DG-10-Oct-4

Page 1

04

Beyond the Meeting “ยิ่งกว่าการประชุม” www.rotary3360.org


สโมสรโรตารีแม่สอด & เมืองฉอด

สนับสนุนสารผู้ว่าการภาคฯ ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓

October 2010 เดือนแห่วบริการด้านอาชีพ Vocational Service Month

Content สารบรรณ

2-3. สารผู้ว่าการภาคฯ 4. ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 5. สารเลขาฯภาค 6-7. สถิติการเข้าประชุม 8-9. DGE’s Corner 10. สนเทศโรตารี 11. คุยกันที่ขอบเวที

12-14. กิจกรรม Activities 17. สารประธานโรตารีสากล 18. พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส 19. บทบรรณาธิการ 20. ใจถึงใจ 21-22. เสียงนกเสียงกา 23-25. สกู๊ปพิเศษ

คณะอนุกรรมการจัดท�ำสารฯผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641

บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย) PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ)

PP.Prayoon Sirinaphaphan Mobile: 08-1783-5123 E-mail: payoon_siri@hotmail. com อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suvannee Sirinaphaphan Mobile: 08-1960-6737 E-mail:suwannee_siri@hotmail. com

กองบรรณาธิการ

ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail. com

26-27 บ้านเลขที่3360R.I. 28-30. รอบด้าน บ้านเรา 31-32 At a glance 33-34 มุมเยาวชน Youth Corner 35. Z00m inside 3360

อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb. net อน.ยศวัจน์ นิธิแัญญาวัฒน์ (เชียงใหม่ภูพิงค์) PP. Yosawat Nithipanyawat Mobile : 08-1961-9816 E-mail : nyosawat.gmail.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail. com

อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล (เชียงใหม่) Rtn.Sunti Laopanichkul Mobile: 08-1611-8779 E-mail : santi@rotary3360.org รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) Rtn.Jeeranan Jantanaket Mobile : 08-1671-3444 E-mail : je_ranan@hotmail.com


ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔

สารจากผู้ว่าการภาค ตุลาคม 2553 สวัสดีมิตรโรแทเรียนและโรตารีแอนน์ทุกๆท่าน ! ต้องขออภัยมิตรโรแทเรียนทุกๆท่าน ทีส่ ารผูว้ า่ การภาคออกล่าช้าไม่ทนั เหตุการณ์เดือนต่อ เดือนอย่างทีต่ งั้ ใจ กรรมการทีร่ บั ผิดชอบมีภารกิจมากมายประดังเข้ามาในเวลาเดียวกัน เราก�ำลังเร่ง มือ โดยเฉพาะคอลัมนิสต์ เราก�ำลังเข้าสู่ควอเตอร์ที่สองของปีโรตารี กิจกรรมและเรื่องราวน่ารู้น่า ติดตามมีมากมายทั้งระดับสโมสร ภาค และโรตารีสากล มิตรโรแทเรียนครับ! ผมขอให้เลขานุการสโมสรและนายก ช่วยให้ความส�ำคัญการส่ง รายงานครึ่งปีของโรตารีสากล (SAR) และจ่ายค่าบ�ำรุงให้ RI รวมทั้งค่าบ�ำรุงภาค ฝ่ายการเงินและ เลขานุการภาค ก�ำลังท�ำงานหนักเพื่อประสาน เราไม่อยากให้เกิดความผิดพลาด ยุบสโมสรโดยไม่ เข้าใจขบวนการ แต่ดีใจที่สโมสรด�ำเนินการไปแล้วกว่า 90% ส่วนสโมสรตั้งใหม่ทั้ง 4 สโมสร ให้เริ่ม ส่ง SAR ครึ่งปีหลัง เดือนมกราคม 2554 ตุลาคมเป็นเดือนแห่งการบริการวิชาชีพของโรตารี (Vocational service month) เราควร นึกถึงการส่งเสริมอาชีพให้ผู้ด้อยโอกาส ยกระดับความส�ำคัญและคุณธรรมทุกอาชีพเหมือน โรแท เรียน นอกจากนี้การเตรียมการหาผู้น�ำของโรตารีทั้งระดับสโมสรและภาค เป็นเรื่องส�ำคัญเพื่อให้ วงล้อโรตารี สามารถหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง สโมสรที่ได้เลือกนายกรับเลือกปี 2554-2555 เมื่อปี ที่ผ่านมาไว้แล้ว ให้แจ้งให้โรตารีสากลทราบ(ตามเอกสารจากโรตารีสากล) หรือแจ้งชื่อ-ที่อยู่-อีเมลโทรศัพท์ฯลฯ พร้อมชื่อเลขานุการสโมสร ไปที่เลขานุการภาคหรือ ผวภ โดยด่วน ในส่วนของโรตารี ภาค 3360 ผวภ ได้มีหนังสือให้สโมสรที่ประสงค์จะเสนอชื่อ ผวล ปี 2556-2557 ช่วยด�ำเนินการ ตามเอกสารที่ส่งไปให้นายกสโมสรเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2553 ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 3 มกราคม 2554 เพื่อคณะกรรมการสรรหาฯจะได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ให้ได้ผู้น�ำภาคที่ดี เสียสละ มีความรู้ เคย ท�ำหน้าที่ระดับภาคฯลฯ ตามนโยบายของโรตารีสากล การประชุมระหว่างเมืองที่อำ� เภอแม่สาย จัดโดยสโมสรโรตารีแม่สายปีนี้ในวันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน จะมีความเข้มข้นด้านมิตรภาพและสาระ รวมทั้งข่าวดีๆ เนื่องในเดือนแห่งมูลนิธิโรตารี ใครที่พลาดโอกาสร่วมท่องเที่ยวมัณฑะเลย์ สหภาพพม่า ด้วยเครื่องบินเหมาล�ำ ยังสามารถติดตาม ความมันในสารผูว้ า่ การภาคฉบับต่อไป ขอให้กำ� ลังใจกับทุกสโมสรในการบ�ำเพ็ญประโยชน์เพือ่ ชุมชน ความส�ำเร็จและปรัชญาบริการเหนือตนเอง จะช่วยเราฟันฝ่าวิกฤตทุกๆอย่างได้ในทีส่ ดุ โรแทเรียนที่ ไม่ทงิ้ โอกาสผูกมิตรกับโรแทเรียนต่างประเทศ สามารถไปร่วมประชุม Rotary Institute ระหว่างวัน ที่ 19-21 พฤศจิกายน ที่กรุงเทพฯ แลกเปลี่ยนประสบการณ์-ความส�ำเร็จระหว่างภาคและประเทศ ผมจะน�ำสิ่งดีๆ มาแจ้งให้ทราบในโอกาสต่อไป ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ภาค 3360 โรตารีสากล

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


Messages from District Governor October 2010 Rotary District 3360 Dear Fellow Rotarians and Rotary Anns, Apologies from committee to members for the belated newsletter which is contrary to our own intent, the delay is because of numerous tasks about must be achieved. We are speeding up especially the columnists. Entering to the second quarter of Rotary Year, there are lots of news, events and activities to be followed up at all levels from clubs, districts, and zones to Rotary International. Club presidents and secretaries are asked with emphasis to ensure the timely submit of semiannual report (SAR) complete with dues to District and RI. Club secretary and treasurers are jointly coordinating with full effort to get these done the soonest. We will do almost anything to not deal with clubs eliminating or merging just because we fail to comprehend the process. Still, it is very satisfied that more than 90% of clubs under District 3360 already completed the task. Only 4 new clubs are allowed to submit their second half SAR by January 2011. October is Vocational Service Month. Rotarians are encouraged to focus on this important avenue of Rotary service that leads to vocation-related activities and programs. Our contribution do not only develop the ethical consciousness and vocational skills of Rotarians but also giving occupational opportunities to disadvantaged and underprivileged who we should recognize their worthiness as those that are pursued by Rotarians. To keep the Rotary Wheel rotates on, the nomination for leaders both club and district levels is always important. For clubs that already chosen for Club President Elect 2011-2012, please inform RI (reference to RI manual) or email name, address, telephone, etc. including club secretary name to District secretary or governor at your earliest convenience. For District Governor Nominee 2013-2014 of District 3360, clubs are requested, as per my letter dated October 30th, to propose to Nominating Committee the qualified candidate who has served as president of club or district level within January 3rd in selecting a person with integrity, knowledge, willingness, commitment, and ability to fulfill DGN duties and responsibilities. Regarding the intercity meeting held in Mae Sai District on November 13th would emphasize a strong friendship and greater grasp of the essence of Rotary sharing good news on the Rotary Foundation Month. For those who missed the charter flight to Mandalay, Myanmar can keep up to date with the upcoming newsletter. Lastly, cheers to every clubs contributing to communities benefits. Rotary success and philosophy of service above self will lead us through difficulties. Rotarians will surely join the Rotary Institute meeting during November 19th to 21st in Bangkok to not miss the wonderful fellowship opportunity with foreign Rotarians. I will keep you informed of experiences and accomplishments exchanges in the upcoming newsletter. Yours in Rotary Service, DG. Dr. Virachai Chamroendararasame Rotary International District 3360


เรียน มวลมิตรโรแทเรียนที่รักทุกทาน สารฉบับนี้ผมมีขาวมาแจงใหทราบวา สโมสรใดที่ยังไมไดชําระคาบํารุง โรตารีสากลงวด 1 กรกฎาคม โปรดรีบดําเนินการโดยดวน เพราะหากทานคางชําระ เกิ นวั นที่ 31 ธันวาคม สโมสรของท านจะถูกขึ้นบั ญชี ยุบ เลิ ก (Terminated) จาก โรตารีสากล นอกจากการชําระคาบํารุง ทุกๆ สโมสรจะตองแจงขอมูลนายก-เลขาฯ รับ เลือกป 2554-55 ไปยังโรตารีสากล ซึ่งจะถูกนําไปพิมพในหนังสือทําเนียบทางการ ของโรตารีสากล (2011-12 Official Directory) ในปนี้โรตารีสากลไดเปลี่ยนวิธีการ แจงขอมูล จากการกรอกลงในแบบฟอรมเปนการแจงผานระบบ Member Access และใหถือปฏิบัติกันทุกสโมสรทั่วโลก หากสโมสรใดไมสะดวกที่จะดําเนินการผาน ระบบ Member Access สามารถใหศู นย ฯ ชว ยแจง ไปยัง โรตารีสากลได โดยส ง ชื่อสโมสร และวัน / เวลา / สถานที่ประชุม, รายละเอียดสําหรับติดตอของนายก และเลขานุการสโมสรป 2554-55 (ชื่อ-สกุล / หมายเลขสมาชิก / ที่อยู / โทรศัพท / โทรสาร / อี เ มล) มายั ง ศู น ย โ รตารี ฯ ที่ ห มายเลข 0 2661 6719 หรื อ อี เ มล rotaryth@ksc.th.com

ตัวเลขโรตารีไทย 3330 3340 3350 3360

80 สโมสร 58 สโมสร

2,101 คน 1,256 คน

90 สโมสร 63 สโมสร

2,361 คน 1,282 คน

ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ (ธ.ค. 53)

อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล เดือนธันวาคม 2553 30 บาท ตอ US$1

การประชุม 2010 Bangkok Rotary Institute ผานพนไปแลว เจาหนาที่ศูนยโรตารีฯ ก็ไดไปชวยปฏิบัติหนาที่ในการประชุม เชนเคย และขณะนี้ คณะกรรมการแปลเอกสารของศูนยโรตารีฯ กําลังแกไขปรับปรุงคูมือผูชวยผูวาการภาคและคูมือคณะกรรมการ ภาคฉบับภาษาไทยใหเปนปจจุบัน คาดวาคงจะเสร็จในไมชานี้ครับ สุดทายนี้ ขอใหทานและครอบครัวมีความสุขกับเทศกาลปใหมนี้นะครับ ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี อผภ.ชาญชัย วิศิษฏกุล ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ ป 2553-55 ÕÕÕÕÕ

เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายนที่ผานมา ที่ศูนยโรตารีฯ ไดมีการสัมมนา “ชุมชนสรางสรรค รวมกันหยุดโปลิโอ” โดยความรวมมือของ โรตารีในประเทศไทย, กระทรวงสาธารณสุข และกรุงเทพมหานคร มีผูเขารวมสัมมนาจากทั้ง 4 ภาค ในปนี้กระทรวงฯ ไดกําหนด ใหมีการหยอดวัคซีนปองกันโรคโปลิโอครั้งแรก วันที่ 15 ธันวาคม 2553 และครั้งที่สอง วันที่ 19 มกราคม 2554 ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82-83 ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2661 6720-1 โทรสาร 0 2661 6719 e-mail: rotaryth@ksc.th.com

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


อน.วีระพงษ์ โตแสงชัย สโมสรโรตารีเชียงใหม่ สวัสดีครับ มิตรโรแทเรียน ที่เคารพรักทุกท่าน ปีนจี้ ะเป็นปีแรกที่ RI เน้นให้สโมสรโรตารีทวั่ โลกตืน่ ตัว เรือ่ งการใช้ IT ให้เป็นประโยชน์ในการติดต่อสือ่ สารกับ RI ในเรือ่ ง ข้อมูลสมาชิกและข้อมูลสโมสร โดยเริ่มกระตุ้นให้เข้าใช้ www. rotary.org จึงเป็นเรื่องเก่าแต่ใหม่ส�ำหรับท่านนายกสโมสรและ เลขานุการสโมสรที่ยังไม่คุ้นเคยกับการใช้มาก่อน โดยตั้งแต่นี้เป็นต้นไป RI จะไม่ส่งจดหมายแบบฟอร์ม ให้กรอกข้อมูลรายละเอียด ของนายกสโมสรและเลขานุการปี 2554–2555 ดังเช่นอดีตอีกต่อไป แต่จะให้ทกุ สโมสรเข้าเวปไซด์ และ สมัครเข้าใช้ Member Access (ส�ำหรับผู้ที่ไม่เคยสมัคร ใช้มาก่อน) และให้กรอกรายละเอียดของนายก−เลขานุการรับ เลือก ในโปรแกรมแทน ซึ่งทุกท่านก่อนสมัครจ�ำเป็นต้องสมัคร ให้มี email address ส่วนตัวก่อนไม่ว่าค่ายใดค่ายหนึ่ง และเมื่อ ได้แล้วขัน้ ตอนต่อไปเมือ่ เข้า Member Access แล้วโปรแกรมจะ ตรวจเช็คชือ่ ว่าตรงกับฐานข้อมูล ของนายก−เลขานุการปีปจั จุบนั หรือไม่ แล้วจึงจะให้สทิ ธิในการกรอกข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นต่างๆได้ เช่น รายละเอียดของนายกสโมสร−เลขานุการ ปี 2554 – 2555 หาก สโมสรใดไม่ได้กรอกข้อมูลภายใน 31 ธ.ค 2553 ก็จะไม่มีข้อมูล ของนายก−เลขานุการรับเลือก ในท�ำเนียบทางการ (RI Official Directory ) ประจ�ำปี ที่จะแจกให้สโมสรทั่วโลก และจะขาดผล ประโยชน์การสื่อสารของสโมสรในโอกาสต่อไป ดังนั้น ภายในเดือนธันวาคม 2553 ทุกสโมสรจึงต้อง จัดให้มกี ารประชุมใหญ่สโมสรประจ�ำปี ตามธรรมนูญของโรตารี สากล ที่ต้องจัดเลือกตั้งเจ้าหน้าที่สโมสร คณะกรรมการบริหาร สโมสรล่วงหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งจัดให้มีการเลือกนายกรับ เลือกประจ�ำปี 2555 – 2556 และรายงานชื่อเจ้าหน้าที่สโมสร ภายใน 31 ธันวาคม ทุกปี

ส�ำหรับการส่งคะแนนประชุม ประจ�ำสัปดาห์เดือน

กันยายนที่ผ่านมา แต่ละสโมสรก็เริ่มคุ้นเคยและส่งได้เร็วขึ้น แต่ ก็มหี ลายสโมสรทีย่ งั ค่อนข้างล่าช้า ซึง่ หากช่วยกันส่งตามก�ำหนด เวลาทุกไม่เกินวันที่ 10 ของเดือนถัดไป การรายงานคะแนน ปัจจุบันล่าช้าไปถึงสองเดือน ก็จะสามารถรายงานได้รวดเร็วขึ้น ในเดือนกันยายน สโมสรทีม่ คี ะแนนประชุม 100% และน่าชมเชย คือ สโมสรโรตารีปวั และสโมสรโรตารีเวียงสา ส�ำหรับภาค 3360 สโมสรที่มีคะแนนประชุมเกิน 80% มีทั้งหมด 15 สโมสร เกิน 60% มีอยู่ 46 สโมสร และมี 4 สโมสรที่คะแนนต�่ำกว่า 50% ใน ขณะที่คะแนนเฉลี่ยทั้งภาค 60 สโมสร คือ 70.75% ลดลงจาก เดือนกรกฏาคมและสิงหาคม ซึ่งเท่ากับ 75.76% และ 74.53% ตามล�ำดับ จึงเป็นแนวโน้มทีล่ ดลง แสดงว่าบริการสโมสรจะต้อง ท�ำงานหนักขึ้นในการกระตุ้นให้สมาชิกเข้าประชุม พร้อมทั้ง จัดการประชุมให้มีบรรยากาศ มีสาระ และสร้างมิตรภาพการ ประชุมที่ดี ส่วนการส่งเงินค่าบ�ำรุง RI (SAR) ครึง่ ปีแรก มีสโมสรที่ ยังค้างส่งอยู่ 5 สโมสร หากเกิน 31 ธันวาคม 2553 สโมสรนั้นๆ จะถูก Terminate ทันที จึงขอให้รบี ด�ำเนินการโดยด่วน นอกจาก นี้ ค่าบ�ำรุง RI ครึ่งปีหลังก็ใกล้เริ่มต้นแล้วที่ทุกสโมสรจะได้น�ำส่ง อีกครั้งตั้งแต่ 1−31 มกราคม 2554 โดยเสียค่าบ�ำรุง RI คนละ 25 USD. ในส่วนของค่าบ�ำรุงภาคนั้น ซึ่งเกินก�ำหนดช�ำระมา นานแล้วเช่นกัน ปัจจุบันยังขาดอีก 20 สโมสรที่ค้างช�ำระ จึงใคร่ ขอ กระตุน้ ให้ทา่ นเลขาฯได้กรุณารีบด�ำเนินการเพือ่ ทีภ่ าคจะได้ น�ำเงินมาใช้บริหารกิจกรรมภาคต่อไป อย่างไรก็ดขี อขอบคุณทุก สโมสรที่ให้ความร่วมมือด้วยดีตลอดมา อน.วีรพงศ์ โตแสงชัย เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553−2554


รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน กันยายน ของ สโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน กันยายน ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 1

