มุตโตทัยและปฏิปัตติปุจฉาวิสัชนา(ไฟล์เล็ก)

Page 1

1


คำนำ ในการจัดพิมพ มุตโตทัย และ ปฏิปตติปุจฉาวิสัชนา ครั้งนี้ มีจุด ประสงคเพื่อรวบรวมคำสอนของพอแมครูบาอาจารยหลวงปูมั่น ภูริทัต ตเถระ เขาไวดวยกัน O สำหรับมุตโตทัยนั้น ประกอบดวยเนื้อหาสองชุด ดังคำนำบาง สวนของหนังสือซึ่งพิมพแจกในงานฌาปนกิจศพพอแมครูบาอาจารย หลวงปูมั่น เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓ วา O “การที่ใหชื่อธรรมเทศนา ของทานอาจารยที่รวบรวมพิมพชุด แรกวา มุตโตทัย นั้น อาศัยคำชมของเจาพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจาร ย (สิริจันทเถระ จันทร) เมื่อคราวทานอาจารยแสดงธรรมวาดวยมูล กรรมฐาน ณ วิหารหลวงเชียงใหมวา ทานอาจารยแสดงธรรมดวยมุต โตทัย เปนมุตโตทัย O คำนี้ทานอาจารยนำมาเปนปญหาถามในที่ประชุมพระภิกษุ เปรียญหลายรูป ซึ่งมีขาพเจารวมอยูดวย O ในคราวที่ทานมาพักกับขาพเจาที่วัดปาสุทธาวาส จังหวัด สกลนคร ขาพเจาทราบความหมายของคำนั้นแลว O แตเห็นวาเปนอสาธารณนัย จึงกลาวแกทางใจ ทันใดนั้นทานก็ พูดขึ้นวาขาพเจาแกถูก O ซึ่งทำความประหลาดใจใหแกภิกษุทั้งหลายมิใชนอย ตางก็มารุม ถามขาพเจาวา ความหมายวาอยางไร? O ขาพเจาบอกใหทราบแกบางองคเฉพาะที่นาไวใจ 2


O คำวา มุตโตทัย มีความหมายเปนอสาธารณนัยก็จริง แตอาจเปน ความหมายมาเปนสาธารณนัยก็ได O จึงไดนำมาใชเปนชื่อธรรมเทศนาของทานอาจารย โดยมุงใหมี ความหมายวาเปนธรรมเทศนาชี้บอกแนวทางปฏิบัติใหบังเกิดความหลุด พนจากกิเลสอาสวะ ซึ่งถาจะแปลสั้น ๆ ก็วา แดนเกิดแหงความหลุดพน นั่นเอง O ธรรมเทศนาชุดแรกนี้ พระภิกษุวิริยังคกับพระภิกษุทองคำ เปนผู บันทึกในสมัยทานอาจารยอยูจำพรรษา ณ เสนาสนะปาบานโคกนามน ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร และตอนแรกไปอยู เสนาสนะปาบานหนองผือ ตำบลใน อำเภอพรรณานิคม จังหวัด สกลนคร ขาพเจารับเอาบันทึกนั้นพรอมกับขออนุญาตทานอาจารย พิมพเผยแผ ทานก็อนุญาตและสั่งใหขาพเจาเรียบเรียงเสียใหมให เรียบรอย ตัดสวนที่ไมควรเผยแผออกเสียบาง O ขาพเจาก็ไดปฏิบัติตามนั้นทุกประการ ถึงอยางนั้นก็ยังมีที่ กระเทือนใจผูอานอยูบาง O จึงขอชี้แจงไวในที่นี้ คือ ขอที่วา พระสัทธรรมเมื่อเขาไป ประดิษฐานในสันดานของปุถุชนแลว ยอมกลายเปนของปลอมไปนั้น หมายความวาไปปนเขากับอัธยาศัยอันไมบริสุทธิ์เมื่อแสดงออกแกผูอื่น ก็มักมีอัธยาศัยอันไมบริสุทธิ์ ปนออกมาดวย เพื่อรักษาพระสัทธรรมให บริสุทธิ์สะอาดคงความหมายเดิมอยูได ควรมีการปฏิบัติกำจัดของปลอม คือ อุปกิเลสอันแทรกซึมอยูในอัธยาศัยนั้นใหหมดไป O ซึ่งเปนความมุงหมายของทานผูแสดงที่จะชักจูงจิตใจของผูฟงให 3


นิยมในสัมมาปฏิบัติยิ่ง ๆ ขึ้นไป ถาผูฟงมีใจสะอาด และเปนธรรมแลว ยอมจะใหสาธุการแกทานผูแสดงแนแท O ธรรมเทศนาของทานอาจารยที่ พระภิกษุทองคำ ญาโณภาโส กับ พระภิกษุวัน อุตฺตโม จดบันทึกไวในปจฉิมสมัย คือระหวาง พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ กอนหนามรณสมัยเพียงเล็กนอยนั้น ไดรวบรวมนำมา เรียบเรียงเขาหมวดหมู เชนเดียวกับครั้งกอน O ธรรมเทศนาของทานอาจารย ทั้ง ๒ ชุดนี้ หากจะพิมพเผยแผตอ ไป ก็ควรพิมพรวมกันในนามวา มุตโตทัย O และควรบอกเหตุผลและผูทำดังที่ขาพเจาชี้แจงไวนี้ดวย จะไดตัด ปญหาในเรื่องชื่อ และที่มาของธรรมเทศนาดวย O พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสฺโส) O เสนาสนะปาเขาสวนกวาง จ.ขอนแกน O ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓” O O ในสวนของ ปฏิปตติปุจฉาวิสัชนา นั้น ไมปรากฏวาทานใด เปนผูบันทึก แตตามเนื้อความเดิมกลาววา “ตามหลักฐานที่บันทึกไวใน หนังสือฉบับเดิมวา พระเดชพระคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) วัด โพธิสมภรณ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เปนผูปุจฉาทานพระอาจารย มั่น ภูริทัตโต เปนผูวิสัชนา” O ทั้งนี้ เนื้อความ และการสะกดคำตาง ๆ ไดพยายามคงตามรูป แบบเดิมไวทั้งหมด หากมีสวนใดผิดพลาด ขอทานผูอานโปรดอภัยและ ชี้แจงขอผิดพลาดนั้นดวยจะดียิ่ง เพื่อจะไดปรับปรุงแกไขตอไป 4


O ทายสุดนี้ คณะผูจัดทำมิไดหวังสิ่งใดยิ่งไปกวาการเผยแผพระ ธรรมคำสั่งสอนของพอแมครูบาอาจารยผูซึ่งเปนสาวกของพระผูมีพระ ภาคเจาใหกวางขวางออกไป O ขออนุโมทนาในกุศลที่ทานทั้งหลายจะไดศึกษาธรรมอันบริสุทธิ์ ตอไปนี้ดวยความยินดียิ่ง ธัชชัย ธัญญาวัลย แพรวา มั่นพลศรี artyhouse@gmail.com ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๕

5


มุตโตทัย บันทึกโดยพระอาจารยวิริยังค สิรินฺธโร ณ วัดปาบานนามน กิ่ง อ. โคก ศรีสุพรรณ จ.สกลนคร พ.ศ. ๒๔๘๖ ๑. การปฏิบัติ เปนเครื่องยังพระสัทธรรมใหบริสุทธิ์ O สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงวาธรรมของพระตถาคต เมื่อเขาไปประดิษฐานในสันดานของปุถุชนแลว ยอมกลายเปนของ ปลอม (สัทธรรมปฏิรูป) แตถาเขาไปประดิษฐานในจิตสันดานของพระ อริยเจาแลวไซร ยอมเปนของบริสุทธิ์แทจริง และเปนของไมลบเลือน ดวย เพราะฉะนั้นเมื่อยังเพียรแตเรียนพระปริยัติถายเดียว จึงยังใชการ ไมไดดี ตอเมื่อมาฝกหัดปฏิบัติจิตใจกำจัดเหลา กะปอมกา คือ อุปกิเลส แลวนั่นแหละ จึงจะยังประโยชนใหสำเร็จเต็มที่ และทำใหพระสัทธรรม บริสุทธิ์ ไมวิปลาสคลาดเคลื่อนจากหลักเดิมดวย ๒. การฝกตนดีแลวจึงฝกผูอื่น ชื่อวาทำตามพระพุทธเจา O ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควา O สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ทรงทรมานฝกหัด พระองคจนไดตรัสรูพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เปน พุทฺโธ ผูรูกอน แลวจึงเปน ภควา ผูทรงจำแนกแจกธรรมสั่งสอนเวไนยสัตว สตฺถา จึง เปนครูของเทวดาและมนุษย เปนผูฝกบุรุษผูมีอุปนิสัยบารมีควรแกการ ทรมานในภายหลัง จึงทรงพระคุณปรากฏวา กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท 6


อพฺภุคฺคโต ชื่อเสียงเกียรติศัพทอันดีงามของพระองคยอมฟุงเฟองไปใน จตุรทิศจนตราบเทาทุกวันนี้ แมพระอริยสงฆสาวกเจาทั้งหลายที่ลวงลับ ไปแลวก็เชนเดียวกัน ปรากฏวาทานฝกฝนทรมานตนไดดีแลว จึงชวย พระบรมศาสดาจำแนกแจกธรรม สั่งสอนประชุมชนในภายหลัง ทานจึง มีเกียรติคุณปรากฏเชนเดียวกับพระผูมีพระภาคเจา ถาบุคคลใดไม ทรมานตนใหดีกอนแลว และทำการจำแนกแจกธรรมสั่งสอนไซร ก็จัก เปนผูมีโทษ ปรากฏวา ปาปโกสทฺโท คือเปนผูมีชื่อเสียงชั่วฟุงไปในจตุร ทิศ เพราะโทษที่ไมทำตามพระสัมมาสัมพุทธเจา และพระอริยสงฆสาวก เจาในกอนทั้งหลาย ๓. มูลมรดกอันเปนตนทุนทำการฝกฝนตน เหตุใดหนอ ปราชญทั้งหลาย จะสวดก็ดี จะรับศีลก็ดี หรือจะทำการกุศล ใดๆ ก็ดี จึงตองตั้ง นโม กอน จะทิ้ง นโม ไมไดเลย เมื่อเปนเชนนี้ นโม ก็ ตองเปนสิ่งสำคัญ จึงยกขึ้นพิจารณา ไดความวา น คือธาตุน้ำ โม คือ ธาตุดิน พรอมกับบาทพระคาถา ปรากฏขึ้นมาวา มาตาเปติกสมุภโว โอ ทนกุมฺมาสปจฺจโย สัมภวธาตุของมารดาบิดาผสมกัน จึงเปนตัวตนขึ้นมา ได น เปนธาตุของ มารดา โม เปนธาตุของ บิดา ฉะนั้นเมื่อธาตุทั้ง ๒ ผสมกันเขาไป ไฟธาตุของมารดาเคี่ยวเขาจนไดนามวา กลละ คือ น้ำมัน หยดเดียว ณ ที่นี้เอง ปฏิสนธิวิญญาณเขาถือปฏิสนธิได จิตจึงไดถือ ปฏิสนธิในธาตุ นโม นั้น เมื่อจิตเขาไปอาศัยแลว กลละ ก็คอยเจริญขึ้น เปน อัมพุชะ คือเปนกอนเลือด เจริญจากกอนเลือดมาเปน ฆนะ คือเปน แทง และ เปสี คือชิ้นเนื้อ แลวขยายตัวออกคลายรูปจิ้งเหลน จึงเปน ปญจสาขา คือ แขน ๒ ขา ๒ หัว ๑ สวนธาตุ พ คือลม ธ คือไฟ นั้นเปน 7


ธาตุเขามาอาศัยภายหลังเพราะจิตไมถือ เมื่อละจากกลละนั้นแลว กลละ ก็ตองทิ้งเปลาหรือสูญเปลา ลมและไฟก็ไมมี คนตาย ลมและไฟก็ดับหาย สาปสูญไป จึงวาเปนธาตุอาศัย ขอสำคัญจึงอยูที่ธาตุทั้ง ๒ คือ นโม เปน เดิม O ในกาลตอมาเมื่อคลอดออกมาแลวก็ตองอาศัย น มารดา โม บิดา เปนผูทะนุถนอมกลอมเกลี้ยงเลี้ยงมาดวยการใหขาวสุกและขนมกุม มาส เปนตน ตลอดจนการแนะนำสั่งสอนความดีทุกอยาง ทานจึงเรียก มารดาบิดาวา บุพพาจารย เปนผูสอนกอนใครๆ ทั้งสิ้น มารดาบิดาเปน ผูมีเมตตาจิตตอบุตรธิดาจะนับจะประมาณมิได มรดกที่ทำใหกลาวคือรูป กายนี้แล เปนมรดกดั้งเดิมทรัพยสินเงินทองอันเปนของภายนอกก็เปนไป จากรูปกายนี้เอง ถารูปกายนี้ไมมีแลวก็ทำอะไรไมได ชื่อวาไมมีอะไรเลย เพราะเหตุนั้นตัวของเราทั้งตัวนี้เปน "มูลมรดก" ของมารดาบิดาทั้งสิ้น จึงวาคุณทานจะนับจะประมาณมิไดเลย ปราชญทั้งหลายจึงหาไดละทิ้ง ไม เราตองเอาตัวเราคือ นโม ตั้งขึ้นกอนแลวจึงทำกิริยานอมไหวลงภาย หลัง นโม ทานแปลวานอบนอมนั้นเปนการแปลเพียงกิริยา หาไดแปล ตนกิริยาไม มูลมรดกนี้แลเปนตนทุน ทำการฝกหัดปฏิบัติตนไมตองเปน คนจนทรัพยสำหรับทำทุนปฏิบัติ ๔. มูลฐานสำหรับทำการปฏิบัติ O นโม นี้ เมื่อกลาวเพียง ๒ ธาตุเทานั้น ยังไมสมประกอบหรือยังไม เต็มสวน ตองพลิกสระพยัญชนะดังนี้ คือ เอาสระอะจากตัว น มาใสตัว ม เอาสระ โอ จากตัว ม มาใสตัว น แลวกลับตัว มะ มาไวหนาตัว โน เปน มโน แปลวาใจ เมื่อเปนเชนนี้จึงไดทั้งกายทั้งใจเต็มตามสวน สมควร 8


แกการใชเปนมูลฐานแหงการปฏิบัติได มโน คือใจนี้เปนดั้งเดิม เปนมหา ฐานใหญ จะทำจะพูดอะไรก็ยอมเปนไปจากใจนี้ทั้งหมด ไดในพระพุทธ พจนวา มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา ธรรมทั้งหลายมี ใจถึงกอน มีใจเปนใหญ สำเร็จแลวดวยใจ พระบรมศาสดาจะทรง บัญญัติพระธรรมวินัย ก็ทรงบัญญัติออกไปจาก ใจ คือมหาฐาน นี้ทั้งสิ้น เหตุนี้เมื่อพระสาวกผูไดมาพิจารณาตามจนถึงรูจัก มโน แจมแจงแลว มโน ก็สุดบัญญัติ คือพนจากบัญญัติทั้งสิ้น สมมติทั้งหลายในโลกนี้ตอง ออกไปจากมโนทั้งสิ้น ของใครก็กอนของใคร ตางคนตางถือเอากอนอัน นี้ ถือเอาเปนสมมติบัญญัติตามกระแสแหงน้ำโอฆะจนเปนอวิชชาตัวกอ ภพกอชาติดวยการไมรูเทา ดวยการหลง หลงถือวาเปนตัวเรา เปนของ เราไปหมด ๕. มูลเหตุแหงสิ่งทั้งหลายในสากลโลกธาตุ O พระอภิธรรม ๗ คัมภีร เวนมหาปฏฐาน มีนัยประมาณเทานั้นเทา นี้ สวนคัมภีรมหาปฏฐาน มีนัยหาประมาณมิไดเปน "อนันตนัย" เปน วิสัยของพระสัมมาสัมพุทธเจาเทานั้นที่จะรอบรูได เมื่อพิจารณาพระ บาลีที่วา เหตุปจฺจโย นั้นไดความวา เหตุซึ่งเปนปจจัยดั้งเดิมของสิ่งทั้ง หลายในสากลโลกธาตุนั้นไดแก มโน นั่นเอง มโน เปนตัวมหาเหตุเปนตัว เดิม เปนสิ่งสำคัญ นอนนั้นเปนแตอาการเทานั้น อารมฺมณ จนถึงอวิคฺคต จะเปนปจจัยไดก็เพราะมหาเหตุคือใจเปนเดิมโดยแท ฉะนั้น มโนซึ่ง กลาวไวในขอ ๔ ก็ดี ฐีติ ภูตํ ซึ่งจะกลาวในขอ ๖ ก็ดี และมหาธาตุซึ่ง กลาวในขอนี้ก็ดี ยอมมีเนื้อความเปนอันเดียวกัน พระบรมศาสดาจะทรง บัญญัติพระธรรมวินัยก็ดี รูอะไรๆ ไดดวย ทศพลญาณ ก็ดี รอบรู สรรพ 9


เญยฺยธรรม ทั้งปวงก็ดี ก็เพราะมีมหาเหตุนั้นเปนดั้งเดิมทีเดียว จึงทรง รอบรูไดเปนอนันตนัย แมสาวทั้งหลายก็มีมหาเหตุนี้แลเปนเดิม จึง สามารถรูตามคำสอนของพระองคไดดวยเหตุนี้แลพระอัสสชิเถระผูเปนที่ ๕ ของพระปญจวัคคียจึงแสดงธรรมแก อุปติสฺส (พระสารีบุตร) วา เย ธมฺมา เหตุปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหา สมโณ ความวา ธรรมทั้งหลายเกิดแตเหตุ...เพราะวามหาเหตุนี้เปนตัว สำคัญ เปนตัวเดิม เมื่อทานพระอัสสชิเถระกลาวถึงที่นี้ (คือมหาเหตุ) ทานพระสารีบุตรจะไมหยั่งจิตลงถึงกระแสธรรมอยางไรเลา? เพราะ อะไร ทุกสิ่งในโลกก็ตองเปนไปแตมหาเหตุถึงโลกุตตรธรรม ก็คือมหาเหตุ ฉะนั้น มหาปฏฐาน ทานจึงวาเปน อนันตนัย ผูมาปฏิบัติใจคือตัวมหา เหตุจนแจมกระจางสวางโรแลวยอมสามารถรูอะไรๆ ทั้งภายในและ ภายนอกทุกสิ่งทุกประการ สุดจะนับจะประมาณไดดวยประการฉะนี้ ๖. มูลการของสังสารวัฏฏ O ฐีติภูตํ อวิชฺชา ปจฺจยา สงฺขารา อุปาทานํ ภโว ชาติ O คนเราทุกรูปนามที่ไดกำเนิดเกิดมาเปนมนุษยลวนแลวแตมีที่เกิด ทั้งสิ้น กลาวคือมีบิดามารดาเปนแดนเกิด ก็แลเหตุใดทานจึงบัญญัติปจจ ยาการแตเพียงวา อวิชฺชา ปจฺจยา ฯลฯ เทานั้น อวิชชา เกิดมาจากอะ ไรฯ ทานหาไดบัญญัติไวไม พวกเราก็ยังมีบิดามารดาอวิชชาก็ตองมีพอ แมเหมือนกัน ไดความตามบาทพระคาถาเบื้องตนวา ฐีติภูตํ นั่นเองเปน พอแมของอวิชชา ฐีติภูตํ ไดแก จิตดั้งเดิม เมื่อฐีติภูตํ ประกอบไปดวย ความหลง จึงมีเครื่องตอ กลาวคือ อาการของอวิชชาเกิดขึ้น เมื่อมี อวิชชาแลวจึงเปนปจจัยใหปรุงแตงเปนสังขารพรอมกับความเขาไป 10


ยึดถือ จึงเปนภพชาติคือตองเกิดกอตอกันไป ทานเรียก ปจจยาการ เพราะเปนอาการสืบตอกัน วิชชาและอวิชชาก็ตองมาจากฐีติภูตํเชน เดียวกัน เพราะเมื่อฐีติภูตํกอปรดวยวิชชาจึงรูเทาอาการทั้งหลายตาม ความเปนจริง นี่พิจารณาดวยวุฏฐานคามินี วิปสสนา รวมใจความวา ฐีติ ภูตํ เปนตัวการดั้งเดิมของสังสารวัฏฏ (การเวียนวายตายเกิด) ทานจึง เรียกชื่อวา "มูลตันไตร" (หมายถึงไตรลักษณ) เพราะฉะนั้นเมื่อจะตัด สังสารวัฏฏใหขาดสูญ จึงตองอบรมบมตัวการดั้งเดิมใหมีวิชชารูเทาทัน อาการทั้งหลายตามความเปนจริง ก็จะหายหลงแลวไมกออาการทั้ง หลายใดๆ อีก ฐีติภูตํ อันเปนมูลการก็หยุดหมุน หมดการเวียนวายตาย เกิดในสังสารวัฏฏดวยประการฉะนี้ ๗. อรรคฐาน เปนที่ตั้งแหงมรรคนิพพาน O อคฺคํ ฐานํ มนุสฺเสสุ มคฺคํ สตฺตวิสุทธิยา O ฐานะอันเลิศมีอยูในมนุษย ฐานะอันดีเลิศนั้นเปนทางดำเนินไป เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว โดยอธิบายวาเราไดรับมรดกมาแลวจาก นโม คือ บิดามารดา กลาวคือตัวของเรานี้แล อันไดกำเนิดเกิดมาเปนมนุษย ซึ่งเปนชาติสูงสุด เปนผูเลิศตั้งอยูในฐานะอันเลิศดวยดีคือมีกายสมบัติ วจีสมบัติ แลมโนสมบัติบริบูรณ จะสรางสมเอาสมบัติภายนอก คือ ทรัพยสินเงินทองอยางไรก็ได จะสรางสมเอาสมบัติภายในคือมรรคผล นิพพานธรรมวิเศษก็ได พระพุทธองคทรงบัญญัติพระธรรมวินัย ก็ทรง บัญญัติแกมนุษยเรานี้เอง มิไดทรงบัญญัติแก ชาง มา โค กระบือ ฯลฯ ที่ไหนเลย มนุษยนี้เองจะเปนผูปฏิบัติถึงซึ่งความบริสุทธิ์ได ฉะนั้นจึงไม ควรนอยเนื้อต่ำใจวา ตนมีบุญวาสนานอย เพราะมนุษยทำได เมื่อไมมี 11


ทำใหมีได เมื่อมีแลวทำใหยิ่งไดสมดวยเทศนานัยอันมาในเวสสันดรชาดา วา ทานํ เทติ สีลํ รกฺขติ ภาวนํ ภาเวตฺวา เอกจฺโจ สคฺคํ คจฺฉติ เอกจฺโจ โมกฺขํ คจฺฉติ นิสฺสํสยํ เมื่อไดทำกองการกุศล คือ ใหทานรักษาศีลเจริญ ภาวนาตามคำสอนของพระบรมศาสดาจารยเจาแลว บางพวกทำนอยก็ ตองไปสูสวรรค บางพวกทำมากและขยันจริงพรอมทั้งวาสนาบารมีแต หนหลังประกอบกัน ก็สามารถเขาสูพระนิพพานโดยไมตองสงสัยเลย พวกสัตวดิรัจฉานทานมิไดกลาววาเลิศ เพราะจะมาทำเหมือนพวกมนุษย ไมได จึงสมกับคำวามนุษยนี้ตั้งอยูในฐานะอันเลิศดวยดีสามารถนำตน เขาสูมรรคผล เขาสูพระนิพพานอันบริสุทธิ์ไดแล ๘. สติปฏฐาน เปน ชัยภูมิ คือสนามฝกฝนตน O พระบรมศาสดาจารยเจา ทรงตั้งชัยภูมิไวในธรรมขอไหน? เมื่อ พิจารณาปญหานี้ไดความขึ้นวา พระองคทรงตั้งมหาสติปฏฐานเปน ชัยภูมิ อุปมาในทางโลก การรบทัพชิงชัย มุงหมายชัยชนะจำตองหา ชัยภูมิ ถาไดชัยภูมิที่ดีแลวยอมสามารถปองกันอาวุธของขาศึกไดดี ณ ที่ นั้นสามารถรวบรวมกำลังใหญเขาฆาฟนขาศึกใหปราชัยพายแพไปได ที่ เชนนั้นทานจึงเรียกวา ชัยภูมิ คือที่ที่ประกอบไปดวยคายคูประตูและหอ รบอันมั่นคงฉันใด อุปไมยในทางธรรมก็ฉันนั้น ที่เอามหาสติปฏฐานเปน ชัยภูมิก็โดยผูที่จะเขาสูสงครามรบขาศึก คือ กิเลส ตองพิจารณากายานุ ปสสนาสติปฏฐานเปนตนกอน เพราะคนเราที่จะเกิด กามราคะ เปนตน ขึ้น ก็เกิดที่กายและใจ เพราะตาแลไปเห็นกายทำใหใจกำเริบ เหตุนั้นจึง ไดความวา กายเปนเครื่องกอเหตุ จึงตองพิจารณากายนี้กอน จะไดเปน เครื่องดับนิวรณทำใหใจสงบได ณ ที่นี้พึง ทำใหมาก เจริญใหมาก คือ 12


พิจารณาไมตองถอยเลยทีเดียว ในเมื่ออุคคหนิมิตปรากฏ จะปรากฏกาย สวนไหนก็ตาม ใหพึงถือเอากายสวนที่ไดเห็นนั้นพิจารณาใหเปนหลักไว ไมตองยายไปพิจารณาที่อื่น จะคิดวาที่นี่เราเห็นแลว ที่อื่นยังไมเห็น ก็ ตองไปพิจารณาที่อื่นซิ เชนนี้หาควรไม ถึงแมจะพิจารณาจนแยกกาย ออกมาเปนสวนๆ ทุกๆอาการอันเปนธาตุ ดิน น้ำ ลม ไฟ ไดอยาง ละเอียด ที่เรียกวาปฏิภาคก็ตาม ก็ใหพิจารณากายที่เราเห็นทีแรกดวย อุคคหนิมิตนั้นจนชำนาญ ที่จะชำนาญไดก็ตองพิจารณาซ้ำแลวซ้ำอีก ณ ที่เดียวนั้นเอง เหมือนสวดมนตฉะนั้น อันการสวดมนต เมื่อเราทองสูตรนี้ ไดแลว ทิ้งเสียไมเลาไมสวดไวอีก ก็จะลืมเสียไมสำเร็จประโยชนอะไรเลย เพราะไมทำใหชำนาญดวยความประมาทฉันใด การพิจารณากายก็ฉัน นั้นเหมือนกัน เมื่อไดอุคคหนิมิตในที่ใดแลว ไมพิจารณาในที่นั้นใหมาก ปลอยทิ้งเสียดวยความประมาทก็ไมสำเร็จประโยชนอะไรอยางเดียวกัน การพิจารณากายนี้มีที่อางมาก ดั่งในการบวชทุกวันนี้ เบื้องตนตองบอก กรรมฐาน ๕ ก็คือ กายนี้เอง กอนอื่นหมดเพราะเปนของสำคัญ ทาน กลาวไวในคัมภีรพระธรรมบทขุทฺทกนิกายวา อาจารยผูไมฉลาด ไมบอก ซึ่งการพิจารณากาย อาจทำลายอุปนิสัยแหงพระอรหันตของกุลบุตรได เพราะฉะนั้นในทุกวันนี้จึงตองบอกกรรมฐาน ๕ กอน O อีกแหงหนึ่งทานกลาววา พระพุทธเจาทั้งหลาย พระขีณาสวเจา ทั้งหลาย ชื่อวาจะไมกำหนดกาย ในสวนแหง โกฏฐาส (คือการพิจารณา แยกออกเปนสวนๆ) ใดโกฏฐาสหนึ่งมิไดมีเลย จึงตรัสแกภิกษุ ๕๐๐ รูปผู กลาวถึงแผนดินวา บานโนนมีดินดำดินแดงเปนตนนั้นวา นั่นชื่อวา พหิทฺธา แผนดินภายนอกใหพวกทานทั้งหลายมาพิจารณา อัชฌัตติกา แผนดินภายในกลาวคืออัตตภาพรางกายนี้ จงพิจารณาไตรตรองให 13


แยบคาย กระทำใหแจงแทงใหตลอด เมื่อจบการวิสัชชนาปญหานี้ ภิกษุ ทั้ง ๕๐๐ รูปก็บรรลุพระอรหันตผล O เหตุนั้นการพิจารณากายจึงเปนของสำคัญ ผูที่จะพนทุกทั้งหมด ลวนแตตองพิจารณากายนี้ทั้งสิ้น จะรวบรวมกำลังใหญไดตองรวบรวม ดวยการพิจารณากาย แมพระพุทธองคเจาจะไดตรัสรูทีแรกก็ทรง พิจารณาลม ลมจะไมใชกายอยางไร? เพราะฉะนั้นมหาสติปฏฐาน มีกา ยานุปสสนาเปนตน จึงชื่อวา "ชัยภูมิ" เมื่อเราไดชัยภูมิดีแลว กลาวคือ ปฏิบัติตามหลักมหาสติปฏฐานจนชำนาญแลว ก็จงพิจารณาความเปน จริงตามสภาพแหงธาตุทั้งหลายดวยอุบายแหงวิปสสนา ซึ่งจะกลาวขาง หนา ๙. อุบายแหงวิปสสนา อันเปนเครื่องถายถอนกิเลส O ธรรมชาติของดีทั้งหลาย ยอมเกิดมาแตของไมดี อุปมาดั่งดอก ปทุมชาติอันสวยๆ งามๆ ก็เกิดขึ้นมาจากโคลนตมอันเปนของสกปรก ปฏิกูลนาเกลียด แตวาดอกบัวนั้น เมื่อขึ้นพนโคลนตมแลวยอมเปนสิ่งที่ สะอาด เปนที่ทัดทรงของพระราชา อุปราช อำมาตย และเสนาบดี เปนตน และดอกบัวนั้นก็มิไดกลับคืนไปยังโคลนตมนั้นอีกเลย ขอนี้ เปรียบเหมือนพระโยคาวจรเจา ผูประพฤติพากเพียรประโยคพยายาม ยอมพิจารณาซึ่ง สิ่งสกปรกนาเกลียดนั้นก็คือตัวเรานี้เอง รางกายนี้เปน ที่ประชุมแหงของโสโครกคือ อุจจาระ ปสสาวะ (มูตรคูถ) ทั้งปวง สิ่งที่ ออกจากผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน ก็เรียกวา ขี้ ทั้งหมด เชน ขี้หัว ขี้ เล็บ ขี้ฟน ขี้ไคล เปนตน เมื่อสิ่งเหลานี้รวงหลนลงสูอาหาร มีแกงกับ เปนตน ก็รังเกียจ ตองเททิ้ง กินไมได และรางกายนี้ตองชำระอยูเสมอจึง 14


