SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
มาตรฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม 1.ขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบ (Sizes and layout of drawing sheets) มาตรฐานขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบจะยึดตามมาตรฐาน ISO 5457:1999(E) 1.1 ขนาด(Sizes) ตองเลือกใชกระดาษขนาดเล็กที่สุดจากขนาดกระดาษมาตรฐานเพื่อขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบตนฉบับ(original drawing) โดยแบบที่เขียนบนกระดาษที่เขียนบนกระดาษที่เลือกใชตองยังคงไดรายละเอียดและความชัดเจน ขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบจะใชขนาดกระดาษมาตรฐาน ISO-A series(ดู ISO 216) ซึ่งแสดงในตารางที่1.1-1 ตารางที่1.1-1 ขนาดกระดาษกอนตัด,ขนาดกระดาษหลังตัดและพื้นที่เขียนแบบ กระดาษหลังตัด
พื้นที่เขียนแบบ
กระดาษกอนตัด
ชื่อกระดาษ
รูป
a1 1)
b1 1)
a2 ±0.5
b2 ±0.5
a3 ±2
b3 ±2
A0 A1 A2 A3 A4
1 1 1 1 2
841 594 420 297 210
1189 841 594 420 297
821 574 400 277 180
1159 811 564 390 277
880 625 450 330 240
1230 880 625 450 330
Note - - ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0, ดู ISO 216. 1) คา tolerances, ดู ISO 216.
รูปที่ 1.1-2 ขนาด A4 รูปที่ 1.1-1 ขนาด A3 ถึง A0 ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm) ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm) ชื่อกระดาษ(designation) จะตองระบุไวในขอบลางมุมดานขวามือ (ดูรูปที่ 1.2-2) หมายเหตุ : 1. กระดาษกอนตัด (untrimmed sheet,U) 2. กระดาษหลังตัด (trimmed sheet,T) ขนาดกระดาษหลังตัดจะเปนขนาดกระดาษเขียนแบบมาตรฐานสําหรับใชงาน
1 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
1.2 ขอกําหนดการใชกระดาษเขียนแบบ เพื่อความชัดเจนและเหมาะสมของงานเขียนแบบกําหนดใหมาตรฐานการใชกระดาษเขียนแบบดังนี้ ตาราง 1.2-1 Part Assembly Drawing Body Bonnet Dics Part ขนาดใหญอื่นๆ Part ขนาดเล็กอื่นๆ
A4
ขอกําหนดการใช B4 A3 A2
A1
O.K. O.K. O.K. O.K. O.K. Yes
Yes -
O.K. O.K. O.K. O.K. O.K. O.K.
2 / 101
O.K. Yes Yes Yes Yes O.K.
O.K. O.K. O.K. O.K. O.K. O.K.
Yes
ขนาดแนะนําใชงาน
O.K.
ขนาดอื่นๆที่ใชงานได
-
ขนาดหามใชงาน
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
1.3 ขอบและกรอบ (Borders and frame) ขอบแบบ(border) คือสวนที่ถูกลอมรอบดวยขอบของกระดาษและกรอบพื้นที่เขียนแบบซึ่งตองมีในแบบทุกขนาด ขอบดานซาย จะตองมีความกวาง 20 mm.โดยวัดระยะจากขอบของกระดาษถึงเสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ เพื่อใหมีพื้นที่สําหรับเก็บแบบเขา แฟม สวนขอบดานอื่นๆจะมีความกวางเปน 10 mm.ดูรูปที่ 1.3-1 กรอบพื้นที่เขียนแบบจะตองเขียนดวยเสนเต็ม ขนาดความหนาเสน 0.7 mm.
รูปที่ 1.3-1 ขอบแบบ(Border)
1.3.1 เครื่องหมายแกนกลาง (Centring marks) เพื่อใหงายตอการระบุตําแหนงของแบบเมื่อทําการถอดแบบหรือทําไมโครฟลม(microfilmed) จะตองทําเครื่องหมายแกนกลาง เครื่องหมายทั้ง 4 จะเขียนแสดงที่ปลายของแกนสมมาตรทั้ง 2 ของกระดาษเขียนแบบ(Trimmed sheet)ดวยคาพิกัด ความเผื่อ(tolerance) ±1 รูปแบบเครื่องหมายแกนกลางจะไมบังคับแตแนะนําวาควรแสดงในรูปแบบของเสนเต็มดวยคาความ หนาเสน 0.7 mm. โดยลากเปนเสนตรงความยาว 10 mm.จากขอบอางอิงกริด(grid reference border) ผานกรอบพื้นที่เขียนแบบ ตรงไปในแนวเดียวกับแกนสมมาตรกระดาษเขียนแบบดูรูปที่ 1.3.2-1 ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0 ตองเพิ่มเครื่องหมายแกน กลางที่จุดกึ่งกลางของแตละสวนที่ทํา ไมโครฟลม
3 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
1.3.2 ระบบอางอิงกริด(Grid reference system) กระดาษเขียนแบบตองแบงเปนสวนๆ(fields)เพื่อใหงายตอการการระบุตําแหนงของรายละเอียด,การเพิ่มเติม,การแกไข ฯลฯ บนแบบ(ดูรูปที่ 1.3.2-1) ในแตละพื้นที่(fields)ที่ถูกแบง จะระบุพิกัดอางอิงดวยตัวอักษรพิมพใหญ(ยกเวนตัวอักษร I และ O)เรียงจากบนลงลางและ จากตัวเลขเรียงจากซายไปขวา โดยอางอิงจากทั้งสองดานของกระดาษ สําหรับกระดาษขนาด A4 ระบุเฉพาะดานบนและดาน ขวาเทานั้นตัวอักษรใชขนาดความสูงขนาด3.5 mm. ขนาดชวงพิกัดฉากยาว 50 mm มี่จุดเริ่มตนที่แกนสมมาตร(centring mark) ของกระดาษเขียนแบบ จํานวนชวงของการแบงขึ้นกับขนาดกระดาษเขียนแบบ (ดูตารางที่ 1.3.2-1) ผลตางที่เกิดขึ้นจากการ แบงชวงพิกัดจะถูกรวมไวกับชวงที่อยูติดกับมุม
รูปที่ 1.3.2-1 ระบบอางอิงกริดและเครื่องหมายแกนกลาง (Grid reference system and centring marks) ตารางที่ 1.3.2-1 จํานวนชวงพิกัดฉาก Designation
A0
A1
A2
A3
A4
ดานยาว ดานสั้น
24 16
16 12
12 8
8 6
6 4
4 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
1.3.3 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marking) เพื่อความสะดวกการตัดกระดาษดวยมือหรือตัดอัตโนมัติ จะตองมีเครื่องหมายแสดงแนวตัดที่มุมทั้ง 4 ของขอบกระดาษเขียน แบบ รูปแบบของเครื่องหมายจะมีลักษณะเปนสี่เหลี่มสองรูปซอนกันโดยมีขนาด 10mm x 5mm ดูรูปที่ 1.3.3-1
รูปที่ 1.3.3-1 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marks)
5 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
2. ตารางรายการแบบ(Title blocks) ตารางรายการแบบตามมาตรฐาน ISO 7200-1984(E) 2.1 ขอกําหนดทั่วไป(General requirement) แบบหรือเอกสารที่เกี่ยวของตองมีตารางรายแบบซึ่งตองสอดคลองกับขอกําหนดการทําไมโครกอปป (ดู ISO 6428) 2.2 ตําแหนง(Position) ตําแหนงของตารางรายการแบบ(Title blocks) จะตองเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน ISO 5457 ดังนี้ กระดาษขนาด A0 ถึง A3 จะตองแสดงไวที่บริเวณมุมลางขวาของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ ในรูปแบบแนวนอน(landscape)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-1) กระดาษขนาด A4 จะตองแสดงไวที่บริเวณดานกวางลางของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ ในรูปแบบแนวตั้ง(Portrait)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-2) ทิศทางของการวางตารางรายการแบบจะตองมีทิศทางเดียวกับทิศทางการอานแบบ 2.3 ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบ เพื่อใหสามารถจัดหมวดหมูแบบใหเปนระเบียบได ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบจะถูกแบงกลุมแลวแยกแสดงตามสวน ตางๆของตารางรายการแบบดังนี้ 2.3.1) สวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) 2.3.2) สวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ซึ่งมีต้งั แต 1 สวนขึ้นไป ขอมูลสวนนี้อาจมีตําแหนงอยูเหนือ และ/หรือ อยูดานลางซายของสวนขอมูลประจําตัวแบบ 2.3.1 ขอมูลประจําตัวแบบ ( Identification zone ) ขอมูลประจําตัวแบบ จะตองประกอบไปดวยขอมูลพื้นฐานดังตอไปนี้ เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ(the registration or Identification number) ชื่อเรียกแบบ (the title of the drawing) ชื่อตามกฎหมายของเจาของแบบ (the name of the legal owner of the drawing) สวนขอมูลประจําตัวแบบตองมีตําแหนงอยูบริเวณมุมขวาลางของตารางรายการแบบและวางในทิศทางมุมมองที่ถูกตอง เสนกรอบตารางรายการแสดงแบบที่เปนสวนขอมูลประจําตัวแบบตองแสดงใหเดนชัดดวยเสนเต็มหนา เชนเดียวกับกรอบพื้น ที่เขียนแบบ เพื่อใหใหสวนขอมูลประจําตัวแบบสามารถอานไดจากดานหนาของแบบที่ถูกพับเพื่อนําไปใชงาน ความยาวสูงสุดของตาราง รายการแบบตองสอดคลองกับขอกําหนดที่สัมพันธกันใน ISO 5457 โดยความยาวสูงสุดของตารางรายการแบบจะตองยาว ไมเกิน170 มิลลิเมตร หมายเหตุ มาตรฐานในอนาคตจะเกี่ยวของกับวิธีการพับแบบ 6 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. ตัวอยาง ของการจัดวางรายการพื้นฐาน รายการ , และ
S.O.P.
DS73012
, และ แสดงในรูป 2.3.1-1,2.3.1-2 และ 2.3.1-3 เปนรายการบังคับ(mendatory)ตองมีในรายการแสดงแบบ
รูปที่ 2.3.1-1
รูปที่ 2.3.1-2
รูปที่ 2.3.1-3 2.3.1.1 เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบที่กําหนดโดยเจาของแบบตองแสดงที่ตําแหนงมุมลางขวาของสวนขอมูล ประจําตัวแบบ หมายเหตุ สัญญารับเหมาชวงหรือขอกําหนดของผูเกี่ยวของอาจทําใหแบบมีหมายเลขประจําตัวแบบมากกวาหนึ่งหมายเลข ซึ่งหมายเลขประจํา ตัวแบบตัวแรกกําหนดโดยเจาของแบบและหมายเลขประจําตัวแบบอื่นหนึ่งกําหนดโดยผูรับเหมาชวงหรือโดยผูเกี่ยวของอื่นๆ ในกรณีนี้ ตองมีวิธีที่เหมาะสมแยกระหวางหมายเลขที่แตกตางกัน และตองไมมีการเขียนหมายเลขพิเศษเติมเขาไปในชองหมายเลขของเจาของ แบบ แตถาหมายเลขแบบตนฉบับไมมีความเกี่ยวของใหลบทิ้งไป
7 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
2.3.1.2 ชื่อของแบบ(title) ตองบอกใหทราบถึงหนาที่ของตัวแบบ(ตัวอยางเชน หนาที่ของชิ้นงานในแบบหรือลักษณะการประกอบ ของชิ้นงานในแบบ) 2.3.1.3 ชื่อทางกฎหมายของเจาของแบบ(หางราน,บริษัท,กิจการ, ฯลฯ) อาจเปนชื่อทางการของเจาของแบบ,ชื่อยอทางการคา หรือเครื่องหมายสัญลักษณทางการคา ถาชองของชื่อทางกฎหมายนี้มีพ้นื ที่เพียงพอควรเพิ่มเครื่องหมายแสดงลิขสิทธิ์ของเจาของแบบเขาไปดวย อีกทางหนึ่ง อาจจะแสดงที่อื่นในตารางรายการแบบ หรือ แสดงบนแบบที่บริเวณนอกกรอบเขียนแบบ ตัวอยางเชน แสดงในพื้นที่ดาน ขอบเขาแฟม(กรอบดานซายมือของแบบ) 2.3.2 ขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ในสวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติ่มอาจแบงเปนรายการไดดังนี้ 2.3.2.1) รายการดานการบงชี้ ( indicative items) 2.3.2.2) รายการดานเทคนิค (technical items) 2.3.2.3) รายการดานเกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) 2.3.2.1 รายการดานการบงชี้ ( indicative items) เปนรายการที่มีความจําปนที่ตอการอานแบบ เพื่อไมใหการอานแบบหรือตี ความแบบผิดพลาด รายการเหลานี้ไดแก - สัญลักษณแสดงวิธีการเขียนภาพฉาย(projection method)บนแบบ (แบบมุมมองที่ 1หรือ แบบมุมมองที่ 3 , ดู ISO 128) - มาตราสวนหลักของแบบ(the main scale of the drawing) - หนวยวัด(dimensional unit) ของการกําหนดขนาดเชิงเสน ในกรณีที่เปนหนวยอื่นที่ไมใชหนวยมิลลิเมตร รายการเหลานี้จะเปนรายการบังคับ(mandatory)ตองมีในตารางรายการแบบ ถาแบบไมสามารถอานใหเขาใจไดเมื่อไมมี ขอมูลเพิ่มเติมนี้เหลานี้ 2.3.2.2 รายการดานเทคนิค (technical items) จะเกี่ยวของกับวิธีการเฉพาะหรือขอตกลงสําหรับแบบที่ใชงาน - วิธีการระบุลักษณะผิว(surface texture) (ดู ISO 1302) - วิธีการระบุ geometrical tolerances (ตัวอยางดูใน ISO 1101) - คาพิกัดเผื่อทั่วไป(general toleraces) สําหรับใชงานในกรณีที่ไมมีคาพิกัดเผื่อกําหนด(specific tolerance)ระบุมาพรอม กับตัวเลขบอกขนาด (ดู ISO 2768) - มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวของในสวนนี้
8 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
2.3.2.3 รายการดานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) จะขึ้นอยูกับวิธีการที่ใชบริหารจัดการแบบโดย อาจจะประกอบดวยรายการตางๆดังตอไปนี้ - ขนาดกระดาษเขียนแบบ - วันที่ที่เริ่มใชงานแบบ (issue date) - สัญลักษณการแกไขแบบ(revision symbol) (ระบุในชองตารางรายการสําหรับเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ ) - วันที่และรายละเอียดยอของการแกไขแบบซึ่งอางอิงกับสัญลักษณการแกไข รายการนี้อาจแสดงไวนอกตารางรายการแบบโดยอาจแยกมาแสดงมาเปนตารางหรืออาจแสดงแยกในเอกสารตางหาก - ขอมูลการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบอื่นๆ เชน รายมือชื่อของผูรับผิดชอบ 2.4 แบบที่มีหลายแผน(Multiple sheet drawing) แบบที่มีหลายแผนใชหมายเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบเดียวกันตองระบุตัวเลขแสดงลําดับแผน (sequential sheet number) และตองแสดงจํานวนแผนทั้งหมดของแบบลงในแบบแผนที่ 1 ตัวอยางเชน "Sheet No. n/p" เมื่อ n คือ หมายเลขแผนของแบบ p คือ จํานวนแผนทั้งหมดของแบบ เมื่อแสดงตารางรายการแบบในแผนที่ 1 แลวอาจจะใชตารางแสดงรายการอยางยอกับแบบทุกแผนที่เหลือ โดยแสดงอยางยอ ในสวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) เทานั้น
9 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
3.มาตราสวน(Scales) 3.1 มาตรฐานมาตราสวนจะอางอิงตาม ISO 5455-1979(E) 3.2 นิยาม(Definitions) มาตราสวน : คือ อัตราสวนของขนาดเชิงเสนขององคประกอบ ของชิ้นงานที่เขียนแสดงในแบบตนฉบับ กับขนาดเชิงเสนจริงของ องคประกอบเดียวกันของตัวชิ้นงานจริง Scale : Ratio of the linear dimension of an element of an object as represented in the original drawing to the rea linear dimension of the same element of the object itself. มาตราสวนเทาของจริง : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนเปน 1 : 1 Full size : A scale with the ratio 1 : 1 มาตราสวนขยาย : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนมากกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่มากกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนขยาย enlargment scale : A scale where the ratio is larger than 1 : 1. It is said to be larger as its ratio increases. มาตราสวนยอ : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนนอยกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่นอยกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนยอ reduction scale : A scale where the ratio is smaller than 1 : 1. It is said to be smaller as its ratio decreases. 3.3 รูปแบบการระบุมาตราสวน(Designation) การระบุมาตราสวนของแบบที่สมบรูณจะตองประกอบดวยคําวา "SCALE" (หรือคําที่มีความหมายเดียวกันของภาษาที่ใช ในแบบ) ตามดวยการระบุอัตราสวนดังนี้ - SCALE 1 : 1 สําหรับมาตราสวนเทาของจริง - SCALE X : 1 สําหรับมาตราสวนขยาย - SCALE 1 : X สําหรับมาตราสวนยอ ถาไมมีโอกาสเกิดการเขาใจผิด คําวา "SCALE" อาจละเวนไมแสดงก็ได
