EXAT Annual Report 2022

Page 1

รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ สารบัญ ๒ นโยบายองค์กร ๓ สารประธานกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๔ ภาพรวมด้านการเงิน ๕ ข้อมูลที่สำาคัญทางการเงิน ๖ คณะกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๑๘ แผนภูมิองค์กรและอัตรากำาลัง ๒๐ คณะผู้บริหาร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๒๖ ประวัติผู้บริหารระดับสูง และค่าตอบแทน ๒๙ การพัฒนาบุคลากร ๓๐ จรรยาบรรณในการดำาเนินงาน ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๓๑ แนวทางการเสริมสร้าง การกำากับดูแลกิจการ ในการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๓๕ แผนผังโครงสร้างการบริหาร ของคณะกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๓๖ คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ ๖๐ รายงานผลการดำาเนินงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ๖๒ การวิเคราะห์การดำาเนินงาน ๖๕ การบริหารความเสี่ยง
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๖๘ การควบคุมภายใน ๖๙ การวิจัยและพัฒนา การให้บริการทางพิเศษ ๗๓ การดำาเนินงาน ด้านการสร้างความสัมพันธ์ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๘๐ สภาพธุรกิจ แผนงานทางธุรกิจ และกลยุทธ์ ๘๖ การดำาเนินงานตามพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๘๙ รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน ๙๐ รายงานของผู้สอบบัญชี ๙๔ งบการเงิน ๙๙ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ๑๒๖ สถิติการใช้ทางพิเศษ ๑๓๒ แผนที่ทางพิเศษ
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ นโยบายองค์กร วิสัยทัศน์ Vision องค์กรนวัตกรรมเพื่อการเดินทางและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ภารกิจองค์กร Mission ๑. จัดใ ห้มี พัฒนา/ปรับปรุงทางพิเศษ ใ ห้เป็นไปตามมาตรฐานและปลอดภัย ๒. บริการอย่างมีนวัตกรรมและคุณค่าเพิ่ม ๓. บริหารจัดการสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการดำาเนินธุรกิจทางพิเศษ และประโยชน์ต่อสังคม ๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการและการลงทุน เพื่อเพิ่มมูลค่าองค์กร ยุทธศาสตร์การดำาเนินงาน Strategic Issues ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : ขยายโครงข่ายและให้บริการทางพิเศษอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์อย่างคุ้มค่า ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : สร้างความยั่งยืนต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : สร้างสรรค์ กทพ. ให้เป็นองค์กรแห่งอนาคต ๒ ๒
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย สารประธานกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เป็นหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจที่ดำาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลในการให้บริการและ เพิ่มประสิทธิภาพทางพิเศษอย่างมีคุณภาพ บนรากฐานการบริหาร จัดการที่ดี แม้ในช่วงที่ผ่านมาจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-๑๙ ส่งผลให้การดำาเนินโครงการต่าง ๆ ชะลอตัวลงไปบ้าง แต่เมื่อสถานการณ์ดังกล่าวเริ่มคลี่คลาย ประกอบกับรัฐบาลมีมาตรการผ่อนผันเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน ทางเศรษฐกิจที่ดี กทพ. ได้เปลี่ยนวิกฤตเหล่านั้นให้เป็นโอกาส โดยปรับเปลี่ยนวิธีดำาเนินงานภายใต้วิถีชีวิตใหม่ (New Normal) เพื่อให้การดำาเนินกิจการเป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม และสอดรับ กับสถานการณ์ดังกล่าวอย่างทันท่วงที อาทิ การนำ า ระบบ เก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติแบบไม่มีไม้กั้น (Multi-Lane Free Flow : M-Flow) มาใช้ การกระตุ้นให้ผู้ใช้บริการพร้อมต่อสังคม ไร้เงินสด การเพิ่มช่องทางเติมเงินผ่านแอปพลิเคชัน การชำ า ระ ค่าผ่านทางพิเศษด้วยบัตรเครดิต รวมถึงพัฒนาระบบการให้บริการ ออนไลน์ EXAT E-Service เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถทำาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวเองผ่านทางเว็บไซต์ www.exat.co.th, www.thaieasypass.com และ Application EXAT Portal ก้าวสู่ปีที่ ๕๐ กทพ. ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาและผลักดัน ให้องค์กรสามารถดำ า เนินกิจการต่อไปภายใต้หลักธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมุ่งเน้นการทำางานที่ยืดหยุ่นและ คล่องตัว มีการกำ า กับดูแลกิจการที่ดีควบคู่ไปกับการระมัดระวัง ควบคุมไม่ให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาระบบงานบริการทางพิเศษ ทุกส่วนงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งภารกิจหลักในการเร่งรัดพัฒนา โครงข่ายทางพิเศษให้สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้อย่างสมบูรณ์ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า “องค์กรนวัตกรรมเพื่อการเดินทางและ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” เพื่อให้องค์กรก้าวสู่ความเป็นเลิศและ มีผลประกอบการเติบโตอย่างมั่นคง ผมในฐานะผู้แทนของคณะกรรมการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย ขอขอบคุณและเป็นกำ า ลังใจให้คณะผู้บริหาร และบุคลากรของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยทุกท่าน สามารถ ปฏิบัติงานต่าง ๆ สำ า เร็จลุล่วงตามเป้าหมาย ด้วยความมุ่งมั่น และทุ่มเท ตลอดจนเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาองค์กร สู่ความก้าวหน้าอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต (นายสรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์) ประธานกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๓
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ คณะกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๖
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย นายสรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ ประธานกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย วัน/เดือน/ปีเกิด ๑๐ สิงหาคม ๒๕๑๕ ประวัติการศึกษาและอบรม ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต University of Kent at Canterbury, United Kingdom ประวัติการทำางาน ปฏิบัติงานด้านการต่างประเทศ ในตำาแหน่งนักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ กองการระหว่างประเทศ สำานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ปฏิบัติงานด้านการวิเคราะห์นโยบายและแผน ในตำาแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน สำานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ทำางานรับผิดชอบด้านการวิเคราะห์โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ปฏิบัติราชการช่วยงานสำานักงานรัฐมนตรี ประจำารัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ปฏิบัติราชการด้านการพัฒนาระบบขนส่งและจราจร ประจำาสำานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร มีผลการปฏิบัติราชการที่สำาคัญทั้งในด้านการพัฒนา ระบบการขนส่งและจราจรและด้านแผนมหภาค ได้แก่ ๑) แผนแม่บทการขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ๒) แผนแม่บทการพัฒนาระบบรถไฟทางคู่และรถไฟความเร็วสูง ของประเทศ ๓) แผนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานระยะเร่งด่วน ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ๔) แผนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสร้างอนาคตไทย (แผนการลงทุน ๒ ล้านล้านบาท) ผู้อำานวยการกองกลาง สำานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ทำาหน้าที่เลขานุการ บริหารจัดการงานผู้บริหาร หัวหน้าสำานักงานรัฐมนตรี กระทรวงคมนาคม ผู้ช่วยปลัดกระทรวงคมนาคม ด้านแผนงานและงบประมาณ และเป็นผู้รวบรวมผลการดำาเนินงานรับผิดชอบ ด้านการประชาสัมพันธ์ การชี้แจงมวลชนของกระทรวงคมนาคม และทำาหน้าที่ในการจัดทำายุทธศาสตร์การพัฒนาการวางแผน การลงทุนของกระทรวงคมนาคมในทั่วทุกภาคของประเทศ โดยได้ติดตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ตรวจราชการในทั่วทุกพื้นที่ ทำาหน้าที่รองโฆษกกระทรวงคมนาคม ทำาหน้าที่หัวหน้าสำานักงานบริการความร่วมมือระหว่าง รัฐบาลไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีนด้านการพัฒนาระบบ รถไฟ โดยเป็นผู้ทำาหน้าที่ช่วยในการเจรจากับสาธารณรัฐ ประชาชนจีนในการก่อสร้างโครงการรถไฟความเร็วสูงมาโดยตลอด อธิบดีกรมการขนส่งทางราง ตำาแหน่งปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงคมนาคม (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) การถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมของกรรมการ ไม่มี ๗

