ่ ะท�าให้ทกุ ข์ เพราะการท�างานไม่ได้เพียงแค่สร้างรายได้เท่านัน้ แต่งานยัง ท�าให้เกิดความสุขขึน้ ในใจจากการทีไ่ ด้ใช้ความสามารถให้เกิด

หัวข้อการอบรม การผลิตแบบลีน (Lean Production) จิตวิทยาจูงใจเพื่อผลงานที่ดี วิธีสร้างดัชนีชี้วัดความส�าเร็จของงาน (KPIs: Principles to Practices) การวิเคราะห์กระบวนการผลิตตามแนวทาง VSM (Value Stream Mapping) การจัดการซัพพลายเชนและโลจิสติกส์สมัยใหม่ 38 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

วันเวลา 8-9 เมษายน 2558 21 เมษายน 2558 23-24 เมษายน 2558 28 เมษายน 2558 29-30 เมษายน 2558

ประโยชน์เต็มที่ ใช้ศักยภาพอย่างเต็มก�าลัง เพื่อเพิ่มพูน ศักยภาพของตนเองอีกด้วย ทัง้ นี้ งานจะมีคณ ุ ค่าหรือไม่นนั้ อยูท่ เี่ รามองเห็นคุณค่าของ งานทีเ่ ราท�าหรือไม่ ถึงแม้บางงานจะดูตา�่ ต้อยในสายตาคนอืน่ แต่ถา้ เราเห็นคุณค่า ในงานของเรา เราก็จะมีความสุขเกิดขึน้ มาในใจเอง อย่างเช่น รปภ. ท�าหน้าที่โบกรถเข้า-ออกอาคาร แต่เขาก็ท�างานอย่างมีความสุข เพราะเขาภาคภูมิใจว่าตนได้ ท�างานที่ส�าคัญ โดยท�าหน้าที่ดูแลและรักษา ความปลอดภัย ให้แก่ทกุ คน และทุกคนก็ตอ้ งเชือ่ ฟังเขาเวลาทีเ่ ขาให้สญ ั ญาณ มือ ในทางกลับกัน หากเขาไม่เห็นคุณค่าในงานที่ท�า เขาก็จะ ท�าแบบซังกะตาย เหนื่อย และท้อเพราะท�าด้วยความทุกข์ ฉะนัน้ งานกับความสุขจึงเป็นเรือ่ งเดียวกัน อยูท่ ที่ ศั นคติ และ มุมมองของแต่ละคน ตามหลักพระพุทธศาสนาสอนไว้ว่า การจะท�างานให้มี ความสุข จะต้องมี ฉันทะ คือ ท�างานด้วยความรัก ความชอบ งานจึงจะออกมาดี ท�าแล้วมีความสุข ถึงแม้จะเหนื่อย แต่ ความสุขนั้นจะเกิดขึ้นระหว่างการท�างาน วิริยะ มีความขยัน หมั่นเพียร จิตตะ มีจิตใจจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ท�า และสุดท้าย วิมงั สา ใคร่ครวญเพือ่ ปรับปรุงให้ดขี นึ้ เหล่านีร้ วมกันเรียกว่า ‘อิทธิบาท 4’ ซึ่งเป็นหนทางน�าไปสู่ความส�าเร็จที่เกิดขึ้นจาก ภายใน นอกจากหลักธรรมแล้ว การมีจิตใจจดจ่ออยู่กับปัจจุบัน มุ่งมั่นอยู่กับสิ่งที่ท�าอยู่เบื้องหน้า ใจก็จะเป็นสมาธิ เกิดความ สุขและเพลิดเพลินกับงานที่ท�า ผลงานก็จะออกมาดี ไม่พะวง อยู่กับสิ่งที่ยังไม่เกิด ดั่งค�าพูดที่ว่า ‘เดินทีละก้าว กินข้าวทีละ ค�า ท�าทีละอย่าง’ หรือจากประสบการณ์ นักปีนเขา เล่าว่า ถ้ามัวมองไปที่ยอดเขาสูงชันและไกลลิบก็จะท้อ เขาจะสนใจ เพียงพืน้ ดินทีอ่ ยูต่ รงหน้า แล้วค่อยๆ เดินไปทีละก้าว อย่าหยุด จนกว่าจะถึงจุดหมาย การท�างานก็เช่นกัน ไม่ว่างานจะใหญ่ แค่ไหนก็ตอ้ งแบ่งแยกงานออกมาและจดจ่ออยูก่ บั สิง่ ทีท่ า� งาน ใหญ่ก็ส�าเร็จลุล่วงได้ และสิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ การมองโลกในแง่บวก เป็นอีกสิง่ หนึ่งที่จะท�าให้ใจเราเป็นสุข เมื่อเจอสิ่งที่แย่ๆ หรือค�าวิจารณ์ ต่างๆ ให้พยายาม ฝึกมองในแง่บวกดูบ้างแล้วความทุกข์ก็ จะลดน้อยลง เช่น อุปสรรค/ ความล้มเหลว ท�าให้เรามี ประสบการณ์มากขึ้นหรือการได้รับมอบหมายให้ท�างานที่ไม่ ถนัดก็ให้คิดว่าได้ท�างานที่ท้าทายความสามารถ ท�าให้งานดู น่าสนใจมากขึน้ แต่ถา้ เรามองแต่ในแง่ลบก็จะเห็นแต่ขอ้ ต�าหนิ ตัวเราเองจะไม่มีความสุขเลย

พระพุทธเจ้าสอนว่า ให้มองคนที่ท้วงติงวิจารณ์ว่า ‘ผู้ชี้ขุนทรัพย์’ นอกจากจะฝึกให้มองโลกในแง่บวกแล้ว ก็ต้องเปิดใจ เรียนรูด้ ว้ ย ต้องท�างานด้วยความใฝ่รู้ มีความสุข ตืน่ เต้น รูส้ กึ สนุกกับสิง่ ทีท่ า� ถึงแม้ผลทีอ่ อกมาจะส�าเร็จหรือล้มเหลวก็ตาม เพราะอย่างน้อยก็ได้เรียนรูห้ ลายสิง่ หลายอย่างจากตรงนัน้ ก็ จะท�าให้ได้บทเรียนเพือ่ น�ามาช่วยพัฒนาการท�างานให้ดยี งิ่ ขึน้ ต่อไป ถ้ามองเห็นคุณค่าของงานและท�าอย่างมีสติ งานนั้นก็ จะบันดาลใจให้เป็นสุข จากการบรรยายในหัวข้อ เติมเต็มความคิด เติมชีวติ การท�างาน ให้เป็นสุข ด้วยธรรมะง่ายๆ โดย พระไพศาล วิสาโส Productivity Talk วันอังคารที่ 16 ธันวาคม 2557 การฝึกอบรมประจ�าเดือนเมษายน 2558 ข้อมูลเพิ่มเติม: www.ftpi.or.th หรือ http://www.ftpi.or.th/portals/0/Public/PublicTraining


RITTAL LTD.

122/1 Krungthep-Kreetha Road Kwaeng Sapansoong Khet Sapansoong Bangkok 10250 Thailand Phone : +66 (0) 2704 6580-8 Fax : +66 (0) 2704 6589


VERTICAL SCOOP

...พลังงานทีป่ รากฏบนโลกนีถ้ อื เป็นปัจจัยส�าคัญต่อการด�าเนินชีวติ ของประชากรทัง้ โลก โดยพลังงานหลัก คือ พลังงานทีใ่ ช้แล้วหมดไปหรือพลังงานฟอสซิล เช่น น�า้ มัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น และพลังงานหมุนเวียน เช่น น�า้ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล อ้อย ไม้ เป็นต้น VERTICAL SCOOP ครัง้ นี้ ถ่ายทอดสถานการณ์พลังงานของไทยในประเด็นทีน่ า่ สนใจทัง้ สถานการณ์พลังงาน ทดแทนในปี 2558 รูปแบบพลังงานแสงอาทิตย์ทที่ วั่ โลกต้องใช้ พลังงานบลูมบ็อกซ์ และอัพเดทสถานการณ์พลังงาน ไทยปี 2557 ในปีทผี่ า่ นมาเพือ่ ร่วมติดตามเทรนด์เรือ่ งพลังงานของไทยกันค่ะ หากพูดถึงพลังงานทดแทนถือได้วา่ พลังงานทีม่ อี ยูม่ ากมายไม่วา่ จะเป็นพลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล อ้อย ไม้ เป็นต้น โดยพลังงานดังกล่าวนักลงทุนให้ความส�าคัญและน�ามาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพือ่ ชดเชยพลังงานฟอสซิล ทีก่ า� ลังจะหมดลงในอนาคตอันใกล้ โดยบริบททีก่ ล่าวในตอนต้น ‘Modern Manufacturing Magazine’ มีโอกาส สัมภาษณ์กรู ดู า้ นพลังงานทดแทน คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ไปฟังเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจกันค่ะ...

สถานการณ์พลังงานทดแทนในปี 2558

คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยถึง สถานการณ์พลังงานทดแทนปี 2558 ว่า พลังงานทดแทนประเทศไทย สดใสมาก โดยเฉพาะด้านไฟฟ้าในส่วนของพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติ ให้ส่งไฟฟ้าเข้าระบบภายในเดือนธันวาคม 2558 ส�าหรับโครงการที่ยังค้างท่ออยู่ประมาณ 1,000 กว่าเมกะวัตต์ จึงท�าให้บรรยากาศการลงทุนของธุรกิจนี้มีความคึกคักมาก นอกจากนี้ พลังงานทดแทนที่น่าสนใจยังมีชีวมวล (Biomass) ที่รัฐบาลให้ Feed –in Tariff Premium: FiT ตั้งแต่ 2.39-5.34 บาทต่อหน่วยเป็นระยะเวลา 20 ปี ซึ่งจะท�าให้พืช พลังงานประเภทต่าง ๆ กลับมาได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น หญ้าเนเปียร์ ส่วน พลังงานขยะ แม้ว่ารัฐบาลจะให้การส่งเสริมแต่อัตรา Feed –in Tariff Premium: FiT ใหม่ แต่ยงั ไม่อยูใ่ นระดับทีด่ งึ ดูดใจนักลงทุนมากนัก คาดว่าสถานการณ์ยงั คงมีการชะลอตัวตลอด ปี 2558 คุณพิชัยกล่าวย�้าว่า ในปีพ.ศ. 2558 ยังมีข้อกังวลใจหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่ รัฐบาลออกนโยบายเปิดประมูลพลังงานทดแทนในแต่ละประเภท โดยจะเลือกแต่ละพื้นที่ ออกมาให้เอกชนที่สนใจเข้ายื่นประมูล ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อบรรยากาศการลงทุนท�าให้ ธุรกิจรายเล็กไม่สามารถแข่งขันกับรายใหญ่ได้ “รัฐบาลออกนโยบายให้มีการประมูล โดยก�าหนดให้แต่ละเชื้อเพลิงมาประมูลแข่งกัน เพื่อขอไฟฟ้า อาทิ พลังงานขยะ นอกจากต้องประกวดราคาที่เทศบาลแล้ว และยังต้อง มาประกวดที่กระทรวงพลังงานอีก ซึ่งในทางปฏิบัติไม่สามารถท�าได้ เว้นแต่นักลงทุนที่มี โครงการขนาดก�าลังการผลิตไฟฟ้าเกิน 10 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ ในปี 2558 การลงทุนพลังงาน ทดแทนคาดว่าจะเป็นไปตามเป้าหมายอย่างแน่นอน เนื่องจากยังขาดเชื้อเพลิงที่จะน�ามา ผลิตไฟฟ้า” คุณพิชัยกล่าว 40 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

พลังงานทดแทนไทยพุ่งรับ AEC...

คุณพิชัยกล่าวต่อว่า ส�าหรับการเปิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) ปี พ.ศ. 2558 กลุม่ ธุรกิจพลังงานทดแทนจะได้รบั ประโยชน์อย่างมาก เนือ่ งจากประเทศไทย ถือเป็นประเทศทีม่ ศี กั ยภาพสูงในด้านพลังงานทดแทนในภูมภิ าคแห่งนี้ และยังเปิดโอกาสให้ สามารถรับซื้อวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาใช้ในโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนมากขึ้น เช่น การรับซือ้ เศษเหลือทิง้ ในอุตสาหกรรมปาล์มน�า้ มันจากประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย เข้ามาใช้ในโรงไฟฟ้าทลายปาล์มในภาคใต้ หรือรับซื้อเศษไม้อัดแท่งจากประเทศเมียนมาร์ เข้ามาเป็นวัตถุดิบในโรงไฟฟ้าชีวมวล ปัจจุบันเริ่มมีประเทศเจ้าของเทคโนโลยีเข้ามาตั้งฐานในประเทศไทยเพื่อท�าโครงการ ตัวอย่างด้านพลังงานทดแทน เช่น ตั้งโครงการสาธิตโรงไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวภาพ เพื่อใช้ ประเทศไทยเป็นฐานในการกระจายเทคโนโลยีออกไปสู่อาเซียน ซึ่งประเทศไทยจะได้รับ ประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางดังกล่าว เพราะจะท�าให้คนที่สนใจในเรื่องพลังงานทดแทน เข้ามาดูงานและศึกษาในประเทศของเรามากขึ้น อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีศักยภาพสูงที่สุดในอาเซียน ซึ่ง ประเทศทีม่ ศี กั ยภาพใกล้เคียงกับประเทศไทย คือ ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึง่ เป็น ประเทศที่มีพลังงานเหลือใช้ จึงไม่มีการพัฒนาอย่างจริงจัง ส่วนประเทศฟิลิปปินส์จะเน้น พลังงานลมเป็นหลัก เพราะมีภูมิประเทศเป็นเกาะและมีพลังงานใต้พิภพมาก จึงค่อนข้าง แตกต่างจากของประเทศไทยที่มีการพัฒนาค่อนข้างครบถ้วน นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญด้าน พลังงานทดแทนของประเทศไทยที่มีศักยภาพมีโอกาสเข้าไปท�างานในโครงการที่เกี่ยวข้อง กับพลังงานทดแทนอีกด้วย

ฉะนั้น จะเห็นได้ว่าประเทศไทยถือเป็นประเทศที่มีศักยภาพที่จะสามารถผลิตกระแส ไฟฟ้าจากพลังทดแทน อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล พลังงานขยะ และใน อนาคตจะน�าพลังงานบลูมบ็อกซ์ถือเป็นนวัตกรรมน้องใหม่ เพื่อน�าใช้ในประเทศอีกด้วย


... พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานสะอาดและปราศจากมลพิษ

จึงได้รบั ความสนใจจากนักลงทุนเนือ่ งจากสามารถน�ามาใช้อย่าง ไม่หมดสิน้ โดยเฉพาะการพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตเป็นกระแส ไฟฟ้า โดยพลังงานดังกล่าวสามารถช่วยเสริมความมัน่ คงให้ กับกลุม่ ชุมชนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีห่ า่ งไกลทีก่ ระแสไฟฟ้ายังเข้าไม่ถงึ ให้สามารถใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าได้จากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ และยังช่วยลดปัญหาโลกร้อนได้อกี ทางหนึง่ ด้วย ทัง้ นี้ ข้อมูลทีก่ ล่าวในบริบทด้านล่างอ้างอิงมาจากกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เพือ่ ใช้เป็นผูอ้ า่ นได้ทราบถึงเทคโนโลยีของ พลังแสงอาทิตย์และสามารถน�าไป ปรับใช้กับการติดตั้งแผง โซลาเซลล์ได้ ...

เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์

พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใช้แล้วเกิด ขึ้นใหม่ได้ตามธรรมชาติ เป็นพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็น พลังงานที่มีศักยภาพสูง ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถจ�าแนกออกเป็น 2 รูปแบบคือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า และการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน ส�าหรับเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ได้แก่ ระบบ ผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบ่งออกเป็น 3 ระบบประกอบด้วยดังนี้ เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand-Alone System) เป็นระบบผลิต ไฟฟ้าที่ได้รับการออกแบบส�าหรับใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ไม่มีระบบสายส่งไฟฟ้า อุปกรณ์ระบบที่ส�าคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการ ประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็น ไฟฟ้ากระแสสลับแบบอิสระ

เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจ�าหน่าย (PV Grid Connected System) เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบส�าหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบ ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับเข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟ้าโดยตรง ซึ่งเหมาะ ส�าหรับใช้ผลิตไฟฟ้าในเขตเมืองหรือพื้นที่ที่มีระบบจ�าหน่ายไฟฟ้าเข้าถึงอุปกรณ์ ระบบที่ ส� า คั ญ ประกอบด้ ว ยแผงเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ อุ ป กรณ์ เ ปลี่ ย นระบบ ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดต่อกับระบบจ�าหน่ายไฟฟ้า เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system) เป็นระบบผลิต ไฟฟ้าที่ถูกออกแบบส�าหรับท�างานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่นๆ เช่น ระบบ เซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม และเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ กับพลังงานลม และไฟฟ้าพลังน�้า เป็นต้น โดยรูปแบบระบบจะขึ้นอยู่กับการ ออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็นกรณีเฉพาะ ส่วนเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน ได้แก่ การผลิตน�้า ร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์และการอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 41


พลังงานบลูมบ็อกซ์ นวัตกรรมน้องใหม่

‘บลูมบ็อกซ์ เอนเนอร์จี้ เซิร์ฟเวอร์’ หรือเรียกสั้นๆ ว่า ‘บลู ม บ็ อ กซ์ ’ ผลิ ต โดยบริ ษั ท บลู ม บ็ อ กซ์ เอนเนอร์ จี้ เซิร์ฟเวอร์ จ�ากัด แห่งซันนีเวล รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้เทคโนโลยี Solid Oxide Fuel Cell (SOFC) ในการผลิตไฟฟ้า ส�าหรับกระบวนการท�างานนั้น อาศัยกระบวนการไฟฟ้าเคมี แปลงอากาศกับแหล่งเชือ้ เพลิง ต่างๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติ ไบโอแก๊ส ไฮโดรเจน เป็นต้น เพือ่ สร้างเป็นพลังงานไฟฟ้าซึ่งให้ก�าลังไฟฟ้าถึง 100 กิโลวัตต์ ส�าหรับหลักการการผลิตไฟฟ้าด้วยตัวจ่ายพลังงาน บลูมบ็อกซ์ประกอบด้วย 3 ส่วนดังนี้ • Electrolyte: Electrolyte ตัวจ่ายพลังงานบลูมท�า จากทราย มีคณ ุ สมบัตเิ ป็นเซรามิค ซึง่ ท�าหน้าทีเ่ ป็นตัวกลาง ในการน�า Oxygen Ions จาก Cathode ไปยัง Anode • Anode: บริษัท บลูมบ็อกซ์ เอนเนอร์จี้ เซิร์ฟเวอร์ จ�ากัด ยังไม่เปิดเผยวัสดุที่ใช้ท�า Anode แต่ในปัจจุบันทั่วไป จะใช้ NiZrO2 เป็น Anode ซึง่ มีคณ ุ สมบัตใิ นการน�าไฟฟ้า และเป็นตัวกลางในการน�า Oxygen Ions ทนความร้อน ไม่ ท�าปฏิกริ ยิ ากับ Electrolyte และเกิดปฏิกริ ยิ าไฟฟ้าเคมีได้ดี • Cathode: บริษัท บลูมบ็อกซ์ เอนเนอร์จี้ เซิร์ฟเวอร์ จ�ากัด ไม่เปิดเผยวัสดุทใี่ ช้ทา� Cathode เช่นเดียวกับ Anode วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ท� า Cathode จะต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ใ นการน� า อิเล็กตรอนและไอออน ไม่ท�าปฏิกิริยากับ Electrolyte ทน ต่อความร้อน และช่วยให้เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีได้ดี ดังนั้น จึงใช้ LaMnO3 (LSM) ซึง่ มีคณ ุ สมบัตดิ งั กล่าวเป็น Cathode ทัง้ นี้ บลูมบ็อกซ์จะท�างานทีอ่ ณ ุ หภูมปิ ระมาณ 600 - 800 องศาเซลเซียส โดยมีขนั้ ตอนในการผลิตไฟฟ้าดังนี้ 1. ไอน�า้ ถูกผสมกับเชื้อเพลิงเพื่อให้เกิดการคือสภาพทางเชื้อเพลิง ซึง่ จะถูกส่งไปยัง Anode 2. อากาศถูกให้ความร้อนและส่ง ไปที่ Cathode อากาศร้อนสัมผัส Cathode ท�าให้เกิด Oxygen ions 3. Oxygen ions ถูกส่งไปยัง Anode ผ่านทาง Electrolyte ซึง่ จะยอมให้ Oxygen Ions ผ่านเท่านัน้ 4. การ คือสภาพทางเชือ้ เพลิง และ Oxygen Ions ท�าปฏิกริ ยิ าไฟฟ้า เคมีใน Anode ท�าให้เกิดพลังงานไฟฟ้า น�า้ ความร้อน และ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 5. น�า้ และความร้อนทีไ่ ด้จะน�ากลับ มาผลิตไอน�า้ และ เป็นการคือสภาพทางเชือ้ เพลิงอีกครัง้ โดย ขัน้ ตอนการผลิตปรากฏดังภาพต่อไปนี้ (PIC-1)

(บรรยายใต้ภาพPIC-1) รูปขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าของบลูมบ็อกซ์

ตารางสรุปข้อมูล Bloom Energy Fuel Cell

Capacity per server (4 modules) Efficiency Generation cost Lifespan Capital cost Water consumption CO2 emission

44 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

100 kW 50 – 55% 13 -14 cents/kWh 10 years (estimation with fuel cell replacement) 700,000 - 800,000 USD / 100 kW 240 Ga/server per year 373 g/kWh

อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีในบลูมบ็อกซ์จะไม่ได้มีผลต่อ แนวทางการบริโภคไฟฟ้าในแคลิฟอร์เนียเท่านัน้ แต่จะมีผล ต่อทั้งโลก เนื่องจากเซลล์เชื้อเพลิงที่ท�าจากซิลิกอนซึ่งสกัด ได้จากทรายจะใช้อากาศผสมกับเชื้อเพลิงหลากหลาย เช่น ไฮโดรเจน ก๊าซมีเทน หรือก๊าซธรรมชาติ เพื่อสร้างกระแส ไฟฟ้า โดยผลที่ได้จากบลูมบ็อกซ์คือ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ เชื้อเพลิงได้ตามที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งจะท�าให้การใช้งานใน พื้นที่ห่างไกลทั่วมุมโลกสามารถท�าได้อย่างเสรีมากขึ้น นอกจากเอกลักษณ์เรื่องการรองรับเชื้อเพลิงที่หลาก หลาย ซึ่งจะท�าให้การใช้งานในท้องถิ่นห่างไกลทั่วมุมโลก สามารถท�าได้ในต้นทุนทีย่ ดื หยุน่ ขณะเดียวกันบลูมบ็อกซ์ยงั เหนือกว่าเทคโนโลยีพลังงานสะอาดพืน้ ฐานอย่าง พลังงาน ลมหรือพลังแสงอาทิตย์ ซึง่ ยังไม่มกี ารพัฒนาให้สามารถผลิต ก�าลังไฟฟ้าได้เพียงพอและสม�า่ เสมอเช่นทีบ่ ลูมบ็อกซ์ทา� ได้


พลังงานแสงอาทิตย์ อาจเป็นพลังงานทางเลือกของผู้คนที่อาศัยอยู่ตามหัวเมือง ในพื้นที่จังหวัดต่างๆ แต่ส�าหรับ คนที่อาศัยอยู่ตามเกาะและพื้นที่ห่างไกลความเจริญถือได้ว่า ‘พลังงานแสงอาทิตย์’ จึงกลายเป็นพลังงานหลักที่ช่วย หล่อเลีย้ งชีวติ ได้ ด้วยเหตุนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จึงได้นา� เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ มาปรับใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าให้กับชุมชนบ้านเกาะฮั่ง จังหวัดกระบี่

มจธ. ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าแบบ ผสมผสานชนิดย้ายได้... บนเกาะฮั่ง

ดร.อุสาห์ บุญบ�ารุง หัวหน้าทีมวิจัยห้องปฏิบัติการวิจัยบูรณาการระบบพลังงานสะอาด มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เปิดเผยว่า พลังงานแสงอาทิตย์ถือเป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับผู้ที่อาศัยอยู่ตามเกาะ โดยบ้านเกาะฮั่งถือเป็นอีกหนึ่งชุมชนบนเกาะที่มีพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ซึ่งตั้งอยู่ต�าบลเกาะศรีบอยา อ�าเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ แต่บ้านเกาะฮั่งไม่ได้อยู่ในแผนขยายเขตบริการไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เพราะมีข้อจ�ากัดด้าน ภูมิประเทศ มีสภาพเป็นเกาะขนาดเล็กมีพื้นที่ประมาณ 15.43 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 498 คน และถูกมองว่าไม่คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการติดตั้งระบบจ�าหน่ายระยะไกลๆ ดังนั้น บ้านเกาะฮั่งจึงเป็นชุมชนรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ท่ีไม่มีไฟฟ้าใช้ แต่จะใช้ระบบผลิตไฟฟ้าจากเครื่องยนต์ดีเซล ขนาดเล็กจ�านวน 30 เครื่อง เพื่อใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จึงท�าให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นกว่า 60 บาท/วัน/เครื่อง หรือ ปริมาณการใช้น�้ามันดีเซลเพื่อการผลิตไฟฟ้าในเกาะประมาณ 60 ลิตร/วัน (1,800 บาท/วัน) ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการ บ�ารุงรักษาเครือ่ งยนต์ และค่ารักษาพยาบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากสุขภาวะของชาวบ้านทีแ่ ย่ลงเพราะมลพิษจากการท�างาน ของเครื่องยนต์ดีเซล จากปัญหาดังกล่าวท�าให้ ดร.อุสาห์ บุญบ�ารุง นักวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และทีม นักวิจัยห้องปฏิบัติการวิจัยบูรณาการระบบพลังงานสะอาด มจธ. ได้มีแนวคิดในการน�าระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน ด้วยพลังงานหมุนเวียนชนิดเคลื่อนย้ายได้ขนาดเล็ก รุ่น PHPS 5-2.5 (Pico Package Hybrid Power Supply )ไป ติดตั้งให้กับชาวบ้านและโรงเรียนบนเกาะฮั่ง

กระบวนการท�างานของ... ระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน

ดร.อุสาห์กล่าวต่อว่า ระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานด้วยพลังงานหมุนเวียนชนิดเคลื่อนย้าย ได้ขนาดเล็กรุ่น PHPS 5-2.5 ประกอบไปด้วย ระบบโซลาร์เซลล์ ก�าลังการผลิต 0.72 กิโลวัตต์ พร้อมอินเวอร์เตอร์แบบเชือ่ มต่อสายส่งขนาด 1.2 กิโลวัตต์ มีดเี ซลเจเนอเรเตอร์ขนาด 2 กิโลวัตต์ ส�าหรับจ่ายไฟฟ้าเสริมในช่วงทีร่ ะบบโซล่าเซลล์หรือแบตเตอรีจ่ า่ ยพลังงานไม่เพียงพอ อินเวอร์เตอร์ แบบสองทิศทางขนาด 2.2 กิโลวัตต์ แบตเตอรี่ความจุ 4.8 กิโลวัตต์-ชั่วโมง ส�าหรับเก็บสะสม พลังงาน มีระบบควบคุมและระบบป้องกันฟ้าผ่า มีระบบควบคุมการเริ่ม/หยุดเดินเครื่องยนต์ อัตโนมัติ มีระบบวัดและเก็บข้อมูลอุตุนิยมวิทยา (ความเข้มรังสีอาทิตย์ ความเร็วลม อุณหภูมิ) มี ระบบติดตามข้อมูลการท�างานของระบบผ่านสมาร์ทโฟน โดยระบบผลิตไฟฟ้า PHPS 5-2.5 มีความสามารถในการผลิตไฟฟ้ารวมไม่ต�่ากว่า 5 กิโลวัตต์ จ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส 230 โวล์ท 50 เฮิร์ต ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ส�าหรับระบบแสงสว่าง วิทยุทวี เี พือ่ รับรูข้ า่ วสาร หรือตูเ้ ย็นขนาดเล็ก ซึง่ น�าไปสูก่ ารลดค่าใช้จา่ ย และยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีด่ า� เนินการระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานชนิดเคลือ่ นย้ายได้สา� หรับโรงเรียน ในพื้นที่ห่างไกลหรือกิจกรรมของชุมชน อนึ่ง PHPS 5-2.5 คือ ผลของการต่อยอดระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานชนิดเคลื่อน ย้ายได้ Packaged Hybrid Power Supply (PHPS) รุ่น 39-25 ภายใต้โครงการจัดหาระบบผลิต ไฟฟ้าแบบผสมผสานชนิดเคลือ่ นย้ายได้สา� หรับอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ซึง่ ขณะ นี้ PHPS รุ่น 39-25 ติดตั้งและใช้งานแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 ที่ผ่านมาในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ 3 แห่งคือ อุทยานแห่งชาติตาดหมอก จังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานแห่งชาติแม่เมย จังหวัดตาก และ อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ เป็นต้น ซึ่งมีการผลิตกระแสไฟฟ้าแบบผสมผสานจากพลังงานโซลาร์เซลล์ กังหันลม และดีเซลเจน เนอเรเตอร์ ติดตั้งร่วมกับคอนเทนเนอร์ขนาด 2.5 x 6 เมตร สูง 2.5 เมตร ก�าลังการผลิตรวมไม่ น้อยกว่า 39 กิโลวัตต์ ความสามารถในการผลิตพลังงานโดยระบบพลังงานสะอาดประมาณ 25 กิโลวัตต์-ชัว่ โมง/วัน ลดการใช้นา�้ มันดีเซล และค่าใช้จา่ ยของอุทยานและเพิม่ ศักยภาพในการปฏิบตั ิ งานของเจ้าหน้าที่อุทยานฯ และจากความส�าเร็จดังกล่าวทีมนักวิจัยห้องปฏิบัติการวิจัยการบูรณา การระบบพลังงานสะอาด มจธ.จึงตั้งใจผลิตรุ่น PHPS 5-2.5 ให้มีขนาดเล็กลงสามารถเคลื่อนย้าย ได้ง่ายกว่ามาติดตั้งให้กับชาวบ้านบนเกาะฮั่ง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 45


...พลังงานนัน้ มีความส�าคัญกับประเทศไทยและทัว่ โลกเป็นอย่างมาก ขณะทีป่ ระเทศไทยผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ทุกประเภท ทั้งพลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ รวมทั้งประเภทน�้ามันก็ยังผลิตและใช้แก๊สโซฮอลล์ ไบโอดีเซล นอกจากนี้ยังมีแผนพัฒนาพลังงานทดแทนเป็น 25% ภายใน 10 ปี (พ.ศ.2555-2564) มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มสัดส่วนการใช้ พลังงานทดแทนให้เป็น 25% ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศภายในปี 2564 โดยข้อมูลดังกล่าวมาจากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เพือ่ ให้ทราบถึงสถานการณ์ในการใช้พลังงานของประเทศไทย...