3.4 การระบุมาตราสวน(Inscription) 3.4.1 การระบุมาตราสวนที่ใชในแบบตองเขียนลงในตารางรายการของแบบ 3.4.2 เมื่อมีความจําเปนตองใชมาตราสวนมากกวา 1 มาตราสวนในแบบ มาตรสวนที่จะเขียนแสดงลงในตารางรายการแบบ ตองเปนมาตราสวนหลักเทานั้น มาตราสวนอื่นๆใหแสดงใกลกับหมายเลขอางอิงรายการชิ้นสวน(item reference number of part)ที่เกี่ยวของหรือใกลกับตัวอักษรอางอิงภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view)
10 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
3.5 มาตราสวนแนะนํา(Recommended scales) 3.5.1 มาตราสวนแนะนําสําหรับใชในแบบทางเทคนิค(technical drawings) กําหนดในตารางดังตอไปนี้ ตารางที่ 3.5-1 มาตราสวนแนะนํา ประเภทมาตราสวน มาตราสวนขยาย
มาตราสวนแนะนํา 50 : 1 5:1
20 : 1 2:1
มาตราสวนเทาของจริง มาตราสวนยอ
1:2 1 : 20 1 : 200 1 : 2 000
1:5 1 : 50 1 : 500 1 : 5 000
10 : 1 1:1 1 : 10 1 : 100 1 : 1 000 1 : 10 000
หมายเหตุ ในกรณีพิเศษที่ตองใชขนาดมาตราสวนขยายที่ใหญกวาหรือมาตราสวนยอที่เล็กกวามาตราสวนแนะนําที่แสดงใน ตาราง ชวงที่แนะนําของมาตราสวนอาจขยายเพิ่มไดในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง คือหาคามาตราสวนที่ตองการจาก มาตราสวนแนะนําในตาราง โดยการคูณคาเศษของมาตราสวนขยาย หรือคาสวนมาตราสวนยอดวย10 ยกกําลัง เลขจํานวนเต็ม ในกรณีที่ไมสามารถใชมาตราสวนแนะนําไดเนื่องมาจากเหตุผลเกี่ยวกับหนาที่การทํางาน อาจใชมาตราสวนที่อยู ระหวางมาตราสวนแนะนําได
3.5.2 การเลือกมาตราสวนที่ใชในแบบจะใชหลัก 2 ขอดังตอไปนี้ ก) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดขนาดของกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจริงที่ทําแบบเปนสําคัญ ขนาดกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบ ข) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดลักษณะชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบเปนสําคัญ ขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบโดยยึดหลักในขอนี้จะขึ้นกับความซับซอนของชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบ มาตราสวนและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดของแบบ อยางไรก็ตาม มาตราสวนที่เลือกใชในแบบทุกกรณีจะตองใหญพอที่จะทําใหแบบมีความชัดเจนและงายตอการอานแบบ 3.5.3 รายละเอียดของแบบที่มีขนาดเล็กมากสําหรับการใหขนาดในภาพหลักของแบบ จะตองแยกแสดงดวยภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view)ในบริเวณที่ใกลกับภาพหลักของแบบดวยมาตราสวนที่ใหญกวา 3.6 แบบมาตราสวนขยายขนาดใหญ(Large scale drawings) แบบของชิ้นงานขนาดเล็กที่ใชมาตราสวนขยายขนาดใหญ ควรเขียนภาพขนาดเทาของจริงเพิ่มเขาไปดวยเพื่อใหเปนขอมูล ซึ่งในกรณีนี้ภาพขนาดเทาจริงอาจเขียนแสดงอยางงายโดยเขียนแสดงเพียงเสนรอบรูปของชิ้นงานเทานั้น
11 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.เสน(Lines) 4.1 มาตรฐานเสนจะอางอิงตาม 1.1) ISO 128-20:1996(E) Basic conventions for lines 1.2) ISO 128-24:1996(E) Lines on mechanical engineering drawings 1.3) BS304 : Part 1 : 1984 Recommendations for general principles 1.4) มอก. 210-2520 วิธีเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกล 4.2 ความหนาของเสน(Line widths or thickness of line) เสนทุกชนิดที่ใชในแบบจะตองมีความหนาของเทากับคาใดคาหนึ่งของเสนคาความหนาเสนดังตอไปนี้ ขึ้นอยูกับชนิดและขนาด ของแบบ โดยอนุกรมคาความหนาของเสนจะเพิ่มขึ้นในอัตราสวน 1 : 2 (≈ 1 : 1 .4 ) หรืออีกนัยหนึ่งคือคาความหนาของ เสนจะเพิ่มขึ้นตามอนุกรมกาวหนาเรขาคณิตของ 2 เชน ตัวอยางเชน เสนที่บางสุดคือ 0.13 mm ความหนาของเสนตอไปจะ เปน 0.13 2 ≈ 0.18 mm
- อัตราสวนคาความเสนของเสนหนาพิเศษตอเสนหนาตอเสนบางจะมีคาเปน 4 : 2 : 1 - ความหนาเสนตองมีขนาดสม่ําเสมอเทากันตลอดทั้งเสน 4.3 ระยะหางระหวางเสน (Spacing) ระยะหางต่ําสุดของเสนตรงสองเสนที่ขนานกันตองไมนอยกวา 0.7 mm เวนเสียแตขัดแยงกับหลักที่แสดงในมาตรฐาน ระหวางชาติอื่นๆ
12 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.4 ประเภทของเสนและการใชงาน (Types of line and their application) เสนที่ใชในงานเขียนแบบตองเปนเสนที่แสดงในตารางที่ 4.4-1 เทานั้น ตัวอยางการใชงานแสดงในรูปที่ 10 ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ เสน คําอธิบาย การใชงาน เสนเต็มหนา A1 เสนรอบรูปที่มองเห็น(visible outline) (Continuous thick ) A2 เสนขอบรูปที่มองเห็น(visible edge) or (Continuous wide) A3 เสนสุดความยาวเกลียว (Limit of length of full depth thread) A4 เสนยอดเกลียว (Crests of crew threads) A5 เสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ (Frame) เสนเต็มบาง B1 เสนแสดงรอยตอที่เปนขอบโคง, เสนแนวโคง (Continuous thin) (Imaginary lines of intersection) or (Continuous narrow) B2 เสนใหขนาด (dimension line) B3 เสนชวยใหขนาด(Extension line) B4 เสนชี้ (leader line) B5 เสนแสดงลายตัด(hatching) B6 เสนแสดงรูปรางหนาตัด(ขอบรูป) (Outlines of revolved sections) B7 แสดงเปนเสนศูนยสั้น(short cetre line) B8 เสนโคนเกลียว(Root of screw threads) B9 เสนทะแยงมุมสําหรับแสดงพื้นที่ราบ (Diagonals for the indication of flat surfaces) B10 เสนแนวดัดโคง(พับ)บนที่วางและบนชิ้นงานที่จะถูก แปรรูป (Bending lines on blanks and processed parts) B11 แสดงรายละเอียดซ้ําๆ (indication of repetitive details) B12 เสนชวยแสดงตําแหนงของผิวเอียง (Interpretation lines of tapered features) B13 จุดเริ่มตนระบุและเครื่องหมายขอบเขต (Origin and terminations of dimension lines) B14 เสนฉาย(Projection lines) B 15 เสนกริด(grid lines)
13 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. เสน
S.O.P.
DS73012
ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ (ตอ) คําอธิบาย การใชงาน เสนมือเปลา *C1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวนตัด (freehand continuous) ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section)ถา เสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line หรือเสนแกนกลาง (Centre line ) เสนตรงซิกแซก § D1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวน( Continuous thin ตัด ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section) straight with zigzags) ถาเสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line)หรือเสนแกนกลาง (Centre line ) เสนประหนา E1 แสดงบริเวณที่ใหทํา surface treatment เชน การทํา (Dashed thick) heat treatment เสนประบาง F1 เสนรอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden outlines) (Dashed thin) F2 ขอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden edges) G1 เสนศูนยกลาง (centre lines) เสนลูกโซบาง (Chain thin) G2 เสนสมมาตร (Lines of symmetry) หรือเสนศูนยกลางเล็ก G3 เสนแสดงแนวการหมุนของชิ้นงาน(Trajetectory) G4 เสนพิทซและวงกลมพิทซ(Pitch circles) เสนลูกโซบางหักมุม H1 เสนแสดงระนาบตัด (Cutting planes) (Chain thin, thick at end and changes of direct)
เสนลูกโซหนา
J1 แสดง(ขอบเขต)พื้นที่ที่ตองการทํา surface treatment (Chain thick) เชน heat treatment, carburizing hardening เสนลูกโซบางสองจุด K1 แสดงรูปรางชิ้นงานที่อยูติดกันหรือถัดไป (Chain thin double dashed) K2 เสนแสดงตําแหนงรูปรางชิ้นงานเคลื่อนที่ได K3 แสดงแนว Centroid K4 แสดงสวนที่อยูดานหนาของระนาบตัด K5 เสนรอบรูปเริ่มตนของชิ้นงานกอนการขึ้นรูป K6 เสนรอบรูปของชิ้นงานเมื่อทําสําเร็จภายในชิ้นงาน K7 เสนแสดงสวนของชิ้นงานที่ตองทําเพิ่ม K8 กรอบของสวน/พื้นที่ ที่บอกรายละเอียด K9 Projected tolerance zone หมายเหตุ * เสน C1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยมือ, § เสน D1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยเครื่องคอมพิวเตอร ในแบบแตละแผนควรจะเลือกใชเสนประเภทเดียวทั้งแบบ คือเลือกใชเสน C1 หรือ D1 อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น 14 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
15 / 101
S.O.P.
DS73012
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.5 กลุมของเสนและความหนาเสน(Line groups and Line widths) ตาม ISO 128-24 แบบทางวิศวกรรมเครื่องกลปกติจะใชเสนที่มีขนาดความหนา 2 คา โดยมีอัตราสวนคาความหนาเสน ระหวางเสนหนาตอเสนบางตองมีคาเปน 2 : 1 แตเพื่อความเหมาะสมในการใชงานยิ่งขึ้นจะเพิ่มคาความหนาที่อยูระหวาง เสนหนาและเสนบางเขาไปอีกหนึ่งคา โดยใชเปนคาความหนาเสนของเสนประบาง (มาตรฐานความหนาเสนชุดที่ 1 ของ มอก. 210-2520 ) ตารางที่ 4.5-1 ขนาดกลุมเสนและความหนาที่ใชเขียนแบบ กลุมเสนและความหนาของเสน คําอธิบาย ชนิดเสน 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 เสนเต็มหนา 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 (Continuous thick) เสนเต็มบาง 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (Continuous thin) เสนมือเปลา 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (freehand continuous) เสนตรงซิกแซก เสนประหนา (Dashed thick) เสนประบาง (Dashed thin) เสนลูกโซบาง (Chain thin ) เสนลูกโซบางหักมุม (Chain thin, thick at end and changes of direct)
เสนลูกโซหนา (Chain thick)
เสนลูกโซบางสองจุด (Chain thin double dashed)
0.5
0.35
0.25
0.18
0.13
1.0
0.7
0.5
0.35
0.25
0.7
0.5
0.35
0.25
0.18
0.5
0.35
0.25
0.18
0.13
0.5
0.35
0.25
0.18
0.13
1.0
0.7
0.5
0.35
0.25
0.5
0.35
0.25
0.18
0.13
กลุมของเสนความหนาเสนจะตองเลือกตามชนิด,ขนาดและมาตราสวน และตามขอขอกําหนดของการทําไมโครกอปป และ/หรือ วิธีการเขียนแบบอื่นๆ
16 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.6 จุดตัดของเสน(Junction) เสน E,F,G,J และ K ในตารางที่ 4.5-1 ตองมีจุดตัดหรือจุดชนของเสนที่เสนขีด(dash) ดังแสดงในรูปที่4.6-1 ถึง 4.6-6
รูปที่ 4.6-1
รูปที่ 4.6-2
รูปที่ 4.6-3
รูปที่ 4.6-4
รูปที่ 4.6-5
รูปที่ 4.6-6
17 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.7เสนชี้และเสนอางอิง (leader lines and reference lines) มาตรฐานการใชเสนชี้และเสนอางอิงจะอางอิงตาม ISO 128-22 เสนชี้ (Leader line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอระหวาง featureของแบบกับอักขระ(alphanumeric) และ/หรือ ขอความ ตางๆ( notes, item reference, ขอกําหนดทางเทคนิค ฯลฯ)ในรูปแบบที่ชัดเจนไมกํากวม เสนอางอิง (Reference line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอจากเสนชี้ในแนวนอนหรือแนวตั้ง และ/หรือ มีคําสั่งเพิ่มเติม (additional instructions) แสดงบนเสนหรือที่เสน
รูปที่ 4.7-1 การแสดงเสนชี้(Presentation of leader lines) เสนชี้จะเขียนดวยเสนเต็มบางและเขียนทํามุมกับเสนในแบบที่สัมพันธกันกับเสนชี้ และ/หรือ กับกรอบพื้นที่กระดาษเขียน แบบและตองไมขนานกับเสนใกลเคียง เชน เสนลายตัด โดยมุมระหวางเสนชี้และเสนที่เกี่ยวของกันตอง >15° ( ดูตัวอยางที่ให ในรูป 4.7-2 ถึง4.7-14 ) เสนชี้อาจเขียนดวยเสนหักงอ (ดูรูปที่ 4.7-6 ) และเสนชี้ตั้งแต 2 เสนขึ้นไปอาจเขียนรวมกัน(ดูรูป 4.7-3,4.7-6,4.7-8,4.7-9 และ4.7-12) โดยที่เสนชี้เหลานี้ตอง ไมตัดกับเสนชี้,เสนอางอิง,หรือสิ่งระบุอื่นๆ เชน สัญลักษณตางๆ คาตัวเลขบอกขนาด เสนชี้ตองไมลากผานจุดตัดของเสนอื่นๆ และตองหลีกเลี่ยงการใชเสนชี้ที่ยาวมากๆ เสนชี้ตองแสดงเครื่องหมายปลายเสนดานซึ่งสัมผัสกับ feature ของแบบดังนี้ - ดวยหัวลูกศรแบบปดระบายทึบหรือหัวลูกศรเปด(ที่มุมหัวลูกศร 15° ) ถาปลายเสนชี้ที่เสนรอบรูปหรือเสนขอบของแบบ หัวลูกศรยังเขียนแสดงไดที่จุดตัดของเสนรอบรูปหรือเสนขอบกับเสนอื่น ยกตัวอยางเชน เสนสมมาตร(ดูรูปที่4.7-2 ถึง 4.7-8) หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุใหกับเสนขนานกันหลายเสนสามารถใชขีดเอียงแทนหัวลูกศรได(ดูรูปที่ 4.7-9) - ดวยจุด(d = 5x ความหนาเสน) ถาปลายเสนชี้ภายในเสนรอบรูป (ดูรูปที่4.7-10 ถึง 4.7-12) - ไมมีจุดหรือหัวลูกศรถาปลายเสนชี้บนเสนอื่น เชน เสนบอกขนาด, เสนสมมาตร (ดูรูปที่4.7-13 ถึง 4.7-14)
รูปที่ 4.7-2
รูปที่ 4.7-3 18 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
รูปที่ 4.7-4
รูปที่ 4.7-5
รูปที่ 4.7-6
รูปที่ 4.7-7
รูปที่ 4.7-8
รูปที่ 4.7-9
รูปที่ 4.7-10
รูปที่ 4.7-11
รูปที่ 4.7-12
รูปที่ 4.7-13
S.O.P.