พอเปนของดูได ถาหาไมก็จะมีกลิ่นเหม็นสาป เขาใกลใครก็ไมได ของทั้ง ปวงมีผาแพรเครื่องใชตางๆ เมื่ออยูนอกกายของเราก็เปนของสะอาดนา ดู แตเมื่อมาถึงกายนี้แลวก็กลายเปนของสกปรกไป เมื่อปลอยไวนานๆ เขาไมซักฟอกก็จะเขาใกลใครไมไดเลย เพราะเหม็นสาบ ดั่งนี้จึงไดความ วารางกายของเรานี้เปนเรือนมูตร เรือนคูถ เปนอสุภะ ของไมงาม ปฏิกูล นาเกลียด เมื่อยังมีชีวิตอยูก็เปนถึงปานนี้ เมื่อชีวิตหาไมแลว ยิ่งจะ สกปรกหาอะไรเปรียบเทียบมิไดเลย เพราะฉะนั้นพระโยคาวจรเจาทั้ง หลายจึงพิจารณารางกายอันนี้ใหชำนิชำนาญดวย โยนิโสมนสิการ ตั้งแตตนมาทีเดียว คือขณะเมื่อยังเห็นไมทันชัดเจนก็พิจารณาสวนใดสวน หนึ่งแหงกายอันเปนที่สบายแกจริตจนกระทั่งปรากฏเปนอุคคหนิมิต คือ ปรากฏสวนแหงรางกายสวนใดสวนหนึ่งแลวก็กำหนดสวนนั้นใหมาก เจริญใหมาก ทำใหมาก การเจริญทำใหมากนั้นพึงทราบอยางนี้ อัน ชาวนาเขาทำนาเขาก็ทำที่แผนดิน ไถที่แผนดินดำลงไปในดิน ปตอไปเขา ก็ทำที่ดินอีกเชนเคย เขาไมไดทำในอากาศกลางหาว คงทำแตที่ดินอยาง เดียว ขาวเขาก็ไดเต็มยุงเต็มฉางเอง เมื่อทำใหมากในที่ดินนั้นแลว ไมตอง รองเรียกวา ขาวเอยขาว จงมาเต็มยุงเนอ ขาวก็จะหลั่งไหลมาเอง และ จะหามวา เขาเอยขาว จงอยามาเต็มยุงเต็มฉางเราเนอ ถาทำนาในที่ดิน นั้นเองจนสำเร็จแลว ขาวก็มาเต็มยุงเต็มฉางเอง ฉันใดก็ดีพระโยคาวจร เจาก็ฉันนั้น จงพิจารณากายในที่เคยพิจารณาอันถูกนิสัยหรือที่ปรากฏ มาใหเห็นครั้งแรก อยาละทิ้งเลยเปนอันขาด การทำใหมากนั้นมิใชหมาย แตการเดินจงกรมเทานั้น ใหมีสติหรือพิจารณาในที่ทุกสถานในกาลทุก เมื่อ ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ คิด พูด ก็ใหมีสติรอบคอบในกายอยู เสมอจึงจะชื่อวา ทำใหมาก เมื่อพิจารณาในรางกายนั้นจนชัดเจนแลว 15


ใหพิจารณาแบงสวนแยกสวนออกเปนสวนๆ ตามโยนิโสมนสิการตลอด จนกระจายออกเปนธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม และพิจารณาใหเห็น ไปตามนั้นจริงๆ อุบายตอนนี้ตามแตตนจะใครครวญออกอุบายตามที่ถูก จริตนิสัยของตน แตอยาละทิ้งหลักเดิมที่ตนไดรูครั้งแรกนั่นเทียว O พระโยคาวจรเจาเมื่อพิจารณาในที่นี้ พึงเจริญใหมาก ทำใหมาก อยาพิจารณาครั้งเดียวแลวปลอยทิ้งตั้งครึ่งเดือน ตั้งเดือน ใหพิจารณา กาวเขาไป ถอยออกมาเปน อนุโลม ปฏิโลม คือเขาไปสงบในจิต แลว ถอยออกมาพิจารณากาย อยางพิจารณากายอยางเดียว หรือสงบที่จิต แตอยางเดียว พระโยคาวจรเจาพิจารณาอยางนี้ชำนาญแลว หรือ ชำนาญอยางยิ่งแลว คราวนี้แลเปนสวนที่จะเปนเอง คือ จิต ยอมจะรวม ใหญ เมื่อรวมพึ่บลง ยอมปรากฏวาทุกสิ่งรวมลงเปนอันเดียวกันคือหมด ทั้งโลกยอมเปนธาตุทั้งสิ้น นิมิตจะปรากฏขึ้นพรอมกันวาโลกนี้ราบ เหมือนหนากลอง เพราะมีสภาพเปนอันเดียวกัน ไมวา ปาไม ภูเขา มนุษย สัตว แมที่สุดตัวของเราก็ตองลบราบเปนที่สุดอยางเดียวกัน พรอมกับ ญาณสัมปยุตต คือรูขึ้นมาพรอมกัน ในที่นี้ตัดความสนเทหใน ใจไดเลย จึงชื่อวา ยถาภูตญาณทัสสนวิปสสนา คือทั้งเห็นทั้งรูตามความ เปนจริง O ขั้นนี้เปนเบื้องตนในอันที่จะดำเนินตอไป ไมใชที่สุดอันพระโยคาว จรเจาจะพึงเจริญใหมาก ทำใหมาก จึงจะเปนเพื่อความรูยิ่งอีกจนรอบ จนชำนาญเห็นแจงชัดวา สังขารความปรุงแตงอันเปนความสมมติวาโนน เปนของของเรา โนนเปนเรา เปนความไมเที่ยงอาศัยอุปาทานความ ยึดถือจึงเปนทุกข ก็แลธาตุทั้งหลาย เขาหากมีหากเปนอยูอยางนี้ตั้งแต ไหนแตไรมา เกิด แก เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเสื่อมไปอยูอยางนี้มากอน เราเกิด 16


ตั้งแตดึกดำบรรพก็เปนอยูอยางนี้ อาศัยอาการของจิต ของขันธ ๕ ไดแก รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไปปรุงแตงสำคัญมั่นหมายทุก ภพทุกชาติ นับเปนอเนกชาติเหลือประมาณมาจนถึงปจจุบันชาติ จึง ทำใหจิตหลงอยูตามสมมติ ไมใชสมมติมาติดเอาเรา เพราะธรรมชาติทั้ง หลายทั้งหมดในโลกนี้ จะเปนของมีวิญญาณหรือไมก็ตาม เมื่อวาตาม ความจริงแลว เขาหากมีหากเปน เกิดขึ้นเสื่อมไป มีอยูอยางนั้นทีเดียว โดยไมตองสงสัยเลยจึงรูขึ้นวา ปุพฺเพสุ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ ธรรมดา เหลานี้ หากมีมาแตกอน ถึงวาจะไมไดยินไดฟงมาจากใครก็มีอยูอยางนั้น ทีเดียว ฉะนั้นในความขอนี้ พระพุทธเจาจึงทรงปฏิญาณพระองควา เรา ไมไดฟงมาแตใคร มิไดเรียนมาแตใครเพราะของเหลานี้มีอยู มีมาแตกอน พระองคดังนี้ ไดความวาธรรมดาธาตุทั้งหลายยอมเปนยอมมีอยูอยาง นั้น อาศัยอาการของจิตเขาไปยึดถือเอาสิ่งทั้งปวงเหลานั้นมาหลายภพ หลายชาติ จึงเปนเหตุใหอนุสัยครอบงำจิตจนหลงเชื่อไปตาม จึงเปนเหตุ ใหกอภพกอชาติดวยอาการของจิตเขาไปยึด ฉะนั้นพระโยคาวจรเจามา พิจารณา โดยแยบคายลงไปตามสภาพวา สพฺเพ สฺงขารา อนิจฺจา สพฺ เพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารความเขาไปปรุงแตง คือ อาการของจิตนั่นแล ไมเที่ยง สัตวโลกเขาเที่ยง คือมีอยูเปนอยูอยางนั้น ใหพิจารณาโดย อริย สัจจธรรมทั้ง ๔ เปนเครื่องแกอาการของจิตใหเห็นแนแทโดย ปจจักข สิทธิ วา ตัวอาการของจิตนี้เองมันไมเที่ยง เปนทุกข จึงหลงตามสังขาร เมื่อเห็นจริงลงไปแลวก็เปนเครื่องแกอาการของจิต จึงปรากฏขึ้นวา สงฺ ขารา สสฺสตา นตฺถิ สังขารทั้งหลายที่เที่ยงแทไมมี สังขารเปนอาการ ของจิตตางหาก เปรียบเหมือนพยับแดด สวนสัตวเขาก็อยูประจำโลกแต ไหนแตไรมา เมื่อรูโดยเงื่อน ๒ ประการ คือรูวา สัตวก็มีอยูอยางนั้น 17


สังขารก็เปนอาการของจิต เขาไปสมมติเขาเทานั้น ฐีติภูตํ จิตตั้งอยูเดิม ไมมีอาการเปนผูหลุดพน ไดความวา ธรรมดาหรือธรรมทั้งหลายไมใช ตน จะใชตนอยางไร ของเขาหากเกิดมีอยางนั้น ทานจึงวา สพฺเพ ธมฺ มา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไมใชตน ใหพระโยคาวจรเจาพึงพิจารณาให เห็นแจงประจักษตามนี้จนทำใหจิตรวมพึ่บลงไป ใหเห็นจริงแจงชัดตาม นั้น โดย ปจจักขสิทธิ พรอมกับ ญาณสัมปยุตต รวมทวนกระแสแก อนุสัยสมมติเปนวิมุตติ หรือรวมลงฐีติจิต อันเปนอยูมีอยูอยางนั้นจนแจง ประจักษในที่นั้นดวยญาณสัมปยุตตวา ขีณา ชาติ ญาณํ โหติ ดังนี้ ในที่ นี้ไมใชสมมติไมใชของแตงเอาเดาเอา ไมใชของอันบุคคลพึงปรารถนา เอาได เปนของที่เกิดเอง เปนเอง รูเอง โดยสวนเดียวเทานั้น เพราะดวย การปฏิบัติอันเขมแข็งไมทอถอย พิจารณาโดยแยบคายดวยตนเอง จึงจะ เปนขึ้นมาเอง ทานเปรียบเหมือนตนไมตางๆ มีตนขาวเปนตน เมื่อบำรุง รักษาตนมันใหดีแลว ผลคือรวงขาวไมใชสิ่งอันบุคคลพึงปรารถนา เอาเลย เปนขึ้นมาเอง ถาแลบุคคลมาปรารถนาเอาแตรวงขาว แตหาได รักษาตนขาวไม เปนผูเกียจคราน จะปรารถนาจนวันตาย รวงขาวก็จะ ไมมีขึ้นมาใหฉันใด วิมฺตติธรรม ก็ฉันนั้นนั่นแล มิใชสิ่งอันบุคคลจะพึง ปรารถนาเอาได คนผูปรารถนาวิมุตติธรรมแตปฏิบัติไมถูกตองหรือไม ปฏิบัติมัวเกียจครานจนวันตายจะประสบวิมุตติธรรมไมไดเลย ดวย ประการฉะนี้ ๑๐. จิตเดิมเปนธรรมชาติใสสวาง แตมืดมัวไปเพราะอุปกิเลส O ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ตฺจ โข อาคนฺตุเกหิ อุปกิเลเสหิ อุ ปกฺกิลิฏฐํ 18


O ภิกษุทั้งหลาย จิตนี้เสื่อมปภัสสรแจงสวางมาเดิม แตอาศัย อุปกิเลสเครื่องเศราหมองเปนอาคันตุกะสัญจรมาปกคลุมหุมหอ จึงทำให จิตมิสองแสงสวางได ทานเปรียบไวในบทกลอนหนึ่งวา "ไมชะงกหกพัน งา(กิ่ง) กะปอมกากิ้งกาฮอย กะปอมนอยขึ้นมื้อพัน ครั้นตัวมาบทัน ขึ้น นำคูมื้อๆ" โดยอธิบายวา คำวาไมชะงก ๖,๐๐๐ งานั้นเมื่อตัดศูนย ๓ ศูนยออกเสียเหลือแค ๖ คงไดความวา ทวารทั้ง ๖ เปนที่มาแหงกะปอ มกา คือของปลอมไมใชของจริง กิเลสทั้งหลายไมใชของจริง เปนสิ่ง สัญจรเขามาในทวารทั้ง ๖ นับรอยนับพัน มิใชแตเทานั้น กิเลสทั้งหลาย ที่ยังไมเกิดขึ้นก็จะทวียิ่งๆ ขึ้นทุกๆ วัน ในเมื่อไมแสวงหาทางแก ธรรมชาติของจิตเปนของผองใสยิ่งกวาอะไรทั้งหมด แตอาศัยของปลอม กลาวคืออุปกิเลสที่สัญจรเขามาปกคลุมจึงทำใหหมดรัศมี ดุจพระอาทิตย เมื่อเมฆบดบังฉะนั้น อยาพึงเขาใจวาพระอาทิตยเขาไปหาเมฆ เมฆไหล มาบดบังพระอาทิตยตางหาก ฉะนั้น ผูบำเพ็ญเพียรทั้งหลายเมื่อรูโดย ปริยายนี้แลว พึงกำจัดของปลอมดวยการพิจารณาโดยแยบคายตามที่ อธิบายแลวในอุบายแหงวิปสสนาขอ ๙ นั้นเถิด เมื่อทำใหถึงขั้นฐีติจิต แลว ชื่อวายอมทำลายของปลอมไดหมดสิ้นหรือวาของปลอมยอมเขาไป ถึงฐีติจิต เพราะสะพานเชื่อมตอถูกทำลายขาดสะบั้นลงแลว แมยังตอง เกี่ยวของกับอารมณของโลกอยูก็ยอมเปนดุจน้ำกลิ้งบนใบบัวฉะนั้น ๑๑. การทรมานตนของผูบำเพ็ญเพียร ตองใหพอเหมาะกับอุปนิสัย O นายสารถีผูฝกมามีชื่อเสียงคนหนึ่ง มาเฝาพระพุทธเจาทูลถาม ถึงวิธีทรมานเวไนย พระองคทรงยอนถามนายสารถีกอนถึงการทรมาณ มา เขาทูลวามามี ๔ ชนิด คือ ๑. ทรมานงาย ๒. ทรมานอยางกลาง ๓. 19


ทรมานยากแท ๔. ทรมานไมไดเลย ตองฆาเสีย พระองคจึงตรัสวาเราก็ เหมือนกัน ๑. ผูทรมาณงาย คือผูปฏิบัติทำจิตรวมงายใหกินอาหารเพียง พอ เพื่อบำรุงรางกาย ๒. ผูทรมานอยางกลาง คือผูปฏิบัติทำจิตไมคอย จะลง ก็ใหกินอาหารแตนอยอยาใหมาก ๓. ทรมานยากแท คือผูปฏิบัติ ทำจิตลงยากแท ไมตองใหกินอาหารเลย แตตองเปน อตฺตฺู รูกำลัง ของตนวาจะทนทานไดสักเพียงไร แคไหน ๔. ทรมานไมไดเลย ตองฆา เสีย คือผูปฏิบัติทำจิตไมได เปน ปทปรมะ พระองคทรงชักสะพานเสีย กลาวคือไมทรงรับสั่งสอน อุปมาเหมือนฆาทิ้งเสียฉะนั้น ๑๒. มูลติกสูตร O ติกแปลวา ๓ มูลแปลวาเคามูลรากเหงา รวมความวาสิ่งซึ่งเปน รากเหงาเคามูลอยางละ ๓ คือ ราคะ โทสะ โมหะ ก็เรียก ๓ อกุศลมูล ตัณหา ก็มี ๓ คือกามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา โอฆะและอาสวะก็มี อยางละ ๓ คือ กามะ ภาวะ อวิชชา ถาบุคคลมาเปนไปกับดวย ๓ เชนนี้ ติปริวตฺตํ ก็ตองเวียนไปเปน๓ ๓ ก็ตองเปนโลก ๓ คือ กามโลก รูปโลก อรูปโลก อยูอยางนั้นแล เพราะ ๓ นั้นเปนเคามูลโลก ๓ เครื่องแกก็มี ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญญา เมื่อบุคคลดำเนินตนตามศีล สมาธิ ปญญา อันเปนเครื่องแก น ติปริวตฺตํ ก็ไมตองเวียนไปเปน๓ ๓ ก็ไมเปน โลก ๓ ชื่อวาพนจากโลก ๓ แล ๑๓. วิสุทธิเทวาเทานั้นเปนสันตบุคคลแท O อกุปฺป สพฺพธมฺเมสุ เญยฺยธมฺมา ปเวสฺสนฺโต O บุคคลผูมีจิตไมกำเริบในกิเลสทั้งปวง รูธรรมทั้งหลายทั้งที่เปน 20


พหิทธาธรรม ทั้งที่เปน อัชฌัตติกาธรรม สนฺโต จึงเปนผูสงบระงับ สัน ตบุคคลเชนนี้แลที่จะบริบูรณดวยหิริโอตตัปปะ มีธรรมบริสุทธิ์สะอาด มี ใจมั่นคงเปนสัตบุรุษผูทรงเทวธรรมตามความในพระคาถาวา หิริ โอตฺตปฺปสมฺปนฺนา สุกฺกธมฺมสมาหิตา สนฺโต สปฺปุริสา โลเก เทวธมฺมาติ วุจฺจเร อุปตติเทวา ผูพรั่งพรอมดวยกามคุณ วุนวายอยูดวยกิเลส เหตุ ไฉนจึงจะเปนสันตบุคคลได ความในพระคาถานี้ยอมตองหมายถึงวิสุทธิ เทวา คือพระอรหันตแนนอน ทานผูเชนนั้นเปนสันตบุคคลแท สมควรจะ เปนผูบริบูรณดวยหิริโอตตัปปะ และ สุกฺกธรรม คือ ความบริสุทธิ์แท ๑๔. อกิริยาเปนที่สุดในโลก - สุดสมมติบัญญัติ f สจฺจานํ จตุโร ปทา ขีณาสวา ชุติมนฺโต เต โลเก ปรินิพฺพุตา O สัจธรรมทั้ง ๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ยังเปนกิริยา เพราะ แตละสัจจะๆ ยอมมีอาการตองทำคือ ทุกข-ตองกำหนดรู สมุทัย-ตองละ นิโรธ-ตองทำใหแจง มรรค-ตองเจริญใหมาก ดังนี้ลวนเปนอาการที่จะ ตองทำทั้งหมด ถาเปนอาการที่จะตองทำ ก็ตองเปนกิริยาเพราะเหตุนั้น จึงรวมความไดวาสัจจะทั้ง ๔ เปนกิริยา จึงสมกับบาทคาถาขางตนนั้น ความวาสัจจะทั้ง ๔ เปนเทาหรือเปนเครื่องเหยียบกาวขึ้นไป หรือกาว ขึ้นไป ๔ พักจึงจะเสร็จกิจ ตอจากนั้นไปจึงเรียกวา อกิริยา O อุปมา ดังเขียนเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ แลวลบ ๑ ถึง ๙ ทิ้งเสีย เหลือแต ๐ (ศูนย) ไมเขียนอีกตอไป คงอานวา ศูนย แตไมมีคา อะไรเลย จะนำไปบวกลบคูณหารกับเลขจำนวนใดๆ ไมไดทั้งสิ้นแตจะ ปฏิเสธวาไมมีหาไดไม เพราะปรากฏอยูวา ๐ (ศูนย) นี่แหละ คือปญญา รอบรู เพราะลายกิริยา คือ ความสมมติ หรือวาลบสมมติลงเสียจนหมด 21


สิ้น ไมเขาไปยึดถือสมมติทั้งหลาย คำวาลบ คือทำลายกิริยา กลาวคือ ความสมมติ มีปญหาสอดขึ้นมาวา เมื่อทำลายสมมติหมดแลวจะไปอยู ที่ไหน? แกวา ไปอยูในที่ไมสมมติ คือ อกิริยา นั่นเอง เนื้อความตอนนี้ เปนการอธิบายตามอาการของความจริง ซึ่งประจักษแกผูปฏิบัติโดย เฉพาะ อันผูไมปฏิบัติหาอาจรูไดไม ตอเมื่อไรฟงแลวทำตามจนรูเองเห็น เองนั่นแลจึงจะเขาใจได O ความแหง ๒ บาทคาถาตอไปวา พระขีณาสวเจาทั้งหลายดับโลก สามรุงโรจนอยู คือทำการพิจารณาบำเพ็ยเพียรเปน ภาวิโต พหุลีกโต คือทำใหมาก เจริญใหมาก จนจิตมีกำลังสามารถพิจารณาสมมติทั้ง หลายทำลายสมมติทั้งหลายลงไปไดจนเปนอกิริยาก็ยอมดับโลกสามได การดับโลกสามนั้น ทานขีณาสวเจาทั้งหลายมิไดเหาะขึ้นไปนกามโลก รูปโลก อรูปโลกเลยทีเดียว คงอยูกับที่นั่นเอง แมพระบรมศาสดาของ เราก็เชนเดียวกัน พระองคประทับนั่งอยู ณ ควงไมโพธิพฤกษแหง เดียวกัน เมื่อจะดับโลกสาม ก็มิไดเหาะขึ้นไปในโลกสาม คงดับอยูที่จิต ทิ่ จิตนั้นเองเปนโลกสาม ฉะนั้น ทานผูตองการดับโลกสาม พึงดับที่จิตของ ตนๆ จึงทำลายกิริยา คือตัวสมมติหมดสิ้นจากจิต ยังเหลือแตอกิริยา เปนฐีติจิต ฐีติธรรมอันไมรูจักตาย ฉะนี้แล ๑๕. สัตตาวาส ๙ O เทวาพิภพ มนุสสโลก อบายโลก จัดเปนกามโลก ที่อยูอาศัยของ สัตวเสพกามรวมเปน ๑ รูปโลก ที่อยูอาศัยของสัตวผูสำเร็จรูปฌานมี ๔ อรูปโลก ที่อยูอาศัยของสัตวผูสำเร็จอรูปฌานมี ๔ รวมทั้งสิ้น ๙ เปนที่ อยูอาศัยของสัตว ผูมารูเทาสัตตาวาส ๙ กลาวคือ พระขีณาสวเจาทั้ง 22


หลาย ยอมจากที่อยูของสัตว ไมตองอยูในที่ ๙ แหงนี้ และปรากฏใน สามเณรปญหาขอสุดทายวา ทส นาม กึ อะไรชื่อวา ๑๐ แกวา ทสหงฺ เคหิ สมนฺนาคโต พระขีณาสวเจาผูประกอบดวยองค ๑๐ ยอมพนจากสัต ตาวาส ๙ ความขอนี้คงเปรียบไดกับการเขียนเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ นั่นเอง ๑ ถึง ๙ เปนจำนวนที่นับได อานได บวกลบคูณหารกันได สวน ๑๐ ก็คือ เลข ๑ กับ ๐ (ศูนย) เราจะเอา ๐ (ศูนย) ไปบวกลบคูณ หารกับเลขจำนวนใดๆ ก็ไมทำใหเลขจำนวนนั้นมีคาสูงขึ้น และ ๐ (ศูนย) นี้เมื่ออยูโดยลำพังก็ไมมีคาอะไร แตจะวาไมมีก็ไมได เพราะเปนสิ่งปรากฏ อยู ความเปรียบนี้ฉันใด จิตใจก็ฉันนั้นเปนธรรมชาติ มีลักษณะเหมือน ๐ (ศูนย) เมื่อนำไปตอเขากับเลขตัวใด ยอมทำใหเลขตัวนั้นเพิ่มคาขึ้นอีก มาก เชน เลข ๑ เมื่อเอาศูนยตอเขา ก็กลายเปน ๑๐ (สิบ) จิตใจเรานี้ก็ เหมือนกัน เมื่อตอเขากับสิ่งทั้งหลายก็เปนของวิจิตรพิสดารมากมายขึ้น ทันที แตเมื่อไดรับการฝกฝนอบรมจนฉลาดรอบรูสรรพเญยฺยธรรมแลว ยอมกลับคืนสูสภาพ ๐ (ศูนย) คือ วางโปรงพนจากการนับการอานแลว มิไดอยูในที่ ๙ แหงอันเปนที่อยูของสัตว แตอยูในที่หมดสมมติบัญญัติคือ สภาพ ๐ (ศูนย) หรืออกิริยาดังกลาวในขอ ๑๔ นั่นเอง ๑๖. ความสำคัญของปฐมเทศนา มัชฌิมเทศนา และปจฉิมเทศนา O พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาใน ๓ กาลมี ความสำคัญยิ่ง อันพุทธบริษัทควรสนใจพิจารณาเปนพิเศษ คือ O ก. ปฐมโพธิกาล ไดทรงแสดงธรรมแกพระปญจวัคคีย ที่ปาอิสิป ตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี เปนครั้งแรกเปนปฐมเทศนา เรียกวา ธรรมจักร เบื้องตนทรงยกสวนสุด ๒ อยางอันบรรพชิตไมควรเสพขึ้นมา 23


แสดงวา เทว เม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา ภิกษุทั้งหลาย สวนที่สุด ๒ อยางอันบรรพชิตไมพึงเสพ คือ กามสุขัลลิกา และอัตตกิลม ถา อธิบายวา กามสุขัลลิกา เปนสวนแหงความรัก อัตตกิลมถา เปนสวน แหงความชังทั้ง ๒ สวนนี้เปนตัวสมุทัย เมื่อผูบำเพ็ญตบะธรรมทั้งหลาย โดยอยูซึ่งสวนทั้งสองนี้ ชื่อวายังไมเขาทางกลาง เพราะเมื่อบำเพ็ญเพียร พยายามทำสมาธิ จิตสงบสบายดีเต็มที่ก็ดีใจ ครั้นเมื่อจิตนึกคิดฟุงซาน รำคาญก็เสียใจ ความดีใจนั้น คือ กามสุขัลลิกา ความเสียใจนั้นแล คือ อัตตกิลมถา ความดีใจก็เปนราคะ ความเสียใจก็เปนโทสะ ความไมรูเทา ในราคะ โทสะ ทั้งสองนี้เปนโมหะ ฉะนั้น ผูที่พยายามประกอบความ เพียรในเบื้องแรกตองกระทบสวนสุดทั้งสองนั้นแลกอน ถาเมื่อกระทบ สวน ๒ นั้นอยู ชื่อวาผิดอยูแตเปนธรรมดาแททีเดียว ตองผิดเสียกอนจึง ถูก แมพระบรมศาสดาแตกอนนั้นพระองคก็ผิดมาเต็มที่เหมือนกัน แม พระอัครสาวกทั้งสอง ก็ซ้ำเปนมิจฉาทิฐิมากอนแลวทั้งสิ้น แมสาวกทั้ง หลายเหลาอื่นๆ ก็ลวนแตผิดมาแลวทั้งนั้น ตอเมื่อพระองคมาดำเนินทาง กลาง ทำจิตอยูภายใตรมโพธิพฤกษ ไดญาณ ๒ ในสองยามเบื้องตนใน ราตรี ไดญาณที่ ๓ กลาวคืออาสวักขยญาณในยามใกลรุง จึงไดถูกทาง กลางอันแทจริงทำจิตของพระองคใหพนจากความผิด กลาวคือ...สวนสุด ทั้งสองนั้น พนจากสมมติโคตร สมมติชาติ สมมติวาส สมมติวงศ และ สมมติประเพณี ถึงความเปนอริยโคตร อริยชาติ อริยวาส อริยวงศ และ อริยประเพณี สวนอริยสาวกทั้งหลายนั้นเลาก็มารูตามพระองค ทำใหได อาสวักขยญาณพนจากความผิดตามพระองคไป สวนเราผูปฏิบัติอยูใน ระยะแรกๆ ก็ตองผิดเปนธรรมดา แตเมื่อผิดก็ตองรูเทาแลวทำใหถูก เมื่อ ยังมีดีใจเสียใจในการบำเพ็ญบุญกุศลอยู ก็ตกอยูในโลกธรรม เมื่อตกอยู 24


ในโลกธรรม จึงเปนผูหวั่นไหวเพราะความดีใจเสียใจนั่นแหละ ชื่อวา ความหวั่นไหวไปมา อุปฺปนฺโน โข เม โลกธรรมจะเกิดที่ไหน เกิดที่เรา โลกธรรมมี ๘ มรรคเครื่องแกก็มี ๘ มรรค ๘ เครื่องแกโลกธรรม ๘ ฉะนั้น พระองคจึงทรงแสดงมัชฌิมาปฏิปทาแกสวน ๒ เมื่อแกสวน ๒ ได แลวก็เขาสูอริยมรรค ตัดกระแสโลก ทำใจใหเปนจาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย (สละสลัดตัดขาดวางใจหายหวง) รวมความวา เมื่อสวน ๒ ยังมี อยูในใจผูใดแลว ผูนั้นก็ยังไมถูกทาง เมื่อผูมีใจพนจากสวนทั้ง ๒ แลว ก็ ไมหวั่นไหว หมดธุลี เกษมจากโยคะ จึงวาเนื้อความแหงธรรมจักรสำคัญ มาก พระองคทรงแสดงธรรมจักรนี้ยังโลกธาตุใหหวั่นไหว จะไมหวั่นไหว อยางไร เพราะมีใจความสำคัญอยางนี้ โลกธาตุก็มิใชอะไรอื่น คือตัวเรา นี้เอง ตัวเราก็คือธาตุของโลก หวั่นไหวเพราะเห็นในของที่ไมเคยเห็น เพราะจิตพนจากสวน ๒ ธาตุของโลกจึงหวั่นไหว หวั่นไหวเพราะจะไมมา กอธาตุของโลกอีกแล O ข. มัชฌิมโพธิกาล ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกขในชุมชนพระ อรหันต ๑,๒๕๐ องค ณ พระราชอุทยานเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน กรุงราชคฤหใจความสำคัญตอนหนึ่งวา อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํ พึงเปนผูทำจิตใหยิ่ง การที่จะทำจิตใหยิ่งไดตองเปนผูสงบ ระงับ อิจฺฉา โลภสมาปนฺโน สมโณ กึ ภวิสฺสติ เมื่อประกอบดวยความ อยากดิ้นรนโลภหลงอยูแลวจักเปนผูสงระงับไดอยางไร ตองเปนผูปฏิบัติ คือปฏิบัติพระวินัยเปนเบื้องตน และเจริญกรรมฐานตั้งตนแตการเดิน จงกรม นั่งสมาธิ ทำใหมาก เจริญใหมาก ในการพิจารณามหาสติปฏ ฐาน มีกายนุปสสนาสติปฏฐาน เปนเบื้องแรก พึงพิจารณาสวนแหง รางกาย โดยอาการแหงบริกรรมสวนะคือ พิจารณาโดยอาการคาด 25


คะเน วาสวนนั้นเปนอยางนั้นดวยการมีสติสัมปชัญญะไปเสียกอน เพราะเมื่อพิจารณาเชนนี้ใจไมหางจากกาย ทำใหรวมงาย เมื่อทำใหมาก ในบริกรรมสวนะแลว จักเกิดขึ้นซึ่งอุคคหนิมิตใหชำนาญในที่นั้นจนเปน ปฏิภาค ชำนาญในปฏิภาคโดยยิ่งแลวจักเปนวิปสสนา เจริญวิปสสนาจน เปนวิปสสนาอยางอุกฤษฏ ทำจิตเขาถึงฐีติภูตํ ดังกลาวแลวในอุบายแหง วิปสสนาชื่อวาปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติแลว โมกฺขํ จึงจะขามพน จึงพนจากโลก ชื่อวาโลกุตตรธรรม เขมํ จึงเกษมจากโยคะ (เครื่องรอย) ฉะนั้น เนื้อ ความในมัชฌิมเทศนาจึงสำคัญเพราะเล็งถึงวิมุตติธรรมดวยประการฉะนี้ และฯ O ค. ปจฉิมโพธิกาล ทรงแสดงปจฉิมเทศนาในที่ชุมชนพระอริย สาวก ณ พระราชอุทยานสาลวันของมัลลกษัตริยกรุงกุสินารา ในเวลา จวนจะปรินิพพานวา หนฺทานิ อามนฺตยามิ โว ภิกฺขเว ปฏิเวทยามิ โว ภิกฺขเว ขยวยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ เราบอกทานทั้ง หลายวาจงเปนผูไมประมาท พิจารณาสังขารที่เกิดขึ้นแลวเสื่อมไป เมื่อ ทานทั้งหลายพิจารณาเชนนั้นจักเปนผูแทงตลอด พระองคตรัสพระ ธรรมเทศนาเพียงเทานี้ก็ปดพระโอษฐมิไดตรัสอะไรตอไปอีกเลย จึงเรียก วา ปจฉิมเทศนาอธิบายความตอไปวา สังขารมันเกิดขึ้นที่ไหน อะไรเปน สังขาร สังขารมันก็เกิดขึ้นที่จิตของเราเองเปนอาการของจิตพาใหเกิด ขึ้นซึ่งสมมติทั้งหลาย สังขารนี้แล เปนตัวการสมมติบัญญัติสิ่งทั้งหลาย ในโลกความจริงในโลกทั้งหลายหรือธรรมธาตุทั้งหลายเขามีเขาเปนอยู อยางนั้น แผนดิน ตนไม ภูเขา ฟา แดด เขาไมไดวาเขาเปนนั้นเปนนี้เลย เจาสังขารตัวการนี้เขาไปปรุงแตงวา เขาเปนนั้นเปนนี้จนหลงกันวาเปน จริง ถือเอาวาเปนตัวเรา เปนของๆ เราเสียสิ้น จึงมี ราคะ โทสะ โมหะ 26


