วิธีวิทยาการวิจัยและประเมิน และการพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม

Page 1

วิธวี ิทยาการวิจัยและประเมิน และการพัฒนาตัวบงชี้คุณธรรมจริยธรรม


23.ศักยภาพของโรงเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตอการพัฒนาหลักสูตรที่เนนปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือÀ ผูเสนอ บุญเลี้ยง ทุมทองÀÀ ผูวิจัยรวม ดร. ชวลิต ชูกําแพง และนางทิพาพร สุจารี วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาความพรอมทัง้ ภายใน และภายนอกโรงเรียนตอการพัฒนาหลักสูตรที่เนนปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อสรุปภาพรวม คนหาจุดเดนจุดดอยของโรงเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระเบียบวิธวี จิ ัย ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ขาราชการครู 1) การวิจยั เชิงปริมาณ ใชกลุมตัวอยางจํานวน 3,760 คน โดยการสุมอยางงาย ใชแบบสอบถาม เปนเครื่องมือ วิเคราะหขอมูลโดยหาคาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ 2) การวิจยั เชิงคุณภาพ ใชกลุมตัวอยางจํานวน 100 คน โดย การเลือกแบบเจาะจง ทําการสัมภาษณ และจัดเสวนา 2 ครั้ง และใชการวิเคราะหเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย สภาพความพรอมภายในของโรงเรียนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานตอการพัฒนาหลักสูตรที่เนน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพบวา ความพรอมดานบุคลากรและและดานความรวมมือภายในโรงเรียนอยูใน ระดับมาก สวนความพรอมดานการบริหารและดานวัสดุ อุปกรณ/อาคารสถานที่อยูในระดับปานกลาง ในขณะที่สภาพความพรอมภายนอกของโรงเรียนตอการพัฒนาหลักสูตรที่เนนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยู ในระดับปานกลาง จุดเดน 5 อันดับแรก ของภายใน และภายนอกโรงเรียน มีดังนี้ จุดเดนภายในโรงเรียน จุดเดนภายนอกโรงเรียน 1) สัมพันธภาพที่ดีตอผูปกครองและชุมชน 1)เอกสารหลักฐานที่โรงเรียนรวมประเพณี วัฒนธรรมในทองถิน่ 2) การจัดกิจกรรมที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2)การเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวน รวมในกิจกรรมของโรงเรียน 3)การจัดทําแผนจัดการเรียนรูที่เนนผูเ รียนเปนสําคัญ 3) การเปดรับการสนับสนุนจากหนวยงานอื่น 4)ความเขาใจบทบาทและหนาที่ของตนในการ 4)ความรวมมือในการจัดประชุมระหวางโรงเรียน จัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเ รียนเปนสําคัญ กับชุมชน 5)การจัดหนวยการเรียนรูสอดคลองกับคําอธิบาย 5)การประชาสัมพันธงานตางๆของโรงเรียน รายวิชา À

ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สํานักปลัดประทรวงศึกษาธิการ

ÀÀ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, โทร.08-1066-9345, boonleang2517@yahoo.com


24. การประเมินโครงการอบรมคุณธรรมและจริยธรรม นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร ผูเสนอ รศ.ดวงเดือน เทศวานิชÀ วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อประเมินหลักสูตรการอบรม การนําความรูไปใช เจตคติ และความคิดเห็นของนักศึกษา ระเบียบวิธวี จิ ัย ประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2549 รวม 8 รุน จํานวน 2,751 คน และปการศึกษา 2550 รวม 7 รุน จํานวน 2,709 คน ที่เขารับการอบรม เครื่องมือที่ใช ไดแก แบบสอบถาม ซึง่ แจกในวันสุดทายของการอบรมแตละรุน รุน ละ 4 วัน แลวนํามาหาคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2549 และ 2550 ไดเขารับการอบรมคุณธรรมและ จริยธรรม ประกอบดวยกิจกรรมบายศรีสูขวัญ ทัศนศึกษาพระบาทน้าํ พุ สวดมนต นั่งสมาธิ เดินจงกรม ฟงธรรม และการบรรยายใหความรูเกี่ยวกับยาเสพติด นักศึกษาทั้ง 2 ปการศึกษาเห็นวา เนื้อหาหลักสูตรนี้มีความ เหมาะสมอยูในระดับมากที่สดุ กระบวนการอบรม การดําเนินการอบรม และการนําความรูไปใชไดนั้นอยูใน ระดับมาก นอกจากนี้ยงั มีขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการอบรมเพิ่มเติม นักศึกษาที่เขารับการอบรมรอย ละ 19.82 เห็นวา ควรมีเวลาพักผอนมากกวานี้ รอยละ 13.68 เห็นวา กระบวนการอบรมนั้นดีอยูแลว และ รอยละ 10.65 อยากใหเพิ่มกิจกรรมอื่นๆใหมากกวานี้

อาจารยวิทยาลัยการฝกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โทร. 0-251-0151 ตอ 1132, duangdueen@yahoo.com

À


25. ความหมายและตัวชี้วดั สุขภาวะทางจิตวิญญาณ : กรณีศึกษาชุมชนบุญนิยมสันติอโศกÀ ผูเสนอ ผศ.ดร. ดวงใจ รัตนธัญญาÀÀ วัตถุประสงคการวิจัย เพื่ออธิบายความหมายของ “จิตวิญญาณ” “สุขภาวะทางจิตวิญญาณ” และตัวชีว้ ัดของ “สุขภาวะ ทางจิตวิญญาณ”ตามการรับรูของคนในชุมชนบุญนิยมสันติอโศก ระเบียบวิธวี จิ ัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เลือกพืน้ ที่อยางเจาะจงซึง่ จะทําใหสามารถใหคาํ ตอบที่ชัดเจนตอคําถามการ วิจัยได วิธีการเก็บขอมูล คือ การเขาไปอยูในชุมชนที่ศกึ ษา ทําการสังเกตอยางมีสว นรวมและการสัมภาษณ แบบเจาะลึก ใชการจดบันทึก มีการพิทกั ษสิทธิ์ของกลุม ตัวอยาง การวิเคราะหขอมูลใชวิธกี ารวิเคราะห เนื้อหา ผลการวิจัย “จิตวิญญาณ” หมายถึง จิตหรือใจ หรือมโน เปนองคประกอบของชีวิต ในฝาย “นาม” ซึง่ รวมถึง “วิญญาณ”อันเปนสวนหนึง่ ของจิต จิตวิญญาณเปนพลังงานที่ไมมรี ูป ไมมีขอบเขต เปนประธานในการ กําหนด “กรรม”ตางๆของคน เปนความรูส ึก นึกคิด เปนที่สะสมกรรม เปนที่อาศัยของกิเลส สามารถเรียนรู และพัฒนาได โดยการกําจัดกิเลสออกไป “สุขภาวะทางจิตวิญญาณ” เปนอาการหนึ่งของจิต เปนอารมณ เปนเวทนา สุขภาวะทางจิต วิญญาณแบงไดเปนความสุขแบบโลกียะและความสุขแบบโลกุตระ ตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณแบบโลกุตระ 10 ประการ ประกอบดวย 1) ศรัทธาและ พากเพียร ในการศึกษาและกําจัดกิเลสในตน 2) มีศีล มีธรรม 3) สงบเย็น สุภาพ มีปยวาจา 4) มีความประหยัด ประณีต และเรียบงาย 5) ขยัน มีสมรรถนะ รับผิดชอบในการทํางาน 6) มีเมตตา กรุณา เอื้อเฟอและใหอภัยผูอื่น 7) ราเริง เบิกบานแจมใส 8) มีจิตที่รับรู และแยกแยะกุศล หรืออกุศลไดอยางรวดเร็ว 9) มีจิตที่เปนอํานาจลด ละ กิเลสได เกิดปติ ภาคภูมิใจ 10) จิตตั้งมั่นไมหวัน่ ไหวตอกิเลส สรุปไดวา จิตวิญญาณเปนพลังงานชีวิตไรรูปที่มีในทุกคน เปนที่สะสมกรรม เปนความคิด ความ เชื่อ ความรู ความสามารถในการจําแนกกุศล อกุศล เปนประธานในการกําหนดกรรมตางๆทัง้ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมความสุขแบบโลกียะเปนความสุขทีแ่ ทผูที่มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณจะมีกรรมตางๆดัง ตัวชี้วัดเบื้องตน จะมากหรือนอยขึ้นกับศรัทธาและความเพียรในการศึกษาและปฏิบตั ิการลดละกิเลสในตน

À

ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวหนาภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, โทร. 02-4197466 – 80 ตอ 1902, headnspn@mahidol.ac.th ÀÀ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.