ตำาแหน่งปัจจุบัน

รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ นางสาวชุณหจิต สังข์ใหม่ กรรมการผู้แทนกระทรวงการคลัง วัน/เดือน/ปีเกิด ๒๗ ตุลาคม ๒๕๐๔ ประวัติการศึกษาและอบรม ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต (สาขาการเงิน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รุ่นที่ ๕๖ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตร สถาบันวิทยาการตลาดทุน
นักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระดับสูง (นยปส.) รุ่นที่ ๘ นักบริหารระดับสูง : ผู้บริหารส่วนราชการ (นบส.๒) รุ่นที่ ๗ ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ ๑๗ นักบริหารระดับสูง : ผู้นำาที่มีวิสัยทัศน์ (นบส.) รุ่นที่ ๔๕ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ ๒๙๘/๒๐๒๐ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Advance Audit Committee Program (AACP) รุ่นที่ ๓๙/๒๐๒๑ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำางาน ผู้อำานวยการสำานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบการเงินการคลัง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง
Postgraduate Diploma in Information Management (University of Strathclyde) ประเทศอังกฤษ ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.)
(วตท.) รุ่นที่ ๒๙
รองปลัดกระทรวงการคลัง เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) การถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมของกรรมการ ไม่มี
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย นายสราวุธ ทรงศิวิไล กรรมการผู้แทนกระทรวงคมนาคม วัน/เดือน/ปีเกิด ๑๕ กันยายน ๒๕๐๗ ประวัติการศึกษาและอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ขนส่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ ๕๗ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ ๓ หลักสูตรโครงการพัฒนานักบริหารระดับสูง ประวัติการทำางาน วิศวกรโยธา ฝ่ายแผนงาน กองบำารุง หัวหน้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำานักบริหารบำารุงทาง ผู้อำานวยการส่วนมาตรฐานผู้รับจ้าง (งานจดทะเบียนผู้รับเหมา) ผู้อำานวยการสำานักงานบำารุงทางธนบุรี (แขวงการทาง) ผู้อำานวยการแขวงการทางกรุงเทพ ผู้อำานวยการกลุ่มกำาหนดกลยุทธ์และแผนงานบำารุงทาง สำานักบริหารบำารุงทาง ผู้อำานวยการสำานักทางหลวงที่ ๘ (นครราชสีมา) กรมทางหลวง รองอธิบดีกรมทางหลวง (ฝ่ายวิชาการ) รองอธิบดีกรมทางหลวง (ฝ่ายบำารุงทาง) ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม ผู้อำานวยการสำานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร อธิบดีกรมการขนส่งทางราง ตำาแหน่งปัจจุบัน อธิบดีกรมทางหลวง เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) การถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมของกรรมการ ไม่มี ๙
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กลุ่มพนักงาน จำานวนพนักงาน (คน) ปี ๒๕๖๕ปี ๒๕๖๔ปี ๒๕๖๓ปี ๒๕๖๒ พนักงาน๔,๖๙๗๔,๘๐๐๔,๘๖๐๔,๗๙๕ ลูกจ้าง๕๔๓๖๑๗๕๘๐๖๑๓ คณะกรรมการ กทพ. ผู้ว่าการ สำานักตรวจสอบภายใน แผนกตรวจสอบภายใน ๑ แผนกตรวจสอบภายใน ๒ แผนกตรวจสอบภายใน ๓ กองตรวจสอบภายใน ๑ แผนกตรวจสอบภายใน ๔ แผนกตรวจสอบภายใน ๕ แผนกตรวจสอบภายใน ๖ กองตรวจสอบภายใน ๒ คณะกรรมการตรวจสอบ รองผู้ว่าการฝ่ายก่อสร้างและบำารุงรักษา รองผู้ว่าการฝ่ายปฏิบัติการ ผู้ช่วยผู้ว่าการ แผนกพัฒนาระบบ การบริหารความเสี่ยง แผนกประเมินผล การบริหารความเสี่ยง
และควบคุมภายใน กองวางแผน ปฏิบัติการ แผนกวางแผนระบบ จัดเก็บค่าผ่านทาง แผนกวางแผนระบบ ความปลอดภัยและ การจราจร กองจัดเก็บ ค่าผ่านทาง ๑ แผนกจัดเก็บดินแดง แผนกจัดเก็บบางนา แผนกจัดเก็บดาวคะนอง แผนกจัดเก็บสุขุมวิท ๖๒ แผนกจัดเก็บสุขสวัสดิ์ แผนกจัดเก็บเพชรบุรี กองจัดเก็บ ค่าผ่านทาง ๒ แผนกจัดเก็บประชาชื่น แผนกจัดเก็บรัชดาภิเษก แผนกจัดเก็บยมราช แผนกจัดเก็บหัวลำาโพง แผนกจัดเก็บบางซื่อ แผนกจัดเก็บสาทร แผนกจัดเก็บอโศก แผนกจัดเก็บศรีนครินทร์ แผนกจัดเก็บศรีสมาน แผนกจัดเก็บบางปะอิน กองจัดเก็บ ค่าผ่านทาง ๓ แผนกจัดเก็บบางนา กม. ๖ แผนกจัดเก็บบางพลี แผนกจัดเก็บบางสมัคร แผนกจัดเก็บชลบุรี แผนกจัดเก็บรามอินทรา แผนกจัดเก็บประชาอุทิศ แผนกจัดเก็บอาจณรงค์ กองจัดเก็บ ค่าผ่านทาง ๔ แผนกจัดเก็บบางขุนเทียน แผนกจัดเก็บบางเมืิอง แผนกจัดเก็บเทพารักษ์ แผนกจัดเก็บบางแก้ว แผนกจัดเก็บบางครุ กองบริการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส แผนกบริหารขอมูลและ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส แผนกบริหารบัตรอัตโนมัติ แผนกบริการลูกคา แผนกพัฒนาระบบบริการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กองบำารุง รักษาทาง แผนกวางแผนบำารุงรักษาทาง แผนกตรวจสอบและ บำารุงรักษาสายทาง ๑ แผนกตรวจสอบและ บำารุงรักษาสายทาง ๒ แผนกบำารุงรักษาสะพาน กองบำารุงรักษา อาคารและ ความสะอาด แผนกบำารุงรักษาอาคาร ๑ แผนกบำารุงรักษาอาคาร ๒ แผนกรักษาความสะอาด และสวน ๑ แผนกรักษาความสะอาด และสวน ๒ แผนกวางแผนและบำารุงรักษาอุปกรณ์ แผนกอุปกรณ์เก็บค่าผ่านทาง ๑ แผนกอุปกรณ์เก็บค่าผ่านทาง ๒ แผนกอุปกรณ์เก็บค่าผ่านทาง ๓ แผนกอุปกรณ์ควบคุมการจราจร แผนกบริหารและพัฒนา ฐานข้อมูลธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กองไฟฟ้า เครื่องกลและยานพาหนะ แผนกไฟฟ้าสายทาง ๑ แผนกไฟฟ้าสายทาง ๒ แผนกไฟฟ้าอาคารและด่าน ๑ แผนกไฟฟ้าอาคารและด่าน ๒ แผนกเครื่องกลและยานพาหนะ กองจัดการจราจร แผนกจัดการจราจร ๑ แผนกจัดการจราจร ๒ แผนกจัดการจราจร ๓ แผนกจัดการจราจร ๔ กองสื่อสารและ ปฏิบัติการพิเศษ แผนกสื่อสาร
แผนกสื่อสาร
แผนกปฏิบัติการพิเศษ กองกู้ภัย แผนกกู้ภัย ๑ แผนกกู้ภัย ๒ แผนกกู้ภัย ๓ แผนกกู้ภัย
กองวิศวกรรม ทางพิเศษ ๑ แผนกวิศวกรรมทางพิเศษ ๑ แผนกวิศวกรรมทางพิเศษ ๒ แผนกวิศวกรรมทางพิเศษ ๓ กองวิศวกรรม ทางพิเศษ ๒ แผนกวิศวกรรมทางพิเศษ ๔ แผนกวิศวกรรมทางพิเศษ ๕ แผนกวิศวกรรมทางพิเศษ ๖ กองออกแบบ และก่อสร้าง แผนกวิศวกรรม แผนกสถาปัตยกรรม แผนกก่อสร้าง แผนกงานระบบ กองบริหารงานกลาง แผนกบริหารงาน ๑ แผนกบริหารงาน ๒ แผนกบริหารงาน ๓ โครงสรางการจัดแบงสวนงานของ กทพ. คำาสั่งการทางพิเศษแหงประเทศไทยที่ ๖๗/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑ ฝ่ายก่อสร้าง ทางพิเศษ ฝ่ายบำารุงรักษา ฝ่ายควบคุม การจราจร ฝายจัดเก็บ คาผานทาง จำานวนพนักงานและลูกจ้าง กทพ. ณ สิ้นปีงบประมาณ และ ๓ ปีย้อนหลัง กองบำารุงรักษา อุปกรณ์ ๑๙
แผนกควบคุมภายใน ระบบงานหลัก แผนกควบคุมภายใน ระบบงานสนับสนุน กองบริหารความเสี่ยง
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ ๑ นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๒ นายวิชาญ เอกรินทรากุล ที่ปรึกษาผู้ว่าการ (ด้านการบริหาร) ๓ นายดำาเกิง ปานขำา รองผู้ว่าการฝ่ายปฏิบัติการ คณะผู้บริหาร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๒๐
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๔ นางทศานุช ธรรมโชติ รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร ๕ นายประมวลรัตน์ จินณรงค์ รองผู้ว่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดิน ๖ นายชาตรี ตันศิริ รองผู้ว่าการฝ่ายก่อสร้างและบำารุงรักษา ๒๑
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย แนวทางการเสริมสร้างการกำากับดูแลกิจการ ในการทางพิเศษแห่งประเทศไทย นโยบายการกำากับดูแลกิจการที่ดี จุดมุ่งหมายหลักของ กทพ. ในการดำาเนินงานคือการบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดโดยการก่อสร้างทางพิเศษ เพื่อลดความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งจะต้องดำ า เนินกิจการให้มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้นการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพและมีการกำากับดูแลกิจการที่ดีจึงเป็นสิ่งสำาคัญ คณะกรรมการ กทพ. มีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้ กทพ. เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการดำาเนินธุรกิจและการกำากับดูแลกิจการ มีการบริหารจัดการที่ดีเลิศ โดยมุ่งเน้นการให้บริการทางพิเศษที่มีความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยแก่ผู้ใช้ทางพิเศษ ตลอดจนมีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ จึงได้กำาหนดนโยบายการกำากับดูแลกิจการที่ดีที่สำาคัญ ๔ ประการ ดังนี้ ๑ ให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน กทพ. ยึดถือ “หลักสำาคัญอันเป็นมาตรฐานสากล ๗ ประการในการกำากับดูแลกิจการที่ดี” มาใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑ Accountability มีความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์อันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ๒ Responsibility มีความสำานึกในหน้าที่ที่จะให้บริการที่ดีต่อผู้ใช้บริการ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ ๓ Equitable Treatment ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน ๔ Transparency ดำาเนินงานอย่างโปร่งใส เปิดเผยข้อมูล และสามารถตรวจสอบได้ ๕ Value Creation เพิ่มความสามารถในการดำาเนินงานทุกด้านเพื่อยกระดับการแข่งขัน และสร้างมูลค่าเพิ่ม แก่กิจการ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ๖ Ethics ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของ กทพ. ๗ Participation ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำาเนินการใด ๆ ที่อาจ มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของชุมชน หรือท้องถิ่น ๒ คณะกรรมการและผู้บริหาร กทพ. ต้องปฏิบัติตนโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และเป็นแบบอย่างที่ดี (Role Model) แก่พนักงาน ทุกระดับ ในการปฏิบัติตามหลักการและแนวทางตามคู่มือการกำากับดูแลกิจการที่ดี ประมวลจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำาเนินงาน ของ กทพ. รวมทั้งกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำาสั่ง ประกาศที่เกี่ยวข้องกับการป้องปรามการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างเคร่งครัด ๓. คณะกรรมการและผู้บริหาร กทพ. จะต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกภาคส่วนในองค์กร โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ และผลักดันให้ กทพ. เป็นองค์กรที่ปราศจากการทุจริต (Zero Corruption) ๔ ผู้บริหารและพนักงาน กทพ. จะต้องปฏิบัติงานด้วยความทุ่มเท มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติ ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ คณะกรรมการ กทพ. ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมการกำากับดูแลกิจการที่ดี ทำาหน้าที่กำาหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย และ แผนการดำาเนินงานด้านการกำากับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนกำากับดูแล ติดตาม ส่งเสริมการดำาเนินงานตามแนวทางการกำากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการ กทพ. ได้มีมติเห็นชอบนโยบายการกำากับดูแลกิจการที่ดี ในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๕ ๓๑
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ หมวดที่ ๘ จรรยาบรรณ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ กทพ. สามารถดำ า เนินการเผยแพร่คู่มือจรรยาบรรณในการดำ า เนินงาน และ จัดอบรมจริยธรรมและคุณธรรม เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้กำาหนดไว้ ผลการดำาเนินงานบรรลุตามแผนที่กำาหนดไว้ ยกเว้นในเรื่องรายงาน การทุจริตเรื่องการฝ่าฝืนกฎระเบียบ ข้อบังคับ กทพ. และจรรยาบรรณในการดำาเนินงานของ กทพ. อย่างไรก็ตาม กทพ. ได้เพิ่มการส่งเสริม และปลูกฝังในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้กับเจ้าหน้าที่ กทพ. อย่างต่อเนื่องและสมา เสมอ เพื่อเป็นการเน้นยา ปลูก และปลุกจิตสำ า นึก ในเรื่องของคุณธรรมและจริยธรรม โดยมุ่งเน้นเรื่องของมาตรฐานจริยธรรมขององค์กรที่เจ้าหน้าที่ กทพ. ทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติ หมวดที่ ๙ การติดตามผลการดำาเนินงาน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ การกำากับดูแลในส่วนของผลการดำาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำาปี ผลการดำาเนินงานตามบันทึกข้อตกลงประเมินผลการดำาเนินงานของ กทพ. การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic Value Management : EVM) และระบบประเมินผลการดำาเนินงานรัฐวิสาหกิจ (Core Business Enablers) กทพ. สามารถดำาเนินงานได้บรรลุ ตามแผนที่ได้กำาหนดไว้ ข่าวสารการกำากับดูแลกิจการ กทพ. ได้สื่อสารให้คณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่ กทพ. ทุกคน ได้รับทราบและถือปฏิบัติในเรื่องนโยบายและแนวทางการกำากับดูแล กิจการที่ดีของ กทพ. ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการกำ า กับดูแลกิจการที่ดีผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การแจ้งเวียน การติดประกาศตามอาคารสำานักงานของ กทพ. ระบบเสียงตามสายภายในองค์กร (EXAT Sound) แผ่นพับประชาสัมพันธ์
ๆ เช่น การประชุม การฝึกอบรมสัมมนา การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น สำาหรับประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารได้จากรายงานประจำาป และช่องทางสารสนเทศของ กทพ. นโยบายการจัดการรายการที่เกี่ยวโยงกัน และนโยบายการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน ตลอดจนผลการจัดการรายการดังกล่าว ก
และนโยบายการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน เป็นส่วนหนึ่งของคำ า สั่ง กทพ.
การใช้ข้อมูลภายในดังกล่าว อันอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีการรายงานผลต่อคณะอนุกรรมการกำากับดูแลกิจการที่ดี และคณะกรรมการ กทพ. ทุกไตรมาส ๓๔
วารสารภายในและ ภายนอกองค์กร Digital Signage, Internet และ Intranet ของ กทพ. อีกทั้งการเน้นยาในช่องทางอื่น
ทพ. มีการกำ า
นดนโยบายรายการที่เกี่ยวโยงกัน
เรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยเจ้าหน้าที่ กทพ. ต้องตระหนักและถือปฏิบัติในการหลีกเลี่ยงปฏิบัติตนให้เกิดการเกี่ยวโยงและ
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย แผนผังโครงสร้างการบริหาร ของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริหารของการทางพิเศษแ ห่งประเทศไทย (Executive Committee : Ex-Com) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย คณะอนุกรรมการกำากับดูแลกิจการที่ดี คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติการ และประเ มินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการ การทางพิเศษแ ห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการประสานงานการบริหารการจราจร ในทางพิเศษ คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการพื้นที่ ในเขตทางพิเศษ คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแ ทน ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ด้านการเงิน (Chief Financial Officer : CFO) ของ กทพ. คณะกรรมการการจัดการความรู้ นวัตกรรม และเ ทคโนโลยีดิจิทัล คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๓๕
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ คณะกรรมการ กทพ. ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติหน้าที่ ตามที่คณะกรรมการ กทพ. มอบหมายเพื่อประโยชน์ของ กทพ. ดังนี้ ๑. คณะกรรมการที่เป็นไปตามข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ คณะกรรมการกำากับดูแลโครงการระบบทางด่วนขั้นที่ ๒ คณะกรรมการกำากับดูแลโครงการทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด ๒. คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ คณะกรรมการบริหารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการพื้นที่ในเขตทางพิเศษ คณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติการและประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการกำากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะอนุกรรมการประสานงานการบริหารการจราจรในทางพิเศษ คณะกรรมการกำากับดูแลโครงการทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
๓๖
คณะกรรมการการจัดการความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (คณะกรรมการ กทพ.) การประชุมคณะกรรมการ กทพ. ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ จำานวนทั้งสิ้น ๑๕ ครั้ง โดยมีรายชื่อคณะกรรมการ กทพ. จำานวนครั้ง ที่เข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทน (เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนรายเดือน และโบนัสกรรมการ) ดังนี้ รายชื่อ/หน่วยงานตำาแหน่ง ช่วงเวลา ที่ดำารงตำาแหน่ง การเข้าร่วม ประชุม (ครั้ง) เบี้ยประชุม (บาท) ค่าตอบแทน รายเดือน (บาท) โบนัสกรรมการ ประจำาปี งบประมาณ ๒๕๖๕ (บาท) ๑.นายสรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ รองปลัดกระทรวง (หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ด้านการขนส่ง) ประธาน กรรมการ ๑๕ ก.ย. ๖๓๓๐ ก.ย. ๖๕ (แต่งตั้งตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ย. ๖๓) ๑๕/๑๕๓๓๗,๕๐๐๒๔๐,๐๐๐๑๓๗,๕๐๐ ๒.นางสาวชุณหจิต สังข์ใหม่ รองปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ ผู้แทน กระทรวง การคลัง ๑๘ ต.ค. ๖๒๓๐ ก.ย. ๖๕ (หน่วยงานแต่งตั้ง) ๑๕/๑๕๓๐๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๓.นายสราวุธ ทรงศิวิไล อธิบดีกรมทางหลวง กรรมการ ผู้แทน กระทรวง คมนาคม ๑๑ ต.ค. ๖๒๓๐ ก.ย. ๖๕ (หน่วยงานแต่งตั้ง) ๑๒/๑๕๒๔๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๔.นายพยุงศักดิ์ ครเจริญ รองผู้อำานวยการ สำานักงบประมาณ กรรมการ ผู้แทน สำานัก งบประมาณ ๒๐ ต.ค. ๖๔๓๐ ก.ย. ๖๕ (หน่วยงานแต่งตั้ง) ๑๕/๑๕๓๐๐,๐๐๐ ๑๑๓,๕๔๘,๓๙๑๐๔,๓๘๑.๗๒ ๕.นายเอนก มีมงคล รองเลขาธิการ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ กรรมการ ผู้แทน สำานักงาน สภาพัฒนา การเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติ ๓ ต.ค. ๖๑๓๐ ก.ย. ๖๕ (หน่วยงานแต่งตั้ง) ๑๕/๑๕๓๐๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๖.พลตำารวจโท สมพงษ์ ชิงดวง ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำารวจแห่งชาติ กรรมการ ผู้แทน สำานักงาน ตำารวจ แห่งชาติ ๒๙ เม.ย. ๖๒๓๐ ก.ย. ๖๕ (หน่วยงานแต่งตั้ง) ๑๔/๑๕๒๘๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๓๗
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ หมายเหตุ * นับจำานวนครั้งการเข้าร่วมประชุมเฉพาะการประชุมปกติ (กทพ. มีการจัดการประชุมคณะกรรมการ กทพ. ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ จำานวน ๑๕ ครั้ง เป็นการประชุมลับ จำานวน ๒ ครั้ง คณะกรรมการ กทพ. (ต่อ) รายชื่อ/หน่วยงานตำาแหน่ง ช่วงเวลา ที่ดำารงตำาแหน่ง การเข้าร่วม ประชุม (ครั้ง) เบี้ยประชุม (บาท) ค่าตอบแทน รายเดือน (บาท) โบนัสกรรมการ ประจำาปี งบประมาณ ๒๕๖๕ (บาท) ๗.พลเรือเอก สุวิน แจ้งยอดสุข ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๕ ก.ย. ๖๓๓๐ ก.ย. ๖๕ (แต่งตั้งตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ย. ๖๓) ๑๒/๑๕๒๔๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๘.นางพงษ์สวาท กายอรุณสุทธิ์ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๕ ก.ย. ๖๓๓๐ ก.ย. ๖๕ (แต่งตั้งตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ย. ๖๓) ๑๑/๑๕๒๒๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐ ๙.นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล กรรมการ และรักษาการ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสอาร์ที แอสเสท จำากัด กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๕ ก.ย. ๖๓๓๐ ก.ย. ๖๕ (แต่งตั้งตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ย.
๑๔/๑๕๒๘๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐
กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๕ ก.ย. ๖๓๓๐ ก.ย. ๖๕ (แต่งตั้งตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ย. ๖๓) ๑๕/๑๕๓๐๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๑๑.นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย กรรมการและ เลขานุการ ๓ ส.ค. ๖๓๓๐ ก.ย. ๖๕ (ลงนามในสัญญาจ้าง ผู้บริหารในตำาแหน่ง ผู้ว่าการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๓ ส.ค. ๖๓) ๑๕/๑๕๓๐๐,๐๐๐๑๒๐,๐๐๐๑๑๐,๐๐๐ ๑๒.นางสุจินดา จารุจิตร ผู้อำานวยการสำานักผู้ว่าการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ผู้ช่วย เลขานุการ ๘ พ.ย. ๖๑๓๐ ก.ย. ๖๕ ๑๒/๑๓*--๑๓.นางกุลกัญญา ทุมเสน ผู้ชำานาญการ (ด้านการบริหาร) ผู้ช่วย เลขานุการ ๒๒ ก.พ. ๖๔๓๐ ก.ย. ๖๕ ๑๒/๑๓*--ที่มา : กองกลางและการประชุม สำานักผู้ว่าการ ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕ ๓๘
๖๓)
๑๐.นายบุญชัย โสวรรณวณิชกุล กรรมการบริษัท ถิรไทย จำากัด (มหาชน)
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย หมายเหตุ ๑. คณะกรรมการ กทพ. ที่พ้นจากตำาแหน่งแล้วและได้รับโบนัสประจำาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ มีดังนี้ - นางสาวชุณหจิต สังข์ใหม่ = ๑๑๐,๐๐๐ บาท ๒. ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เริ่มมีการประชุมคณะกรรมการ กทพ. เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๔ (ครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๔) ๓. อัตราเบี้ยประชุม เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ ดังนี้ กรรมการ ได้รับเบี้ยประชุมคนละ ๒๐,๐๐๐ บาทต่อเดือน สำาหรับประธานกรรมการ ได้รับสูงกว่ากรรมการร้อยละ ๒๕ และ ให้กรรมการเสียภาษีเงินได้เอง กรณีการประชุมคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจให้รัฐวิสาหกิจจ่ายเบี้ยประชุมกรรมการรัฐวิสาหกิจในคณะกรรมการแต่ละคณะ เป็นรายครั้ง เดือนละ ๑ ครั้ง ทั้งนี้ ในกรณีมีเหตุสมควร อาจพิจารณาจ่ายเบี้ยประชุมได้มากกว่า ๑ ครั้งต่อเดือน แต่ต้องไม่เกิน ๑๕ ครั้งต่อปี ก รณีการประชุมคณะกรรมการชุดย่อย คณะอนุกรรมการ คณะทำ า ง านอื่น ที่แต่งตั้งโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ให้ได้รับค่าตอบแทน ดังนี้ กรณีเป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจให้ได้รับเบี้ยประชุมเป็นรายครั้ง ในอัตราเท่ากับเบี้ยประชุมกรรมการรัฐวิสาหกิจ เฉพาะกรรมการที่มาประชุม ทั้งนี้ ให้กรรมการรัฐวิสาหกิจได้รับเบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อย คณะอนุกรรมการ คณะทำางานอื่น รวมแล้วไม่เกิน ๒ คณะ คณะละไม่เกิน ๑ ครั้งต่อเดือน โดยประธานกรรมการได้รับเบี้ยประชุมสูงกว่า กรรมการร้อยละ ๒๕ และให้กรรมการเสียภาษีเงินได้เอง ๔. อัตราค่าตอบแทนรายเดือน เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖ โดยกรรมการได้รับคนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ต่อเดือน สำ า หรับประธานกรรมการได้รับเป็น ๒ เท่าของกรรมการ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการรัฐวิสาหกิจดำ า รงตำ า แหน่งไม่เต็มเดือน ให้จ่ายค่าตอบแทนรายเดือนตามสัดส่วนระยะเวลาการดำารงตำาแหน่ง และให้กรรมการเสียภาษีเงินได้เอง ๕. การจ่ายโบนัสให้คณะกรรมการ กทพ. เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๒๑ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๒๓ และวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ รวมทั้งหลักเกณฑ์ที่กำาหนดไว้ในระบบแรงจูงใจตามคู่มือระบบประเมินผลการดำาเนินงาน รัฐวิสาหกิจ และให้กรรมการเสียภาษีเงินได้เอง (คำานวณบนพื้นฐานกรณีกำาไรสุทธิมากกว่า ๘,๐๐๐ ล้านบาท
อำานาจหน้าที่คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย นอกจากอานาจหน้าที่วางนโยบายควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจกรรมของ กทพ. ตามพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้ว คณะกรรมการ กทพ. ยังมีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีและแนวทางการกำากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ดังนี้ ๑ กากับดูแลให้ฝ่ายบริหารของ กทพ. จัดทำาแผนวิสาหกิจให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน และรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ และ ยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม รวมทั้งนโยบายรัฐบาล และจัดทำาแผนปฏิบัติงานประจำาปีสำาหรับใช้ในการบริหารงาน ๒. ควบคุม ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของ กทพ. ให้เป็นไปตามแผนวิสาหกิจและแผนปฏิบัติการประจำาปี ๓ ก า กับดูแลให้มีระบบการบัญชี การรายงานทางการเงิน การสอบบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนและน่าเชื่อถือ และจัดให้มีระบบ การควบคุมภายใน และระบบตรวจสอบภายใน รวมทั้งระบบการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสม โดยให้มีการรายงาน ผลการดำาเนินงานปัญหาอุปสรรค ๔. ศึกษากฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับกับ กทพ. ให้ครบถ้วน รวมทั้งติดตามข้อมูลการปรับปรุง แก้ไขกฎหมายและระเบียบข้อบังคับให้ทันสมัย ๕. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้นใน กทพ. ๖. ดำาเนินการสรรหาผู้ว่าการ ประเมินผลการดำาเนินงาน และกำาหนดค่าตอบแทนผู้ว่าการ ๗ จัดตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ เพื่อช่วยในการกำ า กับดูแลกิจการของ กทพ. และปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการ กทพ. ๓๙
ไม่เกิน ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท)
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ ๒. โครงการทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายโครงข่ายของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในทางทิศตะวันตกเพื่อแบ่งเบา ปริมาณจราจรระดับดิน และระบายการจราจรทางด้านทิศตะวันตก ระหว่างกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นทางยกระดับขนาด ๖ ช่องจราจร แนวสายทางเริ่มต้นจากถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ไปตามแนวเขตทาง ของทางรถไฟสายใต้ ขนานไปกับถนนบรมราชชนนี ข้ามแม่น าเจ้าพระยาบริเวณสะพานพระราม ๖ ผ่านบริเวณแยกบางซื่อ และไปสิ้นสุด เชื่อมต่อกับทางพิเศษศรีรัชบริเวณด้านเหนือของสถานีขนส่งหมอชิต ๒ ระยะทาง ๑๖.๗ กม. งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากงบแผ่นดิน รายการค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประจำาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โครงสร้างเงินทุนและผู้ถือหุ้น กทพ. มีกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ ๑๐๐ หนี้เงินกู้ของการทางพิเศษแ ห่งประเทศไทย ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) มีหนี้เงินกู้คงค้างทั้งสิ้นจำานวน ๑๔,๐๗๘.๙๐ ล้านบาท โดยเป็น หนี้เงินกู้ภายในประเทศทั้งหมด รายละเอียดดังตาราง หน่วย : ล้านบาท โครงการ ได้รับจัดสรร ผลเบิกจ่าย ร้อยละ - โครงการทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร - โครงการทางพิเศษสายพระราม ๓-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันตก ๔.๒๔๑๐ ๗.๐๕๐๐ ๔.๒๔๑๐ ๗.๐๕๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ รวม ๑๑.๒๙๑๐๑๑.๒๙๑๐ หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๓ เงินยืมรัฐบาล ๑๓,๐๗๘.๙๐ ๑๔,๐๗๘.๙๐ ๑๔,๕๗๘.๙๐ พันธบัตรการทางพิเศษฯ ๑,๐๐๐.๐๐ ๖,๗๐๐.๐๐ ๑๑,๗๐๐.๐๐ - กระทรวงการคลังคาประกัน ๑,๐๐๐.๐๐ ๖,๗๐๐.๐๐ ๑๑,๗๐๐.๐๐ - กระทรวงการคลังไม่คาประกัน - -เงินกู้สถาบันการเงิน - -- กระทรวงการคลังคาประกัน - -- กระทรวงการคลังไม่คาประกัน - -รวมหนี้เงินกู้ทั้งสิ้น ๑๔,๐๗๘.๙๐ ๒๐,๗๗๘.๙๐ ๒๖,๒๗๘.๙๐ ๖๔
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การบริหารความเสี่ยง การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ดำาเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการบริการทางพิเศษ โดยมีภารกิจเพื่อพัฒนาและปรับปรุงทางพิเศษ ให้เป็นไปตามมาตรฐานและปลอดภัย และให้บริการอย่างมีนวัตกรรม คุณค่าเพิ่ม และบริหารจัดการสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพการดำาเนินธุรกิจทางพิเศษและประโยชน์ต่อสังคม รวมทั้งยังให้ความสำาคัญกับการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการลงทุน เพื่อเพิ่มมูลค่าองค์กร ตามวิสัยทัศน์ของ กทพ. คือ “มุ่งมั่นพัฒนาทางพิเศษ เพื่อให้บริการที่ดี มีความคุ้มค่า สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย อย่างยั่งยืน” จึงได้นำ า ก ารบริหารความเสี่ยงมาใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการดำา เนินงาน โดยดำ า เนินการบริหารความเสี่ยงตามหลักการ “การบริหารความเสี่ยงที่เน้นมูลค่า” (Value-Based Enterprise Risk Management : VBRM) และสอดคล้องตามกรอบแนวทาง การบริหารความเสี่ยงที่ดี (COSO ๒๐๑๗ : Enterprise Risk Management–Integrating with Strategy and Performance) ซึ่งเน้น การดำาเนินงานด้วยกลยุทธ์ต่าง ๆ โดยมีมุมมองด้านการบริหารความความเสี่ยงเป็นการบริหารเพื่อการสร้างโอกาสทางธุรกิจ ส่งผลให้เกิด การสร้างมูลค่าและผลตอบแทนแก่องค์กร และคำานึงถึงสาเหตุที่อาจจะทำาให้องค์กรไม่บรรลุตามเป้าประสงค์ขององค์กรได้ ซึ่งจะมีการจัดทำา คู่มือและแผนการบริหารความเสี่ยง คู่มือและแผนการควบคุมภายใน (แผนการบริหารความเสี่ยงระดับสายงาน) แผนการบริหารความต่อเนื่อง ทางธุรกิจของ กทพ. ประจำาปีงบประมาณ สำาหรับใช้กำาหนดกรอบแนวทางการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมระดับองค์กรและระดับสายงาน ทั้งกรณีปกติและกรณีเหตุการณ์พิเศษ ซึ่งจัดทำามาตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๖ สอดคล้องตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันอังคารที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ ที่ได้เห็นชอบหลักเกณฑ์ และแนวทางการกำากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดย กทพ. มีการทบทวน/ปรับปรุง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างน้อยทุก ๖ เดือน เพื่อมุ่งให้องค์กรสามารถดำาเนินงานได้บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ดังระบุในแผนวิสาหกิจของ กทพ. ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ปีงบประมาณ
๒๕๖๕ คือ “มุ่งบริหารความเสี่ยงที่ประเมินอย่างรอบด้าน (Intelligent
เพื่อเสริมสร้างโอกาส ทางธุรกิจและมูลค่าองค์กร” ขับเคลื่อนด้วย ๕ ยุทธศาสตร์ คือ ๑) การรักษาสมดุลและความมั่นคงทางการเงิน ๒) การขับเคลื่อนนวัตกรรมธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ๓) การตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้าด้วยเครือข่ายความร่วมมือ ๔) การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องด้วยการกำ า กับดูแลที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎหมาย/ กฎระเบียบ ๕) การเสริมสร้างวัฒนธรรมบริหารความเสี่ยงในองค์กรด้วยการเสริมสร้างแรงจูงใจ โดยมีการกำาหนดกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง ผ่านการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก และการวิเคราะห์สถานการณ์เสี่ยงของ กทพ. (Scenario Foresight) เพื่อได้มาซึ่งการระบุโอกาสและความเสี่ยงจากปัจจัยดังกล่าว นำาไปสู่การใช้โอกาสจากความเสี่ยงที่ประเมินอย่าง รอบด้าน (Intelligent Risk) ครอบคลุม ๑๒ ประเด็น (12E) สำาหรับเป็นปัจจัยในการกำาหนดกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ๓ ประเด็น (3R) ดังนี้ Revolution ความสามารถในการปฏิวัติองค์กรอย่างสร้างสรรค์ ด้วยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำาเนินงานธุรกิจ Revitalization ความสามารถในการฟื้นฟูเมื่อเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ ด้วยการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ Robustness ความสามารถในการสร้างความมั่งคั่ง ด้วยการพัฒนาการจัดการการเงิน และการเรียนรู้จากบทเรียน (Lesson Learned) ซึ่งสามารถกำาหนดกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๕ กลยุทธ์ คือ ๑) การสร้างโอกาสทางธุรกิจจากสินทรัพย์ และการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมธุรกิจ ภายใต้ความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Cooperation) ๒) การพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีทักษะ/ความรู้ด้านดิจิทัล (Digital Literacy) และมีกระบวนการคิดแบบเติบโต (Growth Mindset) เพื่อเป็นปัจจัยขับเคลื่อนองค์กรสู่การเป็นรัฐวิสาหกิจดิจิทัลชั้นนำา ๖๕
๒๕๖๕ กทพ. บริหารความเสี่ยงภายใต้ทิศทางการบริหารความเสี่ยงของ กทพ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๓-๒๕๖๕ และ กลยุทธ์จัดการความเสี่ยง ปีงบประมาณ
Risk)