83309

Chalawan Phichit

ชาลวัน พิจิตร

20

75

2

23201

Changpuak Chiang Mai

ช้างเผือกเชียงใหม่

26

66.35

3

16262

Chiang Mai

เชียงใหม่

63

55.89

4

16263

Chiang Mai North

เชียงใหม่เหนือ

28

81.25

5

16265

Chiang Rai

เชียงราย

27

98.52

3

6

52387

Chiang Rai North

เชียงรายเหนือ

23

78.09

10

7

16261

Chiangkam

เชียงค�ำ

26

70

9

8

53170

Chiang-Mai Airport

เชียงใหม่แอร์พอร์ท

15

41.67

14

9

60808

Chiangmai Doi Suthep

เชียงใหม่ดอยสุเทพ

4

75.00

10

26048

Chiangmai East

เชียงใหม่ตะวันออก

11

51.11

11

50481

Chiangmai Phuping

เชียงใหม่ภูพิงค์

17

56.53

12

83408

Chiangmai San Sai

เชียงใหม่สันทราย

27

84.26

13

13

51245

Chiangmai South

เชียงใหม่ใต้

12

62.5

4

14

29283

Chiangmai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 29

86.21

3

15

16264

Chiangmai West

เชียงใหม่ตะวันตก

28

48.22

14

16

28751

Chiangsaen

เชียงแสน

15

93.33

1

17

25135

Chomtong

จอมทอง

11

61

18

57289

Doiprabaht

ดอยพระบาท

29

66.38

19

21495

Fang

ฝาง

19

75

20

16274

Kamphaengphet

ก�ำแพงเพชร

18

90.28

21

30057

Kawila Chiang Mai

กาวิละ เชียงใหม่

16

72

22

83351

Khek River, Wangthong

ลุ่มน�้ำเข็ก

27

53.05

23

24886

Lab Lae

ลับแล

10

70

24

16277

Lampang

ล�ำปาง

28

65

25

16278

Lamphoon

ล�ำพูน

11

65

26

50294

Lanna, Chiang Mai

ล้านนาเชียงใหม่

24

76.14

27

52390

Mae Fha Louang

แม่ฟ้าหลวง

10

33.33

28

16281

Mae Hong Sorn

แม่ฮ่องสอน

10

75

29

16283

Mae Sariang

แม่สะเรียง

12

83.33

30

16280

Maechan

แม่จัน

31

60.5

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓

11 14 3

10 9 4

1 13

6

13

2

7

12


รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน กันยายน ของสโมสรโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 31

16282

Maesai

แม่สาย

28

90.71

6

5

32

24956

Maesod-Muang Chod

แม่สอด เมืองฉอด

35

71.33

4

33

29389

Maewang

แม่วัง

19

68.41

2

34

65185

Muang Thoen

เมืองเถิน

21

64.76

35

65762

Nakorn Hariphunchai

นครหริภุญชัย

10

60

36

57910

Nakorn Nan

นครน่าน

10

62

37

64215

Nakorn Thoeng

นครเทิง

19

55.79

38

23050

Nan

น่าน

41

69.51

39

27553

Naresuan

นเรศวร

28

50

40

16291

Payao

พะเยา

11

61.82

12

41

16292

Phan

พาน

25

54

1

42

24741

Phichai

พิชัย

14

72.85

14

43

23541

Phrae

แพร่

21

83.81

5

11

44

16297

Pitsanulok

พิษณุโลก

59

83.05

9

13

45

22008

Pua

ปัว

24

100

5

1

46

27741

Sanpatong

สันป่าตอง

14

80.36

9

15

47

30612

Sarapee, Chiang Mai

สารภีเชียงใหม่

12

78.33

48

16307

Sawankaloke

สวรรคโลก

22

56.82

6

49

25680

Sawankaloke North

สวรรคโลกเหนือ

25

79.2

9

50

25165

Sila-Asana

ศิลาอาสน์

30

90

51

22010

Song

สอง

14

89.29

3

52

52394

Sri Song Kwai

ศรีสองแคว

20

77.01

1

53

24965

Sukhothai

สุโขทัย

24

69.79

54

16312

Tak

ตาก

10

60

13

55

50326

Thawangpha

ท่าวังผา

11

70.45

8

56

70997

Thoen Downtown

เถินดาวน์ทาวน์

13

44.23

9

57

16317

Uttaradit

อุตรดิตถ์

27

99.26

15

58

74261

Vientiane

เวียงจันทน์ (สปป.ลาว) 10

na

59

50650

Wangchan

วังจันทน์

27

56.35

2

60

51392

Wiangkosai

เวียงโกศัย

21

75.83

6

61

31711

Wiengsa

เวียงสา

12

100

2

8 6

7 8

2

1


การเรียกขานชื่อ กับ ตำ�แหน่งในโรตารี ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

สิง่ ทีผ่ มจะเขียนต่อไปนีน้ นั้ เป็นความเห็นส่วนตัวผม ซึง่ คงไม่ใช่ขอ้ สรุปร้อยเปอร์เซ็นต์ ด้วย เหตุที่ว่าผู้อาวุโสบางท่านก็เห็นด้วยกับความคิดผมบางท่านก็ไม่เห็นด้วย ซึ่งก็อยากจะฝากท่านผู้ อ่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องโรตารี(ไทย) กรุณาวิพากษ์ความเห็นของที่ผม จะเปิดประเด็นต่อไปนี้ครับ มีผู้สงสัยสอบถามผมในหลาย ๆ ครั้งว่าเวลาผมไปลงทะเบียนเข้าประชุมต่างสโมสร หรือ เวลาเขียนบทความเกี่ยวกับโรตารีเหตุใดจึงไม่ใช้ค�ำว่า อน. หรือ ผชภ. และบางทีก็ใช้นายน�ำหน้า ชื่อของตนเอง ต้องการแกล้งหยอกใครเล่นหรือเปล่า ซึ่งผมก็ได้ตอบค�ำถามไปบ้างแล้วในหลาย ๆ ครั้ง แต่ไม่ได้มีโอกาสอธิบายออกไปในวงกว้างเพราะเกรงว่าอาจจะท�ำให้เกิดการเข้าใจผิดว่า ผมมี เจตนาล้อเลียนผูท้ นี่ ยิ มเรียกขานตัวเองว่า อน.บ้าง อผภ.บ้าง ฯลฯ ซึง่ ในความเป็นจริงมิได้มเี จตนา เช่นนั้นแต่อย่างใด ในธรรมเนียมของฝรั่งนั้น นิยมเรียกนามสกุลอย่างเป็นทางการแทนตัวผู้ถูกเรียก หากไม่ สนิทสนมกันมากพอแล้วจะไม่นิยมเรียกชื่อแรกของกันและกัน ในปฐมกาลของการก่อตั้งโรตารี ต้องการท�ำลายก�ำแพงขวางกั้นที่เป็นทางการเหล่านี้ จึงมีการเรียกขานกันและกันด้วยชื่อแรกของ โรแทเรียนเหล่านั้นแทนชื่อสกุล เช่น รทร.จอห์น อน.ไมเคิล ฯลฯ โดยไม่มี ดร.,พล.อ., มจ., มรว., HRH ฯลฯ มาปะปน เพราะทุกคนเมื่อมาอยู่ในโรตารีแล้วมีศักดิ์และสิทธิเสมอกัน ผมอยากจะท�ำความเข้าใจกับค�ำน�ำหน้าชื่อ (Title) และต�ำแหน่ง (Position) นั้นมีความ แตกต่างกัน การเรียกต�ำแหน่งน�ำหน้าชื่อในโรตารีจะเรียกในการใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ และที่ ๓ ส่วนสรรพนามบุรษุ ที่ ๑ (ตัวเราเอง ) นัน้ ไม่นยิ มใช้ หากจะใช้กจ็ ะใช้แต่เพียง รทร.เพราะเป็นการ แสดงถึงสถานะของการเป็นโรแทเรียนของผู้นั้น ฉะนั้น การที่จะเรียกว่า อน. ช�ำนาญ., ผชภ.ช�ำนาญ หรือ อผภ.ช�ำนาญ นั้น ควรจะให้ผู้ อื่นเป็นผู้เรียกขานเรา มิใช่เราเรียกขานตัวเราเอง ซึ่งอยากจะยกตัวอย่างให้เห็นชัดเจนโดยเปรียบ เทียบกับวงการราชการ เช่น เราเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดหรือรัฐมนตรีแล้วเวลาเราแนะน�ำตัวเองโดย เราเรียกตัวเองว่า “ผมผู้ว่าราชการจังหวัดช�ำนาญ” หรือ “ผมรัฐมนตรีช�ำนาญครับ” ซึ่งถามว่าผิด ไหมก็คงไม่ผดิ อะไรแต่มนั ก็แปลก ๆ ดี ทีแ่ นะน�ำตัวเองโดยยกย่องตัวเองเสียก่อนให้ผอู้ นื่ ยกย่อง ซึง่ ก็ทำ� ให้มวลมิตรโรแทเรียนชาวต่างประเทศท�ำหน้าพิลกึ ๆ เมือ่ เราเรียกขานตัวเราเองด้วยค�ำน�ำหน้า ชื่อด้วยต�ำแหน่งเหล่านั้น ดีไม่ดีอาจท�ำให้เขาเข้าใจผิดว่าเราเป็นคนบ้ายศบ้าต�ำแหน่งไปเสีย ผมจึง ขอน�ำตัวอย่างที่เราปฏิบัติกันมาแต่เดี๋ยวนี้กลับละเลยไปเสีย ดังนี้ครับ 1) จดหมายถึงผู้ว่าการภาค แจม ตันศรี อับดุล เจมิล ผู้ว่าการภาค ๓๓๐ โรตารีสากล กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย ลงวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๑๘ เกี่ยวกับการเสนอชื่ออดีตนายก น.พ..เลิศ ศรีจันทร์ เป็น ผู้ถูกเสนอชื่อเป็นผู้ว่าการภาคของสโมสรโรตารีธนบุรี โดยลงชื่อท้ายจดหมาย ดังนี้ (ลงชื่อ) ลิ่วละล่อง บุนนาค (โรแทเรียน ลิ่วละล่อง บุนนาค) นายกสโมสร

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


2) บันทึกท้ายรายการรับรองเอกสารประกอบ (ลงชื่อ) บุญ อินทรัมพรรย์ (โรแทเรียนบุญ อินทรัมพรรย์) เลขานุการกิตติมศักดิ์สโมสรโรตารีธนบุรี

3) บันทึกยืนยันการสมัคร (ลงชื่อ) เลิศ ศรีจันทร์ (โรแทเรียนเลิศ ศรีจันทร์) อดีตนายกสโมสรโรตารีธนบุรี

4) ข้อความในสารของผู้ว่าการภาคในสูจิบัตรการประชุม District Assembly ที่สโมสร โรตารีภูเก็ตเป็นเจ้าภาพเมื่อ่ ๖ – ๘ ก.ค.๒๕๒๒ ก็ใช้ว่า “รทร.นายแพทย์เลิศ ศรีจันทร์ ผู้ว่าการภาค ๓๓๐ โรตารีสากล”

ที่เห็นชัดขึ้นอีกก็คือเวลาเอกสารต่าง ๆ ของโรตารีที่มาจากต่างประเทศ เช่น สารจาก ประธาน โรตารีสากล ฯลฯ เขาจะไม่มีการเอาค�ำว่า PRI, PDG, PP ฯลฯ ไปน�ำหน้าชื่อ เขาจะระบุ แต่ชื่อ แล้วบรรทัดล่างใต้ชื่อถึงจะใส่ตำ� แหน่งที่ตนด�ำรงอยู่ หรือแม้แต่สารของท่านอดีตประธาน โรตารีสากลพิชัย รัตตกุล ท่านก็ไม่ได้มีข้อความใดมาเพิ่มเติมหน้าชื่อของท่าน เช่นกันและในบาง ครัง้ ผมก็เห็นท่านนรเศรษฐ์ ใช้นายเป็นค�ำน�ำหน้าชือ่ ในสารแสดงความยินดีหรือหนังสือเชิญประชุม กรรมการจัดประชุมใหญ่โรตารีสากลฯ ที่ผมเป็นกรรมการอยู่ด้วย โดยสรุปก็คือหากเราจะเรียกชื่อตนเอง ผมคิดว่าเราควรเรียกชื่อเฉยๆ หรือเรียกว่า รทร. นั้น รทร.นี้ ส่วนการจะเรียก อน., ผชภ., อผภ. ฯลฯ น�ำหน้าชื่อเรานั้น ควรให้ผู้อื่นเป็นผู้เรียกเรา ไม่ใช่เราเรียกตัวเอง อีกอย่างหนึ่งค�ำว่าต�ำแหน่งอดีตทั้งหลายนั้น ผมสังเกตว่าในวงการโรตารีเราจะใช้ส�ำหรับ ต�ำแหน่งที่มาจากการเลือกตั้งเท่านั้น เช่น อน., อผภ., PRID ฯลฯ ส่วนต�ำแหน่งอื่นที่มิได้มาจากการ เลือกตั้งจะไม่มีการเรียกว่าอดีต เช่น เราจะไม่มีการเรียกอดีตผู้ช่วยผู้ว่าการภาค (แต่ผมก็เห็นที่ภาค 3340 ใช้ อชภ.หรือ อผช.อยู่ ซึ่งก็ไม่ได้หมายความว่าผมจะว่าผิดนะครับ เป็นแต่เพียงความส่วนตัว น่ะครับ) เป็นต้น ก่อนจบมีฝากอีกเล็กน้อยส�ำหรับต�ำแหน่ง นยล. และ ผวล. นั้น ต�ำแหน่ง นยล. นั้นไม่มี ต�ำแหน่ง นายกรอเลือก นะครับ มีแต่ต�ำแหน่ง นายกรับเลือก แล้วต่อท้ายด้วยปีที่จะด�ำรงต�ำแหน่ง เช่น นยล. ปี ๒๕๕๔ – ๕๕ เป็นต้น ส่วนต�ำแหน่ง ผวล. นัน้ มีแตกต่างบ้างเล็กน้อย คือ ผูใ้ ดทีถ่ กู เสนอ ชื่อไปยัง RI แล้ว แต่ยังรอการรับรองผลจาก RI อยู่เราจะเรียกว่าผู้ว่าการภาคโนมีนี (nominee) ซึ่ง ต�ำแหน่งนี้เคยมีการแปลไว้ว่า ผู้ว่าการภาครับการเสนอชื่อ แต่ไม่นิยมเรียกกัน และเมื่อได้รับการ รับรองจาก RI แล้ว ก็เรียกว่า ผู้ว่าการภาครับเลือกปีนั้นปีนี้ต่อท้าย เช่นเดียวกับนายกรับเลือกที่ ผมยกตัวอย่างข้างต้น แต่ล่าสุดรู้สึกว่าคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ ได้มีการถกกันว่าน่าจะใช้คำ� ว่า ผู้ว่าการภาคปี............ไปเลย ซึ่งก็น่าจะดีนะครับจะได้เหมือนๆกัน จ�ำง่ายๆว่าไม่มคี ำ� ว่า นายกฯรอเลือกหรือ ผูว้ า่ ฯ รอเลือก นะครับ เพราะเลือกไปเรียบร้อย (โรงเรียนโรตารี)แล้ว ครับ./


อน.พ.ต.ท.สมบูรณ์ บูรณพิร มิ ต รโรแทเรี ย นที่ เ คารพทุ ก ท่ า น ในบาง ครั้งที่เราอ่าน ธรรมนูญหรือข้อบังคับ ของโรตารี เรา มักจะเจอ ตัวอักษรและตัวเลข หลายๆ ตัวต่อท้าย ข้อความ บางท่านอาจจะสงสัยว่ามันคืออะไร โดย เฉพาะ ท่านที่เข้ามาสู่วงการโรตารีใหม่ๆ ในโอกาสนี้ จึงใคร่จะน�ำเรียน ที่มาของตัวอักษรและตัวเลขท้าย วรรคหรือประโยคต่างๆ เพื่อแสดงที่มาของนโยบาย หรือระเบียบปฏิบัติ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ อ้างจากประมวลนโยบายโรตารี “ปนร.” ( ตัวย่อประมวลนโยบายโรตารี ) ตามด้วยตัวเลข สี่ถึงเจ็ดหลัก ที่แบ่งด้วยจุดทศนิยม เลขจ�ำนวนแรก( หนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งหลัก ) อ้างถึง มาตราของประมวลนโยบายซึ่งเป็นที่มาที่อ้างอิงถึง เลขสามตัวถัดจากจุดทศนิยมจุดแรกแสดงถึงหมวด ของมาตรานั้น จ�ำนวนหลังจากจุดทศนิยมจุดที่สอง ( ถ้ามี ) แสดงถึงหมวดย่อย ตัวอย่าง ( ปนร 42.080.1. ) แสดงว่าข้อความนั้นมาจากหรือเกี่ยวกับมาตรา 42 หมวด 8 หมวดย่อย 1 ของประมวลนโยบาย อ้ า งถึ ง ธรรมนู ญ โรตารี ส ากล และ ธรรมนู ญ มาตรฐานสโมสรโรตารี “ธรส.” ( ตัวย่อธรรมนูญโรตารีสากล ) และ “ธมสร” ( ตัวย่อธรรมนูญมาตรฐานสโมสรโรตารี ) ตามด้วยตัวเลขหน้า หมายถึง มาตรา ของธรรมนูญ โรตารีสากลหรือธรรมนูญมาตรฐานสโมสรโรตารีที่ อ้างถึง ตัวเลขหลัง หมายถึง หมวด ในมาตรานั้นเช่น ( ธรส.9, 5 )แสดงว่าข้อความนั้นมาจากหรือเกี่ยวกับ มาตรา 9 หมวด 5 ของธรรมนูญโรตารีสากล ( ธมสร 7, 2 )แสดงว่าข้อความนั้นมาจากหรือเกี่ยวข้องกับ ธรรมนูญมาตรฐานสโมสรโรตารี มาตรา 7 หมวด 2

หลัก ) อ้างถึงมาตราของข้อบังคับที่อ้างอิงถึง ( เลข สามตัวถัดจากจุดทศนิยมจุดแรกแสดงถึงหมวดของ มาตรานั้น จ�ำนวนหลังจากจุดทศนิยมจุดที่สอง ( ถ้า มี ) แสดงถึงหมวดย่อย ตัวอย่าง ( ขบรส.11.030.7. )แสดงว่าข้อความนั้นมาจากหรือเกี่ยวกับมาตรา 11 หมวด 3 หมวดย่อย 7 ของข้อบังคับโรตารีสากล มติจากการประชุมใหญ่หรือ สภานิติบัญญัติโรตารี ใช้ ตั ว เลขสองจ� ำ นวนคั่ น ด้ ว ย ยั ต ติ ภั ง ค์ ( − ) จ�ำนวนแรกหมายถึง ปีการประชุมใหญ่หรือ การประชุมสภานิติบัญญัติที่ได้มีมตินั้น จ�ำนวนที่สอง เป็นเลขล�ำดับที่ของมติ เช่น ( 80 – 102 )หมายความ ว่า ข้อความนั้นอ้างถึงมติที่ 102 ของการประชุมสภา นิติบัญญัติปี 1980 ซึ่งมักเรียกว่า “มติ 80 – 102” โปรดสั ง เกตว่ า การประชุ ม ใหญ่ โรตารี ส ากลจะไม่ พิจารณากฎระเบียบของ โรตารี สากลอีกต่อไป ทั้งนี้ ตามมติของสภาปี 1998 อย่างไรก็ดี ในคู่มือนี้ยังอาจ มีการอ้างถึงมติของการประชุมใหญ่โรตารีสากล ทีเ่ คย มีไว้ก่อนหน้านี้ มติของคณะกรรมการมูลนิธิโรตารี ใช้ค�ำว่า “กมธ” ตามด้วยจ�ำนวนที่มีเลข สองหลัก หนึ่งหรือสองจ�ำนวน เช่น ( กมธ 97.00 )ซึ่ง แสดงว่าข้อความนั่นมาจากหรือเกี่ยวกับมติของคณะ กรรมการมูลนิธิโรตารีในปีโรตารี 1997 – 98 และปี 2000−01