เกิดขึ้นทำจิตดั้งเดิมใหหลงตามไป เกิด แก เจ็บ ตาย เวียนวายไปไมมีที่ สิ้นสุด เปนอเนกภพ อเนกชาติ เพราะเจาตัวสังขารนั้นแลเปนตัวเหตุ จึง ทรงสอนใหพิจารณาสังขารวา สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา ใหเปนปรีชาญาณชัดแจง เกิดจากผลแหงการเจริญปฏิภาคเปน สวนเบื้องตน จนทำจิตใหเขาภวังค เมื่อกระแสแหงภวังคหายไป มีญาณ เกิดขึ้นวา "นั้นเปนอยางนั้น เปนสภาพไมเที่ยง เปนทุกข" เกิดขึ้นในจิต จริงๆ จนชำนาญเห็นจริงแจงประจักษ ก็รูเทาสังขารได สังขารก็จะมา ปรุงแตงใหจิตกำเริบอีกไมได ไดในคาถาวา อกุปฺป สพฺพธมฺเมสุ เญยฺยธมฺ มา ปเวสฺสนฺโต เมื่อสังขารปรุงแตงจิตไมไดแลว ก็ไมกำเริบรูเทาธรรมทั้ง ปวง สนฺโต ก็เปนผูสงบระงับถึงซึ่งวิมุตติธรรม ดวยประการฉะนี้ ปจฉิมเทศนานี้เปนคำสำคัญแท ทำใหผูพิจารณารูแจงถึงที่สุด พระองค จึงไดปดพระโอษฐแตเพียงนี้ O พระธรรมเทศนาใน ๓ กาลนี้ ยอมมีความสำคัญเหนือความ สำคัญในทุกๆ กาล ปฐมเทศนาก็เล็งถึงวิมุตติธรรม มัชฌิมเทศนาก็เล็งถึง วิมุตติธรรม ปจฉิมเทศนาก็เล็งถึงวิมุตติธรรม รวมทั้ง ๓ กาล ลวนแตเล็ง ถึงวิมุตติธรรมทั้งสิ้น ดวยประการฉะนี้ ๑๗. พระอรหันตทุกประเภทบรรลุทั้งเจโตวิมุตติ ทั้งปญญาวิมุตติ O อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปฺญาวิมุตฺตึ ทิฏเฐว ธมฺเม สยํ อภิฺญา สจฺฉิกตวา อุปฺปสมฺปชฺช วิหรติ พระบาลีนี้แสดงวาพระอรหันตทั้ง หลายไมวาประเภทใดยอมบรรลุทั้งเจโตวิมุตติ ทั้งปญญาวิมุตติ...ที่ ปราศจากอาสวะในปจจุบัน หาไดแบงแยกไววา ประเภทนั้นบรรลุแตเจ โตวิมุตติ หรือปญญาวิมุติไม ที่เกจิอาจารยแตงอธิบายไววา เจโตวิมุตติ 27


เปนของพระอรหันตผูไดสมาธิกอน สวนปญญาวิมุตติเปนของพระอรหัน ตสุกขวิปสสกผูเจริญวิปสสนาลวนๆ นั้นยอมขัดแยงตอมรรค มรรค ประกอบดวยองค ๘ มีทั้งสัมมาทิฏฐิ ทั้งสัมมาสมาธิ ผูจะบรรลุวิมุตติ ธรรมจำตองบำเพ็ญมรรค ๘ บริบูรณ มิฉะนั้นก็บรรลุวิมุตติธรรมไมได ไตรสิกขาก็มีทั้งสมาธิ ทั้งปญญา อันผูจะไดอาสวักขยญาณจำตอง บำเพ็ญไตรสิกขาใหบริบูรณทั้ง ๓ สวน ฉะนั้นจึงวา พระอรหันตทุก ประเภทตองบรรลุทั้งเจโตวิมุตติ ทั้งปญญาวิมุตติดวยประการฉะนี้แลฯ

28


มุตโตทัย บันทึกโดย พระอาจารยวัน อุตฺตโม และ พระอาจารยทองคำ ญาโณ ภาโส ณ วัดปาบานหนองผือ อ. พรรณานิคม จ. สกลนคร พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ ๑. เรื่อง มูลกรรมฐาน กุลบุตรผูบรรพชาอุปสมบทเขามาในพระพุทธศาสนานี้แลว ใครเลาไม เคยเรียนกรรมฐานมา บอกไดทีเดียววาไมเคยมี พระอุปชฌายทุกองค เมื่อบวชกุลบุตรจะไมสอนกรรมฐานกอนแลวจึงใหผาภายหลังไมมี ถา อุปชฌายองคใดไมสอนกรรมฐานกอน อุปชฌายองคนั้นดำรงความเปน อุปชฌายะตอไปไมได ฉะนั้นกุลบุตรผูบวชมาแลวจึงไดชื่อวาเรียน กรรมฐานมาแลว ไมตองสงสัยวาไมไดเรียน O พระอุปชฌายะสอนกรรมฐาน ๕ คือ เกสา ผม โลมา ขน นขา เล็บ ทันตา ฟน ตโจ หนัง ในกรรมฐานทั้ง ๕ นี้ มีหนังเปนที่สุด ทำไมจึง สอนถึงหนังเทานั้น? เพราะเหตุวา หนัง มันเปนอาการใหญ คนเราทุก คนตองมีหนังหุมหอ ถาไมมีหนัง ผม ขน เล็บ ฟน ก็อยูไมได ตองหลุด หลนทำลายไป เนื้อ กระดูก เอ็น และอาการทั้งหมดในรางกายนี้ ก็จะอยู ไมได ตองแตกตองทำลายไป คนเราจะหลงรูปก็มาหลง หนัง หมายความ สวยๆ งามๆ เกิดความรักใครแลวก็ปรารถนาเพราะมาหมายอยูที่หนัง เมื่อเห็นแลวก็สำคัญเอาผิวพรรณของมัน คือผิว ดำ-ขาว-แดง-ดำแดง29


ขาวแดง ผิวอะไรตออะไร ก็เพราะหมายสีหนัง ถาไมมีหนังแลว ใครเลา จะหมายวาสวยงาม? ใครเลาจะรักจะชอบจะปรารถนา? มีแตจะเกลียด หนายไมปรารถนา ถาหนังไมหุมหออยูแลว เนื้อเอ็นและอาการอื่นๆ ก็จะ อยูไมได ทั้งจะประกอบกิจการอะไรก็ไมได จึงวาหนังเปนของสำคัญนัก จะเปนอยูไดกินก็เพราะหนัง จะเกิดความหลงสวยหลงงามก็เพราะมีหนัง ฉะนั้นพระอุปชฌายะทานจึงสอนถึงแตหนังเปนที่สุด ถาเรามาตั้งใจ พิจารณาจนใหเห็นความเปอยเนาเกิดอสุภนิมิต ปรากฏแนแกใจแลว ยอมจะเห็นอนิจจสัจจธรรม ทุกขสัจจธรรม อนัตตาสัจจธรรม จึงจะแก ความหลงสวยหลงงามอันมั่นหมายอยูที่หนังยอมไมสำคัญหมาย และไม ชอบใจ ไมปรารถนาเอาเพราะเห็นตามความเปนจริง เมื่อใดเชื่อคำสอน ของพระอุปชฌายะไมประมาทแลว จึงจะไดเห็นสัจจธรรม ถาไมเชื่อคำ สอนพระอุปชฌายะ ยอมแกความหลงของตนไมได ยอมตกอยูในบวง แหงรัชชนิอารมณ ตกอยูในวัฏจักร เพราะฉะนั้น คำสอนที่พระ อุปชฌายะไดสอนแลวแตกอนบวชนั้น เปนคำสอนที่จริงที่ดีแลวเราไม ตองไปหาทางอื่นอีก ถายังสงสัย ยังหาไปทางอื่นอีกชื่อวายังหลงงมงาย ถาไมหลงจะไปหาทำไม คนไมหลงก็ไมมีการหา คนที่หลงจึงมีการหา หา เทาไรยิ่งหลงไปไกลเทานั้น ใครเปนผูไมหา มาพิจารณาอยูในของที่มีอยู นี้ ก็จะเห็นแจงซึ่งภูตธรรม ฐีติธรรม อันเกษมจากโยคาสวะทั้งหลาย O ความในเรื่องนี้ ไมใชมติของพระอุปชฌายะทั้งหลายคิดไดแลว สอนกุลบุตรตามมติของใครของมัน เนื่องดวยพุทธพจนแหงพระพุทธ องคเจา ไดทรงบัญญัติไวใหอุปชฌายะเปนผูสอนกุลบุตรผูบวชใหม ให กรรมฐานประจำตน ถามิฉะนั้นก็ไมสมกับการออกบวชที่ไดสละบาน เรือนครอบครัวออกมาบำเพ็ญเนกขัมมธรรม หวังโมกขธรรม การบวชก็ 30


จะเทากับการทำเลน พระองคไดทรงบัญญัติมาแลว พระอุปชฌายะทั้ง หลายจึงดำรงประเพณีนี้สืบมาตราบเทาทุกวันนี้ พระอุปชฌายะสอนไม ผิด สอนจริงแทๆ เปนแตกุลบุตรผูรับเอาคำสอนไมตั้งใจ มัวประมาทลุม หลงเอง ฉะนั้นความในเรื่องนี้ วิญูชนจึงไดรับรองทีเดียววา เปนวิสุทธิ มรรคเที่ยงแท ๒. เรื่อง ศีล f สีลํ สีลา วิย ศีล คือความปกติ อุปมาไดเทากับหินซึ่งเปนของ หนักและเปนแกนของดิน แมจะมีวาตธาตุมาเปาสักเทาใด ก็ไมมีการ สะเทือนหวั่นไหวเลย แตวาเราจะสำคัญถือแตเพียงคำวา ศีล เทานั้น ก็จะ ทำใหเรางมงายอีก ตองใหรูจักเสียวาศีลนั้นอยูที่ไหน? มีตัวตนเปน อยางไร? อะไรเลาเปนตัวศีล? ใครเปนผูรักษา? ถารูจักวาใครเปนผู รักษาแลว ก็จะรูจักวาผูนั้นเปนตัวศีล ถาไมเขาใจเรื่องศีล ก็จะงมงายไม ถือศีลเพียงนอกๆ เดี๋ยวก็ไปหาเอาที่นั้นทีนี้จึงจะมีศีล ไปขอเอาที่นั่นที่นี่ จึงมี เมื่อยังเที่ยวหาเที่ยวขออยูไมใชหลงศีลดอกหรือ? ไมใชสีลพัตต ปรามาสถือนอกๆ ลูบๆ คลำๆ อยูหรือ? f อิทํ สจฺจาภินิเวสทิฏฐิ จะเห็นความงมงายของตนวาเปนของจริง เที่ยงแท ผูไมหลงยอมไมไปเที่ยวขอเที่ยวหา เพราะเขาใจแลววา ศีลก็อยู ที่ตนนี้ จะรักษาโทษทั้งหลายก็ตนเปนผูรักษา ดังที่วา "เจตนาหํ ภิกฺขเว สีลํ วทามิ" เจตนา เปนตัวศีล เจตนา คืออะไร? เจตนานี้ตองแปลงอีกจึง จะไดความ ตองเอาสระ เอ มาเปน อิ เอา ต สะกดเขาไป เรียกวา จิตฺต คือจิตใจ คนเราถาจิตใจไมมี ก็ไมเรียกวาคน มีแตกายจะสำเร็จการทำ อะไรได? รางกายกับจิตตองอาศัยซึ่งกันและกัน เมื่อจิตใจไมเปนศีล กาย 31


ก็ประพฤติไปตางๆ จึงกลาวไดวาศีลมีตัวเดียว นอกนั้นเปนแตเรื่องโทษที่ ควรละเวน โทษ ๕ โทษ ๘ โทษ ๑๐ โทษ ๒๒๗ รักษาไมใหมีโทษตางๆ ก็ สำเร็จเปนศีลตัวเดียว รักษาผูเดียวนั้นไดแลวมันก็ไมมีโทษเทานั้นเอง ก็ จะเปนปกติแนบเนียนไมหวั่นไหว ไมมีเรื่องหลงมาหาหลงขอ คนที่หาขอ ตองเปนคนทุกข ไมมีอะไรจึงเที่ยวหาขอ เดี๋ยวก็กลาวยาจามิๆ ขอแลวขอ เลาขอเทาไรยิ่งไมมียิ่งอดอยากยากเข็ญ เราไดมาแลวมีอยูแลวซึ่งกาย กับจิต รูปกายก็เอามาแลวจากบิดามารดาของเรา จิตก็มีอยูแลว ชื่อวา ของเรามีพรอมบริบูรณแลว จะทำใหเปนศีลก็ทำเสียไมตองกลาววาศีลมี อยูที่โนนที่นี้ กาลนั้นจึงจะมีกาลนี้จึงจะมี ศีลมีอยูที่เรานี้แลว อกาลิโก รักษาไดไมมีกาล ไดผลก็ไมมีกาล O เรื่องนี้ตองมีหลักฐานพรอมอีก เมื่อครั้งพุทธกาลนั้น พวก ปญจวัคคียก็ดี พระยสและบิดามารดาภรรยาเกาของทานก็ดี ภัททวัคคีย ชฏิลทั้งบริวารก็ดี พระเจาพิมพิสาร และราชบริพาร ๑๒ นหุตก็ดี ฯลฯ กอนจะฟงพระธรรมเทศนาของพระผูมีพระภาคเจา ไมปรากฏวาได สมาทานศีลเสียกอนจึงฟงเทศนา พระองคเทศนาไปทีเดียว ทำไมทาน เหลานั้นจึงไดสำเร็จมรรคผล ศีล สมาธิ ปญญา ของทานเหลานั้นมาแต ไหน ไมเห็นพระองคตรัสบอกใหทานเหลานั้นของเอาศีล สมาธิ ปญญา จากพระองค เมื่อไดลิ้มรสธรรมเทศนาของพระองคแลว ศีล สมาธิ ปญญา ยอมมีขึ้นในทานเหลานั้นเอง โดยไมมีการขอและไมมีการเอาให มัคคสามัคคี ไมมีใครหยิบยกใหเขากัน จิตดวงเดียวเปนศีล เปนสมาธิ เปนปญญา ฉะนั้นเราไมหลงศีล จึงจะเปนวิญูชนอันแทจริง

32


๓. เรื่อง ปาฏิโมกขสังวรศีล O พระวินัย ๕ คัมภีร สงเคราะหลงมาในปาฏิโมกขุทเทส เมื่อปฏิบัติ ไมถูกตองตามพระวินัยยอมเขาไมได ผูปฏิบัติถูกตามพระวินัยแลว โมกฺขํ ชื่อวาเปนทางขามพนวัฏฏะได ปาฏิโมกขนี้ยังสงเคราะหเขาไปหาวิสุทธิ มรรคอีก เรียกวา ปาฏิโมกขสังวรศีล ในสีลนิเทศ O สีลนิเทศนั้น กลาวถึงเรื่องศีลทั้งหลาย คือปาฏิโมกขสังวรศีล ๑ อินทรียสังวรศีล ๑ ปจจยสันนิสสิตศีล ๑ อาชีวปาริสุทธิศีล ๑ สวนอีก ๒ คัมภีรนั้นคือ สมาธินิเทศ และปญญานิเทศ วิสุทธิมรรคทั้ง ๓ พระคัมภีร นี้สงเคราะหเขาในมรรคทั้ง ๘ มรรค ๘ สงเคราะหลงมาในสิกขาทั้ง ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญญา เมื่อจะกลาวถึงเรื่องมรรคแลว ความประโยค พยายามปฏิบัติดัดตนอยู ชื่อวาเดินมรรค สติปฏฐานทั้ง ๔ ก็เรียกวา มรรค อริยสัจจ ๔ ก็ชื่อวามรรค เพราะเปนกิริยาที่ยังทำอยู ยังมีการ ดำเนินอยู ดังภาษิตวา "สจฺจานํ จตุโรปทา ขีณาสวา ชุติมนฺโต เต โลเก ปรินิพฺพุตา" สำหรับเทาตองมีการเดิน คนเราตองไปดวยเทาทั้งนั้น ฉะนั้นสัจจะทั้ง ๔ ก็ยังเปนกิริยาอยู เปนจรณะเครื่องพาไปถึงวิสุทธิธรรม วิสุทธิธรรมนั้นจะอยูที่ไหน? มรรคสัจจะอยูที่ไหน? วิสุทธิธรรมก็ตองอยูที่ นั่น! มรรคสัจจะไมมีอยูที่อื่น มโนเปนมหาฐาน มหาเหตุ วิสุทธิธรรมจึง ตองอยูที่ใจของเรานี่เอง ผูเจริญมรรคตองทำอยูที่นี้ ไมตองไปหาที่อื่น การหาที่อื่นอยูชื่อวายังหลง ทำไมจึงหลงไปหาที่อื่นเลา? ผูไมหลงก็ไม ตองหาทางอื่น ไมตองหากับบุคคลอื่น ศีลก็มีในตน สมาธิก็มีในตน ปญญาก็มีอยูกับตน ดังบาลีวา เจตนาหํ ภิกฺขเว สีลํ วทามิ เปนตน กายกับจิตเทานี้ประพฤติปฏิบัติศีลได ถาไมมีกายกับจิต จะเอาอะไรมา พูดออกวาศีลได คำที่วาเจตนานั้นเราตองเปลี่ยนเอาสระเอขึ้นบนสระอิ 33


เอาตัว ต สะกดเขาไป ก็พูดไดวา จิตฺตํ เปนจิต จิตเปนผูคิดงดเวนเปนผู ระวั ง รั ก ษา เป น ผู  ป ระพฤติ ป ฏิ บ ั ต ิ ซึ ่ ง มรรคและผลให เ ป น ไปได พระพุทธเจาก็ดี พระสาวกขีณาสวเจาก็ดี จะชำระตนใหหมดจดจากสัง กิเลสทั้งหลายได ทานก็มีกายกับจิตทั้งนั้น เมื่อทานจะทำมรรคและผลให เกิดมีไดก็ทำอยูที่นี่ คือที่กายกับจิต ฉะนั้นจึงกลาวไดวามรรคมีอยูที่ตน ของตนนี้เอง เมื่อเราจะเจริญซึ่งสมถหรือวิปสสนา ก็ไมตองหนีจากกาย กับจิต ไมตองสงนอก ใหพิจารณาอยูในตนของตน เปนโอปนยิโก แมจะ เปนของมีอยูภายนอก เชน รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เปนตน ก็ไม ต อ งส ง ออกเป น นอกไป ต อ งกำหนดเข า มาเที ย บเคี ย งตนของตน พิจารณาอยูที่นี้ ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ เมื่อรูก็ตองรูเฉพาะตน รูอยู ในตน ไมไดรูมาแตนอก เกิดขึ้นกับตนมีขึ้นกับตน ไมไดหามาจากที่อื่น ไมมีใครเอาให ไมไดขอมาจากผูอื่น จึงไดชื่อวา ญาณ ทสฺสนํ สุวิสุทธํ อโหสิ ฯลฯ เปนความรูเห็นที่บริสุทธิ์แท ฯลฯ ๔. เรื่อง ธรรมคติวิมุตติ O สมเด็ จ พระผู  ม ี พ ระภาคเจ า นั ้ น มิ ใ ช ว  า พระองค จ ะมี ป  ญ ญา พิจารณาเอาวิมุตติธรรมใหไดวันหนึ่งวันเดียว พระองคทรงพิจารณามา แตยังเปนฆราวาสอยูหลายป นับแตครั้งที่พระองคไดราชาภิเษกเปน กษัตริย พวกพระญาติพระวงศไดแตงตั้งพระองคไดเปนเชนนี้แลว ยอม เปนผูไมนอนใจ จำเปนที่พระองคจะตองคิดใชปญญาพิจารณาทุกสิ่งทุก อยางในการปกครองปองกันราษฎรทั้งของเขต และการรักษาครอบครัว ตลอดถึงพระองค ก็จะตองทรงคิดรอบคอบเสมอถาไมทรงคิดไมมีพระ ปญญา ไฉนจะปกครองบานเมืองไพรฟาใหผาสุกสบายได แมพระองค 34


ทรงคิดในเรื่องของผูอื่นและเรื่องของพระองคเองเสมอแลว ปญญาวิวัฎฏ ของพระองคจึงเกิดขึ้นวา เราปกครองบังคับบัญชาไดก็แตการบานเมือง เทานี้ สวนการ เกิด แก เจ็บ ตายเลา เราบังคับบัญชาไมไดเสียแลว จะ บังคับบัญชาไมใหสัตวทั้งหลายเกิดก็ไมได เมื่อเกิดแลวจะบังคับไมใหแก ชราก็ไมได จะบังคับไมใหตายก็ไมได เราจะบังคับ ความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย ของผูอื่นก็ไมได แมแตตัวของเราเองเลาก็บังคับไม ได ทรงพิจารณาเปนอนุโลมและปฏิโลม กลับไปกลับมา พิจารณาเทาไร ก็ยิ่งเกิดความสลดสังเวช และทอพระทัยในการจะอยูเปนผูปกครองราช สมบัติตอไป การที่อยูในฆราวาสรักษาสมบัติเชนนี้เพื่อตองการอะไร? เปนผูมีอำนาจเทานี้ มีสมบัติขาวของเชนนี้ จะบังคับหรือจะซื้อ หรือ ประกันซึ่งความเกิด แก เจ็บ ตายก็ไมได จึงทรงใครครวญไปอีกวา เรา จะทำอยางไรจึงจะหาทางพนจากความ เกิด แก เจ็บ ตายนี้ได จึงได ความอุปมาขึ้นวา ถามีรอนแลวก็ยังมีเย็นเปนเครื่องแกกันได มีมืดแลวยัง มีสวางแกกัน ถามีเกิด แก เจ็บ ตาย แลว อยางไรก็คงมีทางไมเกิด ไมแก ไมตาย เปนแน จึงไดทรงพยายามใครครวญหาทางจะแกเกิด แก เจ็บ ตาย ใหจนได แตวาการจะแกเกิด แก เจ็บ ตายนี้ เราอยูในฆราวาสเชน นี้ คงจะทำไมได เพราะฆราวาสนี้เปนที่คับแคบในยิ่งนัก มีแตการที่ออก หนีเสียจากการครองราชสมบัตินี้ออกไปผนวชจึงจะสามารถทำได O ครั้นทรงคิดเชนนี้แลว ตอมาวันหนึ่ง พอถึงเวลากลางคืน พวก นางสนมทั้งหลายไดพากันมาบำรุงบำเรอพระองคอยูดวยการบำเรอทั้ง หลาย ในเวลาที่นางสนมทั้งหลายยังบำเรออยูนั้นพระองคทรงบรรทม หลับไปกอน ครั้นใกลเวลาพระองคจะทรงตื่นจากบรรทมนั้น พวกนาง สนมทั้งหลายก็พากันหลับเสียหมด แตไฟยังสวางอยู เมื่อนางสนมที่ 35


บำเรอหลับหมดแลวเผอิญพระองคทรงตื่นขึ้นมา ดวยอำนาจแหงการ พิจารณาที่พระองคทรงคิดไมเลิกไมแลวนั้น ทำใหพระทัยของพระองค พลิกขณะ เลยเกิดอุคคหนิมิตขึ้น ลืมพระเนตรแลวทอดพระเนตรแลดู พวกนางสนมทั้งหลายที่นอนหลับอยูนั้นเปนซากอสุภะไปหมด เหมือน กับเปนซากศพในปาชา ผีดิบ จึงใหเกิดความสลดสังเวชเหลือที่จะทนอยู ได จึงตรัสกับพระองคเองวา เราอยูที่นี้จะวาเปนที่สนุกสนานอยางไรได คนทั้งหลายเหลานี้ลวนแตเปนซากศพในปาชาทั้งหมด เราจะอยูทำไม จำเราจะตองออกผนวชในเดี๋ยวนี้ จึงทรงเครื่องฉลองพระองคถือพระ ขรรคแลวออกไปเรียกนายฉันนะอำมาตยนำทางเสด็จหนีออกจากเมือง ไปโดยไมตองใหใครรูจัก ครั้นรุงแจงก็บรรลุถึงอโนมานที ทรงขามฝง แมนทีแลวก็ถายเครื่องประดับและเครื่องทรงที่ฉลองพระองคออกเสีย จึง สงเครื่องประดับใหนายฉันนะ ตรัสสั่งใหกลับไปเมืองพรอมดวยอัศวราช ของพระองค สวนพระองคไดเอาพระขรรคตัดพระเมาและพระมัสสุเสีย ทรงผนวชแตพระองคเดียว O เมื่อผนวชแลวจึงเสาะแสวงหาศึกษาไปกอนคือ ไปศึกษาอยูในสำ นักอาฬารดาบส และอุทกดาบส ครั้นไมสมประสงคจึงทรงหลีกไปแต พระองคเดียวไปอาศัยอยูราวปาใกลแมน้ำเนรัญชรา แขวงอุรุเวลา เสนานิคมไดมีปญจวัคคียไปอาศัยดวย พระองคไดทรงทำประโยค พยายามทำทุกกรกิริยาอยางเขมแข็ง จนถึงสลบตายก็ไมสำเร็จ เมื่อ พระองคไดสติแลวจึงพิจารณาอีกวา การที่เรากระทำความเพียรนี้จะมา ทรมานแตกายอยางเดียวเทานี้ไมควร เพราะจิตกับกายเปนของอาศัยกัน ถากายไมมีจะเอาอะไรทำประโยคพยายาม และถาจิตไมมี กายนี้ก็ทำ อะไรไมได ตอนั้นพระองคจึงไปพยุงพเยารางกายพอใหมีกำลังแข็งแรงขึ้น 36


พอควร จึงเผอิญปญจวัคคียพรอมกันหนีไป ครั้นปญจวัคคียหนีแลว พระองคก็ไดความวิเวกโดดเดี่ยวแตผูเดียว ไมตองพึ่งพาอาศัยใคร จึงได เรงพิจารณาอยางเต็มที่ O เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ประกา ในตอนเชารับธุปายาส ของนางสุชาดาเสวยเสร็จแลว ก็พักผอนอยูตามราวปานั้น ใกลจะ พลบค่ำแลว จึงเสด็จดำเนินมาพบโสตถิยพราหมณๆ ไดถวายหญาคา ๘ กำแกพระองค พระองครับแลวก็มาทำเปนที่นั่ง ณ ภายใตตนอัสสัตถ พฤกษ ผินพระพักตรไปทางบูรพาทิศ ผินพระปฤษฎางคเขาหาตนไมนั้น เมื่อพระองคประทับนั่งเรียบรอยแลว จึงไดพยุงพระหฤทัยใหเขมแข็ง ได ทรงตั้งสัจจาธิษฐานมั่นในพระหฤทัยวา ถาเราไมบรรลุพระสัมมาสัมโพธิ ญาณตามความตองการแลว เราจะไมลุกจากบัลลังกนี้ แมเลือดและเนื้อ จะแตกทำลายไป ยังเหลืออยูแตพระตจะและพระอัฏฐิก็ตามที ตอนั้นไป จึงเจริญสมถและวิปสสนาปญญา ทรงกำหนดพระอานาปานสติเปนขั้น ตน ในตอนตนนี้แหละพระองคไดทรงชำระนิวรณธรรมเต็มที่ เจาเวทนา พรอมทั้งความฟุงซานไดมาประสพแกพระองคอยางสาหัส ถาจะพูดวา มาร ก็ไดแกพวกขันธมาร มัจจุมาร กิเลสมาร เขารังควาญพระองค แต วาสัจจาธิษฐานของพระองคยังเที่ยงตรงมั่นคงอยู สติและปญญายัง พรอมอยู จึงทำใหจำพวกนิวรณเหลานั้นระงับไป ปติ ปสสัทธิ สมาธิ ได เกิดแลวแกพระองคจึงไดกลาววา พระองคทรงชนะพระยามาราธิราช ในตอนนี้เปนปฐมยาม เมื่อออกสมาธิตอนนี้ไดเกิดบุพเพนิวาสานุสสติ ญาณ เมื่อพิจารณาไปก็ไมเห็นที่สิ้นสุด จึงกลับจิตทวนกระแสเขามา พิจารณาผูมันไปเกิดใครครวญไปๆ มาๆ จิตก็เขาภวังคอีก เมื่อออกจาก ภวังคแลวจึงเกิดจุตูปปาตญาณขึ้นมาในยามที่ ๒ คือ มัชฌิมยาม ทรง 37


พิจารณาไปตามความรูชนิดนี้ ก็ยังไมมีความสิ้นสุด จึงทรงทวนกระแส จิตเขามาใครครวญอยูในเรื่องของผูพาเปนไป พิจารณากลับไปกลับมา ในปฏิจจสมุปบาทปจจยาการ จนจิตของพระองคเกิดความเบื่อหนาย สลดสังเวชเต็มที่แลว ก็ลงสูภวังคถึงฐีติธรรมภูตธรรม จิตตอนนี้ถอยออก มาแลว จึงตัดสินขาดทีเดียว จึงบัญญัติวา อาสวักขยญาณ ทรงทราบวา จิตของพระองคสิ้นแลวจากอาสวะ พนแลวจากบวงแหงมาร ไมมีเกิด แก เจ็บ ตาย พนแลวจากทุกข ถึงเอกันตบรมสุข สันติวิหารธรรม วิเวก ธรรม นิโรธธรรม วิมุตติธรรม นิพพาน ๕. เรื่อง อัจฉริยะ - อัพภูตธรรม สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาพระบรมศาสดาของพวกเรา เมื่อพระองคยัง เปนทาวศรีธารถ (สิทธัตถราชกุมาร) เสวยราชสมบัติอยู ทรงพิจารณา จตุนิมิต ๔ ประการ จึงบันดาลใหพระองคเสด็จออกสูมหาภิเนษกรมณ ทรงบรรพชา ทรงอธิษฐานบรรพชา ที่ริมฝงแมน้ำอโนมานที เครื่องสมถ บริขารมีมาเอง เลื่อนลอยมาสวมพระกายเอง ทรงเพศเปนบรรพชิต สมณสารูป สำเร็จดวยบุญญาภินิหารของพระองคเอง จึงเปนการ อัศจรรยไมเคยมีไมเคยเห็นมาในปางกอน จึงเปนเหตุใหพระองคอัศจรรย ใจ ไมถอยหลังในการประกอบความเพียร เพื่อตรัสรูพระอนุตตรสัมมา สัมโพธิญาณ ครั้นทรงบำเพ็ญเพียรทางจิตตภาวนา ไมทอถอยตลอด เวลา ๖ ป ไดตรัสรูสัจจธรรม ของจริงโดยถูกตองแลว ก็ยิ่งเปนเหตุให พระองคทรงอัศจรรยในธรรมที่ไดตรัสรูแลวนั้นอีกเปนอันมาก O ในหมูปฐมสาวกนั่นเลา ก็ปรากฏเหตุการณอันนาอัศจรรย เหมือนกัน เชน ปญจวัคคียก็ดี พระยสและสหายของทานก็ดี พระสาวก 38


