คุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ

Page 1

คุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ


5.การศึกษาพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครูตามความคิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ชัยนาท ผูเสนอ พิมพรรณ รัตนโกมลÀ วัตถุประสงคการวิจัย 1) ศึกษาพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู ตามความคิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท 2) ศึกษาความแตกตางของความคิดเห็นเกีย่ วกับพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครูของนักศึกษา โดยจําแนกตามหลักสูตร ระเบียบวิธวี จิ ัย เปนวิธีการศึกษาวิจยั เชิงสํารวจ ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ นักศึกษา 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต(ตอเนื่อง) ประจําปการศึกษา 2548 ทั้งหมด จํานวน 352 คน ใชแบบสอบถาม เปนเครื่องมือ มีขอคําถามจากแบบประเมินตนเองตามแบบแผน พฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 ตามระเบียบคุรุสภา รวม 9 ขอ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน พฤติกรรม แบงเปน 5 ระดับ (เห็นดวยมากที่สุด-นอยที่สดุ ) ใชสถิติหาคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พฤติกรรมตามจรรยาบรรณครูตามความคิดเห็นของนักศึกษาฯ จรรยาบรรณครู 9 ประการ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากทุกขอ ในที่นี้พฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู 1. รักและเมตตาศิษย ขอที่ 5 เรื่อง “ครูตองไมแสวงหาผลประโยชนอันเปนอามิสสินจาง 2. การอบรมสั่งสอนศิษย จากศิษยในการปฏิบัติหนาที่ตามปกติและไมใชศิษยกระทําการ 3. เปนแบบอยางที่ดี ใดๆอันเปนการหาประโยชนใหแกตนเองโดยมิชอบ”มีคาเฉลี่ย 4. ไมประพฤติตนเปนปฏิปกษ สูงที่สุด ในขณะที่พฤติกรรมตามจรรยาบรรณครูขอที่ 1 เรื่อง “ครูตอง 5. ไมแสวงหาผลประโยชน รักและเมตตาศิษย โดยใหความเอาใจใสชว ยเหลือสงเสริมใหกาํ ลังใจ 6. พัฒนาตนเอง ในการศึกษาแกศษิ ยโดยเสมอหนา”มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด 7. รักและศรัทธาในวิชาชีพ เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาระหวางหลักสูตร 8. เกื้อกูลครูและชุมชน ปกติกับหลักสูตรตอเนื่อง พบวา พฤติกรรมตามจรรยาบรรณครูตาม ั นธรรมไทย 9. อนุรักษวฒ ความคิดเห็นของนักศึกษาทัง้ 2หลักสูตรนี้ มีคาเฉลี่ยระดับมากทุกขอ ซึ่งมีความคิดเห็นสอดคลองกัน โดยพฤติกรรมที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดไดแก ขอที่ 5 “ครูตองไมแสวงหา ผลประโยชนฯ” ในขณะทีพ่ ฤติกรรมในขอ 1“ครูตอ งรักและเมตตาศิษยฯ” มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุดเชนเดียวกัน

รองผูอาํ นวยการฝายวิชาการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท, โทร. 08-9817-9319, pimpun217@hotmail.com