DS73012
รูปที่ 4.7-14 19 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
การแสดงเสนอางอิง(Presentation of reference lines) เสนอางอิงจะเขียนดวยเสนเต็มบาง โดยอาจถูกเขียนเพิ่มใหกับเสนชี้แตละเสนในทิศใดทิศหนึ่งของทิศที่ใชอานคาในแบบ เสนอางอิงจะเขียนดวยวิธีการใดวิธีการหนึ่งดังนี้คือ - กําหนดความยาวเสนที่แนนอน คือใชความยาวเสนที่ 20 x ความหนาเสนของเสนอางอิง (ดูรูป 4.7-16 และ 4.7-17) - เขียนเสนอางอิงดวยความยาวที่ปรับตามความยาวของคําสั่ง(instructions)ที่ระบุ (ดูตัวอยางในรูปที่ 4.7-15 และ 4.7-17)
รูปที่ 4.7-15
รูปที่ 4.7-16
รูปที่ 4.7-17 รูปที่ 4.7-18 ในกรณีเฉพาะของการใชงานตองเขียนเสนอางอิง(ดูตัวอยางที่ใหในรูปที่ 4.7-16) อยางไรก็ตามเสนอางอิงอาจไมตองแสดง ถาเสนชี้ถูกเขียนในทิศของการอานแบบทิศทางใดทางทิศหนึ่ง และคําสั่งที่ระบุถูก เขียนในทิศทางเดียวกัน(ดูรูปที่ 4.7-19) และ ในกรณีอื่นๆทุกกรณีที่ไมสามารถใชเสนอางอิง(ดูรูปที่ 4.7-10,4.7-20,4.7-21)
รูปที่ 4.7-19
รูปที่ 4.7-20
20 / 101
รูปที่ 4.7-21
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
การระบุคําสั่ง(Indication of instructions) คําสั่งที่เปนของเสนชี้ตองถูกระบุในลักษณะดังตอไปนี้ - โดยทั่วไปๆจะระบุ เหนือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-15,4.7-18,4.7-22) - กึ่งกลางหลังเสนชี้หรือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-17,4.7-19) - รอบๆ,ภายใน หรือหลังสัญลักษณ ใหถูกตองตรงตามกับขอกําหนดของมาตรฐานระหวางชาติ พิจารณาตามขอกําหนดสําหรับการทํา ไมโครกอปป ใน ISO 6428 คําสั่ง(Instructions)จะตองเขียนบนหรือใตเสนอางอิงที่ ระยะหางเปน 2 เทาของความหนาเสนอิงและเสนอางอิงตองไมเขียนภายในเสนอางอิงหรือสัมผัสกับเสนอางอิง
รูปที่ 4.7-22 ชิ้นงานที่มีหลายชั้นเฉพาะหรือประกอบจากชิ้นสวนหลายชิ้นสวน ถูกกําหนดดวยเสนดวยเสนชี้เพียงเสนเดียว ลําดับของการ ระบุคําสั่งตองตรงกับลําดับของชั้นหรือชิ้นงาน(ดูตัวอยาที่ใหในรูป4.7-23)
รูปที่ 4.7-23
หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุคาตางๆใหกับวงกลมหรือสวนของวงกลม แนวของเสนชี้ตองผานจุดศูนยกลาง(BS 308 Part2:1985 หนา 17)
21 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 5.ตัวอักษร(Lettering) 5.1 มาตรฐานตัวอักษรจะอางอิงตาม 5.1.1) มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษจะยึดตาม ISO 3098 :1997(E) 5.1.2) มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทยจะยึดตาม มอก. 210-2520 5.2 มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษ 5.2.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาอังกฤษ (Type of lettering) มาตรฐาน ISO 3098:1997(E) กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบดังตอไปนี้ - ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ A ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) ) - ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ B ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) (นิยมใชงาน)
S.O.P.
DS73012
ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง ที่ 5.2.3-1 ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง ที่ 5.2.3-2
- ตัวอักษรแบบ CA ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ CA ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) ) แบบตัวอักษรที่ใชใน CAD - ตัวอักษรแบบ CB ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) (นิยมใชงาน) (ISO 3098-5) - ตัวอักษรแบบ CB ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) ในการเขียนแบบโดยทั่วไปจะนิยมใชงาน (preferred application) ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง ตัวอักษรแบบ A จะมีขนาดความ กวางแคบกวาและบางกวาแบบ B จึงเหมาะใชในแบบที่มีเนื้อที่จํากัด ตัวอักษรแบบเอียงจะเหมาะสําหรับการเขียนแบบดวยมือ ดูรายละเอียดไดใน ISO 3098:1997(E) 5.2.2 ขนาดความสูงมาตรฐาน (Range of nominal sizes) ขนาดความสูงตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO 3098 (หนวยมิลลิเมตร)
ขนาดตัวหนังสือจะโตขึ้นเปนลําดับตามผลคูณของ 2 (เชน1 . 8 × 2 ≈ 2 . 5 ) ตามมาตรฐานการขยายลําดับขนาด ของกระดาษ (ดู ISO 216) ขนาดความหนาของเสนที่ใชเขียนตัวอักษรจะตองสอดคลองกับมาตรฐานความหนาเสนที่ใชเขียนแบบโดยที่ความหนาเสนนี้ จะตองใชกับทั้งตัวอักษรพิมพใหญ(upper-case letters)และและตัวอักษรพิมพเล็ก(lower-case letters)
22 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.2.3 ขนาดตางๆของตัวอักษร ขนาดตางๆของตัวอักษรจะถูกกําหนดจากความสูง (h) ของเสนบรรทัด(outline contour)ของตัวอักษรพิมพใหญ (ดูรูป5.2.3-1 ตาราง 5.2.3-1 และ ตาราง 5.2.3-2)
รูป 5.2.3-1
เมื่อ
h c1 c2 c3 f a b1 b2 b3 e d
คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ
รูป 5.2.3-2 รูป 5.2.3-3 ความสูงของตัวอักษรพิมพใหญ ( Lettering height ) ความสูงของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Height of lower - case letters (x-height) ) สวนลางของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Tail of lower - case letters) สวนบนของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Stem of lower - case letters ) พื้นที่สวนเครื่องหมาย diacritical ของตัวพิมพใหญ(Area of diacritical marks(upper-case letters)) ชองไฟระหวางตัวอักษร ( Spacing between characters ) ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 1) ( Spacing between baselines 1) ) ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 2)( Spacing between baselines 2) ) ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 3)( Spacing between baselines3) )
คือ ระยะหางระหวางคํา ( Spacing between words ) คือ ความหนาเสน ( Line width or Thickness of line )
23 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. ตาราง 5.2.3-1 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด A Multiple Dimensions Characteristic of h h (14/14)h 1.8 2.5 3.5 5 7 (10/14)h 1.3 5 c1 1.8 3.5 2.5 (4/14)h 0.52 2 c2 0.72 1.4 1 (4/14)h 0.52 2 c3 0.72 1.4 1 (5/14)h 0.65 2.5 f 0.9 1.75 1.25 (2/14)h 0.26 1 a 0.36 0.7 0.5 1) (25/14)h 3.25 12.5 b1 4.5 8.75 6.25 (21/14)h 2.73 b2 2) 10.5 7.35 5.25 3.78 3) (17/14)h 2.21 8.5 b3 5.95 4.25 3.06 e (6/14)h 0.78 1.5 3 1.08 2.1 4) 4) 4) d (1/14)h 0.13 0.25 0.35 0.5 0.18
S.O.P.
DS73012
10 7 2.8 2.8 3.5 1.4 17.5 14.7 11.9 4.2 0.7 4)
14 10 4 4 5 2 25 21 17 6 1
20 14 5.6 5.6 7 2.8 35 29.4 23.8 8.4 1.4 4)
14 10 4) 4.2 4.2 5.6 2.8 26.6 21 18.2 8.4 1.4
20 14 6 6 8 4 38 30 26 12 2
1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1 2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2 3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3 4) คาโดยประมาณ ; คาของขนาด c1 ถึง e คํานวณจากคาโดยประมาณของ d
ตาราง 5.2.3-2 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด B Multiple Characteristic Dimensions of h h 2.5 3.5 5 7 (10/10)h 1.8 4) c1 (7/10)h 1.26 1.75 3.5 2.5 5 4) c2 1.05 2.1 (3/10)h 0.54 0.75 1.5 c3 (3/10)h 0.54 1.05 2.1 0.75 1.5 (4/10)h 0.72 f 1.4 2.8 1 2 0.7 a 0.5 (2/10)h 0.36 1.4 1 1) 6.65 b1 (19/10)h 3.42 4.75 13.3 9.5 b2 2) 5.25 (15/10)h 2.7 3.75 10.5 7.5 3) b3 (13/10)h 2.34 4.55 3.25 9.1 6.5 e 4.2 (6/10)h 1.08 2.1 1.5 3 d (1/10)h 0.18 0.7 0.35 0.25 0.5
10 7 3 3 4 2 19 15 13 6 1
1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1 2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2 3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3 4) คาโดยประมาณ
24 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor)
25 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor)
26 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรกรีก (Greek charactor)
27 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.2.4 การเอียงของตัวอักษร (Lettering angle) ตัวอักษรควรเขียนตัวตรง หรือ เขียนเอียงไปดานขวาดวยมุม 75° กับแนวนอน (ดูรูป 5.2.4-1)
รูป 5.2.4-1 5.2.5 การขีดเสนใตและเสนบนตักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษร (Underlined and overlined text or text fields) เมื่อตัวอักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษรถูกขีดเสนใตหรือเสนบนควรจะเวนเสนทุกที่เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพเล็กมีสวนลาง หรือ เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพใหญหรือตัวพิมพเล็กมีเครื่องหมาย diacritical ถาเสนใตหรือเสนบนมีระยะหางไมเหมาะสมจะตอง ขยายระยะหางของเสนใตหรือเสนบนกับเสนบรรทัดลาง( Baselines )
รูปที่ 5.2.5-1
รูปที่ 5.2.5-2
28 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.3 มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทย 5.3.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาไทย ตาม มอก. 210-2520 กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบไว 2 ชนิด คือ ตัวอักษรแบบบรรทัดตัวตัวอักษร (Letter plate ) มีขนาดความหนาของเสนเทากับ 1 ใน 10 (หรือ 1 ใน 14 ) เทาของความสูงของตัวอักษร และตัวอักษรแบบแผนอักษรลอก มีขนาดความหนาของเสนตามความเหมาะสม เพื่อความสวยงามของตัวอักษรแตละแบบ มีหลายขนาดดังใน ตารางที่ 5.3.1-1 และตาราง 5.3.1-2 ตารางที่ 5.3.1-1 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบบรรทัดตัวหนังอักษร
ตารางที่ 5.3.1-2 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบแผนอักษรลอก
29 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.3.2 รูปแบบของตัวอักษรมาตรฐานภาษาไทย เนื่องจาก มอก.210-2520 ไมกําหนดรูปแบบมาตรฐานของตัวอักษรไวแนนอน เพื่อความเปนมาตรฐานเดียวกันขององคกร จึงขอกําหนดรูปแบบตัวอักษรภาษาไทยไว 2 แบบ โดยยึดรูปแบบของตัวอักษรตามรูปแบบของตัวอักษรที่ไดจากรองบรรทัดชวย เขียน และบรรทัดตัวอักษรที่นิยมใชกันในงานเขียนแบบดังนี้ - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน
รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน
30 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.3.3 ขนาดความสูงนอยสุดของตัวอักษรและตัวเลขในงานเขียนแบบ ตารางที่ 5.3.3-1 แสดงคาความสูงต่ําสุดแนะนําสําหรับตัวอักษรตัวพิมพใหญ ซึ่งเปนคาที่ไดจากประสบการณ และเปรียบเทียบ กับ มาตรฐานการเขียนแบบของประเทศอังกฤษ BS 308 : Part 1: 1984 ตารางที่ 5.3.3-1 ขนาดความสูงตัวอักษร ขนาดกระดาษ ความสูงตัวอักษร การใชงาน เขียนแบบ นอยสุด (mm) ขนาดแนะนํา (mm) A4 2 2.5 ตัวเลขบอกขนาด และ A3,A2 2.5 3 ตัวหนังสืออื่นๆที่ใชในแบบ A1,A0 3.5 A4,A3 2.5 หมายเลขแบบ(Drawing number) 2.5 A4,A3 3 Title และ Subtitle ตารางที่ 5.3.3-2 ขนาดความสูงตัวอักษรตาม BS 308 : Part 1: 1984 Minimum character height Drawing sheet size Application (mm) A0, A1, A2 and A3 7 Drawing numbers, etc. A4 5 A0 3.5 Dimensions and notes A1, A2, A3 and A4 2.5
31 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.วิธีการเขียนภาพฉาย (Projection methods) 6.1 วิธีการเขียนภาพฉายจะอางอิงตาม - มาตรฐาน ISO 5456-2 : 1996-06-15 First edition 6.2 การกําหนดภาพ (Designation of view )
รูป 6.2-1กรณีเปนภาพไอโซเมตริก ( Isometric ) ตารางที่ 6.2-1 ทิศทางของการมอง ภาพในทิศทาง ภาพ a ดานหนา
รูป 6.2-2 กรณีเปนภาพอ็อพบริค ( Oblique ) การกําหนดภาพ A
b ดานบน B ( E )1) c ดานซาย C d ดานขวา D e ดานลาง E f ดานหลัง F ภาพที่ใหรายละเอียดชัดเจนที่สุดของชิ้นงานโดยปกติจะถูกเลือกเปนภาพหลัก(ภาพดานหนา)ในการนําเสนอ นั้นคือภาพ A ตามทิศทางการมอง a ( ดู รูปที่ 6.2-1, 6.2-2 และตารางที่ 6.2-1)โดยทั่วไปจะแสดงวัตถุตามหนาที่การทํางานหรือตามการผลิต หรือตามตําแหนงการติดตั้ง ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลักในแบบจะขึ้นกับวิธีการฉายภาพที่เลือกใช (มุมมองที่ 1, มุมมองที่ 3, มุมมองตาม ลูกศรชี้อางอิง ) ซึ่งในทางปฏิบัติไมจําเปนตองใชทั้ง 6 ภาพ เมื่อมีภาพดานอื่นๆ(ภาพตัด,ภาคตัด) นอกจากภาพหลักมีความจําเปนที่ตองแสดง จะตองเลือกภาพโดย - จํากัดจํานวนภาพดานอื่นๆ, ภาพตัด(cuts)และภาคตัด(section)ที่จําเปนใหนอยที่สุดและเพียงพอตอการแสดงรายละเอียด ทั้งหมดของชิ้นงานโดยไมมีขอสงสัย - หลีกเลี่ยงการซ้ําซอนที่ไมจําเปนของรายละเอียด 32 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.3 การเกิดภาพฉาย ภาพฉาย มีการเกิดอยู 2 ลักษณะ คือ 6.3.1 ภาพฉายเกิดในลักษณะการเกิดเงา เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวเงาของวัตถุจะไปปรากฏที่ฉากรับภาพ การเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบมุมมองที่ 1