อ้างถึงที่มาจากหลาย ๆ แห่ง ใช้รหัสอ้างอิงต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น คั่นด้วย อัฑฒภาค ( ; )เช่น ( ธรส 9, 5 ; ขบรส 2. 010; ปนร 26.010 ) ซึง่ แสดงว่าข้อความนัน้ มาจากหรือเกีย่ วข้อง กับธรรมนูญโรตารีสากล มาตรา 9 หมวด 5 ข้อบังคับ อ้างถึงข้อบังคับโรตารีสากล โรตารีสากลมาตรา 2 หมวด 1 และประมวลนโยบาย “ขบรส” ( ตัวย่อข้อบังคับธรรมนูญโรตา โรตารีมาตรา 26 หมวด 1 รีสากล ) ตามด้วยตัวเลข สี่ถึงเจ็ดหลัก ที่แบ่งด้วย จุดทศนิยม เลขจ�ำนวนแรก ( หนึ่งหรือมากกว่าหนึ่ง

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

“ตุลาคม”

คาเรนยั ง ตื่ น เต้ น กั บ วิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมใหม่ ทีแ่ ตกต่างจากบ้านเกิดในประเทศ แคนาดา เนื่องจากเดือนนี้เป็นเดือนแห่งบริการ อาชีวะของโรตารี เธอจึงเฝ้าพินิจถึงการประกอบ อาชีพ ที่เป็นไปในอ�ำเภอเด่นชัย การหาบของ ขายที่แคนาดาไม่มีแล้ว การขายของด้วยรถเข็น ที่ดูสกปรก ท�ำให้เธอไม่กล้าซื้อของข้างถนน รับ ประทาน การค้าขายทีน่ ี่ พ่อค้าแม่คา้ เป็นผูต้ งั้ ราคา ผูซ้ อื้ ก็ตอ่ รองได้ บางครัง้ ท�ำให้เธอประหลาดใจ กับ ราคาที่แตกต่างกันลิบลับ ระหว่างราคาบอกกับ ราคาซื้อ ขณะที่คิดอะไรต่ออะไรอยู่ เธอก็นึกขึ้น ได้ คืนนี้เธอต้องไปปรากฏตัวที่สโมสรฯ ซึ่งเป็น สโมสรฯ ที่ดูแลเธอตลอดเวลาที่อยู่ในเมืองไทย เธอต้องไปให้ “คุณพ่อ” รู้จักและได้เห็นหน้าเธอ เมื่ อ ไปถึ ง สโมสรฯ สมาชิ ก พากั น มา ทักทายให้การต้อนรับ คาเรนบอกว่า คุณพ่อ เหล่ า นั้ น ต้ อ นรั บ เธอด้ ว ยภาษาไทย หรื อ ไม่ ก็ ด้วยภาษาอังกฤษ ที่กระท่อนกระแท่น ซึ่งเธอ ใช้ภาษาอังกฤษว่า อีลิเม้นทารีอิงลิช ตามความ รู้สึกของคาเรน แล้ว คุณพ่อโรแทเรียนเหล่านี้ พยายาม ให้การต้อนรับเธออย่างดีที่สุด เขาพูด ไปหัวเราะไปก ับการใช้ภาษาอังกฤษที่ไม่ค่อยดี นัก เมื่อเธอไปที่แท่นพูด แนะน�ำตัวเองเป็นภาษา อังกฤษเสร็จลง คุณพ่อโรแทเรียนก็ปรบมือกัน กราวใหญ่ คาเรนเข้าใจเองว่า เขาปรบมือทั้งๆ ที่ เขาไม่รู้ว่าเธอพูดอะไร คงมีคุณพ่อประสิทธิ์เพียง คนเดียวที่พอรู้เรื่องบ้าง คาเรนเคยไปพูดที่สโมสร โรตารี ในแคนาดา ก่อนจะเดินทางมาประเทศไทย หลายครั้ง ที่นี่ไม่มีอะไรเหมือนที่แคนาดาเลย ที่ แคนาดา สมาชิกของสโมสรทั้งหมดเป็นผู้นำ� ทาง ธุรกิจ และวิชาชีพเหมือนที่นี่ แต่เขาแต่งกายด้วย

สูท มานัง่ ฟังองค์ปาฐกทีเ่ ขาเชิญมาอย่างให้เกียรติ และเป็นพิธีการ สโมสรฯของเธอเป็นสโมสรฯ ที่มี การประชุมในตอนเช้าเรียกว่า “เบร็คฟาสท์คลับ” สมาชิกรับประทานอาหารเช้าด้วย ครัวซองต์กับ เนย และแยมสตอเบอรี่ ต่างก็นั่งรับประทานด้วย ความระมัดระวัง ไม่ให้กาแฟและของรับประทาน หก หรือหล่นลงไปบนผ้าคลุมโต๊ะของโรงแรมทีข่ าว สะอาด ที่นี่ สมาชิกมาประชุมด้วยการแต่งกาย ตามสบาย ไม่สวมสูทผูกเน็คไทร์ และโต๊ะอาหาร ไม่มผี า้ ปู ถ้าภัตตาคารเสิรฟ์ อาหารประเภทไก่ทอด เขาจะทิ้งกระดูกลงไปที่พื้น ไม่นานนักก็จะมีสุนัข เข้ามาคาบเอากระดูกไปกิน พิธีการประชุมก็ต่าง ไปอีกแบบ เมื่อนายกเคาะระฆังเปิดการประชุม ก็มกี ารรายงาน หรือพูดกันอย่างไม่มอี ะไรน่าสนใจ บางคนหันไปพูดกัน บางคนก็นงั่ สัปหงก กรนออก มาดังๆ คุณพ่อประสิทธิ์คงรู้ดีว่าคาเรน ไม่รู้ว่าเขา พูดอะไร จึงหันมาปลอบว่า “ไม่เป็นไร” ซึ่งก็เป็น วลีตดิ ปากของคนไทยทัว่ ไป คุณพ่อประสิทธิย์ งั พูด ต่อไปว่า ถ้าฟังไม่รู้เรื่องก็ไม่เป็นไร ขอให้พยายาม คาเรนถูก ขยัน้ ขะยอให้กนิ อาหาร เธอจึงตักอาหาร ชนิดหนึง่ เข้าปาก ขณะทีก่ ำ� ลังจะกลืน ก็เห็นตาคุณ พ่อประสิทธิ์ จ้องอยูท่ คี่ อ เหมือนกับก�ำลังคิดว่าจะ มีอะไรเกิดขึ้น พร้อมกับยิงฟันหัวเราะ คาเรนคิด ว่าเธอก�ำลังกินแตงกวาทะเล ภายหลังที่กลืนลง ไปแล้ว จึงเค้นถามคุณพ่อว่า “มันเป็นอะไร” คุณ พ่อประสิทธิ์ตบท้องแปะๆ พร้อมกับบอกว่า “มัน เป็นส่วนนี้ของปลา” คาเรนหยิบแก้วน�้ำดื่มล้าง ปากและคอ “ตายแล้ว ฉันกินไส้ปลาเข้าไปแล้ว” อ้วก.


ร่วมส่งภาพกิจกรรม มาได้ที่ อน.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์ E-mail : nyosawat.gmail.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล E-mail : santi@rotary3360.org “มอบรถวีลแชร์”

สมาชิกสโมสรโรตารีเวียงโกศัย มอบรถ วีลแชร์ซึ่งรับการสนับสนุนจากสโมสร โรตารีล�ำปาง จ�ำนวน 10 คัน ณ โรงแรม ภูมิไทยการ์เด้น เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2553 ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง งานนี้ ผู ้ ที่ ช ่ ว ยท� ำ กิจกรรมอย่างเข้มแข็งอีกท่านคือท่าน อน.สมบัติ วิสุทธิผล ซึ่งท่านก�ำลังพักฟื้น จากการผ่าตัดใหญ่ ยังไม่ถงึ เดือน ก็ขออา นิสงฆ์ จากการปฏิบัติกิจกรรมนี้ ให้ท่าน ได้หายเป็นปกติโดยเร็ว

“รับสมาชิกใหม่”

สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ท�ำพิธี รับสมาชิกใหม่ จ�ำนวน ๕ คนเมื่อวัน ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๓ (ซึ่งเป็นครั้งที่ ๒ ส�ำหรับปีบริหารนี้ที่รับไปเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ จ�ำนวน ๗ คน)

“มอบทุนการศึกษา”

สโมสรโรตารีน่านท�ำกิจกรรม มอบทุ น การศึ ก ษาให้ แ ก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นโรงเรี ย นศรี ส วั ส ดิ์ วิทยาคาร ในพฤหัสบดี ที่ 7 กันยายน 2553

“โครงการยายเลี้ยงหลาน”

พิธมี อบทุนการศึกษาและเบีย้ ยังชีพ จานวน 11 ครอบครัว วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม 2553 ณ อุทยานหลวง ราชพฤกษ์ พืชสวนโลก ขอขอบคุณ นย.รัศมี พิทักษ์มโนกุล, อผภ.แววดาว ลิ้ม เล็งเลิศ และสมาชิกสโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ทุกท่าน ที่กรุณาให้เกียรติย้ายการประชุมประจ�ำสัปดาห์ มาเป็นการประชุมสัญจร ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์เพื่อ มอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียนโครงการยายเลี้ยง หลาน ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคเรื่องระยะทางและอากาศที่ ร้อนจัด แต่ป้า ๆ ทุกคนก็ยังสู้ ๆ ค่ะ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


สโมสรโรตารีนเรศวร

สโมสรโรตารีพาน

สโมสรโรตารีปัว

สโมสรโรตารีพิษณุโลก

สโมสรโรตารีศรีสองแคว

สโมสรโรตารีวังทอง

ท่านผู้ว่าการภาค นพ.วีระชัย พร้อมด้วย อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ และ อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ เปิดโครงการ “โรตารีร่วมใจเครือข่ายผู้ปกครองแนะแนว ทางเลื อ กอาชี พ โรงเรี ย นนารี รั ต น์ จั ง หวั ด แพร่ ” จั ด โครงการโดย สโมสรโรตารี เวียงโกศัย เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ผ่านมา ซึ่งทุกท่านที่มาเป็นเกียรติเปิดงานนี้ ได้อนุเคราะห์เป็น วิทยากร ตามสาขาวิชาชีพของท่านร่วมกับวิทยากรรับ เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในจังหวัดหลายท่าน

สโมสรโรตารีน่าน

สโมสรโรตารีเวียงโกศัย แพร่ สโมสรโรตารีนา่ นได้จดั กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์เพือ่ เยาวชนใน โครงการ“ติวเสริมเติมเต็มความรู้ มุ่งสู่มหาวิทยาลัยครั้งที่ 2” โดยทางสโมสรโรตารีน่านได้รับความอนุเคราะห์จากครูพี่แนน อ.อริศรา ธนาปกิจ จากสถาบันกวดวิชา ENCONCEPT E-ACADEMY สอน วิชาภาษาอังกฤษ และครูพี่เอ๋ อ. วิเศษ กี่สุขพันธ์ และครูพี่อั้ม อ.วิษณุวัฒน์ วินุราช จากสถาบันกวดวิชา THE BRAIN สอนวิชาคณิตศาสตร์ ร่วมเป็น วิทยากรในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 เวลา 08.00 - 17.30 น. ณ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา วิทยาเขตน่าน โดยมีนายอ�ำเภอเมืองน่าน ท่านนิวัฒน์ ศรีบุญนาค ตัวแทนผู้ว่า ราชการจังหวัดน่านเป็นประธานในพิธีเปิด


สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


04 Intercity Meeting D.3360 R.I.

“ยิ่งกว่าการประชุม”

การประชุมระหว่างเมือง ภาค ๓๓๖๐ โรตารีสากล ปีบริหาร ๒๕๕๓-๒๕๕๔ 13-16 พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมแม่โขงเดลต้า แม่สาย เชียงราย www.rotary3360.org



สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงสมิท - ตุลาคม 2010

RI.President Ray Klinginsmith Year 2010-11

“ลงใต้ไปให้ถึง นิวออร์ลีนส์โน่น” “Way Down Yonder in New Orleans” มีเพลงหลายเพลงมากที่แต่งขึ้นเกี่ยวกับเมืองนิวออร์ลีนส์ เนื่องจากมีประวัติและมรดก ทางดนตรี มีชื่อเป็นเมืองดนตรีแห่งหนึ่งของโลก โดยเฉพาะผมเอง ชอบเพลง “Way Down Yonder in New Orleans” ที่ได้น�ำเนื้อร้องท่อนหนึ่งและเป็นชื่อเพลงมาเป็นหัวเรื่องข้างบน ซึ่ง บ่งบอกให้เราคิดถึงการประชุมใหญ่โรตารีสากลปี 2011 ทีเ่ มืองนี้ ระหว่างวันที่ 21−25 พฤษภาคม – ล่วงหน้าหนึ่งเดือนเต็มๆ ก่อนการประชุมใหญ่ทุกครั้งในหลายปีที่ผ่านมา . การประชุมใหญ่ทนี่ วิ ออร์ลนี ส์นี้ จะมีพธิ เี ปิดเป็นทางการในวันเสาร์ มิใช่วนั อาทิตย์ดงั เช่น ปีก่อน และ ศาลามิตรภาพ สถานที่แสดงผลงานในการประชุมประจ�ำปีของเรา ก็จะเปิดในเช้าวัน เสาร์ดว้ ย ส่วนการประชุมอืน่ ๆ ทีม่ กี อ่ นหน้าประชุมใหญ่ทกุ รายการจะสิน้ สุดลงในบ่ายวันเสาร์ เพือ่ เปิดโอกาสให้โรแทเรียนและแขกมีเวลาพักผ่อนทีน่ นั่ มากขึน้ ก่อนการประชุมองค์รวม ซึง่ จะเริม่ ขึน้ ในวันอาทิตย์ มีขา่ วดีเพิม่ เติมอีก ก็คอื ศาลามิตรภาพ จะอยูต่ ดิ กันกับห้องประชุมองค์รวมในศูนย์ประชุม ใหญ่ ศาลามิตรภาพ นีจ้ ะยืดเวลาท�ำงานออกไปเพือ่ ให้มเี วลาสังสรรค์และสร้างเครือข่ายได้มากขึน้ ส�ำหรับแขกผูม้ าเยือนจากโรตารีทวั่ โลก ทีน่ กี่ ค็ อื สถานทีเ่ หมาะสมส�ำหรับโรแทเรียน และครอบครัว จริงๆ ใครเล่าจะสามารถบรรยายมนต์เสน่ห์ ความตื่นเต้นเร้าใจ และการสร้างแรงจูงใจ จากการ ประชุมใหญ่โรตารีสากลได้อย่างเหมาะสมบ้าง? การประชุมใหญ่ของเรานั้นเหนือกว่าค�ำบรรยาย ใดใด เพราะมีความหลากหลายในการจรรโลงไมตรีจิตมิตรภาพและการสร้างเครือข่ายได้ดีที่สุด เมื่อเราได้พบกับมิครโรแทเรียนจากทั่วทุกมุมโลก และบริการระหว่างประเทศนั้น ช่วยเสริมสร้าง บรรยากาศได้อย่างแท้จริง เมื่อโรแทเรียนจะได้พบเพื่อนใหม่ๆ จากดินแดนไกลโพ้น ดังนั้น วิธีที่ดี ทีส่ ดุ ทีจ่ ะเข้าใจและชืน่ ชมกับการประชุมใหญ่โรตารีได้อย่างแท้จริง คือ การเข้าร่วมงานทีด่ เี ด่นและ ส�ำคัญยิง่ ทีก่ ำ� ลังจะมีขนึ้ ทีน่ วิ ออร์ลนี ส์ ซึง่ จะเป็นการประชุมใหญ่ทดี่ ที สี่ ดุ อีกครัง้ หนึง่ เท่าทีเ่ คยมีมา ผมขอรับประกัน! ขอเชิญไปร่วมสนุกกับเราทีน่ วิ ออร์ลนี ส์ ขณะทีพ่ วกเราร่วมกันท�ำให้โลกน่าอยูย่ งิ่ ขึน้ ...ให้ เราเตรียมตัวไปสนุกสนานกันเถิด....ซ�ำ้ อีกครัง้ หนึง่ ... ให้เราเตรียมตัวไปสนุกสนานกันเถิด.... ขออีก ครั้งครับ! เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)


โรตารีแก้วิกฤตอย่างไร เบื้องหลังเหตุแห่งวิกฤต ที่สัมพันธ์กับ สมาชิกภาพ ของโรตารีสากล ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี

รายการ/ปี รายรับ($ ล้าน) รายจ่าย($ ล้าน) ก�ำไร/ขาดทุน

โลกที่เปลี่ยนแปลงมีผลกระทบโรตารีสากล ที่ ก่อตั้งมากว่าร้อยห้าปีอย่างไร เป็นเรื่องที่ชาวโรแทเรียน คงอยากทราบ โอกาสที่ไปร่วมประชุมโรตารีระหว่างโซน (BKK Rotary Institute meeting) ปีนี้ ระหว่างวันที่ 1921 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ท่านประธานโรตารีสากล Ray Klinginsmith และกรรมการบริหารโรตารี สากลหลายๆ ท่านได้มาร่วมประชุมแลกเปลีย่ นและอบรมความก้าวหน้า ล่าสุด จึงเป็นโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริงเบื้องหลังหลายๆ อย่าง ท่านเปิดโอกาสให้ ผวภ ได้ประชุมแลกเปลีย่ นและ รับ ทราบปัญหาทุกแง่ทกุ มุมอย่างกันเองนานกว่าชัว่ โมง ท�ำให้ ทราบเบือ้ งหลังเหตุแห่งวิกฤตทีส่ มั พันธ์กบั สมาชิกภาพของ โรตารีสากล รายรับของโรตารีสากล สัมพันธ์กับ จ�ำนวนโรแท เรียน รายรับเฉลี่ยปัจจุบันปีละ $50 ล้าน จากโรแทเรียน ที่คงที่อยู่ประมาณ 1.2 ล้านคนในกว่า 10 ปีที่ผ่านมา การ เพิ่มขึ้นของโรตารีภาคและสโมสรกว่า 30% แต่ไม่ได้เพิ่ม จ�ำนวนโรแทเรียนที่แท้จริงในภาพรวม เป็นการเพิ่มราย จ่ายโดยตรง รายจ่ายเพื่อสนับสนุนสโมสรและภาค เพื่อให้ ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพทั้งโดยตรงและทางอ้อม ใช้งบ กว่า 50% ของรายรับทั้งหมดของโรตารี (เพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่อง) ที่เหลือเป็นรายจ่ายเอกสาร ส�ำนักงาน ลูกจ้าง ฯลฯ ซึง่ สามารถควบควบคุมและตัดลดงบประมาณได้ จ�ำนวนที่ ลดลง (หลังจากก่อตั้ง−สถาปนา )ของโรแทเรียนในสโมสร และภาค ขณะทีร่ ายจ่ายไม่ลดและยังเพิม่ ขึน้ เช่นโรตารีภาค ในเอธิโอเปีย มี 170 สโมสร แต่มีโรแทเรียนไม่ถึง 1,000 คน ค่าใช้จา่ ยต่อหัวจากโรตารียอ่ มมากกว่ารายรับ นักธุรกิจ ย่อมคิดได้ง่ายๆ ว่าองค์กรอยู่ไม่ได้ แม้จะมีการเพิ่มรายรับ จากค่าสมาชิกปีละ $1 ต่อเนือ่ งอีก 4 ปี (มติสภานิตบิ ญ ั ญัต)ิ ก็ไม่สามารถแก้ปญ ั หาการขาดทุน (รายจ่ายมากกว่ารายรับ) ต้องหาแนวทางแก้ไขอย่างมีระบบ โดยคณะกรรมการที่ ปรึกษาการเงินที่เชียวชาญ(โรแทเรียน) 10 ท่าน แนวทางการแก้วิกฤตของโรตารีสากล โรตารีสากลไม่สามารถลงทุน เพื่อหารายได้จาก ธุรกิจโดยตรง แต่สามารถหารายได้จากดอกเบี้ยฝากและ

