5-DG-10 Nov-5

Page 1

05

“ให้สมปรารถนา” www.rotary3360.org


สโมสรโรตารีแม่สอด & เมืองฉอด

สนับสนุนสารผู้ว่าการภาคฯ ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓

November 2010 เดือนแห่วมูลนิธิโรตารี The Rotary Foundation Month

Content สารบรรณ

2-3. สารผู้ว่าการภาคฯ 4. ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 5. สารเลขาฯภาค 6-7. สถิติการเข้าประชุม 8-9. DGE’s Corner 10. สนเทศโรตารี 11. คุยกันที่ขอบเวที

12-14. กิจกรรม Activities 17. สารประธานโรตารีสากล 18. พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส 19. บทบรรณาธิการ 20. ใจถึงใจ 21-22. เสียงนกเสียงกา 23-25. สกู๊ปพิเศษ

คณะอนุกรรมการจัดท�ำสารฯผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641

บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย) PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ)

PP.Prayoon Sirinaphaphan Mobile: 08-1783-5123 E-mail: payoon_siri@hotmail. com อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suwannee Sirinaphaphan Mobile: 08-1960-6737 E-mail:suwannee_siri@hotmail. com

กองบรรณาธิการ

ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail. com

26-27 บ้านเลขที่3360R.I. 28-30. รอบด้าน บ้านเรา 31-32 At a glance 33-34 มุมเยาวชน Youth Corner 35. Z00m inside 3360

อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb. net อน.ยศวัจน์ นิธิแัญญาวัฒน์ (เชียงใหม่ภูพิงค์) PP. Yosawat Nithipanyawat Mobile : 08-1961-9816 E-mail : nyosawat.gmail.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail. com

อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล (เชียงใหม่) Rtn.Sunti Laopanichkul Mobile: 08-1611-8779 E-mail : santi@rotary3360.org รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) Rtn.Jeeranan Jantanaket Mobile : 08-1671-3444 E-mail : je_ranan@hotmail.com


ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔

สารจากผู้ว่าการภาค พฤศจิกายน 2553 สวัสดีมิตรโรแทเรียนและโรตารีแอนน์ทุกๆท่าน ! ควอเตอร์ที่สองของปีโรตารีเดือนพฤศจิกายน ในความรู้สึกทั่วไปของชาวโรแทเรียน มี กิจกรรมและเรื่องราวน่ารู้ประดังเข้ามามากมายทั้งระดับสโมสร ภาค และโรตารีสากล งานชนงาน แยกร่างไปร่วมกิจกรรมไม่ได้ โดยเฉพาะผู้ใหญ่ของภาค ต้องขออภัยแทนทุกสโมสรสรที่ผิดหวัง ใน ส่วนของผู้ว่าการภาค ตามโปรแกรมเป็นเดือนสุดท้ายที่จบภาระกิจเยี่ยมสโมสรอย่างเป็นทางการ กลับบ้านเดิมเยี่ยมสโมสรเชียงใหม่ วันที่ 11 พ.ย. แต่ยังขาดเยี่ยมสโมสรใหม่ ที่ขอเลื่อนออกไปก่อน (ไม่พร้อมให้เยีย่ ม-ความจริงตัง้ ใจไปให้คำ� แนะน�ำ) และสโมสรเวียงจันทน์ ทีย่ งั ไม่โตถูกแขวนไว้ชวั่ คราว ต่ออีก 1 ปี ใครมีแนวคิดดีๆว่าจะท�ำให้ สปป.ลาวมีสโมสรที่เหมือนชาวบ้านเขาได้อย่างไร แนะน�ำ ด้วย พฤศจิกายนเป็นเดือนแห่งมูลนิธิโรตารี (The Rotary Foundation month) มีกิจกรรม กระตุ้นและยกย่องผู้บริจาค จัดเสริมภาคกลางคืนในการประชุมระหว่างเมืองที่อ�ำเภอแม่สาย เป็น ที่น่ายินดี โรแทเรียนเริ่มเข้าใจแนวทางของมูลนิธิโรตารีมากขึ้น แจ้งความจ�ำนงบริจาคไว้เกินความ คาดหมายเกือบ US$140,000 สโมสรที่มีโรแทเรียนบริจาคมากย่อมมีโอกาสท�ำโครงการได้มากใน อนาคต ตามโครงสร้างใหม่ของโรตารีที่จะเหมือนกันทั่วโลกในปี 2556-2557 อนาคตการท�ำงาน เป็นทีม ทุกกิจกรรมต้องนึกถึงผลประโยชน์สูงสุดของชุมชนและเป็นโครงการที่วัดผลได้ สามารถคง อยูย่ งั่ ยืนสืบไปด้วยตนเอง (ดูตวั อย่างโครงการโปลิโอพลัส) เป็นแนวทางของโรตารีในศตวรรษทีส่ อง นี้ โรตารีเริ่มเตรียมแผนเฉลิมฉลอง 100 ปี ก่อตั้งมูลนิธิโรตารีในปี ค.ศ.2017 ด้วยความส�ำเร็จที่ชาว โรแทเรียนต้องภาคภูมิใจ การประชุมระหว่างเมืองที่แม่สาย นับเป็นงานภาคที่ได้รับการกล่าวขวัญว่ายอดเยี่ยม ลบ สถิตคิ วามพึงพอใจในอดีต จัดในห้องประชุมใหม่สร้างเสร็จสดๆร้อนๆ เพือ่ โรตารีโดยเฉพาะ มีเนือ้ หา สาระครบ ทั้งแนวทางการขอทุนสมทบจากมูลนิธิโรตารี แนวทางใหม่โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยน การช่วยกันคิดแก้ปญ ั หาวิกฤตสมาชิกภาพด้วยแยกกลุม่ ท�ำกิจกรรม ฯลฯ สนุกกับงานรืน่ เริงในคืนวัน โรตารี “Rotary Night” ตามด้วยกิจกรรมมิตรภาพที่มัณฑะเลย์ สหภาพพม่า สโมสรโรตารีแม่สาย รับประกันคุณภาพอยู่แล้ว ขอชื่นชมชาวแม่สายและขอบคุณผู้เสียสละทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ก่อนสิน้ ปี ขอประชาสัมพันธ์การเสนอชือ่ ผูท้ จี่ ะเข้ามาร่วมท�ำงานให้ภาค เป็นผูน้ ำ� “ผูว้ า่ การ ภาค ปี 2556-2557” ทุกสโมสรควรตระหนักหาผู้น�ำที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม ไม่มีจุดด่างพร้อย จะ ช่วยเราฟันฝ่าวิกฤต เกิดความร่วมมือช่วยยกระดับคุณภาพของภาคได้ในทีส่ ดุ กรุณาส่งรายชือ่ ภายใน วันที่ 3 มกราคม 2554 คณะกรรมการฯจะได้ด�ำเนินการอย่างเป็นธรรมต่อไป ใกล้สิ้นปี 2553 แล้ว ขออวยพรโรแทเรียนทุกท่านมีสขุ ภาพแข็งแรง มีความส�ำเร็จในการงานและอาชีพ สุข สดชืน่ สมหวัง ลืมความหม่นหมองข้องใจ ทิ้งไว้กับปีเก่า สร้างมิตรไมตรีกับผู้คนรอบข้างตามแนวทางของโรตารี สากล ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ภาค 3360 โรตารีสากล

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


Messages from District Governor November 2010 Rotary District 3360 Dear Fellow Rotarians and Rotary Anns, Happy November everyone! We are entering the Rotary’s second quarter. November, for Rotarians, was an exceptional busy month with a lot of activities and assignments about must be achieved at all levels from clubs, districts, and zones to Rotary International. As there were things to get more done with our tight schedule, we all had our hands full when it comes to scheduling clubs visits. So apologies again to those disappointed clubs that we could not arrange for a meeting with District Executive Committee. For District Governor, November was the last month to conduct an official visit with each club. I concluded the final visit to my home club Chiang Mai Thin-Thai-Ngam on November 11th. After all, there were only new clubs where I may call on later (since clubs were not ready despite my intention). As well to the newest Rotary country -- club of Vientiane Capital Laos – chartered on October 18th with 35 members as part of RI District 3360 that the visit was put off. Vientiane club was pretty small so your ideas to grow its membership would be welcomed and very much appreciated. Theme for November is the Rotary Foundation Month, an opportune time to remind ourselves of the Rotary vision and mission as well as to encourage donors/contributors/supporters. A night celebration was held during intercity meeting at Mae Sai District to commemorate the Foundation. It was a great pleasure that Rotarians much understood the Rotary way of service and inspired about being a truly good Rotarian. The event raised funds above expectations at almost US$140,000. The more fundraise the more opportunity for clubs to get grant supported referring to Rotary global scheme commencing on 2013-2014. For future programs, cooperation is strongly required in order to provide best benefits to communities, to be measured and to produce greater sustainable outcomes. PolioPlus program is a shining example of Rotary’s second century as the achievements made possible by cooperation. In 2017 the Rotary Foundation will celebrate the centennial on the 100th anniversary with the immense continuous outstanding growth as Rotarian we should be very proud of. The intercity meeting, District level meeting, recently held in Mae Sai achieved the highest attendee satisfaction levels. The full information meeting included grant guidelines, youth exchange guidelines, membership crisis brainstorm, group workshops and etc. followed by Rotary night and Rotary trip to Mandalay, Myanmar. I would so much appreciate the efforts of Mae Sai club members and every contributor for such a perfect organization.   Before year end, again please be informed the nomination for District Governor 2013-2014. Clubs should be aware that nominating a leader is very important because leader with integrity and quality can lead members through troubles, drive cooperation and raise clubs and district standards. Nomination must be summated within January 3rd for further selection by the Nominating Committee. New Year 2011 is dawning. My best wishes to all my Rotarian friends, I wish you all good health, happiness and success. Leave the past behind and let this New Year be one that outshines everything! Be a friend to make a friend according to Rotary way and goodwill. Yours in Rotary Service, DG. Dr. Virachai Chamroendararasame Rotary International District 3360


ตัวเลขโรตารีไทย 3330 3340 3350 3360

80 สโมสร 58 สโมสร

2,079 คน 1,259 คน 2,322 คน

90 สโมสร 63 สโมสร

1,284 คน

ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ (31 ธ.ค. 53)

อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล เดือนมกราคม 2554 30 บาท ตอ US$1

สารจากศูนยฯ

มกราคม-กุมภาพันธ 2554

ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ชั้น 32 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2661 6720-1 โทรสาร 0 2661 6719 e-mail: rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org

เรียน มวลมิตรโรแทเรียนที่รักทุกทาน สารฉบับนี้ผมมีเรื่องจะย้ําเตือนรวมถึงแจงใหทราบ 2 เรื่อง คือ การแจงขอมูลนายกเลขารับเลือก (ป 2554-55) ไปยังโรตารีสากล ตามที่ทุกทานคงจะทราบแลววา ในปนี้โรตารี สากลได ใหแตละสโมสรดําเนินการผา นชองทาง Member Access หากสโมสรใดไม สามารถ ดําเนินการได ขอใหทานสงขอมูลมายังศูนยโรตารีฯ เพื่อเปนผูประสานการจัดสงไปยังโรตารี สากลตอไปครับ ขอมูลนี้โรตารีสากลจะนําไปพิมพลงในหนังสือ 2011-12 Official Directory และ ใชในการติดตอสื่อสารรวมถึงการจัดสงเอกสารตางๆ ใหกับสโมสรครับ และในเดือนนี้ เลขาฯ ของแตละสโมสรจะไดรับรายงานครึ่งป (SAR) เพื่อชําระคาบํารุง โรตารีสากลในงวดครึ่งปหลัง หากสโมสรใดไมไดรับภายในวันที่ 31 มกราคม ขอใหแจงมายัง ผูแทนดูแลการเงินฯ rotaryfath@gmail.com เพื่อขอรับเอกสารไดครับ ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี หนังสือ

อผภ.ชาญชัย วิศิษฏกุล ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ ป 2553-55

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓

2010 Manual of Procedure มีจําหนายแลวที่ศูนยโรตารีฯ ในราคาเลมละ 300.- บาท


อน.วีระพงษ์ โตแสงชัย สโมสรโรตารีเชียงใหม่ สวัสดีครับ มิตรโรแทเรียน ที่เคารพรักทุกท่าน สารฉบับนี้คงถึงทุกท่านย่างเข้าศักราชใหม่แล้ว ก็ขอ สวัสดีปใี หม่ ทุกข์โศกโรคภัยหายไปสวัสดี สุขสมหวังเจริญรุง่ เรือง จงเป็นของมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ครึ่งปีที่ผ่านมา กิจกรรมและมิตรภาพโรตารีของท่าน คงจะก้าวหน้าด�ำเนินไปอย่างดี สิ่งไหนยังตามหลังแผน ขอเป็น ก�ำลังใจช่วยให้ทุกสโมสรสะสางและเร่งตามให้ทัน ส�ำเร็จลุล่วง ด้วยดีเทอญ ขอแสดงความยินดีกับท่านนายก-เลขานุการรับเลือก 2554-2555 และนายกรับเลือก 2555-2556 ทุกสโมสรที่ได้รับ การเลือกตั้งในการประชุมใหญ่สโมสรประจ�ำปี และหวังว่าทุก สโมสรคงจะรายงานข้อมูลเจ้าหน้าทีส่ โมสรต่อ RI ทาง Member Access ได้ส�ำเร็จก่อน 31 ธันวาคม 2553 และขอต้อนรับสโมสรโรตารีเมืองเกาะคา น้องใหม่แห่ง ภาค 3360 ทีไ่ ด้รบั สารตราตัง้ จาก RI และเริม่ การประชุมได้อย่าง สมบูรณ์ ร่วมขยายวงมิตรภาพและบ�ำเพ็ญกับเราชาวโรแทเรียน ส�ำหรับค่าบ�ำรุงโรตารีสากลพร้อมกับการรายงาน ครึง่ ปีหลัง (SAR) เชือ่ ว่าท่านคงจะได้รบั เอกสารจากทาง RI แล้ว จึงขอ ความร่วมมือทุกสโมสร ที่จะปรับปรุงเพิ่มเติมแก้ไขข้อมูลสโมสร และสมาชิกให้ถกู ต้องเป็นปัจจุบนั ทีส่ ดุ ใน SAR (เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การติดต่อจาก RI กับสโมสรในอนาคต) และรีบช�ำระค่าบ�ำรุง RI ภายในก�ำหนด 31 มกราคม 2554 ส่วนสโมสรใดที่ยังค้างส่งค่า บ�ำรุงภาคอยู่ ก็ขอความกรุณารีบส่งในโอกาสเดียวกัน และอย่า ลืมส่งส�ำเนาการส่ง SAR ทุกหน้าให้กับเลขานุการภาคด้วยครับ ใน Intercity Meeting ที่แม่สาย จ.เชียงรายที่ผ่านมา งานต่างๆ ของภาค 3360 ได้เดินหน้าไปอย่างมาก ทั้งโครงการ ผ้าห่ม โครงการ Dictionary และได้เริ่มแจกจ่ายสู่ผู้ต้องการ ผู้ ยากไร้ นักเรียน ตามวัตถุประสงค์ไปบ้างแล้ว ยังได้ทราบว่าเป้า การรณรงค์บริจาคให้มลู นิธโิ รตารีทโี่ ซนตัง้ ให้ คือ 150,000 USD ก็ใกล้บรรลุเป้าหมาย จากเดิมในภาคฯ

ที่ผ่านมามี 20 สโมสรที่ยังไม่เคยร่วมบริจาค ปีนี้ก็เหลือเพียง 3 สโมสรเท่านั้น ซึ่งยังมีเวลาเหลือ และปีนี้อาจจะเป็นปีแรกที่ทุก สโมสรในภาคได้มีส่วนร่วมบริจาคก็เป็นไปได้ ส�ำหรับการแก้ไข วิกฤติการณ์สมาชิกภาพของภาคฯ ก็ได้เริ่มเดินหน้าด้วยการ ระดมความคิดท�ำ Workshop แยกเป็นโซนพื้นที่ น�ำโดย อผภ. ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ ซึ่งได้ข้อสรุปแนวทางแก้ปัญหาที่ดี ที่จะ น�ำพาภาคให้พ้นวิกฤติบรรลุเป้าภาค ที่จะต้องมีจำ� นวนสมาชิก มากกว่า 1,400 คน ภายใน 30 มิถุนายน 2554 โดยจะไม่มี สโมสรใดในภาคฯ มีสมาชิกต�่ำกว่า 10 คนต่อไป ส�ำหรับการส่งคะแนนประชุมประจ�ำสัปดาห์ เดือน ตุลาคมทีผ่ า่ นมา มีสโมสรทีส่ ง่ คะแนนการประชุมประจ�ำสัปดาห์ ได้ถงึ ภายในก�ำหนดวันที่ 15 เดือนถัดไปถึง 39 สโมสรในทัง้ หมด 62 สโมสรของภาค ซึ่งก็ดีขึ้นมากและคงจะดียิ่งขึ้นในช่วงเดือน ต่อๆไปนะครับ ในเดือนตุลาคมสโมสรทีม่ คี ะแนนประชุม 100% และน่าชมเชย คือ สโมสรโรตารีปัว สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ และ สโมสรโรตารีแม่ฮ่องสอน ส�ำหรับภาค 3360 สโมสรที่มีคะแนน ประชุมเกิน 80% มีทั้งหมด 18 สโมสร เกิน 60% มีอยู่ 47 สโมสร และมี 4 สโมสรที่คะแนนต�่ำกว่า 50% ในขณะที่คะแนน เฉลี่ยทั้งภาค 60 สโมสร คือ 71.07% เพิ่มขึ้นจากเดือนกันยายน ทีเ่ ท่ากับ 70.75% แต่กย็ งั น้อยกว่าเดือนกรกฏาคมและสิงหาคม ซึ่งเท่ากับ 75.76%, 74.53%, ตามล�ำดับ จึงยังเป็นการบ้านที่ คณะกรรมการบริหารสโมสรต้องช่วยกันขบคิด ในการกระตุ้น ให้สมาชิกเข้าประชุม พร้อมทั้งจัดการประชุมให้มีบรรยากาศ มี สาระ และสร้างมิตรภาพการประชุมที่ดีดึงดูดให้คนเข้าประชุม ให้มากยิ่งขึ้นต่อไป อน.วีรพงศ์ โตแสงชัย เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553−2554


รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน ตุลาคม ของ สโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน ตุลาคม ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 1

83309

Chalawan Phichit

ชาลวัน พิจิตร

20

77.77

2

23201

Changpuak Chiang Mai

ช้างเผือกเชียงใหม่

27

57.5

3

16262

Chiang Mai

เชียงใหม่

63

63.04

4

16263

Chiang Mai North

เชียงใหม่เหนือ

28

83.04

10

7

5

16265

Chiang Rai

เชียงราย

27

91.67

2

4

6

52387

Chiang Rai North

เชียงรายเหนือ

23

72.82

7

16261

Chiangkam

เชียงค�ำ

26

77.27

8

53170

Chiang-Mai Airport

เชียงใหม่แอร์พอร์ท

15

64

9

60808

Chiangmai Doi Suthep

เชียงใหม่ดอยสุเทพ

4

75.00

10

26048

Chiangmai East

เชียงใหม่ตะวันออก

11

53.1

11

50481

Chiangmai Phuping

เชียงใหม่ภูพิงค์

17

55.49

12

83408

Chiangmai San Sai

เชียงใหม่สันทราย

27

70.37

13

51245

Chiangmai South

เชียงใหม่ใต้

12

60.42

14

29283

Chiangmai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 29

78.45

15

16264

Chiangmai West

เชียงใหม่ตะวันตก

28

56.26

16

28751

Chiangsaen

เชียงแสน

15

91.67

17

25135

Chomtong

จอมทอง

11

59

18

57289

Doiprabaht

ดอยพระบาท

29

70.11

19

21495

Fang

ฝาง

19

78

15

20

16274

Kamphaengphet

ก�ำแพงเพชร

18

88.89

3

21

30057

Kawila Chiang Mai

กาวิละ เชียงใหม่

16

68.25

22

83351

Khek River, Wangthong

ลุ่มน�้ำเข็ก

27

55.56

23

24886

Lab Lae

ลับแล

10

60

24

16277

Lampang

ล�ำปาง

29

70.45

25

16278

Lamphoon

ล�ำพูน

11

77.5

26

50294

Lanna, Chiang Mai

ล้านนาเชียงใหม่

24

85.22

27

52390

Mae Fha Louang

แม่ฟ้าหลวง

10

46.67

28

16281

Mae Hong Sorn

แม่ฮ่องสอน

10

100

1

29

16283

Mae Sariang

แม่สะเรียง

12

87.5

4

30

16280

Maechan

แม่จัน

31

61.29

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓

9

9

10

7

14

2 9

2

1 2

6 8

6


รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน ตุลาคม ของสโมสรโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 31

16282

Maesai

แม่สาย

28

82.14

12

32

24956

Maesod-Muang Chod

แม่สอด เมืองฉอด

35

61.66

4

33

29389

Maewang

แม่วัง

19

61.83

4

34

83480

Muang Ko Kha

เมืองเกาะคา

30

45.15

35

65185

Muang Thoen

เมืองเถิน

21

60

36

65762

Nakorn Hariphunchai

นครหริภุญชัย

10

70

37

57910

Nakorn Nan

นครน่าน

10

60

38

64215

Nakorn Thoeng

นครเทิง

19

68.42

39

23050

Nan

น่าน

41

70.72

40

27553

Naresuan

นเรศวร

28

50

41

16291

Payao

พะเยา

11

68

42

16292

Phan

พาน

25

55

43

24741

Phichai

พิชัย

14

85.71

7

44

23541

Phrae

แพร่

20

86.43

6

9

45

16297

Pitsanulok

พิษณุโลก

59

82.21

44

5

46

22008

Pua

ปัว

24

100

1

5

47

27741

Sanpatong

สันป่าตอง

14

87.5

4

48

30612

Sarapee, Chiang Mai

สารภีเชียงใหม่

12

83.33

9

49

16307

Sawankaloke

สวรรคโลก

22

63.64

50

25680

Sawankaloke North

สวรรคโลกเหนือ

25

81

13

51

25165

Sila-Asana

ศิลาอาสน์

30

83.33

9

52

22010

Song

สอง

14

87.49

5

53

52394

Sri Song Kwai

ศรีสองแคว

20

76.25

54

24965

Sukhothai

สุโขทัย

24

73.95

55

16312

Tak

ตาก

10

47.5

56

50326

Thawangpha

ท่าวังผา

11

63.64

57

70997

Thoen Downtown

เถินดาวน์ทาวน์

13

43.59

58

16317

Uttaradit

อุตรดิตถ์

27

100

59

74261

Vientiane

เวียงจันทน์ (สปป.ลาว)