À


6. พฤติกรรมทางจริยธรรมของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามทัศนะของครูในอําเภอบาเจาะ สังกัดสํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานราธิวาส เขต 1 ผูเสนอ มูฮัมหมัดฮัสสัน อาสลัม อัลอิคลาสÀ ผูวิจัยรวม รศ.ดร.ชิดชนก เชิงเชาว และ ผศ. ดร.สุวทิ ย บุญชวย วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมทางจริยธรรมของผูบริหารในดานการปฏิบัติตน ดานการ ปฏิบัติงาน และดานการปฏิบัติตอผูอื่น ตามทัศนะของครูที่มีอายุและประสบการณตางกัน ระเบียบวิธวี จิ ัย กลุมตัวอยาง คือ ครูผูสอนโรงเรียนประถมศึกษาในอําเภอบาเจาะ จํานวน 179 คน เครื่องมือทีใ่ ช เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมทางจริยธรรมของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาแบงออกเปน 2 ตอน คือ เรื่องสถานภาพ และเรือ่ งพฤติกรรมทางจริยธรรมตามทัศนะของครู โดยมีคาความเชื่อมัน่ เทากับ 0.945 วิเคราะหขอมูลดวยคารอยละ คาเฉลีย่ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช F-test ผลการวิจัย ตามทัศนะของครูโรงเรียนประถมศึกษาในอําเภอบาเจาะ ผูบ ริหารโรงเรียนมีพฤติกรรมทาง จริยธรรมดังนี้ พฤติกรรมทางจริยธรรม พฤติกรรมที่ปฏิบัติ บอยกวาเรื่องอื่นๆ ของผูบริหารโรงเรียน ดานการปฏิบัติงาน มีความซื่อสัตยสุจริตในการทํางาน ดานการปฏิบัติตน แตงกายสุภาพ เรียบรอย เหมาะสม ดานการปฏิบัติตอผูอื่น วางตนเหมาะสม ไมถือตัว ไมถือยศศักดิ์

พฤติกรรมที่ปฏิบัติ นอยกวาเรื่องอื่นๆ ไมใชเวลาราชการเพื่องานสวนตน ไมเปนหนี้เปนสินลนพนตัว มีความยุติธรรม ไมลําเอียง

เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมทางจริยธรรมของผูบริหารโรงเรียนในแตละดานพบวา ดานการ ปฏิบัติงานมีความถี่ในการปฏิบัติสูงสุด สําหรับทัศนะของครูที่มีชวงประสบการณตางกัน พบวา พฤติกรรม ทางจริยธรรมของผูบริหารไมตางกัน สวนทัศนะของครูที่มีชวงอายุตางกัน พบวา พฤติกรรมทางจริยธรรม ดานการปฏิบัติตนนั้น ครูทมี่ อี ายุต่ํากวา 30 ป มีทัศนะสูงกวาครูที่มีอายุระหวาง 30-40 ป ในขณะที่ครูที่มี อายุ 30-40 ป มีทัศนะต่าํ กวาครูที่มีอายุระหวาง 41 ปขึ้นไป สวนดานการปฏิบัติงาน และดานการปฏิบัติตอ ผูอื่นนัน้ ไมแตกตางกัน ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05

À

อาจารยโรงเรียนบานบือแนปแย ต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส, sunpsu@yahoo.com


7. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยสําหรับนักศึกษาครูในการสอนรายวิชา การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน ผูเสนอ ผศ.ดร.เกศริน มนูญผลÀ วัตถุประสงคการวิจัย 1) เพื่อศึกษาสภาพปญหาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยของนักศึกษาครู 2) เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยของนักศึกษาครู ระเบียบวิธวี จิ ัย เปนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยใชเทคนิค AIC การจัดการความรู และการประเมิน แบบเสริมพลัง ผลการวิจัย การทําวิจยั ของนักศึกษาครูที่ปรากฏอยูในปจจุบนั มีการลอกงานวิจยั ตอกันมา ขาดความคิดใน การทําวิจยั อยางสรางสรรค ขาดการแสวงหาขอคนพบที่แทจริง สะทอนความออนดอยทางคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยอยางชัดเจน นักศึกษาสวนใหญทําวิจัยดวยความกลัว กังวล มีเจตคติไม ดีตอการทําวิจยั การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยของนักศึกษาครู โดยใชโครงงานเปนฐาน เปนการจัดการเรียนรูการทําวิจัยใหมีความยืดหยุน และมุง เติมเต็มศักยภาพรายบุคคล นักศึกษาสามารถทํา โครงงานและนําองคความรูท ี่ไดจากโครงงานมาตอยอดเปนงานวิจัย โดยออกแบบหนวยการเรียนรูที่เปน นวัตกรรมการสอนของตน ไดเรียนรูจากประสบการณจริง สามารถทําวิจัยอยางมีความสุขและนําผลวิจัย มาใชประโยชนเพื่อพัฒนาการเรียนรูอยางเหมาะสม สงผลใหนักศึกษามีความมัน่ ใจในการนําเสนอผลงาน ดวยวาจาและเอกสาร สะทอนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยไดเดนชัด กลาวคือ ใชหลักเหตุผลประกอบการคิด ตัดสินใจ เขาใจและเขาถึงความสําคัญของการวิจยั ทุกขัน้ ตอน มีสติในการ คิด วิเคราะห และหาองคความรูใหมเพื่อพัฒนางานวิจัยของตนใหมีเอกลักษณ มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล มีความซื่อสัตยตอตนเองไมลอกเลียนงานวิจัย มีความรับผิดชอบ ไมละทิ้งงานวิจัยระหวาง ดําเนินการ อดทน อดกลั้น ทุมเทแรงกายแรงใจ และเวลาใหกับการทําวิจัยอยางเต็มที่และเต็ม ความสามารถ มีความกระตือรือรนเพื่อใหงานวิจยั เสร็จทันตามกําหนด มีอิสระทางความคิดในการทําวิจัย ไมมีการบิดเบือนขอมูล ไมใชอคติในการทําวิจัยอันกอใหเกิดผลเสียหายตองานวิจยั ของตน

อาจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช,โทร. 08-9909-8990, M_Kesarin@hotmail.com

À


8.การใชกระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนสรางสุขภาพชุมชนแบบพอเพียงในการสราง จิตวิญญาณธรรมศาสตรและจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล ผูเสนอ ผศ.จุลจราพร สินศิรÀ ิ ผูวิจัยรวม พานทิพย แสงประเสริฐ, เอกอุมา วิเชียรทอง, วิภาดา แสงนิมิตชัยกุล และคณะ วัตถุประสงคการวิจัย 1) เพื่อศึกษาการสรางเสริมสุขภาพชุมชนแบบพอเพียงตอการสรางจิตวิญญาณธรรมศาสตร และ จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล 2) เพื่อศึกษาการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการสรางเสริมสุขภาพ ระเบียบวิธวี จิ ัย เปนการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารอยางมีสว นรวม กลุม ตัวอยาง คือ นักศึกษาชัน้ ปที่ 4 ในรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน จํานวน 80 คน ใชวิธกี ารดําเนินการสรางเสริมสุขภาพชุมชน ตาม กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน 5 ขั้นตอน คือ 1) การประเมินสุขภาพชุมชน 2) การวินิจฉัยปญหา 3) จัดทําแผนการสรางเสริมสุขภาพ 4) จัดโครงการและเยีย่ มบาน และ 5) ประเมินผล จากนัน้ จัดการประชุม และอภิปรายกลุมเพื่อสรุปผล และทําการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย นักศึกษาพยาบาลเห็นวา การปฏิบัติการตามขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลชุมชนนัน้ เปนการสราง เสริมสุขภาพชุมชนแบบพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได ดังนี้ ความมี เหตุผล

การสงเสริมใหผูรับบริการมีความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญในการสรางเสริมสุขภาพ พยาบาลมี การประเมินสุขภาพชุมชนกอนลงทํากิจกรรมทีส่ อดคลองกับความตองการของผูรับบริการและชุมชน

พอมี พอกิน

การดูแลสุขภาพไมจําเปนตองใช หรือสรรหา วัสดุอุปกรณ ทีม่ ีราคาแพง สามารถประยุกตใชวัสดุ อุปกรณที่มีในทองถิน่ ได ทําใหผูรับบริการไมตองดิ้นรนเดือดรอน

มีภูมิคุม กันที่ดี

การเตรียมตัวใหพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพ โดยการดูแลสุขภาพใหแข็งแรง “สราง นํา ซอม”