2552 65 82 -17

2553 96 82 14

2554 85 84 1

2555 89 87 2

2556 94 94 0

2557 92 93 -1

2558 92 95 -3

พันธบัตร การวางแผนการเงินจึงมีความส�ำคัญกับการอยู่ รอดขององค์กร ใน 10 ปีที่ผ่านมาดอกเบี้ยรับเฉลี่ย 3.2% (เงินเฟ้อ 3%) ในปี 2552-2553 ขาดทุน $17 ล้าน โรตารี ได้วางแผนการเงิน 5 ปีนับจากนี้(โดยคิดจากสมาชิกโรแท เรียนคงที−่ ไม่ลดลง ไม่ปรับโครงสร้าง)แต่เพิม่ แนวทางการ ลงทุนอื่นๆ (เฉลี่ยดอกเบี้ยรับ 4%) *ดูตาราง การแก้ปัญหาที่น่าจะเป็นไปได้ในเบื้องต้น คือ การเพิ่มรายได้จากสมาชิกโรแทเรียนทั่วโลก ปีละ $1 เริ่ม ปี 2553-4 ถึงปี 2556-7 และลดรายจ่ายทุกอย่างที่เป็นไป ได้ สามารถลดการขาดทุนไปอีกระยะหนึง่ รวมทัง้ มติกอ่ ตัง้ สโมสรใหม่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 25 ท่าน มีผลทางปฏิบตั ใิ นวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 และโรตารีภาคทุกภาคต้องมีสมาชิกไม่ น้อยกว่า 1,200 ท่าน โดยมีสโมสรในภาคไม่น้อยกว่า 33 สโมสร แต่ละสโมสรมีสมาชิกโรแทเรียนไม่นอ้ ยกว่า 20 ท่าน ในวันที่ 30 มิถุนายน 2555 การแก้ปญ ั หาโรตารีภาคใหญ่/เล็กทีไ่ ม่สมดุล ด้วย การจัดแบ่งพื้นที่ภาคใหม่ แนวทางการรวมภาค การรวม สโมสรโดยเฉพาะการรวมสโมสร แบบสามารถแยกประชุม ได้ (Satellite) เพือ่ ช่วยสโมสรเล็กทีเ่ ข้มแข็ง การเก็บข้อมูล ศิษย์เก่าโรตารีฯลฯ สร้างความเข้มแข็งให้กับสโมสร ก�ำลัง อยู่ระหว่างวางโครงร่างภาคปฏิบัติทั่วโลก โรตารีสากลคาดหวัง แนวทางแก้ไขวิกฤตกว้างๆ (เพิ่มรายรับ) ไว้ดังนี้... 1. จากผลงานสนับสนุนสโมสรโรตารีใช้ “กลยุทธ์ ของโรตารี (Strategic Plan)” เพื่อสร้างสโมสรให้เข้มแข็ง (มีสมาชิกเพิม่ ขึน้ ฯลฯ) เพิม่ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ขนาด ใหญ่ และประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์โรตารีในชุมชน และในโลก 2. คาดหวังเศรษฐกิจโลกทีม่ โี อกาสดีขนึ้ จะช่วยโรตา รีสากล/สโมสรโรตารี ได้โดยตรงและโดยอ้อม 3. โรตารีต้องหาวิธีเพิ่มรายได้จากแนวทางอื่นๆ ภาค 3360 จะมีโอกาสถูกยุบรวมภาคหรือไม่ อยู่ที่ความ ร่วมมือของทุกสโมสร (อ่านต่อฉบับหน้า)

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓ หัวข้อท็อปฮิต ของภาคฯเราช่วงนีค้ งหนีไม่พน้ จะเปลีย่ นวิกฤติการ ยุบ ควบ รวม ภาคฯ ให้เป็นโอกาสได้อย่างไร และด้วยวิธีไหน มีผู้รู้เสนอแนะแนวทางอย่างหลากหลาย มวลมิตรท่านใดต้องการแบ่งปัน ก็อย่าได้รอช้าส่งข้อเสนอแนะมายังสารฯ ได้ตลอดเวลา ส่วนสารฯ ก็ประสบกับวิกฤติเช่นกัน โดยเฉพาะเรื่องเวลาของการออกสารฯ ให้ ทันต่อสถานการณ์ บอกอ ในฐานะผูค้ วบคุมดูแลสารฯ ไม่มขี อ้ กล่าวอ้างใดๆ ทัง้ สิน้ นอกจาก เร่งปั่น ต้นฉบับทั้งหลายทั้งปวง ให้เร็วขึ้น และ ก็เร็วขึ้น ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่ย่อหย่อน ในด้านเนื้อหาสาระ ที่หลากหลาย จากเหล่าคอลัมนิสต์ คงจะต้องเชิญชวนมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ร่วมเกาะขอบสนามว่า จะเร่งฝีไม้ ลายมือให้ทนั เวลาได้เมือ่ ไหร่ ถ้าเป็นสนามแข่งก็วงิ่ ผ่านไปครึง่ สนาม มองเห็นเส้นชัยอยูล่ บิ ๆ เอ้า... ต้องฮึดสู้กันหน่อย แต่ในวิกฤติย่อมมีโอกาส ข่าวสารด้านอื่นๆ จากทางเว็ปไซท์ของภาค ก็ยังคงทัน เวลา ทันเหตุการณ์เหมือนเช่นเคย เป็นโอกาสที่จะเชิญชวนทุกท่านได้เข้าแวะชมกิจกรรม และข้อมูลข่าวสารภาคฯ ได้ครับ บอกอ ผู้มีใจเต็มเปี่ยมด้วยแรงฮึด และยังคงเส้นคงวา โรตารีภาค 3360 รายชื่อผู้บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ภาค 3340 ผ่านสโมสรโรตารีนครราชสีมา ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี 10,000.00 อผภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ 10,000.00 ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ โอนตรงภาค 3340=10,000.- 10,000.00 สโมสรโรตารีน่าน (20,000+4,500) 24,500.00 สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตก 12,500.00 สโมสรโรตารีดอยพระบาท 11,000.00 สโมสรโรตารีเชียงใหม่ 9,900.00 สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ 6,100.00 อผภ.อนุวัตร ภูวเศรษฐ์ 5,000.00 สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 3,500.00 สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ 2,000.00 บจ.นครพิงค์เวอร์คช็อพ(อน.นฤชล) 2,000.00 อน.สุรพล ทวีเลิศนิธิ (ส.ช้างเผือกเชียงใหม่) 1,000.00 Mr.Ronald Hilford (ส.กาวิละเชียงใหม่) 1,000.00 รวมเงิน 108,500.00 หัก ค่าธรรมเนียมโอนเข้า ส.นครราชสีมา 3 ครั้ง -230.00 คงเหลือสุทธิ 108,270.00 บวก ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ โอนตรงไปภาค 3350 10,000.00 รวมยอดบริจาค จากภาค 3360 ทั้งสิ้น 118,270.00 update 16-11-2553 รายงานโดย อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ การเงินภาค 3360 ปี 2553-2554


“พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส” ผชภ.นยก. ลักษณะ นภารัตน์

พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส หั ว เรื่ อ งเป็ น วลี ที่ ไ ด้ ยิ น มาค่ อ นข้ า งบ่ อ ยในยุ ค ปัจจุบัน ไม่แน่ใจว่าเริ่มมาจาก นักวิชาการ หรือ นักการ ตลาดก่อน แต่ก็ถูกน�ำมากล่าวตามกันมาทั้งในวงการเมือง วงการกีฬา วงการอื่นๆ จนถึงวงการโรตารี โดยเฉพาะ วงการโรตารี ภาค 3360 ซึ่งก�ำลังจะถูกยุบภาคเนื่องจาก เกิ ด วิ ก ฤตสมาชิ ก ภาพที่ มี น ้ อ ยจนเกื อ บต�่ ำ กว่ า เกณฑ์ มาตรฐานแถมจ�ำนวนสมาชิกยังซอยเท้าอยูก่ บั ทีน่ านติดต่อ กันหลายปี กลายเป็นประเด็นทีต่ อ้ งหยิบยกขึน้ มาเป็นวาระ ส�ำคัญของทางภาค ถึงกับต้องมีการตั้งคณะกรรมการขึ้น มาเพื่อแก้ไขวิกฤตนี้ เป็นแผนงานระยะยาว 3 ปี ตั้งแต่ปี 2553 - 2556 ตามสารผู้ว่าการภาคฉบับก่อน

การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส หรือ การฉวยโอกาส แผนระยะยาวก็ว่ากันไป แต่ขณะเดียวกันก็มีอีก วิธีหนึ่งคือ การแก้ไขปัญหาระยะสั้น หรือแก้ปัญหาเฉพาะ หน้า ถ้าไม่ห่วงการใช้ภาษาให้สวยหรูผมขอเรียกว่า “การ ฉวยโอกาส” ฟังดูจะชัดเจนกว่า คือการเพิม่ สมาชิกภาพโดย การขยายสโมสร เป็นการเพิม่ สมาชิกคราวละมากๆ แต่การ ก่อตัง้ สโมสรใหม่กไ็ ม่ใช่เรือ่ งง่ายแต่กไ็ ม่ถงึ กับยากจนเกินไป นัก ขออนุญาตแนะน�ำตัวเองนิดนึงว่า ผมเป็นโรแทเรียน มายาวนานพอสมควรน่าจะเกือบ 20 ปีแล้ว เข้าไปเกีย่ วข้อง พัวพัน หรือรับรู้เรื่องราวการก่อตั้งสโมสรใหม่ทั้งโดยตั้งใจ และไม่ตงั้ ใจถึง 4 สโมสรคือ แม่วงั , ดอยพระบาท, เถินดาวน์ เทาวน์ และ เมืองเกาะคา โดยเริม่ จากการเป็นกรรมการก่อ ตั้งสโมสรโรตารีแม่วังเมื่อ ปี 2534 มาพิจารณาย้อนหลัง แล้วมองเห็นภาพการเกิดของสโมสรใหม่ เกิดได้สองแบบ คือ การเกิดตามธรรมชาติ เป็นการเกิดปกติโดยการรวม กลุ่มจากแกนกลุ่ม เช่น กลุ่มศิษย์เก่า หรือกลุ่มต่างๆ ที่มี อยู่ก่อนแล้วก่อตัวขึ้น การก่อตั้งสโมสรแม่วังเกิดมาจาก การก่อตัวของแกนกลุ่ม IMET มช., สโมสรดอยพระบาท เกิดจากแกนกลุม่ โยนก MBA ส่วนการเกิดอีกแบบคือ การ เกิดโดยอุบตั เิ หตุ การเกิดแบบนีก้ ม็ ใี ห้เห็นหลายครัง้ เหมือน

กันคือ เกิดจากการแตกแยกกันในสโมสรเดิม แล้วแยกกลุม่ ออกไปก่อตั้งสโมสรใหม่ เราคงต้องยอมรับความจริงว่าใน หมู่มวลมิตรโรแทเรียนซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเป็นนักธุรกิจ นัก บริหารใหญ่ๆ มักจะมีเรื่องศักดิ์ศรีที่ยอมกันไม่ได้ให้เห็น บ่อยๆ ดังนั้น โอกาสที่จะแตกแยกก็มีสูง อยู่ที่ว่าจะรุนแรง ถึงขั้น แยกวง หรือเปล่า การเกิดของสโมสรใหม่ไม่มีสูตรที่ แน่นอนตายตัว บางครั้งตั้งใจมันก็ไม่เกิดแต่บ่อยครั้งไม่ได้ ตั้งใจกลับเกิดได้ อยู่ที่จังหวะ โอกาส และการคว้ามา จึง เรียกได้ว่าเป็นเรื่องของการ “ฉวยโอกาส” ส่วนการที่ก่อ ตั้งขึ้นมาแล้วสโมสรจะยืนหยัดอยู่ได้มั่นคงหรือไม่ นั่นเป็น อีกเรื่องหนึ่ง ขึ้นอยู่กับศักยภาพผู้น�ำ คุณภาพของสมาชิก และความหลากหลายของประเภทอาชีพของสโมสรนั้นๆ เนื้อที่มีไม่มาก จะเล่าเรื่องการเกิดของสโมสร เมืองเกาะคาก็คงไม่จบ เกริ่นนิดหน่อยแล้วกันว่า เมือง เกาะคา ก็เกิดจากการ ”ฉวยโอกาส” จากการพูดคุยกันใน รถระหว่างเดินทางกลับจากงานสถาปนาแห่งหนึ่ง จนวัน นี้ได้รับสารตราตั้งจากโรตารีสากลมาเรียบร้อยแล้ว เรื่อง ราวรายละเอียดเป็นอย่างไร ท่านจะทราบได้ในงานฉลอง สารตราตั้ง สโมสรโรตารีเมืองเกาะคา จึงขอฉวยโอกาสท้ายนี้ เรียนเชิญ มวลมิตร โรแทเรียนทุกท่าน ร่วมเป็นเกียรติในพิธีฉลองสารตราตั้ง และ สถาปนาคณะกรรมการบริหารชุดก่อตั้งสโมสรโรตารี เมืองเกาะคา ในวันเสาร์ ที่ 22 มกราคม 2554 หนังสือเชิญ และก�ำหนดการ คงจะถึงมือท่านในเร็วๆ นี้ ...สวัสดี..

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


สวัสดีครับมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ผมมารายงานตัวเข้าเวรฉบับประจ�ำเดือน ตุลาคม ฉบับนี้ก็เป็นฉบับที่ 4 ของปีบริหาร ผวภ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี เป็นเรื่องเกี่ยวกับการประชุม Intercity meeting ณ โรงแรมแม่โขง เดลต้า อ.แม่สาย จ.เชียงราย ในมุมมองของสมาชิกชาว โรแทเรียนที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมการประชุมว่า เป็นอย่างไร แต่ผมอยากเสริมมุมมองของมวล อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ มิตรโรแทเรียนที่เข้าร่วมประชุม สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

ผ่ า นเสี ย งนกเสี ย งกาฉบั บ นี้ สั ก หน่ อ ยว่ า เป็ น เพราะบรรยากาศและความเข้มข้นของเนื้อหา การประชุมของภาคเรา ที่ผ่านมาเปลี่ยนไปจาก เดิมหรือเปล่า เป็นเหตุให้มวลมิตรเโรแทเรียนข้า ร่วมประชุมลดน้อยลง เช่น การจัดครัง้ นีม้ ขี นั้ ตอน และเนื้อหาในการประชุมไม่ซ�้ำซาก จ�ำเจ มีความ รู้เรื่องใหม่ๆมาน�ำเสนอให้มวลมิตรโรแทเรียนได้ ทราบ อาจจะมีผลให้การประชุมครั้งต่อไปจะมี มวลมิตรโรแทเรียนเข้าร่วมมากขึ้นก็ได้ครับ

Intercity Meeting D.3360 R.I. อน. เสริมพงษ์ วงศ์สมานจิต สโมสรโรตารีศรีสองแคว ยุทธศาสตร์ Do or Die จากปัญหาเรื่อง วิ ก ฤตสมาชิ ก ภาพที่ ภ าค 3360 ของเรา ประสบอยู่เวลานี้ พวกเราทุกคนที่เป็นโรแท เรียน ล้วนเป็นผู้มีส่วนที่จะได้ช่วยกันคิด เพื่อแก้ไขปัญหานี้ พวกเราย่อมตระหนักดี ว่าเราไม่ต้องการรวมภาคของเรากับภาคอื่น ดังนั้นปัญหานี้เรา ทุกคนจึงต้องร่วมมือช่วยกัน สโมสรโรตารีศรีสองแคว ได้วาง ยุทธศาสตร์ของสโมสรฯ ในปีบริหารของ ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญ ดารารัศมี โดยจะเพิม่ สมาชิกให้ได้ 25 % เป็นจ�ำนวน 25 คน ซึง่ เราทุกคนในสโมสรฯมัน่ ใจว่าท�ำได้ และคาดหวังไว้วา่ จะมี 30 คน ได้ปี 2554 - 2555 การวางยุทธศาสตร์นี้เป็นเป้าหมายหลักซึ่ง นายกฯและนายกรับเลือกของสโมสรฯ ได้รบั ทราบเพือ่ วางแผน ให้บรรลุเป้าหมายต่อไปแล้ว ยุทธศาสตร์ของสโมสรโรตารีศรีสอง แคว จึงสอดคล้องกับนโยบายของภาค 3360 ที่เราทุกคนได้รับ ทราบจากการประชุม Intercity ที่ แม่สาย จังหวัดเชียงราย เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ที่ผ่านมานั้น มีอกี หลายแนวทางทีน่ า่ จะน�ำมาใช้ในยามวิกฤตเช่นนี้ ซึง่ จะเพิม่ สมาชิกให้กบั สโมสรต่าง ๆ ในภาค 3360 ของเราได้ สิง่ ทีส่ โมสรโรตารีศรีสองแคว คิดไว้คอื ปีตอ่ ไปนักเรียนแลกเปลีย่ น Youth Exchange ผูป้ กครองต้องเป็นสมาชิกสโมสรเท่านัน้ และ ค่าใช้จ่ายส�ำหรับนักเรียนแลกเปลี่ยนถ้าไม่ผิดระเบียบของ RI. ควรจะเก็บ 1.5 แสนบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมการ ของ YE 1. แสน ส�ำหรับบริจาคเพื่อ PHF. 1000 $, ส่วนที่เหลือ

ส�ำรองไว้กับสโมสรผู้รับผิดชอบ YE. ถ้าท�ำได้เช่นนี้ นอกจาก สมาชิกสโมสรจะเพิ่มขึ้น คาดว่าผู้บริจาคเพื่อ PHF จะเพิ่มมาก ขึ้นด้วย. นย.นงลักษณ์ อรรถโกมล สโมสรโรตารีพะเยา Intercity meeting ที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประโยชน์ที่ได้รับจากการประชุม 1. เจ้าภาพจัดเตรียมสถานที่ได้ดีมาก 2. พิธีเปิดมีความสง่างาม สมาชิกสโมสรมี ความพร้อมตรงต่อเวลา 3. เนื้อหาการประชุม - น่าสนใจมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ วิเคราะห์วิกฤติสมาชิกสโมสรภาค 3360 ซึ่งเป็นบทเรียนของ แต่ละสโมสรทีจะต้องน� ำไปเป็นแนวทางในการแก้ไข และ วางแผนเพิ่มสมาชิก - การเตรียมการประชุมสโมสรในระดับนานาชาติ วิทยากร ได้น�ำเสนอเพื่อเตรียมความพร้อมโดยเน้นให้สมาชิกโรตารีได้ เข้าใจ เพื่อเตรียมเข้ามีส่วนร่วมในสถานะประเทศไทยเป็นเจ้า ภาพในปี 2012 4. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการประชุมสมาชิกให้ความ สนใจน้อยบางสโมสรกลับก่อน 5. กิจกรรมเพื่อสร้างความเป็นหนึ่ง ระหว่างสโมสรในภาคน่า จะมีมากกว่านี้ 6. เอกสารประกอบการประชุมมีคุณภาพ