60

50650

Wangchan

วังจันทน์

27

56.81

3

61

51392

Wiangkosai

เวียงโกศัย

21

51.91

8

62

31711

Wiengsa

เวียงสา

12

91.67

7 2

3

8 8

8

2 1

2

2


ดอกเตอร์กิตติมศักดิ์ ดอกเตอร์ห้องแถว และดอกเตอร์ประเทศโลกที่สาม ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

ประเด็นปัญหาของมาตรฐานการศึกษา ไทยในปัจจุบันก็คือ การที่เรามีดอกเตอร์กิตติมศักดิ์ ดอกเตอร์ห้องแถว และดอกเตอร์โลกประเทศโลกที่ สามอยูเ่ กลือ่ นเมืองจนแทบจะเดินชน กันตาย ซึง่ ไม่รู้ ว่าอันไหนจริง อันไหนเสมือนจริงและอันไหนเก๊ ผม ในฐานะอาจารย์ในหลักสูตรดอกเตอร์ดว้ ยกันกับเขา คนหนึง่ จึงอยากจะร่วมแสดงความคิดเห็นด้วย ดังนี้

ดอกเตอร์กิตติมศักดิ์

ปัญหาที่ถกเถียงในเรื่องนี้ก็คือว่าคนที่ได้ ปริญญาเอกปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ใช้ ดร. น�ำหน้า ชือ่ ได้หรือเปล่า มีทงั้ บอกว่าใช้ได้กบั ทีบ่ อกว่าใช้ไม่ได้ โดยที่คนที่บอกว่าใช้ได้ให้เหตุผลว่า ก็เขาได้ปริญญา เอกแล้วต้องใช้ได้ซิ ส่วนคนทีบ่ อกว่าไม่ได้กใ็ ห้เหตุผล ว่าเขาไม่ได้จบปริญญาเอก จริง ๆ เป็นการให้ในฐานะ ผู้เชี่ยวชาญหรือเป็นเกียรติเท่านั้น จึงไม่สมควรที่จะ ใช้ค�ำว่า “ดอกเตอร์” ค�ำว่าปริญญากิตติมศักดิน์ นั้ มาจากภาษา ลาตินว่า honoris causa ad gradum เป็นสิ่งที่ได้ จากผลงานทีเ่ กีย่ วกับทางวิชาการ ถือเป็นสิง่ ประดับ ตัวบุคคล เพราะปกติแล้วการจะได้ปริญญาต้องไป สอบเข้าและเรียนเป็นเวลาหลายปี ส่วนปริญญา กิตติมศักดิ์มักจะเป็นการให้จากสถาบันศึกษาแก่ ผู้รับโดย ปริญญาที่ให้อาจจะเป็นปริญญา ตรี โท หรือเอก ซึ่งที่พบบ่อยสุดคือปริญญาเอก โดยวัน รับปริญญาจะเป็นวันที่ท�ำพิธีกันอย่างเอิกเกริกเพื่อ เป็นเกียรติแก่ผู้ที่ได้รับ และมหาวิทยาลัยที่ให้ก็จะ ได้ประโยชน์ในแง่ทไี่ ด้คนทีม่ ชี อื่ เสียงมาเกีย่ วข้องกับ มหาวิทยาลัย ท�ำให้มหาวิทยาลัยมีชอื่ ออกไปสูส่ งั คม และ เป็นการเพิ่มเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเอง ซึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิคนแรกที่ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ คือ Lionel Woodville ปี ๑๔๗๐ ของ Oxford ปริ ญ ญากิ ต ติ ม ศั ก ดิ นั้ น มั ก จะมอบให้ พร้อม กับพิธีประสาทปริญญาโดยทั่วไป และในต่าง ประเทศ ผู้รับมักจะได้รับเชิญให้กล่าวค�ำปราศรัย ด้วยในงานรับปริญญาเพื่อแสดงภูมิหรือ “กึ๋น”ของ ตนเอง ซึ่งการกล่าวค�ำปราศรัยนี้มักจะเป็นจุดเด่น

ของงาน โดยปกติแล้วทางมหาวิทยาลัยจะเสนอชือ ผู้จะได้รับหลายคน ซึ่งชื่อเหล่านี้จะผ่านการกลั่น กรองจากกรรมการมหาวิทยาลัย เพือ่ พิจารณาความ เหมาะสม โดยผู้มีชื่อรับเลือกมักจะไม่ทราบว่าทาง มหาวิทยาลัยได้เสนอชือ่ ตนเอง จนกว่าจะได้รบั เลือก เป็นทางการ และปกติแล้วการเลือกผู้ได้รับปริญญา กิตติมศักดิน์ ี้ ถือเป็นความลับอย่างมาก ซึง่ ปัจจุบนั มี แนวโน้มว่า ผู้ได้รับกลายเป็นพวกคนดัง เช่น นักการ เมือง ข้าราชการระดับสูง นักธุรกิจใหญ่ นักแสดง ฯลฯ แทนทีจ่ ะเป็นนักวิทยาศาสตร์หรือผูท้ รงคุณวุฒิ เช่นในอดีต ค�ำว่า ปริญญากิตติมศักดิ์หรือ honorary degree นี้ แท้จริงแล้วเป็นการประสาทหรือให้เป็น ตัวปริญญาจริง ๆ ตามหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย ซึง่ ต่างจากปริญญาทีต่ อ้ งเรียนมา (earned degree) โดยทางมหาวิทยาลัยยกเว้นการใช้เวลาศึกษาใน ห้องเรียน วิจัย การต้องเข้าชั้นเรียน หรือ ผ่านการ สอบ เพราะผู้ที่ได้รับการยกเว้นที่ว่านี้ เป็นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถ มีชื่อเสียงและเป็นปราชญ์ใน สาขานัน้ ๆ จึงได้รบั การยกเว้นตามความต้องการของ มหาวิทยาลัย แต่ในปัจจุบันความหมายเดิมค่อยๆ เปลี่ยนความหมายไป ปริญญากิตติมศักดิ์กลายเป็น ปริญญาที่ไม่เท่ากับปริญญาที่ต้องเรียนต้องสอบมา ซึ่งหมายความว่าของเดิมนั้นให้คนเก่งจริงๆ ฉะนั้น ปริญญากิตติมศักดิ์จึงมีศักดิ์ศรีมาก แต่ปัจจุบันไม่ ได้มีความหมายเช่นนั้นแล้ว แม้ ว ่ า ปริ ญ ญาเอก หรื อ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ที่ทางมหาวิทยาลัยจะให้ปริญญา เป็น DSc, DLitt, ฯ ซึ่งมักจะหมายความว่าแม้จะใ้ห้เป็น แบบกิตติมศักดิ์ก็ตาม แต่ปริญญาเหล่านี้ (DSc, DLitt ฯ) สามารถจะได้จากการศึกษาเล่าเรียนเช่น กัน คือ ท�ำการศึกษาเพื่อให้่ได้ปริญญาจริงๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งในสหราชอาณาจักร โดยสามารถยื่น ผลงานการท�ำวิจัย ซึ่งมักจะท�ำอยู่หลายปี และผล งานนี้ มีผลต่อวงการวิชาการสาขาวิชานั้นเป็นอย่าง มาก โดยทางมหาวิทยาลัยจะตั้ง กรรมการศึกษาผล

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


งาน และรายงานผลการตัดสินให้ทางมหาวิทิ ยาลัยั ว่าจะให้ผา่ น ได้รับปริญญาที่ว่าหรือไม่ โดยปกติผู้เสนอเข้ารับปริญญามักจะ เกี่ยวข้องกับสาขานั้นๆ เช่น เป็นอาจารย์สอน หรือ จบมาและ ดีเด่นอยู่หลายปี มีหลายมหาวิทยาลัย ที่พยายามให้มีความแตกต่าง ระหว่างดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ( Univ หรือ Doctor of the University’) กับดุษฎีบัณฑิตธรรมดา โดยให้เห็นถึงความแตก ต่างของสองขัว้ คือ ฝ่ายให้ปริญญากิตติมศักดิแ์ ก่ผมู้ ชี อื่ เสียง กับ ฝ่ายที่ให้แก่ผู้ที่มีความรู้จริง ผู้ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์โดยปกติแล้ว จะไม่ใช้ ค�ำน�ำหน้าว่า ‘doctor หรือ ดร.’ แต่หาก ผู้ที่ได้รับนั้นได้มา เพราะมีความสามารถในสาขานั้นจริงๆ ก็อาจจะเหมาะสมที่จะ ใช้เป็นค�ำน�ำหน้า ชือ่ ของตนเอง ในหลายๆประเทศ เช่น United Kingdom, Australia, New Zealand, and United States ถือว่าการใช้ doctor หรือ ดร. ของผู้ได้ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นการไม่เหมาะสม ไม่วา่ จะได้มาโดยทางใดก็ตาม มีขอ้ ยกเว้น อยู่คนเดียว คือ ในสหรัฐอเมริกาที่ Benjamin Franklin ซึ่งได้ รับดุษฎีบัณฑิตจาก University of St. Andrews ในปี ๑๗๕๙ และ University of Oxford ในปี ๑๗๖๒ จากการค้นพบทาง วิทยาศาสตร์ ดังนัน้ เขาจะอ้างถึงตนเองว่า “Doctor Franklin.” ผูไ้ ด้รบั ปริญญากิตติมศักดิ์ อาจจะใช้ตวั ย่อต่อท้ายชือ่ ได้ แต่ตอ้ ง ให้เป็นที่ชัดแจ้งว่าเป็นกิตติมศักดิ์ โดยเพิ่มค�ำว่า “honorary” or “honoris causa” or “h.c.” เข้าไปในวงเล็บ และในหลาย ประเทศ ผูไ้ ด้รบั ดุษฎีบณ ั ฑิต อาจจะใช้คำ� น�ำหน้าว่า doctor โดย ใช้ค�ำย่อว่า Dr.h.c. หรือ Dr.(h.c.). ในบางครั้งอาจจะใช้ Hon ก่อนปริญญาว่า Hon DMus. ในปัจจุบันนี้เนื่องจากมีความยุ่งยากสับสนเรื่องดุษฎี บัณฑิต มหาวิทยาลัยหลายๆแห่งพยายามแยกออกเพือ่ ให้ชดั เจน โดยให้ดษุ ฎีบณ ั ฑิตใช้ LLD หรือ Hon.D. เท่านัน้ แทน Ph.D. และ มีหลายมหาวิทยาล้ย รวมทั้งมหาวิทยาล้ยเปิดใช้ Doctorates of the University (D.Univ.) และใช้ Ph.D หรือ Ed.D ส�ำหรับ ปริญญาเอกที่ได้จากการศึกษาเล่าเรียน ส� ำ หรั บ ของไทยเรานั้ น สกอ.ได้ มี ห นั ง สื อ ที่ ศธ. ๐๕๐๖(๒) ว/๕๐๕ ลงวันที่ ๑๗ ธ.ค. ๒๕๕๒ เรือ่ ง การสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับปริญญากิตติมศักดิ์ โดยระบุว่า ค�ำน�ำหน้าว่า ดร. ใช้เฉพาะกับผู้ศึกษาจบระดับปริญญาเอก มิได้รวมถึงปริญญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์หรือพูดง่าย ๆ ผู้ที่ได้รับปริญญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิใ์ ช้ค�ำว่า ดร. ไม่ได้ ซึง่ ผมไม่เห็นด้วยนัก ผมคิด ว่าหากอยากจะเรียกดอกเตอร์ก็เรียกไปเพราะเป็นรับรู้กันโดย ทั่วไปแล้วว่า ค�ำเรียกขานดอกเตอร์ใช้กับคนที่ได้รับปริญญาใน ระดับดุษฎีบัณฑิตหรือแพทย์ศาสตร์บัณฑิต ซึ่งเขาก็ได้รับดุษฎี บัณฑิตมาแล้วเช่นกันถึงแม้ว่าจะเป็นกิตติมศักดิ์ก็ตาม แต่ต้อง ใช้ว่า “ดร.(กิตติมศักดิ์)”เพราะจะเป็นการชี้ให้เห็นอย่างชัดเจน ว่าเป็นกิตติมศักดิ์ แต่หากเป็นดอกเตอร์กิตติมศักดิ์แล้วไปพิมพ์ นามบัตรหรือเรียกตนเองว่าว่าดอกเตอร์เฉยๆ ก็ถือได้ว่าอยู่ใน

ข่ายหลอกลวงประชาชน ปลิ้นปล้อน คบไม่ได้ ฯลฯ ดังเหตุผล ที่ผมยกตัวอย่างจากต่างประเทศมาข้างต้นนั้นเอง ที่ ส� ำ คั ญ ก็ คื อ ในนานาอารยประเทศทั้ ง หลายค� ำ ว่า ดอกเตอร์นั้นส่วนใหญ่เขาจะเอาไว้ใช้เรียกผู้ที่เป็นแพทย์ (Medical Doctor) เสียเป็นส่วนใหญ่ เห็นมีแต่พี่ไทยเรา เท่านั้นแหละครับที่นิยมใช้ ค�ำว่าดอกเตอร์น�ำหน้าชื่อตัวเองทั้ง ดอกเตอร์ธรรมดาและ ดอกเตอร์กิตติมศักดิ์ จนมีเรื่องเล่าว่าใน เครื่องบินโดยสารล�ำหนึ่งมีคนป่วยฉุกเฉิน แอร์โฮสเตสประกาศ ว่ามีใครเป็นดอกเตอร์(หมอ)บ้าง ปรากฏว่าพี่ไทยเรายกมือกัน ตั้งหลายคนเล่นเอาแอร์โฮสเตสเป็นงงไปเลย

ดอกเตอร์ห้องแถว

สมั ย ก่ อ นเราเคยได้ ยิ น แต่ เ พี ย งว่ า มี อ ยู ่ ใ นเมื อ ง นอกที่คนมีสตางค์ส่งลูกหลานไปชุบตัวแล้ว ได้ปริญญากลับ มาโดยไม่ต้องท�ำอะไรมาก เพียงแต่ไปติดต่อแล้วเสียสตางค์ ให้แก่มหาวิทยาลัย ที่มีลักษณะเป็นห้องแถวมีกิจการขายใบ ปริญญาบัตรเป็นการเฉพาะ แต่ในปัจจุบันนี้ในประเทศไทยได้ มีมหาวิทยาลัยดังกล่าวมาตั้งสาขากันอยู่ทั่วไป ที่ส�ำคัญก็คือมีมหาวิทยาลัยไทยเราเอง ที่เปิดการ เรียนการสอนในลักษณะนี้ มีการขยายสาขาไปทั่วประเทศ เข้า ลักษณะ “จ่ายครบ จบแน่” ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะหมายความ ถึงมหาวิทยาลัยเอกชนที่ไม่ได้มาตรฐาน ดังตัวอย่างที่ว่ามีการ โฆษณารับนักศึกษาปริญญาเอก เพียงแต่ลงทะเบียนและจ่าย เงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท รอให้เวลาใกล้ ๒ ปี ค่อยไปสอบปากเปล่า กับอาจารย์เพียง ๔ คน และก่อนไปสอบจะคนมาช่วยสอนให้พดู ด้วย มิหน�ำซ�้ำยังมีการขึ้นชื่อผู้ทีมีชื่อเสียงต่างๆ หรือต�ำแหน่ง สูงๆ ในวงราชการว่าเป็นอาจารย์ของมหาวิทยาลัยตนอีกด้วย (อย่าให้ยกตัวอย่างเลยครับเดี๋ยวเคืองกันเปล่าๆ)

ดอกเตอร์ประเทศโลกที่สาม

ค�ำว่าดอกเตอร์ประเทศโลกที่สามนี้ เป็นค�ำที่ใช้เรียก ขานบรรดาดอกเตอร์ทั้งหลาย ที่แม้ว่าจะจบจากมหาวิทยาลัย ของรั ฐ ก็ ต าม แต่ เ ป็ น หลั ก สู ต รที่ เ ปิ ด สอนไม่ เ ป็ น ไปตามที่ มาตรฐานก�ำหนด เช่น จะต้องมีอาจารย์จบวุฒปิ ริญญาเอก หรือ เป็นรองศาสตราจารย์จ�ำนวนเท่านัน้ เท่านี้ หรือหากไม่มจี ริงๆ ก็ ต้องมีผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านตามคุณวุฒทิ กี่ ำ� หนด แต่กไ็ ม่เป็นไป ตามนั้น หรือมีการละเลยมาตรฐานขั้นต�่ำในระดับความรู้ภาษา อังกฤษของนักศึกษา เป็นต้น และโดยส่วนใหญ่กรรมการในสภา มหาวิทยาลัยเหล่านั้นบางคนก็เป็นกรรมการหลายแห่งจนไม่มี เวลามาเอาใจใส่ในเรื่องนี้ หรือถึงแม้จะพยายามเอาใจใส่ก็ไม่ได้ ข้อมูลอยู่ดี ซึ่งเรื่องเหล่านี้มีคดีไปถึงศาลปกครองแล้ว เพียงแต่ ยังไม่ปรากฏเป็นข่าวแพร่หลายไปในวงกว้างเท่านั้นเอง ฉะนัน้ ผูท้ อี่ ยากได้ค�ำว่า “ดร.”โดยไม่อยากยุง่ ยากเสีย เวลาและเสียเงินเป็นแสนเป็นล้าน ผมขอแนะน�ำให้ไปยืน่ เรือ่ งขอ เปลี่ยนชื่อที่อำ� เภอเป็น “ดร”(อ่านว่า”ดอน”แปลว่า พ่วงหรือ แพ)เป็นชื่อแรก และใช้ชื่อเดิมเป็นชื่อรอง เสียเงินไม่กี่สิบบาทก็ มีค�ำว่า”ดร”เช่นกันเพียงแต่ไม่แต่ไม่มีจุด (.)เท่านั้นเอง


อน.ชรินทร์ อรรถอรเอก สโมสรโรตารีเชียงใหม่ภูพิงค์

“การขยายสโมสร ฯ” การขยายสโมสรฯ หรือการเพิ่มจ� ำนวน สโมสรฯ ให้มีจ�ำนวนมากขึ้นนั้น โรแทเรียนมากมายที่ ไม่ค่อยจะห็นด้วย ยิ่งกว่านั้นยังเกิดการสงสัยว่า การ เพิ่มจ�ำนวนสโมสรฯ ก็เท่ากับเพิ่มจ�ำนวนสมาชิกให้ มากขึ้น เมื่อสมาชิกมาก จ�ำนวนเงินที่ต้องส่งไปให้กับ โรตารีสากล ก็จะมีจ�ำนวนมากขึน้ ไปด้วย จะเป็นไปได้ ไหม? โรตารีสากลต้องการมีรายได้เพิ่ม ท่านทั้งหลายครับ เราแปลเจตนาของโรตา รีสากลผิดไปถนัดเลย จ�ำนวนเงินที่สมาชิกได้ช�ำระค่า บ�ำรุงนั้น ทางโรตารีสากล น�ำไปเป็นค่าใช้จ่ายในการ ดูแลรักษาข้อมูลของแต่ละสโมสร และบริการด้าน อื่นๆอีกมากมาย เช่นด้านข่าวสาร ด้านเอกสาร และ สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ได้ส่งมาให้กับสโมสรฯ ในแต่ละปี ที่ ส�ำคัญยังใช้เป็นค่าใช้จา่ ยส�ำหรับผูว้ า่ การภาคบางส่วน เริ่มตั้งแต่ เดินทางไปอบรมที่อเมริกา ร่วมทั้งการเดิน ทางเยี่ยมสโมสรฯต่างๆ ภายในภาคเป็นต้น ส่วนการแนะน�ำให้มีการเพิ่มสโมสรฯ ขึ้น นั้น โรตารี สากลมีแนวคิด ที่ต้องการจะแพร่ขยาย โปรแกรมต่างๆ ของโรตารีให้ออกสูช่ มุ ชนได้กว้างไกล ออกไป โปรแกรมดังกล่าวจะเข้าสูช่ มุ ชนได้สะดวก ถ้า ชุมชนนั้นมีสโมสรโรตารีตั้งอยู่ โดยเฉพาะ สโมสรคือ สื่ออย่างดี ที่จะส่งเสริมให้โปรแกรมต่างๆ ของโรตา รีประสบความส�ำเร็จ นี่คือเป้าหมายหลักของโรตารี สากล ทีไ่ ด้มกี ารก�ำหนดให้ทกุ สโมสรฯ ช่วยกันส�ำรวจ ชุมชนในพืน้ ทีต่ า่ งๆ หากชุมชนใดมีประชากรมากกว่า 5000 คน และมีการด�ำรงชีพ บนพื้นฐานที่บริสุทธิ์ มี หลักแหล่ง และเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไปไม่น้อย กว่า 40 อาชีพ ก็สามารถที่จะก่อตั้งสโมสรขึ้นได้ และ ควรจะด�ำเนินการก่อตั้งโดยเร็วที่สุดที่จะท�ำได้ การ ที่จะรอให้จนกว่าคนในพื้นที่นั้นเกิดความต้องการ

โรตารี อาจเป็นความคิดที่ไม่เหมาะสมยิ่ง เป็นหน้าที่ ของ โรแทเรียน ที่ต้องสร้างให้พื้นที่นั้นๆ เกิดความ ต้องการให้มี “สโมสรโรตารี” ในการขยายสโมสรฯ โรแทเรียนควรพยายามเป็นผู้ให้ไม่ใช่ผู้รับ ประชากรโลกเปลี่ ย นไป จนท� ำ ให้ มี ประชากรหนาแน่ น มากตามเมื อ งใหญ่ ๆ เมื่ อ มี ประชากรเพิ่มขึ้น ก็เป็นโอกาสที่ดี จะก่อตั้งสโมสร เพิ่มขึ้นในพื้นที่ดังกล่าว จะเห็นได้จากความเข้มแข็ง และความส�ำเร็จของสโมสรใหม่ทไี่ ด้กอ่ ตัง้ เพิม่ ขึน้ และ ประโยชน์ที่ได้เกิดตามมา ความเจริญเติบโต และมี ชีวติ ชีวาของสมาชิกก่อตัง้ ตลอดจนความเจริญเติบโต ขององค์กรโรตารี โดยรวมด้วย ใบบางกรณี ทีม่ ขี อ้ อ้าง ว่า ไม่สามารถก่อตั้งสโมสรโรตารีได้ เพราะมีสโมสร บ�ำเพ็ญประโยชน์อนื่ ๆ ตัง้ อยูแ่ ล้ว แท้ทจี่ ริงแล้ว สโมสร บ�ำเพ็ญประโยชน์อนื่ ในท้องทีน่ นั้ ไม่เป็นเครือ่ งบ่งชีว้ า่ ท้องทีน่ นั้ ไม่สามารถสนับสนุนการก่อตัง้ สโมสรโรตารี การก่อตัง้ สโมสรขึน้ ใหม่หนึง่ สโมสร ไม่เพียง แต่ได้จ�ำนวนสโมสรเพิ่มเท่านั้น แต่ยังได้สมาชิกเพิ่ม ขึ้นเข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก ก่อนนั้นเรามักจะพูดกันถึง วิธีการ ในการเพิ่มสมาชิก ซึ่งมีทั้งแนวราบ และแนว ดิง่ แนวราบก็คอื ควรจะเพิม่ ทุกปี ตามความรับผิดชอบ ของนายกสโมสร นั้นคือ 5% ของจ�ำนวนสมาชิกใน สโมสร ส�ำหรับแนวดิ่งอาจจะยากหน่อย แต่ก็คุ้มถ้า ท�ำส�ำเร็จ คือการก่อตั้งสโมสรใหม่ขึ้นหนึ่งสโมสร เรา ก็จะได้เพิ่มสมาชิกเข้ามาเป็นกลุ่ม ประมาณ 25 คน หรืออาจจะมากกว่านั้น โรตารีสากล ได้กำ� หนดแนวนโยบายไว้อย่าง รอบคอบ แต่ที่ผ่านๆมา สโมสรต่างๆ ไม่ค่อยจะให้ ความส�ำคัญกับการเพิ่มสมาชิก จึงได้ปรากฏวิกฤต ที่ เป็นปัญหาใหญ่ที่สุดเวลานี้...