รูปที่ 6.3.1-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา 6.3.2 ภาพฉายเกิดในลักษณะการมองเห็นวัตถุ เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวภาพของวัตถุจะสะทอนเขาตาเราจึงทําใหเกิดการมองเห็น โดยภาพที่ปรากฎนั้นมีตาเปนฉากรับ ภาพนั่นเอง การเกิดภาพฉายลักษณะนี้จะเหมือนมีฉากใสมากั้นสายตาไวนั้นเองการเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบ มุมมองที่ 3
รูปที่ 6.3.2-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็น
33 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.4 การกําหนดมุมมอง มุมมองที่ใชในการกําหนดวิธีการฉายภาพสําหรับงานเขียนแบบ ใชหลักการแบงมุมภายในของวงกลม( 360° ) ออกเปน 4 สวนเทากันเรียกวา ครอด-แร็นท( Quadrant ) และตั้งเปนชื่อมุมมองมาตรฐานตามชื่อของครอด-แร็นทแตละสวนคือ
รูปที่ 6.4-1 การแบงมุมภายในของวงกลมออกเปน ครอด-แร็นท( Quadrant )
รูปที่ 6.4-2 การแบงมุมมองภาพ เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในการเขียนภาพฉาย มุมมองที่เหมาะสมสําหรับใชในการเขียนแบบภาพฉายจะตองเปนมุมมองที่ใชวิธี การฉายภาพทุกดานของชิ้นงานเพียงแบบใดแบบหนึ่งเทานั้น ระหวางการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา หรือ การฉายภาพใน ลักษณะการมองเห็นวัตถุ ดังนั้นมุมมองที่เหมาะสมไดแกมุมมองที่ 1 ( First angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา และมุมมองที่ 3 ( Third angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็นวัตถุ
34 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.5 วิธีแสดงภาพฉาย ( Method of representation ) 6.5.1 ภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 ( First angle projection ) วิธีการฉายภาพแบบมุมมองที่ 1 เปนวิธีการฉายภาพที่ชิ้นงานที่ถูกแสดงจะวางอยูระหวางผูสังเกตและระนาบโคออดิเนตที่เปน ฉากรับภาพที่ฉายจากชิ้นงาน ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ในแบบจะถูกกําหนดโดยการหมุนระนาบฉากรับภาพทั้ง หลายรอบเสนที่ติดกับหรือ ขนานกับแกนโคออดิเนต (coordinate axes) บนระนาบโคออดิเนตที่เปนฉากรับของภาพดาน A ( รูปที่ 6.5.1-1 )
รูปที่ 6.5.1-1 ดังนั้นในแบบเมื่ออางอิงกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ภาพดานอื่นๆจะถูกจัดวางดังนี้ ( ดูรูปที่ 6.5.1-2 ) - ภาพ B แสดง ภาพดานบน : ภาพที่มองจากดานบนแลวนําไปเขียนแสดงไวดานลาง - ภาพ E แสดง ภาพดานลาง : ภาพที่มองจากดานลางแลวนําไปเขียนแสดงไวดานบน - ภาพ C แสดง ภาพดานซาย : ภาพที่มองจากดานซายแลวนําไปเขียนแสดงไวดานขวา - ภาพ D แสดง ภาพดานขวา : ภาพที่มองจากดานขวาแลวนําไปเขียนแสดงไวดานซาย - ภาพ F แสดง ภาพดานหลัง : ภาพที่มองจากดานหลังแลวนําไปเขียนแสดงไวดานหนา
35 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
รูปที่ 6.5.1-2 สัญลักษณการเขียนภาพแบบมุมมองที่ 1 แสดงในรูปที่ 6.5.1-3
รูปที่ 6.5.1-3
36 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.5.2 ภาพฉายแบบมุมมองที่ 3 ( Third angle projection ) วิธีการฉายภาพแบบมุมมองที่ 3 เปนวิธีการฉายภาพที่ชิ้นงานที่ถูกแสดงซึ่งถูกมองจากผูสังเกตจะวางอยูขางหลังระนาบ โคออดิเนตที่เปนฉากรับภาพที่ฉายจากชิ้นงาน ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ในแบบจะถูกกําหนดโดยการหมุนระนาบฉากรับภาพทั้ง หลายรอบเสนที่ติดกับหรือ ขนานกับแกนโคออดิเนต (coordinate axes) บนระนาบโคออดิเนตที่เปนฉากรับของภาพดาน A
รูปที่ 6.5.2-1 ดังนั้นในแบบเมื่ออางอิงกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ภาพดานอื่นๆจะถูกจัดวางดังนี้ ( ดูรูปที่ 6.5.2-2 หรือ 6.5.2-3) - ภาพ B แสดง ภาพดานบน : ภาพที่มองจากดานบนแลวนําไปเขียนแสดงไวดานบน - ภาพ E แสดง ภาพดานลาง : ภาพที่มองจากดานลางแลวนําไปเขียนแสดงไวดานลาง - ภาพ C แสดง ภาพดานซาย : ภาพที่มองจากดานซายแลวนําไปเขียนแสดงไวดานซาย - ภาพ D แสดง ภาพดานขวา : ภาพที่มองจากดานขวาแลวนําไปเขียนแสดงไวดานขวา - ภาพ F แสดง ภาพดานหลัง : ภาพที่มองจากดานหลังแลวนําไปเขียนแสดงไวดานหลัง
37 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
รูปที่ 6.5.2-2
รูปที่ 6.5.2-3 สัญลักษณการเขียนภาพแบบมุมมองที่ 3 แสดงในรูปที่ 6.5.2-4
รูปที่ 6.5.2-4
38 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.5.3ภาพฉายแบบใชทิศลูกศรอางอิง ถาตําแหนงของภาพฉายไมเหมาะสมที่จะวางภาพหรือไมสามารถที่จะวางภาพไดตามรูปแบบการวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 หรือแบบมุมมองที่ 3 อนุญาติใหใชวิธีการฉายภาพแบบใชลูกศรอางอิง ชวยในการแสดงภาพฉายโดยมีตําแหนงการวางภาพ ฉายที่อิสระ จากรูปแบบการวางภาพแบบมุมที่ 1 หรือการวางภาพแบบมุมมองที่ 3 ทิศทางของการมองภาพจะตองแสดงโดยใชลูกศรอยางชัดเจนพรอมทั้งระบุตัวอักษรพิมพใหญเปนชื่อทิศทางการมองกํากับ และตองระบุชื่อทิศทางการมองภาพนั้นกับภาพฉายที่แสดงตามทิศลูกศรอางอิง ดวยตัวอักษรพิมพใหญในตําแหนงที่สามารถ อานไดจากทิศทางปกติของการอานแบบ
รูปที่ 6.5.3-1
39 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
ตัวอยางการจัดวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 และ แบบมุมมองที่ 3
รูปที่ 6.5-1 ตัวอยางการการวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 1(First angle projection), BS 308-1984
รูปที่ 6.5-2 ตัวอยางการการวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 3(Third angle projection), BS 308-1984
40 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
6.6 การเขียนรูปสัญลักษณมุมมองภาพ ตารางที่ 6.6-1 สัญลักษณแสดงวิธีการเขียนภาพฉายที่ใชในแบบ วิธีการ สัญลักษณ มุมมองที่ 1 (First angle method) มุมมองที่ 3 (third angle method) ` ขนาดที่ใชสําหรับการเขียนสัญลักษณและขนาดอื่นๆที่เกี่ยวของแสดงไวในตารางที่ 6.6-2
รูปที่ 6.6-1 ตารางที่ 6.6-2 ขนาดที่ใชสําหรับการเขียนสัญลักษณ ความสูงของตัวเลข ตัวอักษรพิมพใหญ (และ/หรือ ตัว อักษรพิมพเล็ก) และเสนผาศูนยกลางวงกลมวงเล็ก 3.5 5
7
10
14
20
ที่ปลายกรวย, h ความหนาเสนของรูปสัญลักษณ, d ความหนาเสนของตัวอักษร, d ความยาวและเสนผาศูนยกลางของวงกลมวงใหญที่ โคนกรวย, H
41 / 101
0.35
0.5
0.7
1
1.4
2
7
10
14
20
28
40
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
7.มาตรฐานวิธีเขียนแบบเกลียวและสกรู วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง เกลียวที่มองเห็น (Visible screw threads) ISO 6410-1:1993(E) 1.เสนยอดเกลียวแสดงดวยเสนเต็มหนา( เสนประเภท A BS 308 Part 1:1984 ในตาราง 4.4-1 ) 2.เสนโคนเกลียวเขียนดวยเสนเต็มบาง(เสนประเภท B ในตาราง 4.4-1 ) 3.ระยะหางระหวางเสนสันเกลียวและโคนเกลียวจะตองมี คาเทากับคาความลึกของฟนเกลียว และระยะหางนี้ตอง มีคาไมนอยกวา 2 เทาของความหนาของเสนหนา หรือ มีคาไมนอยกวา 0.7 mm โดยใหพิจารณาเลือกใชคาใด คาหนึ่งที่มีคามากกวา 4.ภาพดานปลายเกลียว เสนโคนเกลียวจะเขียนแสดงดวย สวนของวงกลมโดยใชเสนเต็มบาง ใหยาวประมาณ 3/4 สวนของเสนรอบวง และใหครอมทับเสนผาศูนยกลางทั้ง สองดาน โดยนิยมเขียนเปดครอด-แร็นทดานขวาบนของ วงกลม 5.วงกลมเปดนี้อาจจะวางในตําแหนงอื่นไดข้นึ กับแกนตัดรูป ( Intersecting axes ) 6. เสนเต็มหนาที่แสดงวงกลม chamfer โดยทั่วไปจะเวนไว ไมแสดง เกลียวที่ถูกบัง ( Hidden screw threads ) 1.เกลียวที่มองไมเห็นหรือเสนเกลียวที่ถูกบังจะแสดงดวย เสนประ ( เสนประเภท F ในตาราง 4.4-1 ) 2.ภาพดานปลายเกลียว เสนโคนเกลียวจะเขียนแสดงดวย สวนของวงกลมโดยใชเสนประ ใหยาวประมาณ 3/4 สวน ของเสนรอบวง และใหครอมทับเสนผาศูนยกลางทั้งสอง ดาน โดยนิยมเขียนเปดครอด-แร็นทดานขวาบนของ วงกลม ภาคตัดของชิ้นสวนทีเปนเกลียว( Section of threaded part ) ชิ้นสวนเกลียวที่มีการแสดงภาคตัด เสนแสดงลายตัดจะ ตองลากเลยผานเสนโคนเกลียวไปชนกับเสนสันเกลียว
42 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
7.มาตรฐานวิธีเขียนแบบเกลียวและสกรู ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง เสนสุดเกลียว( Limit of length of full depth thread ) ISO 6410-1:1993(E) 1.เกลียวที่มองเห็นจะตองเขียนดวยเสนเต็มหนา 2.เกลียวที่ถูกบังอาจจะเขียนแสดงดวยเสนประ 3.ปลายเสนทั้งสองขางตองลากเลยไปชนกับเสน major diameter ของเกลียว เสนเนินเกลียว ( Thread run-outs ) ISO 6410-1:1993(E) เสนเนินเกลียวเปนเสนแสดงชวงเกลียวที่ไมสมบรูณ (ชวง ถอยมีดกลึงเกลียว)เหนือเสนสุดเกลียว โดยปกติจะไม เขียนแสดง เวนแตมีความจําเปนในหนาที่การใชงาน เสนเนินเกลียวจะเขียนดวยเสนเต็มบางโดยลากเปนเสน เอียงตอจากเสนโคนเกลียวไปชนกับเสนสันเกลียวที่ระยะ เขตสุดของเสนเนินเกลียว ( Limit of thread run-outs) การประกอบชิ้นสวนที่เปนเกลียว ISO 6410-1:1993(E) ( Assembled threaded parts ) ISO 6410-2:1993(E) หลักการเขียนเกลียวที่กลาวมาแลวสามารถที่จะนํามาใช กับภาพประกอบเกลียวไดโดยที่ 1.ภาพประกอบของชิ้นสวนที่เปนเกลียวจะเขียนเกลียวนอก ทับชิ้นสวนที่เปนเกลียวในเสมอ และเกลียวนอกตองไมถูก บังโดยเกลียวใน 2.เสนสุดเกลียวของเกลียวในตองเขียนแสดงดวยเสนเต็ม หนาและลากไปชนกับเสนโคนเกลียวของเกลียวใน
หมายเหตุ 1.)ยอดเกลียว (Crest) ปกติจะหมายถึง major diameter สําหรับเกลียวนอก และ minor diameter สําหรับเกลียวใน 2.)โคนเกลียว (Root) ปกติจะหมายถึง minor diameter สําหรับเกลียวนอก และ major diameter สําหรับเกลียวใน
43 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
7.มาตรฐานวิธีเขียนแบบเกลียวและสกรู ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
รูปการเขียนแบบรูเกลียวตามมาตรฐาน (Convention representation)
รูปการเขียนแสดงอยางงาย (Simplified representation)
รูปการเขียนแบบรูเกลียวตามมาตรฐาน (Convention representation)
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การเขียนแสดงชิ้นสวนที่เปนเกลียวอยางงาย (Screw ISO 6410-3:1993(E) threads and threaded parts Simplified representation) ระดับของความงายจะขึ้นอยูกับชนิดของชิ้นงานที่จะแสดง, มาตราสวนของแบบและจุดประสงคของเอกสาร ดังนั้น features ดังตอไปนี้จะไมเขียนแสดงในแบบอยาง งายของชิ้นงานที่เปนเกลียว - ขอบของลบมุม(Chamfer)ของนัตและหัวเกลียว - เสนเนินเกลียว (Thread run-outs) - รูปราง(Shape)ของปลายของเกลียว - ตัดลาง(Undercuts)ของเกลียว 1.รูเกลียวที่มีเสนผาศูนยขนาดเล็ก(Small diameter threads) จะอนุญาติใหเขียนแสดงอยางงายในแบบ และ/หรือ มีการ ระบุขนาดถา - ขนาดเสนผาศูนยกลาง(ในแบบกระดาษ) ≤ 6 mm. - เปนรูปแบบที่เปนระเบียบ(regular pattern)ของรูหรือ เกลียวที่มีชนิดและขนาดเดียวกัน การกําหนดคาประจํารูเกลียว จะรวมทุก features ที่จําเปน ซึ่งปกติแสดงในการเขียนแบบรูเกลียวที่เขียนตามมาตรฐาน การเขียนแบบรูเกลียว และ/หรือ กําหนดขนาด คาที่กําหนดจะแสดงบนเสนอางอิงที่ลากตอจากเสนชี้ที่มี ปลายเสนเปนหัวลูกศรและชี้จากเสนศูนยกลางของรู 2.สกรูและนัตอยางงาย(Screws and nuts) เมื่อมีความจําเปนที่ตองแสดงรูปรางของหัวสลักเกลียว (Screw head), รูปแบบการขับ(Drive pattern)หรือนัต จะใชการเขียนแสดงในแบบดังตัวอยางที่แสดงในตารางที่ 7 ในการเขียนแบบสลักเกลียวอยางงายนี้ ภาพดานปลายที่ เปนเกลียวไมจําเปนตองแสดง
รูปการเขียนแสดงอยางงาย (Simplified representation)
44 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. No. Designation 1 Hexagon head screw
ตารางที่ 7 Simplified representation No. Designation 9 Countersunk screw, cross slot
2 Square head screw
10 Set screw, slot
3 Hexagon socket screw
11 Wood and selftapping screw, slot
4 Cylinder screw (pan-head type), slot
12 Wing screw
5 Cylinder screw, cross slot
13 Hexagon nut
6 Oval countersunk screw, slot
14 Crown nut
7 Oval countersunk screw, slot
15 Square nut
8 Countersunk screw, slot
16 Wing nut
45 / 101
S.O.P.