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ ๓) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ จากความเข้าใจเชิงลึกถึงความต้องการ/ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า (Stakeholder Insight) และตอบสนองด้วยเทคโนโลยีไร้สัมผัส (Touchless Technology) ๔) การจัดการความรู้สู่นวัตกรรมองค์กร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (IP) ภายใต้การมีวัฒนธรรมบริหาร ความเสี่ยงที่ประเมินอย่างรอบด้าน (Intelligent Risk) ๕) การจัดการความเสี่ยงด้านความยั่งยืน (ESG) (สิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล) เพื่อสนับสนุนการดำาเนินงานอย่างบูรณาการ ตามหลัก GRC จากการวิเคราะห์สถานการณ์เสี่ยงภายใต้การคาดการณ์ภาพอนาคต รวมทั้งทบทวนการระบุปัจจัยขับเคลื่อนความเสี่ยงและสาเหตุ ความเสี่ยง ทำาให้สามารถระบุปัจจัยเสี่ยงหลักของ กทพ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ได้ทั้งหมด ๔ ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ด้านการดำาเนินงาน ด้านการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ ครอบคลุมประเด็นความเสี่ยง ๔ ความเสี่ยง ๘ สาเหตุความเสี่ยง นำามาบริหาร จัดการด้วย ๔ แผนจัดการความเสี่ยง สรุปได้ดังนี้ การบริหารความเสี่ยงในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ มุ่งบริหารความเสี่ยงที่ประเมินอย่างรอบด้าน (Intelligent Risk) เพื่อเสริมสร้างโอกาส ทางธุรกิจและมูลค่าองค์กร และเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และแผนยุทธศาสตร์ที่สำ า คัญขององค์กรเพื่อให้เกิด การบูรณาการอย่างเป็นระบบ โดยจำาแนกตามประเภทความเสี่ยง ๔ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ๒) ด้านการดำาเนินงาน (Operational Risk) ๓) ด้านการเงิน (Financial Risk) ๔) ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk) ทั้งนี้ ความเสี่ยง ที่ต้องบริหารจัดการภายใต้แผนจัดการความเสี่ยงในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๔ ประเด็นความเสี่ยง และ ๘ สาเหตุความเสี่ยง ซึ่งนำามาจัดทำาแผนจัดการความเสี่ยงได้ทั้งหมด ๔ แผนจัดการความเสี่ยง (๑๐ งาน) ประกอบด้วยความเสี่ยง ดังนี้ ความเสี่ยง (๔ ความเสี่ยง) สาเหตุความเสี่ยง (๘ สาเหตุความเสี่ยง) แผนจัดการความเสี่ยง (๔ แผนจัดการความเสี่ยง) ๑.การบริหารจัดการความยั่งยืน ขององค์กร (ESG) ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มลูกค้า การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มอื่น (IC) การบูรณาการการกำ า กับดูแลกิจการที่ดี การบริหาร ความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ (GRC) (IC) การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ๑.๑แผนบริหารความยั่งยืน (ESG) ๒.ความมั่นคงของทางพิเศษ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ การจัดการความคล่องตัวบนทางพิเศษ การจัดการความปลอดภัยบนทางพิเศษ การจัดการคุณภาพบริการ (IC) ๒.๑แผนบริหารทางพิเศษ ๓.การพัฒนานวัตกรรม๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ การจัดการทรัพยากรบุคคล (IC) การจัดการดิจิทัล การจัดการนวัตกรรม ๓.๑แผนบริหารองค์กร ๔.ผลการดำาเนินงาน๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ การจัดการด้านรายได้ การจัดการด้านต้นทุน การจัดการสินทรัพย์ (IC) การจัดการการลงทุน (IC) ๔.๑แผนบริหารมูลค่าองค์กร หมายเหตุ : ข้อมูลบริหารการความเสี่ยงระดับองค์กร ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ช่วง ๖ เดือนหลัง (เม.ย.–ก.ย. ๒๕๖๕) ๖๖
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๑) ความเสี่ยง : การบริหารจัดการความยั่งยืนขององค์กร (ESG) ๒) ความเสี่ยง : ความมั่นคงของทางพิเศษ ๓) ความเสี่ยง : การพัฒนานวัตกรรม ๔) ความเสี่ยง : ผลการดำาเนินงาน ทั้งนี้ การติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยงต้องพิจารณาภายใต้ ๕ มิติ ได้แก่ (๑) การดำาเนินการตามกิจกรรมควบคุม หรือ มาตรการจัดการความเสี่ยงครบถ้วน (๒) ผลการบริหารความเสี่ยงเทียบกับค่าเป้าหมาย (RA/RT) ค่าคาดหวัง และแนวโน้มของความสำาเร็จ (Trend) (๓) ระดับความรุนแรงของความเสี่ยงที่มีการเปลี่ยนแปลง (R) (๔) กรณีผลการบริหารความเสี่ยงไม่บรรลุเป้าหมายหารือร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาสาเหตุ ปัญหา อุปสรรคจากการดำาเนินงาน (๕) กำาหนดแนวทางแก้ไขเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำาหนด โดยขับเคลื่อนการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง หรือการเผชิญกับความเสี่ยงใหม่ ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกของ กทพ. โดยผลการบริหารความเสี่ยงของ กทพ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ สามารถ บริหารความเสี่ยง เพื่อให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๓๒ อย่างไรก็ตาม ยังคงอยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ ยอมให้เบี่ยงเบนได้ ที่กำาหนดไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จึงถือว่าระดับความสำาเร็จของการจัดการความเสี่ยงเป็นไปตามเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม ยังคงบริหารความเสี่ยงต่อเนื่องในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ๖๗
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ การควบคุมภายใน การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ให้ความสำ า คัญต่อการควบคุมภายในโดยมุ่งเน้นให้มีการจัดวางระบบควบคุมภายใน ครอบคลุมทุกกระบวนการปฏิบัติงานตามโครงสร้างการแบ่งส่วนงานอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม ภายในทั้งด้านการดำ า เนินงาน (Operations) ด้านการรายงาน (Reporting) และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ (Compliance) ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และได้พัฒนาระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่องโดยได้นำาประเด็นความเสี่ยงองค์กรโดยรวม (Risk Universe) ภายใต้ทิศทาง การบริหารความเสี่ยงของ กทพ. ปีงบประมาณ ๒๔๖๓-๒๕๖๕ และกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ มาใช้ในการวิเคราะห์ และจัดวางระบบการควบคุมภายใน พร้อมทั้งมีการทบทวนระบบการควบคุมภายในของ กทพ. ช่วง ๖ เดือนหลังของปีงบประมาณ เพื่อให้การควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยู่เสมอ รวมถึงกำ า หนดแนวทางการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน (การบริหารความเสี่ยงระดับสายงาน) อย่างเป็นระบบ โดยทุกหน่วยงานรายงานการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) มีการประเมิน การควบคุมภายในครบทั้ง ๕ องค์ประกอบ จำาแนกตามระยะเวลาการติดตามและประเมินผลเป็น ๒ กลุ่ม ประกอบด้วย เหตุการณ์ปกติ และเมื่อเกิดเหตุการณ์พิเศษ (การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ : Business Continuity Plan (BCP)) โดยให้รายงานผ่านระบบ สารสนเทศของระบบงานบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายใน ดังนี้ เหตุการณ์ปกติ จำาแนกตามระยะเวลาการติดตามและประเมินผลเป็น ๒ กลุ่ม ประกอบด้วย ๑) กลุ่มการควบคุมภายในเชิงเฝ้าระวังและเตือนภัย เป็นกระบวนการที่มีความรุนแรงของความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง แต่ยังต้องเฝ้าระวังให้มีการติดตามประเมินผลรายเดือน (ทุกเดือน) ๒) กลุ่มการควบคุมภายในเชิงปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เป็นกระบวนการที่มีความรุนแรงของความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อยมาก ให้มีการ ติดตามประเมินผลรายไตรมาส (ทุก ๓ เดือน) เหตุการณ์พิเศษ ติดตามกระบวนการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์วิกฤตผ่านระบบสารสนเทศของระบบงานบริหารควบคุมภายในให้มีการติดตาม ประเมินผลรายเดือน (ทุกเดือน) รวมทั้งในปีงบประมาณ ๒๔๖๕ ได้ทบทวน/ปรับปรุงแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของ กทพ. (Business Continuity Plan : BCP) ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน และครอบคลุมระบบงานสำาคัญอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการซักซ้อมแผนบริหารความต่อเนื่อง ทางธุรกิจ เพื่อเตรียมความพร้อมที่จะแก้ไขสถานการณ์วิกฤตที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลต่อการดำ า เนินงานของ กทพ. รวมทั้งสื่อสารไปยัง พนักงานเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของ กทพ. ผลการประเมินการควบคุมภายในของ กทพ. (การบริหารความเสี่ยงระดับสายงาน) ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ครอบคลุมทั้ง ๕ องค์ประกอบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร และกิจกรรมการติดตามผล ภายใต้ตัวชี้วัดความสำาเร็จของการควบคุมภายในทั้งหมดจำานวน ๔๕๘ ตัวชี้วัด ประกอบด้วย กลุ่มการควบคุมภายในเชิงปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จำ า นวน ๔๑๑ ตัวชี้วัด และกลุ่มการควบคุมภายในเชิงเฝ้าระวังและเตือนภัยจำ า นวน ๔๗ ตัวชี้วัด มีผลสำ า เร็จของการควบคุมภายใน โดยคิดรวมเป็นร้อยละ ๙๙.๘๖ อย่างไรก็ตามยังคงอยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมให้เบี่ยงเบนได้ ที่กำ า หนดไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ จึงถือว่าระดับความสำาเร็จของการควบคุมภายในเป็นไปตามเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม ยังคงติดตามการควบคุมภายในต่อเนื่องในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ๖๘
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การวิจัยและพัฒนา การให้บริการทางพิเศษ ระบบเชื่อมโยงศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลการจราจรอัจฉริยะ (Data Exchange Center) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ได้พัฒนา“โครงการศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลการจราจรอัจฉริยะ (Data Exchange Center : DXC)” ซึ่งเป็นระบบที่ทำาหน้าที่รวบรวมสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ติดตั้งอยู่บนทางพิเศษ ทุกสายทาง มาไว้ที่ในที่เดียว คือ ภายในศูนย์ควบคุมระบบจราจรอัจฉริยะ (ITS Center) ณ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. เพื่อรองรับ การแสดงผลสภาพการจราจรแบบทันกาล (Real Time) ผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต เป็นต้น และ รองรับต่อการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก ปัจจุบันระบบ DXC มีสัญญาณภาพจาก กล้องโทรทัศน์วงจรปิด จำานวน ๓๗๕ กล้อง ครอบคลุมทั้งสิ้น ๗ สายทาง ปัจจุบันระบบ DXC มีข้อจำากัดในการให้บริการ คือ หน่วยงานภายในต้องใช้งานผ่านโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์เฉพาะและจำากัดจำานวน ผู้ใช้งาน หน่วยงานภายนอกต้องเข้าใช้งานผ่าน Web Browser เท่านั้น โดยที่ผู้ใช้งานทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก สามารถ รับชมภาพที่เป็นปัจจุบัน (View Only) ได้เพียงเท่านั้น ระบบ DXC ยังไม่รองรับการนำ า สัญญาณภาพไปเก็บบันทึก
แต่อย่างใด จากข้อจำากัดดังกล่าว กทพ. จึงจำาเป็นต้องพัฒนา “ระบบเชื่อมโยงศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลการจราจรอัจฉริยะ (Data Exchange Center)” ให้ระบบ DXC มีโปรโตคอล (Protocol) ที่เป็นมาตรฐานสากล เพื่อรองรับต่อการเชื่อมโยงสัญญาณภาพในรูปแบบ Real Time Streaming
ระหว่างระบบ DXC กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการนำาข้อมูลไปเก็บบันทึก (Video Record) หรือ ประมวลผล (Video Analytics) เพื่อประโยชน์ต่อด้านการบริหารจัดการจราจรในภาพรวม ด้านการศึกษา วิจัย และด้านการพัฒนาประเทศ เช่น กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำานักงานตำารวจแห่งชาติ สำานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) สถาบัน การศึกษา และหน่วยงานเอกชนต่าง ๆ เป็นต้น น้อง SMART ROBOT INFORMATIVE EXAT BUILDING ปัจจุบันได้มีการนำาเทคโนโลยีทางด้าน Data Analytics และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่มีปริมาณมาก ๆ และมีการเคลื่อนไหวของข้อมูลอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการพัฒนาหุ่นยนต์ นำาทางอัจฉริยะภายในอาคารศูนย์บริหารทางพิเศษการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (Robot Informative EXAT Building) รวมถึงการใช้วิทยาการด้านการเรียนรู้เครื่องจักร (Machine Learning) และระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent System) ได้มีการนำาเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อการประยุกต์ใช้ในงาน ที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินธุรกิจของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยในอนาคต การพัฒนาหุ่นยนต์นำาทางอัจฉริยะ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่สำาคัญได้แก่ Indoor Lidar 20 HZ รัศมี ๕๐ เมตร ภายในอาคาร และกล้อง Depth Camera ซึ่งใช้ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติผ่านระบบ 5G โดยหุ่นยนต์นำาทางอัจฉริยะจะมีฟังก์ชั่น thermoscan รวมไปถึงระบบ Face Recognition ที่สามารถอ่านใบหน้าพร้อมทั้งวัดอุณหภูมิ และสามารถเชื่อมต่อผู้ใช้งาน กับระบบสารสนเทศต่าง ๆ ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย สำานักงานตำารวจแห่งชาติ สำานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สถาบันการศึกษา และหน่วยงานเอกชน กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ๖๙
(Video Record) หรือประมวลผล (Video Analytics)
Protocol (RTSP)
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ ALPR ระบบตรวจจับและค้นหาป้ายทะเบียนรถยนต์อัตโนมัติ สำาหรับทางพิเศษฉลองรัช “ระบบตรวจจับและค้นหาป้ายทะเบียนรถยนต์อัตโนมัติ สำาหรับทางพิเศษฉลองรัช (Automatic License Plate Recognition : ALPR)” เป็นระบบที่จะเข้ามาช่วยในการระบุตัวตนยานพาหนะ (Vehicle Identify) ของผู้ใช้บริการ รองรับการพัฒนาระบบ M-Flow ทั้งยังช่วย ลดภาระและกระบวนการทำางานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหายานพาหนะเพื่อการระบุตัวตน ซึ่งจะทำาให้การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจำากัดเป็นไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นการเสริมภาพลักษณ์ขององค์กรเพื่อก้าวสู่สังคมยุคดิจิทัล ผู้ใช้บริการสามารถผ่านทางได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่ต้องหยุดชะงัก ลดความแออัดของรถบริเวณหน้าด่านฯ ซึ่งปัจจัยหนึ่งที่สำ า คัญต่อการพัฒนา คือ การระบุตัวตนยานพาหนะ (Vehicle Identify) ของผู้ใช้บริการ จึงได้นำาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในรูปแบบการอ่านป้ายทะเบียนรถอัตโนมัติ (Automatic License Plate Recognition : ALPR) มาประยุกต์ใช้ สำ า หรับการตรวจสอบและการระบุตัวตน ยานพาหนะของผู้ใช้บริการ M-Flow การพัฒนาระบบ Multilane Free Flow ระบบ M-Flow เป็นระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติรูปแบบใหม่ เป็นการพัฒนาระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติแบบไม่มีไม้กั้น ที่ให้รถยนต์สามารถผ่านด่านฯ ได้อย่างสะดวกรวดเร็วและไม่ต้องหยุดชะงัก อาศัยเทคโนโลยีระบบปัญญาประดิษฐ์ในรูปแบบการอ่าน ป้ายทะเบียนรถอัตโนมัติ (Automatic License Plate Recognition : ALPR) ร่วมกับระบบการตรวจจับยานพาหนะอัตโนมัติ (Automatic Vehicle Identification : AVI) เพื่อใช้ตรวจสอบยานพาหนะและระบุตัวตนผู้ใช้บริการ และจะมีการเรียกเก็บเงินค่าผ่านทางภายหลังการใช้ บริการ (Post-Paid) ทั้งนี้ กทพ. ได้ดำาเนินการนำาร่องบนทางพิเศษฉลองรัช ณ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษจตุโชติ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ สุขาภิบาล ๕-๑ และด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุขาภิบาล ๕-๒ ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ บริษัท MEX นำ า โดย Mr. SUZUKI Tatsumi ตำาแหน่ง Director (สำานักงานประเทศไทย) ได้เข้าร่วมแสดงความยินดีกับสำานักงานใหม่อาคาร ศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีของ กทพ. โดยมี รผผ. เป็นประธาน เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๕ บริษัท MEX นำ า โดย Mr. OMORI Makoto ตำาแหน่ง Deputy Director (สำานักงานประเทศไทย) Mr. ENDO Kurata ตำาแหน่ง JICA Expert from MEX ได้เข้าเยี่ยมชมศูนย์บริหารการจราจรทางพิเศษ (Expressway Traffic Management Center : ETM Center) และห้องบริหารข้อมูลระบบเก็บค่าผ่านทาง (Toll Monitoring Room) โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การบริหารจัดการ ๗๐