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

“โปลิโอ : วายร้ายทีต้องกำ�จัดให้สิ้น” การกวาดล้างโปลิโอ ของโรตารีก�ำลัง เข้มงวดเข้ามาทุกทีแล้ว องค์การควบคุมโรคของ สหรัฐฯ รายงานเมื่อเดือนมีนาคม 2553 ว่า ยัง มีไวรัสโปลิโอเหลืออยู่ในประเทศภาคกลางและ ภาคตะวันออกของอาฟริกาอีก 9 ประเทศคือ ประเทศเบอร์กินา ฟาโซ ,แคนมารูน , ชาด ,กีเนีย ,ไลบีเรีย ,มาลี ,โบริกาเนีย ,เซเนกัล และชีราโลน ซึง่ เป็นประเทศทีย่ ากจน การสาธารณสุขไม่ดี และ มีพื้นที่ตามเขตแดนที่ยากแก่การเข้าถึง ท�ำให้การ เข้าไปหยอดวัคซีนโปลิโอเต็มไปด้วยความล�ำบาก ด้วยเหตุนี้โรตารี พร้อมด้วยองค์กรที่เกี่ยวข้องใน การกวาดล้าง กับประเทศที่เกี่ยวข้องจึงได้ตัดสิน ใจเข้าไปกวาดล้าง โดยการหยอดวัคซีนป้องกันโรค โปลิโอ ให้แก่เด็กทีม่ อี ายุตำ�่ กว่า 5 ปีอกี ครัง้ หนึง่ ใน วันที่ 6 มีนาคม 2553 นี้ นอกจากประเทศทั้ง 9 นั้น จะได้หยอดขยายเข้าไปในประเทศใกล้เคียง อีก 10 ประเทศได้แก่ ประเทศเบนิน ,เคปเวอร์ เด ,สาธารณรัฐอาฟริกากลาง ,แกมเบีย ,กานา ,กีนี-บิสเซา ,ไนจีเรีย ,โคท-ไดวอรี ,ไนเจอร์ และ โตโก โดย 4 ประเทศหลังจะได้ท�ำการหลังวันที่ 6 มีนาคมซึ่งการเลือกตั้งครั้งส�ำคัญได้เสร็จลงแล้ว ด้วย คาดว่าจะมีเด็กเข้ารับการหยอดวัคซีนครั้งนี้ ไม่น้อยกว่า 85 ล้านคน และมีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น ประมาณ 30 กว่าล้านเหรียญสหรัฐ. จากการติดตามผูป้ ว่ ยทีร่ อดชีวติ จากการ ระบาดของโรคนี้ที่นิวยอร์ค และที่เกิดตามมาโดย สถาบันต่างๆ ได้ให้ความรู้เพิ่มเติมสะเทือนความ รู้สึกของแพทย์และผู้ที่เคยเป็นโปลิโอเป็นอันมาก นั้นคือการได้พบว่ามีผู้ป่วยที่เคยเป็นโรคโปลิโอ แล้วถึง ร้อยละ 55 มีอาการคล้ายเป็นโปลิโอ เหมือนเมือ่ ครัง้ เป็นเด็กขึน้ อีก “เขาเป็นโรคโปลิโอ ซ�ำ้ หรือ” จากแพทย์ หรือ “ฉันเป็นโปลิโออีกหรือ”

จากผูท้ เี่ คยเป็นโปลิโอมาก่อน เมือ่ ได้ศกึ ษาค้นคว้า กันต่อไปอย่างกว้างขวางก็พบว่า ไม่มีเชื้อโปลิโอ หลงเหลืออยูใ่ นตัวของผูป้ ว่ ยเหล่านัน้ หากสิง่ ทีพ่ บ เป็นชิ้นส่วนของตัวไวรัสที่ถูกร่างกายท�ำลาย ไม่มี ฤทธิ์ที่จะท�ำให้เกิดโรคโปลิโอซ�้ำได้อีก การค้นพบ ความจริงข้อนี้ท�ำให้ผู้สงสัยพากันโล่งใจไปตามๆ กัน และเป็นที่มาของวลีใหม่ทางการแพทย์คือ “โพส-โปลิโอ ซินโดรม” อีกวลีหนึ่ง โพส-โปลิโอ ซินโดรม คืออาการหรือกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นหลัง จากได้เป็นโรคโปลิโอแล้ว ตามสถิติปรากฏว่า พบ หลังจากที่ได้เป็นโปลิโอแล้วประมาณ 15 ปี การได้รู้จัก “โพส-โปลิโอ ซินโดรม” ท�ำให้โรตารีและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการกวาด ล้างโปลิโอ ให้สิ้นโลกพากันมั่นใจ ที่จะกวาดล้าง ไวรัสโปลิโอที่ยังเหลืออยู่ให้สิ้นไป ปัญหาเฉพาะ หน้าคือการหากเงินมาใช้กวาดล้างไวรัสโปลิโอที่ ยังค้างคาอยูใ่ นทวีปอาฟริกา และการเฝ้าระวังโรค ต่อไปอีกอย่างน้อย 3 ปี ส� ำ หรั บ โรตารี แ ละโรแทเรี ย นยั ง ต้ อ ง ท�ำความพยายามหาเงินอีก 85.5 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ เพื่อให้ได้ครบ 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสมทบกับเงินบริจาคของมูลนิธิปิลล์แอนด์เม ลินดา เกตส์ 335 ล้านเหรียญ ตามที่โรตารีรับค�ำ ท้าไว้ หวังว่าโรแทเรียนทั่วโลกทั้งโรแทเรียนใน ประเทศไทยจะประสพความส�ำเร็จในไม่ช้านี้

“โปลิโอตัวร้ายจะต้องสิน้ ไปจาก โลกด้วยน�้ำมือของเราอย่างแน่นอน”


ร่วมส่งภาพกิจกรรม มาได้ที่ อน.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์ E-mail : nyosawat.gmail.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล E-mail : santi@rotary3360.org คณะผู้แทน ของ ภาค 3360 โรตารี สากล ร่วมถวายพระพร พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันเฉลิม พระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2553

ภาค 3360 โรตารีสากล สโมสรโรตารีกาวิละเชียงใหม่ เรียนเชิญเพือ่ นๆ ทุกท่าน ร่วมงานเลี้ยงต้อนรับคณะโรแทเรียนญี่ปุ่น ภาค 2760 และส่งมอบอุปกรณ์การเรียน ร่วมปลูกดอกซากุระ บน ดอยสูงร่วมกับเด็กๆ ชาวเขาเผ่าม้ง บ้านห้วยกว้าง-น�้ำ ซุ้ม ต�ำบลบ้านปง อ�ำเภอหางดง เชียงใหม่ (ตามราย ละเอียดจดหมายที่แนบมา) วันพุธที่ 26-01-2011 ศก นี้. ร่วมมอบขนม ของขบเคี้ยว อุปกรณ์การเรียนการ สอน เสื้อผ้า ผ้าห่ม ฯลฯ แก่เด็ก ก็ได้นะครับ รวมทั้ง อาหารแห้ง ข้าวสาร ก็ยิ่งดีครับ (ข้อมูล มีนักเรียนแต่ แต่อนุบาล ถึง ป.4 ประมาณ 160 คน)

สโมสรโรตารีกาวิละ เชียงใหม่ สโมสรโรตารีเวียงโกศัย จัดโครงการ ENGLISH CAMP ครั้งที่ 8 ณ โรงแรมสาริน พาร์ค วันที่ 15-16 มกราคม 2554 โดยได้รับการสนับสนุนงบ ประมาณบางส่วนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ มีนักเรียนอายุ 11-13 ปี เข้าโครงการจ�ำนวน 100 คน ในโครงการนี้มี Mr.Jim Wilson, Mrs.Audrey Wilson,Miss.Whitney Devibiss จากสโมสร SOUTH HILO D.5000 RI.และ 3 YE จาก U.S.A.,CANADA มาช่วยเป็นวิทยากร โดยวิทยากรหลัก เป็นอาจารย์ สอนภาษาอังกฤษจากประเทศฟิลปิ ปินส์ 5 ท่าน โดยมีลกู หลานและศิษย์เก่า ศิษย์ ปัจจุบนั ของสโมสรโรตารีเวียงโกศัย มาช่วยกิจกรรมอีก 14 คน โครงการนีไ้ ด้ด�ำเนิน มาเป็นครัง้ ที่ 8 แล้ว ได้รบั ประสิทธิผลเป็นอย่างสูง เสริมสร้างความรู้ ความรักและ ประสบการณ์ในภาษาอังกฤษให้กับเยาวชนในจังหวัดแพร่เป็นอย่างดี

4 สโมสรโรตารี ในจังหวัดเชียงใหม่ “คาวบอยไนท์ ครั้งที่ 2” พ่วงงาน “สามสิบปีโรตารีแม่สาย” เฉลิม ฉลองในวาระที่ สร.แม่สาย ก่อตั้ง ครบ 30 ปี มีทั้งความสนุกสนาน จากการแสดง การต่ อ สั ญ ญาคู ่ มิตร ระหว่างทั้งสองสโมสรฯ ต่อ เนือ่ งกันเป็นปีทสี่ บิ และกับ สร.จาง ฮั้ว เซ็นทรัล ไต้หวัน เป็นปีที่ ยี่สิบ เอ็ ด พร้ อ มกั บ กิ จ กรรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ร่วมกันอีกด้วย

สโมสรโรตารีเวียงโกศัย แพร่ สโมสรฯ เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม สโมสรฯ ล้ า นนาเชี ย งใหม่ สโมสรฯ เชียงใหม่ใต้ สโมสรฯ เชี ย งใหม่ สั น ทราย ร่ ว มกั บ เทศบาลนครเชี ย งใหม่ จั ด กิจกรรม “ท�ำบุญปล่อยปลา สุ ข ชี ว าปี ใ หม่ 2554” ณ บริเวณท่าน�้ำ หน้าเทศบาล นครเชียงใหม่ วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2553

สโมสรโรตารีแม่สาย และ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


สโมสรโรตารีเชียงใหม่

สโมสรโรตารีเวียงโกศัย

สโมสรโรตารีแม่จัน

8 สโมสรโรตารีใน จ.เชียงราย

สโมสรโรตารีพิษณุโลก

สโมสรโรตารีล�ำปาง


สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


05 END POLIO NOW

“PR.GRANT”

การประชาสัมพันธ์รณรงค์ กำ�จัดโรคร้ายโปลิโอ ให้หมด ไปจากโลกนี้ ของภาค 3360 โรตารีสากล พร้อมกับการหยอดวัคซีน ฟรี!!!! ครั้งที่ ๑ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ ครั้งที่ ๒ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๔

www.rotary3360.org



สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงสมิท - พฤศจิกายน 2010

RI.President Ray Klinginsmith Year 2010-11

ไปช่วยเหลือแอฟริกา Reach Out to Africa ผมไปเป็นนักศึกษาของโรตารีที่ มหาวิทยาลัยเคปทาวน์ในปี 1961 ระหว่างที่ศึกษาอยู่ที่ นั่น ผมได้เดินทางในทวีปแอฟริกา กว่า 16,000 ไมล์ ไปประเทศ ซิมบาเว แซมเบียและนามีเบีย ได้ไปเยี่ยมสโมสรโรตารี 35 สโมสรและพบปะโรแทเรียนอีกนับไม่ถ้วน จนมีความดื่มด�่ำลึกซึ้งกับ วัฒนธรรมอันหลายหลายของแอฟริกาใต้อย่างมาก ในการไปเยี่ยมในครั้งแรกนั้น ผมรู้สึกชื่นชอบ ในประเพณีและการด�ำรงชีวติ ในแอฟริกามาก และนับถือยกย่องประเทศและประชาชนทีน่ นั่ ท�ำให้ ผมต้องเดินทางกลับไปเยือนอีกหลายครัง้ ในฐานะโรแทเรียน และเป็นทีน่ า่ พิศวงมากทีว่ า่ บัดนี้ ผม ได้มโี อกาสพิเศษหนึง่ เดียวทีจ่ ะใช้ประสบการณ์ของผม ในฐานะอดีตนักศึกษาโรตารี มาเพือ่ ส่งเสริม บทบาทของโรตารีในแอฟริกาอีกด้วย ปีนี้เป็นปีที่ 4 ของโครงการรณรงค์ช่วยเหลือแอฟริกา (ROTA) ในปีนี้ คณะกรรมการโค รงการฯได้ปรับแต่งให้การด�ำเนินการมีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้า หมายโครงการ เรามีความจ�ำเป็นต้องเพิ่มจ�ำนวนโรแทเรียนในทวีปแอฟริกาให้มากขึ้น และผมก็ หวังจะได้เห็นโครงการบริการระหว่างประเทศเพิ่มทวีมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะโครงการที่รับความ ช่วยเหลือจากมูลนิธิโรตารี คณะกรรมการโครงการฯ มีเว็บไซท์ที่ดีเยี่ยม ผมขอเชิญทุกท่านเปิดอ่านได้ ที่ www.reachouttoafrica.org และ ในปีนี้ ผมได้ให้จัดกิจกรรมใหม่ขึ้น 2 กิจกรรมเพื่อช่วยให้โรแทเรียนไปช่วยเหลือแอฟริกา ได้ง่ายขึ้นและเพิ่มการมีส่วนร่วมในโครงการบริการระหว่างประเทศ กิจกรรมแรกมีชื่อว่า “งาน คืนสู่เหย้าโรตารีของเรย์” Ray’s Rotary Reunions ซึ่งจะจัดขึ้นที่เมืองเคปทาวน์ ระหว่าง 3-5 กุมภาพันธ์ 2011 ผมหวังว่ามิตรโรแทเรียนจะได้ไปร่วมงานนีก้ บั ผมทีเ่ มืองเคปทาวน์ดว้ ย กิจกรรม ที่ 2 คือ “โครงการซาฟารีโรตารี” Rotary Project Safaris ซึ่งจัดอ�ำนวยความสะดวกแก่โรแท เรียนในการไปเยีย่ มพืน้ ทีต่ า่ งๆ ในโลกทัว่ ไปทีย่ งั มีความยากไร้อยู่ และพืน้ ทีท่ โี่ รแทเรียนก�ำลังด�ำเนิน โครงการที่เป็นประโยชน์ ซึ่งจ�ำเป็นต้องขอความช่วยเหลือทางการเงินเพิ่มเติม ท่านสามารถอ่านรายละเอียดกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรมนี้ จากหน้าเว็บประธานโรตารีสากล www. rotary.org/president หรือสอบถามได้ที่ elsa.sanabria@rotary.org ผมภูมิใจที่ได้เป็นผลผลิตของมูลนิธิโรตารี และจะเป็นผลส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในฐานะ ประธานโรตารีสากลด้วย หากว่าผมได้ทำ� หน้าทีผ่ สู้ ง่ เสริมการรณรงค์ให้โรตารีไปช่วยเหลือแอฟริกา ได้เพิ่มขึ้น โปรดไปสมทบกับผมในงาน คืนสู่เหย้าโรตารี และใน โครงการซาฟารีโรตารี ตลอด จนเชื่อมต่อวงจรของผมในการเป็นนักศึกษามูลนิธิโรตารีในแอฟริกาและการช่วยเหลือโรตารีใน แอฟริกา เติบโตขึ้น ดียิ่งขึ้นและกล้าท�ำยิ่งขึ้นให้ส�ำเร็จ/ เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)


อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

อนาคต คือ ปัจจุบัน

5 ข้อทีผ่ นู้ ำ� โรตารีควรทราบเกีย่ วกับ วิสยั ทัศน์เพือ่ อนาคต (Future Vision) มีความไม่แน่ใจที่จะอธิบายเมื่อ มีผู้สอบถามเกี่ยวกับ วิสัยทัศน์เพื่ออนาคต นี่คือ แนวทาง ส�ำคัญที่สุดเกี่ยวกับวิสัยทัศน์เพื่ออนาคต ส�ำหรับภาคน�ำร่องวิสยั ทัศน์เพือ่ อนาคตทีเ่ ริม่ ใช้ใน เดือน กรกฎาคม 2553 นี้ มีโรแทเรี่ยนมากมายที่มีค�ำถาม เดี่ยวกับ โครงสร้างใหม่ของกองทุนสนับสนุนของมูลนิธิ โรตารี และนี่คือ 5 ข้อที่ผู้น�ำโรแทเรี่ยควรทราบเกี่ยวกับ วิสัยทัศน์เพื่ออนาคต 1. วิสยั ทัศน์เพือ่ อนาคตท�ำให้วธิ กี ารของการขอกอง ทุนสนับสนุนง่ายขั้น ซึ่งทรัพยากรต่างๆ จะก่อให้เกิดผลก ระทบอย่างสูงในทางทีด่ โี ดยตรงต่อโครงการและก่อให้เกิด ผลลัพธ์ทยี่ งั่ ยืน ก่อให้เกิดการยอมรับของสาธารณะ แผนดัง กล่าวจะท�ำให้มลู นิธโิ รตารี สามารถตอบสนองสิง่ ทีต่ อ้ งการ อย่างเร่งด่วนของโลก อย่างมีประสิทธิภาพ และ เป็นไปตาม ยุทธศาสตร์ที่วางไว้ 2. วิสัยทัศน์เพื่ออนาคตสนับสนุนให้โรแทเรี่ยนได้ ชี้ชัดนั้น ความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าตามหลักปรัชญาว่ามีการเปลี่ยนไปจากแบบจ�ำลอง โครงการที่เ น้น เฉพาะอย่าง แบบจ�ำลองของโครงการ กองทุนสนับสนุนแบบใหม่ ทีม่ คี วามยืดหยุน่ ทีม่ ากกว่า และ ความเข้มงวดที่เล็กน้อย เพื่อเปิดโอกาสให้เกิดนวัตกรรมที่ ยิ่งใหญ่กว่าของโรแทเรี่ยน 3. วิสัยทัศน์เพื่ออนาคตเป็นโครงการที่ไม่เฉพาะ เจาะจงของภาคเท่านั้น สโมสรและภาคสามารถพัฒนา กองทุนสนับสนุนระดับโลก (Global Grants) ซึ่งมีความ ยืดหยุ่นที่มากกว่าส�ำหรับสโมสรในการออกแบบโครงการ ใหม่ และ กิจกรรมต่างๆ กองทุนสนับสนุนระดับโลกแบบ ส�ำรวจรูป (Packaged Global Grants) เป็นโครงการที่ มูลนิธิโรตารี และ หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เช่น ยูนิเซฟ,