นย.สุพิชฌาย์ อริยาภัทรวณิช สโมสรโรตารีนครเทิง การจัดการประชุม Intercity Meeting ภาค 3360 โรตารีสากล ปีนี้ โดย ผชภ.วิชัย ศรีพธู ราษฎร์ ประธานและคณะกรรมการจัดงาน ขอชมว่าท�ำได้ดี สถานที่ใหญ่พอที่จะรองรับ เพื่อนสมาชิกได้อีกหลายคน ระบบเสียงดี มาก ฟังชัดเจนแจ่มใส ห้องใหม่กลิ่นไม่เหม็นอับ เลี้ยงดีตั้งแต่ เดินเข้าห้องประชุม ของว่างและเครื่องดื่มไม่มีขาด..เยี่ยม โดย เฉพาะขัน้ ตอนและเนือ้ หาในการประชุม ไม่ซำ�้ ซาก จ�ำเจ มีความ รู้เรื่องใหม่ๆมาน�ำเสนอให้มวลมิตรโรแทเรียนได้ทราบ รวมถึง ปัญหาที่ใหญ่มากเกี่ยวกับภาคอาจจะถูกยุบ และได้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการชุดพิเศษขึ้นมาเพื่อกอบกู้วิกฤตครั้งนี้ เมื่อมีการ แยกกลุ่มย่อยเพื่อสร้างความปรองดอง หาทางช่วยเหลือสโมสร ที่ประสบปัญหา ในกลุ่มของ จ.เชียงราย จ.พะเยา ได้นั่งฟังท่าน อผภ.วิวัฒน์ ระดมมันสมองของทุกสโมสรอย่างจริงจังแล้ว จน ในทีส่ ดุ ก็พบแสงสว่างหาหนทางออก ให้แก่สโมสรทีม่ สี มาชิกต�่ำ กว่าเป้าหมายได้ส�ำเร็จ โดยมีสโมสรต่าง ๆในกลุม่ รับปากจะช่วย กันแก้ปญ ั หาให้ผา่ นพ้น ซึง่ หมายถึงว่าถ้าส�ำเร็จตามแผน เราทุก คนก็ถือว่าได้ช่วยให้ภาค 3360 ของยังคงอยู่ยั้งยืนยงต่อไป ไม่ ต้องไปรวมกับภาคอื่น งานนี้ ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ของเราโล่งใจทันที แต่....ก็เสียดายไปอย่างหนึ่งคือว่ามวลมิตร โรแทเรียน น่าจะมามากกว่านี้ เพราะมองหาคนรู้จักแล้วไม่เจอ ตั้งหลายคน สงสัยติดภาระกิจ หรือติดว่าแม่สายอยู่ไกลถึงสุด ยอดในสยาม แต่ถ้าได้มาแล้วน่าจะถือว่าคุ้มค่ากับการเดินทาง มาร่วมประชุมนะคะ นย.นงนุช อิ่มอุระ สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ การประชุ ม ระหว่ า งเมื อ ง (Intercity meeting) ภาค 3360 เมื่ อ วั น ที่ 13 พฤศจิกายน 2553 โรงแรมแม่โขงเดลต้า อ.แม่สาย จ.เชียงราย นั้น สิ่งที่รู้สึกประทับ ใจคือ การจัดงานของสโมสรโรตารีแม่สาย เป็นแม่งาน ได้เห็นการเตรียมงาน ของสโมสรแม่สาย ต้องเรียก ว่าจัดแบบทุม่ สุดตัว ทัง้ กาย และใจ การได้พบสมาชิกโรแทเรียน เป็นการเสริมสร้างพลังให้แก่ สมาชิกทีไ่ ปร่วมงานได้เป็นอย่างดี สมดังค�ำขวัญที่ว่า “ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก” น.ย สมพร นาคพิทักษ์ สโมสรโรตารีล�ำปาง ผมได้ รั บ ทราบความเคลื่ อ นไหว ความรู ้ และประสบการณ์จากการประชุมระหว่าง เมือง เมื่อวันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ณ.โรงแรมแม่โขงเดลต้า อ.แม่สาย จ.เชียงราย เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ Youth Exchange Program ทีใ่ ห้ความกระจ่างในผลการด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาอย่าง ดียิ่ง อบอุ่น ใกล้ชิดจากไมตรีจิตของมวลมิตรโรแทเรียน ท�ำให้ หายเหนือ่ ยถึงแม้จะเดินทางมาไกล ขอบคุณ D.3360 RI ทีเ่ ชือ่ ม

เราให้เป็นหนึ่งเดียวกัน นย.รัศมี พิทักษ์มโนกุล สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม การประชุม inter city แม้ไม่ได้อยู่ข้อบังคับ ของโรตารีสากล แต่ธรรมเนียมปฏิบัติที่ได้ กระท�ำสืบเนื่องมาเป็นเวลายาวนาน ก็ท�ำให้ การประชุมเกิดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี และเรา จะจัดประชุมกันในช่วงเวลาครึง่ ปีบริหารแรก ของผูว้ า่ การภาคแต่ละสมัย ปีนมี้ ปี ระเด็นส�ำคัญทีค่ วรแก่การน�ำ มาหารือกัน คือความอาจจะเป็นในการรวมภาคระหว่างภาค 3340 และภาค 3360 อันเนื่องมาจากจ�ำนวนสมาชิกของทั้ง 2 ภาคมีไม่ถงึ เกณฑ์ขนั้ ต�ำ่ ของโรตารีสากล บางสโมสรมีสมาชิกต�ำ่ กว่า 10 ท่าน และบางสโมสรต�่ำกว่า 20 ท่าน ซึง่ ล้วนอยูใ่ นเกณฑ์ ที่จะต้องเพิ่มสมาชิกให้ได้ทุกสโมสรไม่น้อยกว่า 20 ท่าน เพื่อ หนีให้พ้นการยุบสโมสร ที่ประชุมต่างได้มีโอกาสแสดงความคิด เห็นกันอย่างกว้างขวาง และทัง้ 2 ภาคต่างมีความเห็นอย่างเด็ด เดีย่ วทีจ่ ะคงความเป็นเอกภาพต่อไป โดยมีคำ� มัน่ สัญญาทีจ่ ะเพิม่ สมาชิกให้ได้ตามเกณฑ์ภายใน 1-2 ปี โดยมี อผภ.ไพโรจน์ เอื้อ ประเสริฐ เป็นประธานแก้ไขวิกฤตสมาชิกภาพของภาค 3360 การประชุมได้รับความสนใจจากมวลมิตรโรแทเรียน กันเป็นอย่างดี เรียกว่า “รวมตัว” กันได้ดี แต่ความส�ำเร็จยิง่ กว่า นั้นคือการ “รวมใจ” ของทั้งเจ้าภาพและผู้เข้าร่วมประชุม ต้อง ขอปรบมือดังๆ ให้กับสโมสรโรตารีแม่สายที่หัวใจของทุกท่าน เป็นหนึง่ เดียว และยังกว้างใหญ่ดจุ สายน�้ำ ไม่ตอ้ งบอกเลยว่าทุก ท่านเหน็ดเหนื่อยขนาดไหนกับงานที่หนักเป็น 2 เท่า เพราะทั้ง เตรียมจัดการประชุมระหว่างเมือง และเตรียมจัดทัวร์มิตรภาพ สานสัมพันธ์ ไทย-เมียนมาร์ ณ เมืองมัณฑเลย์ แต่ความส�ำเร็จ ทีเ่ กิดขึน้ จากการประชุม และมิตรภาพมากล้นจากทัวร์มติ รภาพ ครั้งนี้ จะอยู่ในใจของมวลมิตรโรแทเรียนที่เข้าร่วมประชุมและ ร่วมทัวร์มิตรภาพนี้มิรู้ลืม นย.พญ.ธัญญารัตน์ สิทธิวงศ์ สโมสรโรตารีเถินดาวน์ทาวน์ ดิฉันได้มีโอกาสเข้าร่วมการประชุมระหว่าง เมือง (Intercity meeting) ที่ แม่สาย ต้อง ขอชื่นชมโรตารีแม่สาย จากใจจริงที่ได้ทุ่มเท จัดเตรีย มงาน โดยเฉพาะในช่ วงเปิดการ ประชุมที่ยิ่งใหญ่อลังการ จนคิดว่าอยู่ในงาน พิธีการของจังหวัด ตลอดจนการจัดเตรียมที่พัก บรรยากาศที่ ผ่อนคลาย สะดวกสบาย(ใกล้แหล่งชอปปิ้ง) เป็นอย่างยิ่ง ใน โอกาสที่ได้เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ รู้สึกภูมิใจมากที่ได้เป็น ส่วนหนึ่งในการร่วมคิด คิดหาแนวทางเพื่อแก้ไขวิกฤติสมาชิก ภาพภาค 3360 ของเรา ในวันนั้นท�ำให้เห็นว่า ถึงแม้สมาชิก ของเราจะมีจ�ำนวนไม่มากเท่าภาคอื่น แต่เรามีสมาชิกที่ทั้งเก่ง ทัง้ เข้มแข็ง และมีคณ ุ ภาพคับแก้วอีกมากมาย ดังนัน้ จึงไม่ใช่เรือ่ ง ยาก หากเราทุกคนร่วมแรงร่วมใจช่วยกัน ภาค3360ของเราก็จะ พ้นวิกฤตในครั้งนี้ค่ะ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


การประชุมระหว่างเมือง ภาค ๓๓๖๐ โรตารีสากล ปีบริหาร 2553-2554 ๑๓-๑๖ พฤศจิกายน 2553 ณ ห้องเชียงตุง โรงแรมแม่โขงเดลต้า อ.แม่สาย จ.เชียงราย อน. ตระสัก ศรีธิพรรณ์ ประธานจัดงาน คาวบอยไนท์ สามสิบปี โรตารีแม่สาย

การประชุมที่ยิ่งกว่าการประชุม อินเตอร์ซิตี้ ที่ แม่สาย “โรแทเรี่ยนสุขใจ ท่องเที่ยวครั้งใดไปกับ สร. แม่สาย” จากสโลแกนเพราะๆ ข้างต้นที่เกริ่นน�ำ เป็นความจริงที่เหล่ามวลมิตรโรแทเรี่ยนพิสูจน์ มาแล้ว 100 % เพราะผู้ที่ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาระหว่างเมือง (อินเตอร์ซิตี้) ที่สโมสรโรตารี แม่สายจัด ขึ้นในวันที่ 13 พ.ย. 53 ที่ผ่านมา ได้รับรู้ข้อมูลมากมาย จากการระดมสมองในการ หารือ เกีย่ วกับการเพิม่ สมาชิกทีเ่ ข้มข้น ความรูเ้ กีย่ วกับเงินบริจาคทัง้ PHF, EREY และข้อมูลของ YE. มากมายหลากหลายเกี่ยวกับการจัดการบริหารของโรตารีปีบริหาร 53-54 นี้ และช่วงค�ำ่ คืนแห่งความสุขสนุกสนาน ได้รว่ มเชิดชูยกย่องผูท้ บี่ ริจาคเหรียญ PHF, EREY จากทุกๆ สโมสรใน ภาค 3360 แล้ว ยังได้สนุกสนานร้องเพลงสังสรรค์กับเหล่ามวลมิตร โรแท เรีย่ น จากหลากหลายสโมสร และส�ำคัญทีส่ ดุ คือการร่วมเดินทางท่องเทีย่ วประเทศพม่า ของเหล่า


“Beyond the Meeting” Intercity Meeting D.3360 R.I. 13-16 November 2010

มวลมิตรโรแทเรี่ยน นั้นคือ การเดินทางสู่เมืองมัณฑเลย์ เบื้องหลังความสุขสันต์ความรื่นเริง ความวุ่นวายที่มาพร้อม กับความส�ำเร็จหลากหลายการท�ำงานที่สอดคล้องปะปนกัน ขนาดผู้ เขียนยังมึนงง และสับสนระคนกับความสนุกสนาน งงงงงงงงง ด้วยเพราะสโมสรโรตารีแม่สายชอบสโลแกน เล็กๆไม่...ใหญ่ๆๆท�ำ... ท�ำงานเล็กให้เป็นงานใหญ่ ท�ำงานใหญ่ ให้เหมือนท�ำงานเล็กๆ ก็งานประชุมอินเตอร์ซิตี้มีการประชุมเพียงวันเดียว แต่มวล มิตรแม่สายขยันท�ำให้เกินงานเพิ่มถึง 4 งาน คือ

1. งานประชุมอินเตอร์ซิตี้ (Rotary Meeting Day) 2. งานโรตารีไนท์(ยกย่องผู้บริจาค) (Rotary Night) 3. ท่องเที่ยวมัณฑเลย์ (Rotary Trip) 4. งานเมียร์มาไนท์ (Myanmar Night) นี้แหละครับที่มาของสโลแกน

“การประชุมที่ยิ่งกว่าการประชุม” “Beyond the Meeting”

คณะผู้จัดงานร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกัน โดยการน�ำของ ท่าน ผชภ.วิชัย ศรีพธูราษฎร์ ท่านนายกบัณฑิต รัตนวิมล และท่านประธาน จัดงาน อน.นันทวัตร ธารกกาณจน์ วางแผนงานมาร่วมเวลาเกือบ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


ปี จัดสรรงานทุกอย่างอย่างลงตัว แบ่งหน้าที่ให้มวลมิตร แม่สายรับผิดชอบตามทีถ่ นัด โดยแบ่งคณะกรรมการให้จดั งานในแต่ละงาน แต่ละเวลาให้รับผิดชอบกันไป ที่หนักสุดน่าจะเป็นการจัดทัวร์มัณฑเลย์ ที่ต้อง ประสานกับบริษทั ทัวร์ เพือ่ ต้องการสิง่ อ�ำนวยความสะดวก แก่คณะทัวร์ให้มากที่สุด แต่ด้วยเพราะความสามารถและ บารมีของท่าน ผชภ.วิชัย ที่ท�ำหน้าผู้น�ำและ การประสาน สิบทิศอย่างเต็มก�ำลัง จนงานทุกอย่างท�ำได้ส�ำเร็จอย่าง งดงาม เวลา 4 วัน 5 คืนที่เหล่ามวลมิตรแม่สาย กร�ำงาน

อย่างเต็มก�ำลังผลออกมาประสบความส�ำเร็จ ยัง..ยังไม่พอ 18 ธันวาคม 53 นี้ พบกับ งานฉลอง ครบรอบ 30 ปีโรตารีแม่สาย อีกงานหนึ่งที่มวลมิตรโรตารี แม่สายร่วมรังสรรค์จดั งานขึน้ มา เพือ่ ฉลองสารตราตัง้ ของ สโมสร ...งานจึงอลังการยิง่ ใหญ่ขนาดไหน ติดตามกันต่อ ไป...เล็กๆไม่ ใหญ่ๆ จะท�ำ..สร.แม่สายครับ.... อน.ตระสัก ศรีธิพรรณ์ บรรยาย, อน.วาณิช โยธาวุธ น�ำเสนอเอง....


อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม

โครงการนำ�ร่องที่ประสบผลสำ�เร็จ

เพิ่งกลับมาจากการประชุม 2010 Bangkok Rotary Institute ซึ่งจัดที่โรงแรม Imperial Queen’s Park ระหว่างวันที่ 19-21 พ.ย. 2553 เป็นการประชุมของ Zone 6B, 7A และ 10 B มี ผู้เข้าร่วมประชุม 1300 คน เกินเป้าที่ก�ำหนดไว้ที่ 1200 คน นับว่า เป็นงานที่ประสบความส�ำเร็จ ผู้ที่จะจัดประชุมแบบนี้ครั้งต่อไป คือ อินโดนีเซีย จะจัดที่บาหลีในวันที่ ซึ่งเขามารับลงทะเบียนล่วงหน้า มี ของแถมให้เสียด้วย ก่อนงานจะมีการอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก ซึ่ง ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรือง ได้เข้ารับการอบรม ผ่านการอบรม และได้รับ ปริญญาในวัน Graduation day คือเย็นวันที่ 18 พ.ย. 2553 คืน เดียวกันนี้มีหลายงาน เช่น งาน re-uion ของผู้ว่าการภาคปี 201011 ของทุกภาค ซึง่ จัดในโรงแรมเดียวกันแต่คนละห้อง ผวภ. นพ.วีระ ชัย จ�ำเริญดารารัศมี จึงไม่ได้เข้าร่วมงานของท่านช�ำนาญ ด้วยความ เสียดาย แต่ได้รับทราบว่า ยิ่งใหญ่ สมเกียรติ และภาค 3360 จะมีผู้ ว่าการภาคที่มีความสามารถในปีต่อไปอย่างแน่นอน ในวันที่ 19 พ.ย. 2553 การประชุมครบองค์ในช่วงเช้ามี การสัมมนาเรื่องมูลนิธิโรตารีและ Peace & Conflict Resolution ซึ่งเป็นการให้ความรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของ workshop ในภาคบ่าย ในส่วนของมูลนิธิโรตารี นอกจากให้ความรู้แล้วยังมีการรายงาน สถานการณ์ และก�ำหนดเป้าการบริจาค ของทุกภาค ทุกZone ได้รบั ทราบข้อมูลว่า ภาค 3360 ของเราเป็นภาคเดียวในประเทศไทยที่ยัง ไม่ได้ขึ้นกระดานในเรื่องการบริจาคใดๆ ในปีนี้เขาตั้งเป้าการบริจาค ให้เราน้อยที่สุด คือ 150,000 U$ เป้าของภาค 3340 อยู่ที่ 200,000 U$ ส่วน 3330 และ 3350 นั้นไม่ต้องพูดถึง เป้าของเขาสูงมาก และ เขาท�ำได้เสมอมา เราจึงยังต้องท�ำงานอีกมากเพื่อให้เข้ามาตรฐาน ช่วงเทีย่ งมี Major Donor Lunch ซึง่ ผวภ.นพ.วีระชัย และ โรตารีแอนน์ได้รับเชิญเข้าร่วมงานด้วย และมีโอกาสได้รับคริสตอล จากท่านประธานโรตารีสากล Ray Klinginsmith และ ประธานมูลนิธิ โรตารี คือ อดีตประธานโรตารีสากล Carl- Wilhelm stenhammer ถือโอกาสส่งรูปมาประกอบให้ด้วย ในการน�ำเสนอเรื่องราวการบริจาคของฟิลิปปินส์ ซึ่งเขาน�ำเสนอ