สรุปสถานการณ์พลังงานของประเทศไทยในปี 2557

ประเทศไทยมีการใช้พลังงานในช่วง 11 เดือนของปี 2557 มีปริมาณ 69,923 พันตัน เทียบเท่าน�้ามันดิบ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.4 คิดเป็นมูลค่ากว่า 1,665 พันล้านบาท การใช้พลังงานยังคงเพิม่ ขึน้ ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยทีน่ า�้ มันส�าเร็จรูป ยังคงเป็นพลังงานที่ใช้มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 47.6ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายทั้งหมด รองลงมาประกอบด้วย ไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียนดั้งเดิม พลังงานหมุนเวียนก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ลิกไนต์คิดเป็นร้อยละ 19.0 11.2 8.5 7.2 และ 6.5 ตามล�าดับโดยปรากฏดัง

รูปภาพต่อไปนี้ (ภาพที่ PIC-3) นอกจากนี้ในช่วงในช่วง 11 เดือนของปี 2557 ประเทศไทยมีการน�าเข้า พลังงาน คิดเป็นมูลค่ากว่า 1,234 พันล้านบาท โดยมีการน�าเข้าน�้ามันดิบมาก ทีส่ ดุ ทัง้ นี้ ราคาน�้ามันดิบดูไบเฉลีย่ ในตลาดโลกอยูท่ ี่ 100.0 เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล

ซึ่งปรากฏดังภาพต่อไปนี้ (ภาพที่ PIC-4) จากการทีร่ ฐั บาลมีนโยบายส่งเสริมให้มกี ารใช้พลังงานทดแทนในประเทศเพิม่ มากขึน้ รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดยลดสัดส่วนการใช้พลังงานต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวม (Energy Intensity) พบว่า ในช่วง 11 เดือนของปี 2557ประเทศไทยมีการใช้พลังงานทดแทน 8,274 พันตันเทียบเท่าน�้ามันดิบ เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 10.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนสัดส่วนการใช้พลังงานต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องดังนี้ (ภาพที่ PIC-5) เรื่องของ ‘พลังงาน’ มาพร้อมกับการพัฒนาที่น�าไปสู่นวัตกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับแต่ละสถานการณ์ของภาวการณ์พลังงานโลกนะคะ ดังนั้น สิ่งส�าคัญของภาคอุตสาหกรรมเรื่อง การใช้พลังงาน คือ จะใช้พลังงานในรูปแบบใดให้คุ้มค่าและสอดคล้องกับการด�าเนินธุรกิจ โดยขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศอีกด้วย ด้วยการเท่าทันความเปลี่ยนแปลงและ 46 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE





ELECTRIC TREND

การเลือกใช้

AC Adjustable Speed Drives กับมอเตอร์ชนิดต่างๆ ในงานอุตสาหกรรม เทคโนโลยีทางด้านการควบคุมความเร็วเครื่องจักรกล ในงานอุตสาหกรรมอย่างเหมาะสม เพื่อลดการสูญเสียพลังงานและการ สึกกร่อนทางกล รวมถึงการท�างานของเครือ่ งจักรกลได้อย่างเต็มประสิทธิภาพด้วยไดรฟ์ควบคุมความเร็วปรับได้ในแบบต่างๆ...

ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 49


รูปที่ 2: แสดงโครงสร้างภายนอกและส่วนประกอบของ ‘Eddy Current Clutches’ แหล่งทีม่ าภาพ: http://www.superstreetonline.com/how-to/additional-tech/modp-1108-a-true-rolling-road/)

รูปที่ 1: แสดงระบบการท�างานของ ‘Variable Frequency Drive/Motor System’

ไดรฟ์ปรับความเร็ว (Adjustable Speed Drive: ASD) เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้เพือ่ ให้การควบคุมความเร็วในการประมวล ช่วงต่อเนื่อง โดย ASD มีความสามารถในการปรับทั้ง ความเร็ ว และแรงบิ ด จากการเหนี่ ย วน� า หรื อ ซิ ง โครนั ส มอเตอร์ นอกจากนี้ ASD อาจมีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น Variable Speed Drives, Adjustable Frequency Drives หรือ Variable Frequency Inverters อย่างไรก็ตาม หลัก การพื้นฐานมีหลักการเดียวกับ ‘DC Drives’ ที่ใช้การปรับ เปลี่ยนความถี่ขณะใช้งาน

การปรับปรุงที่ทันสมัย ส�าหรับการใช้งานปัจจุบัน

การใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมการท�างานทีม่ คี วาม แม่นย�าและถูกต้องมากกว่าแทนระบบแอนาลอก โดยใช้การ ควบคุมแบบดิจิตอล (Digital Control Capability) โดย ระบบถูกอออกแบบให้มีความเสถียรภาพของเพาเวอร์แฟค เตอร์ (Built-in Power Factor Correction) วงจรกรอง สัญญาณรบกวนจากความถี่วิทยุ (Radio Frequency Interference Filters: RFI) วงจรป้องกันการลัดวงจร (Short Circuit Protection: Automatic Shutdown) วงจรตรวจ จับต�าแหน่งการหมุนของมอเตอร์ (Detect Motor Rotor Position) การคับปลิ้งของระบบ Motor Control Centers (MCC) กับ ASD โดยตรวจสอบระบบการท�างานของมอ เตอร์แบบเรียลไทม์ การสตาร์ทที่แรงบิด ณ ความเร็วรอบ ที่ต�่ามากๆ (แรงบิดสตาร์ทตั้งแต่ 150% ขึ้นไป) โดย ‘Adjustable Speed Drives’ มีค่าประสิทธ์ภาพ การท�างานมากที่สุด (98% ณ Full Load) เมื่อเทียบกับ ชุ ด ไดรฟ์ ป ระเภทอื่ น ๆ ที่ ใ ช้ ค วบคุ ม ความเร็ ว มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรง (AC/DC Motors) ไดรฟ์ควบคุมความเร็วปรับได้ (Adjustable Speed Drive: ASD) หรือไดรฟ์ควบคุมความเร็วแบบผันแปร (VariableSpeed Drive: VSD) ท� า หน้ า ที่ ค วบคุ ม ความเร็ ว ของ 50 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

รูปที่ 3: แสดงขั้วของแม่เหล็กของ Switched Reluctance Motor และโครงสร้างภายนอก

เครื่องจักรของกระบวนการทางอุตสาหกรรม เช่น ในสาย การประกอบชิ้นงานที่ใช้ความเร็วของสายพานล�าเลียงที่ แตกต่างกัน เป็นต้น เพื่อเหตุผลการประหยัดพลังงาน เมื่อ เทียบกับการใช้เทคนิคอื่นๆ ทัง้ นี้ ปกติกลไกการขับความเร็วอาจมีการปรับเปลีย่ นได้ เองแปรผันตามความเร็วด้านเอาท์พทุ มักจะเรียกการปรับ ความเร็วแบบนีว้ า่ ‘ความเร็วผันแปร หรือ Variable-Speed’ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของการควบคุมความเร็วหลักๆ ในงานอุตสาหกรรมได้ดังนี้ คือ การควบคุมวาล์ว Eddy Current Clutches, Hydraulic Couplings, Variable Pitch Sheaves, DC Solid State Controllers, AD Adjustable Speed Drives โดยที่ไดรฟ์สามารถแบ่งตามขนาดใช้งาน (Horse Power, Voltage) ตามความต้องการตัง้ แต่ขนาด ก�าลังน้อยกว่า 500 HP ส่วนขนาดกลางมีกา� ลังใช้งานมากกว่า 2000 HP ขึ้ น ไปที่ ม อเตอร์ ใ ช้ ง านตั้ ง แต่ 4kV และมี หม้อแปลงไฟฟ้าเอาต์พตุ ต่อเชือ่ มระหว่างระหว่างไดรฟ์และ มอเตอร์ (Common Mode Voltage) ‘Variable Frequency AC Drives’ จะประกอบด้วยวงจรไฟฟ้าและชิน้ ส่วนจ�านวน มากมักจะอยูภ่ ายในตูค้ วบคุมดังแสดงดังรูปที่ 1. ทีส่ ามารถ การกระจายความร้อนและป้องกันการเสียหาของระบบ หลักการท�างาน คือ ทั้งไดรฟ์แบบ AC และแบบ DC ไดรฟ์จะใช้ในการแปลงก�าลังไฟฟ้ากระแสสลับจากแหล่งจ่าย ที่สามารถปรับเอาต์พุตแรงดันเอาต์พุต เพื่อควบคุมการ ท�างานของมอเตอร์ ส่วนไดรฟ์แบบ DC จะใช้ควบคุม มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงและไดรฟ์แบบ AC จะใช้ควบคุม มอเตอร์เหนี่ยวน�าไฟฟ้ากระแสสลัฐ โดยการขับมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นสิ่งที่ง่ายที่สุดที่ควบคุมความเร็วด้วย วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งนิยมใช้งานเพราะความเร็วของมัน เป็นสัดส่วนกับแรงดันไฟฟ้าที่อาร์มาเจอร์ โดยแรงดัน ไฟฟ้ากระแสตรงสามารถควบคุมผ่านวงจรเรียงกระแสหรือ ผ่านวงจรคอนเวอร์เตอร์ที่แปลงจากแรงดันไฟฟ้ากระแส

ตรงเป็นไฟฟ้ากระแสตรงอีกระดับหนึง่ นอกจากนี้ ความเร็ว ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงสามารถปรับความเร็วในช่วง ทีก่ ว้างมาก โดยการควบคุมกระแสทีอ่ าร์มาเจอร์และกระแส แม่เหล็กไฟฟ้า

AC DRIVES EDDY CURRENT CLUTCHES

‘Eddy Current Clutches’ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด ต่อการส่งถ่ายก�าลังของระบบ มักจะตัด/ต่อการส่งถ่ายก�าลัง จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่งหรือตัดขาดการส่ง ก�าลังของระบบ โดยอาศัยหลักการสนามแม่เหล็กไฟฟ้าและ การเหนี่ ย วน� า ย้ อ นกลั บ ที่ เ กิ ด จากกระแสไฟฟ้ า จากการ เคลื่อนที่สัมพัทธ์กันของแม่เหล็กกับขดลวดเหมาะกับภาระ ขนาดปานกลาง และท�างานทีค่ วามเร็วรอบปานกลางถึงสูง ใช้ ค วบคุ ม มอเตอร์ เ หนี่ ย วน� า ในแบบมาตรฐาน แสดง โครงสร้างภายนอกและส่วนประกอบของ ‘Eddy Current Clutches’ ดังรูปที่ 2. อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพการ ท�างานต�า่ กว่าแบบ ASDs และข้อจ�ากัดในการประยุกต์ใช้งาน

SWITCHED RELUCTANCE DRIVES

การควบคุมแบบลูปปิด ของมอเตอร์สวิตซ์รีลัคแตนซ์ ทีเ่ ป็นมอเตอร์ทมี่ โี ครงสร้างภายในไม่ซบั ซ้อนและง่ายต่อการ ผลิต โดยวัสดุที่หลักที่ใช้ประกอบไปด้วยแผ่นเหล็กและลวด ทองแดงด้วยเหตุนมี้ อเตอร์สวิตช์รลี คั แตนซ์ ปัจจุบนั มอเตอร์ ชนิ ด นี้ น� า มาใช้ ใ นงานอุ ต สาหกรรมโดยเฉพาะในงานที่ ต้ อ งการการลงทุ น ต�่ า เช่ น พั ด ลมเครื่ อ งสู บ น�้ า หรื อ คอมเพรสเซอร์ท�าความเย็นของเครือ่ งปรับอากาศ มอเตอร์ สวิตช์รีลัคแตนซ์ท�างานโดยหลักการของการสร้างแรงรีลัค แตนซ์ ซึ่งเกิดจากความพยายามของวงจรแม่เหล็กที่จะ พยายามลดความความต้านทานทางแม่เหล็ก แสดงขัว้ ของ แม่เหล็กของ Switched Reluctance Motor และโครงสร้าง ภายนอกที่ต่อเชื่อมกับชุดไดรฟ์ ดังรูปที่ 3.


รูปที่ 4: แสดงบล็อกการท�างานของ Vector Drive

(A)

(B)

รูปที่ 6: (A),(B) แสดงการควบคุมแบบลูปปิดและระบบ ‘Adjustable Frequency Inverter System’ ตามล�าดับ แหล่งที่มาภาพ: http://www.ecvv.com/product/4052000.html

VECTOR DRIVE

การควบคุม ‘Vector Drive’ ของมอเตอร์แบบเอซีจะ คล้ายกับการควบคุมความเร็ว แรงบิดและแรงม้าของการขับ มอเตอร์แบบดีซี โดยการไดรฟ์ดงั กล่าวนีส้ ามารถก�าเนิดแรง บิดเต็มรูปแบบ เมือ่ เริม่ สตาร์ททีค่ วามเร็วสูง (มอเตอร์จา� เป็น ต้องควบคุมความร้อนที่แรงบิดเต็มรูปแบบและที่ความเร็ว รอบต�า่ ) แต่สว่ นประกอบการออกแบบวงจรทีต่ อ้ งใช้อปุ กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทซี่ บั ซ้อน เช่น ชุดประมวลผลสัญญาณดิจติ อล หรือ DSPs) ในการค�านวณกระแสเฟสเซอร์โวมอเตอร์ โดยหลักการท�างานพื้นฐานจะเป็นการรวมขนาดและ ทิศทางของกระแสอาร์มาเจอร์เข้าด้วยกันเป็นปริมาณเวก เตอร์ทใี่ ช้ควบคุมการปรับเปลีย่ นแรงบิด นอกจากนี้ การปรับ เปลี่ยนความเร็วสลิปและความเร็วของมอเตอร์มีการตรวจ สอบการท�างานด้วยตัวเข้ารหัส (Encoder) ซึ่งซิงโครนัส มอเตอร์ที่นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมจะควบคุมด้วยไดรฟ์ เวกเตอร์ โดยการก�าจัดค่ากระแสแมกนิไตซิ่งและค่าสลิป แสดงบล็อกการท�างานของ Vector Drive ดังรูปที่ 4. คือ บล็อก Speed Regulator ท�าหน้าที่ควบคุมความเร็วจาก ภายนอก ส่งผ่านบล็อกท�าหน้าที่แปลงเฟสสัญญาณ 2 เฟส เป็น 3 เฟส (2 Phase/3Phase) ส่งผ่านสัญญาณไปบล็อก ก�าหนดค่ากระแสคงที่ (Current Regulator) ที่ตรวจสอบ ความเร็วจากมอเตอร์ด้วยชุดเข้ารหัสสัญญาณ (Encoder) เพื่อระบุจ�านวนรอบการหมุนเป็นสัญญาณไปควบคุมการ ก�าหนดค่าฟลักส์ทางอินพุต

WOUND-ROTOR MOTOR CONTROLLERS

‘Wound-Rotor Motor’ สามารถควบคุมการท�างานได้จาก ไดรฟ์ควบคุมความเร็วปรับได้ (Adjustable Speed Drive: ASD) หรือบางชนิดใช้ไดรฟ์ควบคุมความเร็วแบบผันแปร (Variable-Speed Drive: VSD) AC Adjustable Speed Drives ได้เข้ามามีบทบาทอย่างกว้างขวางในระบบการ

รูปที่ 5: แสดงชุด AC Adjustable Speed Drives ในประเภทต่างๆ

ควบคุมความเร็วในวงการอุตสาหกรรม โดยเครื่องมือชนิด นี้ใช้งานกันอย่างแพร่หลายมานานกว่า 20 ปี และสามารถ น�าไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างตั้งแต่ ไดร์ฟปั้มมอเตอร์ พัดลม คอมเพรสเซอร์ จนถึงเครื่องจักรที่มีการท�างานซับซ้อน สามารถท�างานได้โดยการปรับค่าความถีข่ องไฟฟ้ากระแสสลับ และจ่ายให้กับมอเตอร์ผ่านทาง Solid State Electronic Devices ซึ่งระบบนี้มีราคาค่อนข้างสูง แต่ก็มาพร้อมกับ ประสิทธิภาพและความแม่นย�าที่น่าเชื่อถือและได้รับความ ไว้วางใจให้ใช้ในงานหลายรูปแบบ ทั้งยังประหยัดพลังงาน ซึ่งสามารถคืนทุนของเครื่องมือนี้ให้ได้ในอนาคต

VARIABLE VOLTAGE CONTROLLERS

‘Variable voltage controllers’ คือ การควบคุมการ หมุนของมอเตอร์ด้วยการแปรเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้านิยม ใช้ กั บ มอเตอร์ เ หนี่ ย วน� า โดยความเร็ ว มอเตอร์ จ ะถู ก ควบคุมโดยตรงจากแรงดันไฟฟ้าที่แตกต่างกัน การควบคุม ดังกล่าวนี้ต้องใช้สลิปของมอเตอร์ที่มีค่าสูงมาก เพื่อให้มี ประสิทธิภาพที่ความเร็วสูง การใช้งานในช่วงความเร็วที่ แคบอย่างเหมาะสม

VARIABLE FREQUENCY DRIVES

‘Variable Frequency Drives’ คือ การควบคุมการ หมุนของมอเตอร์ดว้ ยการแปรเปลีย่ นความถี่ นิยมใช้ควบคุม ความเร็วของมอเตอร์แบบ AC โดยใช้ความถี่ที่แตกต่างกัน จ่ายให้กบั มอเตอร์ทมี่ กี ารหมุนแตกต่างกัน นอกจากนี้ ไดรฟ์ ยั ง ควบคุ ม แรงดั น เอาต์ พุ ต ในสั ด ส่ ว นที่ ค วามถี่ ท่ี จ ะให้ อัตราส่วนทีค่ อ่ นข้างคงที่ (V / Hz) ของความถีแ่ รงดันไฟฟ้า ตามที่ก�าหนด โดยใช้ควบคุมการหมุนมอเตอร์แบบ AC ที่ ให้แรงบิดที่เพียงพอ ซึ่งมีการควบคุมแบบวงปิด (ClosedLoop Control) เป็นการเปลี่ยนแปลงความต้องการที่ได้รับ การชดเชยจากค่าการเปลี่ยนแปลงของก� าลังไฟฟ้าและ ความถี่ที่จ่ายให้กับมอเตอร์ ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง

ความเร็วของมอเตอร์ การควบคุมความเร็วของมอเตอร์โดย การควบคุ ม ความถี่ เ ป็ น วิ ธีก ารที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมากใน ปัจจุบัน เพราะสามารถควบคุมความเร็วได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในย่านความเร็วที่ต�่ากว่าและสูงกว่าความเร็วที่ก�าหนด เมื่อผู้ใช้งานลดความถี่ของแรงดันสเตเตอร์ลง ดังนัน้ จึงควรลดแรงดันไฟฟ้าของสเตเตอร์ตามไปด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้อัตราส่วนของแรงดันไฟฟ้ากับความถี่มีค่าคงที่ เสมอ ถ้าไม่ปฏิบัติเช่นนี้ แกนเหล็กสเตเตอร์จะเกิดการอิ่ม ตัวและกระแสไฟฟ้าจะไหลเกินกว่าปกติ ส่งผลให้มอเตอร์ เกิดการเสียหายขึ้นได้ การท�าให้อัตราส่วนความถี่คงที่จะ ท�าให้สนามแม่เหล็กของมอเตอร์มีค่าคงที่และแรงบิดสูงสุด ของมอเตอร์จะมีค่าคงที่เสมอ อย่างไรก็ตาม ถ้าความถี่ใช้ งานมีค่าต�่ามากๆ ผู้ใช้งานจ�าเป็นต้องเพิ่มอัตราส่วนของ ความถีเ่ พือ่ ชดเชยแรงดันทีต่ กคร่อมความต้านทานของสเต เตอร์ (Stator Resistance Compensation) ให้มีความถี่ที่ สูงกว่าความถี่ก�าหนดและไม่สามารถเพิ่มแรงดันของสเต เตอร์ขนึ้ ไปได้ เนือ่ งจากสนามแม่เหล็กของมอเตอร์จะลดลง สางผลให้แรงบิดสูงสุดของมอเตอร์ลดลงตามไปด้วย แสดง การควบคุมแบบลูปปิดของระบบ Adjustable Frequency Inverter System ดังรูปที่ 6. เลือกใช้งานไดรฟ์ประเภทหรือชนิดใดก็ตาม ผู้ใช้งาน ควรค�านึงประเภทของมอเตอร์ที่ใช้เป็นสิ่งส�าคัญ อีกทั้ง งบ ประมาณค่าใช้จา่ ยในการลงทุนให้เกิดความสมดุลกับผลลัพธ์ ของประสิทธิภาพการท�างานของเครื่องจักรกลทั้งในด้าน ประหยัดพลังงานเป็นประเด็นรองลงมา นอกจากนี้ การ ค�านึงเรือ่ งระยะเวลาของการสึกกร่อนอันเกิดจากการใช้งาน เครื่องจักรที่ไม่มีความเหมาะสมประกอบการตัดสินใจเป็น ส�าคัญในการลงทุนในอุตสาหกรรม

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 51


ENERGY ALERT

คุณอัศวิน อัศวุตมางกุร วิศวกรช�านาญการพิเศษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน

โครงการสนับสนุนการลงทุน เพื่อปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

52 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


ปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการมีการแข่งขันทางด้านการค้าทัง้ ในและต่างประเทศ การทีผ่ ปู้ ระกอบการสามารถลดต้นทุนของ สินค้าโดยยังคงรักษาคุณภาพให้ได้มาตรฐานก็เป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่นๆ หนึ่งในปัจจัยส�าคัญของต้นทุนสินค้า คือ ต้นทุนด้านพลังงาน มาตรการลดต้นทุนด้านพลังงานบางมาตรการ สามารถด�าเนินการได้โดยไม่มีเงินลงทุน เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้งานหรือการตั้งค่าการใช้งาน เครื่องจักรให้เหมาะสมกับโหลด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บางมาตรการจ�าเป็นที่จะต้องมีการลงทุน เพื่อปรับเปลี่ยน เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ เป็นแบบประสิทธิภาพสูง โดยอาจเกิดจากเครื่องจักรมีการใช้งานมานานหรือเป็น เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพต�า่

ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีการพัฒนา จึงท�าให้เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ มีประสิทธิภาพสูง ใช้พลังงานต�่ากว่าในอดีต หรือใช้เทคโนโลยีอนื่ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรให้ สูงขึ้น ซึ่งต้องใช้เงินลงทุน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได้ดา� เนินโครงการ สนับสนุนการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ปีงบประมาณ 2558 โดยให้การสนับสนุนเงินลงทุนให้เปล่ากับสถานประกอบ การในการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร อุปกรณ์ ประกอบ ด้วยค่าเครือ่ งจักร วัสดุ อุปกรณ์ใหม่ รวมค่าติดตัง้ โดยสถาน ประกอบการสามารถขอรับการสนับสนุนได้หลายมาตรการ ทดแทนของเดิมที่มีประสิทธิภาพต�่า ในวงเงินสนับสนุนไม่ เกิน 3,000,000 บาท (สามล้านบาทถ้วน) ต่อราย เงื่อนไข ระยะเวลาคื น ทุ น ไม่ เ กิ น 7 ปี ในปี ง บประมาณนี้ มี เ งิ น สนับสนุนจ�านวน 500 ล้านบาท

หลักเกณฑ์โครงการผู้ประกอบไทยต้องรู้

ทั้งนี้ พพ. จะพิจารณาให้การสนับสนุนแก่ผู้ขอรับการ สนับสนุนตามหลักเกณฑ์ ความถูกต้องและความครบถ้วน ของเอกสารใบสมัครของสถานประกอบการตามล�าดับก่อน หลัง โดยยึดถือตามเลขที่รับเอกสารของ พพ. ดังนั้น หาก ผู ้ ป ระกอบการรายใดสนใจในการปรั บ เปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ปัจจุบันเป็นอุปกรณ์ประสิทธิภ าพสูง เพื่อลดต้นทุนด้าน พลังงาน สามารถยื่นเรื่องได้ที่ พพ. ณ แต่บัดนี้ เพื่อโอกาส ในการได้รบั การพิจารณาในวงเงินงบประมาณปีนี้ โดยสัดส่วน การให้เงินสนับสนุนการลงทุน จะแบ่งสถานประกอบการ ออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ

1. สถานประกอบการที่เป็นโรงงานควบคุม อาคาร ควบคุ ม ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) ซึ่งเป็น โรงงาน อาคารขนาดใหญ่ ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้ารวมกัน ขนาดมากกว่า 1,175 kVA หรือมีการติดตัง้ เครือ่ งวัดไฟฟ้า ตั้งแต่ 1,000 kW ขึ้นไป หรือมีการใช้พลังงานเกินกว่า 20 ล้าน MJ/ปี จะได้รับการสนับสนุนไม่เกินร้อยละ 20 ของค่า อุปกรณ์และค่าติดตัง้ แต่ไม่เกินราคากลางที่ พพ. ก�าหนด 2. สถานประกอบการที่ เ ป็ น โรงงานอุ ต สาหกรรม อาคารธุรกิจและผู้ประกอบการภาคเกษตรกรรม ที่ไม่เป็น โรงงานควบคุม อาคารควบคุม จะได้รับการสนับสนุนไม่ เกินร้อยละ 30 ของค่าอุปกรณ์และค่าติดตั้ง แต่ไม่เกิน ราคากลางที่ พพ. ก�าหนด โดยราคาเครื่ อ งจั ก ร วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ ข อรั บ การ สนับสนุนจะต้องเป็นราคาที่ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและ เป็นราคาที่หักลดส่วนต่างๆ แล้ว ซึ่งมาตรการที่สถาน ประกอบการได้ด�าเนินการไปแล้ว ไม่สามารถน�ามาขอรับ การสนับสนุนย้อนหลังได้และอุปกรณ์ฯ ที่จะขอรับการ สนับสนุนจะต้องไม่ออกใบสั่งซื้อก่อนที่จะยื่นใบสมัครขอรับ การสนับสนุน นอกจากนั้นการขอรับการสนับสนุนจะต้อง ไม่ซ�้าซ้อนกับโครงการสนับสนุนด้านการเงินอื่นๆ ของ พพ. รวมทัง้ ต้องด�าเนินการติดตัง้ ให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ลงนามในสัญญา แต่หากไม่สามารถด�าเนิน การติดตั้งได้ทันภายในก�าหนด ผู้ขอรับการสนับสนุนต้อง มีหนังสือแจ้งเหตุความล่าช้าให้ พพ. ทราบเพื่อขออนุมัติ ขยายเวลาการติดตั้ง โดย พพ. อาจพิจารณาขยายระยะ เวลาการติดตั้งให้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และ ผู้ขอรับการสนับสนุนจะต้องติดตั้งใช้งาน เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ที่ได้รับการสนับสนุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของการใช้งานและตามเงื่อนไขที่ได้รับการสนับสนุนจาก โครงการ โดยจะต้องไม่ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย้าย เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินลงทุน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี

มาตรการอนุรักษ์พลังงาน ที่ให้การสนับสนุน

มาตรการอนุรกั ษ์พลังงานที่ พพ. ให้การสนับสนุน แบ่ง เป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ 1. มาตรการมาตรฐาน ซึง่ เป็นมาตรการลดต้นทุนด้าน พลังงานที่ได้รับการยอมรับและใช้อย่างแพร่หลาย จ�านวน 11 มาตรการ ประกอบด้วย 1. บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ 2. อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ท่ีใช้กับเครื่อง อัดอากาศ

3. ฉนวนกันความร้อน 4. อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ท่ีใช้กับ เครื่องสูบน�้า 5. อุปกรณ์น�าความร้อนทิ้งมาใช้ใหม่ 6. อุปกรณ์ควบคุมอากาศในการเผา 7. เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนจากอากาศสู่อากาศ 8. มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง 9. แผ่นสะท้อนแสงและโคมฟลูออเรสเซนต์ ประสิทธิภาพสูง 10. มาตรการควบคุมก�าลังไฟฟ้าส�าหรับแสงสว่าง 11. มาตรการอุปกรณ์ปรับแรงดันไฟฟ้า 2. มาตรการในโครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึก จ�านวน 6 มาตรการ ประกอบด้วย 1. การใช้ปั๊มความร้อนส�าหรับการท�าความร้อน 2. การบ�าบัดและปรับสภาพน�้าด้วยโอโซน 3. การลดความชืน้ ด้วยสารดูดความชืน้ เหลว 4. การลดความชื้นด้วยฮีทไปป์ 5. เครื่องอบตกแต่งส�าเร็จผ้าผืนประสิทธิภาพสูง 6. หัวเผาแบบรีเจนเนอเรทีฟ หรือมาตรการอื่นๆ ที่ พพ. เห็นว่าเหมาะสม นอกจาก มาตรการต่างๆข้างต้น มาตรการอนุรักษ์พลังงานอื่นที่ เคย ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย เช่น มาตรการด้านแสงสว่าง โดยเปลีย่ นมาใช้หลอด LED แทนหลอดชนิดอืน่ ๆ มาตรการ เปลีย่ นเป็นเครือ่ งอัดอากาศประสิทธิภาพสูง และมาตรการ เปลี่ยนเป็นเครื่องท�าน�้าเย็น (Chiller) ประสิทธิภาพสูง จาก ผลการด�าเนินงานระหว่างปี 2553 – 2556 มีผู้ขอรับการ สนับสนุนรวมแล้วทั้งสิ้น 575 ราย มาตรการที่ได้รับการ อนุมัติปรับเปลี่ยน จ�านวน 842 มาตรการ เงินลงทุนในส่วน ของผู้ประกอบการประมาณ 2,267 ล้านบาท โดย พพ. ให้การสนับสนุนเงินลงทุน 319 ล้านบาท คิดเป็นผลประหยัด ด้านพลังงานไฟฟ้า 1,226 ล้านหน่วย/ปี ด้านความร้อน 368 ล้าน MJ/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ประมาณ 907 ล้าน บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 2.5 ปี ในด้านสิ่งแวดล้อม สามารถลดการปล่ อ ยคาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ด้ ป ระมาณ 179,057 ตัน/ปี ดั ง นั้ น หากผู ้ ป ระกอบการรายใดสนใจจะขอรั บ การ สนับสนุนสามารถขอรับเอกสารใบสมัครขอรับการสนับสนุน ได้จาก พพ. หรือทางเวปไซต์ www.dede.go.th โดยยื่นใบ สมัครได้ตงั้ แต่บดั นีจ้ นถึงวันที่ 30 เมษายน 2558 หรือจนกว่า เงินสนับสนุนจะหมด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 53


INDUSTRIAL TREND

ทิศทาง

การปรับโครงสร้างพลังงานไทย

จุดเปลี่ยนเพื่อความยั่งยืน

54 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


พลังงานเป็นสิ่งจ�าเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานในการขับ เคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ เป็น ภาคที่มีการใช้พลังงานสูงที่สุด ดังนั้น ความมั่นคงด้านพลังงาน ของประเทศจึงเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายให้ความสนใจเป็นอย่างมาก แม้ว่าในปัจจุบันประเทศไทยจะยังคงมีพลังงานใช้อย่างพอเพียง แต่ถ ้าหากคนในชาติยังคงไม่ต ระหนักถึงการใช้พลังงานอย่าง รู้คุณค่า เราอาจต้องน�าเข้าพลังงานจากต่างประเทศ 100% อันจะส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อเศรษฐกิจของประเทศ

เพราะฉะนั้น เพื่อป้องกันวิกฤตและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ภาครัฐจึงจับมือกับเอกชน เพื่อร่วมกันหาทางออกในการบริหารจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในทุกภาคส่วน เพื่อให้คนไทยได้มีพลังงานใช้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์พลังงานไทยในปัจจุบัน

คุณณรงค์ชยั อัครเศรณี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ได้กล่าวถึงเรื่องการปรับโครงสร้างพลังงานเพื่ออนาคตคนไทยมี พลังงานใช้อย่างยั่งยืน ในงานสัมมนา ‘การปรับโครงสร้างภาค พลังงาน... การจัดการร่วมรัฐ เอกชน... จุดเปลี่ยนส�าคัญสู่ความ ยัง่ ยืน’ จัดโดยสถาบันพลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย กล่าวว่า ประเทศไทยมีปริมาณการใช้พลังงาน ที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยปี 2556 ภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคส่วนที่มีการใช้พลังงานสูงที่สุด ประมาณ 37% และมีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงที่สุด 41.75%รองลงมา คือ ภาคธุรกิจ 34.34% และบ้านที่อยู่อาศัย 22.99% ซึ่งประเทศไทยมีทรัพยากรปิโตรเลียม (ก๊าซและ น�้ามัน) ในประเทศจ�านวนจ�ากัดจึงต้องพึ่งพาการน�าเข้าก๊าซธรรมชาติและน�้ามันดิบใน สัดส่วนที่สูง ประเทศไทยมีการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก โดยคิดเป็นร้อยละ 67 ซึ่ง ถือว่าเป็นสัดส่วนที่สูงมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการ Supply ก๊าซธรรมชาติ อาทิ การ ซ่อมบ�ารุงแหล่งจ่ายก๊าซจากประเทศเพือ่ นบ้าน ซึง่ ส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงในการผลิต ไฟฟ้า ตลอดจนมีผลต่อราคาค่าไฟฟ้าที่ต้องผูกกับราคาก๊าซมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อ เนื่อง ท�าให้ราคาไฟฟ้าในอนาคตเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย หากไม่มีการกระจายแหล่งเชื้อ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าให้เหมาะสม อันจะส่งผลกระทบต่อขีดความสามารถในการแข่งขัน ในอนาคต การปรับโครงสร้างภาคพลังงาน จึงจ�าเป็นต้องพิจารณาทั้งทางด้าน Demand และ Supply โดยในด้าน Demand Side นั้น การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน หรือใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในทุกภาคส่วน เป็นสิ่งที่ต้องด�าเนินการอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ส่วนด้าน Supply Side นั้น การกระจายแหล่งเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าให้ เหมาะสม การส่งเสริมพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพก็เป็นสิ่งที่ต้องท�าควบคู่กันไป อีกทั้ง การปรับโครงสร้างราคาพลังงานทีส่ ะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริง เพือ่ ให้ผใู้ ช้พลังงานตระหนักถึง การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย เพี่อความโปร่งใสและเป็นธรรมนั้น ก็จ�าเป็นต้องเร่งด�าเนินการด้วยเช่นกัน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 55


มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทน

ทิศทางและยุทธศาสตร์ พลังงานของประเทศ

คุณชวลิต พิชาลัย ผู้อา� นวย การส�านักงานนโยบายและแผน พลังงาน กล่าวว่า จากค�าแถลง นโยบายของรั ฐ บาล (พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายก รัฐมนตรี) เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 ที่ เ กี่ ยวข้ องกั บด้ านพลั ง งานไว้ ดั ง นี้ “การปฏิ รู ป โครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับ ต้นทุนและให้มีภาระภาษีที่เหมาะสมระหว่างน�้ามันต่างชนิด และผู้ใช้ต่างประเภท เพื่อเพิ่มการใช้ประสิทธิภาพการใช้ พลังงานของประเทศและให้ผู้บริโภคระมัดระวังที่จะไม่ใช้ ฟุ่มเฟือย รวมถึงด�าเนินการให้มีการส�ารวจและผลิตก๊าซ ธรรมชาติและน�้ามันดิบรอบใหม่ทั้งในทะเลและบนบก และ ด�าเนินการให้มกี ารสร้างโรงไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ โดยหน่วยงานของ รัฐและเอกชน ทั้งจากการใช้ฟอสซิลเป็นเชื้อเพลิงและจาก พลังงานทดแทนทุกชนิด ด้วยวิธกี ารทีเ่ ปิดเผย โปร่งใส เป็น ธรรม และเป็นมิตรต่อสภาวะแวดล้อม พร้อมกับร่วมมือกับ ประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาพลังงาน” จากค�ากล่าวของนายกรัฐมนตรีขา้ งต้น ขณะนีก้ ระทรวง พลั ง งานมี ทิ ศ ทางที่ ชั ด เจนในการส่ ง เสริ ม การประหยั ด พลังงานเป็นล�าดับแรก โดยตั้งเป้าลดการใช้พลังงานให้ได้ ถึง 40-50% ล�าดับต่อมา คือ ส่งเสริมพลังงานทดแทนซึ่ง เป็นวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ หลังจากนั้น คือ ต้องพิจาณาว่าจะใช้เชื้อเพลิงชนิดใดมาทดแทนก๊าซ ธรรมชาติ เช่น ถ่านหิน หรือนิวเคลียร์ ทั้งนี้ จ�าเป็นต้อง พิจารณาถึงความปลอดภัยเป็นหลัก คุ ณ ชวลิ ต กล่ า วว่ า หนึ่ ง ในนโยบายที่ ส� า คั ญ คื อ มาตรการป้องกันปัญหาโลกร้อนอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการ ลดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ให้ได้อย่างน้อย 20% และอีกหนึง่ ปัจจัย คือ ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าเพือ่ ก�าหนดราคาค่าไฟฟ้าที่ เหมาะสม โดยปัจจุบนั อยูท่ ี่ 3.96 บาท ต่อหน่วย ทัง้ นี้ ในมิติ ใหม่นอกจากจะส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนแล้ว อีกมิตทิ มี่ งุ่ เน้น คือ ในด้านเชิงพืน้ ที่ โดยระบบผลิตและระบบจ�าหน่าย ต้องสามารถรองรับกับพลังงานทดแทนที่ก�าลังส่งเสริมอยู่ ทั้งนี้ แผนประหยัดพลังงานใหม่ได้เพิ่มเป้าหมาย Energy Density (ความหนาแน่นของพลังงาน) จาก 25% เป็น 30% ดังนั้น ในการจัดท�าจ�าเป็นต้องค�านึงถึงปัจจัยทุกด้าน โดยเฉพาะความมั่นคงของระบบไฟฟ้า การจัดหาเชื้อเพลิง ด้านสิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมของประชาชน และสิ่งส�าคัญ คือ ราคาค่าไฟฟ้าต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อเอื้อ ประโยชน์ต่อผู้ผลิตและผู้ใช้อยู่ร่วมกันได้อย่างเป็นธรรม 56 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

คุณพิสมัย เสถียรยานนท์ ผู้ เชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทน กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า วัตถุประสงค์ของแผนพลังงานทน แทนมีอยู่ 3 ด้าน คือ 1. ลดการน�าเข้าน�้ามัน 2. สร้างความมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับประเทศ 3. การลดภาวะโลกร้อน ตามหลักสากลมีการแบ่งพลังงานทดแทนออกเป็น 2 ประเภท ได้ แ ก่ พลั ง งานที่ ใ ช้ แ ล้ ว หมดไป เช่ น ก๊ า ซ ธรรมชาติ ถ่านหิน นิวเคลียร์ และอีกหนึ่งประเภท คือ ใช้ แล้วหมุนเวียนกลับมาใช้ได้อย่างต่อเนื่อง เช่น แสงอาทิตย์ ลม น�้า เป็นต้น ภายใต้ แ ผนพลั ง งานทดแทน ทั้ ง ภาครั ฐ และภาค เอกชน ต่างมีส่วนร่วมกันขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมการ ผลิตพลังงานทดแทน ดังนี้ • มาตรการปรั บเปลี่ ย นระบบการรั บซื้ อ ไฟฟ้ า จาก พลังงานหมุนเวียนจาก Adder เป็น Feed-in Tariff หรือ FiT คือ มาตรการส่งเสริมการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนประเภทหนึ่ง ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในต่าง ประเทศ เพื่อจูงใจให้ผู้ประกอบการเอกชนเข้ามาลงทุนใน ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (เนื่องจากการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียนมีต้นทุนค่อนข้างสูง) จะอยู่ในรูป แบบอัตรารับซื้อไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุโครงการ (มีการปรับ เพิ่มส�าหรับกลุ่มที่มีการใช้เชื้อเพลิง) โดยไม่เปลี่ยนแปลง ตามค่าไฟฐานและค่า Ft ผู้ที่ได้รับ FiT คือ ผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ ก /เล็ ก มาก (SPP/VSPP) โดย FiT จะ สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในแต่ ล ะเทคโนโลยี ทั้ ง นี้ ค่ า FiT จะถู ก ก� า หนดเงิ น สนับสนุนดังกล่าวไว้ในโครงสร้าง ค่าไฟฟ้าฐาน ทั้งนี้ Adder Cost ภาครัฐให้การสนับสนุนภายใต้ระยะ เวลาจ�ากัด 7 -10 ปี โดยรับซื้อตามแต่ราคาของประเภท พลังงานหมุนเวียน ส�าหรับ FiT ผู้ประกอบการจะได้ราคา รับซื้อคงที่ตลอดอายุสัญญา 20 หรือ 25 ปี ตามแต่ประเภท พลั ง งานหมุ น เวี ย น สะดวกต่ อ ภาครั ฐ ในการก� า หนด นโยบายการจัดหาไฟฟ้าและโครงสร้างราคา เนื่องจากภาย ใต้โครงสร้าง FiT ภาครัฐสามารถทราบต้นทุนค่าไฟฟ้าล่วง หน้าในราคาคงที่เป็นระยะเวลา 20-25 ปี ซึ่งจะลดความ ผันผวนด้านราคาไฟฟ้าลงได้ • มาตรการสิทธิประโยชน์ทาง BOI ด้วยการยกเว้น ภาษี น� า เข้ า เครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ พ ลั ง งานทดแทนที่ ไ ม่ สามารถผลิ ต ได้ ใ นประเทศไทยและยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคล 0% เป็นระยะเวลา 8 ปี และหลังจากนั้นอีก 5 ปี หรือตั้งแต่ปีที่ 9-13 จะลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 50% • โครงการพลังงานหมุนเวียนดอกเบี้ยต�่า (4%, 50 ล้ า นบาท / โครงการระยะเวลากู ้ ไ ม่ เ กิ น 7 ปี ) หรื อ มาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ด้ า นอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและ พลังงานทดแทน (ESCO FUND) • การสนับสนุนเงินลงทุนให้เปล่า เช่น โครงการส่ง เสริมเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ น�้าเสีย และขยะ โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าและ ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น ทั้งนี้ แผนพัฒนาพลังงานทดแทนอาจจะแก้ปัญหา พลั ง งานไม่ ไ ด้ ทั้ ง หมด แต่ ส ามารถลดการพึ่ ง พาก๊ า ซ ธรรมชาติและพลังงานฟอสซิลอื่นๆ ได้ โดยไม่ท�าลายสิ่ง แวดล้อม

จุดเปลี่ยนอุตสาหกรรมในวิกฤตพลังงาน

คุณบงกช กิตติสมพันธ์ ผู้ อ�านวยการส�านักวิเคราะห์และ ติ ด ตามประเมิ น ผล องค์ ก าร บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) อบก. กล่าวว่า พลังงานมีบทบาทเกีย่ วข้องต่อชีวติ ของมนุษย์ อาทิ การผลิต การขนส่ง การด�าเนินธุรกิจต่างๆ หรือแม้แต่ความเป็นอยู่ ทัง้ นี้ สถานการณ์พลังงานโลกเกีย่ ว กับเชื้อเพลิงฟอสซิลมีแนวโน้มขาดแคลนและมีราคาสูงขึ้น ซึ่งจากการประมาณการปริมาณน�้ามันส�ารองโลกคาดว่า เหลือน�า้ มันใช้ได้ตอ่ ไปอีกประมาณ 38 ปี เมือ่ วิกฤตนัน้ มาถึง เราจ�าเป็นต้องหาทางออกด้านพลังงาน หากเมือ่ เปรียบเทียบสถานการณ์การใช้พลังงานในไทย หลายไตรมาสระหว่างปี พ.ศ.2555-2557 พบว่ามีอตั ราการ ใช้พลังงานเพิม่ ขึน้ ทุกปี ซึง่ ประเทศไทยพึง่ พาน�า้ มันส�าเร็จรูป ค่อนข้างมาก ในขณะเดียวกันกลับไม่มแี หล่งน�า้ มันเป็นของ ตนเอง และพึง่ พาก๊าซธรรมชาติซงึ่ น�าเข้าจากประเทศเพือ่ น บ้านเป็นส่วนใหญ่ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมของไทยมีการใช้พลังงานค่อน ข้างสูง รองลงมา คือ ภาคการขนส่ง ซึ่งพึ่งพาพลังงาน ฟอสซิลเป็นส่วนใหญ่ โดยผลกระทบจากการเผาไหม้เชือ้ เพลิง ฟอสซิล ส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน (Global Warming) โดย เกิดจากกระบวนการทีม่ กี า๊ ซเรือนกระจกเกิดขึน้ ซึง่ มักเกิด จากการเผาไหม้ของเชือ้ เพลิงฟอสซิล เช่น น�า้ มัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ เมื่อก๊าซลอยสูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ ของโลก จะท�าให้เกิดปรากฏการณ์ทรี่ งั สีความร้อนถูกกับเก็บ ไว้ในบรรยากาศโลก ที่เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซึง่ เป็นประเด็นด้านสิง่ แวดล้อมทีม่ ี การพูดถึงมากทีส่ ดุ โดยในปี พ.ศ.2543 ประเทศไทยมีการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 70% ซึง่ ข้อมูลระหว่างปี พ.ศ.2543-2552 อัตราการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกในไทยเพิม่ ขึน้ กว่า 3.9% ต่อปี และหากทุก ภาคส่วนยังไม่มีการบริหารจัดการด้านพลังงาน จากการ ประมาณการในปี พ.ศ.2590 พบว่าประเทศไทยจะปล่อยก๊าซ เรือนกระจกประมาณ 1,331 ล้านตัน ดังนัน้ หากประเทศไทย ด�าเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะสามารถลดให้ เหลือประมาณ 883 ล้านตันได้ โดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกได้จัดตั้ง โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของ ประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ • เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือน กระจกภาคสมัครใจขึ้นในประเทศ • เพื่อส่งเสริมให้เกิดตลาดคาร์บอนในประเทศเพื่อ รองรับสถานการณ์ในการซือ้ ขายคาร์บอนเครดิตในอนาคต • เพือ่ เตรียมความพร้อมให้กบั ทุกภาคส่วนในการรับมือ กับพันธกิจในการมีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือนกระจกของ ประเทศ นับว่าภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทในมิตขิ องความร่วมมือ ปรับเปลี่ยนแนวทางการใช้พลังงานอย่างมีนัยส�าคัญ เพื่อ ลดวิกฤตโลกร้อนอันเป็นภาระทีน่ านาชาติตอ้ งร่วมมือกันแก้ ปัญหา โดยเริ่มจากการมองหาพลังงานทดแทนอื่นๆ เช่น พลังแสงอาทิตย์ พลังงานลม หรือชีวมวล ซึ่งประเทศไทยมี ศักยภาพในการผลิตพลังงานทดแทนที่เพียงพอเมื่อเปรียบ เทียบกับบางประเทศ ในบริบททีภ่ าครัฐและภาคเอกชนต้อง ตระหนักให้มาก คือ ต้องบริหารจัดการอย่างไรให้เกิดประโยชน์ สูงสุด และเกิดความมัน่ คงทางด้านพลังงานอย่างยัง่ ยืน


อ.สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking

ดร.ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ รองผู้อ�านวยการฝ่ายบริหาร วิทยาลัยพลังงานทดแทน ลมหาวิทยาลัยนเรศวร

ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.)

TECHNICAL MATTER P.58

P.61

P.67

GURU

PRINCIPLE

R&D CORNER

“…ระบบส่งจ่ายก�าลังไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่จะมา เปลี่ยนรูปแบบการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้ มีความทันสมัย รวมไปถึงการปรับ พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าตามผลการ วิเคราะห์และประมวลผลของ ซอฟต์แวร์ ท�าให้ผู้ใช้บริการเห็นถึงประโยชน์ที่ได้รับและ สามารถตระหนักในความส�าคัญของการ ลดพลังงาน และใช้ไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น…”

“... Solar Inverter Pump หรือ ปั๊มสูบน�้า พลังแสงอาทิตย์ เป็นการช่วยในเรื่องลด ต้นทุนในการผลิตแก่เกษตรกร ที่ท�า เกษตรกรรมในพื้นที่ซึ่งจ�าเป็นต้องการผัน น�้าจากแหล่งน�้าหลักเข้าสู่บ่อพักน�้าหรือเข้า พื้นที่เพาะปลูกโดยตรง ดังนั้น การน�า ต้นแบบอินเวอร์เตอร์มาใช้อาจช่วยให้มีการ เปลี่ยนมาใช้พลังงานทางเลือกในรูปแบบ ต่างๆ มากขึ้น”

ระวัง... น�้าทะเลหนุนสูงกว่าที่คิด “…อ่าวไทยเราไม่ได้ลึกจนเกินความสามารถ ของวิศวกรที่จะสร้างสะพานเชื่อมต่อแนว ฝั่งตะวันออกไปยังตะวันตกโดยมีประตู ปิด-เปิดใต้สะพานให้น�้าและสัตว์ทะเลผ่าน เข้า-ออกได้ โดยประตูจะปิดก็ต่อเมื่อน�้าทะเล หนุนเท่านั้น โครงการเช่นนี้ หากจะด�าเนิน การ จ�าเป็นต้องมีการส�ารวจรองน�้าให้ ละเอียดก่อนก�าหนดแนวก่อสร้าง เราอาจ จะสร้างเกาะเทียมขึ้นก่อนเป็นระยะๆ แล้ว เชื่อมต่อเกาะต่างๆ ด้วยสะพานเข้าด้วยกัน พื้นที่บนเกาะสามารถใช้ประโยชน์เป็นแหล่ง ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ลม คลื่น และไฮโดรเจน ที่เกาะจะต้องสร้างร่อง เดินเรือและสถานีสูบน�้าไว้ส�าหรับเดินเรือและ พร่องน�้าก้นอ่าวให้เป็นแก้มลิงรับน�้าเหนือที่ บ่าลงมาพร้อมๆ กับเวลาที่น�้าทะเลหนุน…”

฀฀฀฀฀฀฀฀-2015.indd 57

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (SMART GRID)

อินเวอร์เตอร์ส�าหรับระบบปั๊มน�้า ทางการเกษตรโดยใช้พลังงานแสง อาทิตย์

2/17/2015 8:35:32 PM


GURU

ระวัง... น�้าทะเลหนุนสูงกว่าที่คิด อ่านหัวเรื่องแล้วอย่าเพิ่งคิดว่าเหลวไหล ผู้เขียนไม่มีเจตนาสร้างความกลัวแต่ต้องการให้ใช้เหตุผลวิเคราะห์และช่วยกันคิดวางแผนอนาคตของ สังคมที่เราอยู่ ค�าเตือนนี้มาจากรายงานการประชุมครั้งที่ 5 ของ IPCC – Intergovernmental Panel on Climate Change หรือคณะ กรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เมื่อปลายเดือนกันยายน ปี ค.ศ.2013

รูปที่ 1: แผนภูมิแนวโน้มการเพิ่มขึ้น ของอุณหภูมิโลก

สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet) การศึกษา: 2508 โรงเรียนสระแก้ว จัวหวัดสระแก้ว 2511 วิทยาลัยเทคนิค ไทย-เยอรมันขอนแก่น 2514 เตรียมวิศวฯ จาก Institut fuer auslaendische Fachhochschulbewerber ของแคว้น Niedersachsen ณ เมือง Hannover สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2517 วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต Dipl.-Ing. (FH) in Gas-, Water-, Heating-and Cooling System จาก University of Applied sciences, เมือง Braunschweig-Wolfenbuettel สหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน 2524 วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต Dipl.-Ing. in Energy & Process Engineering จาก Technical University of Berlin กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอมัน การท�างาน: 2517-2518 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�าบริษัท Hermann Ehlert KG. เมือง Hildesheim, สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2522-2523 TA ช่วยค้นคว้างานวิจัยของ Prof.Dr.Helmut Knapp จาก Thermodynamic Inst. ของ Technical University of Berlin. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2524-2525 วิศวกรออกแบบงานระบบของกระบวนการในอุตสาหกรรม ประจ�าบริษัท Schaeler Engineering GmbH, กรุง Berlin สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน 2525-2527 อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ 2527-2539 หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2539-2542 รองผู้อ�านวยการฝ่ายปฏิบัติการ ส�านักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2542-2547 รั ก ษาการผู ้ อ� า นวยการ ศู น ย์ บ ริ ก ารเทคโนโลยี สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปราจีนบุรี 2552-2556 ผู ้ แ ทนกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส มาคมวิ ศ วกรเคมี แ ละไบโอเทคโนโลยี เยอรมัน (DECHEMA e.V) ในประเทศไทย ปัจจุบัน

ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ นิตยสาร MM Machine Tools & Metalworking

58 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

รูปที่ 2: แผนภูมิแนวโน้มการเพิ่มขึ้น ของระดับน�้าทะเล

เป็นการสรุปรายการจากนักวิจัยและนักวิชาการทั่วโลก กว่า 800 คน โดยระบุวา่ วิกฤตสภาวะภูมอิ ากาศโลกทีผ่ นั ผวน ปั่นป่วน ทั้งหนาวจัด ร้อนจัดแล้งจัด ไฟป่ารุนแรง พายุจัด ฝนจัด น�้าท่วมจัดนั้นกว่า 95% ของที่มาล้วนแต่เป็นผลพวง จากการกระท�าของมนุษย์ทั้งสิ้น โลกจ�าเป็นต้องได้รับการ ปกป้องด้วยการเข้มงวดกับการผลิตและการปล่อยมลภาวะ สู่บรรยากาศ แต่เมื่อไหร่ที่ประเทศต่างๆ จะตกลงกันได้ ใน ขณะทีม่ ลภาวะมากขึน้ เรือ่ ยๆ จนมีผลต่อสภาวะโดยรวม ไทย เป็นประเทศหนึ่งซึ่งมีประชากรอาศัยอยู่ในที่ลุ่มจ�านวนมาก จ�าต้องคิดหาทางป้องกันไว้ก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินการ แก้ไข รายงานการประชุมครัง้ ที่ 4 ของ IPCC เมือ่ ปี ค.ศ.2007 เตื อ นว่ า ระดั บ น�้ า ทะเลจะสู ง กว่ า เดิ ม ประมาณ 18-59 เซนติเมตร ภายในช่วงปี ค.ศ.2100 รายงานใหม่ในการ

ประชุมครั้งที่ 5 บอกว่าเอาไม่อยู่แล้วเพราะอุณหภูมิโลกมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเร็วกว่าที่คิด ซึ่งจะส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของ ระดับน�้าทะเลเป็น 26-82 เซนติเมตร และเป็นไปได้ที่กลาย เป็น 2.5-5 เมตร ภายใน 300 ปีข้างหน้า รูปที่ 1 แสดงให้เห็นถึงทิศทางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของ อุณหภูมิโลกเริ่มจากปี ค.ศ.1950 หากประชาคมโลกไม่เข้ม งวดกับการปล่อยมลภาวะอุณหภูมิโลกจะเพิ่มขึ้นไปในแนว แถบสีแดง และแม้ว่าเราจะคุมเรื่องการปล่อยมลภาวะได้ อุณหภูมิก็ยังเพิ่มต่อไปตามแนวแถบสีน�้าเงินและคงอยู่ใน ระดับนั้นไปอีกนานนับร้อยๆ ปี ทั้งนี้ เพราะกระบวนการ เปลี่ยนแปลงบางกระบวนการเป็นไปแบบไม่สามารถย้อน กลับได้ (Irreversible) รูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงทิศทางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของ ระดับน�า้ ทะเลในอนาคต หากเราปล่อยให้ทา� ลายสิง่ แวดล้อม


รูปที่ 3: Zugspitze ยอดเขาสูงสุดของเยอรมัน ปื ค.ศ.1890

รูปที่ 4: Zugspitze ยอดเขาสูงสุดของเยอรมัน ปี ค.ศ.2007

อวกาศ หากขาดน�้าแข็งบนผิวโลก พลังงานแสงแดดส่วนนี้ จะถูกดูดกลืนไว้เป็นตัวเพิ่มความร้อนแก่โลกอีกส่วนหนึ่ง ด้วย ล�าพังกรีนแลนด์ เกาะใหญ่ในเครือเดนมาร์ค มีพื้นที่ เกือบ 2.2 ล้านตารางกิโลเมตร แต่เป็นพื้นที่ซึ่งถูกปกคลุม ด้วยน�า้ แข็งถึง 82% โดยมีความหนาเฉลีย่ 1,673 เมตร และ หนาสุดถึง 3,366.5 เมตร รวมน�า้ แข็งทีก่ ดทับเกาะนีอ้ ยูเ่ กือบ 3 ล้านลูกบาศก์กโิ ลเมตร น�า้ แข็งทีป่ กคลุมเกาะมาประมาณ แสนหนึง่ หมืน่ ปีกา� ลังละลายอย่างน่าเป็นห่วงในปัจจุบนั ชาว โลกตกใจแต่ชาวกรีนแลนด์ดีใจและมองเห็นโอกาสที่จะ พัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่อะลูมเิ นียมและน�า้ มัน นักเดิน เรือก็ดใี จทีส่ ามารถย่นระยะทางการขนส่งได้โดยผ่านขัว้ โลก เหนือเมือ่ มันไม่มนี า�้ แข็งเป็นอุปสรรคอีกต่อไป มีการประเมิน กันว่าถ้าน�้าแข็งบนเกาะกรีนแลนด์ละลายหมดจะส่งผลให้ ระดับน�้าทะเลของโลกเพิ่มสูงขึ้นถึง 7 เมตร แต่น�้าแข็งบน บกไม่ได้มีเฉพาะที่กรีนแลนด์เท่านั้น ขั้วโลกเหนือ ขั้วโลกใต้ และเทือกเขาสูง ในส่วนต่างๆ ของโลก อาทิ เทือกเขาแอล์ป ในยุโรป เทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนซาน (天 , Tienschan) ในเอเซีย ต่างก็มีน�้าแข็งตลอดกาลปกคลุมอยู่ เป็ น แหล่ ง น�้ า จื ด ที่ ส� า คั ญ ของหลายประเทศซึ่ ง มั น ก� า ลั ง ละลายหายลงสู่ทะเลมากกว่าปกติ มีหลักฐานบ่งชี้อีกว่าเมื่อ 35 ล้านปีที่ผ่านมา โลกเคย

ผจญกับวิกฤตน�า้ ทะเลท่วมสูงกว่าปัจจุบนั ถึง 70 เมตร และ เมือ่ 3 ล้านปีทแี่ ล้ว อุณหภูมขิ องโลกสูงกว่าปัจจุบนั ประมาณ 2-3 องศาเซลเซียส ท�าให้ขวั้ โลกเหนือปราศจากน�า้ แข็ง ครา นัน้ ระดับน�า้ ทะเลสูงกว่าปัจจุบนั ประมาณ 25-35 เมตร จาก รายงานวิชาการเลที่ สทช. 9/2555 เกี่ยวกับ ‘ธรณีวิทยา กายภาพพื้นทะเลอ่าวไทยตอนบน’ ของส�านักเทคโนโลยี ธรณี ระบุว่าเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว ก้นอ่าวไทยนั้น อยู่ที่บริเวณจังหวัดอ่างทอง สุพรรณบุรี สระบุรี ปราจีนบุรี ดังรูปที่ 5 และรูปที่ 6 ระดับน�้าตอนนั้นสูงกว่าปัจจุบัน ประมาณ 4-5 เมตร ใกล้เคียงกับข้อมูลการจ�าลองน�้าท่วม โลกที่นาซาแสดงไว้ให้ดูในเว็บ www.flood.firetree.net ที่ ระดับ 7 เมตร ดังรูปที่ 7 ไทยเป็ น ประเทศหนึ่ ง นอกเหนื อ ไปจากอิ น โดนิ เ ซี ย บังกลาเทศ ปากีสถาน อียิปต์ และมัลดีฟ ที่ถูกระบุว่าเป็น ดินแดนวิกฤตเมื่อน�้าทะเลท่วมสูง ทั้งนี้ เพราะมีประชากร อาศัยอยู่มากในที่ลุ่ม นักวิชาการบางกลุ่มเตือนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมจิ นท�าให้นา�้ แข็งโลกละลายว่าจะมีผลต่อการไหลวน ของน�้าในมหาสมุทร ซึ่งแรงผลักดันส่วนส�าคัญมากมาจาก ระบบ Thermohaline Circulation ที่เกิดจากความแตก ต่างของอุณหภูมิน้�าและความเข้มข้นของเกลือ โดยจะส่ง ผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศทางทะเล

รูปที่ 6: แผนที่บริเวณก้นอ่าวไทยเมื่อง 6,000 – 3,000 ปีที่ผ่านมา รูปที่ 5: แผนที่บริเวณประเทศไทยเมื่อ 6,000 ปี

ต่อไปอย่างที่กระท�ากันอยู่ปัจจุบัน ระดับน�้าทะเลจะเพิ่มขึ้น ตามแถบสีแดงและถ้าเราตกลงจะหยุดท�าลายได้ มลภาวะ ที่สะสมอยู่จะยังคงส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของระดับน�้าทะเล ต่อไปตามแถบสีน�้าเงิน อุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อระดับน�้าทะเลแยกได้เป็น 2 ประเด็น คือ การละลายของน�า้ แข็งทีป่ กคลุมบางส่วนของ โลกอยู่ และประเด็นที่สอง ได้แก่ การขยายตัวของน�้าทะเล ตามอุณหภูมทิ สี่ งู ขึน้ ปกตินา�้ แข็งทีป่ กคลุมผังโลกจะมีสขี าว ช่วยสะท้อนพลังงานจากแสงอาทิตย์สว่ นหนึง่ ออกไปในห้วง

รูปที่ 7: แผนที่ก้นอ่าวเมื่อน�า้ ท่วม 7 เมตร (ภาพจาก flood.firetree.net)

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 59


รูปที่ 10: ตัวอย่างประตูน�้า และสะพานเชื่อมเกาะ

รูปที่ 8ก: Thermohaline Circulation

รูปที่ 11: แหล่งผลิตไฟฟ้าบนเกาะ

รูปที่ 8ข: กระบวนการเปลี่ยนแปรในน�า้ ทะเล

รูปที่ 9: ความลึกของก้นอ่าวไทยในปัจจุบัน

ที่กล่าวมาข้างต้น คือ ปัญหาใหญ่ซึ่งสังคมของเราจะ ต้องเผชิญในอนาคต นอกเหนือไปจากปัญหาการระบาย น�้าป่าที่ไหลบ่าหาทางลงสู่ทะเล ซึ่งเป็นปัญหาประจ�า ฤดูกาลของไทยที่ยังแก้ไม่ตกและก็คงแก้ไม่ตกต่อไปอีก นาน ถ้าแต่ละฝ่ายต่างมองเฉพาะผลกระทบที่มีต่อตัวเอง โดยมองไม่เห็นเหตุผลของส่วนรวมและธรรมชาติของน�้า ที่ต้องไหลจากที่สูงลงที่ต�่า เมือ่ ต้นปี พ.ศ.2555 ผูเ้ ขียนเคยน�าเสนอเรือ่ งเกีย่ วกับ การป้องกันน�้าทะเลหนุนของประเทศเนเธอร์แลนด์ไป 4 ตอน ประวัตขิ องสังคมเขาถูกบันทึกเอาไว้จากคนเริม่ คิดถึง คนเริ่มท�าใช้เวลาร่วม 300 ปี จากวันที่เริ่มโครงการแรก จนถึงวันเสร็จสิน้ โครงการสุดท้ายรวมเวลา 70 ปี ช่วงแรก ของเขามีปัญหาความไม่พร้อมด้านเทคนิค ปัจจุบันเรามี 60 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เทคโนโลยีดีกว่าสมัยก่อนประกอบกับได้เห็นตัวอย่างและ ประสบการณ์จากเขา เราน่าจะท�าได้หากหยุดทะเลาะแล้ว ช่วยกันคิดแก้ปัญหาโดยอิงวิธีการของเนเธอร์แลนด์ ถ้า ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติไม่ช้าเราจะสูญเสียศิลป วัฒนธรรมทีใ่ ช้หากินกับนักท่องเทีย่ วในปัจจุบนั ไปจนหมด สิ้น พื้นที่ลุ่มที่ใช้เพาะปลูกจะถูกน�้าเค็มรุกเข้าไปจนท�า เกษตรกรรมไม่ได้ เราจะต้องอพยพผู้คนหลายล้านคนไป หาที่อยู่ใหม่ ใครจะยอม ถ้าเราพิจารณาแผนที่ก้นอ่าวไทยในปัจจุบันตามรูปที่ 9 จะเห็นว่าอ่าวไทยเราไม่ได้ลึกจนเกินความสามารถของ วิศวกรที่จะสร้างสะพานเชื่อมต่อแนวฝั่งตะวันออกไปยัง ตะวันตกโดยมีประตูปดิ -เปิดใต้สะพานให้นา�้ และสัตว์ทะเล ผ่านเข้า-ออกได้ โดยประตูจะปิดก็ต่อเมื่อน�้าทะเลหนุน เท่านัน้ โครงการเช่นนีห้ ากจะด�าเนินการจ�าเป็นต้องมีการ ส�ารวจรองน�า้ ให้ละเอียดก่อนก�าหนดแนวก่อสร้าง เราอาจ จะสร้างเกาะเทียมขึ้นก่อนเป็นระยะๆ แล้วเชื่อมต่อเกาะ ต่างๆ ด้วยสะพานเข้าด้วยกัน พื้นที่บนเกาะสามารถใช้

ประโยชน์เป็นแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ลม คลื่น และไฮโดรเจน ที่เกาะจะต้องสร้างร่องเดินเรือและ สถานีสูบน�้าไว้ส�าหรับเดินเรือและพร่องน�้าก้นอ่าวให้เป็น แก้มลิงรับน�้าเหนือที่บ่าลงมาพร้อมๆ กับเวลาที่น�้าทะเล หนุน ถ้าหางบประมาณสร้างไม่ได้ก็ใช้ที่ก้นอ่าวส่วนหนึ่ง ของโครงการสร้างเป็นนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรือ เพื่อ ระดมทุนด�าเนินการสะพานเชือ่ มฝัง่ ตะวันออกกับฝัง่ ตะวัน ตกของอ่าวจะเอื้อต่อการจราจรระหว่างภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศ อี ก ทั้ ง ยั ง ใช้ เ ป็ น เส้ น ทางเชื่ อ มต่ อ ไปยั ง พม่ า ได้ อี ก ด้วย… เราควรเริ่มด�าเนินการส�ารวจและศึกษาความเป็น ไปได้รวมไปถึงการสร้างความเข้าใจกับประชาชนได้แล้ว อย่ารอจนสายเกินแก้ เราไม่สามารถที่จะเนรมิตโครงการ ได้ในเวลาอันสั้น… หากวันนั้นมาถึง นอกจากจะคิดว่าตัว ใครตัวมัน