องค์การอนามัยโลก, มูลนิธบิ ลิ เกตท์ เมลินด้า, มหาวิทยาลัย ต่าง ที่มูลนิธิโรตารีรับรองการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ (Strategic Partners) ที่จะได้ร่วมกันออกแบขึ้น เช่น โครงการน�้ำสะอาด โครงการให้วัคซิน ป้องกันโรคให้เด็ก เป็นต้น ซึ่งเป็นโครงการที่มีมูลค่าอย่างน้อย u$50,000 (1,6000,000 บาท) ซึ่งจะเชิญชวนให้ภาคสโมสรในภาค น�ำร่อง (แผนวิสัยทัศน์เพื่ออนาคต) สมัครท� ำโครงการ โดยต้องสมทบเงินใดๆ ทั้งสิ้น สโมสรต่างๆ ในภาคน�ำร่อง สามารถท�ำโครงการโดยใช้ กองทุนสนับสนุนของภาค (District Grants) เช่นกัน 4. วิสัยทัศน์เพื่ออนาคตคือ สิ่งที่ยิ่งใหญ่ของทุนการ ศึกษาและให้ทางเลือกต่างๆ สโมสรและภาคสามารถให้ทนุ นักศึกษาท้องถิน่ และ ต่างประเทศ ทุนให้ระดับอุดมศึกษา และ ให้นักศึกษาที่รับทุนสามารถเลือกสถานศึกษาได้ เอง กรอบเวลาในการยื่นใบสมัครที่สั้นกว่า ท�ำให้โรทเรี่ย นสามารถจัดสรรการเงิน เพื่อเป็นทุนการศึกษาให้ตรงกับ ความต้องการ นักศึกษาที่รับทุน 5. วิสัยทัศน์เพื่ออนาคต ใช้ระบบอินเตอร์เนทใน การยื่นสมัคร ส�ำหรับท�ำโครงการกองทุนสนับสนุนต่างๆ (กองทุนสนับสนุนระดับโลก, กองทุนสนับสนุนระดับภาค) ซึ่งเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบันที่ทำ� ให้ลด การใช้กระดาษโรแทเรี่ยน สามารถน�ำเสนอข้อมูลเพื่อขอ กองทุนสนับสนุน และ ลงนามทางอินเตอร์เนท ท�ำให้ลด เวลาส�ำหรับขั้นตอนการสมัครของกองทุนสนับสนุน ถ้า คุณยังไม่คุ้นเคยระบบการเจ้าถึงของสมาชิก (Member Access) ผ่านระบบอินเตอร์เนท กรุณาสอบถามได้ที่ ประธานคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ภาค หรือ กรรมการ การอบรมวิสัยทัศน์เพื่ออนาคตของภาค (คณะกรรมการ FVP ภาค 3360)

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓

สารฯ ฉบับนี้ ได้นายแบบสุดหล่อ มานอนหลับตาพริ้ม ฝันถึงโรคร้ายโปลิโอ ที่จะหมดไปจาก โลกใบนี้ ด้วยความร่วมมือจากโรแทเรียนทั่วโลก เป็นความฝัน ความหวัง ที่แสนจะท้าทาย เพื่อเด็กๆ ทุกคนในอนาคตในโลกนี้ จะไม่ต้องได้ประสบ พบพาน ทนทุกข์ทรมานกับโรคร้ายโปลิโอ อีกต่อไป ควาามฝัน ความหวัง จะเป็นจริงได้ ด้วยการลงมือปฏิบัติเท่านั้น พวกเรา มวลมิตรโรแทเรียน ทั่วภาค 3360 ทั่วประเทศ และทั่วโลก ต่างร่วมแรง ร่วมใจ ร่วม รณรงค์หยอดวัคซีน ให้กับเด็กๆ พร้อมๆ กัน ในวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ที่ผ่านมา และ หยอดซ�้ำอีก ครั้ง ในวันที่ 19 มกราคม 2554 สารฯ ฉบับนี้มีเรื่องราวของการท�ำการประชาสัมพันธ์ ของภาคฯ เราที่ได้ทุนสนับสนุนจาก โรตารีสากล อ่านเบื้องหน้า เบื้องหลัง พร้อมภาพกิจกรรมต่างๆ ที่รวบรวมมาได้ในเวลาที่จ�ำกัด นอกเหนือจากเป็นนายแบบสุดหล่อแล้ว ดช.พรรษวัฏ จรรญาศักดิ์ ยังพ่วงต�ำแหน่ง PHF (Paul Harris Fellow) ที่อายุน้อยที่สุดในโลก หลังคลอดเพียง 2 ชม.เท่านั้น ส่วนหน้าตา ถ้าคุ้นๆ ก็ไม่ต้องสงสัย.. เพราะแม่นแล้ว ! เป็นหลานตาของท่าน ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี นั่นเอง บอกอ ผู้ร่วม Make a Wish และขอให้สมปรารถนาด้วยเทอญ


อ่ า นเรื่ อ ง แล้ ว วาดให้ เ ป็ น Best Regards ภาพ ตามจิ น ตนาการใคร PP.Surasak จินตนาการมัน เรียน คุณสันติที่นับถือ เรื่อง...โปลิโอ จอมปีศาจ พีต่ อ้ งขอขอบคุณเป็นอย่างมากทีม่ าร่วมงาน และต้องขอโทษ และฝันร้ายในวัยเด็ก.... ด้วยที่ไม่ได้เอ่ยนามตอนกล่าวรายงาน ไม่รู้ว่าจะมาตอนกล่าวนึกชื่อคุณ สันติได้แต่จำ� นามสกุลไม่ได้ จึงไม่ได้กล่าวขอบคุณความผิดพลาดเท่านั้น เมื่อหลายพันปีก่อน บน ยังไม่พอยังไม่ได้เลีย้ งข้าวอีก ต้องขอโทษรอบสองพีไ่ ม่คอ่ ยสบายด้วยทาน โลกทีเ่ คยมีความสงบสุข เด็กๆ ยาแก้หวัดแล้วเบลอๆขอโอกาสรอบหน้าไม่ว่ากันนะคะ ได้วิ่งเล่นกันอย่างสนุกสนาน พีน่ า่ จะมอบธงไปกับผวล.อนุรกั ษ์ไปเลยเนาะ เพราะเสร็จงาน ก็ ไ ด้ มี ป ี ศ าจร้ า ยได้ อุ บั ติ ขึ้ น แล้วและยังมีธงที่โรงพิมพ์ส่งมาให้อีก 2000 ใบเป็นแบบสองหน้าจะเก็บ มันมีแหล่งก�ำเนิดมาจากเชื้อ ไว้ท�ำปีหน้าก็ยังได้ ไว้ใกล้ท่านผวล.จะเดินคงได้เจอกันอีกแล้วค่อยน�ำไป ไวรัส เจ้าปีศาจนี้มันมีชื่อว่า ให้จะให้พี่ส่งไปติดก้านให้สำ� เร็จเลย หรือจะไปท�ำเองที่ล�ำปางก็ได้แต่อัน “โปลิโอ” เจ้าปีศาจร้ายโปลิโอ เก่าก็ยังเหลืออีกเยอะเกือบพันอัน นีม้ นั ชอบอาศัยอยูใ่ นทีส่ กปรกๆ ไว้นสพ.ออกหลังวันที่ 16 พี่จะรวบรวมแล้วท�ำรายงานส่ง ตัวมันจะผสมผสานไปกับอากาศ ล่องลอยไปทั่วๆ เมื่อคนกินหรือสัมผัส พร้อมค่าใช้จ่ายไม่ต้องกังวลค่ะ คงไม่เกินงบแน่นอนคิดว่างานกิจกรรมที่ มันทางปากแล้ว มันก็จะถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระ แล้วมันก็อยู่ตาม พิษณุโลกคงใช้ได้นะ จ�ำนวนคนประมาณ 500 กว่าคน อ้อ เสือ้ ทีอ่ น.พัลลพ แหล่งที่สกปรกๆ แล้วมันก็ลอยขึ้นสู่อากาศ จากนั้นก็แพร่ไปสู่คนอื่นต่อ ส่งมาหมดแล้ว พี่เหมาหมดแล้วแจกทีมงานไปหมดแล้วส่วนสติ๊กเกอร์ยัง ไปเรื่อยๆ อย่างนี้อย่างไม่มีวันจบสิ้น เหลืออยู่ประมาณ170 ใบกะว่าจะเอาไปขายในวันหยอดโปลิโออีกที เด็กๆ เป็นอะไรทีเ่ จ้าปีศาจ “โปลิโอ” นีช้ อบมากๆ และมันเป็น ด้วยโรตารี ฝันร้ายของเด็กๆ เลยเชียวหล่ะ หากเด็กๆ เล่นสกปรกเผลอให้มันเข้าไป พี่อาท ทางปากเมื่อไรหล่ะก็ มันจะเข้าไปท�ำลายระบบประสาทในการความคุม กล้ามเนื้อ ท�ำให้กล้ามเนื้อแขนขาไม่มีแรง ที่เห็นชัดๆ เลยคือ ขาจะลีบ เรียนพี่อาทผชภ.จิตมากรที่เคารพ, เล็ก ไม่มีแรง เดินไม่ได้ วิ่งเล่นก็ไม่ได้ กลายเป็นคนพิการ และเจ้าปีศาจ ผมอิม่ ครับอิม่ สุขอิม่ ใจโดยทีค่ ณะกรรมการจัดงานไม่ตอ้ งเลีย้ ง ร้ายโปลิโอนี้ชอบมากๆ เลยที่จะกลืนกินเด็กๆ ที่มีอายุสักเดือนสองเดือน ข้าวเลย ไปจนอายุสิบสี่สิบห้า ผมขอส่งรูปภาพส่วนหนึง่ มาให้ทา่ นประธานจัดงานท่านผวภ. ต่อมาได้มเี หล่าอัศวินทีม่ ชี อื่ ว่า “โรตารี” ผูม้ ี “ฟันเฟือง” เป็น ท่านผวล.ท่านประธานมูลนิธแิ ละท่านประธานรณรงค์200 ล้านเหรียญมา สัญญลักษณ์ มีเครือข่ายที่กระจายกันอยู่ทั่วโลก ได้ร่วมมือกับหลายๆ ให้ดูว่าบรรยากาศแห่งการบริการชุมชนที่พิษณุโลกนั้น เปี่ยมไปด้วยจิต องค์กรที่ต้องการผดุงความยุติธรรมและก�ำจัดปีศาจร้าย “โปลิโอ” นี้ให้ บริการของทุกภาคส่วนสะท้อนความทุม่ เทความเสียสละรวมถึงมิตรไมตรี หมดไปจากโลก เข้าต่อสูฟ้ าดฟันกับปีศาจร้ายนีม้ าอย่างยาวนาน และเหล่า ที่ได้ก่อเกิดขึ้นอย่างไร อัศวิน “โรตารี” ก็เริม่ ท�ำส�ำเร็จด้วยการก�ำจัดเหล่าปีศาจร้าย “โปลิโอ” ที่ ผมขอขอบคุณท่านประธานจัดงาน ผชภ.จิตมากร รอบบรรเจิด กระจายอยูท่ วั่ โลกนีจ้ นเกือบจะหมดโลกแล้วหล่ะ เพือ่ ทีต่ อ่ ไปจะได้ไม่ตอ้ ง และคณะกรรมการจัดงานทุกท่านเป็นอย่างสูง ทีไ่ ด้ทำ� งานอย่างแข็งขันใน เป็นฝันร้ายที่คอยกลืนกิน และเด็กๆ จะได้ไม่ต้องโตขึ้นมาเป็นคนพิการ ระยะเวลาเตรียมงานที่สั้นมาก เด็กๆ สามารถเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ สามารถวิ่งเล่น และท�ำอะไรๆ ที่เป็น ขอบคุณท่านผวล.อนุรักษ์ที่ได้ร่วมเดินทางไปกับผมด้วยผม ประโยชน์ต่อมนุษยชาติและโลกนี้ต่อไป เชื่อมั่นว่าโครงการดังกล่าวจะได้ประสบผลส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ของ อาวุธทีร่ า้ ยแรงทีส่ ดุ ทีเ่ จ้าปีศาจร้าย “โปลิโอ” นีก้ ลัวมากทีส่ ดุ การจัดงานที่ตั้งไว้ทุกประการ นั่นก็คือ น�้ำมนต์ “วัคซีนโปลิโอ” นั่นเอง ดังนั้นเด็กๆ จะต้องช่วยเหล่า ขอบคุณครับพี่อาทมากครับ อัศวิน “โรตารี” นีป้ ราบปรามปีศาจร้าย “โปลิโอ” ด้วยการเข้าร่วมในการ รทร.สันติเหล่าพาณิชย์กุล รับน�ำ้ มนต์ (หยอดวัคซีนโปลิโอ) ตามทีเ่ หล่าอัศวิน “โรตารี” ได้กำ� หนดไว้ และช่วยกันเผยแพร่กระจายข่าวบอกพีป่ า้ น้าอา ถึงความร้ายกาจของเจ้า ปีศาจร้าย “โปลิโอ” นีย้ งั ไม่หมดไปจากโลก แต่ตอนนีม้ นั ก�ำลังจะหมดไป เพราะเด็กๆ กับเหล่าอัศวิน “โรตารี” ได้รว่ มมือกันปราบปราบให้สนิ้ ซาก และเจ้าปีศาจร้าย “โปลิโอ” จะต้องหมดไปจากโลกใบนี้ภายในไม่ช้า.... เจ้าปีศาจร้าย “โปลิโอ” จะต้องหมดไปจากโลกใบนี้ ด้วย น�้ำมนต์ (หยอดวัคซีนโปลิโอ) ของเหล่าอัศวิน “โรตารี” ที่จะปกป้อง เด็กๆ ที่น่ารัก และเป็นอนาคตของมวลมนุษยชาติได้...โดยเด็กๆ ทุกคน จะต้องร่วมมือกับเหล่าอัศวิน “โรตารี” ก�ำจัดมันให้หมดสิ้น เจ้าปีศาจ ร้าย ”โปลิโอ”...ฝันร้ายของเด็กๆ www.rotary3360.org/endpolio รทร.ทศพล เพชรัตนกูล (ครูช้าง) สโมสรโรตารีเชียงใหม่ภูพิงค์ Dear Santi The parade of End Polio now lead by all rotary clubs in Pitsanulok have done well . I would to thanks AG.Jitmakorn and her team which organnized this event very well.

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


สวัสดีปีใหม่ครับ มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน คอลัมน์ “เสียงนก เสียง กา” ฉบับนี้มาในหัวข้อ “คุณอยากให้องค์กร โรตารีมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทาง ไหน หรือ อยากให้โรตารีเป็นอย่างไร” ผมก็รับความร่วมมือจากสมาชิกชาว โรแท เรียน เช่นเคย ผมต้องขอขอบคุณทุกท่านด้วยครับ ทีไ่ ด้ชว่ ยสร้างสีสนั ให้กบั คอลัมน์ “เสียงนก เสียงกา” นี้ครับ รทร.ประยูร ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

“อยากให้ โรตารี เป็นอย่างไร”

ผชภ.นยก.นิวัธน์ เสตะสวัสดิ์พงษ์ สโมสรโรตารีสุโขทัย ผมรูส้ กึ ตืน่ เต้นดีใจทีไ่ ด้รบั เกียรติจาก อน.ประยูร ศิรนิ ภาพันธ์ ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการสารผูว้ า่ การภาค ที่ให้เขียนอะไรเกี่ยวกับโรตารีประมาณสัก 10 บรรทัด ใจหนึ่งอยากจะปฏิเสธแต่ก็ไม่กล้า ก่อน จะเป็นโรแทเรียน ไม่เคยมีความรู้เรื่องโรตารีมา ก่อน ในท้องถิ่นของเรามีสโมสรโรตารีตั้งอยู่ สังเกตดูผู้ที่เป็นสมาชิก ส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่ผู้มีเกียรติและมีหน้าตาในสังคม ไม่ทราบว่า โรตารีคืออะไร จนกระทั่งวันที่มีโอกาสได้เป็นโรแทเรียน จากวันนั้น ถึงวันนี้เป็นเวลานานถึง 32 ปี โรตารีท�ำในสิ่งที่ท�ำยากแต่ได้ท�ำมา แล้ว 100 กว่าปี คือบริการผู้อื่นเหนือตนเอง โลกของโรตารีมีอะไร หลายอย่างที่น่าศึกษา โชคดีที่ได้มีโอกาสเข้ามาอยู่ในโลกของโรตา รีท ี่สอนให้มนุษย์รักและห่วงใยในเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เพียงแค่วลี 4 ประโยค เป็นความจริง อิงเที่ยงธรรม น�ำไมตรี ดีทุกฝ่าย หากปฏิบัติ ได้ในสิ่งที่คิด พูด หรือท�ำ โลกนี้ก็จะมีแต่สันติสุข และสันติภาพที่ ทุกคนปรารถนา โรตารีนอกจากบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อมนุษย์ชาติ ส่ง เสริมมาตรฐานจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ ส่งเสริมการสร้าง ไมตรีจิตมิตรภาพและสันติภาพของโลกแล้ว สิ่งที่โรแทเรียนได้รับ จากโรตารีนั้นมีอยู่มากมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับทัศนคติของการมองว่า จะมองโรตารีอย่างไร

Make a Wish

สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู่พราวพราย

อน.สุมาลี กันจินะ สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ อยากให้สมาชิกก่อตั้งหรือ สมาชิกเก่าที่ลาออก ไปกลับมา ร่วมเป็นสมาชิกของสโมสรอีกครั้ง เพราะท่านมีประสบการณ์ที่ดีในช่วงตอนที่ท่าน ยังเป็นโรแทเรียนอยู่ มาให้ความรู้เพื่อจะดึงดูด ให้ผู้ที่เราจะชักชวน ให้มาเป็นสมาชิกใหม่สนใจ ทีจ่ ะมาร่วมในสโมสรเราได้มากขึน้ ในช่วงทีจ่ ดั กิจกรรมก็ท�ำให้คกึ คัก และท�ำงานได้สำ� เร็จง่ายขึน้ การจัดกิจกรรมร่วมกันโดยหลายๆสโมสร มารวมกัน เช่น สังสรรค์วันปีใหม่ เพื่อจะได้พบปะกันอย่างทั่วถึงทั้ง สโมสรเล็กและสโมสรใหญ่มารวมกัน ท�ำให้เกิดความรักและสามัคคี จะท�ำให้เกิดมิตรภาพที่แน่นแฟ้น และดึงดูดให้ผู้มุ่งหวังอยากเข้ามา เป็นสมาชิกเพิ่มมากขึ้น อยากให้มีสมาชิกรุ่นใหม่เข้ามาในอาชีพ ที่ หลายหลายสถาบันเพือ่ เพิม่ ความรูใ้ นสิง่ ใหม่ๆ เช่น สือ่ วิทยุ โทรทัศน์ วารสาร ประชาสัมพันธ์ เพือ่ จะได้เผยแพร่ผลงานกิจกรรมทีน่ า่ สนใจ ของเราให้แพร่หลายต่อสาธารณชนอย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ สวัสดีปีใหม่ 2554 คะชาวโรแทเรียนทุกท่าน คงไม่ช้าเกินไปที่จะ กว่าค�ำนี้นะคะ รทร.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ จาก คอลัมน์ “ เสียงนก เสียงกา ” ขอให้ดิฉัน เขียนความรู้สึกว่าอยากได้อะไรกับโรตารีในปี ใหม่2554 นี้ ก็คิดยากเหมือนกันนะ เพราะเรา โรแทเรียนทุกคนต้องมีค�ำว่าให้อยู่ในใจกันทุก คน เช่น ให้ความรัก ให้ความสุข และให้ความ


เป็นเพื่อนแก่ทุกคน ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ด้อยโอกาส แต่เมื่อได้ รับมอบหมายมาแล้วก็ขอเขียนสักนิด สิ่งที่ดิฉันอยากได้ก็คงไม่ยาก เกินไปที่จะท�ำกัน ดิฉันอยากให้เราชาวโรแทเรียนทุกคนรักกัน ปอง ดองกัน ไม่มีความแตกแยก ไม่มีการแบ่งพวกเราพวกเขา เราเข้ามา เป็นโรแทเรียนด้วยความสมัครใจ ไม่มีใครบังคับ ไม่มีเงินเดือน แต่ ที่เราเข้ามาก็เพื่อสร้างความสุขให้แก่คนที่ด้อยโอกาสกว่าเรา และ ที่แน่นอนที่สุดก็คือความสุขของตัวเราเองด้วย ความสุขคือที่เรามี เพื่อนๆที่อยู่ทั่วประเทศ ที่สามารถพูดคุยร่วมสนุกสนานร้องเพลง ร่วมกันได้ทุกคน แล้วเรามาผิดใจกันท�ำไม เรามารักกันเถอะแล้วมา ร่วมกันท�ำงาน เพือ่ เป็นประโยชน์แก่คนทีด่ อ้ ยโอกาสจะดีกว่า ดิฉนั ได้ มีโอกาสร่วมงานกับโรตารีมากว่า 10 ปีได้ตั้งแต่ยังเป็นแอนน์อยู่ จ�ำ ได้ว่าเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว โรตารีเรามีความสุข –สนุก เราช่วย กันท�ำกิจกรรมไม่วา่ จะเป็นงานของภาคหรือของสโมสรแต่ละสโมสร เราจะร่วมกันท�ำอย่างเต็มที่ ท�ำให้เรามีความสนิทสนมกันจนทุกวันนี้ สิ่งที่อยากได้ก็มีเท่านี้คะขอบคุณคอลัมน์ “ เสียงนก เสียงกา ” ที่ให้ ดิฉันได้มาแสดงความคิดเห็น อน.ดรัณ ศิริเลิศ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ใต้ ก่อนอืน่ ขอกล่าวค�ำว่า “สวัสดีปใี หม่กระต่ายทอง ครับ” ปีนี้น่าจะเป็นปีที่ดีส�ำหรับทุกๆท่านนะ ครับ เหตุเพราะว่าถ้าปีไหนที่ลงท้ายว่า “ทอง” ตามต�ำราทางโหราศาสตร์จีนเค้าถือกันว่าเป็น ปีที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความเรียบร้อย มัก จะไม่วนุ่ วาย เพราะธาตุทองเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุภาพเรียบร้อย อ่อนน้อมถ่อมตน น่ารักและมีความเป็นมิตร เหมือนกับเราชาวโรตา รีไงครับ โรแทเรียนทุกคนเป็นผู้ใจโอบอ้อมอารี มีจิตอาสาเพื่อการ บ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ ยิ่งเริ่มต้นปี 2554 นี้และเดือนนี้ก็ เป็นเดือนแห่งการตระหนักในโรตารี ผมเองหวังใจที่จะเห็นความ สมัครสมานสามัคคี พลีประโยชน์เพื่อส่วนรวมของเราเหล่าโรแท เรียน พวกเราเมือ่ ขันอาสาทีจ่ ะประพฤติตนเพือ่ การบ�ำเพ็ญประโยชน์ แล้ว ย่อมสมควรที่จะสืบสานปณิธานของท่านพอลพี แฮร์ริส ผู้ให้ ก�ำเนิดโรตารี ในการที่จะ “บ�ำเพ็ญประโยชน์ เหนือ ตนเอง” บน การทดสอบ 4 แนวทาง ท้ายนี้ ขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทุกท่าน ได้สักการะและศรัทธา ได้อภิบาลปรกปักษ์รักษาครอบครัวทุกท่าน ให้มีความสุขสวัสดี พรั่งพร้อมด้วยจตุรพิตรพรชัย ตลอดปีใหม่และ ตลอดไปด้วยเทอญ รทร.สุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ สโมสรโรตารี ช้างเผือกเชียงใหม่ ท่ามกลางความสับสนในสังคม ทุกระดับไม่ว่า ระดับระหว่างประเทศ ระดับประเทศ ระดับ ภูมิภาค จนถึงระดับย่อย คือบุคคลต่อบุคคล แสดงว่าคนในสังคมมีปัญหาแน่ ถามว่านี่เป็น ปัญหาใหม่ หรือไม่ก็อยากจะกล่าวว่าปัญหานี้มี มาทุกยุคทุกสมัย เพียงแต่ความรุนแรงของปัญหาจะมากหรือน้อยซึง่ เป็นตัวบ่งชีถ้ งึ คุณภาพคนในสังคมในสังคมโรตารีกเ็ ช่นกันถึงแม้วา่ เห ล่าโรแทเรียนจะร่วมอุดมการณ์เดียวกันก็ตาม แต่ปัญหาข้อขัดแย้งก็ เกิดขึ้นมากบ้างน้อยบ้าง ไปในแต่ละปีและแต่ละภาคท�ำไมถึงเป็น