DS73012 Simplified representation
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
8.มาตรฐานวิธีเขียนภาพการจัดแนว วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง
การเขียนภาพจัดแนว ISO 128-44 2001(E) 1.เพื่อความสะดวกและความสวยงามจึงหมุนแขน, ครีบ, หู หรือรูใหมาอยูตําแหนงสมมาตร 2.แนวจริงซึ่งเกิดจากการฉายจะไมนิยมเขียน การเขียนภาพจัดแนวของครีบ
การเขียนภาพจัดแนวของหู
การเขียนภาพจัดแนวของรูและครีบ
การเขียนภาพจัดแนวของแขน
46 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
9.การเขียนเสนสัมผัสของระนาบตรงและระนาบโคง วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.จุดสัมผัสของระนาบโคงสัมผัสกับระนาบตรง เมื่อพื้นผิวโคงสัมผัสกับผิวระนาบตรงจะไมมีเสนทึบ ปรากฎบนระนาบรับภาพ แตจะแสดงใหทราบโดย เขียน สวนโคงที่ปลายเสนตรง ณ จุดที่ระนาบทั้งสองสัมผัสกัน ดังแสดงในรูป
2.มุมคมที่เกิดจากการตัดกันของผิว จะมีเสนทึบปรากฎบน ระนาบรับภาพ การเขียนรอยตัดของพื้นที่ผิวโคงกับผิวระนาบตรง
การเขียนรอยตัดของพื้นที่ผิวโคงกับผิวระนาบตรง
47 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
10.การเขียนภาพที่มีสวนลาดเล็กนอยหรือสวนโคงที่มีขนาดเล็กๆ(Slight inclines or curves) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพที่มีสวนลาดเล็กนอยหรือสวนโคงที่มีขนาดเล็กๆ ISO 128-34 2001(E) จะไมเขียนภาพฉายตามหลักการเขียนภาพฉายปกติ เพราะแสดงภาพไดไมชัดเจน การเขียนภาพฉายที่มีสวนลาดเล็กนอย(Slight incline) หรือสวนโคง ที่มีขนาดเล็กๆ(Slight curve) เชน ผิวลบมุม, ผิวเอียง, ปรามิด เพื่ออธิบายใหเห็นรูปทรงชิ้นงานใหชัดเจน ขึ้น จะใชสวนลาดที่มีชวงแคบที่สุดของรูปชวยในการเขียน ภาพฉายในมุมมองภาพดานอื่น โดยใชเสนเต็มหนาเขียน แสดงแนวของสวนลาดเล็กนอยหรือสวนโคงที่มีขนาดเล็กๆ ที่มีชวงที่แคบที่สุดนั้นในมุมภาพดานอื่นๆ
48 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) วิธีเขียนแบบ
รูปที่ไมตองเขียนเสนแสดงระนาบตัด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง เสนแสดงระนาบตัด (Cutting Plan) BS308:patrt 1:1984 1.เสนระนาบตัดใหแสดงดวยเสนผาศูนยกลาง แลวลงเสน มอก. 210-2520 เต็มหนักที่ปลายเสน และตรงบริเวณที่มีการหักเลี้ยว ISO 128-40 2001(E) 2.มีหัวลูกศรที่ปลายเสนขนาดหัวลูกศรตองใหญมีขนาดเทา กับขนาดตัวอักษรพิมพใหญที่เขียนกํากับไวที่ปลายเสน ระนาบตัด 3.หัวลูกศรจะแสดงทิศทางการมอง เมื่อนําชิ้นสวนที่ถูกตัด ออกไปแลวมองผิวหนาของสวนที่เหลือตามหัวลูกศร 4.ตองเขียนตัวอักษรพิมพใหญกํากับไวที่ปลายเสนแสดง ระนาบตัด เชน A-A หรือ B-B ฯลฯ เพื่อสะดวกในการอาน แบบ โดยตองเปนตัวอักษรพิมพใหญแบบตัวหนา และ ขนาดใหญกวาตัวเลขบอกขนาดประมาณ 2 - 1.5 เทา กฎทั่วไปของการเขียนภาพตัดและภาคตัด BS308:patrt 1:1984 1.แบบเขียนแสดงเปนภาพตัดที่มีระนาบตัดเดียว หากตําแหนงของระนาบตัดมีความชัดเจนอยูแลว ไมตอง เขียนเสนแสดงระนาบตัดหรือชื่อประจําภาพตัด 2.หากตําแหนงของระนาบตัดไมชัดเจนหรือ เมื่อจําเปนตอง แยกระหวางระนาบตัดหลายๆระนาบ ตําแหนงของ ระนาบตัดจะถูกกําหนดโดยใชเสนแสดงระนาบตัดและ ระบุชื่อประจําภาพตัดตามตัวอักษรที่เขียนกํากับไวที่ ปลายเสนแสดงระนาบตัด 3.ชื่อประจําภาพตัดจะตองวางไวใตรูปภาคตัดที่ไดจากการ ตัดชิ้นงานตามแนวระนาบตัดนั้น ไมควรมีคําวา Section เวนแตไดพิจารณาดูแลววามีความจําเปนตอการอานแบบ 4.ครีบ, สลักเกลียว, สกรู, นัต, เพลา, ดามจับ,ซี่ของลอ จะไมแสดงเปนภาคตัด
รูปที่ตองเขียนเสนแสดงระนาบตัด 49 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย ภาพตัดเต็ม( Full Section ) 1.การตัดเต็มตองตัดครึ่งหนึ่งของชิ้นงานแลวแบงชิ้นงาน ออกเปน 2 สวน โดยตองตัดตลอดแนวชิ้นงาน
มาตรฐานอางอิง
2.ภาพพลิกขึ้นไปเขียนตองยึดทิศที่หัวลูกศรชี้ สวนภาพที่ อยูหลังหัวลูกศรใหเอาทิ้งไป 3.สวนที่ตัดถูกเนื้อชิ้นงานใหแสดงเสนลายตัด(Hatching) สวนที่ไมถูกตัดเชน รูหรือ รอง ใหเวนไว 4.เสนลายตัดจะเขียนดวยเสนเต็มบางเอียงทํามุม45° กับ แนววางชิ้นงาน (ลายตัดจะแตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของ วัสดุงาน) ดูที่ เสนลายตัด 5.ในการเขียนภาพตัด ใหยกเวนไมตองเขียนเสนประใดๆ เพราะจะทําใหยุงยากในการเขียนแบบ แตยกเวนใหมี เสนประไดในกรณีที่ชวยอานภาพไดงายขึ้นเทานั้น 6.ชื่อประจําภาคตัดใหแสดง ดวยตัวอักษรที่ เหมือนกับ ตัวอักษรที่กํากับไวปลายเสนแสดงระนาบตัด เชน A-A, B-B หรือ เพิ่มคําวา Section ตามดวยตัวอักษรที่กํากับไวที่ ปลายเสน เชน Section A-A,Section B-B หากพิจารณา ดูแลววามีความจําเปนตอการอานแบบ
50 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย ภาพตัดครึ่ง( Half Section ) 1.เปนภาพของชิ้นงานที่ถูกตัดออก 1/4 สวน
มาตรฐานอางอิง
2.ใชในกรณีที่ภาพของชิ้นงานสมมาตรกัน โดยตัดแยกตาม แนวของเสนศูนยกลาง 3.เสนประจะไมแสดงในภาคตัดครึ่ง นอกเสียจากตองการ แสดงเสนประในสวนที่จําเปนเทานั้น 4.ใชเสนผาศูนยกลางเปนเสนแบงครึ่งระหวางซีกที่ถูกตัด กับซีกดานที่ไมถูกตัดหามใชเปนเสนเต็ม 5.แนวเสนลายตัดตรงกลางชิ้นงานใหเขียนแสดงเสนหักมุม 6.ภาพตัดครึ่งแนวตั้งโดยปกติจะใหซีกถูกตัดอยูทางดาน ขวามือของเสนผาศูนยกลาง 7.ภาพตัดครึ่งแนวนอนโดยปกติจะใหซีกถูกตัดอยูทางดาน ลางของเสนผาศูนยกลาง 8.การกําหนดขนาดรูเจาะ สามารถกําหนดโดยใชเสน กําหนดขนาดที่มีหัวลูกศรขางเดียว ปลายหางของลูกศร จะตองลากใหเกินเสนผาศูนกลางเล็กนอย
51 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย ภาพตัดแยกแนว (Offset Section) 1.ใชเขียนเฉพาะชิ้นงานที่มีรายละเอียดไมเหมือนกันแต อยากแสดงไวในภาพตัดเดียวกัน
มาตรฐานอางอิง
2.ตรงตําแหนงหักมุมใหเขียนเสนหักมุมดวยเสนเต็มหนัก 3.ตามความเปนจริงตําแหนงที่หักมุมจะเปนเสนเหลี่ยม หรือเสนขอบ เราจะไมเขียนเสนเต็มลงไปในแบบใหถือวา เปนเนื้อเดียวกันเหมือนกับภาพตัดเต็ม
52 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง
ภาพตัดหมุนขาง( Rotated Section ) 1.เปนภาพแสดงพื้นหนาตัดของชิ้นงาน โดยการหมุนหนา ตัดบริเวณนั้นไป 90 องศาเพื่อใหสามารถเขาใจหนาตัด นั้นได 2.ภาพตัดหมุนขางที่เขียนลงในภาพฉายตองเขียนดวย เสนเต็มบาง 3.ภาพตัดหมุนขางและตัดยอสวนดวยใหเขียนดวย เสนเต็มหนัก
ภาพตัดหมุนโคง( Revolved Section) 1.เปนการแสดงรายละเอียดในภาพ เพื่อใหเกิดความเขาใจ ในแบบไดดีกวาที่จะแสดงในแนวตัดตรง 2.ในการเขียนภาพจะหมุนเอาสวนที่อยูนอกแนวศูนยใหเขา อยูในแนวศูนย จากนั้นจึงถายขนาดมายังภาพตัด
3.ใชไดกับชิ้นงานที่มีลักษณะเปนปก แขนหรือหนาจาน เปนตน
53 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพตัดเคลื่อนที่ (Removed Section) 1.เปนภาพตัดที่ใชในกรณีที่ชิ้นงานมีรายละเอียดแตละชวง ตางกันและตองการแสดงพื้นที่หนาตัดของแตชวงนั้น 2.ภาพตัดเคลื่อนที่จะนํามาเขียนไวขางนอกภาพในแนว เดียวกันกับเสนแนวตัด 3.ภาพตัดอาจแสดงไวในแนวอื่นได แตควรพยายามใหอยู ในแนวตัด
4.ถาตองแสดงภาพตัดไวในแนวอื่น ตองบอกทิศทางการ หมุนและองศาที่หมุนไวดวย
5.ภาพตัดเคลื่อนที่ของเพลาสามารถเขียนเปนภาพอยาง งายไดโดยไมตองแสดงขอบงานที่อยูหลังแนวตัด
54 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพตัดเฉพาะสวน( Local Section ) เปนภาพตัดเพื่อแสดงรายละเอียดเฉพาะสวนของชิ้นงาน ซึ่งไมจําเปนตองผาชิ้นงานตลอดก็สามารถเขาใจแบบงาน ได
การเขียนภาพตัดของงานที่มีครีบ ชิ้นงานที่มีครีบ จะไมแสดงลายตัดที่ครีบแตจะเวนวางไป
55 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง
ภาพชิ้นงานที่ครีบทั้งสองดานไมเทากันถูกตัด ภาพของชิ้นงานที่ครีบทั้งสองดานไมเทากันถูกตัด ใหเขียน เสนประและเสนลายตัดที่ครีบเดี่ยวเพื่อแยกความแตกตาง ในกรณีจํานวนครีบของชิ้นงานทั้งสองดานไมเทากัน
การเขียนHand Wheel(พวงมาลัย),ซี่ลอ การเขียนชิ้นงานเหลานี้ถาตัดในแนวของการตัดจริงๆจะ ทําใหเกิดความยุงยากในการอานและเขียนแบบเปนอยาง มากดังนั้น ในงานเขียนแบบจึงเขียนแสดงดังนี้ 1.เมื่อเขียนภาพตัดตองหมุนแขนใหอยูในแนวการตัด 2.แขนจะไมแสดงลายตัด
56 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง
การเขียน Pulley,ซี่ลอ กรณี Pulleyไมมีแขน กรณี Pulleyไมมีแขนแตเปนแผนโลหะเต็มที่เชื่อมระหวาง ดุมกับขอบลอสามารถเขียนภาพตัดไดดังรูป
กรณี Pulleyมีแขน กรณี Pulley มีแขนใหเขียนภาพตัดเหมือนกับการเขียน ภาคตัดHand Wheel คือ 1.เมื่อเขียนภาพตัดตองหมุนแขนใหอยูในแนวการตัด 2.แขนจะไมแสดงลายตัด ภาพชิ้นงานรูปทรงสมมาตร 1.การเขียนแบบรูปทรงที่สมมาตรกัน สามารถเขียนแสดง ชิ้นงานไวเพียงสวนเดียว (ครึ่งเดียว) 2.ใหขีดเสนขนานสั้นๆ ดวยเสนเต็มบางไวที่บริเวณปลาย ทั้งสองขางของเสนผาศูนยกลางทั้งสองขางเพื่อแสดงวา เปนรูปทรงสมมาตร ดังรูป
57 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง
ภาพตัดยอสวน(Interrupted Views) 1.ใชเขียนชิ้นงานที่มีขนาดยาวมากๆ ไมสามารถ เขียนในกระดาษเขียนแบบเทาความยาวชิ้นงานได 2.การกําหนดขนาดความยาวชิ้นงานจะกําหนดเทา ความยาวจริง การตัดยอสวนชิ้นงานแบนที่เปนแทงโลหะ,แผนโลหะจะใช เสนมือเปลาตรงรอยตัดยอ แตตองไมคดจนเกินไป
การตัดยอสวนเหล็กโครงสราง เชน เหล็กตัวไอ,เหล็กฉาก ,เหล็กตัวยู จะใชเสนตรงซิกแซกเปนเสนแสดงรอยตัด
การตัดยอสวนลิ่มเอียง พวกแทงโลหะ ใหใชเสนมือเปลา เปนเสนแสดงแนวตัด
การตัดยอสวนชิ้นงานทรงกระบอกกลมตัน ใหใชเสนเต็ม บางเขียนวงรีที่ปลายตัดทั้งสองขางสลับกัน
การตัดยอสวนชิ้นงานกลมเรียว ตัดเหมือนชิ้นงานทรง กระบอกกลมตัน
การตัดยอสวนชิ้นงานทรงกระบอกกลมกลวง เชน ทอ, เพลากลมกลวง ใชเสนเต็มบางเขียนวงรีซอนกันตามความ หนาของชิ้นงานนั้น
58 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การตัดยอสวนของชิ้นงานกลวงที่ตัดแสดงภายในอาจใช เสนมือเปลาแสดง
การตัดยอสวนไมในงานกอสราง ใหใชเสนมือเปลาเขียน ใหเปนหยักแหลมคลายเสี้ยนไม แลวเขียนลายไมที่ภาพ ดานขาง การแสดงสวนที่วางอยูหนาระนาบตัด เมื่อมีความจําเปนตองแสดงสวนที่วางอยูหนาระนาบตัด ในแบบที่เปนภาพตัดและภาคตัด ใหเขียนแสดงดวยเสน ลูกโซบางสองจุด ดังรูป
59 / 101
ISO 128-24 1999(E)
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
12.การเขียนเสนลายตัด(Hatching) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การเขียนเสนลายตัด(Hatching) 1.เสนลายตัดเขียนดวยเสนเต็มบาง เอียงทํามุม 45° กับ แนววางชิ้นงาน (ลายตัดจะแตกตางกันขึ้นขึ้นอยูกับชนิด ของวัสดุงาน)
2.เสนลายตัดเอียง 45 องศานี้ ตองมีระยะหางเทากันตลอด ในพื้นที่หนาตัดเดียวกัน
3.ระยะหางของเสนลายตัดขึ้นอยูกับพื้นที่หนาตัดของ ชิ้นงาน พื้นที่หนาตัดเล็กระยะหางระหวางเสนลายตัด จะแคบกวาพื้นที่หนาตัดใหญ ลายตัดตองไมหางหรือชิด จนเกินไปเมื่อเทียบกับพื้นที่หนาตัด
4.ถาเสนลายตัดเมื่อเขียนลงไปในพื้นที่แลวเกิดวางตัว ขนานกับเสนรอบรูป ก็ควรหลีกเลี่ยงโดยเปลี่ยนมุมเอียง เปน 30,60,75 องศา เพื่อไมใหเสนลายตัดขนานกับเสน รอบรูป
5.ในกรณีที่พื้นที่ในการเขียนลายตัดใหญมาก อาจจะเขียน ลายตัดเฉพาะบริเวณพื้นที่รอบนอกได
60 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
12.การเขียนเสนลายตัด(Hatching) (ตอ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 6.พื้นที่หนาตัดแคบๆ เชน แผนโลหะประกอบชิ้นงานไมตอง แสดงเสนลายตัด แตใชเขียนเปนเสนดําทึบแทน
7.กรณีชิ้นงานประกอบกันหลายชิ้นและถูกตัดจะตองแสดง เสนลายตัดคนละทิศกัน หรือเขียนระยะหางของเสนลาย ตัดใหตางกัน
8.ถาจําเปนตองกําหนดขนาดในพื้นที่หนาตัดตองเวนชอง ลายตัดสําหรับตัวเลขที่ใชกําหนดขนาดนั้น
61 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
13.การเขียนภาพชวย (Auxiliary Projection) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง
การเขียนภาพชวย (Auxiliary Projection) 1.การเขียนภาพชวยเพื่อแสดงหนาตัดบางสวนของชิ้นงาน ใหสามารถอานแบบใหไดขนาดหรือการมองภาพตาม ความเปนจริง 2.ใชในงานที่มีผิวเอียงหลายผิว ลักษณะและขนาดของ ผิวเอียงจะทําใหยากตอการเขาใจและยุงยากในการที่ จะนํามาเขียนเปนภาพฉาย 3.การหมุนผิวเอียงเพื่อใหเห็นขนาดและรูปรางที่แทจริง จะกระทําเสมือนหนึ่งวาผูอานแบบไดมองพื้นที่หนาตัด นั้นในแนวตั้งฉากกับผิวหนาของชิ้นงานนั้น 4.เสนฉายภาพที่รางจากขอบภาพเพื่อจะทําการฉาย ภาพชวยจะตองลากออกจากขอบภาพและทํามุมฉาก กับภาพเดิม (ตามหลักการมองในขอ 3) 5.การฉายภาพชวยจะเขียนจากภาพฉายหรือภาพไอโซ ก็ได
62 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