เอกสารอ้างอิง www.oekosystem-erde.de : ‘Der 5. UN-Klimareport’ : ‘Kuenftige Klimaaenderung’ Stefan Rahmstorf (www.scilogs.de) : ‘Der nueu IPCC-Klimabericht’ www.wikipedia.de : ‘Klimawandel’ www.wikipeda.de : ‘Meersspiegelanstieg’ : ‘Meerstroemung’ : ‘Fuenfter Sachstandsbericht des IPCC’ : ‘Groenlaendischer Eisschild’ : ‘Antarktischer Eisschild’ รายงานวิชาการเลขที่ สทช. 9/2555 ส�านักเทคโนโลยีธรณี กรมธรณีวิทยา : ‘ธรณีวิทยากายภาพพื้นทะเลอ่าวไทยตอนบน’ เผชิญโชค จินตเศรณ์ และ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.บูรพา 2012: ‘ความคลาดเคลื่อนของแผนที่พื้นมหาสมุทร ทั่วไปบริเวณอ่าวไทยตอนบน’ Umwelt Wissen, Bayerisches Landesamt fuer Umwelt 2008 : ‘Klimawandel’


ดร.ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ |

PRINCIPLE

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

SMART GRID

ในช่วงปลายศตวรรตที่ 19 ระบบโครงข่ายไฟฟ้าได้ถกู พัฒนาและน�ามาใช้ทดแทนระบบโครงข่ายไฟฟ้าทีม่ กี ารผลิตไฟฟ้าแบบรวมศูนย์ (Centralized Power Generation) ซึ่งมีโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่ใช้พลังงานดั้งเดิม (Conventional Energy) ในการผลิตไฟฟ้าจ่าย ให้ทงั้ โครงข่ายไปเป็นระบบโครงข่ายไฟฟ้าทีม่ กี ารผลิตแบบกระจาย (Distributed Power Generation) ซึง่ มีโรงไฟฟ้าตัง้ แต่ขนาดเล็ก ถึงใหญ่ที่ใช้พลังงานดั้งเดิมและพลังงานทดแทน (Conventional and Renewable Energy) กระจายอยู่ทั่วโครงข่ายพร้อมทั้งจ่าย ไฟฟ้าในทุกระดับของโครงข่าย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 61


นิยามของระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากการที่การผลิตแบบกระจายมีโรงไฟฟ้ามากมาย หลายขนาดกระจายอยู่ทุกระดับของโครงข่ายท�าให้เกิด ปั ญ หา และความซั บ ซ้ อ นในการควบคุ ม โครงข่ า ยให้ มี ประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ จึงเกิดแนวความคิดในการ พัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ขึ้นเพื่อ แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยนิยามทั่วไปของระบบโครงข่าย ไฟฟ้าอัจฉริยะนั้นค่อนข้างกว้างและมีการตีความแตกต่าง กันแล้วแต่หน่วยงานที่น�าไปปฏิบัติ แต่สามารถสรุปได้ดัง ต่อไปนี้ ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ คือ ระบบโครงข่ายไฟฟ้า สมัยใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ เก็บข้อมูลและท�าการสั่งการควบคุมโครงข่ายไฟฟ้า โดยใช้ ข้อมูลดังกล่าวในการตัดสินใจ ยกตัวอย่าง เช่น เก็บข้อมูล พฤติกรรมของโหลดจากผู้ใช้งานและการผลิตไฟฟ้าจากผู้ ผลิต การควบคุมอัตโนมัติของระบบโครงข่ายไฟฟ้าเพื่อ ท�าการปรับปรุงประสิทธิภาพ ความเชื่อถือได้ ความคุ้มค่า ทางเศรษฐศาสตร์ และความยัง่ ยืนในการผลิตและจ่ายไฟฟ้า ในระบบโครงข่ายไฟฟ้า Union Commission Task Force for Smart Grids ก�าหนดนิยามของระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะว่า ระบบ โครงข่ายไฟฟ้าทีม่ คี วามสามารถในการลดค่าใช้จา่ ยได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ในการรวมพฤติกรรมและการกระท�าของผู้ ใช้ไฟฟ้าทัง้ หมดทีเ่ ชือ่ มต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าในวิธกี ารเพือ่ ให้ แน่ใจได้วา่ เป็นระบบไฟฟ้าทีม่ คี วามยัง่ ยืน และมีประสิทธิภาพ ทางเศรษฐศาสตร์ โดยมีการสูญเสียภายในระบบที่ต�่า มี คุณภาพในระดับที่สูง มีความมั่นคงในการจ่ายไฟฟ้าและมี ความปลอดภัย ในส่วนของ The U.S. Department of Energy Smart Grid Task Force ได้ท�าการนิยามระบบโครงข่าย ไฟฟ้าอัจฉริยะว่า มีความมุ่งหมายและตอบสนองต่อระบบ ไฟฟ้าที่ปั่นป่วน โดยการแก้ไขการปั่นป่วนนั้นด้วยตัวเอง อนุญาตให้ผใู้ ช้ไฟฟ้าทีม่ กี �าลังต่ออยูก่ บั โครงข่ายไฟฟ้ามีสว่ น ร่วม มีการจัดเตรียมระบบการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด พร้อมทั้ง ระบบสะสมพลังงานทางเลือกต่างๆ อนุญาตให้มีโอกาสที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมต่างเข้าร่วมในระบบ ท�าให้เกิด ประสิทธิภาพและสมดุลของการใช้ทรัพยากรต่างๆ ในระบบ ในการท�างานอย่างมีประสิทธิภาพ และจัดหาไฟฟ้าที่มี คุณภาพไฟฟ้าตามที่ต้องการในเศรษฐกิจยุคดิจิตอล ส�าหรับประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA Smart Grid) ได้ให้นิยามของระบบโครงข่ายอัจฉริยะว่า โครงข่าย ไฟฟ้าทีใ่ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สารมาบริหารจัดการ ควบคุม การผลิต ส่ง และจ่ายพลังงานไฟฟ้า สามารถรองรับ การเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทางเลือกที่ สะอาด ทีก่ ระจายอยูท่ วั่ ไปและระบบบริหารการใช้สนิ ทรัพย์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งให้บริการกับผู้เชื่อมต่อกับ โครงข่ายผ่านมิเตอร์อจั ฉริยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ มัน่ คง ปลอดภัย เชือ่ ถือได้ มีคณ ุ ภาพไฟฟ้าได้มาตรฐานสากล ตามความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้าในศตวรรษที่ 21 ก่อให้เกิด ประโยชน์ ต ่ อ ระบบพลั ง งานของประเทศ คุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้า รวมทั้งชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม

62 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

จากนิยามข้างต้นเราจะเห็นได้ว่าระบบโครงข่ายไฟฟ้า อัจฉริยะนั้นเกิดจากแรงขับเคลื่อนส�าคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1. เพิ่มประสิทธิภาพ (Effiiciency) โดยรวมของระบบ การผลิต ส่งจ่าย และการใช้พลังงานให้มีประสิทธิภาพ สู ง ขึ้น และสามารถสื่อสารแบบเวลาจริงและเป็นแบบ อัตโนมัติ และมีคุณภาพ (Quality) ไม่มีปัญหาการเบี่ยง เบนของแรงดัน (Voltage) กระแสไฟฟ้า (Current) หรือ ความถี่ (Frequency) 2. รองรับการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงาน หมุนเวียน (Renewable Energy) ต่างๆ เช่น แสงอาทิตย์ ลม ฯลฯ ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบโครงข่ายไฟฟ้า 3. เพิ่มความน่าเชื่อถือได้ของระบบโครงข่ายไฟฟ้า โดยมีกลไกในการน�าระบบกลับในสภาวะผิดพร่องทางไฟฟ้า (Fault) กลั บ สู ่ ส ภาวะปกติ ไ ด้ เ องโดยอั ต โนมั ติ (SelfHealing) เนื่องจากใช้ระบบคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ท�าการควบคุม และมีเสถรียรภาพที่ยั่งยืน

ส่วนประกอบของโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะมีส่วนประกอบหลักที่ส�าคัญ 2 ส่วน ประกอบด้วย 1. แหล่งผลิตไฟฟ้า (Energy Resource) แหล่ ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ในโครงข่ า ยไฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะจะต้ อ ง สามารถควบคุมสั่งการให้ผลิตไฟฟ้าได้เพียงพอกับความ ต้ อ งการการใช้ ไ ฟฟ้ า ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถ บริหารจัดการแหล่งผลิตไฟฟ้าที่ไม่เสถียรภาพ เช่น แหล่ง ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยเฉพาะระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ไม่เสถียรภาพ ก�าลังไฟฟ้าที่ ระบบฯ ผลิตได้ขึ้นอยู่กับความเข้มรังสีอาทิตย์ ดังนั้น ระบบ โครงข่ายไฟฟ้าอัฉจริยะจะต้องมีระบบและกลไกในการ ควบคุมการผลิตไฟฟ้าของแหล่งผลิตไฟฟ้าทีไ่ ม่มเี สถียรภาพ ให้ ส ามารถท� า งานร่ ว มกั บ แหล่ ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ มี ค วาม เสถียรภาพสูง เช่น แหล่งผลิตไฟฟ้าจากพลังงานฟอสซิล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ดร.ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ |

PRINCIPLE

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ณ วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

2. ระบบควบคุมและสั่งการและแสดงผล (Control and Monitoring) ระบบควบคุมสั่งการและแสดงผลของระบบโครงข่าย ไฟฟ้าอัจฉริยะสามารถที่จะควบคุม และสั่งการให้เกิดความ สุ มดุ ล ระหว่ างการใช้ พ ลั ง งาน (Demand) และผู ้ ผ ลิ ต พลังงาน (Supply) เพือ่ ให้เกิดความสมดุล (Energy Balance) เพื่ อ ความเสถี ย รภาพและประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห าร จัดการพลังงาน

ประโยชน์ของระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ มีการติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้า อัจฉริยะ (Smart Meter) และระบบสื่อสารสัญญาณต่างๆ ติดตามต�าแหน่งของผู้ใช้ไฟฟ้า เพื่อทราบข้อมูลในการใช้ เวลาจริง (Real Time) อีกด้วย นอกจากนี้ ระบบสายส่ง ไฟฟ้าสมัยใหม่ยังมีการท�างานเป็นระบบโทรคมนาคมไป พร้อมกันด้วย คือ มีการส่งสัญญาณข้อมูลดิจิตอลมาใน

สายส่งพร้อมกับก�าลังไฟฟ้า เรียกระบบนี้ว่า ระบบสื่อสาร ในสายสาธารณะ (Public Line Communication System : PLC) ซึ่งระบบบดังกล่าวสามารถรับภาพโทรทัศน์ หรือ เสียงวิทยุโดยไม่จ�าเป็นต้องใช้สายอากาศ และสามารถใช้ อินเทอร์เน็ตโดยไร้สาย นอกจากนี้ ยังสามารถควบคุม เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านได้ท�าให้ผู้ใช้บริการไฟฟ้ารู้ถึงสภาวะ การใช้ไฟฟ้าตามเวลาจริง และผู้บริโภคสามารถตรวจสอบ ค่าไฟฟ้าได้ตามเวลาจริงจะสามารถช่วยลดปริมาณการใช้ ไฟฟ้าลงได้ถึงร้อยละ 10-15 ส�าหรับผู้ให้บริการไฟฟ้า สามารถบริหารจัดการภาระ ก�าลังไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าการ ซื้อขายไฟฟ้าได้ และสามารถตรวจสอบต�าแหน่งที่มีความ ผิดพร่องทางไฟฟ้า (Fault) ได้ในทันทีที่เกิดเหตุ ในส่วนผู้ผลิตไฟฟ้า สามารถชะลอการลงทุนก่อสร้าง โรงไฟฟ้าใหม่ๆ สามารถใช้ผสมผสานแหล่งก� าเนิดพลัง ไฟฟ้าแบบดั้งเดิมเข้ากับแหล่งก�าเนิดไฟฟ้าที่เป็นพลังงาน

ทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ชีวมวล ฯลฯ ได้ และควบคุมคุณภาพทางไฟฟ้าให้มีค่าอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานและยอมรับได้ ดังนั้น ระบบส่งจ่ายก�าลังไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ ที่จะมาเปลี่ยนรูปแบบการส่งจ่าย พลั ง งานไฟฟ้ า ให้ มี ค วามทั น สมั ย รวมไปถึ ง การปรั บ พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าตามผลการวิเคราะห์และประมวล ผลของ ซอฟต์แวร์ ท�าให้ผู้ใช้บริการเห็นถึงประโยชน์ที่ ได้ รั บ และสามารถตระหนั ก ในความส� า คั ญ ของการลด พลังงาน และใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 63



A cost effective series of the well-established model HSR has been newly added. Optimal for the general linear guide market such as for conveyance systems!

Cost effective Type (Ct Grade) of LM Guide Debuts

HSR (Ct Grade)

HSR Ct = Cost Effective Type (Ct Grade) of LM Guide A cost effective series of the model HSR. Optimal for the general linear guide market such as for conveyance systems or replaces HIWIN. • Cost effective • Versatility • Short delivery time HSR Ct = LM Guide ราคาสบายใจ HSR Ct เป็นรุ่นย่อยจาก หมวดยอดนิยม HSR ที่มีราคาประหยัด และเหมาะกับตลาด Linear Guide ทั่วๆไป เช่น งานระบบ conveyor เลื่อนชิ้นงานเข้า-ออก ที่ไม่ต้องการความละเอียดมาก หรือ ใช้ทดแทนยี่ห้อไฮวิน • ราคาประหยัด • คุณสมบัติหลากหลาย เช่น รับแรงได้ 4 ด้าน เหมาะกับการใช้งาน ทั่วๆ ไป และมีความสามารถในการดูดซับค่า Error ขณะวิ่งได้ดี • สินค้าพร้อมจัดส่ง


C.G.S. (THAILAND) CO., LTD.

789/18 ถนนพระรำม 9 แขวงบำงกะป เขตห้วยขวำง กรุงเทพมหำนคร 10310 ประเทศไทย Tel: +66(0) 2369-2990-4 Fax: +66(0)2369-2763-5 Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Email: cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Facebook: facebook.com/ReBoardDesign


ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

| R&D CORNER

อินเวอร์เตอร์

ระบบปั๊มน�้าทางการเกษตร โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยห้องปฏิบัติการวิจัยต้นแบบและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพัฒนา เทคโนโลยีสูบน�้าแบบประหยัด Solar Inverter Pump หรือปั๊มสูบน�้าพลังแสงอาทิตย์ ด้วยระบบ MPPT (Maximum Power Point Tracking) ช่วยประหยัดและลดต้นทุนในการใช้พลังงาน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 67


เทคโนโลยีสูบน�้า... ประหยัดพลังงาน

เทคโนโลยีที่ว่านี้ เป็นระบบปั๊มน�้าทางการเกษตร โดย ใช้อปุ กรณ์แปลงพลังงานหรืออินเวอเตอร์ ร่วมกับแผงโซล่า ในการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อ ขับเคลื่อนมอเตอร์ปั๊มน�้ารูปแบบต่างๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องใช้ แบตเตอรี่หรือน�้ามันเชื้อเพลิงใดๆ จึงท�าให้ลดค่าใช้จ่าย ของระบบปั๊มน�้าแบบเดิมที่จ�าเป็นต้องใช้น�้ามันเชื้อเพลิง ไปกับเครื่องยนต์ในการขับเคลื่อนมอเตอร์ปั้มน�้า เนื่องจากมีวงจรปรับเร่งแรงดัน ร่วมกับอัลกอริทึม การหาจุดทีม่ พี ลังงานสูงสุด (Advanced MPPT: Maximum PowerPoint Tracking) จึงท�าให้มีประสิทธิภาพการแปลง พลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้าได้สงู สุดในทุกช่วง ความเข้มแสงที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปัจจุบนั ปัม๊ น�า้ ทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้าโดยตรงจากแผงโซล่า ต้องใช้ปั๊มน�้าแบบ DC (DC Pump) ซึ่งมีขนาดก�าลังขับต�่า ไม่มรี ปู แบบของปัม๊ น�า้ ให้เลือกตามการใช้งานมากนัก การใช้ ปั๊มน�้าแบบ AC (AC Pump) ซึ่งในท้องตลาดมีให้เลือกใช้ หลายรุน่ หลายแบบ หลายก�าลังขับ จ�าเป็นต้องใช้อนิ เวอเตอร์ ในการเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไปเป็นกระแสสลับ ก่อน ซึ่งข้อจ�ากัดของอินเวอเตอร์โดยทั่วไป คือ ไม่สามารถ ท� า งานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเมื่ อ ต้ อ งรั บ แรงดั น ที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามความเข้มของแสงอาทิตย์ที่ไม่ แน่นอน และแรงดันสูง 270-350 VDC ท�าให้ตอ้ งใช้จา� นวน แผงโซล่ามากเกินความจ�าเป็น

จุดเด่นสุดยอดนวัตกรรม อินเวอร์เตอร์ปั๊มน�้า

ส�าหรับอินเวอเตอร์ปั๊มน�้าที่เนคเทคได้พัฒนาขึ้นนี้ ได้ เพิม่ ระบบ MPPT ทีม่ คี วามสามารถจัดการพลังงานแบบหา

จุดการถ่ายทอดพลังงานสูงสุดในแต่ละช่วงแสงเพือ่ ให้ปม๊ั น�า้ ท�างานได้ดีที่สุดที่ความเข้มแสงหนึ่งๆ โดยตัวอินเวอเตอร์ เองได้รับการออกแบบให้มีความเหมาะสมต่อการน�าไปใช้ งานกลางแจ้งด้วย ไม่ว่าจะเป็นระบบป้องกันความเสียหาย ฟ้าผ่า การป้องกันฝุ่นกันน�้าตามมาตรฐาน IP55 อีกทั้งไม่ จ�าเป็นต้องใช้ร่วมกับแบตเตอรี่ สามารถน�าไปขับมอเตอร์ แบบ PSC ได้ตั้งแต่ 0.5-3 แรงม้า และมีให้เลือกใช้งานใน ท้องตลาดได้หลายรูปแบบหลายขนาด ทั้งก�าลังดูดหรือส่ง (Head) และอัตราการไหล (Flow) Solar Inverter Pump หรือ ปั๊มสูบน�้าพลังแสงอาทิตย์ สามารถปัม๊ น�า้ จากแหล่งน�า้ หลักเข้าสูบ่ อ่ พักน�า้ หรือคลองส่ง น�้าย่อยในพื้นที่ที่สายไฟฟ้าเข้าถึงได้ยาก รวมถึงแนวโน้ม ราคาน�า้ มันส�าหรับขับเคลือ่ นปัม๊ น�า้ สูงขึน้ สวนทางกับกระแส นิ ย มในการเลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี ท างเลื อ กมากขึ้ น อาทิ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น

แผงโซล่าที่ใช้ร่วมกับอินเวอเตอร์นี้ใช้จ�านวนแผงน้อย กว่าอินเวอร์เตอร์ทวั่ ไปในท้องตลาด ท�าให้ประหยัดค่าใช้จา่ ย ของระบบลงและการพั ฒ นาแผงโซล่ า มี แ นวโน้ ม ของ เทคโนโลยีสูงขึ้นขนาดแผงเล็กลง และหากผลิตในปริมาณ สูงต้นทุนก็จะลดลงตามไปด้วย

งานวิจัย สู่การใช้งานจริง

ส�าหรับ Solar Inverter Pump ทีเ่ นคเทค โดยคุณสุทศั น์ ปฐมนุ พ งศ์ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย ต้ น แบบและผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม หน่ ว ยพั ฒ นานวั ต กรรมและวิ ศ วกรรม ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ได้พัฒนาขึ้น เป็นต้นแบบอินเวอร์เตอร์ส�าหรับปั๊มน�้าจาก เซลแสงอาทิตย์หลายก�าลังขับ ซึ่งน�ามาใช้ในโครงการ ชาวนาอัจฉริยะ 1 ไร่ 1 แสน เป็นการผันน�้าจากคลอง ส่งน�า้ จากแม่นา้� เจ้าพระยา เข้าสูค่ ลองไส้ไก่หรือคลองพักน�า้ ไปยังพื้นที่เกษตรกรรมในโครงการกว่า 100 ไร่ ด้วยปั๊มน�้า พญานาค 3 แรงม้า ใช้พลังงานจากแผงโซล่า 285 วัตต์ จ�านวน 10 แผง ท�าให้ลดค่าใช้จ่ายจากน�้ามันเชื้อเพลิงที่ ใช้กับระบบปั๊มน�้าแบบเดิมกว่า 100,000 บาทต่อปี โครงการนี้ด�าเนินการโดยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และหอการค้าไทย เป็นการช่วยในเรื่องลดต้นทุนในการ ผลิ ต แก่ เ กษตรกรที่ ท� า เกษตรกรรมในพื้ น ที่ ซึ่ ง จ� า เป็ น ต้องการผันน�้าจากแหล่งน�้าหลักเข้าสู่บ่อพักน�้าหรือเข้า พื้นที่เพาะปลูกโดยตรง ดังนั้น การน�าต้นแบบอินเวอร์เตอร์ มาใช้อาจช่วยให้มีการเปลี่ยนมาใช้พลังงานทางเลือกในรูป แบบต่างๆ มากขึ้น จะเห็นได้วา่ งานวิจยั นีส้ ามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึง่ นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จา่ ยด้านเชือ้ เพลิงให้แก่เกษตรกร แล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยการ หันมาใช้ประโยชน์จากพลังงานสะอาด อย่างพลังงานแสง อาทิตย์ ทดแทนการใช้ระบบสูบน�้ารูปแบบเดิม

หากคุณมีเรื่องราวงานวิจัยที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อแวดวงอุตสาหกรรม ซึ่งต้องการเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม ติดต่อได้ที่ 0 2731 1191 ต่อ 115 หรือ jirapat.k@greenworldmedia.co.th ทุกพลังของความคิด จะเป็นแรงบันดาลใจเพือ่ น�าไปต่อยอดและก่อเกิดประโยชน์อย่างมากมาย 68 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


พิชญ์ รอดภัย / PETE ROTPAI (pr150286@gmail.com) นักวิเคราะห์เศรษฐกิจ การเงิน การลงทุน และผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐกิจ การลงทุน โครงสร้างการเงิน และการธนาคาร การศึกษา : บธ.บ. สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เกียรตินิยม) และ MSc. in Finance, University of York, UK.

พิชัย ถิ่นสันติสุข / PHICHAI TINSUNTISOOK (royal@royalequipment.co.th; http://www.royalequipment.co.th) ประธานกลุ่มบริษัท ราชาอีควิปเมนท์ จ�ากัด และประธานกลุ่มอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย President, Royal Equipment Co., Ltd. Chairman, Renewable Energy Industry Club of Federation of Thai Industries (F.T.I.)

ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง / DR.SITTICHAI FARANGTHONG (farlangthong@hotmail.com) ผู้อ�านวยก�ารหลักสูตรบริห�ารธุรกิจมห�าบัณฑิต วิทย�าลัยเซ�าธ์อีส์บ�างกอก และกรรมก�ารสอบวิทย�านิพนธ์ มห�าวิทย�าลัยร�าชภัฏสวนสุนันทา อาจารย์พิเศษวิทย�าลัยของรัฐ และที่ปรึกษ�าสม�าคมภัตต�าค�ารไทย ทั้งยังเป็นคอลัมนิสต์พิเศษให้กับหนังสือพิมพ์และนิตยส�ารต�่างๆ อีกม�ากม�าย

P.70

BOTTOM LINE

“ว่าด้วยเรื่องบทวิเคราะห์วิจารณ์ข่าวสารและปรากฏการณ์ด้าน เศรษฐกิจ – การเงินที่เกิดขึ้นในแวดวงธุรกิจ และอุตสาหกรรมทั่ว โลกอย่างรอบด้าน เพื่อเป็นข้อมูลส�าหรับผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมน�ามาประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องกับธุรกิจ”

P.73

ALTERNATIVE ENERGY

“คอลัมน์นี้จึงเป็นแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ สะท้อนความคิดความ เห็นจากภาคเอกชนอย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์ โดยตรงกับนักลงทุนหรือผู้ที่สนใจลงทุนในธุรกิจนี้ เนื่องจาก พลังงานทดแทนเป็นทั้งธุรกิจ สาธารณูปโภค การลงทุน และความ มั่นคงของรัฐ ดังนั้น หากเกิดความ เปลี่ยนแปลงใดๆ ย่อมส่ง ผลกระทบโดยตรงกับส่วนรวม”

P.76

LOGISTICS DESIGN

“การแข่งขันของธุรกิจปัจจุบันนับวันจะมีทวีความรุนแรงขึ้น ดังนั้น ธุรกิจะต้องมีการออกแบบระบบการโลจิสติกส์ ที่สามารถตอบโจทย์ ทางธุรกิจที่ยากขึ้นด้วยส่วนผสมที่หลากหลาย มิใช่มุ่งเน้นเพียงลด ต้นทุนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องค�านึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ องค์กรด้วย”

HORIZONTAL COMPETENCY ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�า/ NATAWUDH PINTONGKUM (natawudh@hotmail.com) Head of Marketing, Interlink Communication PCL. นักการตลาดรุ่นใหม่ผู้อยู่เบื้องหลังหลากหลายแบรนด์ดัง และเป็นคนแรกๆ ที่ Intergrated การตลาดรวมกับระบบไอที จบการศึกษาทั้งด้านการตลาด เศรษฐศาสตร์ และไอที ทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้ง ยังได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษจากสถาบัน การศึกษาชั้นน�า และเป็นที่ปรึกษาด้านการตลาดให้กับหลายองค์กร

นเรศ เดชผล / NARES DECHPOL (orange_smallfish@hotmail.com, www.orangesmallfish.com) หนึ่งในผู้บริหารเว็บไซต์ชื่อดังของเมืองไทย ผู้คร�่าหวอดในวงการไซเบอร์และไอที อีกทั้ง ยังเป็นผู้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้การหลายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน

ดร.ฉันทมน โพธิพิทักษ์ อาจารย์ประจ�า คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ การศึกษา: สถ.บ. เกียรตินิยม (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถ.ม. (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร Ph.D. (Urban Environmental Management) Asian Institute of Technology ประสบการณ์: ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านมุมมองทัศนียภาพ ประสบการณ์มากกว่า 9 ปี

฀฀฀฀฀฀฀฀-2015.indd 59

P.78

INDUSTRIAL MARKETING

“มุมมองด้านการตลาด บทวิเคราะห์ เทคนิค ข้อมูลที่น่าสนใจ รวม ทั้ง กลยุทธ์ทางการตลาดที่หลากหลายเพื่อผู้ประกอบการยุคใหม่ได้ น�าไปปรับใช้ ต่อยอด เพื่อก้าวเข้าสู่ความเป็นผู้น�า และชิงความได้ เปรียบทางการตลาดอย่างยั่งยืน”

P.80

REAL TIME

“เท่าทันการเปลี่ยนแปลง รับรู้ข้อมูลเตือนภัย และก้าวไปพร้อมกับ การพัฒนาทางเทคโนโลยีด้านไอที อินเทอร์เน็ต และการสื่อสาร เพื่อ การใช้งานเครื่องมือไอทีอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป้าหมาย คือ การน�าไปสนับสนุน และประยุกต์ใช้กับองค์กรในการลดต้นทุนและ เพิ่มพูนผลผลิต”

P.82

FACTORY 3.0

“แนวคิดของอุตสาหกรรมที่เน้นศูนย์กลาง คือ สังคมและชุมชน ซึ่งนอกจากภาคอุตสาหกรรมจะเน้นในตัวผลิตภัณฑ์แล้ว ยังต้องส่ง เสริมคุณค่าและใส่ใจต่อส่วนรวม รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งปัจจุบัน โลกยุค 3.0 เป็นโลกยุคการสื่อสาร และสังคมเป็นหลัก ที่จ�าเป็นจะ ต้องมุ่มเน้นในภาคส่วนรวม พร้อมใส่ใจในสังคมและสิ่งแวดล้อม”

2/17/2015 7:20:18 PM


BOTTOM LINE |

พิชญ์ รอดภัย

การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย

ก�าลังจะกลับมา... อย่างช้าๆ

The Growth of Thai Economy Is Going to Gradually Return ปี 2557 ที่ผ่านมาถือได้ว่าเป็นปีที่ประเทศไทยของเราได้ประสบกับความยากล�าบากพอสมควร ทั้งในเรื่องของสภาวะทางเศรษฐกิจ การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและอืน่ ๆ โดยแม้วา่ จะมีปญ ั หามากมายหลายด้านเกิดขึน้ แต่ในทีส่ ดุ แล้วพวกเราทุกคนก็สามารถผ่านพ้นเหตุการณ์เหล่า นั้นมาได้เป็นอย่างดี โดยหากจะพูดถึงในเรื่องของเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวแล้ว เราจะพบว่าเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยรวมในปี 2557 ที่ผ่าน มานั้นอยู่ในสภาวะ ‘ถดถอย’ แต่ไม่ถึงกับ ‘วิกฤต’ แต่อย่างใด โดยสาเหตุหลักที่ท�าให้สภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศ เราเป็นเช่นนี้ก็เป็นผลที่สืบเนื่องมาจากสถานการณ์ทางการ เมืองนั่นเอง โดยในช่วงกลางปี 2014 ได้มีการท�ารัฐประหาร และจัดตั้งรัฐบาลซึ่งเป็นรัฐบาลทหารเข้ามาบริหารประเทศ (Military Junta) และได้มีการออกนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ จนท�าให้เศรษฐกิจของประเทศไทยดูดีขึ้นบ้าง แต่อย่างไร ก็ตาม การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมในปี 2557 ก็ถือว่ายังอยู่อยู่ในระดับต�่าอยู่ดี ทางด้านภาคการส่งออกซึง่ เป็นภาคส่วนทีส่ า� คัญมากของ ประเทศไทยนั้น ในปี 2557 ปริมาณการส่งออกรวมทั้งปีลด ลงกว่าในปี 2556 ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการน�าเข้า วัตถุดบิ จากต่างประเทศทีม่ ยี อดการน�าเข้าลดลงอย่างเห็นได้ ชัด โดยสาเหตุที่ท�าให้ทั้งการส่งออกและน�าเข้าของประเทศ อยูใ่ นสถานการณ์ทไี่ ม่ดนี มี้ าจากการหดตัวอย่างมากของการ บริโภคทั้งภายในประเทศและในต่างประเทศนั่นเอง มาถึงภาคการท่องเที่ยวซึ่งเคยเป็นภาคที่สร้างรายได้ให้ แก่ประเทศเป็นจ�านวนมากมาอย่างต่อเนื่องนั้น อาจกล่าวได้ ว่าในปี 2557 ภาคการท่องเที่ยวของประเทศไทยต้องเผชิญ กับภาวะ ‘วิกฤต’ เลยทีเดียว โดยสาเหตุคงหนีไม่พน้ ผลกระทบ จากปัญหาด้านการเมือง การประท้วงอย่างยืดเยื้อยาวนาน การประกาศเคอร์ฟิวส์ การท�ารัฐประหาร และการประกาศ กฎอัยการศึกนั่นเองที่ท�าให้นักท่องเที่ยวต่างชาติตัดสินใจ เปลีย่ นจุดหมายปลายทางไปยังประเทศอืน่ จนท�าให้ภาคการ ท่องเที่ยวรวมไปถึงภาคธุรกิจโรงแรมของประเทศอยู่ใน สภาวะวิกฤต นอกจากนั้น ในปี 2557 ยังมีปัจจัยส�าคัญ อีก 2 ประการที่ท�าให้เศรษฐกิจของประเทศ ไทยอยูใ่ นสภาวะถดถอยนัน่ ก็คอื โครงการ

รับจ�าน�าข้าวและการสิ้นสุดของนโยบายรถคันแรก เริ่มจาก โครงการรับจ�าน�าข้าวทีเ่ ป็นต้นเหตุให้ชาวนาขาดสภาพคล่อง ส่งผลให้ชาวนาเป็นหนีแ้ ละลดการจับจ่ายใช้สอยลง ส่วนการ สิ้นสุดลงของโครงการรถคันแรกนั้นได้ส่งผลกระทบทางอ้อม เนื่องจากในปี 2555 และ 2556 มีผู้บริโภคจ�านวนมากที่ ‘ฝืน’ ซื้อรถยนต์คันแรกจนท�าให้ผู้บริโภคเหล่านั้นมีหนี้ส่วนบุคคล เพิ่มสูงขึ้น จึงจ�าเป็นต้องลดการใช้จ่ายเงินทางด้านอื่นลง ใน ขณะเดียวกันโครงการนี้ยังส่งผลให้ปริมาณการซื้อรถยนต์ใน ปี 2557 ลดต�่าลงพอสมควรอีกด้วย จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศไทยนั้นไม่ดี หลายฝ่ายจึงตั้งความหวังไว้มากกับปี 2558 นีว้ า่ เศรษฐกิจของไทยจะต้องกลับมาเติบโตอีกครัง้ อย่าง แน่นอน โดยผู้เขียนเองก็มีมุมมองไปในทิศทางเดียวกันกับที่ คนส่วนใหญ่คาดหวังเอาไว้นนั่ ก็คอื ‘เศรษฐกิจของประเทศไทย น่าจะมีการเจริญเติบโตในปี 2558’ แต่ผู้เขียนต้องขอบอกไว้ เลยว่าตามความเห็นของผู้เขียนแล้ว ‘การเติบโตที่จะเกิดขึ้น นี้จะยังคงอยู่ในระดับต�่าเท่านั้น’ โดยปัจจัยสนับสนุนมุมมองดังกล่าวนี้มาจากอัตราการ บริโภคที่น่าจะเพิ่มขึ้นของภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มคน ท�างาน เนือ่ งจากกลุม่ คนเหล่านีย้ งั มีหนีส้ นิ อยูใ่ นระดับทีไ่ ม่สงู มากนักและยังคงมีก�าลังซื้ออยู่ แต่ อย่างไรก็ตามกลุ่มคนเหล่านี้ จะยังคงระมัดระวังตัวอยู่พอ

สมควรในปี 2558 ประกอบกับก�าลังซื้อของผู้บริโภคที่เป็น ชาวไร่ชาวนายังอยู่ในระดับต�่า การบริโภคที่เพิ่มขึ้นของภาค เอกชนจึงคงจะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ปัจจัยสนับสนุนต่อมานัน้ มาจากการฟืน้ ตัวของการลงทุน ทัง้ จากภาคเอกชนและภาครัฐ โดยการลงทุนของภาคเอกชน นั้นจะเป็นไปตามแนวโน้มการบริโภคและการส่งออก โดยถ้า ตั ว เลขของการบริ โ ภคและการส่ ง ออกปรั บ ตั ว เพิ่ ม สู ง ขึ้ น


T

he year 2014 is deemed as the year that Thailand encountered with difficulty both on the subject of economic condition, politics, international relations and others. Although there are various aspects of problem but all of us can eventually pass those incidents well. If we mention only on economy we will find that overall Thai economy in 2014 is in ‘diminishing’ condition but it is not yet a ‘crisis’ anyway.