เช่นนั้น ทั้งๆที่กระบวนการคัดคนเข้ามาเป็นสมาชิก (โรแทเรียน) นั้น ทางโรตารีสากลได้ให้แนวทางไว้ดีมาก ตลอดจนเมื่อเข้ามาแล้วยัง มีแนวทางการพัฒนาความเป็นผู้นำ� ทุกระดับอีกด้วย แต่ปัญหาก็ยัง เกิดขึ้นอย่างที่ปรากฏทั้งต่อหน้าและลับหลังสังคม มีหลายๆ คนได้ หารือว่าแล้วสังคมโรตารีจะแก้ไขเรื่องนี้ได้อย่างไร! ท่านครับเป็นไป ได้ไหมครับถ้าทุกคนในแวดวงโรตารี เราจะหันหน้ามาสนใจกฎ-กติกา ของโรตารีเพือ่ จะได้ขจัดข้อขัดแย้งต่างๆ โดยเฉพาะหันมาด�ำเนินตาม แนวทางของ“บททดสอบสี่แนวทางคือ เป็นความจริงอิงเที่ยงธรรม น�ำไมตรีและดีทกุ ฝ่าย” ในทุกสิง่ ทุกอย่างทีจ่ ะพูดจะคิดจะท�ำผมคิดว่า นี่เป็นศีล 4 ข้อของโรแทเรียนที่แท้จริงครับและที่ส�ำคัญ “เลิกอ้างอิง ความคิดเห็น ส่วนตัวของบุคคลในโรตารี” เพราะเมื่อเป็นความคิด เห็นก็ย่อมมีการตีความ และไม่ใช่เนื้อหาที่โรตารีสากลก�ำหนด หรือ ให้แนวทางไว้ก็จะก่อให้เกิดความสับสนครับ ด้วยความปรารถนาดี ต่อสังคมโรตารีที่เป็นที่รักของทุกคนครับ (บทความนี้เป็นความคิด เห็นส่วนตัวไม่ได้มีเจตนาจะขัดแย้งกับผู้ใดครับ) ผชภ.วรกิจ อุ่ยอุทัย สโมสรโรตารี นครเทิง ก็ต้องขอกล่าว เสียงอันดังไปยังมวลมิตรโรแท เรียนทั่วทั้งภาค 3360 ว่า “สวัสดีปีใหม่ 2554” เมือ่ ถึง ณ เวลานีก้ แ็ สดงว่าปีโรตารีภายใต้คำ� ขวัญ “ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก” BUILDING COMMUNITIES BRIDGING CONTINENTS ได้ เดินทางมาถึงครึ่งทางแล้ว หัวเรือใหญ่ของภาค 3360 ผวภ.นพ.วีระ ชัย จ�ำเริญดารารัศมี ยังยิ้มสู้ ยิ่มต้อนรับการท�ำงานอย่าง ไม่รู้จักค�ำ ว่าเหน็ดเหนือ่ ย มิตรโรแทเรียนทุกคนทราบดีวา่ การขึน้ มาสูต่ �ำแหน่ง นีจ้ ะต้องท�ำงานหนักแค่ไหน ? แต่ปนี มี้ งี านพิเศษเพิม่ มาอีกอย่างหนึง่ นั่นคือ “วิกฤตสมาชิกภาพของโรตารี” เหมือนสายฟ้าฟาดลงมาใน ตอนกลางวันท่ามกลางแสงแดดที่ร้อนจัด เมื่อสภานิติบัญญัติของ RI มีมติให้ รวมภาคที่มีโรแทเรียนไม่ถึง 1,200 คน และทุกสโมสรต้องมี สมาชิก 20 คนขึ้นไปจึงจะสามารถอยู่ต่อไปได้ งานเข้าทันทีส�ำหรับ ผู้ว่าการภาค คนใหม่ ทุกสโมสรที่ท่านเดินทางไปเยี่ยม ต่างรับทราบ และรับปากว่าจะหาทางเพิม่ สมาชิกเพิม่ บางแห่งมีไม่ถงึ 10 คน ก็รบั ว่าสิ้นปีจะท�ำให้ได้ 10 คน ส่วนสโมสรที่ไม่ถึง 20 คนก็รับปากรับค�ำ ว่าจะต้องถึงให้ได้เพื่อว่าเราจะได้ไม่ต้องไปรวมตัวกับภาคอื่นตามค�ำ สั่งของนายใหญ่ RI ส�ำหรับ สโมสรที่มีสมาชิกเกิน 20 คนก็ไม่ดูดาย จะหาเพิม่ ขึน้ ไปอีก “ สัญญาต้องเป็นสัญญา “ ดังนัน้ ใครทีร่ บั ปากแล้ว ต้องท�ำให้ได้นะ ถ้าท่านคิดว่างานนี้ หนักมากเกินไปละก้อ ขอให้มติ ร โรแทเรียนนึกถึงภาพที่เราไปหยดวัคซีนโปลีโอให้แก่เด็กๆ ภาพที่เรา น�ำเครื่องกรองน�้ำไปมอบให้กับโรงเรียน ในชนบท ภาพที่เราท�ำฝาย กัน้ น�ำ้ ภาพทีเ่ ราปล่อยปลาลงสูแ่ ม่น�้ำ และภาพทีเ่ ราน�ำรถเข็นส�ำหรับ คนพิการไปมอบให้กับเขาเหล่านั้นซิ ภาพต่างๆ เหล่านั้นจะเป็นพลัง ที่เกิดขึ้นจากใจของท่าน ท�ำให้ท่านออกไปพบกับผู้คนรอบข้างเพื่อ แนะน�ำเขาว่านี่คือ สิ่งที่โรตารีกำ� ลังท�ำอยู่และยังท�ำต่อไป เชิญชวน เขาเหล่านั้นเข้ามาเป็นก�ำลังเสริมเพื่อร่วมกัน บริการผู้อื่นเหนือตน Service Above Self

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


กิจกรรมเดินการกุศล จังหวัดพิษณุโลก ใน โครงการ “โปลิโอพลัส” วันที่ 9 ธันวาคม 2553 เพื่อรณรงค์ขจัดภัยโปลิโอให้หมดสิ้น พร้อมรับการหยอดวัคซีนโปลิโอ 2 ครั้ง ฟรี!!! ผชภ.จิตมากร รอบบรรเจิด สโมสรโรตารี นเรศวร

นางจิตมากร รอบบรรเจิด (นเรศวร) ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-2554 ประธานจัดงานโครงการโปลิโอพลัส จังหวัด พิษณุโลก อธิบายว่า โปลิโอพลัส คือ ความมุ่งมั่นของโรตารีที่จะขจัดโปลิโอ ให้หมดไปจากโลกนี้ มีเด็กมากกว่า 2,000 ล้านคนทั่วโลกที่ได้รับภูมิคุ้มกัน จากโรคนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 โรตารีเป็นผู้บริจาคเงินรายใหญ่ที่สุดกว่า 600 ล้านเหรียญ หรือประมาณ 24,000 ล้านบาท พร้อมกองทัพอาสาสมัครใน การขนส่งวัคซีนและท�ำกิจกรรมต่างๆ ให้โรคโปลิโอหมดสิน้ และข้อมูลล่าสุด เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 จากองค์กรอนามัยโลก ปรากฏว่าประเทศอินเดีย ปากีสถาน ไนจีเรีย อัฟกานิสถาน และอีกหลายประเทศ ยังมีผตู้ ดิ เชือ้ โปลิโอ รวมทั่วโลก 597 คน แม้ว่าประเทศไทยจะปลอดเชื้อโปลิโอแล้วก็ตาม แต่ การคมนาคมที่สะดวกจะเป็นพาหะที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด โรตารีเป็นองค์กรเครือข่ายทั่วโลก ประกอบด้วยผู้นำ� ด้านธุรกิจ สายวิชาชีพและชุมชนท้องถิ่นกว่า 1.2 ล้านคน มุ่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ เพือ่ ช่วยเหลือเพือ่ นมนุษย์ ยกระดับมาตรฐานจริยธรรม ในทุกสายอาชีพให้ สูงส่ง ช่วยเสริมสร้างมิตรไมตรีจิตและสันติสุขทั่วโลก มีสโมสรกว่า 32,000 แห่ง กว่า 200 ประเทศในโลก สโมสรโรตารีไม่ข้องเกี่ยวการเมือง ศาสนา เปิดกว้างแก่ทุกวัฒนาธรรม เชื้อชาติและลัทธิความเชื่อของแต่ละบุคคล ตามคติพจน์ของโรตารี ที่บ่งว่า “ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก” จึงจัด กิจกรรมเดินการกุศลในโครงการ “โปลิโอพลัส” ขึ้น โดยสโมสรโรตารีทุก สโมสรในจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดพิจิตร ร่วมกับ สโมสรอินเตอร์แรคท์ ทุกสโมสร สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพทุ ธ


ชินราช พิษณุโลก นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร และสมาคมนิสิต เก่ามหาวิทยาลัยนเรศวร จึงเป็นช่วงเวลาอันดีที่โรแทเรียนและองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในจังหวัดพิษณุโลกเกือบ 600 คนได้รวม พลังกันรณรงค์ขจัดภัยโปลิโอให้หมดสิ้นไป โดยมี ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ (ดอยพระบาท) และ รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล (เชียงใหม่) ได้ร่วมกิจกรรมเดินการกุศลในโครงการ “โปลิโอ พลัส” เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2553 โดยมี นายนริศ ปิยพฤกษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เป็นประธานในพิธีเปิดงาน เริ่มต้นจากศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ไปสิ้นสุดที่สถานีรถไฟ พิษณุโลก เวลา 13.00 น.-16.00 น. พร้อมเชิญชวนผู้ปกครอง น�ำบุตรหลานที่มีอายุต�่ำกว่า 5 ปี มารับการหยอดวัคซีนโปลิโอ

2 ครั้ง ฟรี!!!.. ในวันที่ 15 ธันวาคม 2553 และวันที่ 19 มกราคม 2554 ณ สถานบริการสาธารณสุข ทุกแห่งทัว่ ทัง้ จังหวัดพิษณุโลก และทั่วประเทศ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อเผยแพร่กิจกรรมการรณรงค์ขจัดโปลิโอ ให้หมดสิ้นไป จากโลก 2. เพื่อประชาสัมพันธ์โรตารีในประเทศไทย ให้ประชาชนทั่วไป ได้รู้จักกว้างขวางยิ่งขึ้น 3. เพื่อบ�ำเพ็ญประโยชน์ให้แก่ชุมชนชาวจังหวัดพิษณุโลกและ จังหวัดพิจิตร 4. เพื่อเป็นกิจกรรมเสริมสร้างการบริจาคในโครงการ 200 ล้าน เหรียญสหรัฐ ให้กองทุน polio plus

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


กิจกรรมรณรงค์ ขบวนรถม้าขจัดโปลิโอรอบเมืองลำ�ปาง

ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ สโมสรโรตารี ดอย พระบาท

จากโครงการ PR grant ทีผ่ วู้ า่ การภาค นพ.วีระ ชัย จ�ำเริญดารารัศมีและประธานประชาสัมพันธ์ภาค รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล น�ำเสนอการประชาสัมพันธ์ เรื่องการขจัดโปลิโอ จนโรตารีสากลให้ทุนมาท�ำกิจกรรม ในภาค 3360 ของเรา และจังหวัดล�ำปางก็เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่เป็นเป้าหมายให้ท�ำกิจกรรมนี้ กิจกรรมประชาสัมพันธ์ครัง้ นี้ เราเน้นให้ชมุ ชน รับรู้ว่า โรตารีสากลเป็นองค์กรหลักที่ด�ำเนินการและ สนับสนุน ทุนในการที่จะขจัดโรคโปลิโอให้หมดไปจาก โลกนี้ โดยสมทบทุนท้าทายมูลนิธิ เมลินดาและเกตต์อีก 200 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้ได้ภายในปี 2555 นอกจากนีย้ งั รณรงค์ให้เด็กที่อยู่ต�่ำกว่า 5 ขวบ ได้ไปรับวัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอ 2 ครัง้ ในวันเวลาและสถานทีท่ กี่ ำ� หนดอีกด้วย เราได้ด�ำเนินการตามที่ทางภาคได้ก�ำหนดให้ดังนี้ 1 ) ติดโปสเตอร์ตามร้านอาหาร โรงเรียน โรงพยาบาล ศูนย์เด็กเล็ก ขนส่งและจุดต่าง ๆ ในชุมชน 2 ) แจกใบปลิวในย่านชุมชนและโรงเรียน 3 ) ท�ำป้ายติดหลังรถม้า จ�ำนวน 40 คัน โดยจ่ายค่าเช่า เป็นเวลา 2 เดือน ในเดือนธันวาคมและมกราคม 4 ) ท�ำป้ายไวนิลขนาด 1x3 เมตร 12 ป้าย ติดตามแหล่ง ชุมชน 5 ) ท�ำป้าย cutout ขนาด 8x10 เมตร ติดบนตึกบริเวณ ห้าแยกประตูชัยโดยได้รับการยกเว้นค่าเช่าจาก อผภ.ชัยสิน มณีนนทน์ และป้าย cutout ขนาด 4x25 เมตร ติดที่ สี่แยกตัดใหม่ 6 ) ออก spot วิทยุ 6 สถานี และออกรายการสัมภาษณ์ ในรายการวิทยุ อสมท. 7 ) ประชาสัมพันธ์วีดิทัศน์ ทางจอ LED ขนาดใหญ่ของ เทศบาลนครล�ำปาง และองค์การบริหารส่วนจังหวัด

ล�ำปางรวม 3 จุด 8 ) รณรงค์ขบวนแห่รถม้ารอบเมืองในวันที่ 11 ธันวาคม 2553 9 ) กิจกรรมหยอดวัคซีนโปลิโอในวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ที่โรงเรียนต่าง ๆ และที่ห้างบิ๊กซีและโลตัส โดยมีผู้ตรวจ ราชการกระทรวงสาธารณสุข สาธารณสุขจังหวัด รองผู้ อ�ำนวยการโรงพยาบาลล�ำปาง รองนายกเทศมนตรีนคร ล�ำปาง รองนายกเทศมนตรีเขลางค์นคร เข้าร่วมและรับ รู้ถึงกิจกรรมที่เกิดความร่วมมือกันในปีนี้ด้วย เราได้ รั บ เกี ย รติ จ ากผู ้ ว ่ า การภาค นพ.วี ร ะ ชัย จ�ำเริญดารารัศมี และโรตารีแอนน์ อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ในขบวนรถ ม้าขจัดโปลิโอรอบเมืองล�ำปาง ในช่วงเช้าของวันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม 2553 ในครั้งนี้ด้วย โดยโรแทเรียนจาก 6 สโมสรในจังหวัดล�ำปาง และโรตาแรคเตอร์น้องใหม่จาก วิทยาลัยล�ำปางอินเตอร์เทค รับฟังเป้าหมายในการท�ำ กิจกรรมในครั้งนี้จากผู้ว่าการภาค จากนั้นขบวนรถม้า 15 คันที่ติดป้ายและธง “End Polio Now” พร้อมรถแห่ ติดเครือ่ งขยายเสียงได้เคลือ่ นทีไ่ ปตามชุมชนในจุดต่าง ๆ ระหว่างทางเราได้หยุดรถม้าเพื่อประชาสัมพันธ์และแจก ใบปลิว ให้พนี่ อ้ งประชาชนชาวล�ำปางได้รบั ทราบ นับเป็น กิจกรรมแรกที่สนุกและประทับใจ ของสโมสรโรตาแรคท์ LIT อีกด้วย ถือว่าเป็นโครงการหนึ่งที่น่าภาคภูมิใจส�ำหรับ โรแทเรียนในจังหวัดล�ำปาง ที่ได้เห็นล้อฟันเฟืองของ โรตารี สากล อยู่บนรถม้าที่วิ่งไปตามถนน หรือเด่นเป็น สง่าอยู่บนอาคารในแยกใจกลางเมือง และที่ได้สื่อสารให้ ชุมชนได้รับรู้ภาระกิจ ที่ยิ่งใหญ่ของโรตารีสากลในการที่ จะขจัดโรคร้ายโปลิโอให้หมดไปจากโลกนี้ในเร็ววัน


อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม

คิดอย่างไร? เรื่องการบริการชนรุ่นใหม่ บทความฉบับนี้เป็นเพียงความคิดเห็นของ “ประธาน โครงการเยาวชนภาค” ปัจจุบันควรเรียกว่า “ประธานบริการชนรุ่น ใหม่” ซึ่งอาจจะต่างหรือเหมือนกับความคิดเห็นของมวลมิตรโรแท เรียนอีกหลายๆท่าน ด้วยเหตุที่คนเราจะคิดเห็นอย่างไรนั้นขึ้นกับ ภูมิหลัง(background) และกรอบอ้างอิง (frame of references) หลายๆอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลทีบ่ คุ คลนัน้ ๆได้รบั ทราบ และ วิจารณญาณของบุคคลดังกล่าว เมื่อคราวที่เข้าร่วมประชุม International Assembly ในฐานะเป็นโรตารีแอนน์ของผู้ว่าการภาครับเลือก ในช่วงเดือน มกราคม 2553 นั้น ได้เห็นความเข้มข้นของการประชุมทั้งในส่วน ของผูว้ า่ การภาครับเลือกและในส่วนของคูส่ มรส ซึง่ เข้มข้นสมค�ำเล่า ลือที่ได้รับฟังจากผู้ว่าการภาคคนก่อนๆ และมีความเข้าใจว่าโรตารี สากลก�ำลังลงทุน (จ่ายค่าเดินทาง ที่พัก และอาหาร) ในการพัฒนา ผู้ที่จะท�ำหน้าที่เป็นผู้ว่าการภาคและคู่สมรสด้วย เพราะโรตารีสากล ถือว่าคูส่ มรสเป็นผูส้ นับสนุนการท�ำงานของผูว้ า่ การภาค จึงต้องกลับ มาตอบแทนการลงทุนนัน้ ด้วยการท�ำงานให้โรตารีอย่างเข้มแข็งตาม โอกาสและความเป็นไปได้ อย่างน้อยที่สุดในปีที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ และมุ่งหวังว่าจะได้ตอบแทนให้คุ้มค่ามากขึ้นในฐานะโรตารีแอนน์ ของ อดีตผู้ว่าการภาคเพื่อไม่ให้ค�ำว่า PDG มีความหมายว่า Past, Death & Gone ดังค�ำหยอกล้อที่มักพูดถึง PDG. ในวงการโรตารี หัวข้อที่เป็นจุดเน้นหัวข้อหนึ่งคือ เยาวชน โรตารีสากล ยกย่องเยาวชนในฐานะทีเ่ ป็นอนาคตของโรตารี โรตารีให้ความส�ำคัญ มากต่อ YE, RYLA, Interact, Rotaract, และเสนอโครงการใหม่อีก โครงการหนึ่ง คือ Earlyact ทั้งหมดนี้เป็นโครงการพัฒนาเยาวชน เนื่องจากเป็นสิ่งใหม่ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่าควรต้องเป็นอย่างไร? ดิฉนั จึงต้องรับหน้าทีเ่ ป็นประธานโครงการเยาชนไปพลางก่อนโดยน�ำ เอาโครงการเยาวชนทัง้ 5 โครงการมารวมกัน แนวทางการบริหารนัน้ ส่วนหนึง่ ได้รบั ฟังมาจากการประชุม IA และอีกส่วนหนึง่ เพียงแต่คดิ ไว้ ในใจว่า น่าจะเป็นการบริหารที่ท�ำให้ลูกของเราเป็นคนดี ซึ่งต้องเป็น เรื่องส�ำคัญแน่ๆ เพราะในชีวิตของมนุษย์นั้น หากสูญเสียลูกหรือลูก ไม่ดีจะท�ำให้พ่อแม่เสียใจได้มากที่สุด มากกว่าเรื่องใดๆ บางคนนั้น อาจถึงกับเสียศูนย์ ในการประชุมสภานิติบัญญัติ ครั้งล่าสุด โรตารีสากลได้