14.การเขียนภาพ feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การเขียนภาพ feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) ISO128-34:2001(E) ถามี feature ที่เหมือนกันแนนอนและมีตําแหนงวางเปน ลําดับที่เปนระเบียบสม่ําเสมออาจเขียนรูปอธิบายเพียง 1 รูปสวนรูปอื่นๆระบุเพียงตําแหนงของรูป โดยจํานวน และชนิดของ feature ที่ซ้ําๆจะตองกําหนดใหแนชัดตาม วิธีการกําหนดขนาดใหกับ features ที่ซ้ําๆในทุกกรณี สําหรับ features ที่มีลักษณะสมมาตรตําแหนงของ features ที่ไมไดเขียนรูปจะถูกเขียนแสดงโดยใช เสนผาศูนยกลางดังรูป สําหรับ features ที่มีลักษณะไมสมมาตรตําแหนงของ features ที่ไมไดเขียนรูปจะถูกเขียนแสดงโดยใชเสนเต็มบางดังรูป กรณีที่เปน รู(hole), สลักเกลียว(bolt), หมุดย้ํา(rivet), ชอง BS 304 Part 1:1984 (slot) ฯลฯ ที่มีจํานวนมากๆ และมีรูปแบบที่เปนระเบียบ JIS B 0001-1985 สม่ําเสมอ อาจเขียนรูปสัญลักษณ(graphic symbol)ที่ จุดตัดของเสนพิทชและเสนผาศูนยกลาง แทนการเขียน แสดงรูปรางตามจริง โดยความหมายของสัญลักษณจะ ตองเขียนแสดงในตําแหนงซึ่งงายตอการทําความเขาใจ หรืออธิบายโดยใชเสนชี้
63 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
15.การเขียนภาพ feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) (ตอ) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย
มาตรฐานอางอิง BS 304 Part 1:1984 JIS B 0001-1985
เมื่อมี 1 feature ตัวอยางเชน รอยบาก(notch) หรือ รองลิ่ม( keyway ) มีตําแหนงอยูติดและมีความสัมพันธกับ feature ที่ซ้ําๆตั้งแตหนึ่ง feature ขึ้นไป จะตองเขียนแสดง feature ที่ซ้ําๆที่มีตําแหนงอยูติดและมีความสัมพันธกัน นั้นเปนรูปเต็ม ณ ตําแหนงซึ่งมีความสัมพันธกัน
64 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
16.การเขียนภาพกรณีพิเศษ (Conventional representations) วิธีเขียนแบบ
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพขยาย(Enlarged features) ISO128-34:2001(E) ในกรณีที่มาตราสวนหลักที่ใชในการเขียนแบบมีขนาดเล็ก ทําใหรายละเอียดของ feature ยอยของแบบไมสามารถ แสดงไดอยางชัดเจนหรือไมเพียงพอตอการใหขนาด feature นี้อาจจะลอมกรอบหรือลอมลอบเปนวงกลมดวย เสนลูกโซบางและแสดงตัวอักษรตัวพิมพใหญกํากับไว เพื่อใชในการบงชี้ จากนั้นเขียน feature นี้อีกครั้งดวย มาตราสวนที่ใหญข้นึ พรอมกับตัวอักษรบงชี้ ดังรูป เสนแสดงแนวตัด(Imaginary lines of intersection) เสนแสดงแนวตัดหรือรอยตอของชิ้นงานที่เปนสวนโคงหรือ มุมโคงอาจจะเขียนแสดงในแบบไดโดยใชเสนเต็มบางแต ตองไมสัมผัสกับเสนขอบรูป
ชิ้นสวนที่อยูติดกัน(Adjacent parts) เมื่อมีความจําเปนตองเขียนแสดงชิ้นสวนที่อยูติดกัน ใหเขียนแสดงดวยใชเสนลูกโซบางสองจุด โดยภาพที่แสดง ชิ้นสวนที่อยูติดกันจะตองไมบังภาพหลักแตตัวของมันอาจ ถูกบังโดยภาพหลักได การแสดงชิ้นสวนที่อยูติดกันโดยปกติจะแสดงเปน เสนรอบรูป และถาแสดงในรูปที่เปนภาคตัดไมตองแสดง เสนลายตัด หนาระนาบบนชิ้นงานทรงกระบอก(Plane faces on cylindrical parts) พื้นที่ราบบนชิ้นงานทรงกระบอกเชน พื้นที่สี่เหลี่ยม, พื้นที่สี่เหลี่ยมเอียง(tapered squares)จะตองถูกระบุโดย เขียนเสนทะแยงมุมทั้งสองขางดวยเสนเต็มบาง
65 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
การกําหนดขนาด (Dimensioning) 1.มาตรฐานการบอกขนาดจะอางอิงตาม 1.1) ISO 129-1985 1.2) BS 308 Part 2-1985
Technical drawing-Dimensioning Recommendation for dimensioning and tolerancing of size
2.นิยาม (Definitions) จากมาตรฐาน ISO 129-1985(E) ใหคํานิยามศัทพมาตรฐานสําหรับการกําหนดขนาดดังนี้ ขนาด :คือคาตัวเลขที่กําหนดขนาดใหกับสวนประกอบตางๆของแบบโดยแสดงในหนวยการวัดที่เหมาะสม ขนาดอาจตองประกอบ ดวยเสน,สัญลักษณและขอความตางๆจึงจะกําหนดขนาดใหกับสวนประกอบของแบบชิ้นงานไดสมบรูณ
dimension : A numerical value expressed in appropiate unit of measurement and indicated graphically on technical drawings with lines, symbols and notes 2.1 ขนาด(dimensions) แบงออกเปนชนิดไดดังนี้ 1. ขนาดสําคัญตอการใชงาน คือ ขนาดที่มีความสําคัญตอหนาที่การใชงานของชิ้นงานหรือพื้นที่ (ดู "F" ในภาพ)
functional dimension : A dimension that essential to the function of the piece or space. 2. ขนาดไมสําคัญตอการใชงาน คือ ขนาดที่มีไมความสําคัญตอหนาที่การใชงานของชิ้นงานหรือพื้นที่(ดู "NF" ในภาพ)
non-functional dimension: A dimension that is not essential to the function of piece or space. 3. ขนาดชวย คือ ขนาดที่ใหไวเพื่อเปนขอมูลเทานั้น ไมใชเปนขอกําหนดในการผลิตหรือในการตรวจสอบ เปนคาที่ไดมาจากคาอื่นที่ แสดงบนแบบหรือเอกสารที่เกี่ยวของ ขนาดชวยจะเขียนแสดงในวงเล็บและไมใส คา Tolerance (ดู "AUX" ในภาพ
auxiliary dimension : A dimension given for information purposes only. It dose not govern production or inspection operations and is derived from other values shown on the drawing or in related documents An auxiliary dimension is given in parentheses and no tolerance applies to it
รูปแสดงที่1 Functional, non-functionalและ auxiliary dimensions
66 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
รูปลักษณ คือ รูปลักษณะประจําตัววัตถุ เชน ผิวเรียบ, ผิวทรงกระบอก, ผิวสองผิวที่ขนานกัน ,บา, แนวฟนเกลียว, รอง, เสนรอบรูป ฯลฯ
feature : An individual characteristic such as a flat surface, a cylindrical surface, two parallel surfaces, a shoulder, screw thread, a slot,a profile, etc. พิกัดความเผื่อ คือจํานวนคาความเบี่ยงเบนรวมสูงสุดที่ยอมใหไดสําหรับคาของ ขนาด,ตําแหนงที่สัมพันธกันหรือจากของ profile หรือ ความตองของการออกแบบดานอื่นๆ
tolerance : The total amount of variation permitted for the size of dimension, a positional relationship or the form of profile or other design requirement.
รูปที่2 พิกัดความเผื่อ(tolerance) = ขนาดโตสุด - ขนาดเล็กสุด จากรูป tolerance = 15.2-14.9 = 0.3
(เปนคาระยะเบี่ยงเบนรวมทั้งหมด)
ขนาดจริงเฉพาะที่ คือ ขนาดที่วัดไดจริงระหวางจุด 2 จุดของ feature ของชิ้นงานที่ผลิตออกมา
actual local size. An actual two-point measurement of a dimensioned feature. ผลิตภัณฑสําเร็จ คือ ชิ้นสวนสําเร็จสําหรับการประกอบหรือใชงานหรือโครงสรางที่ผลิตตามรายละเอียดที่กําหนดใน แบบ ผลิตภัณฑสําเร็จตองเปนชิ้นงานที่พรอมใชสําหรับกระบวนการในอนาคต หรือเปนโครงสราง ที่ตองการสําหรับกระบวนในอนาคต
end product : The complete part ready for assembly or service or a configuration produced from a drawing specification. An end product may also be a part ready for further processing (for example, the product of foundry or forge) or configuration needing futher processing
67 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
3.หลักเกณฑการกําหนดขนาด 1.ขอมูลเกี่ยวกับขนาดทั้งหมด(ขนาด,พิกัดเผื่อ,สัญลักษณการเชื่อม,ความละเอียดผิว ฯลฯ)ที่จําเปนตอการกําหนดขนาด ชิ้นสวนหรือสวนประกอบใหสมบณูณจะตองแสดงโดยตรงลงไปบนแบบ ยกเวน ขอมูลที่ถูกระบุในเอกสารที่เกี่ยวของแลว 2.แตละ feature ตองใหขนาดที่เดียวเทานั้น 3.การใหขนาดตองวางบนภาพฉายหรือภาพตัดที่แสดงไดชัดเจนที่สุด 4.ในแตละแบบตองใชหนวยวัดเดียวกันทั้งแบบแตไมตองแสดงสํญลักษณหนวยวัด(เชน millimeters สํญลักษณหนวย วัดคือ mm)เมื่อมีหนวยอื่นถูกระบุในแบบ(เชน N ⋅m สําหรับทอรก หรือ kPa สําหรับความดัน) ใหแสดงสัญลักหนวยไว พรอมกับคานั้น 5.การกําหนดขนาดแกชิ้นสวน(Part)หรือผลิตภัณหสําเร็จ(end product)ตองไมมากเกินความจําเปน และการใหขนาด feature ของชิ้นสวนหรือผลิตภัณฑสําเร็จตองใหเพียงที่เดียว อยางไรก็ตามอาจมีขอยกเวนเมื่อ 5.1.จําเปนตองใหขนาดเพิ่มแกขั้นตอนระหวางกลาง (intermediate stages) ของกระบวนการผลิต(เชน ขนาดของ feature กอนทํา carburizing และ finishing) 5.2.เมื่อดีกวาถาเพิ่มขนาดชวย( Auxiliary dimension) 6.กระบวนการผลิตหรือวิธีตรวจสอบไมตองระบุลงไปในแบบเวนแตมีความจําเปน เพื่อการทํางานที่ดีและการแลก เปลี่ยนได(interchangeability) 7.การกําหนดขนาดที่เปน functional dimension ควรระบุโดยตรงลงไปในแบบทุกๆที่(ดูรูปที่ 3.) แตบางโอกาศมีความจํา เปนหรือเหมาะที่จะกําหนดขนาดที่เปน functional dimension โดยออม ถาเปนกรณีนี้ตองกระทําดวยความระมัดระวัง โดยเมื่อใหขนาดโดยออมแลวคา functional dimension ตองยังคงอยูเหมือนกับการใหโดยตรง รูปที่ 4. แสดงผลที่ยอมรับไดของการกําหนดขนาดที่เปน functional dimension โดยออม แตยังคงไดขนาด functional dimension ที่ตองการซึ่งแสดงไวในรูปที่ 3
8.non-functional dimension ควรระบุเพื่อความสะดวกตอการผลิตและการตรวจสอบผลิตภัณห 9.ตัวเลขบอกขนาดตองแสดงดวยจํานวนตัวเลขที่มีจํานวนนัยสําคัญนอยที่สุด เชน 35 ไมใช 35.0 10.ใหใชจุด '.' เปนเครื่องหมายแสดงคาตัวเลขที่เปนทศนิยม(decimal marker) ซึ่งตองแสดงใหชัดเจนโดยใชระยะแสดง เทากับระยะหางหนึ่งตัวอักษร และแสดงไวที่ตําแหนงลางสุดของตัวเลขบอกขนาด 11.คาที่นอยกวา 1 ตองแสดงใหชัดเจนโดยเขียนเลขศูนย '0' นําหนา เชน 0.25 ไมใช .25
68 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
12.ขนาดเชิงมุมในแบบทางวิศวกรรมตองระบุรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งของ 2 รูปแบบดังตอไปนี้ 12.1 ระบุโดยบอกคาเปน องศา, ลิปดา, ฟลิปดา 22° 22° 30' 22° 30' 30" 12.2 ระบุโดยบอกคาเปน องศาทศนิยมขององศา 22.5° 22.55° 0.25° ระยะหางระหวางสัญลักษณบอกองศากับคาตัวเลขบอกลิปดาและระหวางสัญลักษณบอกลิปดากับคาตัวเลขบอก ฟลิปดามีคาเทากับระยะหนึ่งตัวอักษร(full letter space) หมายเหตุ การวัดมุมแบบเรเดียน(radian)ที่ใชในการวัดมุมในระบบ IS ปกติจะไมใชในแบบทางวิศวกรรม 13.คามุมที่นอยกวาหนึ่งตองแสดงใหชัดเจนโดยเขียนเลขศูนยนําหนา '0' นําหนา เชน 0° 0' 30", 0° 15' 14.ตองหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดแบบ 2 หนวย แตเมื่อมีความจําเปนตองแสดง คาหนวยที่ถูกแปลงใหแสดงไวในวงเล็บ
69 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.การกําหนดขนาด (Dimensioning) 4.1 สวนประกอบของการกําหนดขนาด (Elements of dimesioning) สวนประกอบการบอกขนาดแสดงในรูปที่ 4 และ รูปที่ 5
รูปที่ 4
รูปที่ 5 หมายเหตุ 1.Extension line, Dimension text, Origin offset เปนคําศัพทที่ใชในโปรแกรม AutoCAD
70 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.2 เสนบอกขนาด,เสนชวยใหขนาดและเสนชี้(Projection lines,dimension lines and leader lines) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย 1.เสนบอกขนาด,เสนชวยบอกขนาดและเสนชี้ตองเขียน ดวยเสนเต็มบาง
มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)
2.เสนชวยบอกขนาดตองมีระยะออฟเซทกับเสนขอบรูป และมีสวนตอเลยจากเสนบอกขนาดเล็กนอย ดังแสดง ในรูปที่ 4 และ รูปที่ 5 3.เสนชวยบอกขนาดตองเขียนตั้งฉากกับ feature ที่ถูก กําหนดขนาด อยางไรก็ตามเมื่อมีความจํา เปนสามารถ เขียนเปนแนวเอียงไดแตเสนชวยบอกขนาดทั้งสองตอง เขียนขนานกัน -ในโปรแกรม AutoCADใชคําสั่ง oblique ใน mode dimension edit เพื่อกําหนดขนาดในแนวเอียง -ขนาดแนะนําคือ เขียนใหเสนบอกขนาดและเสนชวยบอก ขนาดทํามุมกัน 60 องศาดังรูป
4.เสนบอกขนาดที่ลากอางอิงจากจุดบนผิวหรือจุดตัดของ เสนราง(construction) ตองสัมผัสหรือลากเลยจุดตัดไป เล็กนอย ดังรูป
71 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.2 เสนบอกขนาด,เสนชวยใหขนาดและเสนชี้(Projection lines,dimension lines and leader lines) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 5.โดยทั่วไปเสนชวยใหขนาดและเสนใหขนาดตองไมตัดกับ ISO 129-1985(E) เสนอื่นเวนแตไมสามารถหลีกเลี่ยงได ดังรูป
6.เสนใหขนาดของ feature ที่เขียนแสดงดวยวิธีตัดยอ ตอง ไมถูกตัดขาด ดังรูป
7.ตองหลีกเลี่ยงการตัดกันของเสนใหขนาดและเสนชวยใหขนาด ถาไมสามารถหลีกเลี่ยงไดเสนทั้งสองที่ตัดกันตอง ไมถูกเขียนแบง(break)เปน 2 ชวง
8.เสนศูนยกลางและเสนขอบชิ้นงานตองไมถูกใชเปน เสนบอกขนาด แตอาจใชเปนเสนชวยบอก ขนาดได
72 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.3 เครื่องหมายปลายเสนและจุดเริ่มตนระบุ(Terminations and origin indication) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.ตามมาตรฐาน ISO เครื่องหมายขอบเขต 2 แบบ ISO 129-1985(E) และ จุดเริ่มตนระบุ ดังตอไปนี้จะถูกใชในการ กําหนดขนาด 1.1 หัวลูกศร (arrowhead) จะเขียนเปนแบบเปด หรือ แบบปดหรือแบบปดระบายทึบก็ได หัวลูกศรแบบเปด มุมของหัวลูกศรจะอยูระหวาง 15 ถึง 90 องศา