ว่าเขามี PHF ที่อายุน้อยที่สุดในโลก คือ อายุ 2 เดือน ในปีนี้ ผวภ. นพ.วีระชัย เลยกะว่าจะลบสถิตเิ สียหน่อย โดยในวันที่ 29 พ.ย. 2553 ดช.พรรษวัฏ จรรญาศักดิ์ ซึ่งจะมีสถานะเป็นหลานตาคนแรก จะ คลอดในช่วงเวลา 11 โมง โดยประมาณ คุณหมอกะจะขออนุญาต เข้าไปรับหลานด้วยตนเองที่ รพ. BNH กะจะถ่ายรูปใบหน้าน้อยๆ มือน้อยๆ และเท้าน้อยๆ และในตอนบ่ายของวันเดียวกันจะมาร่วม สัมมนาเรือ่ งการรณรงค์เพือ่ กองทุนโปลิโอทีศ่ นู ย์โรตารี ประเทศไทย จะบริจาค 1000 U$ เพื่อกองทุน Polio ในวันดังกล่าวในนามของ หลานตาคนแรก ... ท่านผูว้ า่ การภาครุน่ เดียวกันและ ประธานมูลนิธิ Zone 6B ได้แสดงความยินดีเป็นเบือ้ งต้น มีคนตัง้ ชือ่ เล่นให้หลานตา คนใหม่ว่าว่า “พอล” พ่อแม่ของเขาจะว่ายังไงก็ไม่รู้ซิเนี่ย แต่สถิติ PHF ที่อายุน้อยที่สุดจะเป็นของภาค 3360 แน่นอน คือมีอายุ 1 วัน พิธีเปิดอย่างเป็นทางการจัดในตอนเย็น มีพิธีเชิญธงของ ทุกประเทศ รวมทั้งสิ้น 15 ประเทศ ยิ่งใหญ่มากโดยใช้ขบวนโขน มาเชิญธง ท่านผู้มีเกียรติต่าง “ใจหายใจคว�่ำ” เมื่อธงของ China ถูก เชิญออกมาก่อนเนื่องจากเรียงตามตัวอักษร ท�ำให้เกิดเสียงโห่ร้อง ของโรแทเรียนจากใต้หวันซึง่ มาร่วมประชุมมากกว่า 400 คน กว่าจะ เข้าที่เข้าทางได้ก็ใช้เวลาไปพักหนึ่ง เรื่องเรียบร้อยดีเมื่อธงใต้หวันถูก เชิญมาในล�ำดับท้ายแต่ยงิ่ ใหญ่กว่า ในขบวนพยุหยาตราของพระราม พระลักษณ์ ร่วมกับธงชาติไทย ... จากนัน้ งานก็เป็นไปโดยราบรืน่ และ สนุกสนาน แต่เนือ่ งจากแขกล้นห้อง คนไทยจึงให้ความร่วมมือโดยใช้ โต๊ะนอกห้องและชมการแสดงบนจอ ในวันที่ 20 พ.ย. 2553 มีการประชุมครบองค์ในภาคเช้า เรื่อง “What will happen to Rotary in the Future” และตาม ด้วย workshop 2 เรือ่ ง คือ “จะหมดโปลิโอได้เมือ่ ไร? อย่างไร?” และ เรือ่ ง Future Vision Plan ซึง่ ภาคของเราได้ถกู เลือกเป็นตัวอย่างของ The Successful Stories of Future Vision project มีผู้เข้ารับฟัง ล้นหลาม ล้นห้อง และปรากฏว่าผูฟ้ งั ส่วนใหญ่มาจาก non pilot เขา อยากรับทราบว่ามันเป็นอย่างไร ดีหรือไม่ดี ยากหรือง่าย และจะท�ำ อย่างไรต่อไป ผูว้ า่ การภาค 3360ได้น�ำเอาโครงการของภาค 3360 เป็น

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


กรณีศึกษา นับว่าเป็นภาคที่ประสบผลส�ำเร็จค่อนข้างมาก เทียบกับ ของบังคลาเทศซึ่งเป็นผู้เล่าภาพรวมของการท�ำโครงการใน FVP แต่ยังไม่ได้ท�ำโครงการ ตามด้วยเรื่องกลยุทธ์ในการท�ำโครงการของ ฟิลิปปินส์ โม้มากมาย ท�ำได้ 1 โครงการ 30,000 U$ ของภาค 3360 ไม่ต้องโม้ แต่ปรากฏว่า จาก DDF ที่มีอยู่เพียง 46,234 U$ สามารถ ท�ำ District Grant (non matching) ได้ 3 โครงการ โครงการละ 3000 U$ และท�ำ Global grant ได้ 5 โครงการ เป็นเงิน 470,000 U$ นอกจากนั้นยังเป็น international host ได้ 2 โครงการ และ เราจะมีส่วนในการ feedback การท�ำโครงการใน FVP ต่อไป หากโรแทเรียนในภาค 3360 ตั้งอกตั้งใจศึกษา ท�ำความ เข้าใจ เราคงจะท�ำโครงการได้อีกมาก ในอีก 3 ปีข้างหน้าการท�ำ โครงการจะเปลี่ยนไปจากเดิม “ผู้ให้จึงจะเป็นผู้ได้” ตามกฎของ “give & take” ต้องรู้และเข้าใจจึงจะได้อยู่บนกระดานนานาชาติ โครงการน�ำร่องของเรา ทยอยมารับใช้โรแทเรียนใน ภาค 3360 เป็นล�ำดับดังนี้ District grant 3 โครงการ คือ ดิกชันนารีจำ� นวน 5000 เล่ม ต้นทุนเล่มละ 47 บาท ให้สโมสรแลกซื้อได้ในราคา เล่ม ละ 20 บาท ขณะนี้ดิกชันนารีอยู่ที่ศูนย์กลาง 5 แห่งเรียบร้อยแล้ว สโมสรใดเข้าร่วมโครงการให้ติดต่อที่ศูนย์ของตนเอง โครงการผ้าห่ม ออกไปแล้ว เช่นกัน 1 EREY แลกได้ 10 ผืน ขณะนี้มีผู้ร่วมโครงการ ในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายไปแล้ว ยังเหลืออีกเล็กน้อย จะจัดให้ สโมสรเล็กทีย่ งั ไม่มโี อกาสเข้าร่วมโครงการใดๆ และอาจมีเพิม่ เติมมา อีก 400 ผืนจาก “แมคโคร” หากมาจริงจะประกาศให้ทราบต่อไป ส่วนโครงการถังน�้ำจะรวมกับถังของ Global grant ซึ่งอยู่ระหว่าง การเก็บเงินส่ง และสโมสรเชียงใหม่จะทยอยน�ำส่งไปเรื่อยๆ คาดว่า โครงการนี้จะมีสโมสรเข้าร่วมโครงการได้มาก โครงการนี้มี อน.จารุ วัตร เตชะวุฒิ สโมสรเชียงใหม่เป็นผู้ยื่นขอ โครงการบูรณะโรงเรียนในถิน่ ธุรกันดาร ซึง่ อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี เป็นผู้ยื่นขอต้อง resubmit เนื่องจากเขายังยืนยัน ว่าต้องเป็น renovation ไม่ใช่ construction และไม่อนุญาตให้ท�ำ โครงการเล็กๆ เช่น ห้องน�้ำ ศาลา ฯลฯ ด้วยเหตุผลว่าโครงการเหล่า นี้ควรเป็นโครงการใน district grant ไม่ใช่ global grant และต้อง

ตอบค�ำถามว่า นักเรียนมาโรงเรียนมากขึ้นและเรียนดีขึ้นอย่างไร? ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมอย่างไร? โครงการมีความยั่งยืน อย่างไร? ท�ำให้ชาวไทยภูเขาตระหนักถึงความส�ำคัญของการศึกษาได้ อย่างไร? จึงยังไม่ทราบผล ต้องขออภัยสมาชิกที่สร้างความหวังและ อาจผิดหวัง ถือเสียว่าเรียนรู้ร่วมกัน ต้องเรียนว่าการขอโครงการใน แบบใหม่นี้ ไม่ง่ายนัก และเป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่มีใครท�ำมาก่อน ผู้ขอ มีแต่ความปรารถนาดีที่จะให้เท่านั้น ไม่ได้มีเจตนาอื่นใด ดังนั้น การ ลองผิดลองถูกถือเป็นเรื่องธรรมดา แต่ในปีต่อๆไปเราก็จะมีบทเรียน มากขึ้นว่าสิ่งใดควรขอและสิ่งใดไม่ควร โครงการดิกชันนารีใน global grant ก�ำลังจะยื่นขอ เนื่องจากต้องรอคู่มิตร จัดสรร DDF และเงินบริจาค หากประสบผล ส�ำเร็จ คงจะมีดิกชันนารีไว้ในโครงการของภาค 3360 ต่อเนื่องไปยัง ปีหน้าด้วย การตอบค�ำถามไม่ง่ายนักทั้งในเรื่องการวัดผลและความ ยั่งยืนของโครงการ อน.อนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ ก�ำลังท�ำงานอยู่ ขอ ได้รับความขอบคุณและก�ำลังใจจากพวกเรา โครงการฝายชะลอน�้ำของสโมสรแม่สอด-เมืองฉอดและ สโมสรโตเกียวเหนือ จัดลงตัวแล้ว อยู่ระหว่างการรออนุมัติ โครงการรถพยาบาล อยูร่ ะหว่างการยืน่ ข้อเสนอ มีสโมสร non pilot ที่เป็นเพื่อนเก่าทยอยโอน DDF มาให้ และขณะนี้มี international host 2-3 สโมสรและอีก1 ภาค คงต้องใช้เวลาอีก ช่วงหนึ่ง ผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายก�ำลังพยายามช่วยกันอยู่ หากส�ำเร็จ โครงการนี้จะรับใช้ทุกสโมสร แม้จะใช้หัวเรื่องว่า “โครงการน�ำร่องที่ประสบผลส�ำเร็จ” ใครที่เคยท�ำโครงการย่อมเข้าใจดีว่าเบื้องหลังของความส�ำเร็จนั้นมี เรื่องราวมากมาย หลายอย่างเป็นความทรงจ�ำที่ดี หลายอย่างเป็น บทเรียนที่ต้องเรียนรู้ แต่มนุษย์จะไม่พัฒนาหากไม่มีการเรียนรู้ ต้อง ขอบคุณในความร่วมมือของทุกภาคส่วน และตั้งความหวังว่า ภาค 3360 จะเดินไปข้างหน้าด้วยการน�ำของผู้ว่าการภาคท่านต่อๆไปที่ จะต้องเก่ง คล่อง ว่องไว และมีพลังมากขึ้นเรื่อยๆ


รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

เชื่อว่าหลายท่านคงรู้จักและ สัมผัสกับสารพัดความหลากหลาย ของขนมและรสชาติอันแสนอร่อยในชื่อ “ผึ้งน้อยเบเกอรี่” ที่ในปัจจุบัน สามารถหาซื้อได้ตาม shop ในห้างสรรพสินค้า, ในวนัสสนันท์ของฝาก จากเชียงใหม่ และตัวแทนของผึ้งน้อยเบเกอรี่ตามสถานที่ต่างๆ ทั่วภาค เหนือ วงล้อโรตารี ในเดือนนี้ เป็นเดือนแห่งการส่งเสริมด้านอาชีพ ดิฉนั ได้มีโอกาสร่วมด�ำเนินกิจกรรมกับ รทร.รัตนา ปาละพงศ์ สมาชิกจาก สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ซึ่งได้มีโอกาสสนทนาพูดคุยกันจึงท�ำให้ทราบถึง อัตตชีวประวัตขิ องผูป้ ระสบความส�ำเร็จอีกท่านหนึง่ และยังได้เห็นถึงเส้น ทางในการก้าวขึน้ มาสู่ นักธุรกิจแถวหน้าของ จังหวัดเชียงใหม่ ในนามของ “ ผึ้งน้อยเบเกอรี่ ” สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


คุณอิ๋ว หรือ รทร. รัตนา ปาละพงศ์ ในวันนี้เธอเป็นทายาทรุ่นที่ 2 ของ ธุรกิจที่สร้างสรรค์ขึ้นมาด้วยน�้ำมือ น�้ำพักน�้ำแรงของคุณแม่ ผ่องพรรณ ปาละ พงศ์ ตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ. 2524 โดยคุณอิ๋ว เล่าให้ฟังว่า “ ชีวิตของคุณแม่ค่อนข้าง จะล�ำบากมากในช่วงแรกของชีวิต คุณแม่เป็นชาวจังหวัดล�ำพูน แต่ต้องเติบโตมา ด้วยสภาพแห่งความกดดันต่างๆ นานา แต่คุณแม่กลับไม่เคยที่จะเอาสิ่งเหล่านั้น มาเป็นความคิดในทางลบและหันกลับมาท�ำร้ายตัวเองโดยเด็ดขาด แต่กลับเอามา เป็นแรงบันดาลใจและสร้างให้เป็นพลังใจทีย่ งิ่ ใหญ่ ” ดิฉนั เชือ่ ว่าสิง่ นีน้ า่ จะเป็นจุด เริ่มต้นในการสร้างความรุ่งเรืองให้กับเธอในอนาคต คุณอิ๋ว เล่าให้ฟังต่อว่า ก่อนที่คุณแม่จะแต่งงานกับคุณพ่อนั้น คุณแม่มี อาชีพเป็นช่างเสริมสวย ,ช่างตัดเย็บเสื้อผ้า, ขายขนมพื้นบ้านหน้าตลาดสด ภาย หลังจากแต่งงานชีวติ ของคุณแม่กต็ อ้ งย้ายหลักแหล่ง ไปยังจังหวัดต่างๆ อยูต่ ลอด เวลา เพราะคุณพ่อรับราชการจนกระทั่งไปอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลก เมื่อปี2524 ที่ แห่งนั้น อิ๋วคิดว่าเป็นจุดเปลี่ยนในชีวิตของคุณแม่ และน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของ ธุรกิจมาจนทุกวันนี้ ( ปี 2527 ย้ายมาปักหลัก จ.เชียงใหม่ เพราะคุณพ่อ ย้ายมา ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่) ท่านผู้อ่านค่ะ สิ่งที่ไม่น่าเชื่อได้เกิดขึ้นแล้วจากจุดเริ่มต้นของธุรกิจ ด้วย เงินเพียง 600 บาท และกลายมาเป็น หลายร้อยล้านบาทในทุกวันนี้ ชักสนใจแล้ว ใช่ไหมค่ะว่าเงินหลักร้อยบาทจะมาเป็นเงินหลัก หลายร้อย ล้านได้อย่างไร ดิฉนั ก็สนใจทีจ่ ะทราบทีม่ าทีไ่ ปเช่นกันจึงได้ ขออนุญาตคุณอิว๋ ไปสัมภาษณ์คณ ุ แม่โดยตรงเลย จะได้ขอ พรจากท่านด้วยไปในตัว ซึ่งคุณแม่ก็น่ารักมาก มีเมตตา และเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้ฟังโดยไม่เคอะเขินเลยทีเดียว คุณแม่ผ่องพรรณเริ่มเล่าให้ฟังว่า ความจริงแม่ เริ่มท�ำขนมขายมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 โดยเริ่มท�ำขนมปุ๊ (เหมือนขนมสาลี่ของจังหวัดสุพรรณบุรี) ขายใน ตลาด ต�ำบลริมปิง จังหวัดล�ำพูน โดยผ่านการเรียนท�ำขนมประ เภทเบเกอรีม่ าจากแม่จนั ติบ๊ ทีเ่ ป็นกุก๊ อยูโ่ รงพยาบาลแมค คอร์มคิ ประกอบกับความรักในการท�ำขนมและขนมของแม่กอ็ ร่อยด้วย (หัวเราะ) แม่ก็ทดลองท�ำขนมอย่างอื่นไปเรื่อยๆ และไม่ว่าย้ายตามคุณพ่อไปอยู่ที่ไหน ก็ท�ำ ขนมขายอยูท่ กุ ทีเ่ หมือนกัน จนกระทัง่ ตอนทีย่ า้ ยไปอยูพ่ ษิ ณุโลก ตอนนัน้ คิดอยูว่ า่ จะเป็นอย่างไรเพราะมีเงินเก็บอยูแ่ ค่ 600 บาท แต่กต็ ดั สินใจทีจ่ ะลงทุน โดยไปซือ้ เตาอบเล็กๆ ราคา 450 บาท เหลืออีก 150 บาท ก็ซื้อแป้ง ไข่ น�้ำตาล เงินหมด พอดี ก็น�ำกลับไปท�ำขนม เอแคลร์ ก็ยังไม่รู้จะไปขายที่ไหนอยู่ดี ก็ตัดสินใจพาน้อง อิ๋วไปนั่งขายที่หน้าร้านที่ไปซื้อเตาอบนั่นแหละ(ร้านก๊กหลี) แม่คิดว่าขนมเอแคลร์ รูปหัวเป็ด ก้อนละ 1 บาท นี่แหละที่เป็นจุดก�ำเนิด ผึ้งน้อยเบเกอรี่ จนทุกวันนี้ เมื่อตอนย้ายกลับมาอยู่ที่เชียงใหม่ในปี 2527 ก็คิดจะสร้างยี่ห้อของ ตัวเอง ก็ได้จำ� ค�ำที่พระเทศน์ไว้ในเรื่องของผึ้ง โดยพระท่านได้อุปมาชีวิตคนที่จะ ประสบความส�ำเร็จได้ต้องมีลักษณะเหมือนผึ้ง คือ “ขยันท�ำกิน ไม่บินสูงนัก รัก ความสะอาด ฉลาดสะสม นิยมสามัคคี” แล้วก็นึกถึง หนัง TV เรื่อง ผึ้งน้อยพเนจร ที่น้องอิ๋วชอบดูตอนเด็กๆ เพราะชีวิตครอบครัวก็พเนจร จึงคิดตั้งชื่อ ผึ้งน้อย เพื่อ เตือนใจตัวเองยามท้อแท้ เมือ่ ได้ชอื่ แล้วจึงเอาค�ำว่าเบเกอรีม่ าต่อ เพราะเราท�ำขนม นั้น เลยกลายเป็น ผึ้งน้อยเบเกอรี่ ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา จวบจนวันนี้ ย้อนกลับมาที่คุณอิ๋ว ทายาทรุ่นที่ 2 ของธุรกิจ ที่คุณแม่ชื่นชมอยู่ตลอด เวลาในความมุ่งมั่น อดทน และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการประกอบธุรกิจ ตั้งแต่เป็น


“ขยันทำ�กิน ไม่บินสูงนัก รักความ สะอาด ฉลาดสะสม นิยมสามัคคี”

เด็กๆ ที่คอยเป็นมือไม้ให้คุณแม่มาโดยตลอด และความคิดของคุณอิ๋ว ทีใ่ ห้เปิดชัน้ วางสินค้าโดยไม่ตอ้ งปิดกระจก และให้ลกู ค้าเป็นผูเ้ ลือกสรร และ เลือกหยิบจับเองใส่ถาดที่เราเตรียมให้ (self service) นับเป็น ไอ เดีย สุดเจ๋งของคุณอิ๋ว ที่เกิดขึ้นเป็นแห่งแรกในเชียงใหม่ เมื่อปี 2536 ที่ ห้างตันตราภัณฑ์ แอร์พอร์ตพลาซ่า (ห้างเซ็นทรัลแอร์พอร์ตพลาซ่า ปัจจุบัน) และที่ส�ำคัญทุกท่านจะเห็นได้ว่า ในร้าน ผึ้งน้อยเบเกอรี่ มี ลูกค้าที่หลากหลายทุกระดับเข้าไปใช้บริการ ดิฉันจึงเชื่อว่า ผึ้งน้อย เบ เกอรี่ เป็นแบรนด์ที่ทุกคนเข้าถึงจริงๆ ค่ะ ก่อนจะจากกันในฉบับนี้ ดิฉันขอน�ำเอาค�ำพูดของคุณแม่ ผ่องพรรณ ปาละพงศ์ ผู้ก่อเกิดต�ำนาน ผึ้งน้อยเบเกอรี่ มาฝากทุกท่าน ค่ะ “การค้าขาย เราท�ำธุรกิจต้องซือ่ สัตย์ตอ่ ลูกค้า

และยึดคุณสมบัติของผึ้ง คือ ขยันท�ำกิน ไม่บินสูงนัก รักความสะอาด ฉลาดสะสม นิยมสามัคคี ” แล้วพบกันใหม่ สวัสดีค่ะ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