ประกาศเพิ่ม “บริการ 4 แนวทาง” (บริการสโมสร บริการชุมชน บริการอาชีพ และบริการต่างประเทศ) ไปเป็น “บริการ 5 แนวทาง” โดยให้บริการชนรุ่นใหม่เป็นแนวทางที่ 5 เป็นเหตุให้โครงสร้างการ บริหารงานในโรตารีเปลี่ยนแปลงไป และโรตารีสากลได้ขอให้ทุก สโมสรก�ำหนดบริการชนรุ่นใหม่ขึ้น ในครึ่งปีที่ผ่านพ้น ดิฉันคิดว่าภาค 3360 ภาคภูมิใจมาก กับการจัด RYLA โดยสโมสรในจังหวัดอุตรดิตถ์ ภายใต้การน�ำของ อน.พิมพ์ประไพ พรรณาภพ เป็นการน�ำเอาเยาวชนซึ่งส่วนหนึ่งมุ่ง หวังจะเป็น YE ส่วนหนึ่งเป็น Interactor ส่วนหนึ่งเป็น Rotaractor ส่วนหนึ่งเป็น YE Inbound และเป็นเยาวชนที่ประสงค์จะพัฒนา ตนเองให้เป็นผู้น�ำมาเข้าร่วมสัมมนา การจัด RYLA จบลงด้วยดีเป็น ทีป่ ระทับใจ เป็นข้อพิสจู น์วา่ RYLA สามารถให้ประโยชน์แก่เยาวชน ทุกส่วน Earlyact เป็นโครงการใหม่ ยังไม่มแี นวทางปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจน เพียงแต่มีแนวคิดในการสอนให้เยาวชนรุ่นจิ๋วมีจิตอาสา (public mind) ทราบว่ามีความพยายามด�ำเนินการในสโมสรหริภุญชัย เวียง โกศัย และดอยพระบาท ซึง่ ในครึง่ ปีทเี่ หลือดิฉนั จะให้ความส�ำคัญใน ส่วนนี้มากขึ้นและจะสรุปให้มวลมิตรโรแทเรียนฟังว่าเราท�ำไปได้แค่ ไหน? อย่างไร? Interact และ Rotaract ท�ำกันมานาน เข้มแข็งบ้าง อ่อนแอบ้าง แล้วแต่สถานการณ์ ต้องยอมรับว่าได้ติดตามไม่มากนัก ได้เคยเข้าร่วมประชุมกับ Rotaractor แห่งประเทศ ได้ร่วมกิจกรรม กับ Rotaractor ในความอุปถัมภ์ของดอยพระบาทในกิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการโปลิโอ และได้ทราบข่าวอย่างไม่เป็นทางการ ของสโมสรต่างๆบ้าง ในครึ่งปีหลังจะพยายามจะขอแรงประธาน ทั้งสองโครงการได้สรุปรวมให้มวลมิตรโรแทเรียนได้รับทราบความ ก้าวหน้า เรื่องส�ำคัญอีกเรื่องหนึ่ง คือ YE ในการประชุม IA ก�ำหนด ให้เป็นเรื่องใหญ่ มีตัวอย่างมาแสดง มีองค์ปาฐกพิเศษมาพูด ได้ อธิบายว่า YE เกี่ยวพันกับหลายภาคส่วน จัดแบ่งอย่างน้อย 2 วง วง ที่หนึ่ง (วงใน) เรียกว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก คือ นักเรียนที่จะแลก เปลีย่ นซึง่ เน้นย�ำ้ เรือ่ งคุณภาพเป็นประการส�ำคัญ ผูป้ กครองเน้นความ เข้าใจที่มีต่อบุตรหลานของตนเอง เข้าใจว่าส่งบุตรไปเพื่ออะไรและมี

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


ภาระรับผิดชอบในเรือ่ งใด สโมสรอุปถัมภ์ซงึ่ จะต้องมีบทบาทมากใน การดูแล YE ทีส่ โมสรแลกออกไปและรับกลับมาดูแลโดยเฉพาะอย่าง ยิง่ เรือ่ งความปลอดภัยในทุกด้านของนักเรียน และครอบครัวอุปถัมภ์ ว่าจะต้องให้การดูแล YE เสมอบุตร ให้ความอบอุ่น ให้การอบรมสั่ง สอนในทางที่ถูกที่ควร นอกจากนั้น โรงเรียน และชุมชน เป็นอีกส่วน หนึง่ ทีโ่ รตารีให้ความส�ำคัญเพราะนักเรียนจะใช้ชวี ติ เกือบ 1 ปีกบั บ้าน โรงเรียน และชุมชน เป็น 1 ปีที่นักเรียนจะได้รับประสบการณ์ตรงใน การแลกเปลี่ยน ส่วนวงที่สอง (วงนอก) เรียกว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รอง ประกอบด้วย ธุรกิจที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ได้แก่ การประกันชีวิต และทรัพย์สิน การเดินทางท่องเที่ยว การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ ซึ่ง YE ใช้บริการ โรตารีเน้นการพัฒนาวงในเป็นอันดับต้นและเสนอให้เชิญ ชวนวงนอกมีส่วนร่วมในการพัฒนา YE ได้ก�ำหนดให้เป็นหน้าที่ของ ภาคและคณะอนุกรรมการ YE โดยมีผู้ว่าการภาคร่วมกับประธาน YE เป็นผู้รับผิดชอบหลัก ในการบริหารโครงการให้บริหารผ่านคณะ อนุกรรมการ YE และสโมสรอุปถัมภ์ ซึ่งนอกเหนือจากการรับแลก YE แล้วให้มีหน้าที่พัฒนาผู้มีส่วนได้เสียหลัก หรือ วงใน ให้เข้าใจจุด มุ่งหมายหลักของโครงการและด�ำเนินงานไปด้วยความเรียบร้อย เนือ่ งจากการแลกเปลีย่ นต้องการการร่วมแรงร่วมใจมาก จึงต้องมีผดู้ ู แลย่อยๆอีกหลายกลุ่ม เช่น ดูแลการคัดเลือก ดูแล Inbound ดูแล outbound ดูแลการจัดประสบการณ์ต่างๆ ประสานงานผู้ปกครอง ผูใ้ ห้คำ� ปรึกษา ฯลฯ หากมวลมิตรโรแทเรียนได้เห็นภาพรวมจะเข้าใจ ได้ว่าทุกฝ่ายต้องท�ำงานด้วยความเสียสละเป็นอย่างมาก การเลี้ยง ลูกของเรา 1 ปีทุกท่านคงนึกภาพได้ว่าต้องใช้ความพยายามมากแค่ ไหน และการดูแลลูกของคนอื่นเสมอลูกของตนย่อมต้องยากขึ้นอีก มากมายนัก มีแต่ความร่วมมือที่ดีเท่านั้นที่จะช่วยให้ภาคดูแล YE เป็นจ�ำนวน 30-50 คนได้ YE เกีย่ วข้องกับเงินทอง โรตารีสากลจึงก�ำหนดให้มมี ลู นิธิ YE เป็นผู้อุปถัมภ์ทางการเงิน และท�ำหน้าที่เป็นกระดูกสันหลังของ โครงการ เช่นเดียวกับมูลนิธโิ รตารีก�ำลังท�ำหน้าทีเ่ ป็นกระดูกสันหลัง ให้โรตารีสากล หากมูลนิธโิ รตารีลม้ ไปโรตารีสากลก็ท�ำงานไม่ได้ เช่น เดียวกันหากไม่มมี ลู นิธิ YE ภาคก็จะไม่สามารถแลกเปลีย่ น YE ได้เลย (ศูนย์คน) ในการบริหารมูลนิธยิ อ่ มต้องมีกฎระเบียบ ใครคือกรรมการ ใครคือผู้มีอ�ำนาจ ผลัดกรรมการอย่างไร? ผลัดผู้มีอ�ำนาจอย่างไร? เป็นเรื่องที่ต้องศึกษา หากเห็นว่าไม่ดี ไม่สะดวก ไม่สามารถต้องแก้ ที่มูลนิธิ ไม่ท�ำการอื่นใดที่จะท�ำให้มูลนิธิล้มไปเสียเพราะจะเสียกับ

ส่วนรวมและในท้ายปีของโรตารีจะมีการสรุปรายรับรายจ่ายในการ ประชุมระดับภาค และน�ำส่งบัญชีรับจ่ายผ่านการเงินภาคมายังผู้ ว่าการภาคเพื่อส่งมอบต่อกันไป YE ของภาคเรามีเรื่องที่ต้องพิจารณาในหลายด้าน จาก การน�ำเสนอภาพรวมของ YE ในการประชุมระหว่างเมืองที่แม่สาย เราต่างได้ใช้เวลาช่วงเช้าทั้งหมดของวันแรกเพื่อเปิดโอกาสให้คณะ อนุกรรมการ YE ได้นำ� เสนอสถานการณ์ปจั จุบนั และรายงานการเงิน ซึ่งตรวจสอบจากทั้งผู้ตรวจสอบภายในและภายนอก เราได้ทราบว่า จ�ำนวนนักเรียนแลกเปลี่ยนของภาค 3360 ได้เพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับจาก ไม่ถึง 10 คนในช่วงต้นเป็นเกือบ 50 คนในปัจจุบัน เมื่อเทียบกับ ภาคอื่นก็ไม่เป็นรองใคร การเก็บเงินจากผู้ปกครองเปรียบเทียบกับ ทุกภาคในประเทศก็เก็บต�่ำสุดเพียงครึ่งเดียวของบางภาคและเพียง 1/3 ของโครงการอืน่ ทัง้ นีเ้ พราะความร่วมมือของโรแทเรียนทัว่ โลกที่ อาสาสมัครเข้ามาสนับสนุนโดยการให้ทพี่ กั อาศัย ช่วยดูแล YE เสมอ บุตรนั่นแหละ จึงท�ำให้ผู้ปกครอง YE ส่งลูกไปเมืองนอกได้ 1 ปี อยู่ กับครอบครัวที่ปลอดภัยโดยจ่ายเงินเล็กน้อย ขณะเดียวกันเราก็ได้ทราบถึงปัญหาด้านการจัดการ ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องความพยายามในการจัดที่แลกให้นักเรียน การหา ครอบครัวอุปถัมภ์ การเชิญชวนให้สโมสรให้การดูแลเอาใจใส่ การ ท�ำความเข้าใจกับผู้ปกครอง โรงเรียน ยังเป็นปัญหาอยู่ไม่น้อย ล้วน แล้วแต่ต้องการการพัฒนาทั้งสิ้น คณะอนุกรรมการ YE ได้เชิญชวน มวลมิตรโรแทเรียนเข้าร่วมท�ำงาน งานใดก็ได้ใน YE เพื่อเราจะได้ เข้าใจร่วมกันว่า แต่ละงานมีความยากง่ายอย่างไร? มีแต่ความร่วมมือ ที่ดีเท่านั้นที่ภาคจะสามารถพัฒนาในส่วนเหล่านี้ได้ เริ่มต้นให้ความ ร่วมมือโดยการศึกษาว่าแต่ละส่วนเขาท�ำงานกันอย่างไร ท่านพร้อม ที่จะเสียสละเข้ามาช่วยไหม? หากไม่พร้อมศึกษาไปเงียบๆก็ได้จะได้ เข้าใจว่าข้อเท็จจริงคืออะไร เมื่อลงเรือของภาค 3360 พวกเราจะช่วยกันดูว่ารูรั่วอยู่ ตรงไหน? ซ่อมแซมได้อย่างไร? ท�ำอย่างไรจะให้เรือแล่นสู่จุดหมาย ปลายทางได้ดีขึ้น เร็วขึ้น ผ่านมรสุมไปได้ โดยไม่อันตรายจนเกินไป นัก ฝีพายย่อมอาศัยประสบการณ์ไม่มีใครเก่งมาตั้งแต่ต้น เรื่อง YE เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ลูกจะดีได้เมื่อ พ่อ แม่ โรงเรียน และสังคม ดูแล เอาใจใส่ เข้าใจ เยาวชนจะดีได้เมื่อผู้ใหญ่ดูแล เอาใจใส่ และ เข้าใจ เช่นกัน การท�ำสิ่งใดต่อ YE พึงระลึกว่าเป็นเรื่องที่สร้างยาก แต่ท�ำลายง่าย คงมิใช่วิสัยของโรแทเรียนซึ่งเป็นผู้ให้บริการเหนือตน


รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

“ทุกบาททุกสตางค์ ของ PR.GRANT ต้องใช้ให้คุ้มค่า เพราะเป็นเงินที่ได้จากการบริจาค” นี่คือประโยคที่ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ นนท์ ประธานมูลนิธิภาค นั่นท�ำให้ผมต้องไปหารือย่อย ภาค 3360 รทร.สันติ เหล่าพาณิชกุล ได้กล่าวเน้นย�ำ้ กับผู้ท่เี กี่ยวข้องอีก 2 ท่านได้แก่ ผชภ.ดร.สุรพล นธการ กิจกุล ผู้ที่ท�ำงานด้านโปลิโอพลัสมากที่สุดคนหนึ่งใน อยู่ตลอดเวลา ประเทศไทย รวมถึงอน.พัลลภ ลาศุขะ ประธานรณรงค์ ดิฉนั ต้องขอแสดงความชืน่ ชมและกล่าวแสดง สมทบกองทุน 200 ล้านเหรียญของโรตารีเพือ่ ขจัดโปลิโอ ความยินดีกบั ความส�ำเร็จของโครงการ PR.GRANT ของ ให้สิ้นไปจากโลก” “ทุกบาททุกสตางค์ของ PR Grant ต้องใช้ ภาคกับโครงการ END POLIO NOW โดยการน�ำของ หนุ่มไฟแรงที่มีความจริงใจ มุ่งมั่น และแน่วแน่ นาม ให้คุ้มค่า เพราะเป็นเงินที่ได้มาจากการบริจาค” คือ ประโยคที่วนเวียนอยู่ในหัวของผมและผู้ รทร.สันติ เหล่าพาณิชกุล ที่เป็นกุญแจหลักน�ำมาซึ่ง ความส�ำเร็จของโครงการให้กับภาค 3360 ของเรา ดิฉัน ที่ผมได้ไปหารือด้วย นับตั้งแต่วันแรกๆที่เราได้หารือกัน ความส�ำเร็จของการท�ำโครงการเริ่มจากการ ได้สนทนากับท่านประธานโครงการ PR.GRANT ถึงการ ด�ำเนินการของโครงการฯ ว่าท�ำอะไรอย่างไรและเรา ร่วมงานกันระหว่างคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ภาค ได้ใช้สื่ออะไรไปบ้าง ท่านก็เล่าให้ฟังว่า “เราจะพูดว่า และคณะกรรมการมูลนิธิโรตารี ท�ำให้เกิดคณะท�ำงาน โครงการ PR Grant ส�ำเร็จได้ไม่เต็มปากครับเพราะเรา ที่มาจาก 2 กลุ่มที่มีเป้าหมายร่วมกัน คณะท�ำงาน PR ยังต้องท�ำอีกหลายอย่าง แต่กอ่ นอืน่ ผมต้องขอขอบคุณผู้ Grant นี้ ได้สรุปวัตถุประสงค์ 3 ข้อหลักในการท�ำงาน มีพระคุณ 2 ท่านส�ำคัญ ผู้ผลักดันให้ผมได้จดปากกาลง คือ เขียนโครงการ PR Grant ไปยังโรตารีสากล ได้แก่ ผวภ. 1. ประชาสัมพันธ์โรตารีให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ดีขึ้น และ นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี และอน.สุรศักดิ์ พฤกษิกา ลึกซึ้งผ่านโครงการโปลิโอพลัส

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


2. เพิ่มอัตราการเข้าถึงวัคซีนป้องกันโปลิโอในกลุ่มเสี่ยง 3. รณรงค์การบริจาคสมทบกองทุน 200 ล้านเหรียญของโรตารีเพื่อขจัดโปลิโอให้สิ้น ไปจากโลก เมือ่ เรามีโจทย์แล้ว..หน้าทีข่ องเราคือต้องตีให้แตก จะท�ำอย่างไรให้เงินบริจาค คุ้มค่าที่สุด เราจึงมาคิดต่อว่าหากเราน�ำเงินไปซื้อสื่อต่างๆเช่นเช่าป้ายโฆษณา หรือซื้อ หน้าหนังสือพิมพ์ หรือสปอตวิทยุ เพียงอย่างเดียวด้วยจ�ำนวนเงินที่มีอยู่ คงจะได้ผลไม่ เต็มเม็ดเต็มหน่วยนัก หรืออาจจะส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์เพียงข้อแรกเพียงข้อเดียว ดัง นั้นจึงคิดแผนงานให้เกิดกิจกรรมกระจายให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วภาค 3360 ให้ได้มาก ที่สุด โดยรณรงค์โครงการผ่านสื่อต่างๆ ไปพร้อมกันด้วย กิจกรรมเกิดขึ้นบนพื้นฐานของวัตถุประสงค์ 3 ข้อ ใน 4 โซน ได้แก่ • โซนพิษณุโลก จัดให้มีกิจกรรมเดินรณรงค์การหยอดวัคซีนโปลิโอ ในวันที่ 9 ธันวาคม 2553 โดยมี ผชภ.จิตตมากร รอบบรรเจิด กรุณาเป็นผู้ประสานงาน • โซนล�ำปาง จัดให้มีกิจกรรมรณรงค์การหยอดวัคซีนโปลิโอโดยขบวนแห่รถม้า ในวันที่ 11 ธันวาคม 2553 โดยมี ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ กรุณาเป็นผู้ประสานงาน • โซนเชียงราย จัดให้มีกิจกรรมรณรงค์โปลิโอพลัสในวาระงานเฉลิมฉลอง 30 ปีโรตารี แม่สาย ในวันที่ 18 ธันวาคม 2553 โดยมี อน.ตระศักดิ์ ศรีธิพรรณ์ กรุณาเป็นผู้ประสาน งาน • โซนเชียงใหม่ จัดให้มีกิจกรรมนิทรรศการเฉลิมฉลอง 106 ปีโรตารี พร้อมกับจัดการ ประกวดภาพวาด ‘ปิศาจโปลิโอ ฝันร้ายในวัยเด็ก’ ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 (วัน โรตารี) โดย รทร.จุลนิตย์ วังวิวัฒน์ กรุณาเป็นผู้ประสานงาน ผมต้องขอขอบคุณทัง้ 4 ท่าน รวมถึงคณะท�ำงานทัง้ หมด เป็นอย่างสูง ที่ได้กรุณาทุ่มเทแรงกาย แรงใจ รวมถึงทรัพยากร ต่างๆมากมายเพื่อให้งานทั้งหมดเกิดขึ้นเป็นไปตามเป้าหมาย โดยทั้งนี้กิจกรรมต่างๆดังกล่าวยังได้ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งก่อน และหลังกิจกรรม เพื่อกระจายข่าวสารประชาสัมพันธ์โรตารีสู่ สังคม ได้แก่ สือ่ หนังสือพิมพ์, สือ่ วิทยุ, สือ่ ทีว,ี สือ่ เคเบิลทีว,ี สือ่ อินเตอร์เนตwebsite, สือ่ สังคมออนไลน์ social network, สือ่ ป้ายบิลบอร์ด, สื่อจอภาพเคลื่อนไหวขนาดใหญ่ LED screen, สือ่ รถแห่, สือ่ รถเมล์, สือ่ รถตุก๊ ตุก๊ , สือ่ โปสเตอร์, สือ่ ใบปลิว, สือ่ ป้ายไวนิล รวมถึงสารผูว้ า่ การภาคฉบับนีท้ ไี่ ด้รวบรวมตีพมิ พ์ใน รูปแบบแม็กกาซีน ข้อมูลทัง้ หมดผมพยายามรวบรวมเก็บไว้ใน website ภาคที่ www.rotary3360.org/endpolio ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ยงั ได้กล่าวทิง้ ท้ายอย่างน่าชืน่ ชมว่า ในช่วงทีผ่ า่ น มาได้รบกวนโรทาเรียนหลายท่านมากเลยทีเดียว แต่ก็เรียนว่าทุกท่านคงจะได้เห็นถึง พลังของประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์สามารถช่วยงานมูลนิธิได้ และช่วยส่งเสริมและ เพิ่มจ�ำนวนสมาชิกได้เช่นกัน ผมรู้สึกว่าผมเติบโตทุกวันจากความคิด จากชีวิตของ โรทา เรียน ทีล่ อ้ มรอบผม ปรัญชาการท�ำงานของโรตารีคอื การท�ำหน้าทีส่ ลับเปลีย่ นหมุนเวียน กันเป็นเหมือนกงล้อ (wheel) ผมพร้อมที่จะสนับสนุนผู้ที่จะมาท�ำหน้าที่เป็นประธาน ประชาสัมพันธ์ในปีตอ่ จากผม หรือปีตอ่ ๆไป เพือ่ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของโรตารีสากล ครับ” และโอกาสเดียวกันดิฉนั ได้ได้สนทนากับท่านประธานมูลนิธโิ รตารีภาค 3360 ท่านอน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ถึงความรูส้ กึ ของท่านต่อความส�ำเร็จของโครงการฯ ท่าน ได้ กล่าวอย่างภูมิใจว่า “ผมรู้สึกยินดีมากที่ ภาค 3360 ของเราประสพความส�ำเร็จใน การขอ PR. GRANT ส�ำหรับโครงการ END POLIO NOW จากโรตารีสากล ซึ่งจะท�ำให้ กิจกรรมรณรงค์ต่างๆ ในการที่จะท�ำให้ผู้ปกครองของเด็กที่เป็นลูกหลานของแรงงาน ต่างด้าว และ ลูกหลานของชาวเขาได้นำ� ลูกหลานมาหยอดวัคซีนโปลิโอ รวมทัง้ การหยอด วัคซีนให้เด็กไทยของเราด้วย ได้ครบตามเป้าหมาย ซึ่งผลที่ตามมาก็คือ ท�ำให้ชุมชนในภาคของเราได้เข้าใจ องค์กรโรตารีเรา ท�ำงานอะไร ในภาพรวมกว้างๆ ว่าท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ การไปร่วมกันหยอด วัคซีนโปลิโอของพวกเรา เพื่อร่วมรณรงค์ขจัดโรคโปลิโอให้หมดไปจากโลกเรา โดยร่วม กับ สาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอ�ำเภอ เทศบาล ในโครงการหยอดโปลิโอเสริม ปี