จิตวิญญาณธรรมศาสตร “การรักประชาชน และสิทธิเสรีภาพ” มีความสอดคลองกับ จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล และสามารถนําไปใชในการปฏิบัติการพยาบาลได ดวยการพยาบาลโดย คํานึงถึงสิทธิผปู วย ปฏิบัติอยางสอดคลองกับการดําเนินชีวิต และวัฒนธรรมทองถิน่ การพิทักษสิทธิของ ผูรับบริการโดยการใหขอมูลที่จําเปนในการตัดสินใจ และการรักษาพยาบาลดวยความรักประชาชน ทําใหดีที่สดุ นักศึกษาพยาบาลสามารถเขาใจจิตวิญญาณธรรมศาสตรไดจากการปฏิบัติตามบทบาทจรรยาบรรณวิชาชีพ อาจารยประจํากลุม วิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรงั สิต, โทร.02- 9869213 ตอ 7338, chunejs@tu.ac.th

À


9. ผลของการฝกสมาธิที่มผี ลตอประสิทธิภาพการทํางาน กรณีศกึ ษา ผูเขาอบรมหลักสูตรครูสมาธิ ณ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 6 วัดบางโฉลงใน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ผูเสนอ พระรังสรรค ลีเบี้ยว และวิรัตน ทองรอดÀ วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการฝกสมาธิทมี่ ีผลตอประสิทธิภาพการทํางาน ระเบียบวิธวี จิ ัย ศึกษาจากผูเขาอบรมสมาธิ ณ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขา 6 วัดบางโฉลงใน จํานวน 65 คน ระยะเวลาอบรม 6 เดือน ระหวางวันที่ 5 สิงหาคม 2550 - 27 มกราคม 2551 เก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม ในชวงทายของการอบรม มีผูตอบแบบสอบถามที่สมบูรณ 46 คน และนํามาวิเคราะหดวยโปรแกรมการ วิเคราะหทางสถิติ ทดสอบสมมติฐานดวย McNemar test ผลการวิจัย ผูเขาอบรมสมาธิสวนใหญเปนเพศหญิง อายุเฉลี่ย 40.91±10.31 ป สถานภาพโสด มีการศึกษา ปริญญาตรี และมีรายไดตอเดือนต่ํากวา 10,000 บาท ผูเขาอบรมมีความสนใจในการฝกสมาธิกอนมา อบรมรอยละ 89.1 ดวยวิธนี งั่ สมาธิและฝกดวยตนเอง ระยะเวลาในการฝกเฉลี่ย 39.38±22.94 นาทีตอครั้ง ฝกกอนเขานอน ผลของการฝกสมาธิทมี่ ีตอประสิทธิภาพการทํางานในภาพรวมกอนและหลังการฝกนั้น ใหผลอยูในระดับสูง ดังนี้ ผลภาพรวมของการฝกสมาธิที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางาน กอนการฝกสมาธิ หลังการฝกสมาธิ 1) ดานการควบคุมอารมณในระหวางการทํางาน 2) ดานจิตใจตอการทํางาน 3) ดานการแสดงออกพฤติกรรมในที่ทาํ งาน 4) ดานประสิทธิภาพการทํางาน

รอยละ 10.9 รอยละ 41.3 รอยละ 41.3 รอยละ 41.3

รอยละ 87.0 รอยละ 91.3 รอยละ 93.5 รอยละ 84.8

ผลทั้ง 4 ดานกอนและหลังการฝกสมาธิมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p-value < 0.05) โดย ภาพรวมหลังการฝกสมาธิทาํ ใหผูเขาอบรมมีประสิทธิภาพการทํางานเพิ่มขึ้นเฉลีย่ จากทัง้ 4 ดาน รอยละ 55.45 สรุปไดวา การฝกสมาธิมีประโยชนอยางยิง่ ตอการทํางานและการทํากิจกรรมตางๆในแตละวันทั้ง ระดับบุคคลและองคกร ทําใหเกิดประสิทธิภาพการทํางานเพิ่มขึน้ เปนเครื่องมือหนึง่ ที่ผบู ริหารสามารถนําไป ประยุกตใชในการบริหารและการจัดการในดานทรัพยากรมนุษยในองคกรใหมีประสิทธิภาพในการทํางานมาก ขึ้น พรอมทั้งชวยสงเสริมยกระดับคุณธรรมและจริยธรรมของสังคมไทยอีกทางหนึง่ ดวย

À

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.