รทร.จตุรยุทธ พรมนิล สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

ห้าเหตุผลสำ�คัญ ที่เราควรให้การ สนับสนุนมูลนิธิโรตารี โดย Antoinette Tuscano ข่าวสารโรตารีสากล 12 พฤศจิกายน 2553 การทีค่ ณ ุ ได้ตดั สินใจเสียสละให้แก่มลู นิธนิ นั้ ในอีกทางหนึง่ ก็เท่ากับว่าคุณได้มมี มุ มองและความเข้าใจต่อโลกที่ดีขึ้น มีความปรารถนาดีต่อเพื่อนมนุษย์มากขึ้น มีความเข้าใจ ในแง่คดิ ของสันติภาพมากขึน้ และเข้าใจถึงความส�ำคัญของการพัฒนาสาธารณสุขและการ ศึกษามากขึ้นไปพร้อมๆกับการลดภาวะความยากจนของพลโลกเช่นเดียวกัน มีหลายๆเหตุผลที่คนทั่วโลกได้ให้การสนับสนุนกิจกรรมของมูลนิธิโรตารี ซึ่ง เปรียบเสมือนการท�ำสิ่งที่ดีต่อโลกของเราเช่นกัน การเสียสละหรือบริจาคเงินเพียงเล็กน้อยของคุณนั้น ก็เท่ากับคุณได้สนับสนุน กิจกรรมหลักห้าถึงหกประการของมูลนิธิฯ โดยการบริจาคเงินเพียง 100 เหรียญสหรัฐฯ เพื่อสมทบให้กับโครงการที่มีชื่อว่า “โรแทเรียนทุกคนและทุกปี : Every Rotarian,Every Year (EREY)” นั้น นอกจากจะท�ำให้คุณได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกถาวรของมูลนิธิโรตารีแล้ว เงินทุกเหรียญจากการบริจาคนี้ก็จะเป็นแหล่งทุนส�ำคัญของกิจกรรมต่างๆของมูลนิธิฯ อีก ด้วย และต่อไปนีก้ ค็ อื กิจกรรมหรือโครงการหลักๆ ทีค่ ณ ุ สามารถเข้าเป็นส่วนร่วมและ สร้างความเปลี่ยนแปลในทางที่ดีแก่โลกได้

ล�ำดับที่ 5 . การต่อสู้กับความหิวโหย

เด็กก�ำพร้าและเด็กทีเ่ จ็บป่วยในโรมาเนียหลายคน ได้มโี อกาสรับประทานอาหาร เนื้อ นม และไข่ไก่ จากเกษตรกรในท้องถิ่นใกล้เคียง ซึ่งเกษตรกรเหล่านั้นเป็นผู้ทีได้รับการ สนับสนุนทางการเงินจากมูลนิธิโรตารี โดยพวกเขาจะน�ำส่วนทีได้รับการช่วยเหลือ เหล่า


นั้นไปซื้ออาหารสัตว์และ การบรรจุหีบห่อผลิตภัณฑ์เกษตร ของตนก่อนจะส่งไปให้เด็กที่ยากไร้เหล่านั้น ภายใต้เงื่อนไข ในการให้ความช่วยเหลือที่ว่า เกษตรกรเหล่านั้นต้องบริจาค รายได้ส่วนหนึ่งจากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ของตนให้แก่โรง พยาบาลเด็ก โรงเรียน และสถานสงเคราะห์เด็กก�ำพร้าด้วย ส่วนในอลาสก้านั้น สโมสรโรตารีแองเคอเรจตะวัน ออกได้รว่ มต่อสูก้ บั ความหิวโหยด้วยโดยการบริจาคอาหารแก่ ครอบครัวที่ยากจน ผ่านโครงการครัวเคลื่อนที่ของสโมสรฯ ซึ่งโครงการเหล่านี้ นอกจากจะช่วยพัฒนาสุขภาพของทั้ง มารดาและเด็ ก ๆ แล้ ว ยั ง เป็ น ส่ ว นหนี่ ง ที่ จ ะช่ ว ยพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมของแต่ละชุมชนได้อีกด้วย

4. การลดอัตราการเสียชีวิตของเด็ก

สโมสรโรตารี Jaela-Kandana แห่งศรีลังกาและ สโมสรโรตารีมัทราสตะวันออกเฉียงใต้ รัฐทมิฬนาดู ประเทศ อินเดีย ได้ร่วมด�ำเนินโครงการเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของ เด็กๆ โดยการให้ความช่วยเหลือด้านการปรับปรุงสุขสภาวะ ให้แก่ครอบครัวจ�ำนวน 15 หลังคาเรือนในชุมชนเล็กๆแห่ง หนึ่งในศรีลังกา ภายใต้การให้การสนับสนุนทางการเงินจาก โครงการ Matching Grant ของมูลนิธิโรตารี ซึ่งความช่วย เหลือดังกล่าวได้แก่การสร้างห้องสุขา 14 ห้อง การท�ำโครงการ ป้องกันโรคท้องร่วง และโรคจากการบกพร่องทางสุขภาวะ จากสถิตขิ ององค์การอนามัยโลกนัน้ พบว่าในแต่ละ ปีจะมีเด็กทั่วโลกกว่า 1.8 ล้านคนเสียชีวิตเนื่องจากโรคท้อง ร่วง และจัดเป็นสาเหตุการตายสูงสุดอันดับสองของเด็กๆ อายุ ต�ำ่ กว่า 5 ขวบจากทัว่ โลก และว่าภาวะโภชนาการทีด่ แี ละ สุข ภาวะที่เหมาะสมนี้จะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตนี้ได้ โดยการ ให้ความส�ำคัญไปที่การ จัดหาน�้ำดื่มน�้ำใช้ที่สะอาดและการ ปรับปรุงสุขภาวะให้แก่ชุมชนต่างๆ

3. การส่งเสริมสันติภาพและการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง

ผู้ได้รับทุนจากมูลนิธิโรตารีชื่อ Kouame Remi Oussou เป็นหนึ่งในผู้ทีเคยได้พบเห็นและได้รับผลกระทบ จากสงครามกลางเมืองบ้านเกิด Côte d’Ivoire instilled และ มันได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้เขาพยายามริเริม่ โครงการเพือ่ สันติภาพและลดความขัดแย้งของโลกในที่สุด ตอนนี้เขาได้เข้าท�ำงานกับ โครงการพัฒนาแห่ง สหประชาชาติในพืน้ ทีต่ อนกลางของสาธารณรัฐอาฟริกา ซึง่ มี ปัญหาความรุนแรงและ การต่อสู้กันเองภายในประเทศ ก่อน ที่ปัญหาเหล่านั้นจะคลี่คลาย และได้รับสันติภาพกลับคืนมา ในปี 2007 ผู้ได้รับทุนสันติภาพโรตารีนั้น จะด�ำเนินบทบาท

ส�ำคัญในการส่งเสริมความร่วมมือ สันติภาพและการลดความ ขัดแย้งทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยการ ท�ำงานร่วมกับศูนย์สันติภาพโรตารี ซึ่งให้ความส�ำคัญกับการ สร้างเสริมสันติภาพและ ลด/ป้องกันความขัดแย้งของโลกเป็น อันดับแรก

2. การศึกษาขั้นพื้นฐานและการส่งเสริมการ อ่านออกเขียนได้ การศึกษาคือสิง่ ทีช่ ว่ ยสร้างชีวติ ของคนเรา ถึงแม้คน คนนั้นจะอยู่ในเมืองห่างไกลกันดารหรือ ประเทศที่แตกแยก เพราสงครามก็ตาม ตัวอย่างของการพัฒนาคนด้วยการศึกษา นี้ก็เช่นโครงการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ ของโรตารีจาก สหรัฐอเมริการ่วมกับสมาคมการอ่านนานาชาติ ซึ่งช่วยให้ผู้ อพยพชาวซูดาน สามารถสร้างชุมชนและสังคมของพวกเขา ขึ้นอีกครั้งโดยการสนับสนุนให้พวกเขาได้รับการศึกษา และ ให้การศึกษากับเยาวชนรุ่นต่อไป โครงการสร้างครูแก่ผู้อพยพซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีใน นาม “เด็กชายและเด็กหญิงผู้สูญเสียแห่งซูดาน” ได้เริ่มขึ้น ควบคูก่ บั สงครามกลางเมืองทีย่ าวนานนับทศวรรษ ของซูดาน โดยการสอนให้ครูทั้งหลายรู้จักใช้สื่อการเรียนการสอน การ แนะแนวทางการศึกษา และการฝึกสอนเด็กอนุบาลจนถึง มัธยมศึกษาปีที่สอง โดย John Dau หนึ่งใน”เด็กชายผู้สูญ เสียแห่งซูดาน” และเป็นทั้งนักมนุษยชนและผู้ก่อตั้งมูลนิธิ เพือ่ การศึกษาในนามของเขาเอง ได้ให้ความเห็นว่า ผูอ้ พยพที่ กลับมาจากค่ายผู้ลี้ภัย ซึ่งได้กลับมาเริ่มตั้งต้นชีวิตใหม่อีกครั้ง ทีเ่ ขต Duk นัน้ ต้องการหนังสือ การเรียนการสอนและอุปกรณ์ ส�ำหรับการเรียนหนังสือเป็นอย่างมาก

1. การก�ำจัดโรคโปลิโอ

หากจะนับเป็นระยะทางในเชิงตัวเลขแล้ว นับได้วา่ โรแทเรียน จากทั่วโลกได้เดินเท้ามาราธอนร่วมกันกว่าหนึ่งล้านไมล์ ได้ ด�ำลึกลงไปใต้ผืนน�้ำแข็งที่เย็นเฉียบในมหาสมุทร และร่วมกัน ระดมทุนเพือ่ ช่วนโรตารีในการก�ำจัดโปลิโอให้หมดไปจากโลก นี้ ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ Si Burgher สมาชิกของสโมสรโรตารี บลูมฟีลด์ รัฐอินเดียน่า สหรัฐอเมริกา ผู้ซึ่งระดมทุนจ�ำนวน 1,600 เหรียญสหรัฐจากการรับกันแต่งคิ้วเพื่อกิจกรรมการ กุศลนี้ โรตารีได้เริ่มโครงการโปลิโอ พลัสขึ้นในปี 1985 และหลังจากนั้นมากิจกรรมการก�ำจัดโรคโปลิโอก็ได้กลายมา เป็นวาระส�ำคัญอันดับต้นๆของโรตารี โดยมีโครงการ “หยุด โปลิโอเสียตอนนี้ : End Polio Now” เป็นเครื่องยืนยันให้ ทุกท่านได้ประจักษ์แล้วถึง ค�ำมั่นสัญญาในภารกิจหลักของ โรตารี ประการนี้

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


อน.ดร.กอบกิจ อิสรชีววัฒน์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตก

“วัยรุ่นเปี๋ยนไป หรือ สังคมเปลี่ยนแปลง”

แหมผ่านไปเดี๊ยวๆ เดียว ก็จะใกล้เข้าสู่ครึ่งเทอมแล้วนะเนี่ย..หลายคนก็ สบายใจ หลายคนก็ก�ำลังทุกข์ร้อน เพื่อจะรับงานบริหารสโมสรต่อกันไปของรอบปี หน้า คิดเสียว่า “เดียวๆ ก็จะชินไปเอง ชิมิ ชิมิ” ฉบับนี้เราได้หนุ่มหล่อจากสโมสร เชียงใหม่ตะวันตกเขียนมาช่วยเสริมแรง นี่ขนาดเพิ่งสละโสดไฟแรงดีแต้ๆ เหลือ หลาย ลีลาการเขียนดีมาก ท�ำให้ผู้อ่านได้อรรถรสและเพื่อเสริมกันชนกับเด็กๆ สมัยนี้ยุคนี้ อือ คงจะดีไม่น้อย..ลองสัมผัสงานเขียนได้เลยครับ. เอกวุฒิ “ดูสิเด็กวัยรุ่นเดี๋ยวนี้มันเป็นยังไงกันนะ ผู้หญิงใส่ซะ สัน้ เชียว แหวกหน้าแหวกหลัง ไม่โชว์บนก็โชว์ลา่ ง ฮ้อย เด็กผูช้ าย ก็เหมือนกันใส่กางเกงหลุดตูด บ๊อกเซอร์โชว์อยูเ่ ห็นๆแหมก็นา่ ดู ซะเมื่อไหร่กัน โอ๊ย ยิ่งพูดด้วยยิ่งมีศัพท์แปลกๆ ฟังแล้วเวียนหัว ปวดกระบาน” นีอ่ าจจะเป็นประโยคบอกเล่าในบทความนี้ แต่ในชีวติ จริงนี่คือ เสียงบ่นของผู้ใหญ่ที่มีมุมมองที่แตกต่างจากวัยรุ่นใน ปัจจุบัน นี่เป็นแค่ความคิดที่แตกต่างเพียงอย่างเดียวหรืออาจ เป็นเพราะสังคมที่เปลี่ยนไปด้วย ถ้าหากว่าเราจะพูดถึงพฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นไปของวัยรุน่ ต้องนึกถึงเยาวชนทีม่ อี ายุ ตัง้ แต่ 10–19 นีค้ อื วัยรุน่ ซึง่ พฤติกรรม วัยรุน่ จะมีความเปลีย่ นแปลงแตกต่างกันไป แล้วแต่สงั คมซึง่ เรา ไม่สามารถที่จะเหมารวมหมดทุกคนว่า วัยรุ่นสมัยนี้เป็นแบบนี้ กันทั้งหมด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องขึ้นอยู่กับสังคม สภาพแวดล้อม การศึกษา ที่ส�ำคัญ ครอบครัวเป็นปัจจัยหลัก ที่เราจะพูดถึงคือ วัยรุ่นที่ตอนนี้เราเห็นถึง ความแตกต่างกันมากไปกว่ายุคของ พวกเรา เรามาพูดถึงการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดเจนกันดีกว่า ครับ คือ การรักนวลสงวนตัว และการแต่งกายทั้งวัยรุ่นชาย และหญิง สังคมไทยในปัจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อันเป็นผลเนื่องมา จากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การรับ เอาแบบอย่างวัฒนธรรมของประเทศตะวันตกเข้ามา ท�ำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ที่สะท้อนความงามหรือไม่งาม ในด้านต่างๆที่เกิดขึ้นอย่างที่เราเห็นกัน เช่น การแต่งกายวัยรุ่น สมัยนี้จะแต่งตัวเรียนแบบดารา ตามกระแสแฟชั่น สั้นแค่ไหน ก็ใส่ได้ โดยจะบอกว่าไม่แคร์สื่อ ไม่สวยไม่เริดท�ำไม่ได้ ความ

ฟุ้งเฟ้อ วัตถุนิยม และวัยรุ่นชายก็ใส่กางเกงติดขาซะเล็กเชียว กางเกงจะหลุดไม่หลุดแหล่ บ๊อกเซอร์ซักรึเปล่าก็ไม่รู้ นี่คือภาพ ทีเ่ ราเห็นในปัจจุบนั นี้ แต่กย็ งั มีวยั รุน่ อีกหลายกลุม่ หลายทีย่ งั แต่ง กายทีด่ แู ล้วไม่ขดั หูขดั ตากับผูใ้ หญ่บางคนอยูบ่ า้ ง แต่เราพูดเรือ่ ง ความเปลี่ยนไปที่เห็นได้ชัดเจนกันก่อนนะครับ 1. วัยรุน่ ในมุมมองของตัวเค้าเองเพราะเขาอยูใ่ นสังคม กลุ่มของวัยรุ่นด้วยกัน ไม่ได้พบปะกับผู้หลักผู้ใหญ่เพราะฉะนั้น กรอบของการแต่งกายคงต้องเป็นแบบวัยรุ่นในสังคม หรือ สิ่ง แวดล้อมที่เขาเป็นกัน เช่นอยู่กับกลุ่มที่ชอบแนวเกาหลีการแต่ง กายก็จะเป็นแบบเกาหลี ทรงผมก็มีสีสันมากขึ้น เหวี่ยงซ้าย เหวี่ยงขวา บ้างเขาจึงคิดว่าเขาไม่ได้ท�ำผิดกฎระเบียบสังคม พร้อมกับปัจจุบันนี้สื่อต่างๆ ที่ออกมาภาพที่เราเห็นวัยรุ่นสวม ใส่ก็อยู่ในสื่อนั้นๆ เพราะฉะนั้นเรื่องการแต่งกาย ถ้าหากพวก เขาอยูใ่ นสังคมแบบไหนคงต้องเป็นแบบนัน้ แหละครับ ก็เหมือน จิง้ จกเปลีย่ นสี ถ้าหากเด็กวัยรุน่ โตขึน้ เป็นวัยกลางคนท�ำงานก็จะ ปรับสภาพตัวเองเปลี่ยนแปลงตัวเอง ตามยุคตามสภาพสังคม นั้นครับ เพราะฉะนั้นการแต่งกายขอให้ทางครอบครัวเป็นคน แนะน�ำให้แต่งแบบแนวเขาได้แต่ก็ขอให้ถูก กาละกับเทศะครับ ซึ่งไม่ได้เป็นปัญหาส�ำคัญ ปัญหาส�ำคัญมันอยู่ที่ข้อที่ 2 2. การเปลีย่ นแปลงของอารมณ์และความคิด ปัจจุบนั เทคโนโลยีกา้ วหน้า สือ่ ต่างๆสามารถเข้าถึงกลุม่ วัยรุน่ ได้งา่ ย และ เร็ว สือ่ ทางอินเตอร์เน็ตตอนนี้ เป็นสือ่ ทีส่ ามารถควบคุมความคิด และอารมณ์ของวัยรุ่นเป็นอย่างมาก ความคิดของวัยรุ่นที่เคยมี ความคิดเปรียบเสมือนผ้าขาวๆ แต่ก็อาจจะมีรอยเปื้อนบ้าง แต่ ปัจจุบนั นีภ้ าพทีอ่ อกมาในพฤติกรรมทางเพศ ทีเ่ ข้ามามีบทบาท ต่อการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันมากขึน้ โดยเฉพาะกับกลุม่ คนทีเ่ รียกว่า “วัยรุ่น” กับการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมที่กล้าแสดงออก


ชิมิ ชิมิ มากขึ้น ทั้งด้านการแต่งกาย การคบเพื่อนต่างเพศ หรือ เรื่อง ของเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นในปัจจุบัน มักจะกล้าคบเพื่อนต่างเพศกันมาก ขึ้น เพราะมักจะคิดว่าการคบเพื่อนเพศเดียวกันน่าเบื่อ เรื่อง มาก ถ้าคบเพื่อนต่างเพศสบายใจกว่า ไม่เรื่องมาก และเป็นสิ่ง โก้เก๋ ซึ่งความสัมพันธ์ของการคบกันระหว่าง ชาย – หญิง ใน ปัจจุบนั มักจะจบลงทีก่ ารมีเพศสัมพันธ์กนั ไม่วา่ จะเป็นการรูจ้ กั กันแค่ระยะเวลาอันสั้น หรือคบกันมานานจนได้เวลาพิสูจน์ถึง ความรักที่มีต่อกันแล้วก็ตาม นี่คือสิ่งที่น่ากลัวมากส�ำหรับเรื่อง ของความคิดทีเ่ ปิดกว้างมากเกินไป โดยไม่ได้มกี รอบไว้ท�ำให้เรา ได้เจอกับภาพข่าวตาม โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือวิทยุ หรือแม้ กระทั่งทางอินเตอร์เน็ตก็ตาม สาเหตุที่วัยรุ่นเปลี่ยนแปลง น่าจะมาจากปัจจัยทาง สังคมชอบทดลองวัยรุ่นเป็นวัยที่อยากรู้ – อยากเห็น ชอบ ทดลอง โดยปัจจุบันมีสิ่งยั่วยุต่างๆ ที่เป็นแรงผลักดันให้วัยรุ่น แสดงออกและมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น แผ่นซีดี หนังสือการ์ตูน อุปกรณ์ ซึง่ ปัจจุบนั สิง่ ต่างๆเหล่านี้ ก็หาซือ้ ได้งา่ ยขึน้ ทัง้ ทีส่ งั คม ไทยในสมัยก่อน ไม่ค่อยจะยอมรับกับสิ่งต่างๆ เหล่านี้ แต่ใน ปัจจุบันกลายเป็นเรื่องปกติธรรมดาไปเสียแล้ว ส�ำหรับสังคม ไทย บางครั้งการปล่อยให้วัยรุ่นค้นคว้าศึกษาชีวิตวัยรุ่นด้วยตัว เอง โดยไม่มกี ารชีแ้ นะแนวทางก็อาจจะท�ำให้อารมณ์และความ คิดของวัยรุน่ เปลีย่ นไป แต่บางครัง้ ถ้าเรามองกลับกันก็ใช่วา่ จะมี แต่เรื่องเลวร้ายอย่างเดียว เรื่องดีๆก็มีที่เกิดจากการศึกษาทาง สื่อ เพราะฉะนั้นการแนะน�ำสื่อและการเป็นผู้คอยให้ค�ำแนะน�ำ วัยรุ่นในทางที่ดีก็จะท�ำให้วัยรุ่นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคตได้ 3. ภาษาทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป วัยรุน่ ถือว่าศัพท์ทใี่ ช้เฉพาะ กลุม่ เป็นสิง่ ทีเ่ ท่ห์ อินเทรน เช่น ชิมิ ชิมิ , น�ำ้ เปล่า เป็นน�ำ้ เป – ล่า , จุ๊บุ๊ , ฯลฯ ซึ่งประโยคที่มองแล้วไม่ได้เลวร้ายอะไรเลย ส�ำหรับ ภาษาพูด แต่ ภาษาเขียนนี่สิครับ ปัจจุบันไม่แค่วัยรุ่นเท่านั้นที่