ละ 2 ครั้ง (ครั้งที่หนึ่ง 15 ธค. 53 ครั้งที่สอง 19 มค. 54) เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กไทยเราและเด็กต่างด้าว ให้ มีภูมิคุ้มกันปลอดจากเชื้อโปลิโอ ที่มากับนักท่องเที่ยว แรงงานอพยพ ที่เป็นพาหะของโรคโปลิโอ จากประเทศที่ ยังคงมีผู้ติดเชื้อโปลิโออยู่ ผมหวังว่าเมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้ว จะท�ำให้ ภาคของเราได้เรียนรู้การท�ำประชาสัมพันธ์ ให้ประสพ ความส�ำเร็จตามเป้าหมายทุกประการ” ส�ำหรับบุคคลส�ำคัญอีกท่านของภาค 3360 ของเราที่จะไม่เข้าไปสอบถามถึงความรู้สึกของท่าน ต่อ ความส�ำเร็จของโครงการ PR.GRANT คงไม่ได้ เพราะ ท่านได้ทุ่มเท อุทิศ เรื่องการรณรงค์กองทุนสมทบ 200 ล้านเหรียญของโรตารีอย่างเข้มแข็งท่าน คือ อน.พัลลภ ลาศุขะ ซึง่ ท่านก็ได้กล่าวถึงโครงการฯนี้ ด้วยสีหน้าแจ่มใส ว่า “กองทุนสมทบ 200 ล้านเหรียญของโรตารี เป็นกอง ทุนรับบริจาคสมทบกับเงินทุนจ�ำนวน 355 ล้านเหรียญ จากมูลนิธิ บิล-เมลินดา เกตต์ เพือ่ การก�ำจัดไวรัสโปลิโอให้ หมดจากโลก โดยโรตารีสากลได้ร่วมท�ำงานเป็นพันธมิตร กับ 3 องค์กรหลักได้แก่ WHO , UNICEF และ CDC โรตารีสากลได้ท�ำงานในการก�ำจัดโรคโปลิโอ มานานกว่า 25 ปีแล้ว จนการระบาดของไวรัสโปลิโอใน หนึ่งร้อยกว่าประเทศ ลดลงเหลืออยู่เพียง 4 ประเทศใน โลกเท่านั้น และการระดมเงินทุนครั้งนี้จะท�ำให้ภาระกิจ สุดท้ายของโรตารีสากล ในการก�ำจัดไวรัสโปลิโอให้หมด จากโลกเป็นผลส�ำเร็จ จึงใคร่ขอเรียนเชิญท่านสมาชิกโรแท เรียนและผู้สนใจทุกท่าน ช่วยกันบริจาคและสนับสนุน กิจกรรมการรณรงค์ เพื่อเป็นเกียรติประวัติว่าได้มีส่วน

ร่วมในการสร้างประวัติศาสตร์ให้กับ โรตารีสากลอีกด้วย การขอรับทุนสนับสนุน PR Grant จากโรตารี สากล ก็เป็นแผนงานการประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์การ บริจาคเงินทุน และการสร้างความตระหนักในการก�ำจัด ไวรัสโปลิโอ ที่ถูกก�ำหนดไว้ล่วงหน้า โดยเริ่มจากการ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อท้องถิ่น หลากหลายรูปแบบ และ กิจกรรมการเดินรณรงค์ในจังหวัดพิษณุโลก จังหวัดล�ำปาง และจะสิ้นสุดโครงการฯ ในงานประกวดภาพวาดของ เยาวชนในหัวข้อ “โปลิโอ..วายร้ายในวัยเด็ก” ที่จังหวัด เชียงใหม่ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ซึ่งถูกก�ำหนดให้เป็นวัน โรตารีสากลครับ” นี่ คื อ พลั ง ความมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจที่ จ ะกระท� ำ ประโยชน์ และคุณงามความดี เพื่อมวลมนุษยชาติจาก พลังเล็กๆ ของพวกเราชาวโรแทเรียน จะเป็นพลังที่ยิ่ง ใหญ่ของโลก ที่จะขจัดภัยโปลิโอให้สิ้นไปจากโลกนี้ พบกันใหม่ฉบับหน้านะค่ะสวัสดีค่ะ....

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


รทร.จตุรยุทธ พรมนิล สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

ในภาพ ประธานาธิบดี Denis Sassou Nguesso แห่งสาธารณรัฐคอ.โก ก�ำลังสาธิตการ รับวัคซีนโปลิโอซึง่ เป็นหนึง่ ในโครงการทีท่ า่ นให้การสนับสนุนเนือ่ งในวันสร้างภูมคิ มุ้ กัน โรคแห่งชาติ ซึ่งจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหยุดยั้งและ ก�ำจัดโรคร้ายดังกล่าวให้หมดไปจากประเทศของท่าน และมีคณะรัฐมนตรีระดับสูงของ ประเทศเข้าร่วมสาธิตการรับวัคซีนโปลิโอในโอกาสดังกล่าวด้วย (เอื้อเฟื้อภาพโดย Dr. Youssouf Gamatié)

ก้าวต่อไปของ โครงการรณรงค์ สร้างภูมิต้านทานโปลิโอ ในคองโก โดย Dan Nixon ข่าวสารโรตารีสากล 17 ธันวาคม 2553 โรแทเรียนในสาธารณรัฐคองโกได้รว่ มกันผลักดันและใช้ความพยายามอย่างหนัก เพื่อจะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคโปลิโออันเกิดจากไวรัสโปลิโอสายพันธุ์ป่าซึ่งก�ำลัง ระบาดลุกลามอย่างหนักไปทั่วทั้งประเทศอยู่ในเวลานี้ คณะกรรมการโครงการ Polioplus ได้ระดมทุนกว่า 100,00 เหรียญสหรัฐเพื่อ จัดท�ำโปสเตอร์ แฟ้มเอกสาร ป้ายประกาศโฆษณา เสื้อเชิ้ต และสื่ออื่นๆเพื่อใช้ในกิจกรรม การรณรงค์ตามโครงการดังกล่าว โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่สังคมใน การร่วมมือกันก�ำจัดโรคโปลิโอให้หมดไป รายงานในวันที่ 7 เดือนธันวาคมนี้เปิดเผยว่า การระบาดดังกล่าวส่งผลให้มีผู้ เสียชีวิตจ�ำนวน 179 คน และจ�ำนวน 476 รายที่อยู่ในภาวะกล้ามเนื้ออัมพาตอย่างรุนแรง (Acute Flaccid Paralysis : AFP) โดยส่วนใหญ่เป็นผู้อายุระหว่าง 15 – 29 ปีซึ่งพ�ำนัก อาศัยในเมือง Pointe-Noire โดย 12 ใน 476 รายนั้นได้รับการยืนยันแล้วว่าเป็นผู้ได้รับ เชื้อโปลิโอจริง


ทางด้านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข Georges Moyen ก็ได้กล่าวว่า กิจกรรมของโรแทเรียนนั้น เป็นสิ่งที่มีเป้าหมายชัดเจนและต้องใช้เวลาพอสมควร และว่า โรแทเรียนนั้นได้ให้หลายสิ่งหลายอย่างแก่ชาวเมือง PointeNoire ซึ่งยากไร้และขาดแคลนในหลายสิ่งหลายอย่าง โดย สิ่งส�ำคัญที่สุดที่ยังขาดแคลนก็คือการสร้างความตระหนักถึง ความส�ำคัญของการต่อต้านโรคโปลิโอให้แก่สังคม โรตารีสากล ได้ร่วมมือกับโครงการรณรงค์หยุด ยั้งโปลิโอแห่งโลก องค์การอนามัยโลก UNICEF และศูนย์ การควบคุมป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกา ในการก� ำหนด ยุทธศาสตร์เพือ่ ป้องกันการระบาดและก�ำจัดโรคโปลิโอให้หมด ไป โดยโรตารีสากลได้ระดมทุนฉุกเฉินกว่า 500,000 เหรียญ เพื่อมอบให้แก่องค์การอนามัยโลกและ UNICEF เพื่อใช้แจก จ่ายวัคซีนโปลิโอให้แก่ประชาชนวนสาธารณรัฐคองโก ในความเป็นจริงนัน้ เชือ้ โปลิโอทีก่ ำ� ลังระบาดนีม้ ที มี่ า จากประเทศแองโกลาซึง่ อยูใ่ กล้เคียง เพราะสถิตทิ บี่ นั ทึกไว้นนั้ ระบุว่าโรคโปลิโอได้หมดสิ้นไปจากสาธารณรัฐคองโกตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 แล้ว แต่อย่างไรก็ดี เมื่อมันกลับมาระบาดอีกครั้ง ก็นับเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งหลาย จะได้ร่วมกันก�ำจัดให้มันหมดสิ้นไปอีกครั้ง Dr. Robert Scott ประธานคณะกรรมการโปลิโอ พลัสสากลได้ให้ความเห็นว่า การแพร่ระบาดของโรคโปลิโอ ในครัง้ นีไ้ ด้ทำ� ให้เราเห็นแล้วว่าโลกของเรายังคงมีความเปราะ บางและความเสี่ยงเกี่ยวกับการระบาดของเชื้อโรคอยู่ และ ท�ำให้ตระหนักว่า การป้องกันและควบคุมโรคโปลิโอนั้น ไม่ใช่

“ทางเลือกให้ท�ำ” แต่เป็นสิ่งที่ต้องท�ำเพราะการควบคุมเชื้อ โปลิโออย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเท่านั้นที่จะช่วยหยุดยั้งโรคร้าย นี้ได้ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐคองโกได้จดั ให้มวี นั ภูมคิ มุ้ กัน แห่งชาติ (National Immunization Days : NIDs) ขึน้ ในเดือน พฤศจิกายนและต้นเดือนธันวาคม (2553) ทีผ่ า่ นมา และจะมี ขึ้นอีกครั้งในวันที่ 11 มกราคม 2554 นี้ Dr. Luis Sambo ผู้อ�ำนวยการภูมิภาคแอฟริกาขององค์การ อนามัยโลกกล่าวว่า ผู้ชาย ผู้หญิง และเด็กๆจะได้รับวัคซีน โปลิโอทุกคน ไม่ว่าพวกเขาเหล่านั้นจะเคยได้รับวัคซีนโปลิโอ มาก่อนหรือไม่ก็ตาม และนั่นก็จะท�ำให้เรามั่นใจได้ว่าทุกคน จะได้รับวัคซีนโปลิโออย่างเท่าเทียมกัน แม้กระทั่งผู้ใหญ่ใน ช่วงต้นซึ่งอาจมีภูมิต้านทานต�่ำอยู่ ารระบาดของโรคโปลิโอจากภายนอกประเทศ ขณะ ทีก่ ำ� ลังมีความพยายามก�ำจัดโปลิโอให้หมดไปเช่นนีเ้ ป็นสิง่ ทีไ่ ม่ ปกตินัก และท�ำให้เห็นถึงความจ�ำเป็นในการหยุดยั้งการแพร่ ระบาดเช่นนี้ในประเทศอื่นๆที่ยังคงมีเชื้อโรคนี้อยู่ ซึ่งได้แก่ อัฟกานิสถาน อินเดีย ไนจีเรีย และปากีสถาน Dr. Robert Scott ประธานคณะกรรมการโปลิโอ พลัสสากลได้กล่าวว่า จากประสบการณ์ในการก� ำจัดและ หยุดยั้งโปลิโอที่ผ่านมานั้นท�ำให้รู้ว่า ถ้าเราเคยก�ำจัดมันได้ แล้วครั้งหนึ่ง ครั้งต่อไปเราก็จะต้องหยุดยั้งและก�ำจัดมันได้ อีกครัง้ เช่นกัน และว่ากิจกรรมการให้วคั ซีนโปลิโอครัง้ ยิง่ ใหญ่ และครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางเช่นนี้ต้องใช้เครื่องมือใหม่ๆ ประกอบกับความเอาใจใส่อย่างรอบคอบและการให้ความ ส�ำคัญอย่างยิ่ง

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


“หนังสือดี 100 ชื่อเรื่อง” ที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่าน

ผมได้อา่ นเอกสารของ ส�ำนักกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) เรือ่ งหนึง่ เกีย่ วกับ หนังสือดีๆ ทีเ่ ด็กและเยาวชนไทยควร มีโอกาสได้อ่าน จึงอยากจับมาเป็นประเด็นให้ผู้ปกครองมิตร โรแทเรียนทั้งหลายที่มีลูกหลานอยู่ในเกณฑ์ที่เรียกว่าเด็กหรือ เยาวชนได้มโี อกาสได้อา่ นหรือซือ้ ให้มาอ่าน ซึง่ อาจจะเป็นสาเหตุ ให้พวกเขาเหล่านัน้ มีความสนใจในการอ่าน อันเป็นสิง่ ทีเ่ ยาวชน ทุกคนจะเริ่มต้นชีวิตในการเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า และหา เลี้ยงชีพได้อย่างทระนง หรือเรียกว่ามีหลักชัยในการประกอบ สัมมาอาชีวะเมื่อเขาโตขึ้นมา เนื่องจากการได้อ่าน อ่าน และ อ่าน หนังสือ ดีๆ สักเล่มหนึ่ง เคยได้ยินไหมครับ ว่าเด็กไทยติดอันดับความโง่...ไม่ อยากจะต่อว่าใครว่าไม่ได้ท�ำอะไร แต่นี่เป็นปัญหาที่คนบาง คณะที่มีหน้าที่ควรจะต้องเร่งรีบแก้ไขเพื่อสังคมไทย ไม่ใช่สังคม ของคนใดคนหนึง่ และท้ายทีส่ ดุ คือประเทศชาติได้ก�ำไรแน่นอน ซึ่งส่วนหนึ่งชาวโรตารีไทย และโรตารีทั่วโลกก็ได้มุ่งมั่นท�ำกัน อยู่เพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ดีขึ้นๆ กันบ้างแล้ว พูดถึงสถานการณ์ ปัจจุบัน เด็กและเยาวชนไทยยังอ่านหนังสือน้อยกว่าเด็ก และ เยาวชนประเทศก�ำลังพัฒนาอืน่ ๆ เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ค่อนข้างมาก ส่วนหนึ่งอาจเพราะคนไทยฐานะยากจนกว่า แต่ ส่วนหนึ่งเพราะคนไทยยังมีนิสัยรักการอ่านน้อยกว่า โครงการ คัดเลือกหนังสือดีที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่าน มีจุดมุ่งหมาย การกระตุ้นให้เด็กและ เยาวชนไทยรักการอ่านหนังสือมากขึ้น และมีคมู่ อื ในการอ่านหนังสือดี การรักการอ่านเป็นกระบวนการ เรียนรูด้ ว้ ยตนเองทีส่ ำ� คัญ สกว.ได้ตดิ ตามการท�ำงานของคณะผู้ วิจัยและการด�ำเนินงานคัดเลือก ที่ประกอบด้วย 1.อ.วิทยากร เชียงกูล 2.อ.กุลวรา ชูพงศ์ไพโรจน์ 3.รศ.ดร.รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ 4.คุณพรพิไล เลิศวิชา 5.รศ.เกริก ยุ้นพันธ์ โดยมีหลักเกณฑ์ใน การคัดกรองและ คัดเลือกหนังสือเหล่านั้น ดังต่อไปนี้

1. เป็นหนังสือเล่ม ประเภทบันเทิงคดี (นิทาน นิยาย เรื่องสั้น บทกวี) ที่เขียนขึ้นเอง โดยไม่จ�ำกัดยุคสมัย 2. มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ มีเนือ้ หาสาระทีส่ ง่ เสริมความเข้าใจ ชีวติ และสังคม เสริมสร้างภูมปิ ญ ั ญาจินตนาการ และค่านิยมทีด่ ี มีศลิ ปะในการเขียนทีด่ ี มีความงาม ความไพเราะ ความสะเทือน อารมณ์ อ่านได้สนุกเพลิดเพลิน 3. มีเนื้อหา ท่วงท�ำนอง ภาพประกอบที่สามารถสนองความ สนใจของนักอ่านกลุ่มเด็กและเยาวชน ได้อย่างเหมาะสมกับวัย กระตุน้ จินตนาการ และการเรียนรูเ้ กีย่ วกับชีวติ และโลกทีผ่ อู้ า่ น รู้สึกเชื่อมโยงด้วย 4. เป็นการวางพื้นฐานในการอ่านวรรณคดีที่เป็นแบบฉบับ (คลาสสิก) ของไทย หรือช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจชีวิตและสังคม วัฒนธรรมไทยทั้งในอดีตและปัจจุบันเพิ่มมากขึ้น และทีส่ ดุ ก็ได้ลงประกาศวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2543 โดยเรียงล�ำดับตามกลุม่ วัย, ประเภทหนังสือ และล�ำดับตัวอักษร ของชื่อหนังสือในแต่ละกลุ่ม ดังนี้ ลองมาอ่านกันต่อว่าเล่มไหน พวกเราเคยอ่านกันมาบ้างแล้ว 1.กลุ่มเด็กวัย 3-6 ปี 1. กระต่ายน้อยกับหินวิเศษ – สมบูรณ์ ศิงฆมานันท์ / 2. ขอแม่ ให้ลูกนก - บุญสม เอรวารพ / 3. ดอกสร้อยสุภาษิตประกอบ ภาพ – กรมศิลปากร / 4. ต้นไม้ในสวน – ชีวัน วิสาสะ / 5. ปลาบูท่ อง - กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ / 6. ผีเสือ้ กับผึง้ น้อย – อ�ำนาจ เย็นสบาย / 7. ฟ้าจ๋าอย่าร้อง – ส.พุ่มสุวรรณ / 8. ยายกะตา – บุญสม เอรวารพ / 9. รถไม้ของขวัญ – อิทธิพล วาทะวัฒนะ / 10. เสือโค - หม่อมดุษฎี บริพตั ร ณ อยุธยา, รัตนา อัตถากร / 11. ส�ำนึกของปลาทอง - วิรุณ ตั้งเจริญ / 12. หนู มากับหนูมี – สมใจ ทิพย์ชัยเมธา / 13. หนูอ้อกวาดบ้าน – อุไร ฟ้าคุ้ม / 14. เอื้องแซะสีทอง นิยายการ์ตูนชาวเขา – วิชา พรหม

jan11-Rotarian Redux-newpagesv8.indd 39

j a n u a r y

2 0 1 1 | T h e R o T a R i a n

39

11/8/10 5:33 PM


จันทน์ / 15. อ�ำเภออึกทึก – ด�ำรงศักดิ์ บุญสู่ 2. กลุ่มเด็กวัย 7-12 ปี (แบ่งตามประเภท เป็นนิทานภาพ กับนิยายเรื่อง) 2.1 กลุ่มนิทานภาพ 16. การ์ตูนประวัติบุคคลส�ำคัญ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ - พรชมภู ราช ทา, รุ่งโรจน์ แสงพันธุ์ / 17. ข้าวเขียวผู้เสียสละ - วิริยะ สิริ สิงห / 18. เด็กชายผู้ไม่ยอมเปิดหน้าต่าง - กานติ ณ ศรัทธา / 19. ต้นไม้ – จารุพงษ์ จันทรเพชร 20. ตาอินกับตานา - เนาว รัตน์ พงษ์ไพบูลย์ / 21. นโมแห่งบ้านไม้ - อรุณ วัชระสวัสดิ์ / 22. นางในวรรณคดี - ?มาลัย? / 23. นิทานชาวเขา – สมศักดิ์ ศรีมาโนชน์, สุนทร สุนันท์ชัย / 24. นิยายภาพ 4 เรื่อง 4 รส เตรียม ชาชุมพร / 25. นิทานภาพพุทธรักษา – ฐะปะนีย์ นาคร ทรรพ และคณะ / 26. เปลือกหอยกับความสุข – มานิต ประ ภาษานนท์, สุธีรา สาธิตภัทร / 27. ผึ้งน้อยในสวน – สิรินทร์ ช่วงโชติ / 28. พระเวสสันดร – ปัณยา ไชยะค�ำ / 29. ไม่อยาก เป็นควาย - สายสุรีย์ จุติกุล, แสงอรุณ รัตกสิกร / 30. “เรณูปัญญา” เที่ยวรถไฟ - กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ / 31. ลูกหงส์กตัญญู - พรจันทร์ จันทวิมล / 32. เล่นกลางแจ้ง – ปรีดา ปัญญาจันทร์ / 33. สิงหโตเจ้าปัญญา - ถวัลย์ มาศจรัส / 34. สุดสาคร และวีรชนในประวัติศาสตร์ไทย - ประยุต เงากระจ่าง / 35. โสนน้อยเรือนงาม - มล.มณีรตั น์ บุนนาค / 36. หนังสือชุด ภาพประกอบค�ำบรรยาย และหนังสือชุดภาพและการ์ตนู – เหม เวชกร / 37. หนังสือชุดภาพและการ์ตนู - สมควร สกุลทอง และ ประเทือง มุทติ าเจริญ / 38. หนังสือภาพชุด ภาพวิจติ รวรรณคดี – นายต�ำรา ณ เมืองใต้ / 39. หนังสือภาพประวัติศาสตร์กรุง รัตนโกสินทร์ -กาญจนา นาคพันธุ์ 2.2 กลุ่มนิทาน/นิยายเรื่อง 40. เขาชื่อเดช – กาญจนา นาคนันท์ / 41. ครูไหวใจร้าย – ผกา วดี / 42. เชียงเหมี้ยง – ค�ำหมาน คนไค 43. นกกางเขน - หลวง กีรติวิทย์โอฬาร และอร่าม สิทธิสารีบุตร / 44. นิทานคติธรรม – แปลก สนธิรักษ์ 45. นิทานชาดก ระดับประถม ฉบับกรม วิชาการ / 46. นิทานไทย–พระยาอุปกิตศิลปสาร และหลวงศรี อมรญาณ / 47. นิทานพื้นบ้าน - เต็มสิริ บุญยสิงห์ / 48. นิทาน ร้อยบรรทัด-กรมวิชาการ / 49. นิทานสุภาษิต - สามัคยาจาร ย์สมาคม / 50. นิทานอีสป – พระยาเมธาบดี / 51. นิยายดาว – สิงโต ปุกหุต / 52. พระพุทธเจ้าของฉัน – สันติสุข โสภณศิริ / 53. พ่อแม่รังแกฉัน - พระยาอุปกิตศิลปสาร / 54. เรื่องขอ งม่าเหมี่ยว – สุมาลี 55. ลูกสัตว์ต่าง ๆ - ขุนสรรคเวทย์, นาย กี่ กิรติวิทโยสาร ขุนศึกษากิจพิสัณห์ / 56. โลกของหนูแหวน – ศราวก / 57. หนังสือชุดนิทาน - ส.พลายน้อย / 58. หนังสือ ผจญภัยชุดค้นพบตนเอง (6 เล่ม) - นิคม รายยวา 59. หนังสือ ชุด เล่าเรื่องวรรณคดีไทย – กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ / 60. อาณาจักรปลาทอง - ถนัดกิจ ปิณินทรีย์ / 61. อุดมเด็ก ดี - กีฬา พรรธนะแพทย์ 3. กลุ่มเด็กและเยาวชนวัย 13-18 ปี (แบ่งตามประเภทเป็น

กวีนิพนธ์, เรื่องสั้น, นวนิยาย) 3.1 กวีนิพนธ์ 62. ก็พอใจอยากจะรักให้นักหนา - ศักดิ์สิริ มีสมสืบ / 63. ค�ำ หยาด – เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ / 64. นักฝันข้างถนน - วารี วายุ / 65. ใบไม้ที่หายไป - จิระนันท์ พิตรปรีชา / 66. ม้าก้าน กล้วย – ไพวรินทร์ ขาวงาม 67. มีรังไว้รักอุ่น – ศุ บุญเลี้ยง 3.2 เรื่องสั้น 68. 100 ปี เรือ่ งสัน้ ไทย – สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย / 69. คือหญิงอย่างยิ่งนี้ รวมเรื่องสั้นบทกวีเกี่ยวกับผู้หญิง - สมาคม นักเขียนแห่งประเทศไทย / 70. ท�ำดีได้ดี ท�ำชั่วได้ชั่ว – ท.เลียง พิบูลย์ / 71. รวมเรื่องสั้น – ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช / 72. เรื่อง สั้นคัดสรร – เสกสรรค์ ประเสริฐกุล / 73. สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า คน – วินทร์ เลียววาริณ / 74. เสาหินแห่งกาลเวลา - สมาคม นักเขียนแห่งประเทศไทย 3.3 นวนิยาย 75. ข้าวนอกนา – สีฟ้า / 76. เขี้ยวเสือไฟ – มาลา ค�ำจันทร์ / 77. คนข้ามฝัน - ประชาคม ลุนาชัย / 78. คือรักและหวัง – วัฒน์ วรรลยางกูร / 79. คุณชาย – ว. วินิจฉัยกุล / 80. ค�ำอ้าย - ยงค์ ยโสธร / 81. เจ้าพ่อ-เจ้าเมือง – อาจินต์ ปัญจพรรค์ / 82. ชีวิต ของฉันลูกกระทิง - บุญส่ง เลขะกุล / 83. เชิงผาหิมพานต์ – สุ ชีพ ปุญญานุภาพ / 84. ดอกไม้บนภูเขา – สองขา / 85. เด็กชาย จากดาวอื่น - วาวแพร / 86. เด็กชายชาวเล – พนม นันทพฤกษ์ 87. บึงหญ้าป่าใหญ่ – เทพศิริ สุขโสภา / 88. บูโนคนกลิ่นหญ้า - ภาคภูมิ ศิริอาชาวัฒนา / 89. ปูนปิดทอง – กฤษณา อโศกสิน / 90. ผีเสื้อและดอกไม้ – นิพพาน / 91. พระจันทร์สีน�้ำเงิน - สุ วรรณี สุคนธา / 92. มหกรรมในท้องทุ่ง – อัศศิริ ธรรมโชติ / 93. เมืองนิมิต - เรียมเอง / 94. ไม้ดัด – โบตั๋น / 95. เรือกับ รั้ว - เทพศิริ สุขโสภา / 96. เรื่องเล่าจากดาวดวงหนึ่ง - พิษณุ ศุภ / 97. ล�ำเนาป่า – ศิเรมอร อุณหธูป / 98. เวลาในขวดแก้ว – ประภัสสร เสวิกุล / 99. องคุลีมาล – สมัคร บุราวาศ / 100. อมตะ - วิมล ไทรนิ่มนวล หลังจากอ่านมาถึงบรรทัดนี้ หลายท่านคงมีความรูส้ กึ เช่นเดียวกับผมว่า แม้แต่ตัวเราเองก็ยังไม่ค่อยได้อ่านหนังสือ ดีๆ เหล่านี้กันเลย...จริงไหมครับ หากว่าบางเล่มท่านอาจจะ เคยอ่านเป็นหนังสือนอกเวลามาบ้าง (ตามที่คุณครูบังคับ) บาง เล่มเคยผ่านสายตามาแล้ว ฮือ ๆ อย่างนี้ก็ถือได้ว่าท่านยังโชคดี ที่ยังได้มีโอกาสในการอ่านเรื่องดีๆ ที่นักเขียนเขาบรรจงลงหมึก ขีดเขียนประพันธ์ผลงานที่พวกเขารักมาให้พวกเราอ่านกัน ซึ่ง ก็ได้ถูกคัดเลือกแล้วว่าดีมากๆ เหมาะส�ำหรับเด็กและเยาวชน เป็นอย่างมาก รู้อย่างนี้แล้วไม่รีบไปซื้อมาให้ลูกๆ หลานๆ ของ พวกเรามาอ่านกันหรือครับ เพื่อว่าอนาคตประเทศไทยจะได้ คนรุ่นใหม่มีจิตใจที่เปิดกว้าง มีจิตใจที่เบิกบานมองโลกในแง่ดีๆ ประเทศไทยจะได้มตี น้ กล้าทีด่ ี ทีไ่ ม่ทะเลาะกันจนบ้านเมืองถอย หลังไปอีกเป็นสิบๆ ปี อย่างที่เห็นกัน...จริงไหมครับ?

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๓


สวัสดีคะ่ มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ปี นี้อากาศหนาวเย็นสมใจ ใครหลายคน ที่ได้ใส่เสื้อกันหนาวสวยๆ …***…งาน ประชุมใหญ่ภาค 3360 ประจ�ำปีหรือที่ เรียกทับศัพท์วา่ District Conference ใกล้เข้ามาแล้ว นายกสโมสรทุกสโมสร ก็ได้รับจดหมายเชิญ จากประธานจัด

นย.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนาเชียงใหม่

งาน ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ และทีมงานที่ตระเตรียมงานมาอย่างดี วัน ที่ 19-20 มีนาคม 2554 นี้ที่โรงแรมล�ำปางเวียงทอง จ.ล�ำปาง ลงทะเบียน ล่วงหน้าเพียงท่านละ 1,000 บาทเท่านั้น แหม..มีของขวัญพิเศษส�ำหรับ ผู้ลงทะเบียนเข้าประชุมครั้งแรกด้วย... ต้องรีบกันหน่อยล่ะค่ะ...***...ขอ แสดงความชื่นชมกับงานเลี้ยงสังสรรค์วันคริสต์มาสและ ต้อนรับปีใหม่ ของสโมสรโรตารีกาวิละเชียงใหม่ ที่ นย.เอกวุฒิ กาวิละ และรทร.ดร.ไซ ม่อน จอห์นสัน เลขานุการสโมสรเป็นโต้โผ ได้เชิญนักเรียนพิการทาง สายตาและหูหนวก ในจังหวัดเชียงใหม่ และนักเรียนชาวเขาเผ่าม้งจาก ดอยสูง ตลอดจนนักเรียนในเขตเมือง มาร่วมงานมากกว่า 30 คน เลี้ยง อาหารค�่ำเด็กๆ มอบทุนการศึกษา พร้อมจัดงาน แจกของขวัญกันเต็ม ที่ เด็กๆ ได้รับความสุข สนุกสนาน จนไม่อยากกลับ นย.เอกวุฒิ ฝาก ขอบคุณทุกท่านผู้ใจบุญ ที่ร่วมสนับสนุนการจัดงานครั้งนี้ โดยการเป็นส ปอนเซอร์คา่ อาหาร และของขวัญแก่นอ้ งๆ ผูจ้ ดั และผูส้ นับสนุนต่างได้บญ ุ ไปเต็มๆ...***...กลายเป็นดาวเด่นในงานประกวดแทบทุกงานเมือ่ อน.จิรา ภรณ์ ฮาร์ดดิง้ สมาชิกสโมสรโรตารีเชียงใหม่ไปปรากฎกาย จนได้รบั รางวัล ชนะเลิศทุกครั้งที่มีการประกวด อาทิ งานสังสรรค์ปีใหม่ของสโมสรโรตา รีเชียงใหม่และเชียงใหม่เหนือในบรรยากาศงานวัด ณ บริเวณสระน�้ำโรง แรมอมารีรินค�ำ และงานแฟนซีปีใหม่ของสโมสรฝึกพูดเชียงใหม่...อายุไม่ เป็นอุปสรรค คนจะดังเสียอย่าง..อ่ะนะ...***...อน.พญ.วรรณจันทร์ พิม พิไล ประธานโครงการจัดสร้างศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจโรงพยาบาลล� ำปาง เป็นปลื้มเมื่อกิจกรรมเปิดสวิทช์หัวใจ ที่จังหวัดล�ำปางในเดือนธันวาคม ที่ผ่านมา ได้รับเงินบริจาคเกือบยี่สิบล้านบาท กิจกรรมแรกเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม “วงโยธวาทิต เปิดสวิทช์หัวใจ เทิดไท้องค์ภูมินทร์” บรรเลง เพลงพระราชนิพนธ์โดย 8 โรงเรียนในล�ำปาง ที่ข่วงนคร จ.ล�ำปาง ได้ รับเงินบริจาคมาหนึ่งล้านกว่าบาท กิจกรรมที่สองเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม “คอนเสิร์ตเปิด สวิทช์หัวใจ” กับศิลปินแห่งชาติ ชรินทร์ นันทนาคร ใน งานเซรามิคแฟร์ ได้รบั เงินบริจาค 12 ล้านบาท กิจกรรมทีส่ ามเมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม “ทอดผ้าป่ามหากุศล” โดยมีท่าน ว. วชิรเมธี มาเป็นองค์เทศน์ ได้รับเงินบริจาค 6 ล้านกว่าบาท... ต้องขอปรบมือให้คณะกรรมการทุก ท่านที่ทุ่มเทท�ำงานกันอย่างเต็มที่...***...ยัง ยังไม่หยุดฉุดไม่อยู่ วันที่ 30 มกราคมก็จะจัดกอล์ฟเปิดสวิทช์หัวใจ และวันที่ 11-12-13 กุมภาพันธ์ จะเอาใจวัยรุ่นด้วยการจัดละครเวที “เปิดสวิทช์หัวใจ เดอะมิวสิคคัล” ณ หอประชุมโรงเรียนล�ำปางกัลยาณี เรียกว่าจัดกิจกรรมแบบเข้าถึงทุก กลุ่มทุกวัยกันเลยทีเดียว...***... ขอแสดงความยินดีกับ อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ ที่ป่านนี้ได้ลูกเขยคนโตไปแล้วเมื่อ วันที่ 15 มกราคม หลังจากท�ำหน้าเข้มถือไม้ตะพดเฝ้าลูกสาวสามใบเถา มานานหลายปี...***...นายกสาวสวยไฟแรง นย.นงนุช อิม่ อุระ สโมสรโรตา รีอุตรดิตถ์ แอ็คทีฟตั้งแต่รับต�ำแหน่งมีผลงานโดดเด่นอย่างต่อเนื่อง ตอน นี้ออกท�ำงานร่วมกับ 8-9 โรงพยาบาลในอุตรดิตถ์โดยประเมินคนพิการ เพื่อมอบอุปกรณ์ต่างๆ อาทิ วีลแชร์(รถเข็นคนพิการ Wheelchair), ไม้ เท้า ฯลฯ งานนี้ร่วมกับสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ สวย เก่ง และ ขยันอย่างนี้ ไม่รวู้ า่ ปีหน้าเขาจะให้เป็นนายกอีกปีหนึง่ หรือเปล่า...***…เป็น เลขานุการสโมสรทีแ่ อ็คทีฟสุดๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นโรแทเรียนใหม่แต่ไฟแรง รทร.ธน โชติ วัฒนศิริ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ ทั้งจัดวาระการประชุม ท�ำหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ ประสานงานกิจกรรม และล่าสุดนีไ้ ด้จองตัว๋ เครือ่ งบินเพือ่ ไปเข้าอบรมนายกรับเลือก (Multi PETS) ที่ จ.ภูเก็ต วันที่ 25-27 มีนาคม

นีเ้ รียบร้อยแล้ว นายกรับเลือกท่านใดทีย่ งั ไม่ได้จองตัว๋ ต้องรีบหน่อย เพราะ เดีย๋ วเครือ่ งเชียงใหม่−ภูเก็ตเต็มเสียก่อน...***…คุณแม่ YE in bound พัก นี้รวมตัวกันจัดกิจกรรมให้ลูก วายอี ฝรั่งกันอย่างเข้มแข็ง ไม่ว่าจะเป็นพา ไปท�ำกิจกรรม ทัศนศึกษา สอนท�ำอาหาร เล่นกีฬา จัดงานลอยกระทง ปีใหม่ เลี้ยงดูปูเสื่อกันจนน�้ำหนักขึ้นกันทั้งคุณแม่คุณลูก อาทิ รทร.ศิริ ลักษณ์ ระย้า, รทร.วาริพนิ ธ์ แซ่แต้, รทร.สุภทั รา สายหมอก, โรตารีแอนน์ ของ รทร.พตอ.สมบัติ สุภาภา, โรตารีแอนน์ของ อน.พตอ.ปรีชา ไชยวิมล จิต...*** ...ด้านน้องดอกบัว YE Outbound ลูกสาวของ รทร.พริ้มเพรา บุญทูล สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ไปอยู่อเมริกาได้ 5 เดือน ก�ำลังสนุกกับการ เรียนและเล่นสกี แต่ก็เกิดอุบัติเหตุ เลยอดเล่นสกีต่อเพราะต้องเข้าเฝือก อยูห่ ลายสัปดาห์ ท�ำให้ นย.ประสาท ศรีพลากิจ เป็นห่วงเป็นใย ขอให้นอ้ ง ดอกบัวหายเร็ว ๆ ...***...อน.ธานินทร์ ศิริรัตโนทัย สโมสรโรตารีแม่จัน ผู้ ทีม่ จี ติ ใจเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่มเี พือ่ นโรแทเรียนต่างภาคมากมาย ได้ประสานงาน กับ นยก.ปรีชา เอกบัณฑิต สโมสรโรตารี ลาดพร้าว กรุงเทพฯ มาร่วมกัน บริจาคหนังสือให้กับห้องสมุดโรงเรียน วังกะพี้พิทยาคม จ.อุตรดิตถ์ คณะ ครูและนักเรียนต่างซาบซึง้ และฝากขอบคุณมา...***...สาวสวยผูไ้ ม่ยอมแพ้ แก่กาลเวลา ผชภ.นันทนา มั่งมี สโมสรโรตารีเวียงโกสัย สลัดสูทโรตารีขึ้น แค็ทวอล์คเดินแฟชั่นโชว์ผ้าไหม ในงานฤดูหนาวไทยล้านนาและกาชาด จังหวัดแพร่ ประจ�ำปี 2554 สวยงามทั้งคนทั้งผ้าไหมกันเลยทีเดียว...*** ขอแจมด้วยคน...สโมสรโรตารี แม่สายฉลองครบรอบ 30 ปี เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมแม่โขงเดลต้า ห้องใหม่ซิงๆ ใช้เป็นครั้งที่ 2 ต่อ เนือ่ งจากงานก่อน ยิง่ ใหญ่เช่นเคย แขกเริม่ ทยอยถึงสถานทีจ่ ดั งานในเวลา 19.00 น. นย.บัณฑิต รัตนะวิมล ได้น�ำทีม ผวภ.นพ.วีระชัย และ โรตารี แอนน์ ดร.บุษบง จ�ำเริญดารา สโมสรคู่มิตรและผู้ร่วมงาน เข้าห้องจัดงาน อย่างเป็นทางการ ในทันใดเสียงเพลงคาวบอยเร้าใจ ดังกระหึ่มต้อนรับ ผู้ร่วมงาน ในวันนี้นอกจากจะฉลอง 30 ปีแล้ว ยังมีการเซ็นต่อสัญญาคู่ มิตร กับสโมสรเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม และสโมสรจางฮั้ว เซ็นทรัล ไต้หวัน คู่มิตรจากต่างประเทศ อีก 1 สโมสรด้วย ต้องขอยกย่องประธานจัดงาน อน.ตระสัก ศริธิพรรณ์ คณะกรรมการจัดงานทุกท่าน และโรตารีแอนน์ที่ น่ารัก ต่างจัดงานได้เยีย่ มยอดเช่นเคย บรรยากาศคาวบอย ๆๆ คึกคักๆ หนุ ก หนานๆ ไม่มีการลงทะเบียน (ฟรีจ้ะ) อาหารเป็นซุ้มต่างๆ อาหารหลาก หลายให้ได้เลือกลิ้มรส ผู้ร่วมงานเต็มห้องเอี๊ยด มีทั้งภายในและภายนอก องค์กร ต่างให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเช่นเคย การแสดงมีหลากหลาย เริ่มด้วยการแสดงของน้องๆ อินเตอร์แรคท์ การโชว์เพลงของ อน.วาณิช โยธาวุธ และเพลงคู่ของคู่มิตรโดย นย.บัณฑิต รัตนะวิมล และ อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ ต่างได้รับใบสั่งให้โชว์เพลง รักไม่รู้ดับ และ More than I can say เพลงหลังต้องขอตัวช่วย โดยเชิญ นย.เอกวุฒิ กาวิละ ร่วมแจม ต�ำน�้ำพริก ๆๆ ต�ำน�้ำพริกให้เสียงดัง ๆ เพลงต�ำน�้ำพริกเริ่มกระหึ่ม สาวๆ ถิ่นไทยงามในชุดไทย ผ้าถุงลายดอกแบบดั้งเดิม ปรากฏกายขึ้นด้านหน้า เวที โดยสาวจีรนันท์ เป็นนักร้องน�ำ ส่วนแด็นซ์เซอร์น�ำโดย อผภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ, อน.จุไร ช�ำนาญ, อน.ทพญ.เรวดี ปีตะนีละผลิน, อน.ดร.ราตรี พิมพ์พันธุ์, อน.กัญมาศน์ ปานะสูตร, รทร.ศิริสมบัติ สุวรรณศิริ, รทร.กวิ ตา ตันประเสริฐ, รทร.วลัยพรรณ เตชะเบญจรัตน์, นย.รัศมี พิทักษ์มโน กุล และมีบางส่วนเป็นกองเชียร์ การแสดงชุดนี้เรียกเสียงฮาๆๆ ได้ไม่เบา เลยทีเดียวเชียว นอกจากนี้ อดีตนายกเท้าไฟ อน.ทวีศักดิ์ จับคู่ กับแอนน์ อรพินทร์ สดศรีวิบูลย์ โชว์ลวดลายท่าเต้น ชะชะช่า ให้เราได้อิจฉาเล่นๆ อีกตะหาก นอกจากนี้ยังมีการแสดง LINE DANCE จากชมรมลีลาศ เต้น ด้วยลีลาสวยงาม และเท่ มากๆ เพราะแต่งด้วยรองเท้าบู้ท ชุดคาวบอย งามจริงๆ ปิดท้ายด้วยร่วมกันเต้นงูกินหาง อย่างครึกครื้นสนุกสนานทั้ง ฮอลล์ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอีกหลากหลาย ซึ่งเป็นสิ่งหนึ่งที่ท�ำให้เห็น ถึงความทุ่มเท และความสมัครสมานสามัคคี ของสโมสรแม่สาย และเป็น น�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ในการท�ำงานให้ประสบความส�ำเร็จ สโมสรแม่สายจึง เป็นสโมสรที่ได้รับการยอมรับ และได้รับความชื่นชมจากเพื่อน ๆ สโมสร ในภาค 3360 เป็นอย่างยิ่ง ขอแสดงความยินดีกับความส�ำเร็จที่ยาวนาน และขอให้รักษาความเป็นสโมสรที่เข้มแข็ง ที่เปี่ยมไปด้วยมิตรภาพตลอด ไป จาก….เอื้องผึ้งเมืองสุพรรณ สาวเครือฟ้า


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.