ปริมาณการลงทุนก็น่าจะปรับตัวสูงขึ้นเช่น เดียวกัน ในขณะที่การลงทุนจากภาครัฐน่าจะ มาจากการลงทุนก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบ ขนส่งมวลชนที่เป็นโครงการต่อเนื่องมาจากรัฐบาลชุดก่อน นั่นเอง ส�าหรับภาคการส่งออกในปี 2558 น่าจะกลับมาเติบโต อีกครั้งแม้ว่าหลายฝ่ายคาดการณ์ว่าอัตราการเติบโตจะอยู่ที่ ประมาณ 3-4% ก็ตาม แต่ก็ยังถือว่าเป็นปัจจัยบวกเมื่อเทียบ กับการลดต�่าลงของภาคการส่งออกในปี 2557 โดยสาเหตุที่ ท�าให้ผู้เขียนมองว่าภาคการส่งออกจะเติบโตขึ้นนั้นมาจาก เศรษฐกิจโดยรวมของโลกที่ก�าลังฟื้นตัวอย่างช้าๆ และใน เรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนนั่นเอง และปัจจัยสุดท้ายก็คือ สถานการณ์ทางการเมืองที่ยังจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงใน เร็ววัน ซึ่งน่าจะส่งผลในเชิงบวกต่อภาคเอกชนและนักลงทุน ต่างชาติ โดยรวมแล้ ว เราทุ ก คนน่ า จะได้ เ ห็ น การกลั บ มาของ เศรษฐกิจของประเทศไทยอีกครั้งในปี 2558 นี้ แม้ว่าการ เติบโตดังกล่าวจะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปก็ตาม แต่อย่าง น้อยการกลับมาเติบโตอีกครั้งก็น่าจะเป็นสัญญาณที่ดีของ พวกเราทุกคนอย่างแน่นอน The principal factor that causes the economy of our country to be like this is due to political situation. In mid 2014 there was a coup and, as a consequence, a junta. Policies to encourage economy have been issued until Thailand’s economy turns to be better. Yet, overall Thai economic growth in 2014 is still low. For export sector which is a very important part of Thailand, in 2014 the total export volume for the whole year is lower than in 2013 which is in the same direction of raw materials importation that is apparently low. The cause of low import and export comes from very much shrinkage of both domestic and foreign consumption. Regarding tourism sector which used to be the one that continually makes a lot of income to the country, it can say that in 2014 tourism sector of Thailand has to confront with ‘crisis’. Inevitably, the major cause of such situation comes from political issues: long and continuous protest, proclamation of curfew, coup and proclamation of martial law. Consequently, foreign tourists change their destination to other countries until the country’s tourism and hotel sector falls down. Besides, in 2014 there also are 2 important factors causing Thailand’s economy to be regressive, i.e. rice mortgage scheme and the finish of the first car policy. First, rice mortgage scheme which causes peasants to lack liquidity. As a result, peasants are indebted and lessen expenditure while the end of the first car scheme indirectly affects because in 2012 and 2013 there were a large number of consumers who ‘buy without readiness’ a car until they suffer

with increasing personal debt. Thus, they have to lessen other expenses. Meanwhile, such scheme also causes the sales of automobile in 2014 to lower. From the information as mentioned above, we can see that overall Thai economy is not good. Several parties then hope a lot that Thai economy in 2015 will certainly return to grow once again. The author also has a similar viewpoint with them, that is, ‘Thai economy is likely to grow in 2015’ but in the author’s opinion, ‘the growth is still at the low level.’ The next supportive factor comes from the recovery of investment, both in public and private sector. Investment in private sector will follow the tendency of consumption and export. If the figure of consumption and export increases the volume of investment is likely to increase as well while investment in public sector probably comes from infrastructure and public utility construction schemes, particularly mass transit system which is the scheme proceeds from the previous government.

For export sector, in 2015 it is likely to come back to grow once again although several parties anticipate that the growth rate will be around 3 - 4%. It is, however, deemed to be a positive factor compared with the declination of export sector in 2014. The factors that make the author view that export sector is going to grow due to the overall world’s economy that has gradually recovered as well as the exchange rate. The final factor is the political situation of our country that does not yet change in the near future. This is likely a positive effect to private sector and foreign investors. In overall, all of us probably see the return of Thai economy once again in 2015 even though such growth may proceed gradually. At least the coming back of growth is, of course, a good signal to all of us. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 71


THAILAND

lighting fair

PROVINCIAL ELECTRICITY AUTHORITY

เจาภาพการจัดงาน

รวมขับเคลื่อนโดย

THE COMPLETE LIGHTING SOLUTION IN THAILAND AND AEC

19 – 21 การไฟฟาสวนภูมิภาค รวมกับ Messe Frankfurt ผู  จ ั ด งานแสดงสิ น ค า ระดั บ โลก ขอเรี ย นเชิ ญ ผูประกอบการรวมเปนสวนหนึงของ งานแสดงสินคา THAILAND LIGHTING FAIR

0-2641-5483

2558

100, 112, 117

info@thailandlightingfair.com ผูจัดงาน

ผูสนับสนุนหลัก

สนับสนุนโดย

สนับสนุนโดย

ผูสนับสนุน


พิชัย ถิ่นสันติสุข

| ALTERNATIVE ENERGY

รัฐเพิ่ม FiT ผลิตไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรม

เกม Carrot & Stick FiT For Industrial Waste: The Carrot & Stick Game ปัญหาขยะชุมชนเป็นเรื่องของเกมการเมืองท้องถิ่นที่นักการเมืองจะบริหารจัดการขยะเจ้าปัญหาของตนให้ได้ประโยชน์สูงที่สุด ส่วนปัญหาของ ขยะอุตสาหกรรมกลับเป็นเกมซ่อนหาระหว่างเจ้าของขยะ ผูร้ บั ก�าจัดกาก และกรมโรงงานอุตสาหกรรมทัง้ 3 ฝ่าย ต่างบริหารให้ตนเองได้ประโยชน์ สูงที่สุด บางครั้งก็เกินเลยความถูกต้อง ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจนเป็นที่ทราบกันอยู่ในปัจจุบัน เริ่มจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมที่เพิ่ง จะกลับมาเป็นที่ยอมรับของอุตสาหกรรมในยุค คสช. หมาดๆ นี่เอง ได้รับบทบาทเป็นผู้คุ้มกฎ คอยออกกฎระเบียบหากท�าผิดก็ลงโทษ แต่อีก หน้าที่หนึ่งก็ต้องคอยส่งเสริมให้อุตสาหกรรมพัฒนาไปสู่เป้าหมาย วันนี้กรมโรงงานอุตสาหกรรมกลับมาเป็นขวัญใจของ พวกเราเหมือนเดิมแล้ว ต่อมาก็คือ ผู้ให้บริการก�าจัดกาก อุตสาหกรรมประเภทอันตรายและไม่อันตราย (Waste Processor: WP) รวมทั้งขยะที่เป็นวัตถุดิบต่อไปยังอุตสาหกรรม อื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยระบบการขนส่งกากอุตสาหกรรมจาก โรงงานไปยังสถานที่ก�าจัด/บ�าบัดกาก ในส่วนการขนส่งแล้ว โรงงานก�าจัดกากอุตสาหกรรมน่าจะเกิดเกมซ่อนหามากทีส่ ดุ คราวนี้กลับมาที่เจ้าของขยะโรงงานอุตสาหกรรม ผู้ที่ก่อให้ เกิดขยะ (Waste Generator: WG) มีทั้งเศษเหลือทิ้งและ วัสดุเหลือใช้นานาชนิด มองผ่าน ๆ เหมือนว่าไม่มอี ะไรแต่ทา่ น ทั้งหลาย ท่านทราบไหมว่า เกมซ่อนหาเริ่มต้นที่นี่ เนื่องจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมออกระเบียบว่า การ ขนขยะหรือกากอุตสาหกรรมออกจากโรงงาน ต้องมีการ รายงานกับทางกรมโรงงานอุตสาหกรรม (Manifest System) รวมทั้งรถที่ขนส่ง (Waste Transporter: WT) ก็ต้องได้รับ อนุญาต ซึ่งล้วนก่อให้เกิดต้นทุนการบริหารจัดการเพิ่มขึ้น โรงงานจึงพยายามแจ้งส่วนทีเ่ ป็นขยะให้นอ้ ยทีส่ ดุ และไปเพิม่ ในส่วนของวัตถุดิบแทน เกมเล่นซ่อนหาจึงเริ่มขึ้น ถึงแม้จะ มีการออนไลน์ระบบระหว่างโรงงาน ผู้รับก�าจัดกากและกอง ก�าจัดกากฯ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมแล้วก็ตาม รัฐเปิดเกม Carrot and Stick หรือเข้าใจอย่างไทยๆ ว่า มีพระเดช และ พระคุณ โดยเริ่มที่ Carrot ก่อนนั่นคือ การ พยายามสร้างแรงจูงใจแทนการลงโทษซึ่งไร้ผลมาโดยตลอด กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงจับมือกับกระทรวงพลังงาน ควัก กระเป๋าอัตราส่งเสริม FiT: Feed-in Tariff ส�าหรับการขาย ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน แบบ Super Premium หากน�า ทั้งขยะอันตรายและไม่อันตรายมาผลิตไฟฟ้าในนิคมอุตสาห กรรมด้วยเทคโนโลยีที่ทางกรมโรงงานยอมรับจะบวกเพิ่มให้

อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นผู้แทนภาคเอกชนเข้าร่วม กันท�างาน ท�าให้เราได้รู้ว่าขยะ ของคนไทย 63 ล้านคนมีขยะถึง ปีละกว่า 60 ล้านตัน เป็นขยะ อุตสาห กรรมประมาณ 33 ล้าน ตัน นอกจากนั้นเป็นขยะชุมชน และขยะติดเชื้อจากสถานพยา บาล เมื่อเราน�าขยะชุมชนและ ขยะอุตสาหกรรมมากองรวมกัน อาจเกิดค�าถามเรือ่ งกฎระเบียบ ในการขออนุญาตประกอบกิจ การก�าจัดขยะ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเมื่อน�ามาผลิตเป็นพลังงาน

อีก 1 บาท ทุกๆ หน่วย (kWh) เป็นเวลา 8 ปี งานนี้มีเฮ! ไม่รู้ ว่าขยะที่เล่นซ่อนแอบอยู่จะค่อยๆ ออกมาเป็นเชื้อเพลิงมีค่า หรือไม่ ถ้าเกมนีไ้ ม่ได้ผลผูค้ มุ้ กฎอย่างกรมโรงงานอุตสาหกรรม ของเราก็ต้องแปลงร่าง ท�าหน้ายักษ์ลงโทษกันแล้ว เมื่อ แครอทไม่ได้ผลก็คงต้องใช้ไม้เรียว (Stick) ท่านทราบไหมว่าขยะชุมชนและขยะอุตสาหกรรมใน ประเทศไทยมีปริมาณรวมกันทั้งหมดเท่าไหร่ และหายไปไหน ใครรู้บ้าง นี่เป็นครั้งแรกของเมืองไทยที่มีการท�างานแบบ บูรณาการระหว่างกระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีสภา

ท่านทราบไหมว่าปริมาณขยะทีค่ นไทยช่วยกันสร้างคนละ ตันนั้น มีการจัดการอย่างถูกต้องแล้วไม่ถึงครึ่ง เช่น ขยะ ชุมชน คาดว่ามีการก�าจัดแบบพอใช้ได้เพียง 20% เท่านั้น ส่วนขยะอุตสาหกรรมตรงกันข้ามจะมีส่วนลักลอบทิ้งราว 20% หากท่านคิดจะท�าธุรกิจการจัดการขยะแล้วละก็ต้อง เรียนรู้อีกมากมาย อุปสรรคใหญ่ ก็คือ ความรู้ในเรื่องขยะ ตั้งแต่องค์ประกอบโครงสร้างทางเคมีและอีกสารพัดที่ต้อง เรียนรู้ ใครที่บอกว่าขยะเป็นทองก็หมายถึงคัดเลือกเอาของ ดีๆ ไป แล้วทิ้งของเสียไว้เป็นภาระสังคมเหมือนในปัจจุบัน หากทานยังรักที่จะท�าธุรกิจขยะมีสิ่งที่ควรรู้เบื้องต้นดังนี้

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 73


1. การคัดแยกขยะชุมชนเพือ่ ใช้เป็น RDF: Refuse Derived Fuel เป็นอ�านาจอนุมัติของท้องถิ่นเจ้าของพื้นที่ 2. การคัดแยกและแปรรูปขยะอุตสาหกรรมเป็นอ�านาจของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ต้องขอรับใบอนุญาต 105, 106 และ 101 ในกรณีมีการเผาและบ�าบัดน�้าเสียรวม 3. การตั้งโรงไฟฟ้าเป็นอ�านาจของกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นโรงงานล�าดับที่ 88 หากมีหลายกระบวนการในโรง ไฟฟ้าถือเป็นโรงงานเดียวกันสามารถขออนุญาตได้ในครัง้ เดียว 4. ใบอนุญาต รง.4 เป็นอ�านาจของอุตสาหกรรมจังหวัดไม่ ต้องขอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด 5. สกพ. (ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน) เปิดบริการ Single Window ยื่นขออนุญาตผลิตไฟฟ้า ทั้งหมดกับ สกพ. เพียงแห่งเดียวส�าหรับทุกใบอนุญาต (หากมีข้อสงสัยสอบถาม สกพ. เพิ่มเติมได้) 6. การนิ ค มอุ ต สาหกรรมมี อ� า นาจอนุ มั ติ ห นั ง สื อ และใบ อนุญาตเกือบทุกชนิด 7. อั ต ราส่ ง เสริ ม การผลิ ต ไฟฟ้ า จากขยะในนิ ค มอุ ต สาห กรรมได้สว่ นเพิม่ อีกหน่วยละ 1 บาท/kWh เป็นระยะเวลา 8 ปี (Super Premium) 8. หากใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อก�าจัดขยะ อาทิ เทคโนโลยี พลาสมา (Plasma) (ใช้ความร้อนสูง) ได้ส่วนเพิ่มอีก 1 บาท รับจ�านวนจ�ากัดเพียง 10 เมกะวัตต์ 9. ศึกษารายละเอียดจากตาราง Feed-in Tariff ต่อไปนี้ หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามที่ สนพ. (ส�านักงาน นโยบายและแผนพลังงาน) หรือกลุ่มอุตสาหกรรมพลัง งานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อีเมล์: reenergy.fti@gmail.com ก็ได้ 10. เรื่องที่ยังไม่ลงตัวระหว่างการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกับการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตหรือกฎระเบียบที่บั่นทอนการส่งเสริม พลังงานทดแทน รวมทั้งปัญหาของเชื้อเพลิงชีวภาพ เรื้อรังมานานก็จะได้รับการแก้ไขจาก พ.ร.บ. พลังงาน ทดแทน ฉบับปี พ.ศ.2558 ที่ก�าลังน�าเข้า สนช. (สภา นิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ) ต้องขอบคุณนายทหารทุกท่านทีเ่ ก็บ เครือ่ งแบบแล้วใส่สทู ช่วยกันพิจารณาจนจวนจะคลอดใน อีกไม่กี่เดือนนี้แล้ว ขอบคุณท่านนายกรัฐมนตรีและคณะทีใ่ ห้ความสนใจเกีย่ ว กับปัญหาขยะ พวกเราภาคเอกชนพร้อมลงทุน 100% ตาม อัตราส่งเสริมการรับซือ้ ไฟฟ้าทีก่ พช. (คณะกรรมการนโยบาย แห่งชาติ) เห็นชอบ ‘ขอเวลาอีกไม่นาน’ นอกจากนี้ กระทรวงพลังงานยังมีวสิ ยั ทัศน์ไกลถึงการส่ง เสริมการน�าขยะพลาสติกมาผลิตเป็นน�้ามันสังเคราะห์ไว้ใช้ แทนน�้ามันเตา ซึ่งราคาอาจจะสูงขึ้นเมื่อราคา LPG ปรับตัว โดยแนวทางส่งเสริมเดิมของกระทรวงพลังงาน เน้นการน�า น�้ามันไปใช้กับรถยนต์ซึ่งไม่ได้ผลเท่าที่ควร จึงก�าลังพิจารณา ก�าหนดมาตรการต่างๆ เช่น การยกเว้นภาษีสรรพสามิต และ ยกเว้นการเก็บเงินเข้ากองทุนน�า้ มัน และให้โรงงานแปลงขยะ พลาสติกเป็นน�้ามัน สามารถขอ BOI ได้ด้วยอาจจะสร้างแรง จูงใจมากขึ้น แต่ก็คงต้องมองให้รอบด้านและพร้อมรับยาง รถยนต์เก่าที่ไหลเข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้าน หากไม่ส่งผล กระทบสิ่งแวดล้อมจะเป็นการดีที่สุด การออกมาตรการส่งเสริมให้ผลิตพลังงานจากขยะอุตสาห กรรมของกระทรวงพลังงานในครั้งนี้ เริ่มต้นและส�าเร็จลง อย่างรวดเร็วด้วยการเชิญผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่ายมาร่วมประชุม เพือ่ ตกผลึกลงตัวทีผ่ ลประโยชน์สว่ นรวม ส�าหรับนโยบายดีๆ ของรัฐ เอกชนพร้อมให้การสนับสนุน ใครอยู่เบื้องหลังความ ส�าเร็จบ้างก็ขอให้ภาคภูมใิ จ และขอชืน่ ชมและปรบมือแด่ทกุ ท่าน 74 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

T

he problem of municipal solid waste is the subject of locally political game which the politicians will take the maximum benefit while the problem of industrial waste becomes a hide-and-seek game among the waste generator, waste processor and the Department of Industrial Works. Each of such 3 parties has individually managed for their own profit. Sometimes it is beyond the moral as we currently aware. Starting from the Department of Industrial Works, which has just in the eye of NCPO. It takes the role of a regulator responsible for regulation issuance and punishing for those that break the law. Another responsibility is to promote and develop industrial sector. Next is a waste processor (WP) for hazardous and nonhazardous waste including the waste which could be the feedstock for other industries. It has to rely on the waste transportation from a factory to the disposal/ treatment facilities. Regarding transportation, hide-and-seek game is most likely to take place along the way to the treatment facilities. Let’s back to the waste generator (WG). Such waste comprises various kinds of scrap and waste which are glanced at like nothing, but do you know that the hide-and-seek game begins here?

As Department of Industrial Works issued a regulation that to dispose the industrial waste out of a factory must report to Department of Industrial Works using the Manifest System with the certified waste transporters (WT). These cause additional management cost, so some factories have attempted to report the partially waste disposal and report much more as the feedstock. This is where the hide-andseek game then begins even though the online system is available amongst factories, a waste processor and Department of Industrial Works. The government is the one that start Carrot and Stick game. Let’s start from the Carrot first. It is an incentive to create motivation in place of punishment which has been fruitless. The Department of Industrial Works then joins with Ministry of Energy to endorse FiT: Feed-in Tariff for industrial waste that can produce electricity with the Super Premium

rate. If both hazardous and non-hazardous wastes are used to generate electricity within an industrial estate with the technology accepted by Department of Industrial Works, the extra 1 baht will be added to each unit (kWh) for 8 years. It has not yet known whether the overlook waste will gradually be found and become the valuable fuel. If this game does not work, the regulator like Department of Industrial Works might has to use the Stick as the punishment. Do you know how many tons of municipal and industrial waste in Thailand? Where are they? This is the first time in Thailand that there is an integrated work among Ministry of Energy, Ministry of Industry, Ministry of Natural Resources and Environment in conjunction with The Renewable Energy Industry Club, Federation of Thai Industries as the representative from private sector. It is said that 63 million people of our population create 60 million tons


of waste/ year in which 33 million tons are industrial waste and 27 million tons are municipal solid waste, infectious waste, and electronics waste. If we pile up municipal and industrial waste, questions may rise in permission to treat both MSW and Industrial waste to Energy. Do you know that less than a half of collected MSW waste has been collected? Only 20% of MSW is well managed, while 20% of industrial waste is smuggled to dump. If you would like to start this waste management business, you have to learn a lot; starting from waste composition and chemical component structure. The saying that waste is as valuable as gold means that they take only valuable items and left the unwanted to a landfill. If you still have the eye on this business, here are some tips you need to aware as follows: 1. Municipal solid waste sorting to produce RDF: Refuse Derived Fuel is approved by the local municipalizes. 2. Producing industrial waste to the feedstock for power plant, you need to apply for 105, 106 and 101 permit from Department of Industrial Works 3. To build the power plant with your waste treatment facility, you can submit the document both 88 permit application with other petitions. 4. Permit Ror Ngor.4 is authorized by the Provincial Industry Office. You do not have to ask the provincial governor for an approval. 5. OERC (Office of Energy Regulatory Commission) opens the Single Window service. All application for electricity generating shall be filed to OERC only (If there is any doubt, one can ask OERC for additional information). 6. Industrial Estate Authority of Thailand has authority to approve almost all of letters and permits.

7. Electricity generating from industrial waste in an industrial estate obtains additional Adder 1 Baht per kWh for 8 years (Super Premium). 8. If advance technology such as Plasma Technology is applied, it will obtain additional Adder for 1 baht per unit limit for 10 MW only. 9. Studying the detail from the following Feed-in Tariff table below, if there is questions, please To contact EPPO (Energy Policy and Planning Office) or Renewable Energy Industry Club, The Federation of Thai Industries by e-mail: reenergy. fti@gmail.com. 10. Many issues among The Provincial Electricity Authority and the Electricity Generating

Authority of Thailand or unsupportive regulations on Renewable Energy business are soon to be solved by the Renewable Act B.E. 2558 as it is now being proposed to NLA (National Legislative Assembly). Thank you to the NCPO to consider the Act and going to be issued in few months. Thank you Prime Minister and his cabinet in announce that waste is one of the national agenda. As the private sector, we have the investors who are willing to invest 100% in the projects that the NEPC (National Energy Policy Committee) has approved the endorsement program. Besides, Ministry of Energy also visualizes encouraging the production of synthetic oil from plastic waste in order to replace bunker oil. The price may increase when LPG price is adjusted. The previous support was focusing on pyrolysis fuel for automobile which is not having the huge success. The Ministry, thus, is reconsidering to designate measures, for instance, excise tax exception, exemption of contribution to Oil Fund or allow these facilities to enjoy the BOI tax exemption. However, this has to comprehensively consider and be ready to receive the influx of old tires from neighboring countries. It will be the best if it does not affect to environment. The issuance of encouragement measure for energy production from industrial waste of Ministry of Energy can seek the solutions quickly by inviting all concerning parties to meet and brainstorming for public interest. The wire pullers of this achievement should be proud of themselves. On behalf of the Modern Manufacturing Magazine, the author would like to acclaim and applaud to everyone.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 75


LOGISTICS DESIGN |

สิทธิชัย ฝรั่งทอง

แรงจูงใจของพนักงานขับรถส่งสินค้า ที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน

Effect of Freight Truck Driver’s Motivation to Work Performance พนักงานขับรถจัดเป็นต�าแหน่งงานหนึง่ ในสายงานการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนทีม่ สี ว่ น ส�าคัญที่จะท�าให้การส่งมอบสินค้าหรือบริการได้ทันเวลาและเกิดความประทับใจกับลูกค้าได้ บาง แห่งใช้วธิ ี Outsource จากภายนอกบริษทั หรือจะรับเป็นพนักงานของบริษทั ก็ตาม ก็ถอื ว่าเป็น ตัวแปรส�าคัญที่จะท�าให้งานล่าช้าหรือเกิดความบกพร่องได้ ซึ่งสัญญาณในการท�าให้งานที่เกิด ด้อยประสิทธิภาพลงมีหลายประการคือ มีพนักงานขับรถลาออกบ่อย รถเสียระหว่างทางบ่อย ครั้ง และมีการร้องเรียนของลูกค้าเป็นจ�านวนมาก หรือเมื่อรับพนักงานขับรถใหม่เข้ามาก็ไม่ เข้าใจกฎระเบียบการท�างานและขาดความช�านาญในเส้นทางการขนส่ง ดังนั้น แนวทางการเพิ่ม แรงจูงใจทีเ่ ป็นรูปธรรมในการปฏิบตั งิ านให้เกิดประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ซึง่ ผูเ้ ขียนมีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ 76 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

1. ด้านนโยบายและการบริหารงานของบริษัทฯ

1.1 ควรมีการเปิดโอกาสให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วม ในการเข้าร่วมประชุมก�าหนดนโยบาย ทิศทางการท�างาน แผนงาน ฯลฯ ด้านการจัดส่งสินค้าเพื่อให้ระบบการท�างาน เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.2 ควรมีการเปิดกว้างให้พนักงานทุกระดับแสดงความ คิดเห็นผ่านหลากหลายช่องทาง เพื่อเป็นการลดปัญหาหรือ สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา เช่น กล่องรับความคิดเห็น ทางโทรศัพท์ E-mail Line Facebook เป็นต้น 1.3 ควรมีการก�าหนดตัวดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ (KPI) และบทลงโทษในการท�างานของพนักงานขับรถขนส่งสินค้า โดยจะต้องมีการตรวจสอบสภาพรถอย่างสม�่าเสมอ ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องลมยาง เบรก หม้อน�้า หรือความเรียบร้อยของ สิ่งของที่จะบรรทุก เพื่อป้องกันความเสียหายจากการขนส่ง สินค้าหรือการร้องเรียนจากลูกค้า 1.4 ในการจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาในการสั่งซื้อรถ ใหม่ทดแทนรถเก่าที่ก�าลังหมดสภาพหรือการจ�าหน่ายรถดัง กล่าวออกไป ควรจัดให้พนักงานขับรถมีส่วนเกี่ยวข้องในการ ให้ความคิดเห็น ซึ่งจะสามารถท�าให้เกิดการประหยัดหรือ ความคุ้มค่า


truck driver is one of A significant positions in the line of logistics and supply

2. ด้านเงินเดือน/อัตราค่าตอบแทน

2.1 ควรมีการปรับฐานเงินเดือนและค่าตอบแทนของ พนักงานขับรถที่ได้รับไม่ให้ต�่ากว่าตลาดแรงงานหรือบริษัท อืน่ ๆ หรือก�าหนดอัตราเงินเดือนเป็นแบบขัน้ บันได เพือ่ ให้เกิด ความยุติธรรมในการปรับขึ้นเงินเดือนในแต่ละครั้ง รวมทั้ง ก�าหนดวันจ่ายอัตราค่าตอบแทนที่แน่นอน 2.2 ควรปรับจัดให้มีสวัสดิการประเภทอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น เช่น เงินฌาปนกิจสงเคราะห์ศพ เงินทุนสงเคราะห์บุตร เงิน กู้ยืมระยะสั้นดอกเบี้ยต�่า เป็นต้น เพื่อเป็นการสร้างขวัญและ ก�าลังใจ ซึ่งจะท�าให้พนักงานขับรถไม่รู้สึกว่าก�าลังท�างานที่ ด้อยกว่างานต�าแหน่งอื่นๆ

3. ด้านสภาพของการท�างาน

3.1 ควรมีการปรับสภาพแวดล้อมภายในที่ท�างานของ การขนส่งสินค้าให้มีความสะอาดและสิ่งอ�านวยความสะดวก ต่างๆ เช่น ห้องพักผ่อน ห้องพักสูบบุหรี่และไม่สูบบุหรี่แยก เป็นสัดส่วน เป็นต้น 3.2 ควรมีการปรับลดขัน้ ตอนการท�างานทีม่ คี วามซับซ้อน หรือลดความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานที่ต้องเกี่ยวข้องกัน เพื่อไม่ให้สายโซ่แห่งการท�างานขาดลง 3.3 ควรมีการจัดซื้อจัดหาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ใน การขนส่งสินค้าเพิม่ ขึน้ เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านเกิดความคล่อง ตัวและรวดเร็วขึ้น รวมถึงความปลอดภัยทั้งพนักงานขับรถ และสินค้า โดยจะไม่มีปัญหารถเสียระหว่างขนส่ง 3.4 ควรมีการน�าระบบไอทีเข้ามาช่วยในการวางแผน การขนส่ง โดยท�าการติดตัง้ เครือ่ งมือติดตาม (GPRS.) กับรถ ขนส่ง และวางระบบบริหารจัดการการขนส่งสินค้า (Transportation management system: TMS ) เพื่อเพิ่มการจัด วางเส้นทางให้มีประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ข้อจ�ากัด

4. ด้านความก้าวหน้าในการท�างาน

4.1 ควรมีการก�าหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนา บุคลากรเพือ่ เสริมสร้างทักษะและความก้าวหน้าในการปฏิบตั ิ งาน โดยหาวิทยากรที่มีความรู้ความช�านาญเฉพาะทางมาให้ ความรูแ้ ก่พนักงานขับรถอย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการ ขับขี่อย่างปลอดภัยและประหยัดพลังงาน การดูแลรักษา เครื่องยนต์ หลักการขนส่งสินค้าอันตราย การน�าเทคโนโลยี มาใช้ในการขนส่ง แต่ควรปลูกฝังความรูค้ วามเข้าใจทางด้าน การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนทั้งระบบด้วย 4.2 ควรมีการก�าหนดการประเมินผลพนักงานทุกระดับ ที่มีความเสมอภาคและยุติธรรม โดยก�าหนดการประเมินผล การปฏิบัติงานทุก 6 เดือน เพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นใน การท�างาน เช่น ก�าหนดภายใน 1 ปี พนักงานขับรถขนส่ง สินค้าควรได้รับการอบรมอย่างน้อย 48 ชั่วโมง เป็นต้น 4.3 ตัง้ คณะกรรมการก�าหนดหลักเกณฑ์คณ ุ สมบัตใิ นการ เลื่อนต�าแหน่งหรือสลับต�าแหน่งการท�างานที่มีความชัดเจน ยุติธรรมและเป็นไปตามหลักคุณธรรม เช่น ก�าหนดอายุการ ท�างาน การสอบข้อเขียนและทดสอบความสามารถในการ ท�างานและควบคุมลูกน้อง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แรงจูงใจมี 2 ประเภท คือ เสริมแรงบวก และเสริมแรงลบ ดังนั้น หากบุคคลนั้นมีแรงจูงใจนอกจากจะ ท�าให้บุคคลมีความพยายามที่จะกระท�ากิจกรรมต่างๆ ให้กับ องค์กรจนประสบความส�าเร็จแล้ว ยังจะท�าให้บุคคลทุ่มเท ก�าลังความสามารถทั้งร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการใช้ ทรัพยากรในการด�าเนินงานให้บรรลุเป้าหมายทีอ่ งค์กรก�าหนด ไว้อีกด้วย

chain management that can make delivery of goods or services punctual and impressive to customers. Some companies may outsource outsiders to do this job while some use their own staff. No matter which way is adopted it is deemed as a key variable that can cause works to be late or defective. There are many signs that expose poorly efficient work: frequent resignation of a truck driver, frequent on the way breaking down of a truck and many customer complaints or a new truck driver does not understand work procedures and lack skill on the transport route. Thus, the ways to boost concrete motivation on work performance in order to be more efficient are recommended as follows:

2.2 There should be other welfares, for example, cremation allowance, child benefit, short-term and low interest loan, and so on in order to build morale. These can make a truck driver feel that they are not doing the job that is inferior than others.

