นิทรรศการเปดขอบฟาคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมจริยธรรมกับสังคม
1. การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของสถาบันครอบครัว สถานศึกษา สถาบันศาสนา และชุมชน โดยใชสถานศึกษาเปนฐาน : กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี ผูเสนอ ดร.ไพศาล แนนอุดรÀ ผูวิจัยรวม รศ. ดร. พิชญ ฉายายนต, ผศ. วรรณภา ถาวรจักร และสนิท มหาโยธี วัตถุประสงคการวิจัย 1) เพื่อศึกษาการปลูกฝงคุณธรรมของสถาบันครอบครัว สถานศึกษา สถาบันศาสนาและชุมชน โดยศึกษานโยบาย แนวคิดการบริหารจัดการการปกครองดูแล การใหการอบรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู แกสมาชิกในปกครอง 2) เพื่อสังเคราะหและเสนอรูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมของสถาบันศาสนา สถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน ระเบียบวิธวี จิ ัย ใชวิธีการวิเคราะห สังเคราะหเอกสาร เพือ่ ศึกษาบริบททั่วไป นโยบายแนวคิดในการบริหารจัดการ และใชวิธีการประชุมกลุม การสัมภาษณ การระดมความคิด การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อเสนอแนะ และสังเคราะหแนวทางการสงเสริมการจัดการเรียนรูเพือ่ ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกกลุมเปาหมาย ผลการวิจัย รูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมมีการประยุกตใช พุทธวิธี 5 ประกอบดวย 1) กิจกรรม หมายถึง กิจกรรมที่ปฏิบัติตองเปนกุศล คือ ฉลาด มีกุศล 5 อยางเปนหลัก ไดแก ไมโลภ ไมโกรธฉุนเฉียว ดวยอารมณจดั ไมกระทําดวยความไมรู เนนการใหมากกวารับ คือจาคะ และ เปนการกระทําหรือประกอบ อาชีพที่เปนสัมมา 2) กิจการ หมายถึง การงานถือเปนหนาทีท่ ี่ตองปฏิบัติอยางดีที่สุด (Best practice) มี องคประกอบ 4 อยาง ไดแก ดี ตรง ถูก และควร 3) กิจธุระ หมายถึง ธุระงานทั้งหมดตองทําใหเกิดหรือ บรรลุ ๒ อยาง คือ ความสงบ และบรรลุผล 4) กิจที่ทาํ หรือกิจธรรม ตองกอปรดวยสุจริต 3 อยาง คือ กาย สุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต 5) กิจวัตร หมายถึง กิจทั้งหมดขางตน 5 อยางตองปฏิบัติสม่ําเสมออยางมี สังวร 5 ประกอบดวย ระวัง หยัง่ รู มีระลึก ฝกเสมอ และเลิศเลอ วิธีการสอนที่คนพบ คือ 1) การพูดใหฟง 2) การนําหรือปฏิบัติใหดู และ 3) การประพฤติเปน ตัวอยาง โดยเฉพาะในสถาบันครอบครัว สถานศึกษา และ สถาบันศาสนา
ผูชวยเลขานุการกรรมการบริหารหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สํานักงานโครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี,โทร. 08-7806-3711, psnand@gmail.com À
2. การใชภมู ิปญญาทองถิ่นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร : กรณีศกึ ษาชางสุรินทร ระบบนิเวศ สะระแหน และสาเหลา ผูเสนอ สุขใจ สมพงษพันธุÀ ผูวิจัยรวม สราวุธ ตันติวัฒน, ผศ.โสภา สิมะรักษอําไพ, กรรณิกา มีมาก, ประสงค ตั้งประสิทธิ์, กฤษณ ปน ทอง, กอบแกว ตันติวัฒน และอรนุช นาคชาติ วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการโครงการ การติดตามประเมินผล และสังเคราะหชุดความรูของ โครงการวิจยั ยอยชุดวิทยาศาสตรทองถิน่ เครือขายมหาวิทยาลัยราชภัฏในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลาง ไดแก 1) การพัฒนาแหลงเรียนรูเกี่ยวกับชางของหมูบานชางสุรินทร 2) ชุดการเรียนรูร ะบบนิเวศ พื้นที่ชุมน้ําอางเก็บน้ําลําปลายมาศ จ.นครราชสีมา 3) การศึกษาพืชสมุนไพรจากใบสะระแหน จ.ชัยภูมิ 4) การใชประโยชนจากสาเหลาในการเลี้ยงสัตว จ.