Mr. SUZUKI Tatsumi ตำาแหน่ง

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ETM Center และการบริหารข้อมูลระบบเก็บค่าผ่านทางของ กทพ. ให้กับคณะผู้บริหารและ เจ้าหน้าที่บริษัท MEX จากกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ประมาณ ๑๒๐ ท่าน ผ่านทางรูปแบบ ออนไลน์ (Virtual Tour) โปรแกรม Google Meet โดยมี ผอ.กวพ. ให้การต้อนรับ พร้อมด้วย ผอ.กสป. ฝคจ., ผอ.กปส. สผว., ห.สอ.๑ กสป. ฝคจ., ห.วม. กวค. ฝนผ. และ ห.บว. กวพ. เ มื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๕ บริษัท HEX นำ า โ ดย Mr. NISHIBAYASHI Motohiko ตำาแหน่ง Senior Executive Expert (International Project) และ Mr. SUWA Yuichi, International Business and Cooperation Office ได้เข้าเยี่ยมคารวะ ผวก. และประชุมหารือการแลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญการบำารุงรักษาทางพิเศษ และวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ ได้เข้าเยี่ยมชมการดำาเนินงานโครงการทางพิเศษสายพระราม ๓-ดาวคะนอง-วงแหวน รอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕ บริษัท MEX นำาโดย
(สำานักงานประเทศไทย)
และ
ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ เกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการบริหารจัดการการจราจรและการก่อสร้างอุโมงค์ ของบริษัทฯ ณ ประเทศญี่ปุ่น ให้กับคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของ กทพ. ประมาณ ๕๐ ท่าน ผ่านโปรแกรม Google Meet โดยมี ผอ.กวพ. พร้อมด้วย ห.บว. กวพ. เข้าร่วม เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๕ บริษัท HEX นำ า โดย Dr. KAWAKAMI Yoriko ตำาแหน่ง International Business and Cooperation Office, Engineering Department ได้เข้าเยี่ยมคารวะ ผวก. รผผ. และ ทปษ.(บ) และประชุมหารือการบำารุงรักษาทางพิเศษ และการใช้เทคโนโลยีแผ่นไฟเบอร์เสริมกำาลัง (Laminated Fiber Reinforced Polymer) และเยี่ยมชมโครงการศูนย์พัฒนาระบบจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษ (Toll Facility Test and Development Center) โครงการ M-Flow (บริเวณหน้าด่านเก็บค่าผ่านทางจตุโชติ) เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๕ บริษัท MEX นำาโดย Mr. KAWADA Naruhiko ตำาแหน่ง Senior Director, Engineering Consultants Department Mr. SUZUKI Tatsumi ตำาแหน่ง Director (สำานักงานประเทศไทย) และ Mr. OMORI Makoto ตำาแหน่ง Deputy Director ร่วมกับ Japan International Cooperation Agency (JICA) ได้เข้าพบ ผอ.ฝบร. ผอ.กวพ. ห.บว. กวพ. เพื่อประชุมหารือและแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านเทคนิคเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเทคโนโลยี InfraDoctor ซึ่งเป็นระบบสนับสนุน งานด้านบำ า รุงรักษาโครงสร้างถนนและทางพิเศษโดยการประยุกต์ใช้ระบบภูมิศาสตร์ สารสนเทศ (GIS) และข้อมูลพิกัด ๓ มิติ สำ า หรับการบริหารจัดการงานบำ า รุงรักษาทาง ในประเทศไทย ๗๑
Director
Mr. OMORI Makoto ตำาแหน่ง Deputy Director
Mr. NAKAJIMA Takaya ตำาแหน่ง Deputy Manager of Engineering Consultants Department, Overseas Projects Division
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๕ บริษัท HEX นำาโดย Mr. OGURA Kenji ตำาแหน่ง Senior Expert เข้าร่วมประชุมออนไลน์ (Video Conference) การใช้ระบบ ETC System กับ ผอ.กธอ. และ ผอ.กวพ. เมื่อวันที่ ๒๙-๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๕ บริษัท HEX นำาโดย Mr. OGURA Kenji ตำาแหน่ง Senior Executive Expert (International Project) พร้อมด้วยผู้บริหารจากบริษัท Highway Industry Development Organization (HIDO) ได้เข้าเยี่ยมคารวะ ผวก. และเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษามาตรฐาน ISO–TC204 และการใช้ EFC (Electronic Fee Collection) รวมถึงแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง M-Flow โดยมี ผอ.ฝบร., ผอ.กธอ. ฝจค., ผอ.กจค.๓ ฝจค., ผอ.กปค. ฝสท., ผอ.กวพ., ห.พน. กธอ. ฝจค., ห.ผค. กปค. ฝสท., ห.วจ. กวพ, ห.ทส.กวพ., ห.บว.กวพ. เข้าร่วม จากนั้นได้เข้าเยี่ยมชมศูนย์บริหารการจราจรทางพิเศษ (Expressway Traffic Management Center : ETM Center) และการดำาเนินงานโครงการ ศูนย์พัฒนาระบบจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษ (Toll Facility Test and Development Center) เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๕ ผู้บริหารจากบริษัท HEX
Motohiko ตำ า แหน่ง Senior Executive Expert (International Project) และ Dr. KAWAKAMI Yoriko ตำาแหน่ง Director, International Business and Cooperation
Engineering Department ได้เข้าหารือเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมโครงการ
(Technical
กับ ผอ.กวพ. ผอ.กพบ. ห.บว. กวพ. และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งดูงานพิพิธภัณฑ์ กทพ. จากนั้น ได้เข้าเยี่ยมชมการดำาเนินงาน จุดพักรถ (Rest Area) บริเวณด่านเก็บค่าผ่านทางประชาชื่น เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๕ คณะกรรมการ กทพ. เข้าร่วมศึกษาดูงานการบริหาร จัดการข้อมูล และการบำารุงรักษาระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษ ของบริษัท MEX ณ ห้องประชุม ๒๔๐๑ ชั้น ๒๔ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. ในรูปแบบออนไลน์ โดยมีหัวข้อดังนี้ ๑) Introduction of Tunnel Disaster Prevention โดย Mr. HIYAMIZU Shinichiro, Manager of Overseas Projects Division ๒) Introduction of Maintenance on ETC System & Management on ETC Information (from MEX) โดย Ms. MUNAKATA Keiko, Deputy Manager of Overseas Projects Division ๓) Introduction of M-flow โดย ผอ.กวพ. ๗๒
Mr. NISHIBAYASHI
Office,
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญ
Transfer)
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การดำาเนินงานด้านการสร้างความสัมพันธ์ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๑. สร้างความเชื่อมั่นในการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๒. สร้างความเชื่อมั่นในการดำาเนินการ ตามหลักธรรมาภิบาลแก่ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ๓. เสริมสร้างการเรียนรู้และมูลค่าเพิ่ม ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรับรู้และมีส่วนร่วม ในการดำ า เนินการด้านสิ่งแวดล้อมและ ความปลอดภัยของ กทพ. อย่างถูกต้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรับรู้และเข้าใจ การดำาเนินการด้านธรรมาภิบาลของ กทพ. อย่างถูกต้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีการเรียนรู้และปรับปรุง การดำาเนินการร่วมกับ กทพ. ๑.๑ ๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจด้าน สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและความ ปลอดภัย ๒.๑ ๒.๒ เ สริมสร้างความรู้ความเข้าใจ การดำาเนินการด้านธรรมาภิบาล พัฒนาระบบการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ๓.๑ ๓.๒ เสริมสร้างความผูกพันและความมี ส่วนร่วมของบุคลากรในการดำาเนินงาน พัฒนากิจกรรม/โครงการปรับปรุงร่วมกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลยุทธ์เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ได้ให้ความสำาคัญต่อการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและสนับสนุนการดำาเนินงาน แบบมีส่วนร่วมตามมาตรฐาน AA1000SES เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดผลสำาเร็จตามเป้าหมายนำาไปสู่การพัฒนาความสัมพันธ์สร้างความเชื่อมั่น และสร้างคุณค่าร่วมกัน เพื่อประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน กทพ. จำาแนกผู้มีส่วนได้ส่วนเสียออกเป็น ๗ กลุ่ม ได้แก่ ภาครัฐในฐานะเจ้าของ บุคลากร ลูกค้า ผู้ได้รับผลกระทบจากการเวนคืน คู่ค้า/คู่ความร่วมมือ ชุมชนรอบเขตทางพิเศษ และสังคม โดยกำาหนดรูปแบบการสร้าง ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียออกเป็น ๓ รูปแบบ ทั้งนี้ เพื่อกำ า หนดแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสนับสนุนการดำ า เนินงานร่วมกันระหว่าง กทพ. และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กทพ. ได้กำาหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และยุทธศาสตร์ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของ กทพ. ระยะยาว ๕ ปี (ปีงบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๙) ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ (๑) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดำาเนินงานของ กทพ. (๒) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการดำาเนินงานของ กทพ. และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (๓) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขอบเขตของการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ (๑) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ กทพ. ทุกกลุ่มทั้งที่เป็นองค์กรภาครัฐ เอกชน ลูกค้าและประชาชนทั่วไป (๒) ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (๓) พื้นที่รอบเขตทางพิเศษและสังคมโดยรวม ยุทธศาสตร์ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ กทพ. ระยะยาว ๕ ปี (ปีงบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๙) วัตถุประสงค์ของการสร้างความสัมพันธ์ รูปแบบการสร้างความสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมพร้อมเสริมสร้างความสัมพันธ์กับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสื่อสารสองทาง ซึ่งเน้นการพิจารณาร่วมกันระหว่างองค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น การจัดตั้งคณะกรรมการโดยมีตัวแทนจากองค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรึกษาหารือ การสานเสวนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การประชุม การตอบสนองต่อความต้องการและ/หรือข้อกังวล ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสื่อสารสองทางแบบจำากัด เช่น การสัมภาษณ์ การจัดประชุมสัมมนา การจัดประชุม สาธารณะ การจัดทำาแบบสอบถาม การรักษาการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ โฆษณา การประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ กทพ. จดหมาย สื่อสังคมออนไลน์ ๗๓
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ กทพ. ได้ดำาเนินการศึกษา/รวบรวม/สำารวจความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง ๗ กลุ่ม เป็นประจำาทุกปีผ่านการสัมภาษณ์และ สำ า รวจความคิดเห็นจากแบบสอบถาม เพื่อรวบรวมข้อคิดเห็น/ประเด็น/ความต้องการ/ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อนำ า มา ปรับปรุง/พัฒนาการดำาเนินงานของ กทพ. โดยในปี ๒๕๖๕ มีประเด็นสำาคัญและผลการดำาเนินงานด้านการสร้างความสัมพันธ์ฯ ดังนี้ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย วิธีการ สร้างความสัมพันธ์ ประเด็น/ความต้องการ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การดำ า เนินงาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ ๑.ภาครัฐ ในฐานะ เจ้าของ ๒.บุคลากร การประช ุมคณะกรรมการ กทพ. ประจำ า เดือน การประชุมคณะอนุกรรมการ ก า ก ับดูแลกิจการที่ดี อย่างน้อย ไตรมาสละ ๑ ครั้ง การส ัมภาษณ์และสอบถาม ความคิดเห็นจากแบบสอบถามการปฏิบัติตามนโยบาย การก า กับดูแลกิจการที่ดี การบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพผลการดำ า เนินงานที่ดี จัดประชุมคณะกรรมการ กทพ. จำ า นวน ๑๒ ครั้งจัดประชุมคณะอนุกรรมการกำ า กับดูแลกิจการที่ดี จำ า นวน ๕ ครั้งสำ า รวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. และความพึงพอใจ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำ า นวน ๑ ครั้ง/ปี โดยภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบ ต ่อสังคมของ กทพ. มีค่าเท่ากับ ร้อยละ ๘๐.๖๒ และความพึงพอใจของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียมีค่าเท่ากับ ร้อยละ ๘๐.๓๑ ประธานกรรมการ กทพ. และกรรมการ กทพ. เข้าศึกษาดูงานระบบจัดเก็บ ค่าผ่านทางพิเศษแบบ Multi-Lane Free Flow (M-Flow) ของทางพิเศษฉลอ งรัช สำ า นักผู้ว่าการ สำ า นักผู้ว่าการ สำ า นักผู้ว่าการ ฝ่ายจัดเก็บ ค่าผ่านทางกระบวนการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแ วดล้อม ในการทำ า งานการปฏ ิบัติตามกฎระเบียบ ด้วยความโปร่งใสความก้าวหน้าในการ ปฏิบัติงาน ภาพล ักษณ์ที่ดีของ องค์กร ก ระบวนการทำ า ง าน มีประสิทธิภาพ ระบบเทคโนโลย ีสนับสนุน การปฏิบัติงานการจัดประชุมกลุ่มย่อยการจัดกิจกรรม OJTการจัดประชุมปรึกษา หารือการสำ า รวจความคิดเห็นโดยใช้ แบบสอบถาม การจ ัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เ รียนรู้การอบรมพัฒนาทักษะ จ ัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติงานข้ามหน่วยงานภายในองค์กร จำ า นวน ๒๑ ครั้งจัดกิจกรรม OJT เ รื่องจรรยาบรรณและเรื่องการเบิกจ่าย จำ า นวน ๕ ครั้งจัดประชุมคณะทำ า งานด้าน Eco-Efficiency จำ า นวน ๓ ครั้งจ ัดประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องและการดำ า เนินการ ข้อพิพาทและคดี จำ า นวน ๒ ครั้ง จ ัดอบรมพัฒนาความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่บุคลากร จำ า น วน ๒ ครั้ง สำ า รวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. และความพึงพอใจ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำ
ร้อยละ ๘๐.๓๑สำ า รวจความพึงพอใจและความผูกพันของบุคลากร จำ า นวน ๑ ครั้ง/ปี โดยมี ความพ ึงพอใจของบุคลากร เท่ากับ ร้อยละ ๘๓.๐๐ และความผูกพันของ บุคลากร เท่ากับ ร้อยละ ๘๕.๔๐ ด า เ นินการตามแผนด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทำ า งาน ได้ครบถ้วนร้อยละ ๑๐๐ ฝ่ายบริหารทั่วไป สำ า นักผู้ว่าการ/ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายนโยบาย และแผน ฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายสารสนเทศ/ ฝ่ายบริหารทั่วไป สำ า นักผู้ว่าการ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ๗๔
า นวน
ครั้ง/ปี โดยภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบ ต ่อสังคมของ กทพ. มีค่าเท่ากับ ร้อยละ ๘๐.๖๒ และความพึงพอใจของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีค่าเท่ากับ
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย วิธีการ สร้างความสัมพันธ์ ประเด็น/ความต้องการ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การดำ า เนินงาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ ๒.บุคลากร (ต่อ) ๓.ลูกค้า ประสานงานและจ ัดประชุมความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกเพื่อแก้ไขปัญหา การจราจร จำ า นวน ๒ ครั้งเ ข้าร่วมการประชุมกับศูนย์ควบคุมและสั่งการ จราจร (บก.๐๒) ทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ ด า เนินการตามแผนการดำ า เนินงานแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในทางพิเศษ ได้ครบถ้วน ร้อยละ ๑๐๐ ด า เนินการจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการ EXA T Challenge Contest 2022 กิจกรรม EXAT Roadshow กิจกรรม “Mother (มาเถอะ) มา Do กับ กทพ.” กิจกรรม “ลัดฟ้าสู่เขาใหญ่ ร่วมใจสร้าง แหล่งอาหารเพื่อน้อง” เป็นต้น ด า เน ินการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางการสื่อสารของ กทพ. จำ า นวนกว่า ๑๐,๐๐๐ ครั้ง และดำ า เนินการพัฒนาเพิ่มช่องทางการสื่อสาร ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นรับเ รื่องร้องเรียนและติดตามการแก้ไขข้อร้องเรียนจากลูกค้าด า เนินการตามแผนปรับปรุงกระบวนการในด้านปฏิบัติการส่วนที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า ได้ครบถ้วนร้อยละ ๑๐๐ กทพ. จับมือ “ช้อปปี้” ส่งเสริมบริการเติมเงิน Easy Pass ผ่าน “ช้อปปี้ อีเซอร์วิส” รับ Cashback 10% ส า รวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการทางพิเศษ จำ า นวน ๑ ครั้ง/ปี พบว่า มีค่าเท่ากับ ร้อยละ ๙๔.๔๘ ส า รวจภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กทพ. และความพึงพอใจ ของผ ู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำ า นวน ๑ ครั้ง/ปี โดยภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบจัดกิจกรรมการตรวจสุขภาพของบุคลากร จำ า นวน ๑ ครั้ง/ปี และตรวจติดตามผล ทุก ๓ เดือนจัดกิจกรรมผู้บริหารระดับสูงพบพนักงาน จำ า นวน ๒ ครั้งจัดงานนิทรรศการ KM & IM Day จำ า นวน ๑ ครั้งจัดโครงการปัจฉิมสำ า หรับผู้เกษียณอายุการทำ า งานได้ครบถ้วนร้อยละ ๑๐๐ การจัดกิจกรรมร่วมกับลูกค้า ก ารสำ า ร วจความคิดเห็นโดยใช้ แบบสอบถามประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ศ ูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ทางพิเศษ (EXAT Call Center)ความสะดวก รวดเร็วในการ ใ ช้บริการความปลอดภ ัยในการใช้บริการข ้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน ทันกาลการรักษาสิ่งแ วดล้อม ฝ่ายควบคุมการจราจร ฝ่ายควบคุมการจราจร ฝ่ายควบคุมการจราจร สำ า นักผู้ว่าการ สำ า นักผู้ว่าการ สำ า นักผู้ว่าการ ฝ่ายจัดเก็บค่าผ่านทาง ฝ่ายจัดเก็บค่าผ่านทาง สำ า นักผู้ว่าการ สำ า นักผู้ว่าการ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ๗๕
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ สภาพธุรกิจ แผนงานทางธุรกิจ และกลยุทธ์ ก ารทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคม ได้ดำ า เ นินงานตามนโยบายโดยมีภารกิจหลักในการให้บริการและ เพิ่มประสิทธิภาพทางพิเศษอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บนรากฐาน การบริหารจัดการที่ดี มีศักยภาพเชิงธุรกิจ ตลอดจนความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน กทพ. ได้เปิดให้บริการทางพิเศษ รวม ๘ สายทาง รวมระยะทาง ๒๒๔.๖ กิโลเมตร ประกอบด้วย ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช ทางพิเศษฉลองรัช (ทางพิเศษ สายรามอินทรา-อาจณรงค์ และทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ทางพิเศษบูรพาวิถี ทางพิเศษอุดรรัถยา ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษประจิมรัถยา (ทางพิเศษสายศรีรัช–วงแหวน รอบนอกกรุงเทพมหานคร) ทั้งนี้ กทพ. ได้วางแผนงานและกลยุทธ์ในการดำ า เนินกิจการเพื่อพัฒนาระบบโครงข่ายทางพิเศษให้สามารถ เชื่อมโยงถึงกันได้อย่างสมบูรณ์ ดังนี้ โครงการทางพิเศษที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โครงการทางพิเศษสายพระราม ๓-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เพื่อขยายโครงข่ายทางพิเศษให้สามารถรองรับการเดินทางระหว่างพื้นที่ชั้นนอกและชั้นในกรุงเทพมหานคร บรรเทาปัญหาการจราจร ติดขัดบนถนนพระรามที่ ๒ และทางพิเศษเฉลิมมหานครช่วงสุขสวัสดิ์-ดาวคะนอง รวมทั้งเป็นเส้นทางทดแทนในกรณีที่สะพานพระราม ๙ ต้องปิดซ่อมบำารุงใหญ่ เนื่องจากให้บริการมาเป็นเวลานานกว่า ๓๐ ปี โดยมีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับโครงการทางยกระดับบนทางหลวง หมายเลข ๓๕ ของกรมทางหลวง บริเวณ กม. ๑๓+๐๐๐ ของถนนพระรามที่ ๒ ใกล้กับทางแยกต่างระดับบางขุนเทียน เป็นทางยกระดับ ขนาด ๖ ช่องจราจร
๓ ใกล้กับทางแยกต่างระดับ บางโคล่ มีจุดสิ้นสุดโครงการเชื่อมต่อกับทางพิเศษเฉลิมมหานครและทางพิเศษศรีรัช สำาหรับช่วงที่ข้ามแม่นาเจ้าพระยาจะก่อสร้างสะพานใหม่ ขนาด ๘ ช่องจราจร ขนานอยู่ทางด้านทิศใต้ของสะพานพระราม ๙ โดยมีทางขึ้น-ลง จำานวน ๗ แห่ง และมีทางแยกต่างระดับจำานวน ๑ แห่ง ระยะทางรวม ๑๘.๗ กิโลเมตร ผลการดำาเนินงานของโครงการทางพิเศษในอนาคต ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โครงการ สถานะปัจจุบัน ๑.โครงการทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จังหวัดภูเก็ต (ระยะทาง ๓.๙๘ กม.) อยู่ระหว่างคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน ปัจจุบันอยู่ระหว่างจัดทำาร่างประกาศ เชิญชวน ร่างเอกสารสำาหรับคัดเลือกเอกชน และร่างสัญญาร่วมทุน สำาหรับ การประกาศเชิญชวนการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการในช่วงเดือน พ.ย.-ธ.ค. ๖๕ ๒.โครงการทางพิเศษสายเมืองใหม่-เกาะแก้ว-กะทู้ จังหวัดภูเก็ต (๓๐ กม.) อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ มีผลการดำ า เนินงานร้อยละ ๓๗.๕๓ จากแผนงานร้อยละ ๓๗.๓๖ (ก.ย. ๖๕) ๓.โครงการระบบทางด่วนขั้นที่ ๓ สายเหนือ ระยะที่ ๒ (ส่วนทดแทนตอน N1 บางซื่อ-ถนนประเสริฐมนูกิจ) (ระยะทาง ๗.๑ กม.) อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ มีผลการดำ า เนินงานร้อยละ ๓๗.๐๕ จากแผนงานร้อยละ ๓๗.๐๕ (ก.ย. ๖๕) ๔.โครงการทางพิเศษสายฉลองรัช-นครนายก-สระบุรี (ระยะที่ ๑ จตุโชติ-ถนนวงแหวนฯ รอบที่ ๓ (MR10)) (ระยะทาง ๑๗ กม.) ออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ ปัจจุบันอยู่ระหว่างจัดทำารายงานทบทวนศึกษา ความเหมาะสมฯ และจัดทำารายงานการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) มีผลการดำ า เนินงาน ร้อยละ ๕๙.๗๗ จากแผนงานร้อยละ ๕๙.๗๗ (ก.ย. ๖๕) ๘๐
(ทิศทางละ ๓ ช่องจราจร) ซ้อนทับไปตามแนวเกาะกลางถนนพระรามที่ ๒ มาทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จนถึงด่านเก็บค่าผ่านทางดาวคะนอง จากนั้นซ้อนทับบนทางพิเศษเฉลิมมหานครจนถึงบริเวณถนนพระรามที่
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย โครงการ สถานะปัจจุบัน ๕.โครงการแก้ไขปัญหาการจราจรบนทางพิเศษระยะที่ ๑ อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ มีผลการดำ า เนินงานร้อยละ ๓๗.๖๒ จากแผนงานร้อยละ ๓๗.๖๒ (ก.ย. ๖๕) ๖.โครงการทางเชื่อมต่อท่าเรือกรุงเทพและทางพิเศษ สายบางนา-อาจณรงค์ (S1) (ระยะทาง ๒.๒๕ กม.) ดำ า เนินการศึกษาความเหมาะสมฯ และออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ และคณะกรรมการผู้ชำ า นาญการพิจารณารายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมโครงการโครงสร้างพื้นฐานทางบกและอากาศ (คชก.) ในการประชุม ครั้งที่ ๒๓/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๘ ก.ค. ๖๕ ได้มีมติเห็นชอบรายงานการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการฯ เรียบร้อยแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่าง การเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.) พิจารณาให้ความเห็นชอบ รายงาน EIA ๗.โครงการทางเชื่อมต่อทางพิเศษบูรพาวิถีและถนนเลี่ยง เมืองชลบุรี (ระยะทาง ๔.๔ กม.) ดำาเนินการศึกษาความเหมาะสมฯ แล้วเสร็จ และคณะกรรมการผู้ชำานาญการ พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการโครงสร้างพื้นฐาน ทางบกและอากาศ (คชก.) ในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๑๐ มิ.ย. ๖๕ ได้มีมติเห็นชอบรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการฯ เรียบร้อยแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเสนอคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.) พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงาน EIA ผลการดำาเนินงานของโครงการทางพิเศษในอนาคต ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ (ต่อ) ๘๑
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ แผนการพัฒนาโครงข่ายทางพิเศษร่วมดำาเนินงานกับเอกชนที่มีวงเงินสัญญาเกินกว่า ๕๐๐ ล้านบาท กทพ. อยู่ระหว่างดำาเนินโครงการทางพิเศษในภูมิภาค จำานวน ๒ โครงการ โดยทั้ง ๒ โครงการ อยู่ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต มีมูลค่าลงทุน โครงการรวมทั้งสิ้น ๔๔,๙๒๖ ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน ๒๒,๘๔๖ ล้านบาท และค่าก่อสร้าง (รวมค่าควบคุมงาน) ๒๒,๐๘๐ ล้านบาท มีรายละเอียด ดังนี้ ๑) โครงการทางพิเศษสายเมืองใหม่-เกาะแก้ว-กะทู้ จังหวัดภูเก็ต มีมูลค่าลงทุนโครงการ ๓๐,๔๕๖ ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน ๑๗,๐๕๔ ล้านบาท และค่าก่อสร้าง (รวมค่าควบคุมงาน) ๑๓,๔๐๒ ล้านบาท ระยะทางรวม ๓๐ กิโลเมตร จัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน : พฤศจิกายน ๒๕๖๗-ตุลาคม ๒๕๖๙ ดำาเนินการก่อสร้าง : ธันวาคม ๒๕๖๗-พฤศจิกายน ๒๕๗๐ ๒) โครงการทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จังหวัดภูเก็ต มีมูลค่าลงทุนโครงการ ๑๔,๔๗๐ ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน ๕,๗๙๒ ล้านบาท และค่าก่อสร้าง (รวมค่าควบคุมงาน) ๘,๖๗๘ ล้านบาท ระยะทางรวม ๓.๙๘ กิโลเมตร จัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน : มกราคม ๒๕๖๖–มกราคม ๒๕๖๘ ดำาเนินการก่อสร้าง : ธันวาคม ๒๕๖๖–พฤศจิกายน ๒๕๗๐ ระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติ (Electronic Toll Collection System : ETCS) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ได้เปิดให้บริการระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติ โดยผู้ใช้บริการสามารถใช้บัตรอัตโนมัติ
ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ทางพิเศษศรีรัช
ทางพิเศษอุดรรัถยา และทางพิเศษประจิมรัถยา
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี รวมทั้ง มีการเชื่อมต่อกันระหว่างบัตร M-Pass และบัตร Easy Pass ส่งผลให้ผู้ใช้บริการระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติ
สามารถ นำาบัตรใช้ผ่านทางในทางหลวงพิเศษหมายเลข ๙ (บางปะอิน-บางนา) และทางหลวงพิเศษหมายเลข ๗ (กรุงเทพฯ–ชลบุรี) ได้ นอกจากนี้ บัตร Easy Pass ยังสามารถใช้ผ่านทางยกระดับอุตราภิมุข (ดอนเมืองโทล์ลเวย์) ได้ตั้งแต่วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๖๕ ส่งผลให้มีการเชื่อมต่อ ระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติ (ETC) และผู้ใช้บริการบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) สามารถเดินทางได้ครอบคลุมทุกโครงข่ายทางพิเศษ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง และทางยกระดับของประเทศไทย รวมเป็นระยะทางทั้งสิ้น ๓๙๘.๘ กิโลเมตร ทั้งยังตอบสนองในเรื่องสะดวก ประหยัด คุ้มค่า ด้านเวลาและเชื้อเพลิง ขณะนี้มีผู้สมัครใช้บัตร Easy Pass รวมจำานวน ๒.๓๑ ล้านชุด (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕) ผู้ใช้บริการสามารถสมัครสมาชิกบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ในช่องทางต่าง ๆ ดังนี้ ๑. อาคารด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ ยกเว้นทางพิเศษประจิมรัถยา (ทางพิเศษสายศรีรัช–วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ๒. ศูนย์บริการที่เดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ณ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. ๓. ศูนย์บริการลูกค้าบัตรอัตโนมัติ Easy Pass Fast Service บริเวณจุดพักรถ สถานีบริการนามัน ปตท. (บางนาขาออก) ทั้งนี้ผู้ใช้บริการยังสามารถสมัครใช้บริการออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน TrueMoney Wallet (ทรูมันนี่ วอลเล็ท) ซึ่งจะช่วย เพิ่มความสะดวกทั้งในการสมัครและรับอุปกรณ์ เพียงลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคชัน อุปกรณ์จะจัดส่งถึงบ้านภายใน ๒-๕ วันทำ า การ ซึ่งการสมัครสมาชิกบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ทุกช่องทาง ไม่ต้องชำาระค่ามัดจำาอุปกรณ์ ๘๒
(Easy Pass) ในทางพิเศษเฉลิมมหานคร
ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายศรีรัช–วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) รวมทั้งทางยกระดับด้านทิศใต้
(Easy Pass)