3. Work Condition

3.1 There should be an improvement of circumstance in the workplace of shipment to be clean with facilities such as sitting room, smoking room, and so on. 3.2 There should be reduction of complex work procedures or lessening the conflict among the involved units for maintaining work chain to not be torn. 3.3 There should be a procurement of additional tools and devices used in shipment in order that the work can be more conveniently and quickly done including the safety of a truck driver and goods. The problem of a truck’s breaking down on the way will then be eradicated. 3.4 IT system should be adopted to support the transport planning by installation of GPRS with a truck and putting up TMS (Transportation Management System)to arrange the route to be most efficient under constraints.

4. Progress in Work 1. Company’s Policies and Management

1.1 There should be an opportunity for personnel at all levels to participate in the meeting to set a policy, work direction, work plan, etc. on delivery to make efficient and effective work system. 1.2 There should be a wide-open forum for personnel at all levels to give their opinions through various channels to lessen problems or be able to solve problems in time, for instance, making a comment through a suggestion box, telephone, e-mail, Line, Facebook, and so on. 1.3 There should be a set of KPI indicators and penalties on the performance of a freight truck driver and there must be a constant check of a truck in terms of tire pressure, brake, radiator or the readiness of the items to be loaded to prevent damage caused by transport or a customer complaint. 1.4 On establishing a committee for determination to purchase new trucks to replace the old ones or to sell them off, a truck driver should have a chance to express an opinion which can make it economical or worthy.

2. Salary/Payment Rate

2.1 There should be the adaptation of a truck driver’s salary and payment base to not lower than those in labor market or other companies’ or set steps of salary to be fair on each time of salary raise including designation of a certain payday.

4.1 Policies and ways for personnel development should be set to strengthen skill and progress in work by selecting expert speakers in specific field to continually provide knowledge to a truck driver on the subject such as safety and energy saving drive, engine maintenance, rules of hazardous items transport, adoption of technology in transport. Also, knowledge and insight on the whole system of logistics and supply chain should be instilled into a truck driver’s mind. 4.2 A fair and equal evaluation of staff at all levels should be set by designating the work performance in every 6 months in order to stimulate enthusiasm to work, for instance, a truck driver should attend a training course for at least 48 hours within 1 year. 4.3 Putting up a committee to determine a clear and fair rule of qualification for promotion or working position reshuffle and is in line with ethic, for instance, designation of working experience, examination and work capability and inferior supervision, and so on. However, there are 2 kinds of motivation, namely: positive reinforcement and negative reinforcement. Thus, if such person has motivation he/she does not only have an attempt to conduct activities to an organization until it is successful but he/she will devote his/her physical and metal capability as well as the use of resources to operate until it achieves the goal set by an organization as well. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 77


INDUSTRIAL MARKETING |

ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�า

ฉบับที่แล้วผมได้พูดถึงเรื่อง แนวโน้ม 5 ข้อแรกของการ วิเคราะห์กลยุทธ์ ในฉบับนี้ จะขอพูดถึง 5 ข้อที่เหลือ ว่ามีอะไรบ้าง

กลยุทธ์ 10 ด้านส�าหรับ

ปีGartner’s 2015 ของ Gartner (ตอนที่ 2) 10 Strategies for the Year 2015 (Part 2) 6. By 2017, U.S. customers’ mobile engagement behavior will drive mobile commerce revenue in the U.S. to 50 percent of U.S. digital commerce revenue.

การซื้อขายแบบออนไลน์ผ่านมือถือก�าลังมาแรงมาก Gartner ประมาณว่าภายในปี 2017 หรืออีกเพียง 2-3 ปีข้าง หน้า ความนิยมใช้อุปกรณ์พกพาอย่างกว้างขวางจะผลักดัน ให้รายได้ธุรกิจออนไลน์ที่ท�าผ่านมือถือในสหรัฐอเมริกาจะพุ่ง สูงขึน้ จนได้สว่ นแบ่งตลาดร้อยละ 50 ของรายได้จากพาณิชย์ ดิจิทัล (Digital Commerce) ทั้งหมด สังเกตว่า Gartner ใช้ ค�าว่า ‘Digital Commerce’ แทน ‘e-Commerce’ ซึ่งสอง ค�านี้มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญ

7. By 2017, 70 percent of successful digital business models will rely on deliberately unstable processes designed to shift as customer needs shift.

ตามความเห็นของ Gartner ธุรกิจดิจิทัลที่จะประสบ ความส�าเร็จต้องสามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการหรือวิธีท�า งานและการบริการได้อย่างคล่องตัวตามความต้องการของ 78 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ลูกค้าที่เปลี่ยนไป และยังตั้งข้อสังเกตว่าภายในปี 2017 ร้อย ละ 70 ของธุรกิจดิจิทัลที่ประสบความส�าเร็จจะมีคุณสมบัติ และความสามารถตามที่กล่าว และยังกล่าวว่าภายใน 12 เดือนข้างหน้า ร้อยละ 5 ของบริษัทระดับโลกจะเริ่มปรับปรุง Business processes ใหม่ให้มีความคล่องตัวสูงเพื่อใช้เป็น กลยุทธ์ของการแข่งขัน Gartner ใช้ค�าว่า ‘Super-maneuverable’ เพื่อบรรยายคุณสมบัติที่มีความยืดหยุ่นดังกล่าว

8. By 2017, 50 percent of consumer product investments will be redirected to customer experience innovations.

ภายในสองหรือสามปีขา้ งหน้า คือประมาณปี 2017 คาด ว่าร้อยละ 50 ของการลงทุนในกลุม่ ธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค จะเปลีย่ นไปลงทุนในด้านเกีย่ วกับนวัตกรรมทีจ่ ะสร้างประสบ การณ์ทดี่ ใี ห้ลกู ค้าหรือมองอีกมุมหนึง่ สินค้าอุปโภคบริโภคจะ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างคุณค่าด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลมาก ขึ้น การบริการที่ดี การให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งการ จัดอ�านวยความสะดวกสบายในการใช้บริการ สิ่งเหล่านี้ต่าง มีส่วนช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีให้ลูกค้าได้ และเป็น ปัจจัยส�าคัญเพื่อการแข่งขันในยุค Digital Economy

9. By 2017, nearly 20 percent of durable goods e-tailers will use 3D printing (3DP) to create personalized product offerings.

Durable goods หมายถึงสินค้าประเภทที่มีอายุการใช้ งานนานๆ ไม่เสียง่าย เช่น ตู้เย็น เครื่องคั้นน�้าผลไม้ เครื่อง เตาอบ เครื่องใช้ในครัวอื่นๆ ฯลฯ ส่วน e-tailers หรือ Electronic Retailers คือ ธุรกิจขายปลีกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งก็คือ อินเทอร์เน็ตนั่นเอง และ 3D Printer คือเครื่องพิมพ์ แบบสามมิติที่สามารถพิมพ์จากต้นแบบอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ สารหรือหมึกพิมพ์ทพี่ น่ ออกจากหัวฉีดแล้วแข็งตัวได้เร็วจนจับ ตัวเป็นรูปแบบสามมิติตามต้นแบบ Gartner ได้ประมาณว่า ภายในปี 2017 ผู้จ�าหน่ายสินค้าประเภทของใช้ในครัวเรือน จะอาศัยเทคนิค 3D Printing สร้างสินค้าตามสั่งให้ลูกค้าได้ โดยจะมีส่วนแบ่งตลาดถึงประมาณร้อยละ 20 Gartner ให้ความเห็นว่า ภายในปีหน้า กว่าร้อยละ 90 ของธุรกิจประเภทที่กล่าวจะเริ่มค้นหาพันธมิตรจากภายนอก ทีม่ ที กั ษะผลิตสินค้า ‘ตามสัง่ (Personalization)’ หรือ ‘สัง่ ตัด (Customization)’ โดยอาศัยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ซึง่ จะสนับสนุน ทิศทางของ Business model ที่เน้นการสร้างคุณค่าและ ความประทับใจให้ลูกค้า


10. By 2020, retail businesses that utilize targeted messaging in combination with internal positioning systems (IPS) will see a five percent increase in sales.

Targeted Messaging คือการส่งข้อความที่กา� หนดเป้า หมาย เป็นวิธีการตลาดที่เริ่มนิยมใช้กันในยุคของ Digital Economy เป็นการตลาดที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิผล เป้าหมายอาจเป็น Market segment ชนิดธุรกิจ ต�าแหน่งหน้าที่และอื่นๆ Targeted Messaging เป็นเทคนิค การตลาดส�าคัญทีส่ นับสนุนธุรกิจทีเ่ น้นสร้างคุณค่าและประสบ การณ์ที่ดีให้ลูกค้า เป็นวิธีสร้างความสัมพันธ์ที่ดีด้วยการให้ ข้อมูลและข่าวสารที่ตรงเป้า ตรงประเด็น และเป็นวิธีสร้าง ความใกล้ชดิ เพือ่ เรียนรูค้ วามต้องการของลูกค้าล่วงหน้าเพือ่ จะได้สร้างข้อเสนอ (Offering) ให้ลกู ค้าได้อย่างเหมาะสมต่อไป Gartner ได้ประมาณว่าภายในปี 2020 ธุรกิจค้าปลีกที่ น�าเทคโนโลยี เช่น Targeted messaging และ Internal Positioning System (IPS) มาช่วยจัดการจ�าหน่ายสินค้าจะ ช่วยเพิ่มยอดขายได้ไม่ต�่ากว่าร้อยละ 5 แต่ในระยะแรก คือ เริม่ จากปีหน้าเป็นต้นไป ร้านค้าขายปลีกจะเริม่ ใช้กลยุทธ์เชิญ ชวนลูกค้ากลุ่มเป้าหมายให้ซื้อสินค้าเพิ่มด้วยข้อเสนอพิเศษ จากข้อมูลปัจจุบันของลูกค้าที่เก็บได้ในขณะเยี่ยมชมสินค้า ตามจุดต่างๆ เช่น ลูกค้าที่ซื้อสินค้าประเภทเครื่องแต่งกาย เด็ก รวมกับของเล่นเด็กจะได้รบั รหัส QR พิมพ์บนใบเสร็จรับ เงิน เมื่อลูกค้าอ่านรหัส QR ด้วยโทรศัพท์มือถือจะได้รับข้อ เสนอพิเศษ เพือ่ ซือ้ สินค้าเพิม่ เติมโดยมีสว่ นลดพิเศษหรือเสนอ ของแถมพิเศษเป็นต้น Process หรือวิธีให้บริการที่กระชับ รวดเร็ว และมี ประสิทธิภาพท�าให้เกิดความประทับใจ Physical Evidence คือ สภาพแวดล้อมของร้านค้า รวมทัง้ ระบบไอทีทอี่ า� นวยความ สะดวกในทุกๆ ด้าน และสุดท้ายคือ Productivity and quality ในบริบทของการค้าปลีก P ตัวที่ 8 ต้องการเน้นความสามารถ สร้างคุณค่า ‘Offering your customer a good deal’ ทัง้ หมดนีจ้ า� เป็นต้องอาศัยความเข้าใจและทักษะการประยุกต์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ดังกล่าวเช่น Mobile advertising และ Advanced analytics ด้วยเทคนิคของ Targeted messaging และ Internal Positioning System ธุรกิจจะสามารถสร้าง ความแตกต่างล�้าหน้ากว่าคู่แข่ง และเป็นกลยุทธ์ที่ต้องการ หลีกเลี่ยงจากอาการของ Commoditization Syndrome โดยหันมาแข่งขันด้วยกลยุทธ์ของ Value creation

L

ast volume the author mentioned on the first 5 strategies of strategic analysis. In this volume, the author is going to describe the remainder.

6. By 2017, U.S. customers’ mobile engagement behavior will drive mobile commerce revenue in the U.S. to 50 percent of U.S. digital commerce revenue.

Online transaction through a mobile phone is now highly popular. Gartner anticipated that within 2017 or only 2-3 years in the future, the popularity on the use of mobile devices will be widespread and will push the revenue on online business through a

mobile phone in U.S. to soar and grasp at 50% market share of the revenue from the whole digital commerce. It is noticed that Gartner used the term “Digital Commerce” instead of “e-Commerce” which both of them are significantly different.

7. By 2017, 70 percent of successful digital business models will rely on deliberately unstable processes designed to shift as customer needs shift.

According to the opinion of Gartner, digital business that is successful has to be able to easily shift work process or approach and service as per the customer’s requirements that change. He also noted that within 2017, 70 percent of successful digital business will contain such qualification and capability. He also stated that within the next 12 months, 5 percent of world class companies will begin to improve their business process to be highly convenient in order to use it as a competitive strategy. Gartner used the term “Super-maneuverable” to describe such flexible qualification.

8. By 2017, 50 percent of consumer product investments will be redirected to customer experience innovations.

Within the next couple years or around 2017 it is anticipated that 50 percent of consumer product investments will be shifted to invest on innovations that will be redirected to customer experience innovations or, on the other hand, consumer product will involve more on value creation with digital technology. Good service, providing useful information, as well as convenience in using service. These can strengthen good experience creation to customers and they are the important factors for competition in the age of digital economy.

9. By 2017, nearly 20 percent of durable goods e-tailers will use 3D printing (3DP) to create personalized product offerings.

Durable goods mean the goods with long-lasting useful life, for example, refrigerator, squeezer, oven and other kitchenwares. For e-tailers or Electronic Retailers it means a retail business through electronic media which are internet. 3D Printer is a 3-dimension printer that can print out from electronic prototype by using substance or printing ink injected from the injector with quick hardening until it forms a 3D illustration as per the prototype. Gartner estimated that within 2017 a kitchenware vendor will rely on 3D Printing to create tailor-made goods to a customer and will grasp market share for about 20 percent. Gartner viewed that within next year, over 90 percent of the aforesaid businesses will begin to look for outside alliances with production skill of “Personalization” or “Customization” by relying on digital technique that will support the direction of business

models focusing on value and impression creation to customers.

10. By 2020, retail businesses that utilize targeted messaging in combination with internal positioning systems (IPS) will see a five percent increase in sales.

Targeted Messaging is sending the message that designates a target. It is a marketing approach that begins to be popular in the era of digital economy. It is the marketing that effectively approaches to target group. The target may be market segment of position business and other types. Targeted messaging is an important marketing technique that supports the business focusing on value and good experience creation to customers. It is good relationship making approach by providing data and information right to the target, issue and the way to create proximity to learn the customer’s needs in advance to properly create offering to customers. Gartner estimated that within 2020 retail business that adopts technology such as Targeted Messaging and Internet Positioning System (IPS) to support goods distribution and boost sales for not less than 5 percent. But in the first phase starting from next year, retail shops will begin to employ the strategy to persuade target customers to buy more goods with special offering. From the current data of customers collected during sightseeing goods at various points, for example, a customer who buys kid’s clothes together with toys will obtain QR code printed on a receipt. When customers read QR code with a mobile phone they will receive a special offer to buy additional goods with special discount or special giveaway, and so on. Process or a service providing approach that is concise, quick and efficient making impression. Physical evidence is the surroundings of a shop including IT system that comprehensively facilitates. Finally, productivity and quality in retail concept, the 8th P that wants to emphasize value creation competence “Offering your customer a good deal.” All need to rely on understanding and skill on applying such modern technology such as Mobile Advertising and Advanced Analytics with the technique of Targeted Messaging and Internal Positioning System. Business can create differentiation better than rivals and this is the strategy that needs to avoid Commoditization Syndrome by turning to compete with Value Creation Strategy.

ทีม่ า: Gartner’s Top 10 Strategic Technology Trends Source: Gartner’s Top 10 Strategic Technology Trends

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 79


REAL TIME |

นเรศ เดชผล

สร้าง Social Network ในองค์กรด้วย

Bitrix24 Establishing Social Network in Organization with Bitrix24 เป็นเวลานานมาแล้วทีอ่ เี มลได้ถกู น�ามาใช้เป็นเครือ่ งมือสือ่ สารระหว่างกันในองค์กร ทัง้ องค์กรขนาดเล็ก ขนาดกลาง และองค์กรระดับมหาชนต่าง ก็ยงั ต้องพึง่ พาอีเมลเป็นเครือ่ งมือหลักในการติดต่อประสานงานด้วยเช่นเดียวกัน เนือ่ งจากจุดเด่นของอีเมลทีน่ อกจากจะใช้งานได้งา่ ยและรวดเร็ว แล้ว ผู้ใช้ยังสามารถที่จะเก็บอีเมลไว้อ้างอิงภายหลังได้อีกด้วย ทว่าอีเมลก็ไม่ได้มีแต่เพียงข้อดีไปเสียทั้งหมดโดยเฉพาะกับผู้ใช้งานที่ต้องท�าหน้าที่ ประสานงานกับบุคคลอื่นเป็นประจ�ารวม ทั้งมีการรับส่งอีเมลปริมาณมากๆ ในทุกๆ วัน เช่น เจ้า หน้ า ที่ ฝ ่ า ยขาย เจ้ า หน้ า ที่ ฝ ่ า ยลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ รวมไปถึ ง พนักงานระดับหัวหน้าทีมที่ต้องดูแล จัดการทีมงาน และ ประสานงานกับส่วนงานอื่นไปพร้อมๆ กัน บุคลากรเหล่านี้ ต่างพบความยากล�าบากในการใช้อเี มล เพราะไหนจะต้องอ่าน อีเมล ตอบกลับหรือส่งต่ออีเมลแล้วยังต้องก�าหนดวันนัด หมาย ประสานงาน รวมทัง้ ติดตามความคืบหน้าของโครงการ ต่างๆ ซึ่งนอกจากจะเสียเวลาแล้วยังอาจเกิดข้อผิดพลาด ในการสื่อสาร รวมถึงการท�าข้อมูลส�าคัญๆ ตกหล่นจนท�าให้ เสียโอกาสในการด�าเนินงานทางธุรกิจได้ Bitrix24 คือระบบบริการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ สื่อสารกันในองค์กรผ่านระบบเว็บเบส (Web base) ที่ถูก ออกแบบมาให้ดูคล้ายกับบริการโซเชียลเน็ตเวิร์ก (Social Network) ชื่อดังอย่างเฟซบุ๊ก (Facebook) แต่เป็นการเปิด ใช้งานกันเฉพาะในเครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) ของ 80 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

องค์กรเท่านั้น โดยปัจจุบันมีผู้เปิดใช้บริการ Bitrix24 กว่า สามแสนแอคเคานต์เลยทีเดียว ซึ่งจุดเด่นของ Bitrix24 นี้ นอกจากจะช่วยลดการสื่อสารด้วยอีเมลแล้วยังมีจุดเด่นใน เรือ่ งของการติดตามงาน (Tasks) ซึง่ เป็นหัวใจส�าคัญของการ บริหารจัดการโครงการอีกด้วย ยิ่งไปกว่านั้น Bitrix24 ยังมี ระบบ HRM และ CRM มาให้เพือ่ ช่วยแบ่งเบาภาระงานของ ฝ่ายที่รับผิดชอบในส่วนงานดังกล่าวได้เป็นอย่างดี

จุดเด่นของ Bitrix24

- Social Intranet เป็นระบบโซเชียลเน็ตเวิร์กที่เปิดใช้ งานกันเฉพาะในองค์กรเท่านัน้ โดยรูปแบบการใช้งานจะคล้าย กันกับบริการเฟซบุ๊กที่มี Wall ให้ผู้ใช้ท�าการโพสต์ข้อมูลได้ หลายรูปแบบ ทั้งการโพสต์ข้อความปกติ โพสต์ไฟล์เอกสาร และไฟล์รปู ภาพ อีกทัง้ ยังสามารถทีจ่ ะเผยแพร่วดิ โี อทีม่ าจาก YouTube และ Vimeo ได้อกี ด้วย นอกจากนีย้ งั มีระบบโพสต์

ประกาศส�าคัญ (Announcements) ที่จะท�าให้บุคลากรไม่ พลาดข่าวสารส�าคัญขององค์กร ซึ่งทั้งหมดจะถูกน�าเสนอมา ในลักษณะของ Timeline แต่ทตี่ า่ งจากเฟซบุก๊ คือผูใ้ ช้สามารถ ค้นหาและคัดกรองข้อมูลในแอคเคานต์เพือ่ น�าไปใช้งานได้งา่ ย กว่า อีกประการหนึ่งก็คือผู้ใช้สามารถที่จะกด Like โพสต์ใด ใดทีถ่ กู ใจเพือ่ สร้างปฏิสมั พันธ์กบั ผูโ้ พสต์ทเี่ ป็นเพือ่ นพนักงาน ในองค์กร รวมทัง้ ยังสามารถสร้างกรุป๊ ย่อยส�าหรับสือ่ สารกัน เฉพาะเรื่องได้ อย่างไรก็ตาม หัวหน้างานหรือผู้บังคับบัญชา สามารถดูแลและตรวจสอบการใช้ Social Intranet นี้ได้ - Tasks and Project จุดเด่นของ Bitrix24 คือ ระบบ การสร้างและติดตามงานทีจ่ ะท�าให้เจ้าของโครงการสามารถ ก�าหนดงาน มอบหมายงานให้กบั ทีมงานน�าไปด�าเนินการ และ สามารถทราบถึงสถานะงานของผู้ปฏิบัติงานในทีมได้ อีกทั้ง ยังมีเครื่องมือส�าหรับประเมินขีดความสามารถของผู้ปฏิบัติ งานว่าจะยังรองรับงานอื่นๆ เพิ่มเติมได้อีกหรือไม่ ซึ่งในการ


รายงานข้อมูลดังกล่าวนัน้ นอกจากจะรายงานเป็นตัวเลขแล้ว ยังรายงานในรูปแบบของ Gantt chart ที่เข้าใจง่ายอีกด้วย - Chat and Video การสื่อสารแบบฉับไวที่จะท�าให้ผู้ ปฏิบัติงานสามารถพูดคุยกันผ่านแชทและสื่อสารแบบเห็น หน้าค่าตากันผ่านกล้องวิดีโอ ซึ่งจะท�าให้การประชุมงาน สามารถท�าได้จากคอมพิวเตอร์ได้ทันทีโดยที่ไม่ต้องเสียเวลา เดินทางไปห้องประชุม เพียงผู้ใช้งานติดตั้งแอปพลิเคชั่นลง บน PC ที่มีกล้องเว็บแคมก็สามารถที่จะใช้งานในฟีเจอร์นี้ได้ ง่ายๆ - Document ระบบส� า หรั บ อั ป โหลดและแชร์ ไ ฟล์ เอกสารกันระหว่างผู้ใช้ในองค์กร ซึ่งรองรับไฟล์เอกสาร ตระกูล Microsoft Office ได้เป็นอย่างดี ที่น่าสนใจก็คือยัง รองรับการท�างานในลักษณะ Collaboration ทีจ่ ะท�าให้ผรู้ ว่ ม งานสามารถท�าการปรับปรุงแก้ไขเอกสารร่วมกันได้ แน่นอน ว่าฟีเจอร์นี้ผู้ใช้ที่ไม่ใช่เจ้าของไฟล์เอกสารจะต้องได้รับการ ก�าหนดสิทธิใ์ นการเข้าถึงและใช้งานไฟล์ดงั กล่าวเสียก่อน โดย จะมีการบันทึกเอกสารเก่าเก็บเอาไว้ก่อนการแก้ไขไฟล์แต่ละ ครัง้ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ทีผ่ แู้ ก้ไขจะสามารถย้อนกลับมายังไฟล์เอกสาร ชุดเดิมได้ในกรณีที่จ�าเป็น - Drive เป็นพืน้ ทีส่ า� หรับจัดเก็บไฟล์งานและไฟล์เอกสาร ต่างๆ ซึ่งจะท�าหน้าที่คล้ายกันกับบริการ Google Drive, iCloud หรือ One Drive ส�าหรับผู้ที่เปิดใช้งาน Bitrix24 แบบ Free ก็จะมีพื้นที่ให้ใช้งานกันถึง 5 GB เลยทีเดียว - Calendars ระบบปฏิทินนัดหมายที่ง่ายต่อการใช้งาน ผู้ใช้งานสามารถสร้างปฏิทินได้ทั้งแบบส่วนตัว เปิดให้ใช้งาน เฉพาะกรุ๊ปหรือจะเปิดให้เห็นทั้งองค์กรก็ได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ Bitrix24 ยังเปิดให้ผู้ใช้งาน Google Calendar สามารถที่จะ Import ปฏิทินเข้ามาได้อีกด้วย - CRM ส�าหรับส่วนงานที่ต้องปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า เช่น ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ระบบ CRM ของ Britrix24 สามารถ รองรับการท�างานได้เป็นอย่างดี เพราะนอกจากจะมีระบบ ส�าหรับประสานงานและติดตามลูกค้าแล้ว ยังมีฟีเจอร์ที่ สามารถน�าเสนอรายงานที่ง่ายต่อการน�าไปวางแผนงานใน อนาคตอีกด้วย นอกจากจุดเด่นส�าคัญๆ ที่ได้กล่าวมาในข้างต้นแล้ว Bitrix24 ยังมีฟีเจอร์ที่น่าสนใจอย่าง ระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (HRMS) ระบบ อีเมล@Bitrix24.com ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงกับโดเมนของบริษทั ได้ (Mail) และ Mobile App ที่จะท�าให้ผู้ใช้ Bitrix24 สามารถใช้งาน บนโทรศัพท์มือถือได้ทุกที่ทุกเวลาอีกด้วย ส�าหรับผู้ที่สนใจ สามารถสมัครเพื่อศึกษาหรือทดลองใช้งานได้ฟรีที่ http:// www.bitrix24.com และหากต้องการน�ามาใช้จริงก็สามารถ อัปเกรดบริการซึ่งต้องเสียค่าบริการเป็นรายเดือนตามราย ละเอียดที่ทางทีมงานได้แจ้งไว้ E-mail, however, does not have only an advantage, particularly the user who has to regularly coordinate with others and has to send and receive a large number of e-mails everyday such as an officer in the department of sales, customer relations including the personnel at a team leader level who have to oversee, manage working team and coordinate with other units simultaneously. These personnel have to meet with difficulty on the use of e-mail because they have to read each e-mail, respond or forward e-mails, make an appointment, coordinate and follow the progress of projects. This is not only time consuming activities but a fault might happen

I

t is long time ago that e-mail was applied as a communication instrument in an organization, whatever it is small, medium or large. Even a public organization has to rely upon e-mail as a principal instrument in communication and coordination since the prominent point of e-mail is that it is not only easy and quick to use but the user can keep an e-mail for reference as well.

in communication including a missing essence that causes an opportunity loss in business operation. Bitrix24 is a service system to increase communication efficiency within an organization through a Web Base system that is designed to be similar to the renowned Social Network service like Facebook but it is opened to use only within the intranet network of an organization. Nowadays, Bitrix24 is opened by the users for over three hundred thousand accounts. The prominent point of Bitrix24 is that it can lessen the number of communication with e-mail and it can also follow tasks which is the key of project management. Moreover, Bitrix24 also contains HRM and CRM system to well lighten the load of those who have to be responsible for such works.