อื่นๆ ที่เปนเอหิภิกฺขุก็ดี เมื่อไดฟงพระธรรมเทศนาของพระบรมศาสดา แล ว ได ส ำเร็ จ มรรคผล และทู ล ขอบรรพชาอุ ป สมบทกั บ พระองค พระองคทรงเหยียดพระหัตตออกเปลงพระวาจาวา เอหิภิกฺขุ ทานจงเปน ภิกษุมาเถิด ธรรมวินัยเรากลาวดีแลว เพียงเทานี้ก็สำเร็จเปนภิกษุใน พระพุทธศาสนา อัฏฐบริขารเลื่อนลอยมาสวมสอดกาย ทรงเพศเปน บรรพชิตสมณสารูป มีรูปอันนาอัศจรรยนาเลื่อมในจริง สาวกเหลานั้นก็ อัศจรรยตนเองในธรรมอันไมเคยรูเคยเห็น อันสำเร็จแลวดวยบุญฤทธิ์ และอำนาจพระวาจาอิทธิปาฏิหาริยของพระบรมศาสดาจารย ทาน เหลานั้นจะกลับคืนไปบานเกาไดอยางไร เพราะจิตของทานเหลานั้นพน แลวจากบานเกา และอัศจรรยในธรรมอันตนรูตนเห็นแลว ทั้งบริขารที่ สวมสอดกายอยูก็เปนผาบังสุกุลอยางอุกฤษฎ O ครั้นตอมาทานเหลานั้นไปประกาศพระพุทธศาสนา มีผูศรัทธา เลื่อมใสใครจะบวช พระผูมีพระภาคเจาก็ทรงอนุญาตใหพระสาวกบวช ดวยติสรณคมนูปสัมปทาสำเร็จดวยการเขาถึงสรณะทั้ง ๓ คืออุทิศ เฉพาะพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ก็เปนภิกษุเต็มที่ O ครั้นตอมา พระผูมีพระภาคเจา ทรงมีพระญาณเล็งเห็นการณ ไกล จึงทรงมอบความเปนใหญใหแกสงฆ ทรงประทานญัตติจตุตถกรรม อุปสัมปทาไวเปนแบบฉบับอันหมูเราผูปฏิบัติไดดำเนินตามอยูทุกวันนี้ได พากันมาอุปสมบท O ในพระพุทธศาสนา อุทิศเฉพาะพระบรมศาสดาพรอมทั้งพระ ธรรมและพระสงฆแลว ทำความพากเพียรประโยคพยายามไปโดยไม ตองถอยแลวก็คงจะไดรับความอัศจรรยใจในพระธรรมวินัยบางเปนแน ไมนอยก็มาก ตามวาสนาบารมี ของตนโดยไมสงสัยเลย ฯ 39


๖. เรื่อง วาสนา O กุศลวาสนา อกุศลวาสนา อัพยากตวาสนา O อัธยาศัยของสัตว เปนมาแลวตางๆ คือ ดี เลว และกลางๆ วาสนาก็เปนไปตามอัธยาศัย คือวาสนาที่ยิ่งกวาตัว วาสนาเสมอตัว วาสนาที่เลวทราม บางคนเปนผูมีวาสนายิ่งในทางดีมาแลว แตคบกับ พาลวาสนาก็อาจเปนเหมือนคนพาลได บางคนวาสนายังออนแตคบกับ บัณฑิตวาสนาก็เลื่อนขึ้นไปเปนบัณฑิต บางคนคบมิตรเปนกลางๆ ไมดี ไมราย ไมหายนะ ไมเสื่อมทราม วาสนาก็พอประมาณสถานกลาง ฉะนั้น บุคคลพึงพยายามคบบัณฑิต เพื่อเลื่อนภูมิวาสนาของตนใหสูงขึ้นไปโดย ลำดับ ๗. เรื่อง สนทนาธรรมตามกาลเปนมงคลอุดม O กาเลน ธมฺมสฺสากจฺฉา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ O การปฤกษาไตถาม หรือการสดับธรรมตามกาล ตามสมัย พระบรมศาสดาตรัสวาเปนมงคลความเจริญอันอุดมเลิศ หมูเราตางคนก็มุงหนาเพื่อศึกษามาเองทั้งนั้นไมไดไปเชื้อเชิญนิมนตมา ครั้นมาศึกษามาปฏิบัติก็ตองทำจริงปฏิบัติจริง ตามเยี่ยงอยางพระบรม ศาสดาจารยเจาและสาวกขีณาสวะเจาผูปฏิบัติมากอน O เบื้องตนพึงพิจารณา สัจจธรรมคือของจริงทั้ง ๔ ไดแก เกิด แก เจ็บ ตาย อันทานผูเปนอริยบุคคลไดปฏิบัติกำหนดพิจารณามาแลว เกิด เราก็เกิดมาแลว คือรางกายอันเปนอยูนี้มิใชกอนเกิดหรือ? แก เจ็บ ตาย ก็กอนอันนี้แล เมื่อเราพิจารณาอยูในอิริยาบถทั้ง ๔ เดินจงกรมบาง ยืน 40


กำหนดพิจารณาบาง นอนกำหนดพิจารณาบาง จิตจะรวมเปนสมาธิ รวมนอยก็เปนขณิกสมาธิ คือจิตรวมลงภวังคหนอยหนึ่งแลวก็ถอนออก มา ครั้นพิจารณาอยูไมถอยจนปรากฏเปนอุคคหนิมิต จะเปนนอกก็ตาม ในก็ตาม ใหพิจารณานิมิตนั้นจนจิตวางนิมิตรวมลงสูภวังค ตำรงอยูนาน พอประมาณแลวถอยออกมา สมาธิในชั้นนี้เรียกวา อุปจารสมาธิ พึง พิจารณานิมิตนั้นเรื่อยไปจนจิตรวมลงสูภวังคเขาถึงฐีติจิต เปน อัปปนา สมาธิปฐมฌาน ถึงซึ่งเอกัคคตา ความมีอารมณเดียว ครั้นจิตถอยออก มา ก็พึงพิจารณาอีกแลวๆ เลาๆ จนขยายแยกสวนเปนปฏิภาคนิมิตได ตอไป คือพิจารณาวาตายแลวมันจะเปนอะไรไปอีก มันจะตองเปอยเนา ผุพังยังเหลือแตรางกระดูก กำหนดทั้งภายในคือกายของตนทั้งภายนอก คือกายของผูอื่น โดยใหเห็นสวนตางๆ ของรางกายวาสวนนี้เปน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง ฯลฯ เสนเอ็นนอยใหญมีเทาไร กระดูกทอนนอยทอนใหญ มีเทาไร โดยชัดเจนแจมแจง กำหนดใหมันเกิดขึ้นมาอีกแลวกำหนดใหมัน ยืน เดิน นั่ง นอน แลวตายสลายไปสูสภาพเดิมของมัน คือไปเปน ดิน น้ำ ไฟ ลม ถึงฐานะเดิมของมันนั้นแล O เมื่อกำหนดจิตพิจารณาอยูอยางนี้ ทั้งภายนอกทั้งภายใน ทำให มากใหหลาย ใหมีทั้งตายเกาตายใหม มีแรงกาสุนัขยื้อแยงกัดกินอยู ก็ จะเกิดปรีชาญาณขึ้น ตามแตวาสนาอุปนิสัยของตน ดังนี้แล ฯ ๘. เรื่อง การทำจิตใหผองใส f สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ O การทำจิ ต ของตนให ผ  อ งใส เป น การทำตามคำสั ่ ง สอนของ พระพุทธเจาทั้งหลาย 41


O พระพุทธเจาผูพระบรมศาสดา ไดตรัสสอนกาย วาจา จิต มิได สอนอยางอื่น สอนใหปฏิบัติ ฝกหัดจิตใจ ใหเอาจิตพิจารณากายเรียกวา กายานุปสสนาสติปฏฐาน หัดสติใหมากในการคนควาที่เรียกวาธัมมวิจ ยะ พิจารณาใหพอทีเดียว เมื่อพิจารณาพอจนเปนสติสัมโพชฌงค จิตจึง จะเปนสมาธิรวมลงเอง O สมาธิมี ๓ ขั้น คือ ขณิกสมาธิ จิตรวมลงไปสูฐีติขณะแลวพักอยู หนอยหนึ่ง ถอยออกมาเสีย อุปจารสมาธิ จิตรวมลงสูภวังคแลวพักอยู นานหนอยจึงถอยออกมารูนิมิตอยางใดอยางหนึ่ง และอัปปนาสมาธิ สมาธิอันแนวแน ไดแกจิตรวมลงสูภวังคถึงฐีติธรรมถึงเอกัคคตา ความมี อารมณเดียว หยุดนิ่งอยูกับที่ มีความรูตัวอยูวา จิตดำรงอยู และ ประกอบดวยองคฌาน ๕ ประการ คอยสงบประณีตเขาไปโดยลำดับ O เมื่อหัดจิตอยูอยางนี้ ชื่อวาทำจิตใหยิ่ง ไดในพระบาลีวา อธิจิตฺ เต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํ การประกอบความพากเพียรทำจิตให ยิ่ง เปนการปฏิบัติตามคำสอนของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา O การพิจารณากายนี้แล ชื่อวาปฏิบัติ อันนักปราชญทั้งหลายมี พระสัมมาสัมพุทธเจาเปนตนแสดงไว มีหลายนัยหลายประการ ทาน กลาวไวในมหาสติปฏฐานสูตร เรียกวา กายานุปสสนาสติปฏฐาน ในมูล กรรมฐานเรียกวา เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ที่พระอุปชฌายะสอน เบื้องตนแหงการบรรพชาเปนสามเณร และในธรรมจักกัปปวัตนสูตรวา ชาติป ทุกฺขา ชราป ทุกฺขา มรณมฺป ทุกฺขํ แมความเกิดก็เปนทุกข แม ความแกก็เปนทุกข แมความตายก็เปนทุกข ดังนี้ บัดนี้เราก็เกิดมาแลว มิใชหรือ? ครั้นเมื่อบุคคลมาปฏิบัติใหเปน โอปนยิโก นอมเขามา 42


พิจารณาในตนนี้แลวเปนไมผิด เพราะพระธรรมเปน อกาลิโก มีอยูทุก เมื่อ อาโลโก สวางโรอยูทั้งกลางวันและกลางคืน ไมมีอะไรปดบังเลย ฯ ๙. เรื่อง วิธีปฏิบัติของผูเลาเรียนมาก O ผูที่ไดศึกษาเลาเรียนคัมภีรวินัยมาก มีอุบายมากเปนปริยาย กวางขวาง ครั้นมาปฏิบัติทางจิต จิตไมคอยจะรวมงาย ฉะนั้นตองให เขาใจวาความรูที่ไดศึกษามาแลวตองเก็บใสตูใสหีบไวเสียกอน ตองมา หัดผูรูคือจิตนี้ หัดสติใหเปนมหาสติ หัดปญญาใหเปนมหาปญญา กำหนดรูเทามหาสมมติ-มหานิยม อันเอาออกไปตั้งไววาอันนั้นเปนอันนั้น เปนวันคืนเดือนป เปนดินฟาอากาศ กลางหาวดาวนักขัตตฤกษสารพัด สิ่งทั้งปวง อันเจาสังขารคือการจิตหาออกไปตั้งไวบัญญัติไววา เขาเปน นั้นเปนนี้ จนรูเทาแลว เรียกวากำหนดรูทุกข สมุทัย เมื่อทำใหมาก-เจริญ ใหมาก รูเทาเอาทันแลว จิตก็จะรวมลงได เมื่อกำหนดอยูก็ชื่อวาเจริญ มรรค หากมรรคพอแลว นิโรธก็ไมตองกลาวถึง หากจะปรากฏชัดแกผู ปฏิบัติเอง เพราะศีลก็มีอยู สมาธิก็มีอยู ปญญาก็มีอยูในกาย วาจา จิตนี้ ที่เรียกวา อกาลิโก ของมีอยูทุกเมื่อ โอปนยิโก เมื่อผูปฏิบัติมาพิจารณา ของที่มีอยู ปจฺจตฺตํ จึงจะรูเฉพาะตัว คือมาพิจารณากายอันนี้ใหเปนขอ งอสุภะ เปอยเนา แตกพังลงไป ตามสภาพความจริงของภูตธาตุ ปุพฺเพสุ ภูเตสุ ธมฺเมสุ ในธรรมอันมีมาแตเกากอน สวางโรอยูทั้งกลางวันและ กลางคืน ผูมาปฏิบัติพิจารณาพึงรูอุปมารูปเปรียบดังนี้ อันบุคคลผูทำนา ก็ตองทำลงไปในแผนดิน ลุยตมลุยโคลนตากแดดกรำฝน จึงจะเห็นขาว เปลือก ขาวสาร ขาวสุกมาได และไดบริโภคอิ่มสบาย ก็ลวนทำมาจาก 43


ของมีอยูทั้งสิ้นฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น เพราะ ศีล สมาธิ ปญญา ก็มีอยู ใน กาย วาจา จิต ของทุกคน ฯ ๑๐. เรื่อง ขอปฏิบัติเปนของมีอยูทุกเมื่อ O ขอปฏิบัติสำหรับผูปฏิบัติทั้งหลาย ไมมีปญหาโอปนยิโก นอมจิต เขามาพิจารณา กาย วาจา จิตอกาลิโกอันเปนของมีอยู อาโลโกสวางโร อยูทั้งกลางวันและกลางคืน ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญูหิ อันนักปราชญ ทั้งหลาย มีพระพุทธเจา และพระอริยสาวกเจาทั้งหลายผูนอมเขามา พิจารณาของมีอยูนี้ ไดรูแจงจำเพาะตัวมาแลว เปนตัวอยาง ไมใชวากาล นั้นจึงจะมี กาลนี้จึงจะมี ยอมมีอยูทุกกาล ทุกสมัย ผูปฏิบัติยอมรูได เฉพาะตัว คือผิดก็รูจัก ถูกก็รูจักในตนของตนเอง ดีชั่วอยางไรตัวของตัว ย อ มรู  จ ั ก ดี ก ว า ผู  อ ื ่ น ถ า เป น ผู  ห มั ่ น พิ น ิ จ พิ จ ารณาไม ม ั ว ประมาท เพลิดเพลินเสีย O ตัวอยางที่มีมาแลวคือ มาณพ ๑๖ คน ซึ่งเปนศิษยของพาวรี พราหมณ ทานเหลานั้นเจริญญานกสิณติดอยูในรูปฌานและอรูปฌาน พระบรมศาสดาจารยจึงตรัสสอนใหพิจารณาของมีอยูในตน ใหเห็นแจง ดวยปญญาใหรูวา กามภพเปนเบื้องต่ำ รูปภพเปนเบื้องกลาง อรูปภพ เปนเบื้องบน แลวถอยลงมาใหรูวา อดีตเปนเบื้องต่ำ อนาคตเปนเบื้อง บน ปจจุบันเปนทามกลาง แลวชักเขามาหาตัวอีกใหรูวา อุทฺธํ อโธ ติ ริยฺจาป มชฺเฌ เบื้องต่ำแตปลายผมลงไป เบื้องบนแตพื้นเทาขึ้นมา เบื้องขวางฐานกลาง เมื่อทานเหลานั้นมาพิจารณาอยูอยางนี้ ปจฺจตฺตํ จึง รูเฉพาะขึ้นที่ตัวของตัวโดยแจมแจง สิ้นความสงสัยขอปฏิบัติ ไมตองไป เที่ยวแสวงหาที่อื่นใหลำบาก ฯ 44


๑๑. เรื่อง ไดฟงธรรมทุกเมื่อ O ผูปฏิบัติพึงใชอุบายปญญาฟงธรรมเทศนาทุกเมื่อถึงจะอยูคน เดียวก็ตาม คืออาศัยการสำเหนียก กำหนดพิจารณาธรรมอยูทั้งกลางวัน และกลางคืน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็เปนรูปธรรมที่มีอยูปรากฏอยู รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ก็มีอยูปรากฏอยู ไดเห็นอยู ไดยินอยู ไดสูด ดม ลิ้ม เลีย และสัมผัสอยู จิตใจเลา? ก็มีอยู ความคิดนึกรูสึกในอารมณ ตางๆ ทั้งดีและรายก็มีอยู ความเสื่อม ความเจริญ ทั้งภายนอกภายใน ก็ มีอยู ธรรมชาติอันมีอยูโดยธรรมดา เขาแสดงความจริงคือความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ใหปรากฏอยู ทุกเมื่อ เชนใบไมมันเหลืองหลนรวง ลงจากตน ก็แสดงความไมเที่ยงใหเห็น ดังนี้เปนตน เมื่อผูปฏิบัติมาพินิจ พิจารณาดวยสติปญญา โดยอุบายนี้อยูเสมอแลว ชื่อวาไดฟงธรรมอยู ทุกเมื่อ ทั้งกลางวันและกลางคืนแล ฯ ๑๒. เรื่อง ปริญเญยฺยธรรม O การกำหนดพิ จ ารณาธรรมเรี ย กบริ ก รรมจิ ต ที ่ ก ำลั ง ทำการ กำหนดพิจารณาธรรมอยางเอาใจใส เมื่อไดความแนใจในเหตุผลของ ธรรมที่พิจารณานั้นแลว จิตจะสงบรวมลงสูภวังค ดำรงอยูหนอยหนึ่ง แลวก็ถอยออก ความสงบในขั้นนี้เรียก บริกรรมสมาธิ หรือ ขณิกสมาธิ การกำหนดพิจารณาธรรมแลวจิตสงบรวมลงสูภวังคเขาถึงฐีติธรรมดำรง อยูนานหนอยแลวถอยออกมารูเห็นอสุภะปรากฏขึ้น ความสงบในขั้นนี้ เรียกวา อุปจารสมาธิ O การกำหนดพิจารณาธรรมคืออสุภนิมิต ที่ปรากฏแกจิตที่เรียกวา 45


อุคคหนิมิตนั้นจนเพียงพอแลว จิตปลอยวางนิมิตเสีย สงบรวมลงสูภวังค ถึงฐีติธรรมดำรงอยูนาน เปนเอกัคคตามีอารมณเดียว สงบนิ่งแนวแน มี สติรูอยูวาจิตดำรงอยูกับที่ ไมหวั่นไหวไปมา ความสงบชั้นนี้เรียกวาอัป ปนาสมาธิ O สวน นิมิต อันปรากฏแกผูบำเพ็ญสมาธิภาวนาตามลำดับชั้นดัง กลาวนี้ ก็เรียกวา บริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต ปฏิภาคนิมิต ตามลำดับกัน อนึ่ง ภวังค คือภพหรือฐานของจิตนั้น ทานก็เรียกชื่อเปน ๓ ตามอาการ เคลื่อนไปของจิต คือ ภวังคบาท ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ ขณะแรกที่ จิตวางอารมณเขาสูฐานเดิมของตน ที่เรียกอยางสามัญวาปกติจิตนั้นแล เรียกวา ภวังคบาท ขณะที่จิตเริ่มไหวตัวเพื่อขึ้นสูอารมณอีกเรียกวา ภวังคจลนะ ขณะที่จิตเคลื่อนจากฐานขึ้นสูอารมณ เรียกวา ภวังคุปจเฉ ทะ O จิตของผูบำเพ็ญภาวนาเขาสูความสงบถึงฐานเดิมของจิตแลวพัก เสวยความสงบอยูในสมาธินั้นนาน มีอาการครบองคของฌานจึงเรียก วา ฌาน เมื่อทำการพินิจพิจารณาธรรมดวยปญญาจนเพียงพอแลว จิต รวมลงสูภวังค คือ ฐานเดิมของจิตจนถึงฐีติ ขณะตัดกระแสภวังคขาด หายไปไมพักเสวยอยู เกิดญาณความรูตัดสินขึ้นวา ภพเบื้องหนาของเรา ไมมีอีก ดังนี้เรียกวา ฐีติญาณ ๑๓. เรื่อง บั้นตนโพธิสัตว O ปฐมโพธิสัตว มัชฌิมโพธิสัตว ปจฉิมโพธิสัตว ปฐมโพธิกาล มัชฌิมโพธิกาล ปจฉิมโพธิกาล ปฐมเทศนา มัชฌิมเทศนา ปจฉิมเทศนา O สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาของเรา เสด็จออกจากคัพโภทรของ 46


พระนางเจาสิริมหามายา ณ สวนลุมพินีวัน ระหวางนครกบิลพัสดุกับ นครเทวหะตอกัน ครั้นประสูติแลว ก็ทรงพระเจริญวัยมาโดยลำดับ ครั้น สมควรแกการศึกษาศิลปวิทยา เพื่อปกครองรักษาบานเมืองตามขัตติย ประเพณีไดแลวก็ทรงศึกษาศิลปวิทยา เมื่อพระชนมายุได ๑๖ พรรษา ก็ไดปกครองบานเมืองเสวยราชสมบัติแทนพระเจาศิริสุทโธทนมหาราช ผูพระราชบิดานับวาไดเปนใหญเปนราชาแลว พระองคทรงพระนามวา เจาชายสิทธัตถะ ก็ตองทรงคิดอานการปกครองรักษาบานเมืองและไพร ฟาประชาราษฎรใหรมเย็นเปนสุข ทรงบังคับบัญชาอยางไร เขาก็ทำ ตามทุกอยาง ครั้นทรงพิจารณาหาทางบังคับบัญชาความเกิดแกเจ็บ ตายใหเปนไปตามใจหวังก็เปนไปไมได ถึงอยางนั้นก็มิทำใหทอพระทัยใน การคิดอานหาทางแกเกิดแกเจ็บตาย ยิ่งเราพระทัยใหคิดอานพิจารณา ยิ่งขึ้น ความคิดอานของพระองคในตอนนี้เรียกวาบริกรรม ทรงกำหนด พิจารณาในพระทัยอยูเสมอ จนกระทั่งพระสนมทั้งหมดปรากฏใหเห็น เปนซากอสุภะดุจปาชาผีดิบ จตุนิมิต ๔ ประการคือ เกิด แก เจ็บ ตาย จึงบันดาลใหพระองคเกิดเบื่อหนายในราชสมบัติ แลวเสด็จสูมหาภิเนษ กรมณบรรพชา ตอนนี้เรียกวา ปฐมโพธิสัตว เปนสัตวพิเศษ ผูจะได ตรัสรูธรรมวิเศษเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาเที่ยงแทกอนแตกาลนี้ ไมนับ นับเอาแตกาลปจจุบันทันตาเห็นเทานั้น O ครั้นเมื่อพระองคเสด็จสูมหาภิเนษกรมณบรรพชา ณ ฝงแมน้ำอ โนมานที ทรงตัดพระเมาดวยพระขรรคอธิษฐานบรรพชา อัฏฐบริขาร มีมาเองดวยอำนาจบุญฤทธิ์อิทธิปาฏิหาริยเปนผาบังสุกุลจีวร เหตุ อัศจรรยอยางนี้มีเพียงครั้งเดียวเทานั้น ตอนั้นมาตองทรงแสวงหา เหลา ปฐมสาวกก็เหมือนกัน อัฏฐบริขารเกิดขึ้นดวยบุญฤทธิ์เพียงครั้งแรก 47


เทานั้น ครั้นทรงบรรพชาแลว ทรงทำทุกรกิริยาประโยคพยายาม พิจารณาอุคคหนิมิตที่ทรงรูครั้งแรก แยกออกเปนสวนๆ เปนปฏิภาค นิมิตจนถึงเสด็จประทับนั่ง ณ ควงแหงมหาโพธิพฤกษ ทรงชนะมารและ เสนามารเมื่อเวลาพระอาทิตยอัสดงคตยัง บุพเพนิวาสานุสติญาณ ให เกิดในปฐมยาม ยัง จุตูปปาตญาณ ใหเกิดในมัชฌิมยาม ทรงตาม พิจารณาจิตที่ยังปจจัยใหสืบตอที่เรียกวา ปจจยาการ ตอนเวลากอน พระอาทิตยขึ้น ตอนนี้เรียกวา มัชฌิมโพธิสัตว O ครั้นเมื่อทรงพิจารณาตามเหตุผลเพียงพอสมควรแลว จิตของ พระองคหยั่งลงสูความสงบถึงฐีติธรรมดำรงอยูในความสงบพอสมควร แลว ตัดกระแสภวังคขาดไป เกิดญาณความรูตัดสินขึ้นในขณะนั้นวา ภพ เบื้องหนาของเราไมมีอีกแลว ดังนี้เรียกวา อาสวักขยญาณ ประหารเสีย ซึ่งกิเลสอาสวะทั้งหลายใหขาดหายไปจากพระขันธสันดาร สรรพปรีชา ญานตางๆ อันสำเร็จมา แตบุพพวาสนาบารมี ก็มาชุมนุมในขณะจิตอัน เดียวนั้นจึงเรียกวาตรัสรูพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ระยะกาลตอนนี้ เรียกวา ปจฉิมโพธิสัตว O ครั้นตรัสรูแลว ทรงเสวยวิมุตติสุข อยูในที่ ๗ สถาน ตลอดกาล ๔๙ วันแลวแลทรงเทศนาสั่งสอนเวไนยนิกร มีพระปญจวัคคียเปนตน จึง ถึงทรงตั้งพระอัครสาวกทั้ง ๒ และแสดงมัชฌิมเทศนา ณ เวฬุวันกลันท กนิวาปสถาน ใกลกรุงราชคฤหมหานคร จัดเปนปฐมโพธิกาล O ตอแตนั้นมา ก็ทรงทรมานสั่งสอนเวไนยนิกรตลอดเวลา ๔๕ พระ พรรษา จัดเปน มัชฌิมโพธิกาล ตั้งแตเวลาทรงประทับไสยาสน ณ พระ แทนมรณมัญจาอาสน ณ ระหวางนางรังทั้งคู ในสาลวโนทยาน ของมัลล กษัตริย กรุงกุสินาราราชธานี และทรงแสดงพระปจฉิมเทศนาแลวปด 48


พระโอษฐ เสด็จดับขันธปรินิพพานระยะกาลตอนนี้จัดเปน ปจฉิมโพธิ กาล ดวยประการฉะนี้ O (สวน ปฐมเทศนา มัชฌิมเทศนา และปจฉิมเทศนา นัน้ มีเนื้อ ความเปนประการไร ไดแสดงแลวในสวนที่ ๑) ๑๔. เรื่อง โสฬสกิจ O กิจในพระธรรมวินัยนี้ ที่นับวาสำคัญที่สุดเรียกวา โสฬสกิจ เปน กิจที่โยคาวจรกุลบุตรพึงพากเพียรพยายามทำใหสำเร็จบริบูรณดวย ความไมประมาท O โสฬสกิจ ไดแกกิจในอริยสัจ ๔ ประการ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ชั้นโสดาบันก็ประชุม ๔ ชั้น สกิทาคามีก็ประชุม ๔ สองสี่ก็เปน ๘ ชั้นอนาคามีก็ประชุม ๔ ชั้นอรหันตก็ประชุม ๔ สองสี่ก็เปน ๘ สองแปด เปน ๑๖ กำหนดสัจจะทั้ง ๔ รวมเปนองคอริยมรรคเปนขั้น ๆ ไป O เมื่อเรามาเจริญอริยมรรคทั้ง ๘ อันมีอยูในกายในจิต คือ ทุกข เปนสัจจะของจริงที่มีอยูก็รูวามีอยูเปนปริญเญยฺยะ ควรกำหนดรูก็ได กำหนดรู สมุทัย เปนสัจจะของจริงที่มีอยูก็รูวามีอยู เปนปหาตัพพะ ควร ละก็ละไดแลว นิโรธ เปนสัจจะของจริงที่มีอยูก็รูวามีอยูเปนสัจฉิกาตัพ พะ ควรทำใหแจงก็ไดทำใหแจงแลว มรรค เปนสัจจะของจริงที่มีอยูก็รูวา มีอยูเปนภาเวตัพพะ ควรเจริญใหมากก็ไดเจริญใหมากแลว เมื่อมา กำหนดพิจารณาอยูอยางนี้ ก็แกโลกธรรม ๘ ไดสำเร็จ O มรรค อยูที่ กาย กับ จิต คือ ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ รวมเปน ๖ ลิ้น ๑ เปน ๗ กาย ๑ เปน ๘ มาพิจารณารูเทาสิ่งทั้ง ๘ นี้ ไมหลงไปตาม ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข อันมาถูกตอง 49


ตนของตนจิตไมหวั่นไหว โลกธรรม ๘ เปนคูปรับกับมรรค ๘ เมื่อรูเทา สวนทั้งสองนี้แลว เจริญมรรคใหบริบูรณเต็มที่ ก็แกโลกธรรม ๘ ได ก็ เปนผุ€ฐสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปติ อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตมฺ มงฺค ลมุตฺตมํ โลกธรรมถูกตองจิตผูใดแลว จิตของผูนั้นไมหวั่นไหวเมื่อไมหวั่น ไหวก็ไมเศราโศก เปนจิตปราศจากเครื่องยอม เปนจิตเกษมจากโยคะ จัด วาเปนมงคลอันอุดมเลิศ ฉะนี้แล ฯ ๑๕. เรื่อง สำคัญตนวาไดบรรลุอรหัตตผล O กิร ดังไดสดับมา ยังมีภิกษุ ๒ รูป ในพระศาสนาของพระบรม ศาสดาของเรานี้ องคหนึ่งมีพรรษาแกกวาอีกองคหนึ่งมีพรรษาออนกวา เปนสหธรรมิกที่มีความรักใครในกันและกัน แตจากกันไปเพื่อประกอบ ความเพียร องคออนพรรษากวาไดสำเร็จพระอรหันตผลเปนพระอรหันต กอน องคแกพรรษาไดแตเพียรกำลังสมาธิสมาบัติ และเปนผูชำนาญใน วสี จะพิจารณาอธิษฐานใหเปนอยางไรก็ไดดังประสงค และเกิดทิฏฐิ สำคัญวารูทั่วแลว สวนองคหยอนพรรษาครั้นพิจารณาดูก็ทราบไดดวย ปญญาญาณ จึงสั่งใหองคแกพรรษากวาไปหาทานองคนั้นไมไป สั่งสอน สามครั้งก็ไมไป องคหยอนพรรษาจึงไปหาเสียเอง แลวยังกันและกันให ยินดี พอสมควรแลวจึงพูดกับองคแกกวาวา ถาทานสำคัญวารูจริง ก็จง อธิษฐานใหเปนสระในสระใหมีดอกบัวหลวง ๑ ดอก ในดอกบัวหลวงใหมี นางฟอนสวยงาม ๗ นาง องคแกพรรษาก็เนรมิตไดตามนั้น ครั้นเนรมิต แลวองคออนพรรษากวาจึงสั่งใหเพงดู ครั้นเพงดูนางฟอนอยู กามราคะ กิเลสอันสั่งสมมาแลวหลายรอยอัตตภาพก็กำเริบ จึงทราบไดวาตนยังไม ไดสำเร็จเปนพระอรหันต ครั้นแลวองคออนพรรษาจึงเตือนใหรูตัว และ 50