อุบลราชธานี ระเบียบวิธวี จิ ัย ใชวิธีการวิจัยแบบมีสวนรวม คือ 1) การวิเคราะหโครงการวิจัยยอยรวมกัน 2) การพัฒนานักวิจัย เครือขายดวยการฝกปฏิบัตจิ ริง 3) การสนับสนุน ชวยเหลือ แนะนําการแกปญ หาระหวางทําวิจัยอยาง ตอเนื่อง 4) การติดตามความกาวหนาของงานโดยมีผูทรงคุณวุฒิใหคําแนะนํา และแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกันในเครือขาย และ 5) การสังเคราะหผลงานเพื่อจัดทําเปนรายงานผลการวิจัยโดยมีผทู รงคุณวุฒิ วิพากยและใหขอเสนอแนะ ผลการวิจัย การที่ผูประสานงานและผูท รงคุณวุฒิไดใชกัลยาณมิตรและพรหมวิหาร 4 เปนหลักในการบริหาร โครงการวิจยั ยอยและการแนะนําทําใหนกั วิจัยเครือขายเกิดอิทธิบาท 4 ทํางานวิจยั ไดสําเร็จ ไดแผนภูมิการ บริหารโครงการวิจัยเครือขายมหาวิทยาลัยราชภัฏในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง และไดองค ความรู รวม 40 เรื่อง เปนดานวิทยาศาสตร 23 เรื่อง และดานภูมิปญ ญา 17 เรื่อง ไดบทเรียน 9 เรื่อง เปนของระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 เรื่อง และระดับอุดมศึกษา 4 เรื่อง ทําใหเกิดการพัฒนาการเรียน การสอนวิทยาศาสตรทองถิน่ มีการใชอิทธิบาท4 ทําใหนักเรียนเกิดจิตสํานึกที่ดตี อภูมิปญญาทองถิน่ ที่อยู ในบทเรียน นอกจากนั้นยังทําใหผูประสานงาน สามารถทําหนาที่บริหารงานไดสําเร็จ และเกิดเครือขาย นักวิจัยที่พรอมจะพัฒนาการศึกษารวมกันตอไป และพบวาการบริหารงานดวยคุณธรรม สามารถสราง ความสําเร็จและความสุขใหเกิดขึ้นในคณะทํางานได
À
อาจารยประจําคณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร, โทร.044-521393 , pimsurin@hotmail.com
3. ชุมชนศาสนาซิกขในสาธารณรัฐอินเดีย ศึกษาเฉพาะเมืองอมฤตสาร รัฐปญจาบÀ ผูเสนอ อาชวภูรชิ ญ นอมเนียนÀÀ วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาความเปนมาของศาสนาซิกข และจัดทําเอกสาร ตําราเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน และฐานขอมูลการคนควาวิจัยศาสนาซิกขในประเทศไทย ระเบียบวิธวี จิ ัย ประชากรที่ใชในการศึกษา และกลุมตัวอยาง ไดแก ซิกขศาสนิกชน จํานวน 20 ทาน ณ ชุมชนศาสนาซิกข เมืองอมฤตสาร รัฐปญจาบ สาธารณรัฐอินเดีย โดยวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การรวมปฏิบัติตนทีถ่ ูกตองใน พิธีกรรม การสัมภาษณ การสังเกต และการศึกษาเอกสาร ตํารา ผลการวิจัย ศาสนาซิกข เปนศาสนาเทวนิยมประเภทเอกเทวนิยม เชือ่ วา มีพระผูเ ปนเจาเพียงพระองคเดียว พระ นามวา “วาเฮคุรุ” พระองคเปนผูส มบูรณและแผไปทัว่ ในสรรพสิง่ ทรงเปนอมตภาวะ(ไมตาย) เปนผูสราง มูลเหตุทง้ั ปวง ไมไดทรงเปนพระผูเปนเจาของคณะหรือกลุมบุคคลใด แตทรงเปนความเมตตา คุณธรรม และ สัจธรรม นอกจากนี้มพี ระศาสดา 10 พระองค พระองคแรกคือ “คุรุนานัก” และพระองคสุดทายคือ “คุรุโควินท สิงห” คําวา คุรุ เปนภาษาปญจาบี แปลวา ครู หมายถึง ผูทาํ หนาที่สงั่ สอน อบรมใหบุคคลตัง้ อยูใ นคุณธรรม มีความซื่อสัตย ออนนอมถอมตน ยอมรับและเคารพในศาสนาของผูอ ื่น ผูรับการถายทอดเรียกวา ซิกข หรือ สิกขะ (ภาษาบาลี) แปลวา ผูศ ึกษาหาความรูแลวนําความรูไปปฏิบัติใหเกิดผลตอตนเองและสังคม ศาสนาซิกขแตกตางจากศาสนาอืน่ ภายนอก คือ การแตงกายนับตัง้ เสนผมและหนวดเคราที่ไวยาว ตลอดอายุ หามตัดแตตองดูแลรักษาใหสะอาดอยูเสมอ และตองมีศาสนสัญลักษณติดกายอยูตลอดเวลาตาม คําสั่งของพระศาสดาพระองคที่ 10 ภายใน คือ ความมุง มัน่ ที่จะชวยเหลือผูอนื่ มีความรักและเชือ่ ในพระเปน เจาตลอดเวลา ศาสนสถานทีศ่ ักดิ์สิทธิ์ของชาวซิกขทวั่ โลก ไดแก คุรุดวารา มีอยู 2 แหง คือ “อกาลตาคัท ซาฮิบ” และ “ฮัรมันดิร ซาฮิบ” หรือ “พระสุวรรณวิหาร” ซึ่งเปนสถานทีท่ พี่ ระศาสดาทรงเลือกและเปนที่ประดิษฐานพระมหา คัมภีรคุรุครันถ ซาฮิบ “วิถีแหงซิกขทแี่ ทจริง” คือ การปฏิบัติตามพระมหาคัมภีรอาทิครันถ ซาฮิบอยาง เครงครัด มีความเมตตา เห็นอกเห็นใจผูอนื่ ออนนอมถอมตน และคุณธรรมตางๆที่จะทําใหสังคมเกิดสันติสุข
À
ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัย จากวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม
ÀÀ
อาจารยประจําวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล,โทร. 08-5295-9518, callarchphphurich@yahoo.com