The Prominent Points of Bitrix24

- Social Intranet: is the social network that open to specifically use within an organization. Its pattern of use is similar to Facebook service with Wall in order that the user can post various types of information, namely: regular message posting, document and photo file posting including broadcasting video derived from YouTube and Vimeo. Besides, there also is a posting system of significant announcements making personnel not miss the significant news of an organization. All will be presented in the feature of Timeline but it is different from Facebook because the user can more easily search and screen information in account to use. Another prominent point is that the user can press Like to any posts they like to create interaction with the one who posts who is a colleague. Besides, a subgroup can be established for communicating in specific subject too. However, a supervisor or a superior can oversee and examine the use of such social intranet. - Tasks and Project: The prominent point of Bitrix24 is to create and follow work that will make a project owner able to designate a work and assign a working team to implement it able to be aware of

work status of each operator in a working team as well. Moreover, there also is an instrument for appraising the capability of operators that if they can handle other additional works. In reporting such information, apart from the report in figures it also reports in the feature of Gantt Chart that is easy to understand. - Chat and Video: A quick communication that can make operators able to talk through Chat and able to see each other through video camera. This makes a conference able to be immediately done from a computer monitor without wasting time to go to a conference room. The users only install an application onto PC with a webcam camera and then they can easily be usable in this feature. - Document: It is the system for uploading and sharing document files among the users in an organization. It responds to the document files in Microsoft Office set well. What is interesting is that it can also respond to the work in manner of Collaboration that will make colleagues able to commonly modify documents. Certainly, to use such feature the user who is not the owner of document files has to be entitled to access and use such files before. Old documents will be recorded and kept before each modification in order that the reviser can turn to the former document files if necessary. - Drive: It is the area for storing work files and document files. Its work is similar to the service of Google Drive, iCloud or One Drive. For those who open to adopt free Bitrix24 there will be up to 5 GB which are available for use. - Calendar: This is an appointment calendar that is easy to use. The user can create a calendar in both a personal calendar for use in specific group or a wide-open calendar that the whole organization can see it. Besides, Bitrix24 also opens to let the user of Google Calendar can import a calendar. - CRM: For the unit that has to interact with customers, for instance, customer relations department, CRM system of Bitrix24 can respond to work well because apart from the system for coordination and follow customers, there is also a feature that can present a report that is easy to use in planning in the future. Besides the aforesaid prominent points, Bitrix24 also contains interesting features like an information technology for human resource management (HRMS), @Bitrix24.com e-mail system that can connect with the company’s domain and Mobile App that can make the Bitrix24 users can use on a mobile phone at all time and all places too. For those who are interested in can apply to study or test the product free of charge at http://www.bitrix24.com. For who those want to bring for actual use they can upgrade service which needs to monthly pay service free according to the detail having been informed by the working team. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 81


FACTORY 3.0 |

ดร.ฉันทมน โพธิพิทักษ์

ทางเลือกเทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสียและ

แนวทางการจั ด การ Wastewater Treatment Technology Options and Management Approaches

ในฉบับนี้ ผู้เขียนขอกล่าวถึง เทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสียและการจัดการในประเทศที่พัฒนาแล้วและในประเทศที่กา� ลังพัฒนา ในส่วนแรกจะเน้นที่ เทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสียและการจัดการน�้าเสียในประเทศที่ก�าลังพัฒนา โดยในส่วนนี้จะตรวจสอบถึงลักษณ�าคัญที่เป็นจุดอ่อน จุดแข็งของ เทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสีย รวมถึงวิเคราะห์ความแตกต่างของเทคโนโลยีที่ใช้อยู่ระหว่างประเทศที่พัฒนาแล้วกับประเทศก�าลังพัฒนา ซึ่งใน ประเทศก�าลังพัฒนา ก็ถือว่าเป็นปัญหาพื้นฐานในปัจจุบัน ซึ่งหน่วยงานรัฐส่วนใหญ่จะปรับสู่รูปแบบที่เหมาะสมจากประเทศที่พัฒนาแล้วและ ประยุกต์เข้ากับประเทศที่กา� ลังพัฒนาโดยปราศจากการพิจารณาจากสภาพบริบท สิ่งแวดล้อม หรือชุมชน รวมถึงมิได้พิจารณาความเหมาะ สมของระบบสาธารณูปโภค ในส่วนถัดมาจะทบทวนรูปแบบและระบบการบ�าบัดน�า้ เสียที่มีอยู่และระบบที่มีความพิเศษ ซึ่งแบบใดจะเหมาะสม ต่อการแก้ปญ ั หาในระบบสุขาภิบาลเดิมทีเ่ ป็นอยู่ รวมถึงผล กระทบทางด้านชุมชน สิ่งแวดล้อม ผู้อยู่อาศัย โดยเฉพาะ ชุมชนผูม้ รี ายได้นอ้ ยในประเทศก�าลังพัฒนา ส่วนสุดท้ายคือ การวิเคราะห์แต่ละรูปแบบของระบบการบ�าบัดน�้าเสีย เช่น วิธใี ดมีความเหมาะสมทีส่ ดุ (optimization approach) เพือ่ พิจารณาการตัดสินใจเลือกรูปแบบโมเดลทีเ่ หมาะสมในการ พัฒนาต่อไป

เทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสียเดิมที่มีอยู่…

ในส่วนนี้จะกล่าวถึงเทคโนโลยีการบ�าบัดน�าเสียในครัว เรือนที่มีอยู่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 มิติที่แตกต่างกันคือ (1) มิติ ด้านทีต่ งั้ ได้แก่ ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบในที่ และระบบบ�าบัด น�้าเสียแบบภายนอกพืน้ ที่ และ (2) มิตดิ า้ นเทคนิค กล่าวคือ ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบเติมออกซิเจน แบบไมใช้ออกซิเจน และระบบบ�าบัดน�า้ เสียธรรมชาติ ซึง่ การวิเคราะห์จะวิเคราะห์

82 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ถึงระบบทีใ่ ช้โดยทัว่ ๆ ไปในประเทศทีก่ า� ลังพัฒนาและประเทศ ที่พัฒนา ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบในที:่ ส่วนใหญ่ใช้ประเภทบ้าน พักอาศัย ส่วนใหญ่ยังใช้ในส่วนชุมชนขนาดเล็ก ในพื้นที่ท่ี ห่างไกลจากเมือง ในประเทศที่พัฒนา ซึ่งระบบจะแยกส่วน กัน ได้แก่ ตัวกรองชีวภาพแบบหมุนเวียน ตัวกรองแบบเติม อากาศ ตัวท�าปฏิกิริยาตอบสนอง และยูนิตหมุนเวียนไบโอ ซึง่ ลักษณะการท�างานจะเหมาะส�าหรับใช้ตามบ้านพักอาศัย ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูงและการติดตั้งและการดูแล รักษาต้องมีความช�านาญ แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศทีพ่ ฒ ั นา แล้วก็มักจะหลีกเลี่ยงการใช้ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบในที่ เพราะประสิทธิภาพต�่าและสามารถส่งผลกระทบต่อน�้าผิว ดินแลพน�้าใต้ดินได้ ในขณะที่ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบในที่แบบต้นทุนต�่า จะ มีความแตกต่างจากระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบในที่ เพราะจะ ใช้ ก ารติ ด ตั้ ง ที่ ง ่ า ย แต่ ก็ มี ป ั จ จั ย ที่ ม าเกี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ สาธารณูปโภค น�้าประปา การก�าจัดของเสีย ลักษณะของ พื้นที่ ต้นทุนราคา การก่อสร้างว่ามีความยาก ง่ายหรือไม่ เซฟติก แทงค์ เป็นหนึ่งในระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบในที่ แบบต้นทุนต�า่ และใช้กนั อย่างกว้างขวางทัว่ โลก ซึง่ เป็นการ

บ�าบัดน�า้ เสียล�าดับแรกก่อนทีจ่ ะไปสูร่ ะบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบ ภายนอกพื้นที่ ข้อดีของระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบในที่แบบ ต้นทุนต�่า คือ ต้นทุนต�่าและการติดตั้งไม่ยุ่งยาก ซึ่งถือว่า เป็นเงื่อนไขบังคับก็ว่าได้ ส�าหรับประเทศที่ก�าลังพัฒนา ระบบบ� า บั ด น�้ า เสี ย แบบภายนอกพื้ น ที่ : ใช้ แ บบ กระจายกับพื้นที่ชุมชนขนาดเล็ก มีการจัดการระบบบ�าบัด น�้าเสียของชุมชนเอง ซึ่งระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบภายนอก พื้นที่ประกอบด้วย (1) ระบบที่รวบรวมน�้าเสียก่อนส่งไป บ�าบัดของแต่ละบ้านเรือน (2) การบ�าบัดหลังขัน้ ตอนสุดท้าย ของการรวบรวมน�้าเสียและ (3) การก�าจัดน�้าเสียที่ปล่อม ออกมา หากต้องใช้การท�างานที่ละเอียดขึ้นกว่าเดิม

มิติด้านเทคนิคของการบ�าบัดน�้าเสีย

ส�าหรับเทคนิคของการบ�าบัดน�า้ เสีย สามารถจ�าแนกได้ เป็น 3 แบบ คือ ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบเติมออกซิเจน แบบ ไมใช้ออกซิเจน และระบบบ�าบัดน�า้ เสียธรรมชาติ ซึง่ เป็นการ การบ�าบัดในขั้นทุติยภูมิ ซึ่งมักจะใช้ในประเทศก�าลังพัฒนา ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบเติมออกซิเจน: ส่วนใหญ่จะ ใช้ในภาคครัวเรือน ซึง่ ใช้แบคทีเรียในการย่อยและบ�าบัดน�า้ เสีย โดยการเติมออกซิเจนเพื่อเพิ่มการย่อยสลายของ


แบคทีเรีย ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบเติมออกซิเจน มี 4 ระบบ ทีใ่ ช้กนั ในประเทศก�าลังพัฒนา ได้แก่ (1) ระบบบ�าบัดน�า้ เสีย แบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge Process) (2) ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated Lagoon) (3) ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบโปรยกรอง (Trickling Filters) และ (4) ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contractors (RBC)) ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบเติมออกซิเจน: จะใช้พลังงาน จ�านวนมาก เพือ่ ให้ออกซิเจนพอเพียงเพือ่ ให้แบคทีเรียก�าจัด และย่อยสบายของเสียในน�้าเสีย สุดท้ายจะเกิดแบคทีเรีย หรือกากของเสียจ�านวนมาก และจ�าเป็นต้องอาศัยการ จัดการอย่างเหมาะสม จึงเป็นระบบที่ต้องใช้ความช�านาญ ในการติดตัง้ และค่อนข้างจะมีตน้ ทุนในการก่อสร้างและการ ดูแลรักษาสูง ถ้าจะเลือกเหตุผลในการติตั้งระบบบ�าบัดน�้า เสียแบบเติมออกซิเจน ก็คงหนีไม่พน้ เรือ่ งประสิทธิภาพของ การบ�าบัดน�้าเสีย ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบไม่ใช้อากาศ: เทคโนโลยีนี้ บ�าบัดของเสียชีวภาพแบบความเข้มข้นต�า่ ทัง้ ในระบบบ�าบัด น�้าเสียแบบในและนอกพื้นที่ และใช้อย่างแพร่หลายใน ประเทศที่ก�าลังพัฒนา เช่น บราซิล โคลัมเบีย และอินเดีย และเข้ามาแทนทีร่ ะบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge Process) การก่อสร้าง รวมถึงการ ดูแลรักษาจะถูกกว่าและไม่ยงุ่ ยากเท่ากับระบบบ�าบัดน�า้ เสีย แบบเติมออกซิเจน และเป็นที่นิยมกับประเทศแถบร้อนชื้น เพราะต้องอาศัยอุณหภูมิที่สูงเพื่อให้แบคทีเรียย่อยสบาย ของเสีย ซึ่งการดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก อย่างไรก็ตาม ระบบ บ�าบัดน�า้ เสียแบบไม่ใช้อากาศใช้เวลาการย่อยสลายมากกว่า ระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบเติมออกซิเจน ซึ่งเป็นข้อด้อยของ ระบบนี้ แต่ระบบนี้อาจมีการผลิตพลังงานในรูปแบบของ มีเทน ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนได้ ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบธรรมชาติ: จะใช้หลักการทาง ฟิสิกส์ เคมีและชีววิทยาในการบ�าบัดน�้าเสีย อาทิเช่น การ ตกตะกอน การกรอง การดูดซับ การตกตะกอนทางเคมี ขบวนการออกซิเดชั่น และรีดักชั่น การแปลงทางชีวภาพ และการเสื่อมสภาพที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในพืชส่วนใหญ่ (เช่นการสังเคราะห์แสง การดูดซึมของพืช) รวมเรียกว่า ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบธรรมชาติ มีการใช้อปุ กรณ์เครือ่ งกล ในการเร่งอัตราการบ�าบัดน�้าเสียจากถังเร่งการตอบสนอง แรก ยังล�าดับถัดไป ซึ่งต้องใช้พลังงานในระบบมาก ระบบ นี้ใช้กับประเทศก�าลังพัฒนาในบริบทของพื้นที่ที่ต้องการ รักษาน�า้ ผิวดิน พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ และส่วนอุตสาหกรรมเกษตรกรรม เพาะเลี้ยงสัตว์น�้า เนื่องด้วยระบบที่ง่ายทั้งในขั้นการด�าเนินการและการ ดูแลรักษา ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบธรรมชาตินจี้ งึ เป็นทีน่ ยิ ม ในหลายต่อหลายประเทศของกลุม่ ประเทศก�าลังพัฒนา แต่ ข้อด้อยของระบบนี้ คือ ต้องเตรียมพื้นที่โล่งขนาดใหญ่ ซึ่ง สามารถประยุกต์ได้กับพื้นที่ชานเมืองหรือพื้นที่รอบนอก เพราะราคาของที่ดินและขนาดที่ดินเป็นข้อจ�ากัด และหาก ไม่มกี ารจัดการดูแลทีเ่ หมาะสมจะส่งผลกระทบต่อชุมชนมาก ดังนัน้ หากจะใช้ระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบธรรมชาตินี้ ควรจะ พิจารณาเรือ่ ง ผลกระทบต่อมวลชนด้วย ซึง่ อาจจะมีการปน เปื้อนสู่น�้าใต้ดินที่มีเชื้อแบคทีเรียและสารเคมีเป็นพิษ เกิด ผลกระทบต่อโรคมาสูม่ นุษย์ได้ นอกจากนีย้ งั มีความเสีย่ งต่อ สุขภาพที่อาจเกี่ ยวข้ องกั บการบริ โ ภคพื ชผักในเขตหรื อ บริเวณที่มีการใช้น�้าเสียนี้ในการเพาะปลูก ระบบบ�าบัดน�้าเสียที่ใช้กันอยู่ทั่วไป ระบบบ�าบัดน�้าเสีย แบบเติมออกซิเจน จะมีความยุ่งยากกว่าแบบอื่นในแง่ของ

I

การท�างานและการดูแลรักษา รวมถึงต้นทุนการก่อสร้างและ การท�างานจะสูงกว่าแบบอืน่ แต่กม็ ปี ระสิทธิภาพ กว่าแบบ อืน่ ๆ จึงเป็นการใช้อย่างกว้างขวางในระบบการบ�าบัดน�า้ เสีย แบบส่วนกลาง ในขณะทีร่ ะบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบไม่ใช้อากาศ จะไม่ยุ่งยากและต้นทุนจะถูกกว่าแบบเติมออกซิเจน แต่ก็ เกิดประสิทธิภาพที่ด้อยกว่าและต้องอาศัยขบวนการการ บ�าบัดภายหลังอีก เพื่อให้ได้ค่ามาตรฐานก่อนปล่อยออกสู่ สาธารณะ ส่วนระบบบ�าบัดน�้าเสียแบบธรรมชาติ ได้รับ ความนิยมในประเทศทีก่ า� ลังพัฒนา แต่กม็ ขี อ้ ด้อยตรงอาศัย พื่นที่ขนาดใหญ่ ซึ่งจะเป็นข้อจ�ากัดในพื้นที่เมือง ดังนั้น การ เลื อ กเทคโนโลยี ที่ มี ค วามเหมาะสม นอกจากจะเลื อ ก ประสิทธิภาพในการบ�าบัดแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงปัจจัย อื่นด้วย ผู้ออกแบบหรือวิศวกรต้องศึกษาข้อดีข้อด้อย รวม ถึงสภาพของชุมชน บริบท เพราะจะเกิดผลกระทบได้

n this issue, the available treatment technologies for wastewater and management approach in developed and developing countries are referred, the first section focuses on wastewater treatment technologies and management approaches in the context of developing countries. This section investigates the key features, strength and weakness of the technologies and highlights the contextual difference between the developed and developing countries, which is the origin of the existing problems. Most policy makers adopt the conventional approaches from the developed countries and applied them in the Third World countries without considering the unique needs of the local communities, the suitability of local conditions, and the availability of resources.

The following section reviews the conventional and non-conventional approaches to wastewater selection processes to reach the best solution for the existing sanitation problems and their impact on the urban residents, particularly the low-income communities in the developing countries such as the optimization approach in order for decision analysis as a basis for developing a model proposition later. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 83


Existing Wastewater Treatment Technologies

The following review in this section focuses on the existing domestic wastewater treatment technologies. The system typology is examined in two different dimensions— (1) the locational dimension; namely, the on-site and off-site systems, and (2) the technical dimension; namely, the aerobic, anaerobic and natural processes. The review attempts to investigate the conventional treatment systems which have been commonly used in the developed and developing countries. On-Site System: The on-site systems are mostly utilized separately, each for a single household. Wastewater from each household is channeled to the treatment unit and further to the subsequent wastewater disposal unit (if applicable). In small communities of the developed countries’ remote rural areas, the commercially available prefabricated biological plants are popular. The system comprises a set of rather complicated components— a recirculating biological filter, a submerged aerated biological filter, an activated sludge package plants or a sequence batch reactors, and a bio-disc unit. The package functions as a self-contained unit for domestic utilization. Despite its effluent quality, the unit is relatively high in cost and requires professional installation and maintenance. However a large number of developed countries avoid using some on-site methods due to their low efficiency and high threat to ground and surface waters. The low-cost on-site technology, in contrast, requires a relatively simple type of construction. Factors to be considered during the system selection process are usually the availability of water supply, collection of night soil, disposal facility, site appropriateness, costs, simplicity of construction, and requirements. A septic tank is one of the low-cost on-site technologies and now the most well-known and commonly used system throughout the world. The system is able to perform the initial treatment well before the wastewater will be transferred and treated by a secondary off-site system. The additional benefit is very low investment cost and labor requirement, both of which are the major constraints in developing countries. Off-Site Systems: Off-site treatment systems are usually a decentralized wastewater treatment approach if they are small in scale or owned and operated by the community. The community systems for small clusters of houses are suitable for areas where each lot in the cluster is too small to take advantage of an individual on-site system. Most off-site systems comprise (1) a collection system to convey the pretreated or raw wastewater away from each household; (2) some form of treatment at the end of the collection system, and (3) an effluent disposal system, if necessary. 84 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Classification by the Dimension of Treatment Techniques

From the perspective of treatment techniques, wastewater treatment systems can be classified into three types. They are aerobic, anaerobic, and natural treatment processes. This section examines the wastewater treatment processes within the domain of “off-site” or “secondary treatment” process, which are usually found in developing countries. Aerobic Treatment: The conventional processes for treating domestic wastewater are mostly aerobic, which utilize bacteria to degrade waste products, particularly to remove the carbonaceous organic matter by adding oxygen to accelerate bacterial digestion. The four most frequently used aerobic systems in developing countries are (1) the activated sludge process, (2) aerated lagoons, (3) trickling (percolating) filters, and (4) rotating biological contractors (RBC). The aerobic treatment process usually utilizes a large amount of energy to supply sufficient oxygen to bacteria in wastewater. As a result, a large volume of bacteria or sludge is produced and needs to be disposed and handled properly. The aerobic wastewater treatment system is thus a rather sophisticated process, with complicated mechanical and electrical parts. It requires well trained operators and very high construction and operation / maintenance costs (O&M). The prime reason of choosing this technique for central wastewater treatment in developing countries is its high efficiency, particularly the activated sludge process. Anaerobic Treatment Process: This techniques have been developed to treat domestic low-strength organic waste in both on-site and off-site treatment systems, and have been utilized in many developing countries, such as Brazil, Columbia, and India, to replace the costly activated sludge process. The construction and O&M are thus cheaper and simpler. This process is more favorable in the warm tropical climates since high temperature tends to boost bacterial activities, which makes the maintenance much easier. Nonetheless, the process takes more time than that of the aerobic. This characteristic has been the major disadvantage of the anaerobic system. Moreover, anaerobic systems may also produce valuable energy in the form of methane biogas, which are renewable energy source. Natural Treatment Process: The natural treatment systems apply the physical, chemical, and biological processes occurring naturally to provide wastewater treatment. The systems involves a number of natural mechanical principles found other treatment systems, such as sedimentation, filtration, adsorption, chemical precipitation, oxidation and reduction, biological conversion and degradation, and biological processes occurring naturally in most plants (i.e. photosynthesis, photooxidation, and plant uptake). To artificially trigger such natural process

for wastewater treatment, mechanical devices can be added to accelerate the treatment rate with wastewater flows sequentially from one reactor tank to another. As a result, energy input might be required as well. Examples of natural treatment systems commonly used in developing countries are land or soil aquifer treatment, constructed wetlands, and aquaculture. Due to the simplicity in terms of operation and maintenance, natural treatment has become a popular approach in many developing countries. However, since the systems require a large portion of open space, they tend to be feasible only in the suburban areas or small cities, where land is not a major constraint. Nevertheless, with improper land treatment, the systems may have negative impacts on the public health conditions, which bring about public concerns when choosing the system. In very rare instances, there are also possibilities of groundwater contamination with bacteria and toxic chemicals, and the possibility of harmful disease transmission. There is also potential health risks associated with usage or consumption of crops irrigated by wastewater or grown in aquaculture systems. In conclusion, there is currently an emergence of several urban wastewater treatment alternatives. Compared to the other treatment processes, the aerobic treatment systems are more complex in terms of operation and maintenance, and more expensive for construction and operation. Nevertheless, due to high degree of reliability and efficiency, aerobic treatment, particularly the activated sludge process, is widely selected for central wastewater treatment systems in developing countries. The anaerobic process, on the other hand, is relatively simpler and less expensive. Anaerobic systems produce poor effluent quality and require some additional post-treatment process to meet discharge standards. In many developing countries, although the natural treatment has become a popular approach, they require a large open space, which is a key constraint in urban areas. Choosing an appropriate technology for a community requires not only selecting the best performing wastewater treatment designs with highest efficiencies, but also matching the genuine needs of the community. Engineers and decision makers need to consider not only the advantages and disadvantages of wastewater treatment alternatives, but must also consider the local context and conditions affecting the success of wastewater treatment systems.


MARCH 2015

INDUSTRIAL AGENDA

INDUSTRIAL AGENDA MARCH 2015 สวั ส ดี ค ่ ะ ผู ้ ป ระกอบการในภาคอุ ต สาหกรรมทุ ก แขนก ส� า หรั บ เดื อ นมี น าคมนี้ มี วั น ส� า คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนานั่ น ก็ คื อ วั น มาฆบู ช า หลั ง จากปฎิ บั ติ ศ าสนกิ จ กั น แล้ ว ก็ ช วนกั น ไปงานเพื่ อ อุ ต สาหกรรมกั น ต่ อ เลยนะคะ 18-21 มีนาคม 2558

MODERN SIGN & LED 2015

งาน Modern Sign & LED 2015 ‘Modern Advertising Sign & Decorations Design Trade Show’ งานใหญ่ . ..ใหม่ ล่าสุด ของวงการป้าย - การโฆษณาและ การตกแต่งแห่งปี 2558 ที่ตอบโจทย์ความต้องการได้ครบ ถ้วน พร้อมขยายธุรกิจได้ทันทีและยังเพิ่มก�าลังซื้อใหม่จาก กลุ่มประเทศลุ่มน�้าโขง CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม) สร้างสรรค์งานจากประสบการณ์ 12 ปี จากผู้ ช�านาญตัวจริง Sign Asia Expo/LED & Digital Sign ณ ศูนย์การประชุมนิทรรศการ ไบเทคบางนา www.signasiaexpo.com

19-22 มีนาคม 2015

งานแสดงแฟรนไชส์ SME ปีที่ 9

26 มีนาคม 2015 Modern Manufacturing Forum 2015

งานสัมมนาและงานแสดงสินค้าส�าหรับผูป้ ระกอบการภาค งานสั ม มนาและงานแสดงสิ น ค้ า ส� า หรั บ ผู ้ ป ระกอบ อุตสาหกรรมทุกแขนง เพือ่ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการในภาค งานแสดงแฟรนไชส์ SME ปีที่ 9 ส�าหรับงานนี้ท่านจะ อุตสาหกรรมให้เกิดการพัฒนาและมีศกั ยภาพในการแข่งขันเพิม่ ได้พบกับนักลงทุนจากทั่วประเทศ พร้อมเลือกจองพื้นที่ มากขึน้ ก่อนได้แล้ววันนี้ ณ โรงแรมเซ็นทรัลเพลส จ.สมุทรสาคร ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี Tel. 0 2731 1194-4 www.facebook.com/kavinintertrade www.mmthailand.com

27-30 มีนาคม 2015 Material Handing & Equipment 2015

27- 30 มีนาคม 2015

The 3rd Print Tech Expo 2015

26-29 มีนาคม 2015 The 6th Office Fairs 2015

การรวมตัวผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรม เครื่องใช้ ส�านักงานอัตโนมัต,ิ คอมพิวเตอร์ IT Networks Solution, อุตสาหกรรมเครือ่ งเขียน และเฟอร์นเิ จอร์ ส�านักงานสไตล์ Modern แสดงถึงนวัตกรรมและไฮเทคโนโลยีที่น�ามาใช้ใน การท�างานต่อองค์กร เพือ่ ท�าให้เกิดศักยภาพของการท�างาน ผ่านระบบ Networks Solution ท�าให้ผบู้ ริหารและนักธุรกิจ สามารถท�างานได้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประหยัดเวลา ลดค่าใช้จา่ ยวัสดุสนิ้ เปลืองภายในองค์กรอย่าง ชัดเจน

งานแสดงสินค้า Material Handing & Equipment 2015 ซึง่ เป็นงานทีจ่ ดั ขึน้ ครัง้ แรกทีเ่ ป็นการรวมตัวครัง้ ยิง่ ใหญ่ ในแสดงนวัตกรรมล�า้ สมัยเพือ่ ช่วยให้งานขนส่ง ล�าเลียง และ จัดเก็บสินค้าให้งา่ ยขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นการช่วยประหยัดพลังงาน และเพือ่ เป็นรักษาสิง่ แวดล้อมได้พร้อมๆกัน และนอกจากจะ มีการรวมตัวของงานทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบขนส่งแล้ว ยังมีใน ส่วนของงานซ่อมบ�ารุงและอุปกรณ์เครือ่ งมือต่างๆ ทางด้าน อุตสาหกรรมอืน่ ๆ อีกมากมายทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ เครือ่ งจักร ประเภทต่างๆ งานบรรจุภณ ั ฑ์ ระบบท�าความเย็น ฟิลเตอร์ เครือ่ งมือช่าง น็อตสกรู เครือ่ งอัดลม ไฮดรอลิค นิวเมติก มอเตอร์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า พลาสติก ยาง กาว เคมีภณ ั ฑ์ เป็นต้น

งาน The 3rd Print Tech Expo 2015 เป็นการรวมตัว ของผูป้ ระกอบการด้านธุรกิจงานพิมพ์ อาทิ กลุม่ เครือ่ งพิมพ์ อิงค์เจ็ท กลุ่มเครื่องพิมพ์ดิจิตอล กลุ่มงานพิมพ์แพ็กเก็จจิ้ง ธุรกิจบริการ เช่น งานป้ายโฆษณา ธุรกิจด้านงานพิมพ์ ธุรกิจ อุปกรณ์ก่อน-หลังการพิมพ์ กลุ่มธุรกิจ แอลอีดี การจัดงาน ในครั้งนี้ จะท�าให้ผู้ประกอบการทุกท่าน ได้รับข่าวสารที่ทัน สมัยในการแสดงถึงนวัตกรรมการพิมพ์ระบบไฮเทคโนโลยี จากองค์กรต่างๆ ที่เข้าร่วมออกงานครั้งนี้ เพื่อน�ามาช่วย ให้การท�างานมีประสิทธิภาพมากขึน้ ช่วยลดต้นทุน ประหยัด เวลา ลดค่าใช้จ่าย ในการบริหารภายในองค์กรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.oaspfairs.com

ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.mheexhibition.com

ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.printtechexpo.com

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 85


้ ี น ไป อ  ต ท ั ษ ิ ร บ อ ่ ื ช บ ั ก ง ใสหมำยเลขสินค้ำให้ตร

อินทิเกรทเต็ด อินดัสเตรียล แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก. ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก. โปรชอป เซนเตอร์ บจก. เจเอสอาร์กรุป ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก. Tel: 0-2731-1191#131 Fax: 0-2769-8120 Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th


คลาสส์เทค เตรียมพร้อม หนุนหลังอุตสาหกรรมยานยนต์ในไทย อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย นับว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากการ หลั่งไหลของนักลงทุนและบริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกให้ความสนใจมาลงทุนในประเทศไทย อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมองเห็นโอกาสการเติบโตทางธุรกิจ และด้วยความพร้อมของประเทศไทยที่มี ศักยภาพเพียงพอ ในการเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกของภูมิภาค

88 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


คลาสส์เทค มุ่งมั่นน�าเทคโนโลยีชั้นเลิศสู่อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในไทย

บริษทั คราสส์เทค จ�ากัด ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2540 ด�าเนินธุรกิจน�าเข้าและจ�าหน่ายเทคโนโลยี เครื่องจักรและอุปกรณ์ส�าหรับแปรรูปเหล็กแผ่น เช่น เครื่องตัด เครื่องตัดเลเซอร์ เครื่องพับ ตลอดจน งานเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่เหล็กแผ่น อย่างเครื่องขัดผิว เป็นต้น นอกจากนั้น แล้ว บริษัทฯ ยังขยายธุรกิจไปยังตลาดกลุ่มเครื่องจักรส� าหรับงานท่อ งานเกี่ยวกับเหล็ก โครงสร้างเช่น ตัด เจาะ เชื่อม ส�าหรับโครงสร้างสาธารณูปโภค งานประกอบแบบ Fastening งานออกแบบ และจัดหาอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน เพื่อการผลิตในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ และเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมทั่วไป เรียกได้ว่าเทคโนโลยีต่างๆ ที่บริษัทฯมี สามารถตอบสนองความต้องการด้านงานเหล็กแผ่นได้ทุกกระบวนการ คุณกิตติ ตั้งทรงธรรม กรรมการผู้จัดการบริษัท คราสส์เทค จ�ากัด กล่าวถึงความพร้อม ของบริษัทฯ ในการเป็นสนับสนุนการพัฒนาของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ใน ประเทศไทยว่า ในฐานะผู้น�าเข้าเทคโนโลยีและเครื่องจักรด้านเหล็กแผ่น บริษัทฯ มีความพร้อม ในการส่งเสริมศักยภาพการผลิตของผู้ประกอบการในประเทศไทย ด้วยเทคโนโลยีอันหลาก หลายและทันสมัย เพื่อรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ใน ประเทศไทย

คุณกิตติ ตั้งทรงธรรม กรรมการผูจัดการ บริษัท คราสสเทค จ�ากัด

ผลิตภัณฑ์ไฮต์ไลต์ เตรียมแสดงงาน MANUFATURING EXPO 2015

ส�าหรับงาน MANUFATURING EXPO 2015 ซึ่งถือเป็นมหกรรมงานแสดงสินค้า เพื่ อ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต และส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ แ ละ อิเล็กทรอนิกส์อย่างครบวงจร คุณกิตติเผยว่า ในปีนี้บริษัท คราสส์เทค จ�ากัด จัดเตรียม เทคโนโลยีด้านการจับยึดไปจัดแสดง ชูเป็นไฮต์ไลต์เด่นนอกเหนือไปจากเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ น�าไปจัดแสดงเป็นประจ�าทุกปี ส�าหรับเทคโนโลยีการจับยึดชิ้นงาน ซึ่งถือว่าเป็นเทคโนโลยีหนึ่ง ที่มีบทบาทส�าคัญใน กระบวนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับบริษัทผู้ผลิตเทคโนโลยีจับยึดจาก ประเทศเยอรมนี ภายใต้แบรนด์ Röhm ซึ่งจัดว่าเป็นแบรนด์ชั้นน�าระดับโลก ที่มีผลิตภัณฑ์ หลากหลายในหมวด Clamping Tools ตั้งแต่ drill chuck ขนาดเล็กจนถึง high-tech power-assisted clamping devices ครอบคลุมเทคโนโลยีจับยึดอย่างกว้างขวาง ได้แก่ - Drill chucks - Live centers - Lathe chucks and vises - Power chucks - Cylinders and mandrels - Gripping technology - Special design of clamping technology

ทั้งนี้ เทคโนโลยีต่างๆ แบรนด์ ROHM ได้รับการตอบรับที่ดีจากผู้ประกอบการใน เมืองไทย ซึ่งคราสส์เทคถือเป็นผู้แทนจ�าหน่ายรายเดียวในประเทศไทยในขณะนี้

มุมมองสถานการณ์การเติบโตของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในไทย

คุณกิตติ เชื่อว่า อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในประเทศไทย ยังสามารถ เติบโตไปได้ เนื่องจากประเทศไทย มีความสามารถในการเป็นศูนย์กลางการผลิตของ ภูมิภาค ส่งผลให้เกิดการลงทุนอย่างต่อเนื่องเช่นกัน และการลงทุนด้านเทคโนโลยีก็เป็นที่ น่าจับตามอง เพราะในอนาคตอันใกล้ ประเทศไทยอาจเป็นหนึง่ ในฐานการผลิตชิน้ ส่วนยาน ยนต์จากประเทศเยอรมนี จึงเป็นโอกาสอันดีของประเทศ และของบริษัทฯ ในการเป็น ซัพพลายเออร์ด้านเทคโนโลยีที่น�าเข้ามาจากเยอรมนีเพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการดังกล่าว ได้อย่างตรงความต้องการได้อย่างเต็มที่

เชิญชวนผู้ประกอบทั่วไทย ชมงาน MANUFATURING EXPO 2015

ในงาน MANUFATURING EXPO 2015 บริษัท คลาสส์เทค จ�ากัด ในฐานะผู้ร่วม แสดงสินค้า ขอเชิญชวนบรรดาผู้ประกอบการต่างๆ เข้ามาเยี่ยมชมเทคโนโลยีและ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ทางบริษัทฯ จะน�ามาจัดแสดงในงาน MANUFATURING EXPO 2015 ครั้งนี้ ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-27 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เพื่อน�าไปสู่การต่อยอดและ พัฒนากระบวนการผลิต และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการผลิต ทั้งนี้ บูธของบริษัท คลาสส์เทค จ�ากัด ตั้งอยู่ที่ฮอลล์ 103 หมายเลข S01 ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 89


w e A N ter

10 12

September 2015

International Center for Exhibition (I.C.E) Culture Palace 91 Tran Hung Dao Street

Hanoi Vietnam

p a h Cf Manufacturing

o ce ew era of n e l l Exce e welcominmg tMheannufactaurpint egr

b h a w c e will 5, “Vietn nd As w 1 a n e ence a , 0 2 n e n l i l s p e l o C c o ex ll m d AE ” w i cturing rs of , and o e p k x a E m g anufa s for kagin ue can of m titivenes stic pac l a v e e a se achin comp parts, pl ucts who m w n d e o i o n t o r t a p h au other d throug nd autom tries. y n a a n m ce 0 cou is nhan gies, be e technolo ds from 2 ity in th n n , 0 a u s r l t 0 b ,0 + or too r 200 the opp show 10 you e v o of d by e both et an e rid ss Com ing mark yers how f busine o s u i r prom r future b apte w ch u of yo rite the ne er. th can w nce toge lle e c x e

Vietnam’s Leading Exhibition on Machine Tools, Technologies, and Automation for Mold & Die, Auto Parts, and Plastic Packaging Manufacturing Exhibit space is open for reservation. Vietnam +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 2 686 7299 vietnammanufacturingexpo@reedtradex.co.th www.vietnammanufacturingexpo.com www.facebook.com/vietnammanufacturingexpopage

VME 2015_EXH_ADS_23.5x29.8.indd 1

Co-located with:

Organized by:

Local partner:

2/11/58 BE 2:42 PM


8-10 October 2015 SECC (TT Trien lam Saigon)

Ho Chi Minh City, Vietnam

Vietnam’s International Exhibition on Machine Tools & Metalworking Solutions for Production Upgrade

Possessing the best metalworking productivity will be easier than ever as “METALEX Vietnam 2015” is designed, molded, and shaped to be the center of metalworking excellence. This is where the latest machine tools and metalworking solutions by 500 brands from 25 countries will reveal to you how the manufacturing and the supporting industries can achieve top-notch production eficiency and conidently venture into the challenging AEC era. METALEX Vietnam will provide technology providers irst-class chance to meet prospective buyers, learn their needs, and discuss how you can help them be the best that they can be. Reserve your space, today, and start reaching your buyers now.

Exhibit space is open for reservation. +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 2 686 7299 Vietnam metalexvietnam@reedtradex.co.th www.metalexvietnam.com www.facebook.com/metalexvietnampage

Organized by :

Local Partner:


Thailand sets goal to be ‘automotive hub of Asia’

INTERMACH & SUBCON THAILAND 2015 ECO PRODUCTS WILL SPUR DEMAND AT MAJOR EVENT Thailand’s Fiscal Policy Office has made adjustments to the country’s economic growth projections for 2015. The new figure is 3.9% with export growth at 1.4%. While Thailand has emerged as a regional automotive production hub, the automotive parts and components sector has played a significant role in the strong growth of the automotive industry. Ten car manufacturers, including five existing eco-car producers, applied for Phase 2 of the government’s eco-car program, with expected investment of 139 billion baht for manufacturing 1.58 million vehicles. These investments automatically present an opportunity for the Thai automotive and parts industry to integrate itself further with the global production strategies of OEM regarding the mini and small car sectors. The success of the Eco-Car Program Phase 2 is expected to lift the country’s automotive production to over three million units by the end of 2015.

further advance Thailand and ASEAN as a major manufacturing hub making INTERMACH and SUBCON Thailand 2015 show - an event you just can’t afford to miss.”

INTERMACH and SUBCON THAILAND 2015 help companies stay globally competitive and SMEs improve their business strategies by investing in new capabilities and business opportunities. Thailand has become known for its reliable labor force with efficient production and assembly, all of which will help SME’s even further. The AEC will also bring increased competition, encouraging part-makers to raise their standards. As a result, products will provide better value, especially items that require precision accuracy and top quality. Introducing new technology can provide the competitive edge entrepreneurs seek which is where INTERMACH comes in…

electronics, mold and die and machinery industries. Plus! Business Matchmaking organised by the Thailand Board of Investment (BOI) to link Thai, ASEAN, and Japanese subcontractors with world class buyers. • 10 International Pavilions including Japan, Taiwan, Korea, China, ASEAN Subcontracting Association, MedTec, Mould & Die Industry Sustainable Development Project (MDS), the Thai Subcontracting Promotion Association and BOI Pavilions from Chiangmai and Korat. • Only at SUBCON Thailand! 150 World’s leading industrial part buyers present their requirements and procurement policies. • Over 100 Special Seminars and Conferences that will further enhance the Thai and ASEAN manufacturing industry. • * Featured in conjunction with Sheet Metal Asia, ASEAN’s International Sheet Metal Fabrication Technology and Machinery Exhibition – the largest of its kind in Thailand.

For more than thirty years INTERMACH has been ASEAN’s Leading International Industrial Machinery Exhibition. The show presents the latest high-tech machinery & cutting edge technology from around the world, all at one dynamic event. Today, it is more important than ever, helping manufacturers and subcontractors deal with growth and increased competitiveness in the region. INTERMACH is the only exhibition in Thailand that focuses exclusively on industrial machinery. And each year the event continues to attract more than 40,000 quality trade visitors from over 40 countries. Mr. Sanchai Noombunnam, Group Director at UBM Asia (Thailand) the show organiser, said; “Thailand has the ability to manufacture more sophisticated items but needs to employ more advanced technology and machinery. By visit the show to inspecting or viewing new machinery and technology at INTERMACH, Thai subcontractors and part makers will gain a competitive advantage by cutting costs and increasing efficiency. At SUBCON Thailand 2015 has enjoyed 1st Class success by linking regional and international corporations, industrial part buyers and entrepreneurs from domestic and international companies from over 15 countries including the ASEAN region and Japan. Together the show will help

28 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

INTERMACH and SUBCON THAILAND 2015 will feature… • 1,200 companies from 40 countries will display 4,000 pieces of machinery and equipment. More than 150 technologies being introduced for the first time in ASEAN and Thailand. • 5 Top Japanese Makers featuring latest technology from MAZAK (Thailand), Mitsubishi Electric Automation Thailand (MEATH), OKUMA Techno (Thailand), TOYODA Machinery S.E. Asia, and SODICK (Thailand) • 300 top industrial part-makers from 15 countries in automotive, electrical and

The 2015 show will be held from Wednesday to Saturday 13-16, May 2015 at BITEC, Bangkok. Together INTERMACH and SUBCON THAILAND 2015 make one of the most successful industrial machinery and subcontracting exhibitions in the region and the only international event of the year that is perfectly timed with the industrial procurement cycle. PLEASE DON’T DELAY. PRE-REGISTER FREE ONLINE NOW! @ www.intermachshow.com/www.subconthailand.com

INTERMACH and SUBCON THAILAND 2015 13-16 May 2015 / BITEC, Bangkok






Industrie 4.0 On Track to Transform Manufacturing Processes Deepak Achuthashankar, Industry Analyst, Industrial Automation & Process Control – Europe at Frost & Sullivan and MTA2015 conference speaker shares his views on the convergence of digital worlds with industrial manufacturing

Deepak Achuthashankar, Industry Analyst, Industrial Automation & Process Control – Europe at Frost & Sullivan and MTA2015

Singapore, 5 February 2015 – A recent joint study by Industrial IP Advantage indicated that when industrial productivity and manufactured exports slowing down with most economies in the region, it has found out that the integration of Internet of Things (IoT) into the Operational Technology (OT) of manufacturing industries will have a very significant global economic impact – to the tune of US$3.88 trillion over the next decade. Regional economies with strong manufacturing traditions are planning to implement automationfriendly strategies to specifically address manpower shortage, increase production quality and volume, as well as enhance specialised manufacturing and standardisation. According to Mr. Achuthashankar, manufacturers must be able to accept and embrace 98 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Industrie 4.0 (The 4th Industrial Revolution) to stay competitive and succeed in future. The Future Factories & Manufacturing Asia conference will analyse this trend and its impact on manufacturing industries. A panel moderator at the conference, he offers MTA2015 a sneak preview of his views on the current and future of the regional manufacturing landscape, and the impact technology has and will have on today’s manufacturing processes.

Industrie 4.0 – The Concept The primary goals of any manufacturing or production plant are and will be to enhance productivity, reduce time-to-market and decrease overall costs. Today, manufacturers face unprecedented challenges as global economic forces drive competition. These challenges can be overcome when the real time production systems converge with the cyber world and this convergence will be driven by information and communication technologies (ICT). This grand collaboration is expected to forge innovative automation technologies as well as advanced services. Such innovations would reduce time to market, make production more efficient and flexible – and help manufacturers retain their competitive edge in the global market.

We are at the brink of witnessing a new instalment of industrial revolution. Industrie 4.0, though a novel concept that has originated in Germany, is an all-encompassing one that has currently achieved global resonance. Big Data, Internet of Things, Internet of Services and Cyber Security are the four functional pillars of Industrie 4.0. Industrie 4.0 is a platform that enables the unification of information amongst participants in the entire value chain – from product inception to design, manufacturing, services and even refurbishment. The end result will be a system in which all processes are completely integrated and would exchange information in real time. This revolution will transform the manufacturing processes in synchronisation with the speed of change in customer needs – which implies making the production process flexible without taking excess time. Twenty years ago, Asian manufacturers sat at the far end of the supply chain spectrum. Products were designed and proto-typed in the Europe or USA and later shipped to Asia for cheap, volume manufacturing. Now, Asian manufacturing companies, with China leading the way, manage design and manufacturing indigenously. Today, China is striving hard to revamp its manufacturing industry. The


country’s 12th Five Year Plan (2011-2015) sets out the objective of reducing dependency on foreign technology and to assume global technology leadership, particularly in high-end equipment manufacturing and next-generation ICT.

Industrie 4.0 – The Adoption in Southeast Asia In Singapore, I see a high emphasis on promoting high value-add manufacturing, innovations and new technologies, including: pervasive microfluidics, printed electronics and nano-manufacturing of multifunctional products. These are some of the sub verticals that are expected to witness high degree of further automation. Sustainable manufacturing, including: pharmaceutical and chemical production and development of methodologies and tools for assessment of sustainability in manufacturing are some of the areas that will employ superior ICT-based tools for resource optimisation. Singapore and Malaysia are technologically advanced and lead the world in many niche segments. A major strength of these countries is the integration of micro technologies into products, with photonics being a prime example. I believe their progress is partly driven by large government subsidies and substantial investments, particularly in their university systems. While it is true that Vietnam, Indonesia and Thailand are low cost labour abundant countries, it is high time they cut their umbilical cord with the old model of development – cheap labour and low

innovation. I’m quite optimistic about their transition as the respective governments have the necessary policies in place for high value manufacturing. Furthermore, the concern on growing competition from other ASEAN countries motivates these economies to move into new-age manufacturing. Business-friendly climate, diverse sources of

Events at A Glance: Conference: Date: Venue: Opening Hours: Admission:

Future Factories & Manufacturing Asia 14 April 2015 (Tuesday) Singapore Expo, Max Atria 12.30pm to 5.10pm Conference delegates only www.mta-asia.com/conference/future-factories-manufacturing-asia/conferenceWebsite: highlights/ www.mta-asia.com/conference/future-factories-manufacturing-asia/fees-andDelegate registration: registration/ Delegate registration: MTA2015 - The 20th Precision Engineering Industry Event (held alongside Show: MetrologyAsia2015) Incorporating: iAutomation2015, MetalAsia2015, Outsource&SubCon2015, ToolTec2015 Date: 14 – 17 April 2015 (Tuesday - Friday) Venue: Singapore Expo, Halls 3 & 4A Opening Hours: 10.30am to 6pm daily Admission: Business and trade professionals Website: www.mta-asia.com Visitor registration: www.mta-asia.com/to-visit/visitor-pre-registration/

investments, coupled with a large supply chain, backed up by a geographical advantage and supported by a network of incentives, are some of the factors that will enable these countries to emerge as valuable players on the global manufacturing stage.

Industrie 4.0 – Challenges & Opportunities From a vendor standpoint - these challenges could be opportunities to niche companies. I firmly believe Industrie 4.0 is not just a mere new industrial paradigm with regards to technology. Industrie 4.0 will alter the competitive landscape dramatically. The manufacturing sector will soon witness a flock of unheard names offering comprehensive end-to-end ICT solutions. Joint ventures, collaborations, partnerships and Ecosystem would be the market go-to strategies for companies in order to remain competitive. From an End User (not be confused with final human consumers) standpoint - One of the biggest roadblocks that I see is the passive mind set of the industrial community. Most enterprises show reluctance to change or experiment. This may prove to be detrimental in the long run. Apart from this, challenges surrounding awareness and skill gaps are areas that need immediate attention. Looking ahead, the potential financial returns from Industrie 4.0 are arguably the biggest incentive for businesses to move ahead. Industrie 4.0 will have a midas touch in every aspect of technology, or business. Manufacturers must be able to accept and embrace Industrie 4.0 to succeed in the future. If not, then it is quite certain that they will be left behind.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 99





• Vietnam’s Only Electronics Parts Manufacturing Event • 200 Leading Brands from 20 countries • 8,000 Quality Buyers • Technical Conference Sessions • Part of World-renowned NEPCON series

With escalating interest to upgrade production capability and eficiency in order to maximize the mounting business opportunities in the electronics industry, manufacturers in the supporting sectors are looking for new technologies, product trends, know-how, and connections. Dedicatedly designed just for them, “NEPCON Vietnam” will be the only circuit of success on which business opportunity current will low and connect all the industry stakeholders together. Over 200 brands from 20 countries will gather to meet 10,000+ potential buyers. Complete with new knowledge and networking opportunities in on-site seminar and activities, NEPCON Vietnam in Hanoi will be the gateway for you to become an integral part of Vietnam’s electronics advancement.

17-19 SEP. 2015

International Center for Exhibition (I.C.E) Culture Palace 91 Tran Hung Dao Street

(THU – SAT)

Hanoi >Vietnam

One of Global NEPCON Series

Vietnam’s Only Exhibition on SMT, Testing Technologies, Equipment, and Supporting Industries for Electronics Manufacturing – 8th Edition

Organized by :

Local partner :

Exhibit space is open for reservation. Vietnam +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 26867299 nepconvietnam@reedtradex.co.th www.nepconvietnam.com www.facebook.com/nepconvietnampage


Hydraulic & Pneumatic HYDRAULIC AND PNEUMATIC SOLUTION & SERVICE

15

PNEUMATIC

16

• Filtration • Pneumatic • Hydraulic Fitting • Push - Lok Hose • Hydraulic Hose

PARKER HANNIFIN (THAILAND) CO., LTD.

อุปกรณในระบบกำจัดฝุน-วาวล และหัวขับสำหรับงานระบบอุปกรณในระบบนิวแมติค

CYLINDER SERVICE

17

A.P.S. CONTROL CO., LTD.

ศูนยซอมและสราง กระบอกไฮโดรลิคและนิวเมติกซ แบบครบวงจร

GLOBAL SEAL CO., LTD.

Material Handling

Motor & Pump 18

MOTOR We are sole distributing of high quality industrail products for the leading brands

SAHA KIM MOTOR CO., LTD.

W21 PREMIUM EFFICIENCY EFF1

19

• Pumps • Fans • Crushers • Conveyor belts • Mills • Centrifugal machines • Presses • Elevators • Packaging equipment • Grinders and orters.

MERZ (THAILAND) CO., LTD.

Green Product 22

REBOARD THE ORIGINAL AND SUPERIOR กระดาษ Reboard นวัตกรรมใหม สำหรับงานแสดงสินคา และนิทรรศการ

C.G.S. (THAILAND) CO., LTD.

GLOBAL PUMP MANUFACTURER LEADER

20

• DOUBLE SUCTION SPLIT CASTING • VERTICAL MIXED • VERTICAL AXIAL • SUBMERSIBLE SEWAGE WASTEWATER • SUBMERSIBLE MIXED • SUBMERSIBLE AXIAL

รถยก รถลาก และอุปกรณ ขนยาย ที่ครอบคลุม ทุกความตองการ ในทุกอุตสาหกรรม

THAIKO PUVA CO., LTD.

Screw Conveyors 23

COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENT FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED

21

TRANSFER SYSTEM SCREW CONVEYORS

Pallet

Air Purification System 24

CORAL • ระบบดูดควันและฝุน • เครื่องดูดฝุนแรงดันสูง • เครื่องกรองไอน้ำมัน • เครื่องยกระบบศูญญากาศ

Spiral Screw U-Trough Screw Conveyors V-Trough Screw Conveyors Tubular Trough Screw

CPM ENGINEERING CENTER CO., LTD.

GeTeCe Co., Ltd.

SIRIKRAN INDUSTRAL CO., LTD.

March_02/2015

25

PLASTIC PALLET • กันน้ำ กันชื้น ปลอดเชื้อรา • ปราศจากเสี้ยน และตะปู • แข็งแรง ทนทาน ไรกังวล • ทนตอสภาวะแวดลอมไดดี • ประหยัดเวลา และคาใชจาย • สามารถนำกลับมา Recycle ได

NAWAPLASTIC INDUSTRAIL CO., LTD.



EDITOR’S PICK | March 2015

Early Streamer Emission System

TurnLine : “DominiTurn / งานกลึงภายนอก” ส�าหรับเครื่องLathes ขนาดเล็ก นวัตกรรมของ DoMiniTurn มีเม็ดมีดสองด้านแต่ให้แรงตัดต�่าเช่นเดียวกันเม็ดมีดด้าน เดียว เป็นผลมากจากมุมคายขนาดใหญ่ การออกแบบทีน่ งั่ เม็ดมีด และคมตัดของเม็ดมีดทีเ่ ป็น รูปทรงเรขาคณิต DoMiniTurn มีระบบจับยึดที่ให้แรงจับยึดสูงเพื่อลดการกระแทกและปัญหาของผิวงาน เพื่อพัฒนา ขั้นตอนการเปลี่ยนเม็ดมีดในเครื่องจักรขนาดเล็กที่ท�าได้ยาก สกรูของ DoMiniTurn นั้นไม่ ได้จบั ยึดเม็ดมีดกับด้ามจับแบบทัว่ ไปแต่ขนั จากด้านหลังของด้ามจับช่วยให้ขนั้ ตอนการเปลีย่ น เม็ดมีดง่ายขึ้น ส�าหรับงานกลึงเหล็กคาร์บอนต�่า, เหล็กอัลลอยและสแตนเลส เพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถใช้งานได้อย่างครอบคลุม Tungaloy ได้ออกเม็ดมีดรูปทรงเรขาคณิต ที่สัมพันธ์กับด้ามจับ เม็ดมีดหน้าลาย JTS และ TS ส�าหรับการใช้งานทั่วไปกับเหล็กกล้า นอกจากนี้ยังมีเม็ดมีดรุ่นใหม่ JSS และ JS ส�าหรับการใช้งานกับสแตนเลส มาพร้อมแรงตัด ที่ต�่ามาก ส�าหรับเม็ดมีดหน้าลาย JTS และ JSS ได้รับการออกแบบเฉพาะส�าหรับงานชิ้นส่วน ขนาดเล็กที่ต้องการความแม่นย�าสูง รัศมีมุมของเม็ดมีดเหล่านี้มีค่า Tolerances ติดลบ คุณสมบัตินี้จะมีประสิทธิภาพสูงเมื่อ ใช้ในงานที่ต้องใช้ความแม่นย�าและมีรัศมีก�าหนด เช่น R < 0.1 มม. เม็ดมีดรูปทรงสามเหลี่ยม (Trigon) และรูปทรงขนมเปียกปูน (Rhombic) มาพร้อมกับ เกรด AH725, GT9530 และ NS9530 ส�าหรับทุกการใช้งานตั้งแต่ขนาดกลางไปจนถึงงาน ผิวส�าเร็จ ด้วยนวัตกรรมการออกแบบรูปทรงของเม็ดมีดและเกรดช่วยให้การควบคุมเศษท�าได้อย่าง ดีเยีย่ มทัง้ การใช้งานกับเหล็กและสแตนเลส นอกจากนีผ้ ลจากการทดสอบ DoMiniTurn มีอายุ การใช้งานมากกว่าผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งถึง 30% แม้ว่าอายุการใช้งานที่มากขึ้นจะช่วยเพิ่มผลประโยชน์ให้ลูกค้า แต่สิ่งที่เป็นผลประโยชน์ ทีแ่ ท้จริงคือความสามารถของ DoMiniTurn ทีม่ คี มตัด 4-6 คมตัดต่อเม็ดมีด 1 เม็ด เมือ่ เทียบ กับเม็ดมีดแบบธรรมดาที่มีเพียง 2 คมตัด และสิ่งที่สา� คัญคือการลดต้นทุน, ปัญหาการเก็บ สต๊อคสินค้าและเวลาในการเปลี่ยนเม็ดมีด

ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า ประสิทธิภาพสูง สามารถสร้างล� าประจุ Early Streamer Emission System เพื่อที่จะไปรับกับล�าประจุที่เกิดจากฟ้าผ่าและน�าลงสู่พื้นดิน ได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว และไม่ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟใดๆ ทั้งสิ้น สามารถติดตั้งในแบบ Outdoor ทุกสภาพพื้นที่ด้วยวัสดุที่ใช้ท�าแบบ AISI 316L ที่มี ความคงทนถาวร ไม่เป็นสนิม มีอายุการใช้งานยาวนานกว่า 10 ปี ซึ่งผลิตภัณฑ์ Dat Controler ได้ผ่านการทดสอบและรับรองจากสถาบันที่มีชื่อเสียงระดับโลกตามมาตรฐาน ดังนี้ 1. มาตรฐาน NF C 17-102:2011 ที่มีหัวข้อการทดสอบหลักๆ คือ 1.1 การทดสอบในสภาวะแวดล้อม (สภาวะทนต่อการกัดกร่อนของเกลือและซัลเฟอร์) 1.2 การทดสอบโดยการผ่านกระแสสูงถึง 100 kA เป็นจ�านวน 3 ครัง้ ติดต่อกัน (10/350 sµ ) 1.3 การทดสอบ Advance Time 2. มาตรฐาน AENOR ที่จะมีองค์กรอิสระ (Third Party) สุ่มตรวจคุณภาพสินค้าทุกๆ ปี โดยไม่มีการแจ้งการเข้าเลือกสินค้าล่วงหน้า 3. มาตรฐานการทดสอบการท�างานภายใต้สภาวะฝนตกหนักและต่อเนื่อง (Raining Proved) Dat Controler® Plus/Remote เป็นหัวล่อฟ้ารุ่นล่าสุดที่เพิ่มเติมเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการตรวจสอบการท�างานของหัวล่อฟ้าได้โดยไม่ต้องขึ้นไปทดสอบบนต�าแหน่ง อาคารหรือสถานทีท่ ท่ี า� การติดตัง้ แต่สามารถตรวจเช็คการท�างานได้โดย Remote Control ในระยะไกลถึง 50 เมตร ซึง่ สะดวกและเพิม่ ความปลอดภัยแก่ผใู้ ช้งานและผูด้ แู ลบ�ารุงรักษา ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งสามารถตรวจเช็คการท�างานย้อนหลังว่ามีปรากฏการณ์ฟ้าผ่ามาแล้ว เท่าไหร่ ในเวลาใดบ้าง เพียงแต่น�า Flash Drive มาเชื่อมต่อกับ Intelligent Counter ก็ จะสามารถน�าไปเปิดดูรายละเอียดจากคอมพิวเตอร์ได้ทันที

» บริษัท เอวีร่า จ�ากัด Tel : +662-681-5050 Fax : +662-681-5995 E-mail : marketing@avera.co.th Website : www.avera.co.th

» TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD. Tel : (66) 2 751 5711 Fax : (66) 2 751 5715 Website : www.tungaloy.co.th MODERN MODERN MANUFACTURING MANUFACTURING MAGAZINE MAGAZINE |

107


Susol VCB lead to Susol legend! Renew your thoughts by subverting the dominant paradigm. Focus your thoughts on the advantages and benefits gained through the Susol. Then you Will be able to achieve the Super Solution.

Susol Vacuum Circuit Breakers • • • • •

Customer needs for the breakers with high Interrupting capacity and large current due to the integration and increase of the load capacity. Worldwide trend of diversification in the medium voltage distribution lines. Increase of the reliability for the temperature characteristics of circuit breakers. Main structure with high reliability application. A variety of accessories and ability to maximize.

ASEAN Customer Support THK ได้ขยายการด�าเนินงานเพื่อเพิ่มกิจกรรมการบริการลูกค้า THK is launching a new customer support service. โดยการเพิ่มกิจกรรมส�าหรับการบริการลูกค้าในประเทศไทย We help our customers in Thailand with a comprehensive support structure Voltag 7.2k 12/17.5k 24kV 36kV 40.5kV

Interrupting current 8/12.5/20/25/31.5/40/50k 20/25/31.5/40/50kA 12.5/25/31.5/40k 25/31.5/40kA 25/31.5k

Rated curren 400/630/1250/2000/3150/4000A 630/1250/2000/3150/4000A 1250/2000/2500/3150A 1250/2000/3150 1250/2000/3150

» BTT UNITED CO., LTD. Tel : 0-2586-8733 Fax : 0-2587-8852 E-mail : info@bttunited.com. Website : www.BTTunited.com 108 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

• • •

โดยผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่มีประสบการณ์ Technical support by experienced staff from designing stage พร้อมมีสต็อคที่สามารถจัดส่งได้รวดเร็วหลากหลายรุ่น Quick delivery service by variety stock items และมีบริการจัดฝึกอบรมโดยผู้อบรมคนไทย Offering technical trainings by our Thai staff

» THK RHYTHM (THAILAND) CO., LTD. LM System Division Bangkok Branch Tel : 0-2751-3001 Fax : 0-2751-3003 E-mail : thk@trtc.co.th Website : http://www.thk.com/th (Headquarters) 3-11-6, Nishigotanda, Shinagawa-ku, Tokyo 141-8503 Japan Tel : +81-3-5434-0351 Fax : +81-3-5434-0353 (International Sales Department) Website : http://www.thk.com/


ท่อลมของท่านยังใช้ท่อกัลวาไนซ์อยู่ใช่ไหม? ผิวสัมผัสของท่อกัลวาไนซ์จะเกิดการกัดกร่อนทีละเล็ก ละน้อยจากความชืน้ และน�า้ มันในระบบลม เกิดเป็นสนิม และเป็นตามดอีกทั้งยังเกิดผงสนิมอยู่ภายในท่อ ซึ่ง สามารถสร้างความเสียหายแก่อุปกรณ์ลม ตะกรันและ ความขรุขระทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลให้การไหลของลมลดลงและ เกิดความดันตกคล่อมมากขึ้น (reducing air flow and increasing pressure drops) และที่แย่ไปกว่านั้นยัง ท�าให้เกิดการรัว่ บางครัง้ มากกว่า 30% ซึง่ ความสูญเสีย นี้เป็นมูลค่าที่สูงแต่สามารถท�าให้ลดลงได้ บทสรุป : ท่านสามารถลดปัญหาของท่อลมของท่านได้จริง

เลือกใช้นวัตกรรมใหม่และทรงประสิทธิภาพ Transair® สามารถแก้ปัญหาที่เกิดกับท่อกัลวาไนซ์ได้อย่างดี ท่อ Transair® ท�าจากวัสดุ อลูมเิ นียมทีไ่ ม่เป็นสนิมด้วยผิวทีร่ าบเรียบตลอดอายุการใช้งานท�าให้ลมสะอาด ตัง้ แต่ปม๊ั ลม จนถึงจุดใช้งาน ท�าให้อายุการใช้งานของอุปกรณ์นิวเมติกส์ยืนยาว อีกทั้งลดการอุดตันของ ไส้กรองโดยไม่ต้องเปลี่ยนบ่อยๆ Transair® สามารถทดแทนท่อเก่าหรือต่อจากระบบเก่าได้ ทันทีและปรับปรุงประสิทธิภาพให้สูงขึ้น ง่ายต่อการขยายและดัดแปลงโดยไม่ต้องรอผู้รับ เหมาอีกต่อไป

IQ Platform Graphic Operation Terminal GOT2000 Series Features • • • • •

High – speed processing Increased memory capacity Easy operations with multi – touch gestures Crisp display with outline fonts and PNG images Enhanced lineup

» บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ากัด 896/19 และ 20 อาคารเอสวี ซิตี้ ออฟฟิศทาวเวอร์ 1 ชั้น 12 ถนน พระราม 3 แขวง บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 Tel: 0-2682-6522 Fax: 0-2682-6020 Website: www.mitsubishifa.co.th

คุณประโยชน์ของ Transair® ประสิทธิภาพสูงสุด • ไม่เป็นสนิม • อัตราการไหลสูงสุด • ไม่รั่ว ท�าให้ประหยัด พลังงาน

ลดค่าติดตั้ง • ติดตั้งง่าย • ประกอบได้เร็ว • สามารถจ่ายลมได้ทันที ภายหลังติดตั้ง

การประยุกต์การใช้งาน • เป็นชิ้นส่วนที่ถอด ประกอบง่าย • เป็นชิ้นส่วนส�าเร็จพร้อม ใช้งาน • ต่อขยายได้อย่าง รวดเร็ว

» Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road, Suanluanlung, Bangkok 10250 Tel : (662) 186-7000 Fax : (662) 374-1645 Website: parker.com/th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

| 109


ADEKOM Kompressoren , The world class screw air compressor and treatment system.

ปัม๊ ลมระบบสกรู “ADEKOM” ส�าหรับการใช้งานลมทุกสภาวะอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ปั๊มลมระบบสกรู”ADEKOM” ได้รับการออกแบบส�าหรับการใช้งานหนักอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง (100% Duty Cycle) อุปกรณ์ภายในผลิตในประเทศเยอรมันและอิตาลีที่มีการ ออกแบบเป็นพิเศษ ให้มีความทนทานต่อทุกสภาวะการใช้งานและทุกสถานที่ โดยเฉพาะการ ใช้งานในเขตร้อนอย่างประเทศไทย ปั๊มลมระบบสกรู “ADEKOM” ยังเหนือกว่าด้วยการใช้ งานจริงที่สามารถประหยัดพลังงานได้ในทุกขณะท�างาน (ADEKOM Real Time Energy Saving System) นอกจากนีป้ ม๊ั ลมระบบสกรู”ADEKOM” ยังมีรนุ่ ทีอ่ อกแบบส�าหรับใช้งานในสภาวะพิเศษ ตามการใช้งาน ได้แก่ • Oil Free Screw Air Compressor • High Pressure Air Compressor (Max : 350 bar) • Explosion Proof Screw Air Compressor • Special Gases Compressor (Biogas, Methane, LPG, NGV, etc.) • Air treatment system (Air dryer, air filter) ในด้านการบริการ “ADEKOM” สามารถบริการคุณด้วยทีมวิศวกรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญใน ระบบปั๊มลม สามารถให้ค�าแนะน�าและการติดตั้งปั๊มลมอย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมถึง สามารถบริการซ่อมบ�ารุงปั๊มลมได้ทุกยี่ห้อ

» Adekom Kompressoren (Thailand) Co., Ltd. Tel: 0-2453-2374-5 Fax: 0-2453-2349 E-mail: info@adekom-thailand.com Website: www.adekom-thailand.com

เค.ไบร์ท หลอดไฟ โคมไฟเพื่อคนไทย แนะน�ำแบรนด์สินค้ำ

เราคัดสรรผลิตภัณฑ์อปุ กรณ์สอ่ งสว่างทีม่ คี ณ ุ ภาพเหมาะสมกับตลาดอย่างกว้างขวาง หลอดไฟ โคมไฟ ระดับคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม จัดจ�าหน่ายทั้งตลาดค้าส่ง และตลาดโครงการ ตอบโจทย์ความลงตัวของทุกการใช้งานในตลาด เราเป็น Exclusive Distributor แบรนด์เนมอันดับ 1 จาก สาธารณรัฐประชาชน จีน ได้รับการยอมรับในระดับสากลกว่า 50 ประเทศทั่วโลก สินค้าแบรนด์ NVC จึงเข้าถึง โครงการทุกระดับในบ้านเรา และปรับปรุงสินค้าให้ทันยุคทันสมัยอยู่ตลอด โคมไฟระดับ Premium ส�าหรับกลุม่ งานโรงแรม ทีอ่ ยูอ่ าศัยระดับสูงและ โครงการระดับ 5 ดาว มีสินค้าครอบคลุมทั้ง Architectural lighting และ Decorative lighting เป็นที่สนใจของผู้ออกแบบในบ้านเรา

มุมมอง& แนวทำงกำรด�ำเนินธุรกิจ

ทางกลุ่มบริษัท เค.ไบร์ท จ�ากัด น�าเสนอผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า แสงสว่างที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และเหมาะสมกับพื้นที่การ ใช้งานด้วยราคาทีส่ มเหตุสมผล เราเล็งเห็นถึงการพัฒนาอย่าง รวดเร็วของวงการไฟฟ้าแสงสว่าง ให้ความส�าคัญการประหยัด พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม เราจึงพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่าง ต่อเนื่อง รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ LED หลากหลายชนิด นี่จึงเป็น สิ่งที่รับประกันให้กับผู้บริโภคมีความมั่นใจเลือกใช้สินค้าของ ทางเรา

» บริษัท เค ไบร์ท จ�ากัด 45 นราธิวาสราชนครินทร์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม 10120 Tel: 0-2285-4050 Fax: 0-2285-4025-6 110 | MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



03






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.