ใหเรงทางปญญาวิปสสนาญาณ องคแกพรรษากวาครั้นปฏิบัติตาม ทำความพากเพียรประโยคพยายามอยู มิชามินานก็ไดสำเร็จเปนพระอร หันตขีณาสวะบุคคลในพระพุทธศาสนาดวยประการฉะนี้ O อปรา ยังเรื่องอื่นอีก มีเนื้อความอยางเดียวกันแตนิมิตตางกัน คือใหเนรมิตชางสารซับมันตัวรายกาจวิ่งเขามาหา หลงรูปเนรมิตของ ตนเอง เกิดความสะดุงตกใจกลัวเตรียมตัววิ่งหนี เพื่อนสหธรรมมิกผูไป ชวยเหลือไดฉุดเอาไว และกลาวตักเตือนสั่งสอนโดยนัยหนหลัง จึงหยุด ยั้งใจไดและปฏิบัติตามคำสั่งสอนของสหธรรมมิกผูชวยเหลือนั้น ไมนาน ก็ไดสำเร็จเปนพระอรหันตขีณาสวะบุคคลในพระบวรพุทธศาสนาเชน เดียวกัน แมเรื่องนี้ก็พึงถือเอาเปนทิฏฐานุคติ เชนเดียวกับเรื่องกอน นั้นแล O นี้เปนนิทานที่เปนคติสำหรับผูปฏิบัติจะพึงอนุวัติตามคือ ผูเปน สหธรรมิก ประพฤติธรรมรวมกันทุกคน จงมาเปนสหายกันในกิจที่ชอบ ทั้งที่เปนกิจภายใน ทั้งที่เปนกิจภายนอกยังประโยชนของกันและกันให สำเร็จดวยดีเถิด ๑๖. เรื่อง อุณหัสสวิชัยสูตร O ผูใดมาถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะที่พึ่งแลว ผูนั้นยอมชนะไดซึ่งความรอน O อุณหัสส คือความรอนอันเกิดแกตน มีทั้งภายในและภายนอก ภายนอกมีเสือสางคางแดง ภูตผีปศาจ เปนตน ภายในคือกิเลส วิชัยคือ ความชนะ ผูที่มานอมเอาสรณะทั้งสามนี้เปนที่พึ่งแลว ยอมจะชนะความ รอนเหลานั้นไปไดหมดทุกอยางที่เรียกวา อุณหัสสวิชัย 51


O อุณหสฺสวิชดย ธมฺโม โลเก อนุตฺตโร พระธรรมเปนของยิ่งในโลก ทั้งสาม สามารถชนะซึ่งความรอนอกรอนใจอันเกิดแตภัยตางๆ ปริวชฺเช ราชทนฺเฑ พยคฺเฆ นาเค วีเส ภูเต อกาลมรเณน จ สพฺพสฺม มรณา มุตฺโต จะเวนหางจากอันตรายทั้งหลายคือ อาชญาของพระราชา เสือสาง นาค ยาพิษ ภูตผี ปศาจ หากวายังไมถึงคราวถึงกาลที่จักตายแลว ก็จัก พนไปไดจากความตายดวยอำนาจ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ที่ตน นอมเอาเปนสรณะที่พึ่งที่นับถือนั้น ความขอนี้มีพระบาลีสาธกดังจะยก มาอางอิงในสมัยเมื่อสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาพรอมดวยพระอรหันต หนุม ๕๐๐ รูป ประทับอยูในราวปามหาวันใกลกรุงกบิลพัสดุ เทวดาทั้ง หลายพากันมาดู แลวกลาวคาถาขึ้นวา เยเกจิ พุทฺธํ สรณํ คตา เส น เต คมิสฺ สนฺติ อปายภูมิ ปหาย มานุสํ เทหํ เทวกายํ ปริปูเรสฺสนฺติ แปล ความวา บุคคลบางพวกหรือบุคคลไรๆ มาถึงพระพุทธเจาเปนสรณะที่ พึ่งแลว บุคคลเหลานั้นยอมไมไปสูอบายภูมิทั้ง ๔ มีนรกเปนตน เมื่อละ รางกายอันเปนของมนุษยนี้แลว จักไปเปนหมูแหงเทพดาทั้งหลายดังนี้ O สรณะทั้ง ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มิไดเสื่อมสูญ อันตรธานไปไหน ยังปรากฏอยูแกผูปฏิบัติเขาถึงอยูเสมอ ผูใดมายึดถือ เปนที่พึ่งของตนแลว ผูนั้นจะอยูกลางปาหรือเรือนวางก็ตาม สรณะทั้ง สามก็ปรากฏแกเราอยูทุกเมื่อ จึงวาเปนที่พึ่งแกบุคคลจริง เมื่อปฏิบัติ ตามสรณะทั้งสามจริงๆ แลว จะคลาดแคลวจากภัยทั้งหลาย อันกอให เกิดความรอนอกรอนใจไดแนนอนทีเดียว

52


ปฏิปตติปุจฉาวิสัชนา พระธรรมเจดีย : ถามวา ผูปฏิบัติศาสนาโดยมากปฏิบัติอยูแคไหน ? พระอาจารยมั่น : ปฏิบัติอยูภูมิกามาพจารกุศลโดยมาก พระธรรมเจดีย : ทำไมจึงปฏิบัติอยูเพียงนั้น ? พระอาจารยมั่น : อัธยาศัยของคนโดยมากยังกำหนัดอยูในกาม เห็นวากามารมณที่ดี เปนสุข สวนที่ไมดีเห็นวาเปนทุกข จึงไดปฏิบัติในบุญกริยาวัตถุ มีการฟง ธรรม ใหทาน รักษาศีล เปนตน หรือภาวนาบางเล็กนอย เพราะความ มุงเพื่อจะไดสวรรคสมบัติ มนุษยสมบัติ เปนตน ก็คงเปนภูมิกามาพจร กุศลอยูนั่นเอง เบื้องหนาแตกายแตกตายไปแลว ยอมถึงสุคติบาง ไมถึง บาง แลวแตวิบากจะซัดไป เพราะไมใชนิยตบุคคล คือยังไมปดอบาย เพราะยังไมไดบรรลุโสดาปตติผล พระธรรมเจดีย : ก็ทานผูปฏิบัติที่ดีกวานี้ไมมีหรือ ? 53


พระอาจารยมั่น : มี แตวานอย พระธรรมเจดีย : นอยเพราะเหตุไร ? พระอาจารยมั่น : นอยเพราะกามทั้งหลายเทากับเลือดในอกของสัตว ยากที่จะละความ ยินดีในกามได เพราะการปฏิบัติธรรมละเอียด ตองอาศัยกายวิเวก จิตต วิเวก จึงจะเปนไปเพื่ออุปธิวิเวก เพราะเหตุนี้แลจึงทำไดดวยยาก แตไม เหลือวิสัย ตองเปนผูเห็นทุกขจริงๆ จึงจะปฏิบัติได พระธรรมเจดีย : ถาปฏิบัติเพียงภูมิกามาพจรกุศล ดูไมแปลกอะไร เพราะเกิดเปนมนุษยก็ เปนภูมิกามาพจรกุศลอยูแลว สวนการปฏิบัติจะใหดีกวาเกาก็จะตองให เลื่อนชั้นเปนภูมิรูปาวจรหรืออรูปาวจรแลโลกอุดร จะไดแปลกจากเกา ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว ถาคิดดูคนนอกพุทธกาล ทานก็ไดบรรลุฌาณชั้นสูงๆก็มี คนใน พุทธกาล ทานก็ไดบรรลุมรรคแลผล มีพระโสดาบัน แลพระอรหันต โดย มากนี่เราก็ไมไดบรรลุฌาณเปนอันสูคนนอกพุทธกาลไมได แลไมไดบรรลุ มรรคผลเปนอันสูคนในพุทธกาลไมได 54


พระธรรมเจดีย : เมื่อเปนเชนนี้จักทำอยางไรดี ? พระอาจารยมั่น : ตองทำในใจใหเห็นตามพระพุทธภาษิตที่วา มตฺตาสุขปริจฺจาคา ปสฺเส เจ วิปุลํ สุขํ ถาวาบุคคลเห็นซึ่งสุขอันไพบูลย เพราะบริจาคซึ่งสุขมี ประมาณนอยเสียไซร จเช มตฺตาสุขํ ธีโร สมฺปสฺสํ วิปุลํ สุขํ บุคคลผูมี ปญญาเครื่องทรงไว เมื่อเล็งเห็นซึ่งสุขอันไพบูลย พึงละเสียซึ่งสุขมี ประมาณนอย พระธรรมเจดีย : สุขมีประมาณนอยไดแกสุขชนิดไหน ? พระอาจายมั่น : ไดแกสุขซึ่งเกิดแตความยินดีในกามที่เรียกวา อามิสสุข นี่แหละสุขมี ประมาณนอย พระธรรมเจดีย : ก็สุขอันไพบูลยไดแกสุขชนิดไหน ? พระอาจารยมั่น : ไดแกฌาณ วิปสสนา มรรค ผล นิพพาน ที่เรียกวานิรามิสสุขไมเจือดวย 55


กาม นี่แหละสุขอันไพบูลย พระธรรมเจดีย : จะปฏิบัติใหถึงสุขอันไพบูลยจะดำเนินทางไหนดี ? พระอาจารยมั่น : ก็ตองดำเนินทางองคมรรค 8 พระธรรมเจดีย : องคมรรค 8 ใครๆก็รู ทำไมถึงเดินกันไมใครจะถูก ? พระอาจารยมั่น : เพราะองคมรรคทั้ง 8 ไมมีใครเคยเดิน จึงเดินไมใครถูก พอถูกก็เปนพระ อริยเจา พระธรรมเจดีย : ที่เดินไมถูกเพราะเหตุอะไร ? พระอาจารยมั่น : เพราะชอบเดินทางเกาซึ่งเปนทางชำนาญ พระธรรมเจดีย : ทางเกานั้นคืออะไร ? 56


พระอาจารยมั่น : ไดแกกามสุขัลลิกานุโยคแลอัตตกิลมถานุโยค พระธรรมเจดีย : กามสุขัลลิกานุโยคนั้นคืออะไร ? พระอาจารยมั่น : ความทำตนใหเปนผูหมดมุนติดอยูในกามสุขนี้แล ชื่อวากามสุขัลลิกานุ โยค พระธรรมเจดีย : อัตตกิลมถานุโยคไดแกทางไหน ? พระอาจารยมั่น : ไดแกผูปฏิบัติผิด แมประพฤติเครงครัดทำตนใหลำบากสักเพียงไร ก็ไม สำเร็จประโยชนซึ่ง มรรค, ผล, นิพพาน, นี่แหละเรียกวาอัตตกิลมถานุ โยค พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นทางทั้ง 2 นี้ เห็นจะมีคนเดินมากกวามัชฌิมาปฏิปทาหลารอย เทา ? 57


พระอาจารยมั่น : แนทีเดียว พระพุทธเจาแรกตรัสรู จึงไดแสดงกอนธรรมอยางอื่นๆ ที่มา แลวในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เพื่อใหสาวกเขาใจ จะไดไมดำเนินในทาง ทั้ง 2 มาดำเนินในทางมัชฌิมาปฏิปทา พระธรรมเจดีย : องคมรรค 8 ทำไมจึงยกสัมมาทิฎฐิ ซึ่งเปนกองปญญขึนแสดงกอน สวน การปฏิบัติของผูดำเนินทางมรรค ตองทำศีลไปกอน แลวจึงทำสมาธิ แล ปญญา ซึ่งเรียกวาสิกขาทั้ง 3 ? พระอาจารยมั่น : ตามความเห็นของขาพเจาวาจะเปน 2 ตอน ตอนแรกสวนโลกียกุศลตอง ทำศีล สมาธิ ปญญา เปนลำดับไป ปญญาที่เกิดขึ้นยังไมเห็นอริยสัจทั้ง 4 สังโยชน 3 ยังละไมได ขีดของใจเพียงนี้เปนโลกีย ตอนที่เห็นอริยสัจ แลวละสังโยชน 3 ได ตอนนี้เปนโลกุตตร พระธรรมเจดีย : ศีลจะเอาศีลชนิดไหน ? พระอาจารยมั่น : ศีลมีหลายอยาง ศีล 5 ศีล 8 ศีล 10 ศีล 227 แตในที่นี้ประสงคศีลที่ เรียกวา สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว แตตองทำใหบริบูรณ 58


พระธรรมเจดีย : สมฺมาวาจา คืออะไร ? พระอาจารยมั่น : มุสาวาทา เวรมณี เวนจากพูดเท็จ ปสุณาย วาจาย เวรมณี เวนจากพูด คำหยาบ สมฺผปฺปลาปา เวรมณี เวนจากพูดโปรยประโยชน พระธรรมเจดีย : สมฺมากมฺมนฺโต การงานชอบนั้นมีกี่อยาง ? พระอาจารยมั่น : มี 3 อยาง คือ ปาณาติปาตา เวรมณี เวนจากฆาสัตว อทินนาทานา เวรมณี เวนจากการลักทรัพย อพฺรหฺมจริยา เวรมณี เวนจากอสัทธรรม ไมใชพรหมจรรย พระธรรมเจดีย : สมฺมากมฺมนฺโต ในที่อื่นๆโดยมาเวน อพฺรหฺม สวนในมหาสติปฏฐานทำไม จึงเวนกาเมสุมิจฉาจาร ? พระอาจารยมั่น : ความเห็นของขาพเจาวาที่ทรงแสดงศีล อพฺรหฺม เห็นจะเปนดวยรับสั่งแก ภิกษุ เพราะวาภิกษุเปน พรหมจารีบุคคลนั้น สวนในมหาสติปฏฐาน 4 ก็รับสั่งแกภิกษุเหมือนกัน แตวาเวลานั้นพระองคเสด็จประทับอยูในหมู 59


ชนชาวกุรุ พวกชาวบานเห็นจะฟงอยูมาก ทานจึงสอนใหเวน กามมิจฉา จาร เพราะชาวบานมักเปนคนมีคู พระธรรมเจดีย : สมฺมาอาชีโว เลี้ยงชีวิตชอบ เวนจากมิจฉาชีพนั้นเปนอยางไร ? พระอาจารยมั่น : บางแหงทานก็อธิบายไววา ขายสุรายาพิษ ศัสตราวุธ หรือขายสัตวมี ชีวิตตองเอาไปฆาเปนตน เหลานี้แหละเปนมิจฉาชีพ พระธรรมเจดีย : ถาคนที่ไมไดขายของเหลานี้ก็เปนสมฺมาอาชีโว อยางนั้นหรือ ? พระอาจารยมั่น : ยังเปนไปไมได เพราะวิธีโกงของคนมีหลายอยางนัก เชน คาขายโดยไม เชื่อ มีการโกงตาชั่งตาเต็ง หรือเอารัดเอาเปรียบอยางใดอยางหนึ่งใน เวลาที่ผูชื้อเผลอหรือเขาไวใจ รวมความพูดวาอัธยาศัยของคนที่ไมซื่อ คิดเอารัดเอาเปรียบผูอื่น เห็นแตจะไดสุดแตจะมีโอกาส จะเปนเงินหรือ ของก็ดี ถึงแมไมชอบธรรม สุดแตจะได เปนเอาทั้งนั้น ขาพเจาเห็นวา อาการเหลานี้ก็เปนมิจฉาชีพทั้งสิ้น สมฺมาอาชีโว จะตองเวนทุกอยาง เพราะเปนสิ่งที่คดคอมไดมาโดยไมชอบธรรม พระธรรมเจดีย : 60


สมฺมาวายาโม ความเพียรชอบนั้นคือเพียรอยางไร ? พระอาจารยมั่น : สังวรปธาน เพียรระวังอกุศลวิตก 3 ที่ยังไมเกิดไมใหเกิดขึ้น ปหานปธาน เพียร ละอกุศลวิตก 3 ที่เกิดขึ้นแลวใหหายไป ภาวนาปธาน เพียรเจริญ กุศลที่ยังไมเกิดขึ้นแลวใหหายไป ภาวนาปธาน เพียรเจริญกุศลที่ยังไม เกิดใหเกิดขึ้น อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดแลวไวใหสมบูรณ พระธรรมเจดีย : สมฺมาสติ ระลึกชอบนั้นระลึกอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ระลึกอยูในสติปฎฐาน 4 คือ กายานุปสฺสนา ระลึกถึงกาย เวทนานุปสฺ สนา ระลึกถึงเวทนา จิตฺตานุปสฺสนา ระลึกถึงจิต ธมฺมานุปสฺสนา ระลึก ถึงธรรม พระธรรมเจดีย : สมฺมาสมาธิ ความตั้งใจไวชอบ คือตั้งใจไวอยางไร จึงจะเปนสมฺมา สมาธิ ? พระอาจารยมั่น : คือตั้งไวในองคฌาณทั้ง 4 ที่เรียกวา ปฐมฌาณ ทุติยฌาณ ตติยฌาณ จตุตถฌาณ เหลานี้แหละ เปน สมฺมาสมาธิ 61


พระธรรมเจดีย : สมฺมาสงฺกปฺโป ความดำริชอบนั้นดำริอยางไร ? พระอาจารยมั่น : เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป ดำริออกจากกาม อพฺยาปาทสงฺกปฺโป ดำริไมพยาบาท อวิหึสาสงฺกปฺโป ดำริในความไมเบียดเบียน พระธรรมเจดีย : สมฺมาวายาโม ก็ละอกุศลวิตก 3 แลว สมฺมาสงฺกปฺโป ทำไมจึงตองดำริอีก เลา ? พระอาจารยมั่น : ตางกันเพราะ สมฺมาวายาโมนั้น เปนแตเปลี่ยนอารมณ เชน จิตที่ฟุงซาน หรือเปนอกุศลก็เลิกนึกเรื่องเกาเสีย มามีสติระลึกอยูในอารมณที่เปน กุศลจึงสงเคราะหเขาในกองสมาธิ สวนสมฺมาสงฺกปฺโป มีปญญา พิจารณาเห็นโทษของกาม เห็นอานิสงสของเนกขัมมะ จึงไดคิดออกจาก กามด ว ยอาการที ่ เ ห็ น โทษหรื อ เห็ น โทษของพยาบาทวิ ห ิ ง สา เห็ น อานิสงสของเมตตากรุณา จึงไดคาดละพยาบาทวิหิงสา การเห็นโทษแล เห็นอานิสงสเชนนี้แหละจึงผิดกับ สมฺมาวายาโม ทานจึงสงเคราะหเขาไว ในกองปญญา พระธรรมเจดีย : 62


สมฺมาทิ€ฐิ ความเห็นชอบนั้นคือเห็นอยางไร ? พระอาจารยมั่น : คือ เห็นทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ที่เรียกวา อริยสัจ 4 ความเห็นชอบ อยางนี้แหละชื่อวา สมฺมาทิ€ฐิ พระธรรมเจดีย : อริยสัจ 4 นั้น มีกิจจะตองทำอะไรบาง ? พระอาจารยมั่น : ตามแบบที่มีมาในธรรมจักร มีกิจ 3 อยาง ใน 4 อริยสัจ รวมเปน 12 คือ สัจญาณ รูวาทุกข กิจญาณ รูวาจะตองกำหนด กตญาณ รูวากำหนด เสร็จแลว แลรูวาทุกขสมุทัยจะตองละ แลไดละเสร็จแลว และรูวา ทุกขนิโรธจะตองทำใหเจงแลไดทำใหแจงเสร็จแลว แลรูวาทุกขนิโรธคามี นีปฏิปทา จะตองเจริญ แลไดเจริญแลว นี่แหละเรียกวากิจในอริยสัจทั้ง 4 พระธรรมเจดีย : ทุกขนั้นไดแกสิ่งอะไร ? พระอาจารยมั่น : ขันธ 5 อายตนะ 6 ธาตุ 6 นามรูป เหลานี้เปนประเภททุกขสัจ 63


พระธรรมเจดีย : ทุกขมีหลายอยางนักจะกำหนดอยางไรถูก ? พระอาจารยมั่น : กำหนดอยางเดียวก็ได จะเปนขันธ 5 หรือ อายตนะ 6 หรือธาตุ 6 นาม รูปอยางใดอยางหนึ่งก็ได ไมใชวาจะตองกำหนดทีละหลายอยาง แตวาผู ปฏิบัติควรจะรูไวเพราะธรรมทั้งหลายเหลานี้ เปนอารมณของวิปสสนา พระธรรมเจีดย : การที่จะเห็นอริยสัจก็ตองทำวิปสสนาดวยหรือ ? พระอาจารยมั่น : ไมเจริญวิปสนา ปญญาจะเกิดอยางไรได เมื่อปญญาไมมีจะเห็นอริยสัจ ทั้ง 4 อยางไรได แตที่เจริญวิปสสนากันอยู ผูที่อินทรียออนยังไมเห็น อริยสัจทั้ง 4 เลย พระธรรมเจดีย : ขันธ 5 ใครๆก็รูทำไมจึงกำหนดทุกขไมถูก ? พระอาจารยมั่น : รูแตชื่อ ไมรูอาการขันธตามความเปนจริง เพราะฉะนั้นขันธ 5 เกิดขึ้นก็ ไมรูวาเกิด ขันธ 5 ดับไปก็ไมรูวาดับ แลขันธมีอาการสิ้นไปเสื่อมไปตาม ความเปนจริงอยางไรก็ไมทราบทั้งนั้น จึงเปนผูหลงประกอบดวยวิปลาส 64


คือไมเที่ยงก็เห็นวาเที่ยง เปนทุกขก็เห็นวาเปนสุข เปนอนัตตาก็เห็นวา เปนอัตตาตัวตน เปนอสุภไมงามก็เห็นวาเปนสุภะงาม เพราะฉะนั้น พระพุทธเจาจึงทรงสั่งสอนสาวก ที่มาแลวในมหาสติปฎฐานสูตร ใหรูจัก ขันธ 5 แลอายตนะ 6 ตามความเปนจริงจะไดกำหนดถูก พระธรรมเจดีย : ขันธ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้นมีลักษณะอยางไร เมื่อเวลาเกิดขึ้นแลดับไปจะไดรู ? พระอาจารยมั่น : รูปคือ ธาตุดิน 19 น้ำ 12 ลม 6 ไฟ 4 ชื่อวามหาภูตรูป เปนรูปใหญแล อุปาทายรูป 24 เปนรูปที่ละเอียด ซึ่งอาศัยอยูในมหาภูตรูป 4 เหลานี้ ชื่อวารูป แตจะแจงใหละเอียดก็มากมาย เมื่ออยากทราบใหละเอียด ก็จง ไปดูเอาในแบบเถิด พระธรรมเจดีย : ก็เวทนานั้นไดแกสิ่งอะไร ? พระอาจารยมั่น : ความเสวยอารมณ ซึ่งเกิดประจำอยูในรูปนี้แหละ คือบางคราวก็เสวย อารมณเปนสุข บางคราวก็เสวยอารมณก็เปนทุกข บางคราวก็ไมทุกข ไมสุข นี่แหละเรียกวา เวทนา 3 ถาเติมโสมนัสโทมนัส ก็เปนเวทนา 5 65


พระธรรมเจดีย : โสมนัสโทมนัสเวทนา ดูเปนชื่อของกิเลส ทำไมจึงเปนขันธ ? พระอาจารยมั่น : เวทนามี 2 อยาง คือ กายิกะเวทนาๆ ซึ่งเกิดทางกาย 1 เจตสิกเวทนาๆ ซึ่งเกิดทางใจ 1 สุขเวทนาเสวยอารมณเปนสุข ทุกขเวทนาเสวยอารมณ เปนทุกข 2 อยางนี้เกิดทางกาย โสมนัส โทมนัส อทุกขมสุขเวทนา 3 อยางนี้เกิดทางใจ ไชกิเลส คือเชนกับบางคราวอยูดีๆก็มีความสบายใจ โดยไมไดอาศัยความรักความชอบก็มี หรือบางคราวไมอาศัยโทสะหรือ ปฏิฆะ ไมสบายใจขึ้นเอง เชนคนเปนโรคหัวใจหรือโรคเสนประสาทก็มี อยางนี้เปนขันธแท ตองกำหนดรูวาเปนทุกข เมื่อเวทนาอยางใดอยาง หนึ่งปรากฎขึ้น นั่นแหละเปนความเกิดขึ้นแหงเวทนา เมื่อเวทนาเหลานั้น ดับหายไป เปนความดับไปแหงเวทนา นี่แหละเปนขันธแท เปนประเภท ทุกขสัจ พระธรรมเจดีย : เวทนานั้นอาศัยอะไรจึงเกิดขึ้น ? พระอาจารยมั่น : อาศัยอายตนะภายใน 6 ภายนอก 6 วิญญาณ 6 กระทบกันเขา ชื่อวา ผัสสะ เปนที่เกิดแหงเวทนา พระธรรมเจดีย : 66


อายตนะภายใน 6 ภายนอก 6 วิญญาณ 6 ผัสสะ 6 เวทนาที่เกิดแต ผัสสะ 6 ก็ไมใชกิเลส เปนประเภททุกขทั้งนั้นไมใชหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : แตทำไมคนเราเมื่อเวลาตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดดมกลิ่น ลิ้นไดลิ้ม รสหรือถูกตองโผฏฐัพพะดวยกาย รูรับอารมณดวยใจ ก็ยอมไดเวทนา อยางใดอยางหนึ่งไมใชหรือ ก็อายตนะแลผัสสเวทนาก็ไมใชกิเลส แต ทำไมคนเราจึงเกิดกิเลสและความอยากขึ้นไดเลา ? พระอาจารยมั่น : เพราะไมรูวาเปนขันธแลอายตนะ แลผัสสเวทนา สำคัญวาเปนผูเปนคน เปนจริงเปนจัง จึงไดเกิดกิเลสและความอยาก เพราะฉะนั้นพระพุทธเจา จึงทรงแสดงไวในฉักกะสูตรวา บุคคลเมื่อสุขเวทนาเกิดขึ้น ก็ปลอยใหรา นุสัยตามนอน ทุกขเวทนาเกิดขึ้น ก็ปลอยใหปฏิฆานุสัยตามนอน อุทก ขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ก็ปลอยใหอวิชชานุสัยตามนอน การทำที่สุดแหง ทุกขในชาตินี้ ไมใชฐานะที่จะมีไดเปนได ถาบุคคลเมื่อเวทนาทั้ง 3 เกิด ขึ้นก็ไมปลอยใหอนุสัยทั้ง 3 ตามนอน การทำที่สุดแหงทุกขในชาตินี้มี ฐานะที่มีไดเปนได นี่ก็เทากับตรัสไวเปนคำตายตัวอยูแลว พระธรรมเจดีย : 67


จะปฏิบัติอยางไรจึงจะไมใหอนุสัยทั้ง 3 ตามนอน ? พระอาจารยมั่น : ก็ตองมีสติทำความรูสึกตัวไว แลมีสัมปชัญญะ ความรูรอบคอบใน อายตนะ แลผัสสเวทนาตามความเปนจริงอยางไร อนุสัยทั้ง 3 จึงจะไม ตามนอน สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาที่ 1 ตรัสตอบอชิตะ มานพวา สติ เตสํ นิวารณํ สติเปนทดุจทำนบเครื่องปดกระแสเหลานั้น ปฺญา เยเตปถิยฺยเร กระแสเหลานั้นอันผูปฏิบัติจะละเสียไดดวยปญญา แตในที่นั้นทานประสงคละตัณหา แตอนุสัยกับตัณหาหเปนกิเลสประเภท เดียวกัน พระธรรมเจดีย : เวทนาเปนขันธแทเปนทุกขสัจไมใชกิเลส แตในปฏิจจสมุปบาท ทำไมจึง มี เวทนาปจฺจยตณฺหา เพราะเหตุอะไร ? พระอาจารยมั่น : เพราะไมรูจักเวทนาตามความเปนจริง เมื่อเวทนาอยางใดอยางหนึ่งเกิด ขึ้น เวทนาที่เปนสุขก็ชอบเพลิดเพลินอยากได หรือใหคงอยูไมใหหายไป เสีย เวทนาที่เปนทุกขไมดีมีมา ก็ไมชอบประกอบดวยปฏิฆะอยากผลักไส ไลขับใหหายไปเสีย หรืออทุขมสุขเทนา ที่มีมาก็ไมรู อวิชชานุสัยจึงตาม นอน สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาที่ 13 ที่อุทยะมานพทูลถาม วา กถํ สตสฺส จรโตวิญญาณํ อุปรุชฺฌติ เมื่อบุคคลประพฤติมีสติอยางไร ปฏิสนธิ วิญญานจึงจะดับ ตรัสตอบวา อชฺฌตฺตฺจ พหิทฺธา จ เวทนํ นา 68


พินนฺทโต เมื่อบุคคลไมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งเวทนาทั้งภายในแลภายนอก อวํ สตสฺส จรโต วิญญาณํ อุปรุชฺฌติ ประพฤติมีสติอยูอยางนี้ ปฏิสนธิ วิญญาณจึงจะดับ พระธรรมเจดีย : เวทนาอย า งไรชื ่ อ ว า เวทนาภายนอก เวทนาอย า งไรชื ่ อ ว า เวทนา ภายใน ? พระอาจารยมั่น : เวทนาที่เกิดแตจักขุสัมผัส โสตะสัมผัส ฆานะสัมผัส ชิวหาสัมผัส กาย สัมผัส 5 อยาง นี้ชื่อวา เวทนาที่เปนภายนอก เวทนาที่เกิดในฌาณ เชน ปติหรือสุขเปนตน ชื่อวาเวทนาภายในเกิดแตมโนสัมผัส พระธรรมเจดีย : ปติแลสุขก็เปนเวทนาดวยหรือ ? พระอาจารยมั่น : ปติแลสุขนั้นเกิดขึ้นเพราะความสงบ อาศัยความเพียรของผูปฏิบัติ ในคิริ มานนทสูตร อานาปานสติ หมวดที่ 5 กับที่ 6 ทานสงเคราะหเขาในเวท นานุปสสนาสติปฎฐาน เพราะฉะนั้นปติแลสุขจึงจัดเปนเวทนาภายในได พระธรรมเจดีย : ที่เรียกวา นิรามิสเวทนา เสวยเวทนาไมมีอามิส คือไมเจือกามคุณ เห็นจะ 69


เปนเวทนาที่เกิดขึ้นจากจิตที่สงบนี้เอง แตถาเชนนั้นความยินดีใน รูป, เสียง, กลิ่น, รส, โผฎฐัพพะ ที่เรียกวากามคุณ 5 เวทนาที่เกิดคราวนั้น ก็ เปนอามิสเวทนา ถูกไหม ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : สวนเวทนาขาพเจาเขาใจดีแลว แตสวนสัญญาขันธ ความจำรูป จำเสียง จำกลิ่น จำรส จำโผฏฐัพพะ จำธัมมารมณ 6 อยางนี้ มัลักษณะอยางไร เมื่อรูป สัญญาความจำรูปเกิดขึ้นนั้น มีอาการเชนไร แลเวลาที่ความจำ รูปดับไป มีอาการเชนไร ขาพเจาอยากทราบ เพื่อจะไดกำหนดถูก ? พระอาจารยมั่น : คือเราไดเห็นรูปคน หรือรูปของอยางใดอยางหนึ่งแลวมานึกขึ้น รูปคน หรือรูปของเหลานั้นก็มาปรากฎขึ้นในใจ เหมือนอยางไดเห็นจริงๆนี่เรียก วาความจำรูป พระธรรมเจดีย : ยังไมเขาใจดี ขอใหชี้ตัวอยางใหขาวอีกสักหนอย ? พระอาจารยมั่น : เชนกับเมื่อเชานี้เราไดพบกับคนที่รูจักกันหรือไดพูดกัน ครั้นคนนั้นไป 70


จากเราแลว เมื่อเรานึกถึงคนนั้น รูปรางคนนั้นก็ปรากฎชัดเจนเหมือน เวลาที่พบกัน หรือไดเห็นของสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว เมื่อเวลานึกขึ้นก็เห็นสิ่งนั้น ชัดเจน เหมือนอยางเวลาที่เห็นรวมเปนรูป 2 อยาง คือ อุปาทินนกรูป รูปที่มีวิญญาณ เชน รูปคน หรือรูปสัตว อนุปาทินนกรูป รูปที่ไมมี วิญญาณครอง ไดแกสิ่งของตางๆ หรือตนไมดินหินกรวด พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นคนเปนก็เปนรูปที่มีวิญญาณ คนตายก็เปนรูปที่ไมมีวิญญาณ อยางนั้นหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว นาสลดใจ ชาติเดียวเปนได 2 อยาง พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นสัญญาก็เปนเรื่องของอดีตทั้งนั้น ไมใชปจจุบัน ? พระอาจารยมั่น : อารมณนั้นเปนอดีต แตเมื่อความจำปรากฎขึ้นในใจ เปนสัญญาปจจุบัน นี่แหละเรียกวาสัญญาขันธ พระธรรมเจดีย : ถาไมรูจักสัญญา เวลาที่ความจำรูปคนมาปรากฎขึ้นในใจ ก็ไมรูวา สัญญาของตัวเอง สำคัญวาเปนคนจริงๆ หรือความจำรูปที่ไมมีวิญญาณ 71


มาปรากฎขึ้นในใจ ก็ไมรูวาสัญญา สำคัญวาเปนสิ่งเปนของจริงๆ เมื่อ เปนเชนนี้จะมีโทษอยางไรบาง ขอทานจงอธิบายใหขาพเจาเขาใจ ? พระอาจารยมั่น : มีโทษมาก เชนนึกถึงคนที่รัก รูปรางของคนที่รักก็มาปรากฎกับใจ กามวิตกที่ยังไมเกิด ก็จะเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็จะงอกงาม หรือนึกถึงคน ที่โกรธกัน รูปรางของคนที่โกรธกันนั้นก็มาปรากฎชัดเจนเหมือนไดเห็น จริงๆ พยาบาทวิตกที่ยังไมเกิดก็จะเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็จะงอกงาม หรือนึกถึงสิ่งของที่สวยๆ งามๆ รูปรางสิ่งของเหลานั้นก็มาปรากฎในใจ เกิดความชอบใจบาง แหละอยาไดบาง เพราะไมรูวาสัญญาขันธของตัว เอง สัญญาวาสิ่งทั้งปวงเปนจริงเปนจังไปหมด ที่แทก็เหลวทั้งนั้น พระธรรมเจดีย : ก็ความเกิดขึ้นแหงสัญญามีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยมั่น : เมื่อความจำรูปอยางใดอยางหนึ่งมาปรากฎในใจ เปนความเกิดขึ้นแหง ความจำรูป เมื่อความจำรูปเหลานั้นดับหายไปจากใจ เปนความดับไป แหงความจำรูป พระธรรมเจดีย : ความจำเสียงนั้น มีลักษณะอยางไร ? 72


พระอาจารยมั่น : เชนเวลาเราฟงเทศน เมื่อพระเทศนจบแลวเรานึกขึ้นไดวาทานแสดงวา อยางนั้นๆ หรือมีคนมาพูดเลาเรื่องอะไรๆ ใหเราฟง เมื่อเขาพูดเสร็จแลว เรานึกขึ้นจำถอยคำนั้นได นี่เปนลักษณะของความจำเสียง เมื่อความจำ เสียงปรากฎขึ้นในใจ เปนความเกิดขึ้นแหงความจำเสียง เมื่อความจำ เสียงเหลานั้นดับหายไปจากใจ เปนความดับไปแหงสัททสัญญา พระธรรมเจดีย : คันธสัญญาความจำกลิ่นมีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยมั่น : เชนกับเราเคยไดกลิ่นหอมดอกไมหรือน้ำอบ หรือกลิ่นเหม็นอยางใด อยางหนึ่งไว เมื่อนึกขึ้นก็จำกลิ่นหอมกลิ่นเหม็นเหลานั้นได นี่เปนความ เกิดขึ้นของความจำกลิ่น เมื่อความจำกลิ่นเหลานั้นหายไปจากใจ เปน ความดับไปแหงคันธสัญญา พระธรรมเจดีย : รสสัญญาความจำรสนั้นมีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ความจำรสนั้น เมื่อเรารับประทานอาหารมีรสเปรี้ยว หวาน จืด เค็ม หรือขมเปนตน เมื่อรับประทานอาหารเสร็จแลว นึกขึ้นก็จำรสเหลานั้น ได อยางนี้เรียกวา ความจำรส เมื่อความจำรสปรากฎขึ้นใจใน เปนความ 73


เกิดขึ้นแหงรสสัญญา เมื่อความจำรสเหลานั้นดับหายไปจากใจ เปน ความดับไปแหงรสสัญญา พระธรรมเจดีย : โผฎฐัพพะสัญญามีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ความจำเครื่องกระทบทางกาย เชนเราเดินไปเหยียบหนาม ถูกหนาม ยอก หรือถูกตองเย็นรอนออนแข็งอยางใดอยางหนึ่ง เมื่อนึกขึ้นจำความ ถูกตองกระทบกายเหลานั้นได ชื่อวาโผฏฐัพพะสัญญา พระธรรมเจดีย : เชนเมื่อกลางวันนี้เราเดินไปถูกแดดรอนจัด ครั้นกลับมาถึงบาน นึกถึงที่ ไปถูกแดดมานั้น ก็จำไดวาวันนั้นเราไปถูกแดดมานั้น ก็จัดไดวาวันนั้นเรา ไปถูกแดดรอน อยางนี้เปนโผฏฐัพพะสัญญาถูกไหม ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว สิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบถูกตองทางกาย เมื่อเราคิดถึงอารมณ เหลานั้น จำไดเปนโผฏฐัพพะสัญญาทั้งนั้น เมื่อความจำโผฏฐัพพะเกิดขึ้น ในใจ มีความเกิดขึ้นแหงโผฏฐัพพะสัญญา เมื่อความจำเหลานั้นดับหาย ไปจากใจ เปนความดับไปแหงโผฏฐัพพสัญญา พระธรรมเจดีย : 74


ธัมมสัญญามีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ธัมมสัญญาความจำธัมมารมณนั้นละเอียดยิ่งกวาสัญญา 5 ที่ไดอธิบาย มาแลว พระธรรมเจดีย : ธัมมารมณนั้นไดแกสิ่งอะไร ? พระอาจารยมั่น : เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ 3 อยางนี้ ชื่อวาธัมมารมณ เชนเรา ไดเสวยเวทนาที่เปนสุขหรือที่เปนทุกขไว แลเวทนาเหลานั้นดับไปแลว นึกขึ้นจำไดอยางนี้ ชื่อวาความจำเวทนา หรือเคยทองบนอะไรๆ จะจำได มากก็ตามหรือจำไดนอยตาม เมื่อความจำเหลานั้นดับไปพอนึกขึ้นถึง ความจำเกาก็มาเปนสัญญาปจจุบันขึ้น อยางนี้เรียกวาความจำสัญญา หรือเราคิดนึกเรื่องอะไรๆขึ้นเองดวยใจ เมื่อความคิดเหลานั้นดับไป พอ เรานึกถึงเรื่องที่เคยคิดเอาไวนั้น ก็จำเรื่องนั้นได นี่เรียกวาความจำสัขาร ขันธ ความจำเรื่องราวของเวทนา สัญญา สังขารเหลานี้แหละชื่อธัมม สัญญา ความจำธัมมารมณ เมื่อความจำธัมมารมณมาปรากฎขึ้นในใจ เปนความเกิดขึ้นแหงธัมมสัญญา เมื่อความจำธัมมรมณเหลานั้นดับหาย ไปจากใจ เปนความดับไปแหงธัมมสัญญา พระธรรมเจดีย : 75


แหมชางซับซอนกันจริงๆ จะสังเกตอยางไรถูก ? พระอาจารยมั่น : ถายังไมรูจักอาการขันธ ก็สังเกตไมถูก ถารูจักแลว ก็สังเกตไดงาย เหมือนคนที่รูจักตัวแลรูจักชื่อกัน ถึงจะพบหรือเห็นกันมากๆ คนก็รูจักได ทุกๆคน ถาคนที่ไมคยรูจักตัวหรือรูจักชื่อกันมาแตคนเดียวก็ไมรูจักวา ผู นั้นคือใคร สมดวยพระพทุธภาษิตในคุหัฏฐกสูตรหนา 395 ที่วา สฺญํ ปริฺยา วิตเรยฺย โอฆํ สาธุชนมากำหนดรอบรูสัญญาแลวจะพึงขามโอฆ ะ พระธรรมเจดีย : สังขารขันธคืออะไร ? พระอาจารยมั่น : สังขารขันธคือความคิดความนึก พระธรรมเจดีย : สังขารขันธเปนทุกขสัจหรือเปนสมุทัย ? พระอาจารยมั่น : เปนทุกขสัจ ไมใชสมุทัย พระธรรมเจดีย : 76


ก็สังขารขันธตามแบบอภิธัมมสังคะ ทานแจกไววา มีบาปธรรม 14 โสภณเจตสิก 25 อัญญสมนา 13 รวมเปนเจตสิก 52 ดวงนั้น ดูมีทั้งบุญ ทั้งบาป และไมใชบุญไมใชบาปปนกัน ทำไมจึงเปนทุกขสัจอยางเดียว ขาพเจาฉงนนัก ? พระอาจารยมั่น : อัญญสมนา 13 ยกเวทนาสัญญาออกเสีย 2 ขันธ เหลืออยู 11 นี่แหละ เปนสังขารขันธแท จะตองกำหนดรูวาเปนทุกข สวนบาปธรรม 14 นั้น เปนสมุทัยอาศัยสังขารขันธเกิดขึ้น เปนสวนปหาตัพพธรรมจะตองละ สวนโสภณเจตสิก 25 นั้น เปนภาเวตัพพธรรมจะตองเจริญ เพราะฉะนั้น บาปธรรม 14 กับโสภณเจตสิก 25 ไมใชสังขารแท เปนแตอาศัยสังขาร ขันธเกิดขึ้น จึงมีหนาที่จะตองละแลตองเจริญความคิดความนึกอะไรๆ ที่ มาปรากฎขึ้นในใจ เปนความเกิดแหงสังขารขันธ ความคิดความนึกเหลา นั้นดับหายไปจากใจ ก็เปนความดับไปแหงสัขารขันธ พระธรรมเจดีย : วิญญาณขันธที่รูทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ 6 อยางนี้ มีลักษณะอยางไรและเวลาที่เกิดขึ้นแลดับไปมีอาการอยางไร ? พระอาจารยมั่น : คือ ตา 1 รูป 1 กระทบกันเขา เกิดความรูทางตา เชนกับเราไดเห็นคน หรือสงของอะไรๆ ก็รูไดคนนั้นคนนี้ หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้ ชื่อวาจักขุวิญญาณ เมื่อรูปมาปรากฎกับตา เกิดความรูทางตาเปนความเกิดขึ้นแหงจักขุ 77


วิญญาณ เมื่อความรูทางตาดับหายไปเปนความดับไปแหงจักขุวิญญาณ หรือความรูทางหู รูกลิ่นทางจมูก รูรสทางลิ้น รูโผฎฐัพพะทางกายมา ปรากฎขึ้น ก็เปนความเกิดแหงโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา วิญญาณ กายวิญญาณ เมื่อความรูทางหู จมูก ลิ้น กาย หายไป ก็เปน ความดับไปแหงโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กาย วิญญาณ เมื่อใจกับธัมมารมณมากระทบกันเขาเกิดความรูทางใจเรียกวา มโนวิญญาณ พระธรรมเจดีย : ใจนั้นไดแกสิ่งอะไร ? พระอาจารยมั่น : ใจนั้นเปนเครื่องรับธัมมารมณใหเกิดความรูทางใจ เหมือนอยางตาเปน เครื่องรับรูปใหเกิดความรูทางตา พระธรรมเจดีย : รูเวทนา รูสัญญา รูสังขารนั้น รูอยางไร ? พระอาจารยมั่น : รูเวทนานั้น เชน สุขเวทนาเปนปจจุบันเกิดขึ้น ก็รูวาเปนสุข หรือ ทุกขเวทนาเกิดขึ้น ก็รูวาเปนทุกข อยางแลรูเวทนา หรือสัญญาใดมา ปรากฎขึ้นในใจ จะเปนความจำรูปหรือความจำเสียงก็ดี ก็รูสัญญานั้น อยางนี้เรียกวารูสัญญาหรือความคิดเรื่องอะไรๆขึ้น ก็รูไปในเรื่องนั้น 78


อยางนี้ รูสังขาร ความรูเวทนา สัญญา สังขาร 3 อยางนี้ ตองรูทางใจ เรียกวามโนวิญญาณ พระธรรมเจดีย : มโนวิญญาณความรูทางใจก็เหมือนกันกับธรรมสัญญา ความจำธัมมา รมณอยางนั้นหรือ เพราะนี่ก็รูวาเวทนา สัญญา สังขาร นั่นก็จำเวทนา สัญญา สังขาร ? พระอาจารยมั่น : ตางกัน เพราะสัญญานั้นจำอารมณที่ลวงแลว แตตัวสัญญาเองเปน สัญญาปจจุบัน สวนมโนวิญญาณนั้นรูเวทนา สัญญา สังขาร ที่เปน อารมณปจจุบัน เมื่อความรูเวทนา สัญญา สังขาร มาปรากฎขึ้นในใจ เปนความเกิดขึ้นแหงมโนวิญญาณ เมื่อความรู เวทนา สัญญา สังขาร ดับ หายไปจากใจ เปนความดับไปแหงมโนวิญญาณ พระธรรมเจดีย : เชนผงเขาตา รูวาเคืองตา เปนรูทางตาใชไหม ? พระอาจารยมั่น : ไมใช เพราะรูทางตานั้น หมายถึงรูปที่มากระทบกับตาเกิดความรูขึ้น สวนผงเขาตานั้นเปนกายสัมผัส ตองเรียกวารูโผฏฐัพพะ เพราะตานั้น เปนกาย ผงนั้นเปนโผฏฐัพพะ เกิดความรูขึ้น ชื่อวารูทางกาย ถาผงเขา ตาคนอื่น เขาวานเราไปดู เมื่อเราไดเห็นผงเกิดความรูขึ้น ชื่อวารูทางตา 79


พระธรรมเจดีย : สาธุ ขาพเจาเขาใจไดความในเรื่องนี้ชัดเจนดีแลว แตขันธ 5 นั้นยังไมได ความวา จะเกิดขึ้นที่ละอยางสองอยาง หรือวาตองเกิดพรอมกันทั้ง 5 ขันธ พระอาจารยมั่น : ตองเกิดขึ้นพรอมกันทั้ง 5 ขันธ พระธรรมเจดีย : ขันธ 5 ที่เกิดพรอมกันนั้น มีลักษณะอยางไร ? และความดับไปมีอาการ อยางไร ? ขอใหชี้ตัวอยางใหขาวสักหนอย พระอาจารยมั่น : เชนเวลาเรานึกถึงรูปคนหรือรูปสิ่งของอยางใดอยางหนึ่ง อาการที่นึก ขึ้นนั้นเปนลักษณะของสังขารขันธ รูปรางหรือสิ่งของเหลานั้นมาปรากฎ ขึ้นในใจนี่เปนลักษณะของรูปสัญญา ความรูที่เกิดขึ้นในเวลานั้นนี่เปน ลักษณะของมโนวิญญาณ สุขหรือทุกขหรืออุเบกขาที่เกิดขึ้นในคราวนั้น นี่เปนลักษณะของเวทนา มหาภูตรูป หรืออุปาทายรูปที่ปรากฎอยูนั้น เปนลักษณะของรูป อยางนี้เรียกวาความเกิดขึ้นแหงขันธพรอมกันทั้ง 5 เมื่ออาการ 5 อยางเหลานั้นดับไป เปนความดับไปแหงขันธทั้ง 5 พระธรรมเจดีย : 80


สวนนามทั้ง 4 เกิดขึ้นและดับไปพอจะเห็นดวย แตที่วารูปดับไปนั้นยังไม เขาใจ ? พระอาจารยมั่น : สวนรูปนั้นมีความแปรปรวนอยูเสมอเชนของเกาเสื่อมไป ของใหมเกิด แทนแตทวาไมเห็นเองเพราะรูปสันตติ รูปที่ติดตอเนื่องกันบังเสีย จึงแลไม เห็น แตก็ลองนึกดูถึงรูปตั้งแตเกิดมาจนถึงวันนี้เปลี่ยนไปแลวสักเทาไร ถารูปไมดับก็คงไมมีเวลาแกแลเวลาตาย พระธรรมเจดีย : ถาเราสังเกตขันธ 5 วาเวลาเกิดขึ้นแลดับไปนั้น จะสังเกตอยางไรจึงจะ เห็นได แลที่วาขันธสิ้นไปเสื่อมไปนั้นมีลักษณะอยางไร เพราะวาเกิดขึ้น แลวก็ดับไป แลวก็เกิดขึ้นไดอีกดูเปนของคงที่ไมเห็นมีความเสื่อม พระอาจารยมั่น : พูดกับคนที่ไมเคยเห็นความจริงนั้น ชางนาขันเสียเหลือเกิน วิธีสังเกต ขันธ 5 นั้น ก็ตองศึกษาใหรูจักอาการขันธตามความเปนจริง แลวก็มีสติ สงบความคิดอื่นเสียหมดแลว จนเปนอารมณอันเดียวที่เรียกวาสมาธิ ใน เวลานั้นความคิดอะไรๆไมมีแลว สวนรูปนั้นหมายลมหายใจ สวนเวทนาก็ มีแตปติหรือสุข สวนสัญญาก็เปนธรรมสัญญาอยางเดียว สวนสังขาร เวลานั้นเปนสติกับสมาธิ หรือวิตกวิจารณอยู สวนวิญญาณก็เปนแต ความรูอยูในเรื่องที่สงบนั้น ในเวลานั้นขันธ 5 เขาไปรวมอยูเปนอารมณ เดียว ในเวลานั้นตองสังเกตอารมณปจจุบัน ที่ปรากฎอยูเปนความเกิด 81


ขึ้นแหงขันธ พออารมณปจจุบันนั้นดับไปเปนความดับไปแหงนามขันธ สวนรูปนั้นเชนลมหายใจออกมาแลว พอหายใจกลับเขาไป ลมหายใจ ออกนั้นก็ดับไปแลว ครั้นกลับมาหายใจออกอีก ลมหายใจเขาก็ดับไป แลว นี่แหละเปนความดับไปแหงขันธทั้ง 5 แลวปรากฏขึ้นมาอีก ก็เปน ความเกิดขึ้นทุกๆอามรมณแลขันธ 5 ที่เกิดขึ้นดับไป ไมใชดับไปเปลาๆ รูปชีวิตินทรียความเปนอยูของนามขันธทั้ง 5 เมื่ออารมณดับไปครั้งหนึ่ง ชีวิตแลอายุของขันธทั้ง 5 สิ้นไปหมดทุกๆ อารมณ พระธรรมเจดีย : วิธีสังเกตอาการขันธที่สิ้นไปเสื่อมไปนั้น หมายเอาหรือคิดเอา ? พระอาจารยมั่น : หมายเอาก็เปนสัญญา คิดเอาก็เปนเจตนา เพราะฉะนั้นไมใชหมายไมใช คิด ตองเขาไปเห็นความจริงที่ปรากฎเฉพาะหนา จึงจะเปนปญญาได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นจะดูความสิ้นไปเสื่อมไปของขันธทั้ง 5 มิตองตั้งพิธีทำใจใหเปน สมาธิทุกคราวไปหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถายังไมเคยเห็นความจริง ก็ตองตั้งพิธีเชนนี้ร่ำไป ถาเคยเห็นความจริง เสียแลวก็ไมตองตั้งพิธีทำใจใหเปนสมาธิทุกคราวก็ได แตพอมีสติขึ้น ความจริงก็ปรากฎเพราะเคยเห็นแลรูจักความจริงเสียแลว เมื่อมีสติรูตัว 82


ขึ้นมาเวลาใด ก็เปนสมถวิปสสนากำกับกันไปทุกคราว พระธรรมเจดีย : ที่วาชีวิตแลอายุขันธสิ้นไปเสื่อมไปนั้นคือ สิ้นไปเสื่อมไปอยางไร ? พระอาจารยมั่น : เชนเราจะมีลมหายใจอยูไดสัก 100 หน ก็จะตาย ถาหายใจเสียหนหนึ่ง แลว ก็คงเหลืออีก 99 หน หรือเราจะคิดจะนึกอะไรไดสัก 100 หน เมื่อ คิดนึกเสียหนหนึ่งแลว คงเหลืออีก 99 หน ถาเปนคนอายุยืนก็หายใจอยู ไดมากหน หรือคิดนึกอะไรๆอยูไดมากหน ถาเปนคนอายุสั้น ก็มีลม หายใจและคิดนึกอะไรๆอยูไดนอยหน ที่สุดก็หมดลงวันหนึ่ง เพราะจะ ตองตายเปนธรรมดา พระธรรมเจดีย : ถาเราจะหมายจะคิดอยูในเรื่องความจริงของขันธอยางนี้ จะเปนปญญา ไหม ? พระอาจารยมั่น : ถาคิดเอาหมายเอา ก็เปนสมถะ ที่เรียกวามรณัสสติ เพราะปญญานั้น ไมใชเรื่องหมายหรือเรื่องคิด เปนเรื่องของความเห็นอารมณปจจุบันที่ ปรากฎเฉพาะหนาราวกับตาเห็นรูปจึงจะเปนปญญา พระธรรมเจดีย : 83


เมื่อจิตสงบแลว ก็คอยสังเกตดูอาการขันธที่เปนอารมณปจจุบัน เพื่อจะ ใหเห็นความจริง นั่นเปนเจตนาใชไหม ? พระอาจารยมั่น : เวลานั้นเปนเจตนาจริงอยู แตความจริงก็ยังไมปรากฎ เวลาที่ความจริง ปรากฎขึ้นนั้นพนเจตนาทีเดียว ไมเจตนาเลย เปนความเห็นที่เกิดขึ้นเปน พิเศษตอจากจิตที่สงบแลว พระธรรมเจดีย : จิตคูกับเจตสิก ใจคูกับธัมมารมณ มโนธาตุคูกับธรรมธาตุ 3 คูนี้เหมือน กันหรือตางกัน ? พระอาจารยมั่น : เหมือนกัน เพราะวาจิตกับมโนธาตุกับใจนั้นอยางเดียวกัน สวนใจนั้น เปนภาษาไทย ภาษาบาลีทานเรียกวามโน เจตสิกนั้นก็ไดแกเวทนา สัญญา สังขาร ธัมมารมณนั้นก็คือ เวทนา สัญญา สังขาร ธรรมธาตุนั้น ก็คือ เวทนา สัญญา สังขาร พระธรรมเจดีย : ใจนั้นทำไมจึงไมใครปรากฎ เวลาที่สังเกตดูก็เห็นแตเหลาธัมมารมณ คือ เวทนาบาง สัญญาบาง สังขารบาง มโนวิญญาณความรูทางใจบาง เพราะเหตุไร ใจจึงไมปรากฏเหมือนเหลาธัมมารมณ กับมโนวิญญาณ ? 84


พระอาจารยมั่น : ใจนั้นเปนของละเอียด เห็นไดยาก พอพวกเจตสิกธรรมที่เปนเหลาธัมมา รมณมากระทบเขาก็เกิดมโนวิญญาณ ถูกผสมเปนมโนสัมผัสเสียทีเดียว จึงแลไมเห็นมโนธาตุได พระธรรมเจดีย : อุเบกขาในจตุตถฌาณ เปนอทุกขมสุขเวทนา ใชหรือไม ? พระอาจารยมั่น : ไมใช อทุกขมสุขเวทนานั้นเปนเจตสิกธรรม สวนอุเบกขาในจตุตถฌาณ นั้นเปนจิต พระธรรมเจดีย : สังโยชน 10 นั้น คือ สักกายทิฎฐิ วิจิกิจฉา สีลัพตปรามาส กามราคะ พยาบาท รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา ที่แบงเปน สังโยชนเบื้องต่ำ 5 เบื้องบน 5 นั้น ก็สวนสักกายทิฎฐิที่ทานแจกไว ตาม แบบขันธละ 4 รวม 5 ขันธ เปน 20 ที่วา ยอมเห็นรูปโดยความเปนตัว ตนบาง ยอมเห็นตัวตนวามีรูปบาง ยอมเห็นรูปในตัวตนบาง ยอมเห็นตัว ตนในรูปบาง ยอมเห็นเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณโดยความเปนตัว ตนบาง ยอมเห็นตัวตนวามี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณบาง ยอม เห็น เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณในตัวตนบาง ยอมเห็นตัวตนใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณบาง ถาฟงดูทานที่ละสักกายทิฎฐิไดแลว ดูไมเปนตัวเปนตน แตทำไมพระโสดาบันก็ละสักกายทิฎฐิไดแลว สังโยชน 85


ยังอยูอีกถึง 7 ขาพเจาฉงนนัก ? พระอาจารยมั่น : สักกายทิฎฐิ ที่ทานแปลไวตามแบบ ใครๆ ฟงก็ไมใครเขัาใจ เพราะทาน แตกอน ทานพูดภาษามคธกัน ทานเขาใจไดความกันดี สวนเราเปนไทย ถึงแปลแลวก็จะไมเขาใจของทาน จึงลงความเห็นวาไมเปนตัวเปนตนเสีย ดูออกจะแรงมากไป ควรจะนึกถึงพระโกณฑัญญะ ในธัมมจักรทานไดเปน โสดาบันกอนคนอื่น ทาไดความเห็นวา ยงฺกิฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิ โรธธมฺมํ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นลวนมีความดับ เปนธรรมดา และพระสารีบุตรพบพระอัสสชิ ไดฟงอริยสัจยอวา เย ธมฺ มา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํวาที มหา สมโณ "ธรรมเหลาใดเกิดแตเหตุ พระตถาคตเจาทรงแสดงเหตุของธรรม เหลานั้น และความดับของธรรมเหลานั้น พระมหาสมณะมีปกติกลาว อยางนี้" ทานก็ไดดวงตาเห็นธรรม ละสักกายทิฎฐิได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นทานก็เห็นความจริงของปญจขันธ ถายความเห็นผิด คือ ทิฎฐิ วิปลาสเสียได สวนสีลัพพัตกับวิจิกิจฉา 2 อยางนั้น ทำไมจึงหมดไป ดวย ? พระอาจารยมั่น : สักกายทิฎฐินั้น เปนเรื่องของความเห็นผิด ถึงสีลัพพัตก็เกี่ยวกับความ เห็นวาสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ตางๆที่มีอยูในโลกจะใหดีใหชั่วได วิจิกิจฉานั้นเมื่อผู 86


ที่ยังไมเคยเห็นความจริง ก็ตองสงสัยเปนธรรมดา เพราะฉะนั้นทานที่ได ดวงตาเห็นธรรม คือ เห็นความจริงของสังขารทั้งปวง สวนสีลัพพัตนั้น เพราะความเห็นของทานตรงแลวจึงเปนอจลสัทธา ไมเห็นไปวาสิ่งอื่น นอกจากรรมที่เปนกุศลและอกุศล จะใหดีใหชั่วได จึงเปนอันละสีลัพพัต อยูเอง เพราะสังโยชน 3 เปนกิเลสประเภทเดียวกัน พระธรรมเจดีย : ถาตอบสังโยชน 3 อยางนี้แลว มิขัดกันกับสักกายทิฎฐิตามแบบที่วา ไม เปนตัวเปนตนหรือ ? พระอาจารยมั่น : คำที่วาไมเปนตัวเปนตนนั้น เปนเรื่องที่เขาใจเอาเองตางหาก เชน กับ พระโกณฑัญญะเมื่อฟงธรรมจักร ทานก็ละสักกายทิฎฐิไดแลว ทำไมจึง ตองฟงอนัตตลักขณะสูตรอีกเลา นี่ก็สอใหเห็นไดวา ทานผูที่ละสักกาย ทิฎฐิไดนั้น คงไมใชเห็นวาไมเปนตัวเปนตน พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้น ที่วาเห็นอนัตตา ก็คือเห็นวาไมใชตัวไมใชตนอยางนั้นหรือ ? พระอาจารยมั่น : อนัตตาในอนัตตะลักขณะสูตร ที่พระพุทธเจาทรงซักพระปญจวัคคีย มี เนื้อความวาขันธ 5 ไมเปนไปในอำนาจ สิ่งที่ไมเปนไปในอำนาจบังคับไม ได จึงชื่อวาเปนอนัตตา ถาขันธ 5 เปนอัตตาแลวก็คงจะบังคับได เพราะ 87


ฉะนั้นเราจึงควรเอาความวาขันธ 5 ที่ไมอยูในอำนาจ จึงเปนอนัตตา เพราะเหตุที่บังคับไมได ถาขันธ 5 เปนอัตตาตัวตนก็คงจะบังคับได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นเห็นอยางไรเลา จึงเปนสักกายทิฎฐิ ? พระอาจารยมั่น : ตามความเห็นของขาพเจา วาไมรูจักขันธ 5 ตามความเปนจริง เห็น ปญจขันธวาเปนตน และเที่ยงสุข เปนตัวตนแกนสาร และเลยเห็นไปวา เปนสุภะความงามดวย ที่เรียกวาทิฎฐิวิปลาส นี่แหละเปนสักกายทิฎฐิ เพราะฉะนั้นจึงเปนคูปรับกับ ยงฺกิฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ ซึ่งเปนความเห็นถูก ความเห็นชอบ จึงถายความเห็นผิดเหลานั้นได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้น ทานที่ละสักกายทิฎฐิไดแลว อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา จะเปน อัธยาศัยไดไหม ? พระอาจารยมั่น : ถาฟงดูตามแบบทานเห็น ยงฺกิฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ ชัดเจน อนิจฺจํ คงเปนอัธยาศัย สวนทุกขํ กับอนตฺตา ถึงจะเห็นก็ไมเปน อัธยาศัย เขาใจวาถาเห็นปญจขันธ เปนทุกขมากเขา กามราคะ พยาบาทก็คงนอย ถาเห็นปญจขันธเปนอนัตตามากเขา กามราคะ พยาบาทก็คงหมด ถาเห็นวา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ชัดเจนเขา สังโยชน 88


เบื้องบนก็คงหมด นี่เปนสวนความเขาใจ แตตามแบบทานก็ไมไดอธิบาย ไว พระธรรมเจดีย : ที่วาพระสกิทาคามี ทำการราคะพยาบาทใหนอยนั้น ดูมัวไมชัดเจน เพราะไมทราบวานอยแคไหน ไมแตกหักเหมือนพระโสดาบัน พระ อนาคามีและพระอรหันต ? พระอาจารยมั่น : แตกหักหรือไมแตกหัก ก็ใครจะไปรูของทาน เพราะวาเปนของเฉพาะตัว พระธรรมเจดีย : ถาจะสันนิษฐานไปตามแนวพระปริยัติก็จะชี้ตัวอยางใหเขาใจบางหรือ ไม ? พระอาจารยมั่น : การสันนิษฐานนั้นเปนของไมแน ไมเหมือนอยางไดรูเองเห็นเอง พระธรรมเจดีย : แนหรือไมแนก็เอาเถิด ขาพเจาอยากฟง ? พระอาจารยมั่น : ถาเชนนั้นขาพเจาเห็นวาทานที่ไดเปนโสดาบันเสร็จแลว มีอัธยาศัยใจคอ 89


ซึ่งตางกับปุถุชน ทานไดละกามราคะพยาบาทสวนหยาบถึงกับลวง ทุจริตซึ่งเปนฝายอบายคามีได คงเหลือแตอยางกลาง อยางละเอียดอีก 2 สวน ภายหลังทานเจริญสมถวิปสสนามากขึ้น ก็ละกามราคะปฏิฆะ สังโยชนอยางกลางไดอีกสวนหนึ่ง ขาพเจาเห็นวานี่แหละเปนมรรคที่ 2 ตอมาทานประพฤติปฏิบัติละเอียดเขา ก็ละกามราคะพยาบาทที่เปน อยางละเอียดไดขาด ชื่อวาพระอนาคามี พระธรรมเจดีย : กามราคะพยาบาทอยางหยาบถึงกับลวงทุจริต หมายทุจริตอยางไหน ? พระอาจารยมั่น : หมายเอาอกุศลกรรมบถ 10 วาเปนทุจริตอยางหยาบ พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นพระโสดาบันทานก็ละอกุศลกรรมบถ 10 ได เปนสมุจเฉท หรือ ? พระอาจารยมั่น : ตามความเห็นของขาพเจา เห็นวากายทุจริต 3 คือ ปาณา อทินนา กาเมสุมิจฉาจาร มโนทุจริต 3 อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฎฐินี้ละขาดได เปนสมุจเฉท สวนวจีกรรมที่ 4 คือ มุสาวาทก็ละไดขาด สวนวจีกรรมอีก 3 ตัว คือ ปสุณาวาจา ผรุสวาจา สัมผัปปลาป ละไดแตสวนหยาบที่ ปุถุชนกลาวอยู แตสวนละเอียดยังละไมไดตองอาศัยสังวรความระวังไว 90


พระธรรมเจดีย : ที่ตองสำรวมวจีกรรม 3 เพราะเหตุอะไร ทำไมจึงไมขาดอยางมุสาวาท ? พระอาจารยมั่น : เปนดวยกามราคะ กับปฏิฆะ สังโยชนทั้ง 2 ยังละไมได พระธรรมเจดีย : วจีกรรม 3 มาเกี่ยวอะไรกับสังโยชนทั้ง 2 ดวยเลา ? พระอาจารยมั่น : บางคาบบางสมัย เปนตนวามีเรื่องที่จำเปนเกิดขึ้น ในคนรักของทานกับ คนอีกคนหนึ่ง ซึ่งเขาทำความไมดีอยางใดอยางหนึ่ง จำเปนที่จะตองพูด ครั้นพูดไปแลวเปนเหตุใหเขาหางจากคนนั้น จึงตองระวัง สวนปสุณา วาจา บางคราวความโกรธเกิดขึ้นที่สุดจะพูดออกไป ดวยกำลังใจที่โกรธ วาพอมหาจำเริญแมมหาจำเริญ ที่เรียกวาประชดทาน ก็สงเคราะหเขาใจ ผรุสวาจา เพราะเหตุนั้นจึงตองสำรวม สวนสัมผัปปลาปนั้น ดิรัจฉาน กถาตางๆมีมาก ถาสมัยที่เผลอสติมีคนมาพูด ก็อาจจะพลอยพูดไปดวย ได เพราะเหตุนั้นจึงตองสำรวม พระธรรมเจดีย : ออพระโสดาบันยังมีเวลาเผลอสติอยูหรือ ? 91


พระอาจารยมั่น : ทำไมทาจะไมเผลอ สังโยชนยังอยูอีกถึง 7 ทานไมใชพระอรหันตจะได บริบูรณดวยสติ พระธรรมเจดีย : กามราคะ พยาบาท อยางกลางหมายความเอาแคไหน เมื่อเกิดขึ้นจะได รู ? พระอาจารยมั่น : ความรักแลความโกรธที่ปรากฎขึ้น มีเวลาสั้นหายเร็ว ไมถึงกับลวงทุจริต นี่แหละเปนอยางกลาง พระธรรมเจดีย : ก็กามราคะ พยาบาท อยางละเอียดนั้นหมายเอาแคไหน แลเรียกวา พยาบาทดูหยาบมาก เพราะเปนชื่อของอกุศล ? พระอาจารยมั่น : บางแหงทานก็เรียกวาปฏิฆะสังโยชนก็มี แตความเห็นของขาพเจาวา ไม ควรเรียกพยาบาท ควรจะเรียกปฏิฆะสังโยชนดูเหมาะดี พระธรรมเจดีย : ก็ปฏิฆะกับกามราคะที่อยางละเอียดนั้นจะไดแกอาการของจิตเชนใด ? 92


พระอาจารยมั่น : ความกำหนัดที่อยางละเอียด พอปรากฎขึ้นไมทันคิดออกไปก็หายทันที สวนปฏิฆะนั้น เชนคนที่มีสาเหตุโกรธกันมาแตกอน ครั้นนานมาความ โกรธนั้นก็หายไปแลว และไมไดนึกถึงเสียเลย ครั้นไปในที่ประชุมแหงใด แหงหนึ่ง ไปพบคนนั้นเขามีอาการสะดุดใจ ไมสนิทสนมหรือเกอเขิน ผิด กับคนธรรมดา ซึ่งไมเคยมีสาเหตุกัน ขาพเจาเห็นวาอาการเหลานี้เปน อยางละเอียด ควรจะเรียกปฏิฆะสังโยชนได แตตามแบบทานก็ไมได อธิบายไว พระธรรมเจดีย : สังโยชนทั้ง 2 นี้ เห็นจะเกิดจากคนโดยตรง ไมใชเกิดจากสิ่งของทรัพย สมบัติอื่นๆ ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว เชนวิสาขะอุบาสกเปนพระอนาคามี ไดยินวาหลีกจากนางธัมม ทินนา ไมไดหลีกจากสิ่งของทรัพยสมบัติสวนอื่นๆ สวนความโกรธหรือ ปฏิฆะที่เกิดขึ้น ก็เปนเรื่องของคนทั้งนั้น ถึงแมจะเปนเรื่องสิ่งของก็ เกี่ยวของกับคน ตกลงโกรธคนนั่นเอง พระธรรมเจดีย : สวนสังโยชนเบื้องต่ำนั้น ก็ไดรับความอธิบายมามากแลว แตสวน สังโยชนเบื้องบน 5 ตามแบบอธิบายไววา รูปราคะ คือ ยินดีในรูปฌาณ อรูปราคะยินดีในอรูปฌาณ ถาเชนนั้นคนที่ไมไดบรรลุฌาณสมาบัติ 8 93


สังโยชนทั้งสองก็ไมมีโอกาสจะเกิดได เมื่อเปนเชนนี้สังโยชนสองอยางนี้ ไมมีหรือ ? พระอาจารยมั่น : มี ไมเกิดในฌาณ ก็ไปเกิดในเรื่องอื่น พระธรรมเจดีย : เกิดในเรื่องไหนบาง ขอทานจงอธิบายใหขาพเจาเขาใจ ? พระอาจารยมั่น : ความยินดีในรูปขันธ หรือความยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ นั้น ชื่อวารูปราคะ ความยินดีในเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ หรือยินดี ในสมถวิปสสนา หรือยินดีในสวนมรรคผล ที่ไดบรรลุเสขคุณแลว เหลานี้ ก็เปนอรูปราคะได พระธรรมเจดีย : ก็ความยินดีในกาม 5 พระอนาคามีละไดแลวไมใชหรือ ทำไมจึงมาเกี่ยว กับสังโยชนเบื้องบนอีกเลา ? พระอาจารยมั่น : กามมี 2 ชั้น ไมใชชั้นเดียว ที่พระอนาคามีละไดนั้น เปนสวนกำหนัดใน เมถุน ซึ่งเปนคูกับพยาบาท สวนความยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพ พะ ที่ไมไดเกี่ยวกับเมถุน จึงเปนสังโยชนเบื้องบน คือรูปราคะ สวนความ 94


ยินดีในนามขันธทั้ง 4 หรือสมถวิปสสนาหรือมรรคผลชั้นตนๆ เหลานี้ ชื่อวาอรูปราคะ ซึ่งตรงกับความยินดีในธัมมารมณ เพราะฉะนั้นพระ อรหันตทั้งหลายเบื่อหนายในรูปขันธ หรือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ เปนภายนอก จึงไดสิ้นไปแหงรูปราคะสังโยชน และทานเบื่อในเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และสมถหรือวิปสสนาะที่อาศัยขันธ เกิดขึ้น เมื่อทานสิ้นความยินดีในนามขันธแลว แมธรรมทั้งหลายอาศัยขันธเกิด ขึ้นทานก็ไมยินดี ไดชื่อวาละความยินดีในธัมมารมณซึ่งคูกับความ ยินราย เพราะความยินดียินรายในนามรูปหมดแลว ทานจึงเปนผูพน แลวจากความยินดียินรายในอารมณ 6 จึงถึงพรอมดวยคุณ คือ ฉะลัง คุเบกขา พระธรรมเจดีย : แปลกมากยังไมเคยไดยินใครอธิบายอยางนี้ สวนมานะสังโยชนนั้น มี อาการอยางไร ? พระอาจารยมั่น : มานะสังโยชนนั้นมีอาการใหวัด เชนกับนึกถึงตัวของตัว ก็รูสึกวาเปนเรา สวนคนอื่นก็เห็นวาเปนเขา แลเห็นวาเราเสมอกับเขา หรือเราสูงกวาเขา หรือเราต่ำกวาเขา อาการที่วัดชนิดนี้แหละเปนมานะสังโยชน ซึ่งเปนคู ปรับกับอนัตตา หรือ สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา พระธรรมเจดีย : ก็อุทธัจจสังโยชนนั้นมีลักษณะอยางไร เชน พระอนาคามีละสังโยชน 95


เบื้องต่ำไดหมดแลว สวนอุทธัจจสังโยชนจะฟุงไปทางไหน ? พระอาจารยมั่น : ตามแบบทานอธิบายไววา ฟุงไปในธรรม เพราะทานยังไมเสร็จกิจจึงได ฝกใฝอยูในธรรม พระธรรมเจดีย : อวิชชาสังโยชนนั้นไมรูอะไร ? พระอาจารยมั่น : ตามแบบทานอธิบายไววา ไมรูขันธที่เปนอดีต 1 อนาคต 1 ปจจุบัน 1 อริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปาท 1 ความไมรูในที่ 8 อยางนี้แหละชื่อวาอวิชชา พระธรรมเจดีย : พระเสขบุคคลทานก็รูอริยสัจ 4 ดวยกันทั้งนั้น ทำไมอวิชชาสังโยชนจึง ยังอยู ? พระอาจารยมั่น : อวิชชามีหลายชั้น เพราะฉะนั้นวิชชาก็หลายชั้น สวนพระเสขบุคคล มรรคแลผลชั้นใดที่ทานไดบรรลุแลว ทานก็รูเปนวิชชาขึ้น ชั้นใดยังไมรู ก็ยังเปนอวิชชาอยู เพราะฉะนั้นจึงหมดในขั้นที่สุด คือพระอรหันต พระธรรมเจดีย : 96


พระเสขบุคคลทานเห็นอริยสัจ แตละตัณหาไมได มิไมไดทำกิจในอริยสัจ หรือ ? พระอาจารยมั่น : ทานก็ทำทุกชั้นนั้นแหละ แตก็ทำตามกำลัง พระธรรมเจดีย : ที่วาทำตามชั้นนั้นทำอยางไร ? พระอาจารยมั่น : เชน พระโสดาบันไดเห็นปญจขันธเกิดขึ้นดับไป ก็ชื่อวาไดกำหนดรูทุกข และไดละสังโยชน 3 หรือทุจริตสวนหยาบๆ ก็เปนอันละสมุทัย ความที่ สังโยชน 3 สิ้นไปเปนสวนนิโรธตามชั้นของทาน สวนมรรคทานก็ได เจริญมีกำลังพอละสังโยชน 3 ได แลทานปดอบายได ชื่อวาทานทำภพ คือทุคติใหหมดไปที่ตามแบบเรียกวา ขีณนิรโย มีนรกสิ้นแลว สวนพระ สกิทาคามี ก็ไดกำหนดทุกข คือ ปญจขันธแลวละกามราคะ พยาบาท อยางกลาง ไดชื่อวาละสมุทัยขอที่ กามราคะ พยาบาท อยางกลางหมด ไป จึงเปนนิโรธของทาน สวนมรรคนั้นก็เจริญมาไดเพียงละกามราคะ พยาบาทอยางกลางนี่แหละ จึงไดทำภพชาติใหนอยลง สวนพระ อนาคามีทุกขไดกำหนดแลว ละกามราคะพยาบาทสวนละเอียดหมด ได ชื่อวาละสมุทัยกามราคะพยาบาทอยางละเอียดนี่หมดไปจึงเปนนิโรธ ของทาน สวนมรรคนั้นก็เจริญมาเพียงละสังโยชน 5 ไดหมด แลไดสิ้น ภพ คือ กามธาตุ 97


พระธรรมเจดีย : ศีล สมาธิ ปญญา ที่เปนโลกียกับโลกุตตรนั้น ตางกันอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ศีล สมาธิ ปญญา ของผูปฏิบัติในภูมิกามาพจร รูปาพจร อรูปาพจร นี่ แหละเปนโลกียที่เรียกวาวัฏฏคามีกุศล เปนกุศลที่วนอยูในโลก สวนศีล สมาธิ ปญญา ของทานผูปฏิบัติตั้งแตโสดาบันแลวไป เรียกวาวิวัฎฎคามี กุศล เปนเครื่องขามขึ้นจากโลก นี่แหละเปนโลกุตตร พระธรรมเจดีย : ทานที่บรรลุฌาณถึงอรูปสมาบัติแลว ก็ยังเปนโลกียอยู ถาเชนนั้นเราจะ ปฏิบัติใหเปนโลกุตตรก็เห็นจะเหลือวิสัย ? พระอาจารยมั่น : ไมเหลือวิสัย พระพุทธเจาทานจึงทรงแสดงธรรมสั่งสอน ถาเหลือวิสัย พระองคก็คงไมทรงแสดง พระธรรมเจดีย : ถาเราไมไดบรรลุฌาณชั้นสูงๆจะเจริญปญญาเพื่อใหถึงซึ่งมรรคแลผลจะ ไดไหม ? พระอาจารยมั่น : ไดเพราะวิธีที่เจริญปญญาก็ตองอาศัยสมาธิจริงอยู แตไมตองถามถึงกับ 98


ฌาณ อาศัยสงบจิตที่พนนิวรณ ก็พอเปนบาทของวิปสสนาได พระธรรมเจดีย : ความสงัดจากกามจากอกุศลของผูที่บรรลุฌาณโลกีย กับความสงัดจาก กาม จากอกุศลของพระอนาคามีตางกันอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ตางกันมาก ตรงกันขามทีเดียว พระธรรมเจดีย : ทำไจึงไดตางกันถึงกับตรงกันขามทีเดียว ? พระอาจารยมั่น : ฌาณที่เปนโลกีย ตองอาศัยความเพียร มีสติคอยระวังละอกุศล และ ความเจริญกุศลใหเกิดขึ้น มีฌาณเปนตน และยังตองทำกิจที่คอยรักษา ฌาณนั้นไวไมใหเสื่อม ถึงแมวาจะเปนอรูปฌาณที่วาไมเสื่อมในชาตินี้ ชาติหนาตอๆไปก็อาจจะเสื่อมได เพราะเปนกุปปธรรม พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้น สวนความสงัดจากกามจากอกุศลของพระอนาคามีทานไมมี เวลาเสื่อมหรือ ? พระอาจารยมั่น : 99


พระอนาคามี ทานละกามราคะสังโยชนกับปฏิคะสังโยชนไดขาด เพราะ ฉะนั้นความสงัดจากการจากอกุศลของทานเปนอัธยาศัย ที่เปนเองอยู เสมอโดยไมตองอาศัยความเพียรเหมือนอยางฌาณที่เปนโลกีย สวน วิจิกิจฉาสังโยชนนั้นหมดมาตั้งแตเปนโสดาบันแลว เพราะฉะนั้นอุทธัจ จนิวรณที่ฟุงไปหากามและพยาบาทก็ไมมี ถึงถีนะมิทธนิวรณก็ไมมี เพราะเหตุนั้นความสงัดจากกามจากอกุศลของทานจึงไมเสื่อม เพราะ เปนเองไมใชทำเอาเหมือนอยางฌาณโลกีย พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นผูที่ไดบรรลุพระอนาคามี ความสงัดจากกามจากอกุศล ที่เปน เองมิไมมีหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถานึกถึงพระสกิทาคามี ที่วาทำสังโยชนทั้งสองใหนอยเบาบาง นาจะมี ความสงัดจากการจากอกุศลที่เปนเองอยูบาง แตก็คงจะออน พระธรรมเจดีย : ที่วาพระอนาคามีมานเปนสมาธิบริปูริการี บริบูรณดวยสมาธิ เห็นจะ เปนอยางนี้เอง ? พระอาจารยมั่น : ไมใชเปนสมาธิ เพราะวาสมาธินั้นเปนมรรคตองอาศัยเจตนา เปนสวน ภาเวตัพพธรรมสวนของพระอนาคามีทานเปนเอง ไมมีเจตนาเปนสัจฉิ 100


กาตัพพธรรม เพราะฉะนั้นจึงไดตางกันกับฌาณที่เปนโลกีย พระธรรมเจดีย : นิวรณแลสังโยชนนั้น ขาพเจาทำไมจึงไมรูจักอาการ คงรูจักแตชื่อของ นิวรณแลสังโยชน ? พระอาจารยมั่น : ตามแบบในมหาสติปฏฐานพระพุทธเจาสอนสาวก ใหรูจักนิวรณแล สังโยชนพระสาวกของทานตั้งใจกำหนดสังเกต ก็ละนิวรณแลสังโยชนได หมดจนเปนพระอรหันตโดยมาก สวนทานที่อินทรียออน ยังไมเปนพระ อรหันต ก็เปนพระเสขบุคคล สวนเราไมตั้งใจไมสังเกตเปนแตจำวานิวรณ หรือสังโยชน แลวก็ตั้งกองพูดแลคิดไปจึงไมพบตัวจริงของนิวรณและ สังโยชน เมื่ออาการของนิวรณแลสังโยชนอยางไรก็ไมรูจัก แลวจะละ อยางไรได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นผูปฏิบัติทุกวันนี้ ที่รูจักลักษณะแลอาการของนิวรณแล สังโยชนจะมีบางไหม ? พระอาจารยมั่น : มีถมไปชนิดที่เปนสาวกตั้งใจรับคำสอนแลประพฤติปฏิบัติจริงๆ พระธรรมเจดีย : 101


นิวรณ 5 เวลาที่เกิดขึ้นในใจมีลักษณะอยางไร จึงจะทราบไดวาอยางนี้ คือ กามฉันท อยางนี้คือพยาบาท หรือถีนะมิทธะ อุทธัจจะกุกุจจะ วิจิกิจฉา และมีชื่อเสียงเหมือนกับสังโยชน จะตางกันกับสังโยชนหรือวา เหมือนกัน ขอทานจงอธิบายลักษณะของนิวรณแลสังโยชนใหขาพเจา เขาใจจะไดสังเกตถูก ? พระอาจารยมั่น : กามฉันทนิวรณ คือ ความพอใจในกาม สวนกามนั้นแยกเปนสอง คือ กิเลสกามหนึ่ง วัตถุกามอยางหนึ่ง เชน ความกำหนัดในเมถุนเปนตน ชื่อ วากิเลสกาม ความกำหนัดในทรัพยสมบัติเงินทองที่บานนาสวน และ เครื่องใชสอยหรือบุตรภรรยาพวกพอง และสัตวเลี้ยงของเลี้ยงที่เรียกวา วิญญาณกทรัพย อวิญญานกทรัพย เหลานี้ ชื่อวาวัตถุกาม ความคิด กำหนัดพอใจในสวนทั้งหลายเหลานี้ ชื่อวากามฉันทนิวรณ สวน พยาบาทนิวรณคือ ความโกรธเคือง หรือคิดแชงสัตวใหพินาศ ชื่อวา พยาบาทนิวรณ ความงวงเหงาหาวนอน ชื่อวา ถีนะมิทธนิวรณ ความ ฟุงซานรำคาญใจ ชื่อวา อุธัจจกุกกุจจนิวรณ ความสงสัย ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลสงสัยในกรรมที่สัตวทำเปน เปนบาป หรือสงสัย ในผลกรรมเหลานี้ เปนตน ชื่อวาวิจิกิจฉารวม 5 อยางนี้ ชื่อวานิวรณ เปนเครื่องกั้นกางหนทางดี พระธรรมเจีดีย : กามฉันทนิวรณ อธิบายเกี่ยวไปตลอดกระทั่งวิญญาณกทรัพย อ วิญญาณกทรัพย วาเปนวัตถุกาม ถาเชนนั้นผูที่ยังครองเรือน ซึ่งตอง 102


เกี่ยวของกับทรัพยสมบัติอัฐฬสเงินทองพวกพอง ญาติมิตร ก็จำเปนจะ ตองนึกถึงสิ่งเหลานั้น เพราะเกี่ยวเนื่องกับตน ก็มิเปนกามฉันทนิวรณไป หมดหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถานึกตามธรรมดาโดยจำเปนของผูที่ยังครองเรือนอยู โดยไมไดกำหนัด ยินดีก็เปนอัญญสมนา คือเปนกลางๆ ไมใชบุญไมใชบาป ถาคิดถึงวัตถุ กามเหลานั้นเกิดความยินดีพอใจรักใครเปนหวง ยึดถือหมกมุนพัวพันอยู ในวัตถุกามเหลานั้น จึงจะเปนกามฉันทนิวรณ สมดวยพระพุทธภาษิตที่ ตรัสไววา น เต กามา ยานิ จิตฺรานิ โลเก อารมณที่วิจิตรงดงามเหลาใดในโลก อารมณเหลานั้นมิไดเปนกาม สงฺกปฺปราโค ปุริสสฺส กาโม ความกำหนัดอันเกิดจากความดำริ นี้แหละ เปนกามของคน ติ€ฐนฺติ จิตฺรานิ ตเถว โลเก อารมณที่วิจิตรงดงามในโลก ก็ตั้งอยูอยาง นั้นเอง อเถตฺถธีรา วินยนฺติ ฉนฺทํ เมื่อความจริงเปนอยางนี้นักปราชญทั้งหลาย จึงทำลายเสียได 103


ซึ่งความพอใจในกามนั้น นี่ก็ทำใหเห็นชัดเจนไดวา ถาฟงตามคาถา พระพุทธภาษิตนี้ ถานึกคิดถึงวัตถุกามตามธรรมดาก็ไมเปนกามฉันท นิวรณ ถาคิดนึกอะไรๆ ก็เอาเปนนิวรณเสียหมด ก็คงจะหลีกไมพนนรก เพราะนิวรณเปนอกุศล พระธรรมเจดีย : พยาบาทนิวรณนั้น หมายความโกรธเคือง ประทุษรายในคน ถาความ กำหนัดในคน ก็เปนกิเลสการถูกไหม ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : ความงวงเหงาหาวนอน เปนถีนะมิทธินิวรณ ถาเชนนั้นเวลาที่เรา หาวนอนมิเปนนิวรณทุกคราวไปหรือ ? พระอาจารยมั่น : หาวนอนตามธรรมดา เปนอาการรางกายที่จะตองพักผอน ไมเปนถีนะ มิทธนิวรณ กามฉันทหรือพยาบาทที่เกิดขึ้นแลวก็ออนกำลังลงไป หรือ ดับไปในสมัยนั้นมีอาการมัวซัวแลงวงเหงาไมสามารถจะระลึกถึงกุศลได จึ ง เป น ถี น ะมิ ท ธนิ ว รณ ถ า หาวนอนตามธรรมดา เรายั ง ดำรง สติสัมปชัญญะอยูไดจนกวาจะหลับไป จึงไมใชนิวรณ เพราะถีนะมิทธนิว รณเปนอกุศล ถาจะเอาหาวนอนตามธรรมดาเปนถีนมิทธแลว เราก็ 104


คงจะพนจากถีนะมิทธนิวรณไมได เพราะตองมีหาวนอนทุกวันดวยกันทุก คน พระธรรมเจดีย : ความฟุงซานรำคาญใจ ที่วาเปอุทธัจจกุกกุจจนิวรณนั้น หมายฟุงไปในที่ ใดบาง ? พระอาจารยมั่น : ฟุงไปในกามฉันทบาง พยาบาทบาง แตในบาปธรรม 14 ทานแยกเปน สองอยาง อุทธัจจะความฟุงซาน กุกกุจจ ความรำคาญใจ แตในนิวรณ 5 ทานรวมไวเปนอยางเดียวกัน พระธรรมเจดีย : นิวรณ 5 เปนจิตหรือเจตสิก ? พระอาจารยมั่น : เปนเจตสิกธรรมฝายอกุศลประกอบกับจิตที่เปนอกุศล พระธรรมเจดีย : ประกอบอยางไร ? พระอาจารยมั่น : เชนกามฉันทนิวรณก็เกิดในจิต ที่เปนพวกโลภะมูล พยาบาทกุกกุจจนิว 105


รณ ก็เกิดในจิตที่เปนโทสะมูล ถีนะมิทธอุทธัจจะ วิจิกิจฉา ก็เกิดในจิตที่ เปนโมหะมูล พระพุทธเจาทรงเปรียบนิวรณทั้ง 5 มาในสามัญญผลสูตร ทีฆนิกายสีลักขันธวรรค หนา 93 วา กามฉันทนิวรณ เหมือนคนเปน หนี้, พยาบาทนิวรณ เหมือนคนไขหนัก, ถีนมิทธนิวรณเหมืนอนคนติดใน เรือนจำ, อุทธัจจกุกกุจจนิวรณเหมือนคนเปนทาส, วิจิกิจฉานิวรณ เหมือนคนเดินทางกันดารมีภัยนาหวาดเสียว เพราะฉะนั้น คนที่เขาพน หนี้ หรือหายเจ็บหนัก หรือออกจากเรือนจำ หรือพนจากทาส หรือได เดินทางถึงที่ประสงคพนภัยเกษมสำราญ เขายอมถึงความยินดีฉันใด ผูที่ พนนิวรณทั้ง 5 ก็ยอมถึงความยินดีฉันนั้น แลในสังคารวสูตร ในปจจก นิบาต อังคุตตรนิยาย หนา 257 พระพุทธเจาทรงเปรียบนิวรณดวยน้ำ 5 อยาง วาบุคคลจะสองเงาหนาก็ไมเห็นฉันใด นิวรณทั้ง 5 เมื่อเกิดขึ้นก็ ไมเห็นธรรมความดีความชอบฉันนั้น กามฉันทนิวรณ เหมือนน้ำที่ระคน ดวยสีตางๆ เชน สีครั่ง สีชมพู เปนตน พยาบาทนิวรณ เหมือนน้ำที่มี จอกแหนปดเสียหมด อุทธัจจกุกกุจจนิวรณเหมือนน้ำที่คลื่นเปนระลอก วิจิกิจฉานิวรณ เหมือนน้ำที่ขุนขนเปนโคลนตม เพราะฉะนั้นน้ำ 5 อยาง นี้ บุคคลไมอาจสงดูเงาหนาของตนไดฉันใด นิวรณทั้ง 5 ที่เกิดขึ้น ครอบงำใจของบุคคลไมใหเห็นธรรมความดีความชอบไดก็ฉันนั้น พระธรรมเจดีย : ทำไมคนเราเวลาไขหนักใกลจะตาย ก็ทำบาปกรรมความชั่วอะไรไมได แลวจะกลาววจีทุจริต ปากก็พูดไมได จะลวงทำกายทุจริต มือแลเทาก็ ไหวไมไดแลว ยังเหลือแตความคิด นึกทางใจนิดเดียวเทานั้น ทำไมใจ ประกอบดวยนิวรณ จึงไปทุคติได ดูไมนาจะเปนบาปกรรมโตใหญอะไร 106


เลย ขอนี้นาอัศจรรยนักขอทานจงอธิบายใหขาพเจาเขาใจ ? พระอาจารยมั่น : กิเลสเปนเหตุใหกอกรรมๆ เปนเหตุใหกอวิบาก ที่เรียกวาไตรวัฏนั้น เชน อนุสัย หรือสังโยชนที่เกิดขึ้นในเวลานั้นชื่อวากิเลสวัฏ ผูที่ไมเคย ประพฤติปฏิบัติก็ทำในใจไมแยบคาย ที่เรียกวา อโยนิโส คิดตอออกไป เปนนิวรณ 5 หรืออุปกิเลส 16 จึงเปนกรรมวัฏฝายบาป ถาดับจิตไปใน สมัยนั้น จึงไดวิบากวัฏที่เปนสวนทุคติ เพราะกรรมวัฏฝายบาปสงให อุปมาเหมือนคนปลูกตนไม ไปนำพืชพันธุของไมที่เบื่อเมามาปลูกไว ตน แลใบที่เกิดขึ้นนั้น ก็เปนของเบื่อเมา แมผลแลดอกที่ออกมา ก็เปนของ เบื่อเมาตามพืชพันธุเดิมซึ่งนำมาปลูกไวนิดเดียว แตก็กลายเปนตนโต ใหญไปไดเหมือนกัน ขอนี้ฉันใด จิตที่เศราหมองเวลาตาย ก็ไปทุคติไดฉัน นั้น แลเหมือนพืชพันธุแหงผลไมที่ดี มีกลิ่นหอมมีรสหวาน บุคคลไปนำ พืชพันธุมานิดเดียวปลูกไวแมตนแลใบก็เปนไมที่ดีทั้งผลแลดอกที่ออกมา ก็ใชแลรับประทานไดตามความประสงค เพราะอาศัยพืชที่ดีซึ่งนำมานิด เดียวปลูกไว ขอนี้ฉันใด จิตทเปนกุศลผองใสแลวตายในเวลานั้นจึงไปสู สุคติไดสมดวยพระพุทธภาษิตที่วา จิตฺเต สงฺกลิฏเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา เวลาตายจิตเศราหมอง แลวทุคติเปน หวังได จิตฺเต อสงฺกิลิฎเฐ สุคติปาฏิกงฺขา จิตผองใสไมเศราหมองเวลาตายสุคติ เปนหวังได 107


พระธรรมเจดีย : อโยนิโสมสสิกาโร ความทำในใจไมแยบคาย โยนิโสมนสิการโร ความทำ ในใจแยบคาย 2 อยางนั้นคือ ทำอยางไรชื่อวาไมแยบคาย ทำอยางไรจึง ชื่อวาแยบคาย ? พระอาจารยมั่น : ความทำสุภนิมิตไวในใจ กามฉันทนิวรณที่ยังไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้น แลวก็งอกงาม ความทำปฏิฆะนิมิตไวในใจ พยาบาทนิวรณที่ยังไมเกิดก็ เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็งอกงามอยางนี้ ชื่อวาทำในใจไมแยบคาย การทำ อสุภสัญญาไวในใจ กามฉันทนิวรณที่ยังไมเกิดก็ไมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็ เสื่อมหายไป การทำเมตตาไวในใจ พยาบาทนิวรณที่ยังไมเกิดก็ไมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็เสื่อมหายไป เชนนี้เปนตัวอยาง หรือความทำในใจอยางไร ก็ตาม อกุศลที่ยังไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็งอกงาม ก็ชื่อวาทำในใจ ไมแยบคาย หรือจะคิดนึกอยางไรก็ตามกุศลที่ยังไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้น แลวก็บริบูรณ อยางนี้ชื่อวาทำในใจแยบคาย สมดวยสาวกภาษิตที่พระ สารีบุตรแสดงไวในพระทสุตตรสูตรหมวด 2 วา โย จ เหตุ โย จ ปจฺจโย สตฺตานํ สงฺกิลสฺสาย ความไมทำในใจโดยอุบาย อันแยบคายเปนเหตุดวยเปนปจจัยดวย เพื่อความเศราหมองแหงสัตวทั้ง หลาย 1 โย จ เหตุ โย จ ปจฺจโย สตฺตานํ วิสุทฺธิยา ความทำในใจ โดยอุบาย แยบคาย เปนเหตุดวยเปนปจจัยดวย เพื่อจะไดบริสุทธิ์แหงสัตวทั้งหลาย 108


พระธรรมเจดีย : ที่วา อนุสัยกับสังโยชนเปนกิเลสวัฏ สวนนิวรณหรืออุปกิเลส 16 วาเปน กรรมวัฏเวลาที่เกิดขึ้นนั้น มีอาการตางกันอยางไร จึงจะทราบไดวา ประเภทนี้เปนนิวรณ หรืออุปกิเลส 16 ? พระอาจารยมั่น : เชน เวลาตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดดมกลิ่น ลิ้นไดลิ้มรส กายถูก ตองโผฎฐัพพะ รูธัมมารมณดวยใจ 6 อยางนี้ แบงเปน 2 สวน สวนที่ดี นั้นเปนอิฎฐารมณ เปนที่ตั้งแหงความกำหนัด ยินดีสวนอารมณ 6 ที่ไมดี เปนอนิฎฐารมณ เปนที่ตั้งแหงความยินราย, ไมชอบ, โกรธเคือง ผูที่ยัง ไมรูความจริงหรือไมมีสติเวลาที่ตาเห็นรูปที่ดี ยังไมทันคิดวากระไรก็เกิด ความยินดีกำหนัดพอใจขึ้น แคนี้เปนสังโยชน ถาคิดตอมากออกไป ก็ เปนกามฉันทนิวรณ หรือเรียกวากามวิตกก็ได หรือเกิดความโลภอยาก ไดที่ผิดธรรม ก็เปน อภิชฺฌาวิสมโลโภที่อยูในอุปกิเลส 16 หรือใน มโนกรรม อกุศลกรรมบถ 10 ชนิดนี้ ประกอบดวยเจตนา เปนกรรมวัฏ ฝายบาป เวลาตาเห็นรูปที่ไมดีมไมทันคิดวากระไร เกิดความไมชอบ หรือเปนโทมนัสปฏิฆะขึ้นไมประกอบดวยเจตนาแคนี้เปนปฏิฆะสังโยชน คือ กิเลสวัฏ ถาคิดตอออกไปถึงโกรธเคืองประทุษรายก็เปนพยาบาท นิวรณ หรือุปกิเลส หรืออกุศลกรรมบถ 10 ชนิดนี้ ก็เปนกรรมวัฏฝาย บาป เพราะประกอบดวยเจตนา นี่ชี้ใหฟงเปนตัวอยาง แมกิเลสอื่นๆก็พึง ตัดสินใจอยางนี้วากิเลสที่ไมตั้งใจใหเกิดก็เกิดขึ้นไดเอง พวกนี้เปนอนุสัย หรือสังโยชน เปนกิเลสวัฏ ถาประกอบดวยเจตนา คือ ยืดยาวออกไปก็ กรรมวัฏ 109


พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นเราจะตัดกิเลสวัฏ จะตัดอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ตองตัดไดดวยอริยมรรค เพราะสังโยชนก็ไมมีเจตนา อริยมรรคก็ไมมี เจตนาเหมือนกัน จึงเปนคูปรับสำหรับละกัน พระธรรมเจดีย : ถาการปฏิบัติของผูดำเนินยังออนอยู ไมสามารถจะตัดได สังโยชนก็ยัง เกิดอยู แลวกเลยเปนกรรมวัฏฝายบาปตอออกไป มิตองไดวิบากวัฏที่ เปนสวนทุคติเสียหรือ ? พระอาจารยมั่น : เพราะอยางนั้นนะซิ ผูที่ยังไมถึงโสดาบันจึงปดอบายไมได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นใครจะไปสวรรคไดบางเลา ในชั้นผูปฏิบัติที่ยังไมถึงโสดาบัน ? พระอาจารยมั่น : ไปไดเพราะอาศัยเปลี่ยนกรรม สังโยชนยังอยูก็จริง ถาประพฤติทุจริต กาย วาจา ใจ เวลาตายใจเศราหมองก็ตองไปทุคติ ถามาตั้งใจเวนทุจริต อยู  ใ นสุ จ ริ ต ทางกาย วาจา ใจ แลเวลาตายก็ ไ ม เ ศร า หมองก็ ม ี 110


สติสัมปชัญญะก็ไปสุคติได เพราะเจตนาเปนตัวกรรม กรรมมี 2 อยาง กณฺหํ เปนกรรมดำ คือ ทุจริต กาย วาจา ใจ สุกฺกํ เปนกรรมขาว คือ สุจริตกาย วาจา ใจ ยอมใหผลตางกัน พระธรรมเจดีย : ผูที่ยังมีชีวิตอยูไดประพฤติสุจริต กาย วาจา ใจ เวลาตายใจเศราหมอง มิตองไปทุคติเสียหรือ หรือผูที่ประพฤติทุจริต กาย วาจา ใจ แตเวลา ตายใจเปนกุศล มิไปสุคติไดหรือ ? พระอาจารยมั่น : ก็ไปไดนะซี ไดเคยฟงหนังสือของสมเด็จพระวันรัต (ทับ) วัดโสมนัสบาง หรือเปลา เวลาลงโบสถทานเคยแสดงใหพระเณรฟง ภายหลังไดมาจัด พิมพกันขึ้น รวมกับขออื่นๆทานเคยแสดงวาภิกษุรักษาศีลบริสุทธิ์ เวลา จะตายหวงในจีวร ตายไปเกิดเปนเล็น แลภิกษุอีกองคหนึ่งเวลาใกลจะ ตายนึกขึ้นไดวาทำใบตะไครน้ำขาด มองหาเพื่อนภิกษุที่จะแสดงอาบัติก็ ไมมีใคร ใจก็กังวลอยูอยางนั้นแหละ ครั้นตายไปก็เกิดเปนพญานาค แล อุบาสกอีกคนหนึ่ง เจริญกายคตาสติมาถึง 30 ป ก็ไมไดบรรลุคุณวิเศษ อยางใด เกิดความสงสัยในพระธรรม ตายไปเกิดเปนจระเข ดวยโทษ วิจิกิจฉานิวรณ สวนโตเทยยะพราหมณนั้นไมใชผูปฏิบัติ หวงทรัพยที่ฝง ไว ตายไปเกิดเปนลูกสุนัขอยูในบานของตนเองดวยโทษกามฉันทนิวรณ เหมือนกัน แลนายพรานผูหนึ่งเคยฆาสัตวมากเวลาใกลจะตายพระสารี บุตรไปสอนใหรับไตรสรณคมน จิตก็ตั้งอยูในกุศลยังไมทันจะใหศีลนาย พรานก็ตายไปสูสุคติ ดวยจิตที่เปนกุศล ตั้งอยูในไตรสรณคมน นี่ก็เปน 111


ตัวอยางของผูที่ตายใจเศราหมองหรือบริสุทธิ์ กรรมของผูที่กระทำใน เมื่อเวลาใกลจะตายนั้น ชื่อวาอาสันนกรรม ตองใหผลกอนกรรมอื่นๆ ทานเปรียบวา เหมือนโคอยูใกลประตูคอก แมจะแกกำลังนอย ก็ตอง ออกไดกอน สวนโคอื่นถึงจะมีกำลังมาก ที่อยูขางใน ตองออกทีหลัง ขอนี้ ฉันใด กรรมที่บุคคลทำเมื่อใกลจะตายจึงตองใหผลกอนฉันนั้น พระธรรมเจดีย : สวนอนุสัยแลสังโยชนเปนกิเลสวัฏนิวรณ หรืออุปกิเลส 16 หรือ อกุศล กรรมบถ 10 วาเปนกรรมวัฏฝายบาป สวนกรรมวัฏฝายบุญจะไดแก อะไร ? พระอาจารยมั่น : กามาวจรกุศล รูปาวจรกุศล อรูปาวจรกุศล เหลานี้ เปนกรรมวัฏฝาย บุญสงใหวิบากวัฏคือ มนุษยสมบัติบาง สวรรคสมบัติบาง พรหมโลก บาง พอเหมาะแกกุศลกรรมที่ทำไว พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นกรรมทั้งหลาย ที่สัตวทำเปนบุญก็ตาม เปนบาปก็ตาม ยอมให ผลเหมือนเงาที่ไมพรากไปจากตนฉะนั้นหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว สมดวยพระพุทธภาษิตที่ตรัสไวในอภิณหปจจเวกขณวา กมฺมสฺส โกมฺหิ เราเปนผูมีกรรมเปนของๆตน กมฺมทาโย เปนผูรับผลของกรรม 112


กมฺมโยนิ เปนผูมีกรรมเปนกำหนด กมฺมพนฺธุ เปนผูมีกรรมเปนเผาพันธุ กมฺมปฏิสรโณ เปนผูมีกรรมเปนที่พึ่งอาศัย ยํ กมฺมํ กริสฺสามิ เราจัก ทำกรรมอันใด กลฺยาณํ ว ปาปกํ วา ดีหรือชั่ว ตสํสา ทายาโท ภวิสฺสามิ เราจักเปนผูรับผลของกรรมนั้น พระธรรมเจดีย : อนุสัยกับสังโยชน ใครจะละเอียดกวากัน ? พระอาจารยมั่น : อนุสัยละเอียดกวาสังโยชน เพราะสังโยชนนั้น เวลาที่จะเกิดขึ้น อาศัย อายตนะภายในอายตนะภายนอกกระทบกันเขาแลวเกิดวิญญาณ 6 ชื่อ วาผัสสะ เมื่อผูที่ไมมีสติ หรือไมรูความจริง เชนหูกับเสียงกระทบกันเขา เกิดความรูขึ้น เสียงที่ดีก็ชอบ เกิดความยินดีพอใจ เสียงที่ไมดี ก็ไมชอบ ไมถูกใจ ที่โลกเรียกกันวาพื้นเสีย เชนนี้แหละชื่อวาสังโยชน จึงหยาบ กวาอนุสัย เพราะอนุสัยนั้นยอมตามนอนในเวทนาทั้ง 3 เชน สุขเวทนา เกิดขึ้น ผูที่ไมเคยรูความจริง หรือไมมีสติ ราคานุสัยจึงตามนอน ทุกขเวทนาเกิดขึ้น ปฏิฆานุสัยยอมตามนอน อุทกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น อวิชชานุสัยยอมตามนอน เพราะฉะนั้นจึงละเอียดกวาสังโยชน และมี พระพุทธภาษิตตรัสไวใน มาลุงโกฺย วาทสูตร วาเด็กออนที่นอนหงายอยู ในผาออม เพียงจะรูจักวานี่ตานี่รูป ก็ไมมีในเด็กนั้น เพราะฉะนั้น สังโยชนจึงไมมีในเด็กที่นอนอยูในผาออม แตวาอนุสัยยอมตามนอนใน เด็กนั้นได 113


พระธรรมเจดีย : อนุสัยนั้นมีประจำอยูเสมอหรือ หรือมีมาเปนครั้งเปนคราว ? พระอาจารยมั่น : มีมาเปนครั้งคราว ถามีประจำอยูเสมอแลวก็คงจะละ ไมได เชนราคานุสัยก็เพิ่มมาตามนอนในสุขเวทนา หรือปฏิฆานุสัยก็เพิ่ง มาตามนอนในทุกขเวทนา หรืออวิชชานุสัยก็เพิ่งมาตามนนในอทุกขม สุขเวทนา ตามนอนไดแตผูที่ไมรูความจริง หรือมีสติก็ไมตามนอนได เรื่อง นี้ไดอธิบายไวในเวทนาขันธแลว พระธรรมเจดีย : แตเดิมขาพเจาเขาใจวาอนุสัยตามนอนอยูในสันดานเสมอทุกเมื่อไป เหมือนอยางขี้ตะกอนที่นอนอยูกนโองน้ำ ถายังไมมีใครมาคน ก็ยังไมขุน ขึ้น ถามีใครมาคนก็ขุนขึ้นได เวลาที่ไดรับอารมณที่ดี เกิดความกำหนัด ยินดีพอใจขึ้น หรือไดรับอารมณที่ไมดีก็เกิดปฏิฆะหรือความโกรธขึ้น เขาใจวานี่แหละขุนขึ้นมา ความเขาใจเกาของขาพเจามิผิดไปหรือ ? พระอาจารยมั่น : ก็ผิดนะซี เพราะเอานามไปเปรียบกับรูป คือโองก็เปนรูปที่ไมมีวิญญาณ น้ำก็เปนรูปที่ไมมีวิญญาณ แลขี้ตะกอนกนโองก็เปนรูปไมมีวิญญาณ เหมือนกัน จึงขังกันอยูได สวนจิตเจตสิกของเรา เกิดขึ้นแลวดับไป จะขัง เอาอะไรไวได เพราะกิเลสเชนอนุสัยหรือสังโยชน ก็อาศัยจิตเจตสิกเกิด ขึ้นชั่วคราวหนึ่ง เมื่อจิตเจตสิกในคราวนั้นดับไปแลว อนุสัยหรือสังโยชน จะตกคางอยูกับใคร ลองนึกดูเมื่อเรายังไมมีความรัก ความรักนั้นอยู 114


ที่ไหน ก็มีขึ้นเมื่อเกิดความรักไมใชหรือ หรือเมื่อความรักนั้นดับไปแลว ก็ ไมมีความรักไมใชหรือ และความโกรธเมื่อยังไมเกิดขึ้นก็ไมมีเหมือนกัน มี ขึ้นเมื่อเวลาที่โกรธ เมื่อความโกรธดับแลว ก็ไมมีเหมือนกัน เรื่องนี้เปน เรื่องละเอียดเพราะไปติดสัญญาที่จำไวนานแลววา อนุสัยนอนอยูเหมือน ขี้ตะกอนที่นอนอยูกนโอง พระธรรมเจดีย : ก็อนุสัยกับสังโยชนไมมีแลว บางคราวทำไมจึงมีขึ้นอีกไดเลา ขาพเจา ฉงนนัก แลวยังอาสวะอีกอยางหนึ่งที่วาดองสันดานนั้น เปนอยางไร ? พระอาจารยมั่น : ถาพูดถึงอนุสัยหรืออาสวะแลว เราควรเอาความวา ความเคยตัวเคยใจ ที่เรียกวากิเลสกับวาสนาที่พระสัมมาสัมพุทธเจาละไดทั้ง 2 อยาง ที่พระ อรหันตสาวกละไดแตกิเลสอยางเดียววาสนาละไมได เราควรจะเอาความ วาอาสวะหรืออนุสัยกิเลสเหลานี้เปนความเคยใจ เชนไดรับอารมณที่ดี เคยเกิดความกำหนัดพอใจ ไดรับอารมณที่ไมดี เคยไมชอบไมถูกใจ เชนนี้ เปนตน เหลานี้แหละควรรูสึกวาเปนเหลาอนุสัย หรืออาสวะเพราะความ คุนเคยของใจ สวนวาสนานั้น คือความคุนเคยของ กาย วาจา ที่ติดตอ มาจากเคยแหงอนุสัย เชน คนราคะจริตมีมรรยาทเรียบรอย หรือเปน คนโทสะจริตมีมรรยาทไมเรียบรอย สวนราคะแลโทสะนั้นเปนลักษณะ ของกิเลส กิริยามารยาทที่เรียบรอยแลไมเรียบรอย นั่นเปนลักษณะของ วาสนานี่ก็ควรจะรูไว 115


พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นเราจะละความคุนเคยของใจ ในเวลาที่ไดรับอารมณที่ดีหรือไม ดี จะควรประพฤติปฎิบัติอยางไรดี ? พระอาจารยมั่น : วิธีปฏิบัติที่จะละความคุนเคยอยางเกา คืออนุสัยแลสังโยชน ก็ตองมา ฝกหัดใหคุนเคยในศีลแลสมถวิปสสนาขึ้นใหม จะไดถายถอนความคุน เคยเกา เชนเหลาอนุสัยหรือสังโยชนใหหมดไปจากสันดาน พระธรรมเจดีย : สวนอนุสัยกับสังโยชน ขาพเจาเขาใจดีแลว แตสวนอาสวะนั้น คือ กามา สวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ 3 อยางนั้นเปนเครื่องดองสันดาน ถาฟงดูตาม ชื่อ ก็ไมนาจะมีเวลาวาง ดูเหมือนดองอยูกับจิตเสมอไปหรือไมไดดองอยู เสมอ แตสวนตัวขาพเจาเขาใจไวแตเดิมสำคัญวาดองอยูเสมอขอนี้เปน อยางไร ขอทานจงอธิบายใหขาพเจาเขาใจ ? พระอาจารยมั่น : ไมรูวาเอาอะไรมาซอกแซกถาม ไดตอบไวพรอมกับอนุสัยแลสังโยชน แลว จะใหตอบอีกก็ตองอธิบายกันใหญ คำที่วาอาสวะเปนเครื่องดองนั้น ก็ตองหมายความถึงรูปอีกนั่นแหละ เชนกับเขาดองฝกก็ตองมีภาชนะ เชนผักอยางหนึ่งหรือชามอยางหนึ่งและน้ำอยางหนึ่ง รวมกัน 3 อยาง สำหรับเชนกันหรือของที่เขาทำเปนแชอิ่มก็ตองมีขวดโหลหรือน้ำเชื่อม สำหรับแชของ เพราะสิ่งเหลานี้เปนรูปจึงแชแลดองกันอยูได สวนอาสวะ 116


นั้นอาศัยนามธรรมเกิดขึ้น นามธรรมก็เปนสิ่งที่ไมมีตัว อาสวะก็เปนสิ่งที่ ไมมีตัว จะแชแลดองกันอยูอยางไรได นั่นเปนพระอุปมาของพระสัมมา สัมพุทธเจาทรงบัญญัติขึ้นไววา อาสวะเครื่องดองสันดาน คือ กิเลสมี ประเภท 3 อยาง เราก็เลยเขาใจผิดถือมั่นเปนอภินิเวส เห็นเปนแชแล ดองเปนของจริงๆจังๆไปได ความจริงก็ไมมีอะไร นามและรูปเกิดขึ้นแลว ก็ดับไป อะไรจะมาแชแลดองกันอยูได เพราะฉะนั้นขอใหเปลี่ยนความ เห็นเสียใหมที่วาเปนนั่นเปนนี่ เปนจริงเปนจังเสียใหได ใหหมดทุกสิ่งที่ได เขาใจไวแตเกาๆแลว ก็ตั้งใจศึกษาเสียใหมใหตรงกับความจริง ซึ่งเปน สัมมาปฏิบัติ พระธรรมเจดีย : จะทำความเห็นอยางไรจึงจะตรงกับความจริง ? พระอาจารยมั่น : ทำความเห็นวาไมมีอะไร มีแตสมมติแลบัญญัติ ถาถอนสมมติแลบัญญัติ ออกเสียแลวก็ไมมีอะไร หาคำพูดไมได เพราะฉะนั้นพระพุทธเจาทรง บัญญัติ ขันธ 5 อายตนะ 6 ธาตุ 6 นามรูป เหลานี้ก็เพื่อจะใหรูเรื่องกัน เทานั้น สวนขันธแลอายตนะ ธาตุ นามรูป ผูปฏิบัติควรกำหนดรูวาเปน ทุกข สวนอนุสัยหรือสังโยชน อาสวะ โยคะ โอฆะ นิวรณ อุปกิเลสเปน สมุทัย อาศัยขันธหรืออายตนะหรือนามรูปเกิดขึ้นนั้นเปนสมุทัยเปนสวน หนึ่งที่ควรละ มรรคมีองค 8 ยนเขาคือ ศีล สมาธิ ปญญา เปนสวนที่ควร เจริญ ความสิ้นไปแหงกิเลส คือ อนุสัยหรือสังโยชน ชื่อวานิโรธ เปน สวนควรทำใหแจงเหลานี้แหละเปนความจริง ความรูความเห็นใน 4 117


อริยสัจนี้แหละเปนความจริง ความรูความเห็นใน 4 อริยสัจนี้แหละคือ เห็นความจริงละ พระธรรมเจดีย : สาธุ ขาพเจาเขาใจแจมแจงทีเดียว แตเมื่ออาสวะไมไดดองอยูเสมอ แลว ทำไมทานจึงกลาววา เวลาที่พระอรหันตสำเร็จขึ้นใหมๆ โดยมากแลวที่ได ฟ ง มาในแบบท า นรู  ว  า จิ ต ของท า นพ น แล ว จากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ ขาพเจาจึงเขาใจวาผูที่ยังไมพนก็ตองมีอาสวะประจำอยูกับ จิตเปนนิตยไป ไมมีเวลาวาง กวาจะพนไดก็ตองเปนพระอรหันต ? พระอาจารยมั่น : ถาขืนทำความเห็นอยูอยางนี้ ก็ไมมีเวลาพนจริงดวย เมื่ออาสวะอยู ประจำเปนพื้นเพของจิตแลวก็ใครจะละไดเลา พระอรหันตก็คงไมมีใน โลกไดเหมือนกัน นี่ความจริงไมใชเชนนี้ จิตนั้นสวนหนึ่งเปนประเภททุกข สัจ อาสวะสวนหนึ่งเปนประเภทสมุทัย อาศัยจิตเกิดขึ้นชั่วคราว เมื่อจิต คราวนั้นดับไปแลว อาสวะประกอบกับจิตในคราวนั้นก็ดับไปดวย สวน อาสวะที่เกิดขึ้นไดบอยๆนั้น เพราะอาศัยการเพงโทษ ถาเราจักตั้งใจเพง โทษใครๆ อาสวะก็จะเกิดไดดวยยากเหมือนกัน สมดวยพระพุทธภาษิตที่ ตรัสไววา ปรวชฺชานุปสฺสํสฺส เมื่อบุคคลตามมองดู ซึ่งโทษของผูอื่น นิจฺจํ อชฺฌาน สฺญิโน เปนบุคคลมีความหมายจะยกโทษเปนนิตย อาสวา ตสฺส วฑฺฒนฺติ อาสวะทั้งหลายยอมเจริญขึ้นแกบุคคลนั้น อารา โส อา สวกฺขยา บุคคลนั้นเปนผูหางไกลจากธรรมที่สิ้นอาสวะ ถาฟงตามคาถา พระพุทธภาษิตนี้ก็จะทำใหเราเห็นชัดไดวาอาสวะนั้นมีมาในเวลาที่เพง 118


โทษ เรายังไมเพงโทษอาสวะก็ยังไมมีมาหรือเมื่อจิตที่ประกอบดวยอา สวะคราวนั้นดับไปแลวอาสวะก็ดับไปดวย ก็เปนอันไมเหมือนกัน การที่ เห็นวาอาสวะมีอยูเสมอจึงเปนความเห็นผิด พระธรรมเจดีย : อาสวะ 3 นั้น กามาสวะเปนกิเลสประเภทรัก อวิชชาสวะเปนกิเลส ประเภทไมรู แตภวาสวะนั้นไมไดความวาเปนกิเลสประเภทไหน เคยไดฟง ตามแบบทานวาเปนภพๆอยางไรขาพเจาไมเขาใจ ? พระอาจารยมั่น : ความไมรูความจริงเปนอวิชชาสวะ จึงไดเขาไปชอบไวในอารมณที่ดีมี กามเปนตนเปนกามสวะ เมื่อไมชอบไวในที่ใด ก็เขาไปยึดถือตั้งอยูในที่ นั้น จึงเปนภวาสวะนี่แหละ เขาใจวาเปนภวาสวะ พระธรรมเจดีย : ภวะทานหมายวาภพ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพไมใชหรือ ทำไมภพถึง จะมาอยูในใจของเราไดเลา ? พระอาจารยมั่น : ภพที่ในใจนี่ละซีสำคัญนัก จึงไดตอใหไปเกิดในภพขางนอก ก็ลองสังเกต ดู ตามแบบที่เราไดเคยฟงมาวา พระอรหันตทั้งหลายไมมีกิเลสประเภท รัก และไมมีอวิชชาภวะตัณหาเขาไปเปนอยูในที่ใด แลไมมีอุปาทาน ความชอบความยินดียึดถือในสิ่งทั้งปวง ภพขางนอก คือ กามภพ รูปภพ 119


อรูปภพ ตลอดจนกระทั่งภพ คือ สุทธาวาสของทานนั้นจึงไมมี พระธรรมเจดีย : อาสวะ 3 ไมเหนมีกิเลสประเภทโกรธ แตทำไมการเพงโทษนั้นเปนกิเลส เกลียดชังขาดเมตตา กรุณา เพราะอะไรจึงไดมาทำใหอาสวะเกิดขึ้น ? พระอาจารยมั่น : เพราะความเขาไปชอบไปเปนอยูในสิ่งใดที่ถูกใจของตน ครั้นเขามาทำที่ ไมชอบไมถูกใจจึงไดเขาไปเพงโทษ เพราะสาเหตุที่เขาไปชอบไปถูกใจ เปนอยูในสิ่งใดไวซึ่งเปนสายชนวนเดียวกัน อาสวะทั้งหลายจึงไดเจริญ แกบุคคลนั้น พระธรรมเจดีย : ความรูนั้นมีหลายอยาง เชนกับวิญญาณ 6 คือ ความรูทาง หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ หรือ ความรูในเรื่อง โลภ โกรธ หลง ริษยา พยาบาท หรือรู ไปในเรื่องความอยากความตองการ หรือคนที่หยิบเล็กหยิบนอยนิด หนอยก็โกรธ เขาก็วาเขารูทั้งนั้น สวนความรูในรูปฌาณหรืออรูปฌาณ ก็เปนความรูชนิดหนึ่ง สวนปญญาที่รูเห็นไตรลักษณแลอริยสัจก็เปน ความรูเหมือนกัน สวนวิชชา 3 หรือวิชชา 8 ก็เปนความรูพิเศษอยางยิ่ง เมื่อเปนเชนนี้ ควรจะแบงความรูเหลานี้เปนประเภทไหนบาง ขอทานจง อธิบายใหขาพเจาจะไดไมปนกัน ? พระอาจารยมั่น : 120


ควรแบงความรูทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ วาเปนประเภททุกขสัจ เปน สวนที่ควรกำหนดรูวาเปนทุกข สวนความโลภ ความโกรธ ความหลง ริษยา พยาบาท ความอยากความตองการเปนสมุทัย เปนสวนควรละ ความรูในรูปฌาณแลอรูปฌาณ แลความรูในไตรลักษณ หรืออริยสัจเปน มรรค เปนสวนที่ควรเจริญ วิชชา 3 หรือ วิชชา 8 นั้นเปนนิโรธ เปน สวนที่ควรทำใหแจง พระธรรมเจดีย : อะไรๆก็เอาเปนอริยสัจ 4 เกือบจะไมมีเรื่องอื่นพูดกัน ? พระอาจารยมั่น : เพราะไมรูอริยสัจทั้ง 4 แลไมทำหนาที่กำหนดทุกข ละสมุทัยแลทำนิโรธ ใหแจงแลเจริญมรรค จึงไดรอนใจกันไปทั่วโลก ทานผูทำกิจถูกตาม หนาที่ของอริยสัจ 4 ทานจึงไมมีความรอนใจ ที่พวกเราตองกราบไหวทุก วัน ขาพเจาจึงชอบพูดถึงอริยสัจ พระธรรมเจดีย : ตามที่ขาพเจาไดฟงมาวา สอุปาทิเสสนิพพานนั้น ไดแกพระอรหันตที่ยัง มีชีวิตอยู อนุปาทิเสสนิพพานนั้นไดแกพระอรหันตที่นิพพานแลว ถาเชน นั้นทานคงหมายความถึงเศษนามรูป เนื้อแลกระดูกที่เหลืออยูนี่เอง ? พระอาจารยมั่น : ไมใช ถาเศษเนื้อเศษกระดูกที่หมดแลววาเปนอนุปาทิเสสนิพพาน เชน 121


นั้นใครๆตายก็คงเปนอนุปาทิเสสนิพพานไดเหมือนกัน เพราะเนื้อแลกระ ดูกชีวิตจิตใจก็ตองหมดไปเหมือนกัน พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นนิพพานทั้ง 2 อยางนี้จะเอาอยางไหนเลา ? พระอาจารยมั่น : เรื่องนี้มีพระพุทธภาษิตตรัส สอุปาทิเสสสูตรแกพระสารีบุตร ในอังคุตต รนิกาย นวกนิบาตหนา 31 ความสังเขปวา วันหนึ่งเปนเวลาเชาพระสา รีบุตรไปเที่ยวบิณฑบาตร มีพวกปริพพาชกพูดกันวา ผูที่ไดบรรลุสอุ ปาทิเสส ตายแลวไมพนนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติ วินิบาต ครั้นพระสารีบุตรกลับจากบิณฑบาตรแลวจึงไปเฝาพระผูมีพระ ภาคกราบทูลตามเนื้อความที่พวกปริพาชกเขาพูดกันอยางนั้น พระผูมี พระภาคตรัสวา สอุปาทิเสสบุคคล 9 จำพวกคือ พระอนาคามี 5 จำพวก พระสกิทาคามี จำพวกหนึ่ง พระโสดาบัน 3 จำพวก ตายแลว พนจากนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติวินิบาต ธรรมปริยาย นี้ยังไมแจมแจง แกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟงธรรม ปริยายนี้แลวจะประมาท แลธรรมปริยายนี้เราแสดงดวยความประสงค จะตอบปญหาที่ถามในสอุปาทิเสสสูตรนี้ ไมไดตรัสถึงอนุปาทิเสส แตก็ พอสันนิษฐานไดวา อนุปาทิเสสคงเปนสวนของพระอรหันต พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นทานก็หมายความถึงสังโยชน คือกิเลสที่ยังมีเศษเหลืออยูวา 122


เปนสอุปาทิเสนิพพาน สวนสังโยชนที่หมดแลวไมมีสวนเหลืออยู คือพระ อรหัตผล วาเปนอนุปาทิเสสนิพพาน ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : ถาเราพูดอยางนี้ คงไมมีใครเห็นดวย คงวาเราเขาใจผิดไมตรงกับเขา เพราะเปนแบบสั่งสอนกันอยูโดยมากวา สอุปาทิเสสนิพพานของพระ อรหันตที่ยังมีชีวิตอยู อนุปาทิเสสนิพพานของพระอรหันตที่นิพพาน แลว ? พระอาจารยมั่น : ขาพเจาเห็นวา จะเปนอรรถกาที่ขบ พระพุทธภาษิตไมแตกแลว ก็เลยถือ ตามกันมา จึงมีทางคัดคานไดไมคมคายชัดเจน เหมือนที่ทรงแสดงแก พระสารีบุตร ซึ่งจะไมมีทางคัดคานได หมายกิเลส นิพพานโดยตรง พระธรรมเจดีย : สอุปาทิเสสสูตรนี้ ทำไมจึงไดตรัสหลายอยางนัก มีทั้งนรก กำเนิด ดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติวินิบาต สวนในพระสูตรอื่นๆ ถาตรัสถึง อบายก็ไมตองกลาวถึงนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติ วินิบาต ? 123


พระอาจารยมั่น : เห็นจะเปนดวยพระสารีบุตรมากราบทูลถามหลายอยาง ตามถอยคำ ของพวกปริพพาชกที่ไดยินมา จึงตรัสตอบไปหลายอยาง เพื่อใหตรงกับ คำถาม พระธรรมเจดีย : ขางทายพระสูตรนี้ ทำไมจึงมีพุทธภาษิตตรัสวา ธรรมปริยายนี้ ยังไม แจมแจงแกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟงธรรมปริยาย นี้แลวจะประมาท แลธรรมปริยายนี้เราแสดงดวยความประสงคจะตอบ ปญหาที่ถาม ? พระอาจารยมั่น : ตามความเขาใจของขาพเจา เห็นจะเปนดวยพระพุทธประสงค คงมุงถึง พระเสขบุคคล ถาไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะไดความอบอุนใจ ที่ไมตอง ไปทุคติแลความเพียรเพื่อพระอรหันตจะหยอนไป ทานจึงไดตรัสอยางนี้ พระธรมเจดีย : เห็นจะเปนเชนนี้เอง ทานจึงตรัสวาถาไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะ ประมาท? พระอาจารยมั่น : ตามแบบที่ไดฟงมาโดยมาก พระพุทธประสงค ทรงเรงพระสาวก ผูยังไม พนอาสวะ ใหรีบทำความเพียรใหถึงที่สุด คือพระอรหันต 124


125


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.