ธนาคารทหารไทยธนชาต จำากัด (มหาชน) ๖. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำากัด (มหาชน) ๗. ธนาคารยูโอบี จำากัด (มหาชน)

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ส า หรับช่องทางการเติมเงินสำ า รองค่าผ่านทางบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ผู้ใช้บริการสามารถเติมเงินผ่านหน่วยงานภายในและ ภายนอก ดังนี้ (๑) หน่วยงานภายใน ๑. อาคารด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ ๒. ศูนย์บริการที่เดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ณ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. ๓. ศูนย์บริการลูกค้าบัตรอัตโนมัติ Easy Pass Fast Service บริเวณจุดพักรถ สถานีบริการนามัน ปตท. (บางนาขาออก) นอกจากน มีการให้บริการเติมเงินผ่านช่องทางระบบ QR Payment (การชำาระเงินด้วยการสแกน QR Code และการชำาระเงิน ด้วยบัตรเครดิต/บัตรเดบิตผ่านเครื่องรูดบัตร (EDC)) ที่ด่านฯ ดินแดง ด่านฯ ดาวคะนอง ด่านฯ บางนา และด่านฯ สุขุมวิท ๖๒ และมีการ ให้บริการตู้อัตโนมัติ (Kiosk) ที่ศูนย์บริการร่วมคมนาคม เชิงสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน ฝั่งพระนคร เขตสาทร กรุงเทพมหานคร (๒) หน่วยงานภายนอก จำานวน ๑๔ ราย ๑. ธนาคารกรุงไทย จำากัด (มหาชน) ๒. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำากัด (มหาชน) ๓.
๔.
๕.
จำากัด ๑๐. บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่นซิสเทม จำากัด ๑๑. บริษัท ทรู มันนี่ จำากัด ๑๒. บริษัท ทูซีทูพี (ประเทศไทย) จำากัด ๑๓. บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำากัด ๑๔. บริษัท ช้อปปี้เพย์ (ประเทศไทย) จำากัด ผู้ใช้บริการสามารถสมัครใช้บัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) และเติมเงินสำารองค่าผ่านทางพิเศษขั้นตาเพียง ๓๐๐ บาท ปัจจุบัน กทพ. ได้ยกระดับการให้บริการระบบบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) โดยได้เชื่อมโยงข้อมูลของผู้ใช้บริการที่ลงทะเบียนปรับปรุง ข้อมูลบัตร Easy Pass เป็น Easy Pass Plus เพื่ออำานวยความสะดวกให้ผู้ใช้บริการในการเข้าใช้งานระบบ M-Flow ซึ่ง กทพ. อยู่ระหว่าง การพัฒนาการให้บริการก่อนจะเปิดให้บริการระบบ M-Flow ของ กทพ. ภายในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ต่อไป การพัฒนาพื้นที่ในเขตทางพิเศษ กทพ. ได้มีการบริหารจัดการและพัฒนาพื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ โดยมีพื้นที่ใน เขตทางพิเศษที่ถูกใช้ประโยชน์จนถึงปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เนื้อที่รวมทั้งสิ้น ๕๕๑,๓๐๑.๒๔ ตารางวา ดังนี้ ๑) จัดทำาสวนหย่อม สวนสาธารณะ ๒๖๕,๕๒๒.๐๗ ตารางวา ๒) จัดทำาลานกีฬา ๓๔,๗๕๖.๕๘ ตารางวา ๓) จัดทำาเส้นทางลัด/ทางจักรยาน ๕๔,๕๖๐.๑๙ ตารางวา ๔) เพื่อสาธารณประโยชน์อื่น ๆ ๙๐,๘๔๑.๕๓ ตารางวา ๕) พื้นที่ให้เช่า ๑๐๕,๖๒๐.๘๗ ตารางวา ทั้งนี้ กทพ. อนุญาตให้หน่วยงานราชการ เช่น กทม. และหน่วยราชการอื่น ๆ ใช้ประโยชน์เพื่อสังคมและสาธารณะ เช่น จัดทำาเป็น สวนสาธารณะ สวนหย่อม จัดทำ า ลานกีฬา จัดทำ า ถนนเส้นทางลัดและทางจักรยาน ตลอดจนใช้พื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์อื่น ๆ ๘๓
ธนาคารกสิกรไทย จำากัด (มหาชน)
ธนาคารกรุงเทพ จำากัด (มหาชน)
๘. ธนาคารออมสิน ๙. บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส

Official Facebook (www.facebook. com/Expressway.Thailand) มีสมาชิกกดถูกใจเพจ จำานวน ๓๔,๐๐๐ ราย และมีผู้ติดตาม (Followers) จำานวน ๓๔๖ ราย และ Official Twitter (www.twitter.com/ExatWebmaster) มีผู้ติดตาม (Followers) จำานวน ๗,๔๖๐ ราย ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต กทพ. ระบบเสียงตามสาย กทพ. (EXAT Sound) ระบบป้ายดิจิทัล กทพ. (EXAT Digital Signage) และจอเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารระบบสัมผัส Multi-Touch Systems (I-Touch)

กทพ. ระบบเสียงตามสาย กทพ.

รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ เช่น สร้างสะพานลอยคนข้าม บ่อสูบน า สร้างท่อรวบรวมน า เสียและบ่อพัก ปรับปรุง ขยายผิวจราจร จัดทำ า ทางเดินเท้า ติดตั้งไฟส่องสว่าง รวม ๓๖๑ แห่ง คิดเป็นพื้นที่ ๓๓๔,๖๙๘.๗๐ ตารางวา อย่างไรก็ตาม ยังมีพื้นที่ที่ กทพ. ดำ า เนินการพัฒนาพื้นที่เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและ สาธารณะโดยการปลูกต้นไม้ จัดทำาสวนหย่อมและใช้พื้นที่จัดทำาถนน Access Road เพิ่มเติม ในพื้นที่เขตทางพิเศษเนื้อที่รวม ๑๑๐,๖๐๓.๘๗ ตารางวา การให้บริการเว็บไซต์ของ กทพ. (www.exat.co.th) กทพ. ดำาเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและผลการดำาเนินงานด้านต่าง ๆ ผ่านทางเว็บไซต์ของ กทพ. (www.exat.co.th) โดยมีการปรับปรุงและพัฒนาระบบให้รองรับการใช้งานได้เพิ่มเติมหลากหลายรูปแบบ เช่น ระบบปฏิบัติการบนสมาร์ทโฟน และอุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสารแบบพกพา เพื่อให้มีรูปแบบการนำาเสนอที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว สามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไปถึงผู้ใช้บริการทางพิเศษ และประชาชนทั่วไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยังมีระบบรับเรื่องร้องเรียนทางหน้าเว็บไซต์ของ กทพ. เพื่อให้ผู้ใช้บริการทางพิเศษและประชาชน ที่ต้องการสอบถามข้อมูล สามารถร้องเรียน ติชม และเสนอแนะการบริการ โดยผลสำารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่ต่อการให้บริการ และภาพลักษณ์ของ กทพ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ มีระดับความพึงพอใจต่อบริการ www.exat.co.th โดยภาพรวมร้อยละ ๙๐.๑๐ นอกจากนี้ กทพ. ได้ดำาเนินการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ทาง
Systems (I-Touch) ในรูปแบบข้อมูลข่าวสาร ข่าวประชาสัมพันธ์ ภาพนิ่ง ภาพวีดิทัศน์ ภาพกราฟิก ข้อความและประกาศข่าวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงาน อันจะเป็นการพัฒนาการเรียนรู้และทักษะให้แก่บุคลากร รวมถึงการสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำ า งาน ตลอดจนเป็น สื่อกลางในการสื่อสารแบบ ๒ ทาง (Two Way Communication) เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาบุคลากรและหน่วยงาน การใ ห้บริการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. (EXAT Public Information Center) ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนตามมาตรา ๗ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ให้ได้รับความสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งเป็นวิทยากรรับเชิญบรรยายความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และเป็นที่ศึกษาดูงานให้กับหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ เพื่อให้การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ เป็นไปในแนวทางเดียวกับหน่วยงานต้นแบบ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ตั้งอยู่บริเวณชั้น ๑ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย สำานักงานใหญ่ เลขที่ ๑๑๑ ถนนริมคลองบางกะปิ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๕๘ ๙๕๑๘, ๐ ๒๕๕๘ ๙๘๐๐ ต่อ ๑๐๗๒๒ โทรสาร ๐ ๒๕๕๘ ๙๖๘๑ เปิดให้บริการในวันและเวลาราชการ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. นอกเวลาทำาการ สามารถติดต่อผ่านทาง EXAT Call Center หมายเลขโทรศัพท์ ๑๕๔๓ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง (ไม่เว้นวันหยุดราชการ) หรือดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้ทางเว็บไซต์ของ กทพ. www.exat.co.th การให้บริการศูนย์บริการที่เดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service Center) กทพ. จัดตั้งศูนย์บริการที่เดี่ยวเบ็ดเสร็จ บริเวณชั้น ๑ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษการทางพิเศษแห่งประเทศไทย สำานักงานใหญ่ เพื่อให้บริการประชาชนในการเติมเงินสำารองบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ออกใบกำากับภาษีเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง รับชำาระค่าเช่าพื้นที่ ในเขตทางพิเศษ บริการตรวจสอบแนวเวนคืน และให้บริการข้อมูลข่าวสารทั่วไปเกี่ยวกับทางพิเศษ ๘๔
กทพ. มีช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภายในหน่วยงานผ่านทางระบบเครือข่ายอินทราเน็ต
(EXAT Sound) ระบบป้ายดิจิทัล กทพ. (EXAT Digital Signage) และจอเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารระบบสัมผัส Multi-Touch
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการทางพิเศษ กิจกรรมทางด่วนลัดฟ้าข้ามกรุง ประจำาปี ๒๕๖๕ กทพ. ร่วมกับสถานีวิทยุ จส. ๑๐๐ จัดกิจกรรม “ลัดฟ้าสู่เขาใหญ่ ร่วมใจสร้างแหล่งอาหารเพื่อน้อง” ระหว่างวันที่ ๒๔-๒๕ กันยายน ๒๕๖๕ ณ อำาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา โดยนำาสมาชิกผู้ใช้บริการอัตโนมัติ Easy Pass ร่วมทำากิจกรรมเพาะเชื้อเห็ด ทำ า ก้อนเห็ด เพื่อมอบให้แก่โรงเรียน บ้านเขาวงนำ า ไปเพาะเลี้ยงสำ า หรับประกอบ อาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียน และ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เพื่อการเกษตร เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๙ ณ อำ า เภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมพิเศษเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑. กิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์และภาพลักษณ์อันดีในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในจังหวัดต่าง ๆ กทพ. จัดทำาถุงยังชีพจำานวน ๒,๐๐๐ ถุง ในการสนับสนุนภารกิจของกระทรวงคมนาคม โดยมอบให้แก่ นายวัชรพล มหาไวย ปลัดอำาเภอ พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๖๔ เพื่อนำาไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยน าท่วมในพื้นที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาต่อไป ๒. กิจกรรมแบ่งปันรอยยิ้ม แด่น้องริมทางด่วน กทพ. สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแก่โรงเรียนคลองเกลือ โดยมอบทุนการศึกษา แก่นักเรียน จำานวน ๔๐ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ พร้อมทั้ง สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อโทรทัศน์ Smart TV จำานวน ๒๐ เครื่อง ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง และจัดซื้อลำาโพงแอมพลิฟายเออร์ จำานวน ๒๔ ห้องเรียน รวมงบประมาณที่สนับสนุนทั้งสิ้น ๓๕๐,๐๐๐ บาท ๓. กิจกรรมทางด่วนเพื่อเยาวชน กทพ. จัดกิจกรรมทางด่วนเพื่อเยาวชน โดยมอบทุนการศึกษาแก่ชุมชนและโรงเรียน รอบเขตทางพิเศษ จำ า นว น ๘๖ ทุน ทุนละ ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๘๖๐,๐๐๐ บาท ซึ่งได้ประสานกับชุมชนและ โรงเรียนรอบเขตทางพิเศษที่ได้รับคัดเลือก ให้ติดต่อเข้ารับทุนการศึกษา ตั้งแต่วันที่ ๒๓–๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ อาคารศูนย์บริหารทางพิเศษ กทพ. ๘๕

๑๐๔,๗๖๕,๗๙๗

๒๐๐,๖๔๕,๘๑๗

๗๐,๕๕๙,๓๗๔

๔๖,๘๔๒,๔๔๐

๒๕,๘๔๒,๐๒๙

๗๙,๖๐๓,๓๙๐

๑๘,๔๖๖,๕๙๘

๙๓,๖๒๓,๘๐๒

๑๗๓,๖๙๖,๕๙๐

๖๒,๙๒๐,๒๑๙

๓๙,๓๗๔,๓๖๕

๒๒,๙๘๐,๑๐๖

๗๐,๗๔๔,๐๔๘

๑๗,๕๓๐,๖๔๑

๑๑๗,๖๓๘,๔๔๘

๒๑๘,๙๔๒,๕๙๑

๗๗,๑๒๒,๙๑๕

๔๙,๙๗๗,๔๓๔

๒๘,๕๗๙,๒๕๙

๘๒,๒๑๐,๑๓๕

๒๑,๓๕๘,๔๓๓

๑๓๖,๕๑๐,๐๗๙

๒๕๙,๕๘๘,๘๔๒

๘๘,๑๒๖,๕๔๔

๕๘,๗๘๔,๔๗๖

๓๓,๖๓๗,๖๖๙

๙๕,๘๔๖,๒๐๙

๒๒,๘๗๘,๙๑๑

๑๓๕,๙๐๕,๕๘๖

๒๕๗,๓๘๒,๘๑๘

๘๔,๖๗๖,๐๓๒

๕๗,๐๖๑,๖๗๐

๓๒,๖๘๙,๔๒๒

๙๕,๕๑๘,๗๕๗

๑๙,๙๒๕,๕๕๐

รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ สถิติ การใช้ทางพิเศษ เปรียบเทียบปริมาณจราจรบนทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษบูรพาวิถี ทางพิเศษอุดรรัถยา ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษประจิมรัถยา (ทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ปีงบประมาณ ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๑
๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐๑๕๐,๐๐๐,๐๐๐๒๐๐,๐๐๐,๐๐๐๒๕๐,๐๐๐,๐๐๐๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ เฉลิมมหานคร ศรีรัช ฉลองรัช บูรพาวิถี อุดรรัถยา กาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ประจิมรัถยา จำานวนรถยนต์ปี ๒๕๖๕ รวมทั้งสิ้น ๕๔๖,๗๒๕,๔๔๕ คัน ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน) ๑๒๖

๑๐๑,๘๕๔,๑๖๐

๒,๒๖๙,๐๐๘

๖๔๒,๖๒๙

๑๙๘,๔๔๖,๗๖๑

๑,๙๓๕,๔๗๐

๒๖๓,๕๘๖

๖๙,๘๕๒,๘๕๙

๕๗๔,๐๓๑

๑๓๒,๔๘๔

๔๔,๖๓๑,๔๘๗

๑,๗๖๐,๔๘๙

๔๕๐,๔๖๔

๒๕,๖๐๑,๗๗๐

๑๙๗,๘๖๙

๔๒,๓๙๐

๖๘,๔๑๔,๗๘๘

๖,๙๗๑,๘๙๔

๔,๒๑๖,๗๐๘

๑๘,๓๓๒,๙๕๑

๑๒๕,๐๗๗

๘,๕๗๐

๑๔,๘๙๑,๐๙๐

๖,๖๑๓,๘๑๙

๒,๕๕๓,๔๕๔

๑,๒๖๕,๙๕๕

๔,๑๐๑,๗๗๔

๒,๕๔๙,๔๔๓

๕,๒๗๘,๘๑๒

๓,๐๓๗,๙๓๓

๕,๐๒๐,๙๕๑

๒,๗๒๒,๖๓๑

๒,๕๓๗,๘๐๔

๑,๒๖๐,๔๕๗

๓,๐๒๙,๒๕๔

๑,๖๐๖,๙๓๐

๒,๖๐๒,๘๗๗

๑,๔๒๐,๙๕๗

๓,๕๒๒,๒๙๑

๑,๗๐๓,๘๓๐

๑๖,๙๑๑,๗๖๐

๗,๕๘๓,๕๔๓

๓,๖๓๗,๘๙๑

๑,๘๘๘,๐๖๑

๘๒๗,๙๖๖

๔๗๕,๗๕๔

๗,๒๔๘,๖๑๓

๓,๑๓๙,๙๔๕

๑๓,๖๗๐,๐๔๗

๕,๔๕๓,๙๕๙

๓,๓๗๐,๑๘๘

๑,๙๘๐,๐๒๘

๑,๖๐๙,๙๓๕

๗๖๑,๙๖๗

๕,๓๑๙,๖๘๒

๒,๙๙๕,๗๘๙

๓,๓๘๓,๕๔๖

๑,๙๗๕,๖๙๙

๔,๘๔๑,๓๑๔

๒,๔๕๘,๗๖๙

๔๐๖,๕๔๘

๑๙๐,๓๙๕

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ จำาแนกตามสายทางพิเศษ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เฉลิมมหานคร ศรีรัช ฉลองรัช บูรพาวิถี อุดรรัถยา กาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ประจิมรัถยา ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐๑๕๐,๐๐๐,๐๐๐๒๐๐,๐๐๐,๐๐๐๒๕๐,๐๐๐,๐๐๐
ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน) ๔ ล้อ ๖-๑๐ ล้อ >๑๐ ล้อ รวมทั้งสิ้น ๕๔๖,๗๒๕,๔๔๕ คัน ปริมาณจราจรบนทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ ๑) จำาแนกตามด่าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ดินแดง เพชรบุรี สุขุมวิท พระรามที่สี่ ๑ เลียบแม่นา ท่าเรือ ๑ ท่าเรือ ๒ อาจณรงค์ สุขุมวิท ๖๒ บางนา สาธุประดิษฐ์ ๑ สาธุประดิษฐ์ ๒ สุขสวัสดิ์ ดาวคะนอง พระรามที่สี่ ๒ ดินแดง 1 บางจาก อาจณรงค์ ๑ (บางนา) อาจณรงค์ ๑ (ท่าเรือ) อาจณรงค์ ๓ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐๑๕,๐๐๐,๐๐๐๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๑๐๔,๗๖๕,๗๙๗ คัน ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ
(คัน)
๑๒๗