ใช้ภาษาที่เปลี่ยนไปบัญญัติศัพท์ใหม่มาอีก จาก อะไร เป็น อา ราย จากพี่ เป็น เพ่ ไป เป็น ปาย ตัวหนังสือขะยึกคะยือ มัน จะท�ำให้เด็กติดเป็นนิสัย พอถึงเวลาท�ำงานจริงหรือใช้งานจริง กลับใช้ศัพท์ที่เป็นศัพท์ที่ถูก ความเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นเหล่า นี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ กระผมคิดว่าเปลี่ยนแปลง ตามยุคสมัย ถ้าหากไม่เป็นแบบนี้ก็จะเป็นอีกแบบหนึ่งซึ่งช่วงนี้ เป็นช่วงที่เขาต้องการแสดงความโดดเด่น ของตัวเองออกมาไม่ ทางใดก็ทางหนึ่ง ดังนั้นพวกเราก็คงต้องท�ำใจนิดหน่อยเพราะ พอถึงช่วงที่เขาโตเป็นผู้ใหญ่ขึ้น เขาก็เป็นแทนพวกเราไปโดย อัตโนมัติ แล้วเขาก็จะมาเขียนบทความแบบนี้เหมือนกระผมใน ตอนนี้แหละครับ 4. พฤติกรรมในการเลียนแบบ ยึดติดกับวัตถุมากขึ้น ค่านิยมที่เปลี่ยนไป พูดถึงเรื่องของ พฤติกรรมในการเลียนแบบ ไม่ใช่แค่วยั รุน่ ในยุคนี้ แต่ยคุ ต่างๆก็เป็นกันแบบนี้ แต่บางครัง้ สือ่ มีมากเกินไปเห็นกันซ�้ำจนชินตา ท�ำให้การเลียนแบบตามดารา หรือบุคคลที่ชื่นชอบ เป็นเรื่องปกติบางครั้งลืมมองถึงเรื่องวัย อายุ ความเหมาะสม หรือแม้กระทั่งค่าใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือย บาง คนครอบครัวไม่มีเงินมากพอที่จะให้ซื้อเสื้อผ้าหรูๆ แพงๆ แต่ อยู่กับพวกเพื่อนที่พ่อแม่รวยๆ ก็ต้องหาวิถีทางเพื่อจะได้มาซึ่ง วัตถุเหล่านี้ จนบางครั้งก็กลายปัญหาสังคมแค่เพื่อสนองความ ต้องการของตัวเองและเพื่อให้เพื่อนยอมรับตัวเอง นีก่ เ็ ป็นตัวอย่างทีเ่ ราได้เห็นกันชัดเจน ในสังคมไทยใน ปัจจุบนั เราก็คดิ มุมมองแบบเรา แต่วยั รุน่ เอง เขาอยูก่ บั สังคมวัย รุ่นด้วยกัน ก็มีเหตุผลที่ต้องท�ำพฤติกรรมแบบนั้น ต่างคนต่างมี เหตุผลของตัวเอง แต่เราจะท�ำอย่างไรให้เหตุผลของหลายๆฝ่าย ไปด้วยกันได้ สังคมไทยควรปรับปรุงเรื่องใด ครู ครอบครัวมีผล บาทในสังคมแค่นี้ เพียงแค่ท่านท�ำหน้าที่ของตนที่ดี มองโลกได้ หลายมุมมอง รู้จักใจเขาใจเรา บางครั้งสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปของ วัยรุน่ ในอนาคตก็คอื พฤติกรรมของผูใ้ หญ่ในปัจจุบนั นัน้ เองครับ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม ๒๕๕๓


สวัสดีค่ะมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน เวลาผ่ า นไปไวเหมื อ นโกหก หลาย ท่านคงจะรู้สึกเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะ บก.วาณิช โยธาวุธ คงจะอยากหยุด เวลาไว้ ทุ ก ครั้ ง ที่ ค รบก� ำ หนดทวง ต้นฉบับจากคอลัมนิสต์และ ปิดเล่ม สารผู้ว่าการภาค ปีนี้ บก.คนเก่งของ

นย.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนาเชียงใหม่

เรารับหลายจ๊อบ เท่าที่ทราบก็มีนิตยสารโรตารีประเทศไทย และสารฯ ออนไลน์ของสโมสรโรตารีแม่สาย แหม..ผลงานหลากหลายและเปี่ยมไป ด้วยคุณภาพแบบนี้ ต้องขอชืน่ ชมคนกันเองก่อนใคร...** การประชุมโรตารี อินสติติวท์หรือ “2010 Bangkok Rotary Institute” ของโซน 6B,7A และ 10B ที่โรตารีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพเมื่อวันที่ 19-21 พย. 2553 ณ โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์พาร์ค กรุงเทพ มีผู้เข้าร่วมประชุมกว่า 1,200 คน ซึ่งภาค 3360 มี อผภ.ดร.ศุภวัตร ภูวกุล เป็นรองประธานจัดงาน...ท่านได้ ท�ำหน้าทีห่ ลายอย่าง อาทิ น�ำร้องเพลงก่อนเริม่ ประชุมทุกวัน, กล่าวน�ำเพือ่ โรตารีสากล และต้อนรับแขกวีไอพี แม้กระทั่งงานภาคค�่ำ ที่ผู้เข้าประชุม แต่ละชาติจะแต่งกายด้วยชุดประจ�ำชาติ แม้ท่านจะเตรียมชุดไทยไปแต่ก็ ไม่มเี วลาไปเปลีย่ นชุด เพราะท่านต้องท�ำหน้าทีเ่ จ้าภาพคอยต้อนรับแขก... ท�ำหน้าที่แบบซุปเปอร์แมนของโรตารีจริงๆ ...**วิทยากรจากภาค 3360 ในงานเดียวกันนีก้ ค็ อื ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ทีร่ ว่ มน�ำเสนอใน เรื่อง “TRF’s Future Vision Plan: Strategies & Implementation” จะเห็นว่าผู้ว่าการภาคของเรา Expert เรื่องแผนวิสัยทัศน์จริงๆ แถมมี ตัวอย่างของภาคเราน�ำเสนอให้เห็นของจริงกันเลยทีเดียว...** วิทยากร อีกท่านหนึ่งคือ ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรือง ที่น�ำเสนอในเรื่อง Practical Strategic Plan for 4 Avenues of Service: Bigger, Better & Bolder Clubs and Districts …** พาไปพบกับการประชุมระดับโซนแล้ว ก็กลับ มาพบกับการประชุมระดับภาคของเรากันดีกว่า... เครือฟ้าติดภารกิจไม่ได้ ร่วมประชุม ก็ได้เอือ้ งผึง้ เมืองสุพรรณช่วยรายงานข่าว...เชิญพบกับเอือ้ งผึง้ เมืองสุพรรณได้เลยค่ะ... สารผูว้ า่ การภาคฉบับนีเ้ ป็นฉบับเดือน ตุลาคม 2553 อาจช้าไป พอควรเนือ่ งจากล่าช้าสะสมมาอย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีเ่ ขียนนีเ้ ป็นวันลอย กระทง วันเพ็ญเดือน 12 ขึ้น 15 ค�่ำพอดี ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครองทุกท่าน และประชากรโลก ได้รับแต่ความสุข พ้นทุกข์พ้นภัย ด้วยประการทั้งปวง หลายจังหวัดทัว่ ประเทศ จัดงานฉลอง วันลอยกระทงอย่างยิง่ ใหญ่ ต่างได้ ร่วมกันสืบสานวัฒนธรรมอันทรงเสน่หข์ องไทยนี้ อวดโฉมต่อชาวไทย ชาว เทศ และชาวโลกอย่างยิง่ ใหญ่ โดยเน้นใช้วสั ดุธรรมชาติ อย่างสวยงาม และ ไม่ทำ� ลายสิง่ แวดล้อม... ** ในวันเสาร์ที่ 13 พย. 2553 ทีผ่ า่ นมา สร.แม่สาย โดย ผชภ.วิชยั ศรีพธูราษฎร์ ได้รบั มอบหมายจาก ผวภ.นพ. วีระชัย จ�ำเริญ ดารารัศมี เป็นประธานจัดการประชุมระหว่างเมือง (Inter-City Meeting) ณ โรงแรมแม่โขงเดลต้า อ.แม่สาย จ.เชียงราย เจ้าภาพจัดงานได้อย่างยิ่ง ใหญ่ โดยสถานที่ประชุมทุกสิ่งทุกอย่างใหม่ซิงๆ ทุกชิ้น ตั้งแต่ห้องเชียง ตุง ซึ่งใช้เป็นห้องประชุม สียังใหม่เอี่ยม โต๊ะเก้าอี้ทุกตัวใหม่เอี่ยมพร้อม ใช้ในวันประชุมพอดี ตลอดจนหนังสือที่ระลึกงาน Inter-City ซึ่งแพ็ค คู่กับหนังสือที่ระลึกครบรอบ 30 ปีสร.แม่สาย ก็มาถึงชนิดอุ่นๆ ร้อนๆ เลยทีเดียว ก็ต้องขอปรบมือให้ บก.คนเก่ง ด้วยฝีมือคุณภาพ หนังสือปก สีขาว สวยหรู มีพระเอก นางเอกครบครัน สวยหล่อไม่น้อยหน้ากันเลย เชียว ...** ส่วนพิธีกรคู่ขวัญ หล่อเหลากินกันไม่ขาด อน.ตระสัก ศรีธิพร รณ์ และ อน.พงษ์เทพ อินทรานุปกรณ์ ต่างเตรียมพร้อมด�ำเนินรายการ อย่างดีเยีย่ ม มาแจมด้วยเป็นบางช่วง อดีตนายก ขาวหล่อสีไม่มตี ก อน.ไพ รัตน์ มณีวรรณ และ อน.วาณิช โยธาวุธ …** พิธีเปิดงาน เลิศหรูอลังการ และการแสดงที่สวยงามจากความสามารถเฉพาะกิจของน้องๆ สโมสร อินเตอร์แรคท์ รร.แม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ ทั้งพิธีเปิดและการแสดงของ น้องๆ ต่างได้รับความชื่นชม และชื่นชอบ สร้างความประทับใจ แก่ผู้ร่วม

ประชุมอย่างมากทีเดียว... ** หลังจากที่ ผวภ.นพ. วีระชัย จ�ำเริญดารา รัศมี เปิดประชุมอย่างเป็นทางการ ได้เปิดทาง ให้ประธานโครงการเยาวชน แลกเปลี่ยน อน.ตุลย์ สุวรรณรัตน์ และคณะกรรมการ YE ได้เป็นดาราน�ำ ของงานนี้ เหมือนได้ยกภูเขาออกจากอก ที่ได้มีโอกาสชี้แจงที่ไปที่มาของ การเงินย้อนหลังกลับไปอีก 4 ปีให้หลัง โดยผู้ตรวจสอบบัญชีภายใน อน. ธนิตา สังข์บุณยนิธิ เป็นผู้น�ำเสนอ หลายท่านที่ข้องใจเรื่องการเงิน คงจะ ทราบข้อมูลโดยทัว่ กัน ว่ารายละเอียดงบการเงิน ของโครงการเยาวชนแลก เปลี่ยน มีที่ไปที่มาอย่างไร ซึ่งสามารถติดตามรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ ของภาค 3360 ต่อไป...** เรื่องที่มีความส�ำคัญที่สุดในชั่วโมงนี้ หนีไม่ พ้นเรื่องการเพิ่มสมาชิกภาพ ประธานโครงการแก้ไขวิกฤตสมาชิกภาพ อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ เป็นหัวหน้าทีม มีการระดมสมองประมวล ความคิดเห็นอย่างเอาจริงเอาจัง จากกลุ่มต่างๆ ที่เข้าร่วมประชุมจ�ำนวน 200 เศษ โดยเจ้าภาพเราคาดการณ์ไว้ 250 คน ก็ต�่ำไปนิดหน่อยแค่เกือบ 50 เอง...** ก่อนปิดการประชุม สร.ในจังหวัดล�ำปาง น�ำทีมโดย ผวล. อนุรักษ์ นภาวรรณ ประธานจัดงานประชุมใหญ่ ได้โปรโมทงานประชุม ใหญ่ (District Conference) ที่จะถึงในเดือนมีนาคม 2554 อย่างคึกคัก ด้วยสไตล์คาวบอย ยอดเยี่ยมมาก ๆ …** สุดท้ายในยามราตรี “ROTARY NIGHT” อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ประธานมูลนิธิภาค ประกาศยกย่อง ผู้บริจาค ซึ่งมียอดขณะนี้ 1 แสนกว่าดอลลาร์สหรัฐแล้ว...** วันรุ่งขึ้น ROTARY TRIP มัณฑเลย์ ทัศนศึกษา สานสัมพันธ์ ไทย-เมียนมาร์ ประธาน จัดโดย อน.นันทวัตร ธารกกาญจน์ เช่าเครื่องบินเหมาล�ำ มีผู้ร่วมทริปถึง 65 ท่าน รวมทัง้ สโมสรโรตารีสาวล้วน จากภูเก็ต บินตรงมาร่วมทริปนีด้ ว้ ย เป็นทีส่ นุกสนานฮาเฮตามสไตล์โรแทเรียนไทยแลนด์…** คูร่ กั หวานแหวว แห่งปี ผชภ.ดร. กอบกิจ อิสรชีววัฒน์ สร.เชียงใหม่ตะวันตก บุตรชายสุด หล่อของ อน.ชาตรี อิสรชีวัฒน์ แห่งร้านวรวัฒน์พานิช สละโสดเสียแล้ว รับต�ำแหน่งเจ้าบ่าวสุดหล่อและเจ้าสาวสุดสวยแห่งปี มีผรู้ ว่ มงานเต็มห้อง แน่นเอี๊ยดของห้องจัดเลี้ยงชั้น 3 ศูนย์ประชุมนานาชาติ โรงแรมดิเอ็ม เพรส เมื่อวันที่ 14 พ.ย. 53…** ใกล้วันพ่อของชาวไทย เลขานุการภาค อน.วีรพงศ์ โตแสงชัย ท�ำหน้าทีแ่ ทน ผูว้ า่ การภาค ร่วมบันทึกเทปรายการ โทรทัศน์กล่าวค�ำถวายพระพร โดยมีกรรมการภาค, ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค, นายกสโมสร, และเลขานุการ สร.ในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นตัวแทนร่วม ถวายพระพรแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แทนชาวโรแทเรียน ภาค 3360… เหตุด้วย ผวภ. และ อผภ. ติดประชุม Rotary Institute ที่ กรุงเทพฯ กันหมดจ้ะ…** ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ที่ผ่านมา.. ไม่ ยอมตกเทรนด์ นย.จันทนี เทียนวิจติ ร แห่งสโมสรโรตารีลา้ นนา ได้จดั งาน ”ฮาโลวีนไนท์” หรือวันปล่อยผี มีมติ รโรแทเรียนและน้องๆ YE ร่วมกันแต่ง กายชุดผี ๆ มีตั้งแต่ผีแสนสวยผมยาวสีทอง (ใครเอ่ย) หมอผี ผีสวย ผีหล่อ และผีประหลาด ร่วมประกวดชุดแบบผี ๆ ได้อย่างสนุกสนาน…จริง ๆ จ้ะ ….ต้องขอขอบคุณเอื้องผึ้งเมืองสุพรรณหรือ อน. นฤชล อาภรณ์รัตน์ สาว เก่งแห่งสร.เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ที่ช่วยเขียนให้...** ผ่านไปเมืองแพร่เมื่อ 20 พย.ที่ผ่านมา ผชภ.สุภาภรณ์ สุขจรัส เป็นผูน้ ำ� คณะสมาชิก สร.แพร่ และ สร.สองมอบเครือ่ งกรองน�ำ้ ดืม่ สะอาด ทีร่ บั มอบจาก สถานฑูตสวิสเซอร์แลนด์ แห่งประเทศไทยโดยการประสาน ของ สร.กรุงเทพใต้ทั้ง 2 โรงเรียน ขยันขันแข็งอย่างนี้ ถึงว่าสวยวันสวย คืน เป็นกุหลาบสาวพันปี...** งานลอยกระทงเมืองแพร่ปีนี้สมาชิก สร. เวียงโกศัย สร้างความสนใจให้ไทยมุงอย่างน่าปลาบปลื้มยิ่ง โดยขนของ ในบ้านตัวเองออกมาทั้งเสื้อผ้า เครื่องประดับ กระเป๋า รองเท้าฯลฯ ที่ดีๆ สวยๆ มาท�ำเป็นของเก่า ไฮโซ โละทิ้ง ขายชิ้นละ 20 บาท แพงสุดไม่เกิน 50 บาท ลูกค้าทัง้ พวกเดียวกันเองและหลายๆ พวกเลือกรือ้ กันสนุก ถูกยิง่ กว่าได้เปล่า ต้องขอขอบคุณ อน.ธนิตา สังข์บณ ุ ยนิธิ ใจป�ำ้ ตัดชุดมาเป็นพัน ขายตัง้ 20 บาท รทร.โสภัทรา คงนคร เช่นกันเสือ้ ผ้าสวยๆโตไม่ทนั เป็นตัง้ ๆ รทร. อภิญญา สุขแสงศรี เป็นคนหาบู๊ท รทร.วิรชา ชัยชนะ บริจาคเสื้อผ้า แทบหมดตู(้ มัง้ ) โรตารีแอนน์ของ นย.ด�ำรงทรัพย์ อัศวรัตนากร พร้อมด้วย โรตารีแอนน์ นยล. สราวุธ วรรณนิรันดร์ ขนของมาช่วยกันทุกๆ คน เงิน ที่ได้จะน�ำไปท�ำกิจกรรมการกุศลของ สร.เวียงโกศัย ผชภ.นันทนา มั่งมี โต้โผยิ้มจนหุบไม่ลงจนบัดนี้…สาวเครือฟ้า


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.