1.1 หัวลูกศร (Arrowhead) 1.2 ขีดเอียง(obliqe stroke) จะเขียนดวยเสนสั้นเอียง ที่มุม 45° 1.2 ขีดเอียง(Obliqe stroke) 1.3 จุดเริ่มตนระบุ(origin indication) จะเขียนเปน วงกลมเปดขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 3 mm. 1.3 จุดเริ่มตนระบุ(Origin indication) 2.ขนาดเครื่องหมายขอบเขต(Terminations) จะตองมี ขนาดเหมาะสมกับแบบแตตองไมใหญเกินความจําเปน ที่จะอานแบบ 3.เครื่องหมายขอบเขตชนิดหัวลูกศร (arrowhead termination)ตองเลือกใชเพียงรูปแบบเดียวเทานั้นในแบบ ในกรณีเนื้อที่ไมพอเขียนหัวลูกศรสามารถที่จะใช ขีดเอียง หรือใชจุดทดแทนได 4.เมื่อมีเนื้อที่เพียงพอ เครื่องหมายปลายเสนชนิดหัวลูกศร ตองถูกแสดงที่จุดปลายของเสนบอกขนาด เมื่อมีเนื้อที่ จํากัด หัวลูกศรอาจแสดงดานนอกชวงขอบเขตมุงหมาย (intended limits)ของเสนใหขนาด ซึ่งเสนใหขนาดจะถูก เขียนตอออกมาเพื่อชวยใหขนาดตามวิธีดังกลาว 5.เครื่องหมายปลายเสนชนิดหัวลูกศรขางเดียว ที่จุดปลาย ของเสนใหขนาดดานอยูบนสวนโคงจะใชเพื่อบอกขนาด รัศมี หัวลูกศรอาจวางไวดานในหรือดานนอกของขอบรูป (หรือเสนชวยใหขนาด)ขึ้นอยูกับขนาดของ feature
73 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย 1.ตัวเลขบอกขนาดตองวางขนานกับเสนบอกขนาดโดย วางอยางชัดเจนเหนือเสนบอกขนาดเล็กนอยและควร วางอยูบริเวณกึ่งกลางของเสนบอกขนาด
มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)
2.การเขียนตัวเลขบอกขนาดความยาวในทิศตางๆ ตัวเลข บอกขนาดตองอานไดจากดานลางหรือจากดานขวาของ แบบ คาที่อยูบนเสนบอกขนาดที่มีการเอียงลาดตองเขียน แนวการวางดังรูป
3.ควรหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดในบริเวณเสนตัดมุม 30 ° แตถาจําเปนตองบอกขนาด ตัวเลขบอกขนาดตองเขียน ตามหลักขอ 2. ซึ่งแสดงดังรูป สาเหตุ เพราะเปนบริเวณที่อานคาบอกขนาดจากดานลาง หรือดานขวาของแบบไมได
4.การกําหนดขนาดมุม ตัวเลขบอกขนาดมุมตองอานได จากดานลางหรือจากดานขวาของแบบการกําหนด ลักษณะทิศทางการวางตัวเลขบอกขนาดที่ตําแหนงตางๆ สามารถกําหนดได 2 แบบ ดังรูป
74 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 5.ควรหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดมุมบริเวณเสนตัดมุม 30° ISO 129-1985(E) เพราะเปนบริเวณที่อานคาบอกขนาดจากดานลางหรือ ดานขวาของแบบไมได
6.ตําแหนงของคาตัวเลขบอกขนาดเมื่อมีการกําหนดขนาด ถี่ๆ(Frequently) ตองมีการปรับตําแหนงใหเหมาะสม ตัวอยางเชน 6.1 เมื่อมีเสนบอกขนาดที่วางขนานอยูติดๆกันหลายๆ เสน ตัวเลขบอกขนาดอาจวางเหลื่อมกันเพื่อ หลีกเลี่ยงตัวเลขซอนทับกัน หรือเพื่อหลีกเลี่ยง ที่ตองมีการวางเสนบอกขนาดเรียงตอกันเปน แนวยาว(a void to having to follow a long dimension) ในบางกรณีอาจจะเขียนแสดงหัว ลูกศร(Terminations)ดานที่ใกลกับตัวเลขบอก ขนาดเพียงดานเดียวพรอมกับสวนของเสนบอก ขนาด 6.2 ระบุตัวเลขบอกขนาดเหนือเสนที่ลากตอออกมา จากเสนบอกขนาดดานใดดานหนึ่งของหัวลูกศร (Terminations)ถาพื้นที่มีจํากัดไมเพียงพอตอการ เขียนแสดงตัวเลขบอกขนาดตามปกติ 6.3 ระบุตัวเลขบอกขนาดที่เหนืออางอิงของเสนชี้ (Leader linne)ที่ลากมาจากเสนบอกขนาดที่ สั้นมากสําหรับตัวเลขบอกขนาดที่ถูกระบุตามปกติ
75 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 7.เพื่อหลีกเลี่ยงตัวเลขบอกขนาดตัดกับเสนอื่น อาจจะวาง BS 308:Part 2:1985 ตัวเลขบอกขนาดเยื่องไปใกลกับหัวลูกศรดานใดดานหนึ่ง
8.ขนาดชวย (Auxiliary dimensions) 8.1 เมื่อแสดงขนาดความยาวทั้งหมด(overall dimension)จะมีขนาด 1 ขนาดที่อยูระหวางขนาด ความยาวทั้งหมด(intermediate dimension) เปนขนาดเกินความจําเปนฉะนั้นจะไมแสดง เวนแต อาจจะแสดงไดเมื่อขนาดเกิน(redundant dimension)จะใหขอมูลที่เปนประโยชนหรือเพิ่ม ความสะดวกในการอานแบบซึ่งในกรณีนี้จะตอง ใหเปนขนาดชวย 8.2 เมื่อขนาดทุกคาที่อยูระหวางชวงความยาวทั้งหมด (intermediate dimension) จําเปนจะตองแสดง ขนาดความยาวทั้งหมด(overall dimension) สามารถที่จะแสดงได แตตองใหเปนขนาดชวย
ตัวอยางการใชงาน ขนาดชวย(auxiliary dimension)
76 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย 9.ขนาดไมถูกตองตามมาตราสวน (Dimension out-of-scale) ตัวเลขบอกขนาดที่ไมถูกตองมาตราสวนตองขีดเสน ใตดวยเสนเต็มหนา ยกเวนตัวเลขบอกขนาดงาน ภาพตัดยอ
มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)
10.การใชตัวอักษรและสัญลักษณ (Use of letters and symbols) 10.1 ตัวอักษรและสัญลักษณดังตอไปนี้ จะถูกใชกับ ตัวเลขบอกขนาดเพื่อชวยบอกรูปทรง feature ที่ถูกกําหนดขนาด : diameter (เสนผาศูนยกลาง)
R : Radius (รัศมี) : Square (สี่เหลี่ยมจตุรัส) : Spherical radius (รัศมีทรงกลม) : Spherical diameter (เสนผาศูนยกลางทรงกลม) 10.2 สัญลักษณเสนผาศูนยกลางและสี่เหลี่ยมจตุรัส อาจไมตองระบุในการกําหนดขนาด ถารูปทรงที่ แสดงในแบบชัดเจนอยูแลว 10.3 ตัวอักษรและสัญลักษณจะตองวางไวหนาตัวเลข บอกขนาด 10.4 ขนาดตัวอักษรและสัญลักษรณตองมีขนาด เทากับขนาดตัวเลขบอกขนาด ยกเวนสัญลักษณ สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีขนาดความสูง 0.7เทาของขนาด ความสูงตัวเลขบอกขนาด
77 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การจัดวางขนาดในแบบจะตองระบุใหชัดเจนตาม ISO 129-1985(E) จุดมุงหมายของการออกแบบ การกําหนดขนาดสามารถ ที่จะจัดวางเปนแบบขนานกันหรือวางตอเนื่องกันเปน ลูกโซหรือใชสองวิธีรวมกัน ในบางกรณีอาจจําเปนตอง กําหนดขนาดโดยวิธีระบุเปนคาโคออดิเนต(coordinates) 1.การกําหนดขนาดแบบลูกโซ (Chain dimensioning) การกําหนดขนาดที่ตอเนื่องกันเปนลูกโซน้ี ควรใชเมื่อ การสะสมที่เปนไปไดของคา tolerances ไมมีผลกระทบ ตอหนาที่การทํางานที่ตองการของชิ้นสวน
2.การกําหนดขนาดจาก feature รวม ( Dimensioning from a common feature) วิธีการกําหนดขนาดนี้จะถูกใชเมื่อมีการกําหนดขนาด หลายขนาดในทิศทางเดียวกันและใชจุดอางอิงเดียวกัน การกําหนดขนาดโดยใช feature รวมนี้อาจจะกําหนด ขนาดแบบขนานหรือกําหนดขนาดเปนแบบซอนทับ 2.1 การกําหนดขนาดแบบขนาน(Parallel dimensioning) การกําหนดขนาดแบบขนานเปนการจัดวางเสนบอกขนาดซึ่งขนานกันโดยเวนชองไวเพื่อใหใสตัวเลขบอกขนาดไดงาย
2.2 การใหขนาดแบบซอนทับ(Superimposed running dimensioning) เปนการกําหนดขนาดแบบขนานอยางงาย อาจจะใช เมื่อมีพ้นื ที่จํากัดและเมื่อไมมีปญหาเรื่องความชัดเจน เกิดขึ้น
78 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง จุดเริ่มตนระบุจะตองเขียนวางใหเหมาะสมที่ดานซึ่งตรง ISO 129-1985(E) กันขามกับปลายดานทีเปนหัวลูกศรของเสนบอกขนาด แตละเสน เพื่อไมใหเกิดความสับสนตัวเลขบอกขนาดจะวางโดย วิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 2.2.1 วางไวใกลกับหัวลูกศรในแนวของเสนชวยบอก ขนาด( Projection line)
2.2.2 วางไวใกลกับหัวลูกศรโดยวางอยูเหนือเสนบอกขนาดเล็กนอย
2.3 อาจจะนําวิธีการบอกขนาดแบบซอนทับไปใชในการ บอกขนาด 2 ทิศทาง ซึ่งในกรณีน้จี ุดอางอิงเริ่มตน (origin)อาจเขียนแสดงดังรูป
79 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 3. การกําหนดขนาดโดยใชระบบโคออดิเนต ( Dimension ISO 129-1985(E) by coordinates ) 3.1 การกํานดขนาดโดยระบุเปนคาโคออดิเนตอาจใช แทนการกําหนดขนาดที่แสดงในรูปบน โดยแสดง เปนตารางตัวเลขบอกขนาดดังรูปลาง
3.2 โคออดิเนตของการตัดกันของกริด ในรูปที่กําหนด ขนาดแบบโคออดิเนต จะระบุดังแสดงในรูป 3.3 โคออดิเนตสําหรับจุดอางอิงใดๆ ที่ไมมีกริดจะตอง วางไวใกลกับจุดนั้นหรือแสดงอยูในรูปของตาราง
80 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 4. การกําขนาดแบบรวม ( Combined dimension ) ISO 129-1985(E) ในการกําหนดขนาดใหกับแบบ ขนาดเดี่ยว(single dimensions),การกําหนดขนาดแบบลูกโซ(chain dimensioning),การกําหนดขนาดจาก feature รวม (dimensioning from a common feature) อาจใชรวม กันไดในแบบถามีความจําเปน
81 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.6 การระบุแบบพิเศษ (Spacial indications) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย 1.การกําหนดขนาดคอรด(Chord), สวนโคง(Arcs) และ มุม(Angles) ตองแสดงดังรูป
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)
2.เมื่อจุดศูนยกลางของสวนโคงตกออกนอกขอบเขตพื้นที่ เขียนแบบ เสนบอกขนาดของรัศมีจะเขียนเปนเสนขาด (broken) หรือเสนยอ(interrupted) ขึ้นอยูกับวามีความ จําเปนหรือไมที่จะตองระบุตําแหนงจุดศูนยกลาง
3.เมื่อขนาดของรัศมีสามารถหาไดจากขนาดอื่น การบอก ขนาดรัศมีจะระบุเพียงและสัญลักษณ R โดยไมตองระบุ คารัศมีลงไป
82 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.7 การกําหนดขนาดเทากันหลายชวง (Equidistant features) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง
การกําหนดขนาดเทากันหลายชวง(Equidistant features) ISO 129-1985(E) เมื่อมีขนาดเทากันหลายชวง หรือสวนเหมือนกัน หลายสวน การกําหนดขนาดอาจใชวิธีการกําหนดขนาด อยางงายดังนี้ 1.แบบระยะเชิงเสน(Linear spacings) การกําหนดขนาดอาจใชวิธีการอยางงายดังรูป ถาตองการแยกใหรูวาคาใดเปนระยะพิตชและคาใดเปน จํานวนพิตช ใหกําหนดขนาดของระยะพิตชไวชวงหนึ่ง ดังรูป 2.แบบระยะเชิงมุม(Angular spacings) การกําหนดขนาดอาจใชวิธีการอยางงายดังรูป
ระยะหางเชิงมุมอาจไมตองแสดงถาแบบแสดงระยะหาง ชัดเจนในตัวเองอยูแลว ดังแสดงในรูป
3.แบบระยะแนววงกลม(Circular spacings) การกําหนดขนาดอาจกําหนดโดยออมดวยการระบุ จํานวนองคประกอบ(elements)ลงไปในแบบดังรูป
83 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.8 การกําหนดขนาด feature ที่ซ้ําๆ วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง
การกําหนดขนาด feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) ISO 129-1985(E) การกําหนดขนาด features ที่ซ้ําๆ ใหระบุจํานวน และขนาดสวนประกอบ แสดงไวที่เดียวแทนการกําหนด ขนาดซ้ําๆ ดังรูป
การระบุจํานวนfeaturesที่ซ้ําๆกัน เชน รูทุกชนิด(รูเจาะ, รูเกลียว, รูหลอ ฯลฯ)ที่มีขนาดเทาๆกันหลายรู จะตอง ระบุตัวเลขแสดงจํานวน features ไวตําแหนงหนาสุดแลว คั่นดวยเครื่องหมาย " x " จากนั้นจึงตามดวยขอความ อื่นๆประจําตัว features ( เชนขนาดเสนผาศูนยกลางรู, ความลึก ฯลฯ) features ซ้ําที่เปนรูแตไมใชรูเกลียว อาจระบุหมายเลข แสดงจํานวนรูตามดวยคําวา "holes"แลวจึงตามดวย ขนาดเสนผาศูนยกลางของรู ดังรูป
84 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.9 การกําหนดขนาดเสนผาศูนยกลาง(Diameters) วิธีกําหนดขนาด
S.O.P.
DS73012
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.การกําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางเพื่อการแสดงขนาด BS 308 Part2:1985 ที่ชัดเจนจะตองระบุขนาดบนดานที่เหมาะสมที่สุด JIS B 0001-1985 ตัวอยางเชน ในการกําหนดขนาดใหกับแบบที่ feature เปนวงกลมที่มีแกนศูนยกลางรวมกันหลายๆวง การกําหนดขนาดบนภาพดานตามยาว( longitunal view) มีความเหมาะสมกวาการกําหนดขนาดในภาพดานที่มอง จากดานปลาย(end view)ของชิ้นงาน ดังรูป
2.เมื่อเสนบอกขนาดและเสนชวยบอกขนาดมีการตัดกับ เสนอื่นหรือมีพ้นื ที่ไมเพียงพอสําหรับการกําหนดขนาด อาจจะไมใชเสนบอกขนาดและกําหนดขนาดใหกับแบบ โดยใชเสนชี้แทนดังรูป
3. เมื่อแบบไมไดแสดงเปนภาพเต็มทั้งหมด วงกลมที่มีแกน ศูนยกลางรวมกันอาจกําหนดขนาดดังรูป
85 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.10 การกําหนดขนาดลบมุม(Chamfers and countersinks) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย การกําหนดขนาดลบมุม (Chamfer) 1.ลบมุมกําหนดขนาดได 2 แบบดังแสดงในรูป
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)
2.ลบมุม 45 องศาอนุโลมใหกําหนดขนาดอยางงายไดดัง แสดงในรูป
3.ลบมุมภายใน
4.ลบมุม 45 องศาภายใน
86 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.11 การกําหนดขนาดรู (Size of holes) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง
1.การกําหนดขนาดรูผายปาก (Countersink) ISO 129-1985(E) การกําหนดขนาด countersinks สามารถกําหนด ได 2 วิธีคือ ใหขนาดเสนผาศูนยกลางที่ผิวและมุม หรือ ใหขนาดความลึกและมุมดังแสดงในรูป
2.วิธีการกําหนดขนาดรูแสดงดังรูป BS 308 Part2:1985 2.1 กรรมวิธีการผลิต เชน drill(เจาะ), punch(ตอก), JIS B 0001-1985 cast(หลอ), ream(ควาน) ฯลฯ ไมตองกําหนด ยกเวนมี ความจําเปนตองาน ความลึกของรูเจาะเมื่อกําหนดขนาดอยูในรูปแบบของ คําสั่ง( instructions) จะหมายถึงความลึกของชอง ทรงกระบอกของรูแตไมไดหมายถึงจุดปลายแหลมของ รูเจาะ ยกเวนการระบุในกรณีอื่นๆ หมายเหตุ ตามสากลนิยมถาไมจําเปนตองละเวนการใชคําวา " hole "
2.2 ในกรณีเปนรูที่ทะลุไมตองแสดงความลึกของรู
87 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.11 การกําหนดขนาดรู (Size of holes) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
S.O.P.