๖,๐๓๔,๗๔๓

๓,๒๒๔,๖๕๖

๙๑๘,๕๐๕

๕๑๘,๗๙๗

๑,๖๖๑,๗๘๒

๙๒๑,๑๖๘

๑,๕๔๖,๑๓๓

๖๙๘,๘๑๒

๑,๘๙๒,๗๓๐

๑,๐๒๙,๓๒๓

๒,๖๕๑,๑๙๗

๑,๕๑๕,๑๖๔

๔,๒๖๖,๘๖๓

๒,๐๑๔,๙๙๙

๑,๕๑๑,๑๖๘

๕๓๙,๙๑๖

๒,๑๑๖,๘๕๔

๑,๐๐๖,๗๑๑

๑๖,๓๘๓,๑๐๑

๘,๐๕๔,๙๔๐

๔,๗๕๗,๐๔๔

๒,๔๙๘,๕๕๓

๑,๓๗๑,๖๗๘

๘๐๙,๕๑๘

๓,๒๒๗,๑๐๙

๑,๖๑๘,๙๑๓

๑,๔๑๕,๖๓๓

๗๗๗,๗๑๐

๕,๐๘๙,๘๓๐

๒,๖๔๘,๗๒๓

๒,๘๓๒,๐๔๘

๑,๖๐๑,๕๔๖

๓,๘๔๓,๕๒๙

๒,๐๔๕,๓๒๒

๑,๐๘๔,๒๓๐

๕๑๓,๐๗๒

๔,๙๕๓,๕๓๘

๒,๔๖๔,๒๑๑

๑,๕๔๘,๗๒๗

๘๕๖,๒๕๙

๒๐,๑๑๐,๐๙๐

๑๐,๙๓๗,๔๘๒

๑๙,๗๘๘,๐๒๙

๙,๖๐๕,๔๙๕

๔,๖๗๑,๓๗๔

๒,๐๕๖,๗๓๔

๗,๓๗๐,๒๒๓

๒,๙๓๓,๙๖๑

๓,๑๓๕,๔๕๙

๑,๔๓๔,๒๗๐

๓,๖๕๓,๔๘๗

๑,๖๕๖,๔๑๑

๑๖,๓๘๓,๑๐๑

๘,๐๕๔,๙๔๐

๑๘,๕๗๕,๐๒๙

๑๐,๐๔๙,๒๓๐

๓,๗๑๗,๗๐๔

๒,๐๓๔,๗๗๙

๑,๖๓๑,๘๖๕

๙๑๕,๖๙๘

๑๘,๐๖๙,๑๘๙

๙,๒๙๖,๓๓๘

๙,๘๐๙,๐๔๘

๖,๐๘๘,๐๖๒

๔,๖๒๔,๗๗๗

๒,๓๑๓,๕๗๖

รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ ๒) จำาแนกตามด่าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐๑๕,๐๐๐,๐๐๐๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๒๐๐,๖๔๕,๘๑๗ คัน ๒๕,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน) อโศก ๑ อโศก ๒ พหลโยธิน ๑ พหลโยธิน ๒ คลองประปา ๑ คลองประปา ๒ ย่านพหลโยธิน บางซื่อ รัชดาภิเษก ประชาชื่น (ขาเข้า) บางซื่อ ๒ สาธุประดิษฐ์ ๓ จันทน์ สาทร สุรวงศ์ สะพานสว่าง หัวลำาโพง อุรุพงษ์ ยมราช พระราม ๓ อโศก ๔ ประชาชื่น (ขาออก) ประชาชื่น ๑ ประชาชื่น ๒ งามวงศ์วาน ๑ งามวงศ์วาน ๒ ประชาชื่น (ขาเข้า) อโศก ๓ พระราม ๙ รามคำาแหง ศรีนครินทร์ พระราม ๙-๑ อโศก ๓-๑
๑๒๘

ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน)

๓,๕๒๘,๒๘๖

๑,๘๘๒,๒๗๐

๔,๙๙๗,๑๙๑

๒,๙๗๒,๔๖๖

๓,๓๒๖,๓๘๗

๑,๖๗๑,๖๒๗

๔,๔๔๙,๖๗๑

๔,๓๙๙,๕๔๘

๒,๕๘๕,๖๖๑ ๒,๑๔๗,๔๔๘

๙,๓๖๘,๙๗๕

๕,๖๙๐,๘๖๗

๓,๐๖๐,๕๓๘

๓,๗๘๒,๔๙๕

๕,๔๔๕,๓๘๘

๑,๓๒๔,๙๕๕

๑,๙๙๐,๙๕๘ ๒,๐๙๑,๘๔๘ ๓,๕๙๗,๕๖๖ -

๒,๕๗๓,๕๐๘

๓,๘๒๘,๖๒๑ ๔,๕๕๔,๐๕๓

๓,๘๐๙,๑๐๗

๑,๔๑๓,๘๐๖ ๒,๔๖๑,๕๕๒ ๑,๙๖๙,๘๖๕ ๒,๐๗๔,๑๑๒

๑,๕๗๖,๖๓๕

๑๐,๕๓๔,๐๑๖

๖๓๗,๕๒๐ ๕,๑๒๙,๙๙๑

๘,๕๐๗,๑๒๓

๓,๖๙๐,๙๖๒

๗,๑๕๓,๕๐๓ -

๑,๔๒๖,๓๙๐

๙๓๘,๐๔๕

๕๕๒,๒๘๔

๓๖๙,๑๔๔

๖,๑๖๓,๕๖๒

๒,๔๖๒,๓๕๒

๔๒๕,๓๖๓

๒๕๗,๑๑๗

๑,๔๗๑,๗๖๘

๘๗๓,๑๒๕

๒,๘๐๔,๘๖๑

๑,๔๘๐,๖๗๗

๘๖๐,๖๖๘

๕๐๙,๕๔๗

๘๕๙,๖๑๐

๔๒๘,๕๐๕

๒,๔๒๘,๕๕๙

๑,๒๓๒,๗๙๘

๓,๐๘๗,๒๖๗

๑,๖๕๐,๒๖๘

๑,๑๐๑,๔๕๕

๕๖๖,๕๐๑

๑,๕๗๓,๘๘๒

๗๓๔,๖๕๖

๓,๓๓๙,๔๗๘

๑,๕๙๓,๙๙๗

๑๗๐,๘๐๙

๙๔,๑๐๐

๑,๒๙๗,๖๗๕

๕๖๕,๖๖๗

๑๓๙,๕๘๒

๗๑,๗๗๗

๖,๙๔๑,๑๔๒

๒,๙๑๓,๘๕๔

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ปริมาณจราจรบนทางพิเศษฉลองรัช (ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค์ และทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) จำาแนกตามด่าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
๒,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ๔,๐๐๐,๐๐๐๖,๐๐๐,๐๐๐๘,๐๐๐,๐๐๐๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๗๐,๕๕๙,๓๗๔ คัน รามอินทรา โยธินพัฒนา ลาดพร้าว ประชาอุทิศ พระราม ๙-๒ พระราม ๙-๑ (ฉลองรัช) พัฒนาการ ๑ พระโขนง อาจณรงค์ ๒ (ท่าเรือ) อาจณรงค์ ๒ (บางนา) พัฒนาการ ๒ อาจณรงค์ ๓-S1 รามอินทรา ๑ สุขาภิบาล ๕-๑ สุขาภิบาล ๕-๒ จตุโชติ ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนสายบางนา-ชลบุรี) จำาแนกตามด่าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน) บางนา กม.๖ (ขาเข้า) ช่องทางที่ ๑-๓ บางนา กม.๖ (ขาเข้า) ช่องทางที่ ๔-๑๔ บางแก้ว บางนา กม.๙-๑ วงแหวนรอบนอก (บางแก้ว) บางนา กม.๙-๒ บางพลี ๑ บางพลี ๒ สุวรรณภูมิ ๑ สุวรรณภูมิ ๒ เมืองใหม่บางพลี บางเสาธง บางบ่อ บางพลีน้อย บางสมัคร บางวัว บางปะกง ๑ บางปะกง ๒ ชลบุรี
๒,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ๔,๐๐๐,๐๐๐๖,๐๐๐,๐๐๐๘,๐๐๐,๐๐๐๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๔๖,๘๔๒,๔๔๐ คัน ๑๒๙

เมืองทองธานี (ขาออก)

เมืองทองธานี (ขาเข้า)

ศรีสมาน (ขาออก)

ศรีสมาน (ขาเข้า)

บางพูน (ขาออก)

บางพูน (ขาเข้า)

เชียงราก (ขาออก)

เชียงราก (ขาเข้า)

บางปะอิน (ขาออก)

บางปะอิน (ขาเข้า)

บางขุนเทียน (ทางออก ๑) บางขุนเทียน (ทางออก ๒) บางขุนเทียน (ทางออก ๓)

บางครุ (ทางออก ๑)

บางครุ (ทางออก ๒)

ปากนา (ทางออก ๑)

ปากนา (ทางออก ๒)

ปากนา (ทางออก ๓)

ปากนา (ทางออก ๔)

ปู่เจ้าสมิงพราย (ขาออก)

บางเมือง (ทางออก ๑)

บางเมือง (ทางออก ๒)

บางเมือง (ทางออก ๓)

เทพารักษ์ (ทางออก ๑)

เทพารักษ์ (ทางออก ๒)

เทพารักษ์ (ทางออก ๓)

เทพารักษ์ (ทางออก ๔)

บางแก้ว (ทางออก ๑)

บางแก้ว (ทางออก ๒)

บางแก้ว (ทางออก ๓)

๑,๐๘๗,๒๒๘

๖๑๙,๒๓๗

๑,๖๔๙,๔๙๓

๙๒๒,๔๓๒

๓,๔๖๘,๗๓๘

๓,๕๒๔,๒๒๔

๒,๐๒๓,๘๖๘

๒,๕๑๕,๖๘๖

๒,๙๙๔,๓๙๗

๒,๙๒๕,๑๑๔

๒,๙๘๔,๗๖๑

๒,๖๖๘,๕๒๐

๘,๖๗๒,๙๙๐

๒,๕๗๓,๒๑๒

๑,๖๖๒,๐๘๖

๔๑๔,๓๒๔

๖,๔๕๙,๖๗๘

๑,๕๕๕,๐๖๑

๕,๕๒๒,๒๘๓

๒,๑๐๙,๖๘๙

๓,๕๘๙,๕๗๗

๑,๓๐๙,๘๕๑

๒,๕๕๘,๒๓๔

๑,๐๑๘,๐๘๗

๑,๘๗๐,๒๕๘

๗๕๐,๖๐๔

๗๙๗,๔๑๙

๓๗๗,๗๑๕

๑,๕๕๐,๕๒๗

๖๑๘,๘๙๔

๗,๙๑๕,๒๒๖

๓,๓๘๐,๑๖๒

๒,๕๐๔,๕๑๐

๑,๐๙๘,๓๓๑

๓,๑๘๓,๘๓๕

๑,๒๔๙,๖๔๑

๓,๖๑๓,๕๓๒

๑,๖๙๗,๐๔๖

๖๔๐,๗๑๘

๒๕๔,๙๐๙

๑,๙๕๖,๑๘๔

๙๒๑,๕๑๕

๓,๓๗๖,๘๔๔

๑,๒๐๖,๒๗๗

๓,๑๓๓,๗๔๒

๑,๔๒๔,๓๔๘

๙,๖๔๖,๔๔๘

๓,๘๒๒,๖๓๓

๕,๐๑๓,๙๙๘ -

๗,๑๒๖,๖๖๖

๒,๑๒๒,๗๒๔

รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด) จำาแนกตามด่าน
ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน)
๕๐๐,๐๐๐ ๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐๑,๕๐๐,๐๐๐๒,๐๐๐,๐๐๐๒,๕๐๐,๐๐๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๒๕,๘๔๒,๐๒๙ คัน
ปริมาณจราจรบนทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) จำาแนกตามด่าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ
๑,๘๘๗,๐๗๒ ๑,๙๐๑,๐๐๐ ๙๗๘,๐๙๗ ๑,๑๖๕,๓๓๐ ๑,๒๕๓,๙๕๓ ๑,๒๒๔,๑๒๘ ๑,๐๗๙,๕๐๙ ๙๘๕,๙๘๘ ๓,๐๐๐,๐๐๐๓,๕๐๐,๐๐๐๔,๐๐๐,๐๐๐
(คัน)
๒,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๗๙,๖๐๓,๓๙๐ คัน ๔,๐๐๐,๐๐๐๖,๐๐๐,๐๐๐๘,๐๐๐,๐๐๐๑๐,๐๐๐,๐๐๐
๑๓๐

๔,๕๒๔,๒๐๖

๒,๑๙๖,๗๐๙

๒,๗๑๖,๒๗๒

๑,๔๕๑,๖๗๔

๒,๕๔๒,๖๕๔

๑,๐๒๙,๖๐๒

๙๖๓,๔๒๐

๔๘๓,๘๐๓

๕๗,๒๙๒

๒๖,๗๘๕

๖๕๕,๖๐๖

๓๓๐,๓๗๘

๑,๖๖๑,๐๖๖

๘๕๔,๕๔๖

๒,๕๔๔,๐๑๕

๑,๐๗๑,๗๔๘

๒,๘๐๒,๐๖๗

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ปริมาณจราจรบนทางพิเศษประจิมรัถยา (ทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) จำาแนกตามด่าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ฉิมพลี ตลิ่งชัน บรมราชชนนี บางบำาหรุ บางพลัด บางกรวย สะพานพระราม ๗ กำาแพงเพชร ๒ บางซื่อ ๑
๑,๐๐๐,๐๐๐ ๐ ปริมาณจราจรรวมรถทุกประเภท (คัน) ปริมาณจราจรรวมรถ ๔ ล้อ ที่ใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (คัน) รวมทั้งสิ้น ๑๘,๔๖๖,๕๙๘ คัน ๒,๐๐๐,๐๐๐๓,๐๐๐,๐๐๐๔,๐๐๐,๐๐๐๕,๐๐๐,๐๐๐ ๑๓๑
๑,๕๕๑,๕๐๑ ปริมาณจราจรบนทางพิเศษ (คัน)
รายงานประจำาปี ๒๕๖๕ แผนที่ทางพิเศษ แผนที่ระบบทางพิเศษ Expressway System Map ๑๓๒
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๑๓๓

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.