DS73012
คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 2.3 ในกรณีเมื่อมีความจําเปนตองระบุแยกชนิดของรู JIS B 0001-1985 ตามกรรมวิธีการผลิตเชน drill hole(รูเจาะ), punching hole(รูตอก), cast hole(รูหลอ) ฯลฯ ให แสดงขนาดเสนผาศูนยกลางระบุ หรือ ขนาดอางอิง ของเครื่องมือตามดวยชนิดของกรรมวิธีการผลิต โดยกรรมวิธีการผลิตตามที่แสดงในตารางดังตอไปนี้ อาจที่จะระบุเปนชื่อกรรมวิธีการผลิตเปนแบบอยางงาย ในแบบได กรรมวิธีการผลิต Casting Punching Drilling Reaming Tapping
88 / 101
ชื่อระบุอยางงาย Cast Punch Drill Reamer Tap
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.การระบุชื่อเกลียว (Designation) ISO 6410-1993(E) 1.1เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO (ISO Metric threads) ในการระบุชื่อเกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO โดย ทั่วไปจะประกอบไปดวยสวนตางๆดังนี้ - ตัวอักษรยอบอกชนิดของเกลียว ( ตัวอยางเชน M, Tr, G, HA, ฯลฯ) - เสนผาศูนยกลางระบุ ( Norminal diameter ) หรือ ขนาดของเกลียว ( เชน 20; 1/2; 40; 45 ฯลฯ) - เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO กรณีที่เปน เกลียวธรรมดาไมตองแสดงระยะพิทช และ (ถาจําเปน) เชน M16 - ระยะหลีด (Lead, L), ในหนวยมิลลิเมตร - ระยะพิทช (Pitch, P), ในหนวยมิลลิเมตร - เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO กรณีที่เปน - ทิศทางของการหลีด (เปนเกลียวซายหรือเกลียวขวา) เกลียวละเอียดจะตองแสดงระยะพิทช เชน M20 x 2 นอกจากนั้นอาจกําหนดขอมูลเพิ่มเติม เชน - ระดับความคลาดเคลื่อน (tolerance class) เกลียว - เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO กรณีที่เปน ตามมาตรฐานระดับชาติ เกลียวหลายปาก - ระยะขบเกลียว (Thread engagement ) S = Short, L = Long, N = Normal - จํานวนปากของเกลียว ( the number of starts) ตัวอยางการระบุชื่อเกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO
a) M20 x 2 - 6G/6h - LH b) M20 x L3 - P1.5 - 6H - S c) Tr 40 x 7 d) G 1/2 A e) HA 4.5 หมายเหตุ หนังสือใชประกอบ ERIK OBERG, "Machinery's Handbook" th , 24 Edition,INDUSTRIAL PRESS INC.,1992.
89 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.2 เกลียวยูนิฟายด (Unified threads) ASME B1.1 1989 การระบุชื่อเกลียวยูนิฟายดแบบพื้นฐานจะประกอบไป ดวยสวนตางๆโดยแสดงเรียงตามลําดับดังนี้ ขนาดระบุ, จํานวนฟนเกลียวตอนิ้ว, อนุกรมของเกลียว, ระดับของเกลียวและระบบเกจสวมรองเกลียว 1.2.1 ขนาดระบุ(Nominal size) ขนาดระบุจะเปนขนาดของเสนผาศูนยกลางหลัก(major diameter)โดยจะระบุเปนคาเศษสวนเสนผาศูนยกลาง, หมายเลขสกรู, หรือคาทศนิยมเทียบเทา เมื่อใชคาทศนิยมเทียบเทาบอกขนาดจะตอง แสดงเปนทศนิยม 4 ตําแหนง(ยกเวนไมตองแสดงเลข 0 ในทศนิยมตําแหนงที่ 4 )และใชเปนทศนิยม 3 ตําแหนง ตัวอยางการระบุชื่อเกลียว UN เมื่อใชแทนหมายเลขสกรู โดยคาเหลานี้จะตอง
รูบแบบเกลียว(Thread series) UN/UNR อนุกรมเกลียวมาตรฐาน(Standard Thread Series) - เกลียวหยาบ (Coarse-Thread Series) UNC/UNRC - เกลียวละเอียด (Fine-Thread Series) UNF/UNRF - เกลียวละเอียดพิเศษ (Extra-Fine-Thread Series) UNEF/UNREF อนุกรมเกลียวพิเศษ(Special Thread Series) UNS/UNRS ระดับชั้นเกลียว(Thread Class) A : เกลียวนอก B : เกลียวใน Class 1 งานสวมเกลียวหลวมที่สุด Class 2 เกลียวนอกและเกลียวในจะสวมกันพอดี Class 3 เกลียวนอกและเกลียวในจะขันเขาฝด
ถูกแปลเปน nominal size เทานั้นและตองไมมีเครื่องหมายเกี่ยวกับขนาดอื่นๆ อยูเหนือขนาดที่แสดงเปน เศษสวนหรือหมายเลขสกรู 1.2.2 สัญลักษณอนุกรมเกลียว(thread series symbol) จะแสดงใหทราบถึง รูปแบบเกลียว,อนุกรมเกลียว (ตัวอักษรที่2)และสูตรคา tolerance(ตัวอักษรที่3) สัญลักษณอนุกรมเกลียวสําหรับเกลียว UN ที่ระบุ ในตารางเกลียว UN มาตรฐานจะอยูในรูป UNC, UNF, UNEF หรือ UN และเปน UNS สําหรับ เกลียวอื่นๆที่ขนาดเสนผาศูนยกลางและคาระยะพิทช อยูระหวางหรือใหญกวาคาเกลียว UN มาตรฐาน โดยมีคา Tolerance เปนตามสูตรคา Tolerance ของเกลียวยูนิฟายดมาตรฐาน สัญลักษณอนุกรมเกลียวสําหรับเกลียว UNRจะอยูใน รูป UNRC, UNRF, UNREF, หรือ UNR และเปน UNRS ในกรณีมีเงื่อนไขเปนเหมือนกับเกลียว UNS 1.2.3 สัญลักษณระดับชั้นเกลียว(Thread class symbol) คือ 1A, 1B, 2A, 2B, 3A,หรือ 3B,เมื่อตัวอักษร A และ B จะเปนตัวบอกวาปนเกลียวนอกหรือเกลียวในตามลําดับ 90 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.3 เกลียววิทเวอรท (Whitworth threads) BS 84 : 1956 การระบุชื่อเกลียววิทเวอรทแบบพื้นฐานจะประกอบไป ดวยสวนตางๆโดยแสดงเรียงตามลําดับดังนี้ เสนผาศูนยกลางหลัก(major diameter), จํานวนฟนเกลียวตอนิ้ว, อนุกรมของเกลียว และถาเปนเกลียวซาย ใหระบุสัญลักษณ LH ตอจากสัญลักษณอนุกรมเกลียว สัญลักษณอนุกรมเกลียว B.S.W. : British Standard Whitworth series B.S.F. : British Standard Fine series
91 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 2. การกําหนดขนาดเกลียว ISO 6410-1993(E) 2.1 เสนผาศูนยกลางระบุ(Nominal diameter, d) เสนผาศูนยกลางระบุจะหมายถึง เสนผาศูนยกลาง ของสันเกลียวของเกลียวนอก(external thread) หรือ หมายถึงเสนผาศูนยกลางของโคนเกลียวของเกลียวใน (internal thread) เสมอ ขนาดของความยาวเกลียวโดยปกติจะหมายถึง ความยาวของชวงเกลียวเต็ม(full depth thread) หรือ เกลียวสมบรูณ(complete thread) ยกเวนกรณีที่ ชวงเนินเกลียวเปนสวนที่มีความจําเปน เชน studs จะตองรวมชวงเนินเกลียวดวย
หมายเหตุ ชวงปลายของ bolts (ดู ISO 4753) จะรวมอยูในคา ความยาวของชวงเกลียวเต็มดวย (b) หรือ (l)
2.2 ความยาวของเกลียวและความลึกของรูเจาะไมทะลุ (Thread length and blind hole depth) โดยทั่วไปจําเปนที่จะตองระบุขนาดความยาวของ เกลียว แตความลึกของรูเจาะที่ไมทะลุปกติอาจจะไม แสดงก็ได
92 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ความตองการสําหรับการระบุขนาดความลึกรูเจาะ ISO 6410-1993(E) ไมทะลุ สวนใหญแลวจะขึ้นอยูกับสวนของตัวมันเอง และเครื่องมือที่ใชสําหรับทําเกลียว เมื่อขนาดความลึก ของรูเจาะไมถูกระบุ จะตองแสดงขนาดความลึก รูเจาะเปน1.25 เทาของระยะความยาวเกลียว การกําหนดขนาดใหกับรูเกลียวอาจแสดงเปนแบบ อยางยอไดดังรูป
2.3 การกําหนดทิศทางของการหลีด (Indication of direction of lead) โดยทั่วไปเกลียวขวาจะไมแสดงทิศทางของการหลีด สวนเกลียวซายจะตองแสดงโดยการเพิ่มตัวอักษรยอ LH ตอเพิ่มเขาไปในชื่อเกลียวที่ระบุ เกลียวซายและเกลียวขวาที่อยูบนชิ้นสวนเดียวกันตอง แสดงทิศทางของการหลีดในทุกกรณี เมื่อมีความจําเปนตองแสดงเกลียวขวาดวยการเพิ่ม ตัวอักษรยอ RH ตอเพิ่มเขาไปในชื่อเกลียวที่ระบุ
93 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.12 การกําหนดขนาดแบบอื่นๆ(Other indications) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง
1.เพื่อหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดซ้ําๆ หรือ หลีกเลี่ยงการ ISO 129-1985(E) ที่ตองมีเสนชี้ที่ยาว อาจใชตัวอักษรอางอิงชวยในการ กําหนดขนาดโดยแสดงพรอมกับเสนชี้หรือแสดง เฉพาะ ตัวอักษรอางอิงอยางเดียวแลวอธิบายขนาด ใหกับแบบโดยทําเปนตารางหรือ note
2.ภาพที่เขียนเปนเพียงบางสวนและภาพตัดเฉพาะสวน ของชิ้นสวนที่มีรูปทรงสมมาตร เสนบอกขนาดตางๆให เขียนยาวเลยเสนผาศูนยกลางไปเล็กนอยและให เวน การใชลูกศรอีกขางหนึ่ง
3.ในบางครั้งมีความจําเปนที่ตองกําหนดขนาดใหกับพื้นที่ ที่จํากัดหรือตามแนวยาวของผิวเพื่อระบุเงื่อนไขพิเศษ เชน ใหทํา carburizing hardening ในกรณีเชนนี้พื้นที่ หรือความยาวจะถูกระบุดวยเสนลูกโซหนา โดยเขียน เปนเสนขนานใกลๆกับพื้นผิวดวยระยะสั้นๆ ขอกําหนดพิเศษที่ระบุใหกับชิ้นงานที่หมุนไดตอง แสดงเพียงดานเดียวเทานั้น ตองกําหนดขนาดเพื่อแสดงตําแหนงและขอบเขตของ ขอกําหนดพิเศษใหชัดเจน แตถาแบบแสดงการระบุ ขอบเขตที่ชัดเจนอยูแลวการกําหนดขนาด ไมจําเปน ตองแสดง
94 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.12 การกําหนดขนาดแบบอื่นๆ(Other indications) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด
คําอธิบาย
4. ความหนาอาจจะกําหนดอยางงายได โดยระบุตัวเลข
S.O.P.
DS73012 มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)
คาความหนาแลวตามดวยตัวอักษร "THK" ดังรูป
95 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.คํายอและสัญลักษณมาตรฐาน สัญลักษณหรือคํายอ
คําอธิบายหรือคําเต็ม
AF
Across flats
ASSY
Assembly
CRS
Centres
CL
มาตรฐานอางอิง BS 8888:2000
Centre line - in a note Centre line - on a view
CG
Center of gravity
CHAM
Chamfer, chamfered (in a note)
CH HD
Cheese head
CSK
Countersunk
CSK HD
Countersunk head
CBORE
Counterbore
CYL
Cylinder or cylindrical Diameter - preceding a dimension
DIA
Diameter - in a note
DRG
Drawing
EQUI SP
Equally spaced
EXT
External
FIG.
Figure
HEX
Hexagon
HEX HD
Hexagon head
HYD
Hydraulic
INSUL
Insulated or insulation
INT
Internal
LH
Left hand
LG
Long
MATL
Material
MC
Machine
MAX
Maximum
MIN
Minimum
NO.
Number
PATT NO.
Pattern number
PCD
Pitch circle diameter
96 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
5.คํายอและสัญลักษณมาตรฐาน (ตอ) สัญลักษณหรือคํายอ
คําอธิบายหรือคําเต็ม
Q'TY
Quantity
R
Radius - preceding a note
RAD
Radius - in a note
REQD
Required
Rev.
Revised
RH
Right hand
RD HD
Round head
SCR
Screw or screwed
SH
Sheet
SK
Sketch
SPEC
Specification
S
Spherical diameter (only preceding a dimension)
SR
Spherical radius (only preceding a dimension)
SFACE
Spotface
SQ
มาตรฐานอางอิง BS 8888:2000
Square - in a note Square - preceding a dimension
STD
Standard (oriented to direction of taper)
Taper, on diameter or width
THD
Thread
THK
Thick
TOL
Tolerance
TYP
Typical or typically
UCUT
Undercut
VOL
Volume
WT
Weight
97 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
มาตรฐานการเขียนแบบดวย AutoCAD 1.มาตรฐานการใช Layers เพื่อใหแบบที่เขียนโดยใชโปรแกรม AutoCAD มีการใช Layer พื้นฐานที่เหมือนกันทั้งองคกร จะกําหนดใช Layer มาตรฐาน ของการเขียนแบบโดยใชโปรแกรม AutoCAD ดังตารางที่ 1 ตาราที่ 1 Layers มาตรฐานสําหรับการเขียนแบบ Lineweight No. Name Color Linetype การใชงาน 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 ใชเขียนกรอบพื้นที่เขียนแบบ 1 Border Red Continuous 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชเขียนเสนผาศูนยกลาง
2 Center line
30
3 Drawing
Magenta Continuous
4 Dim
Cyan
Continuous
5 Detail
Cyan
Continuous
6 Hatch
Yellow
Continuous
0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชเขียน feature ของแบบที่ ตองใชเสนเต็มบาง 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชสําหรับเขียนเสนลายตัด
7 Hidden
White
DASHED2
0.7
8 Text
Green
Continuous
9 Text thick
Blue
Continuous
10 Text thin
104
Continuous
11 Viewports
White
Continuous
12 Symbol
Green
Continuous
0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชสําหรับเขียนตัวอักษร ปรกติ 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 ใชสําหรับเขียนตัวอักษร ประเภทตัวหนา 0.35 0.25 0.18 0.13 0.09 ใชสําหรับเขียนตัวอักษร ประเภทตัวบางพิเศษ 0.7 0.5 0.35 0.25 0.18 ใชเขียนรูป Viewports ของ กรอบกระดาษเขียนแบบ 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชเขียนรูปสัญลักษณตางๆ เชน สัญลักษณงานกลึง
Center
98 / 101
1.0
0.7
0.5 0.35 0.25 ใชเขียน feature ของรูปของ แบบ ที่ตองใชเสนเต็มหนา 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชสําหรับกําหนดขนาด
0.5 0.35 0.25 0.18 ใชสําหรับเขียนเสนประ
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 2.มาตรฐานการตั้งชื่อ Dimension Styles วิธีกําหนดชื่อ
คําอธิบาย การตั้งชื่อ Dimension Styles เพื่อใหงายตอการทําความเขาใจและการแกไข Dimension Styles ของแบบที่เขียนโดยใชโปรแกรม AutoCAD การกําหนดชื่อของ Dimension Styles จะตอง ประกอบไปดวยสวนตางๆ เรียงตามลําดับดังนี้ 1.แนวของตัวเลขบอกขนาด (Text Alignment) - Hor (Horizontal) จัดวางตัวเลขบอกขนาดใหอยูใน แนวนอนเสมอ - Aligned (Aligned with dimension line) จัดวาง ตัวเลขบอกขนาดตามแนวของเสนบอกขนาด - ISO (ISO Standard) จัดวางตัวเลขบอกขนาดตาม แนวมาตรฐาน ISO 2.ความสูงตัวหนังสือ,ตัวเลขบอกขนาด (Text height)
S.O.P.
DS73012 หมายเหตุ
3.ขนาดหัวลูกศร (Arrow size) 4.ตัวคูณยอ/ขยายทุกมาตราสวน (Overall scale) 5.วิธีกําหนดคา Tolerance (Tolerance method) - Sym (Symmetrical) - Dev (Deviation) - Limits - Basic
99 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
3.มาตรฐาน Text Styles 3.1 Fonts ตัวอักษรภาษาอังกฤษมาตรฐาน เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในมาตรฐานตัวอักษรที่ใชในการเขียนแบบ จะกําหนดใหใช fonts isocp.shx เปน font มาตรฐาน ที่ใชในการเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ และ กําหนดใหใช fonts tis.shx หรือ thai.shx เปน font มาตรฐานที่ใชในการเขียนตัวอักษร ภาษาไทย รูปแบบตัวอักษร ของ font isocp.shx
รูปแบบตัวอักษร ของ font isocp.shx
100 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.
S.O.P.
DS73012
รูปแบบตัวอักษร ของ font isocp.shx
3.2 การกําหนดชื่อ Text Style ชื่อของ Text Style ใน Program AutoCAD ใหกําหนดตามชื่อของ Font ที่ใช ตัวอยางเชน ใช font isocp.shx ชื่อของ Text Style(Style Name) คือ isocp ใช font tis.shx ชื่อของ Text Style(Style Name) คือ tis
101 / 101
TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS