6-DG-11

Page 1

06 มาร่วมจิตอาสากันเต๊อะ

www.rotary3360.org


สโมสรโรตารีแม่สอด & เมืองฉอด

สนับสนุนสารผู้ว่าการภาคฯ ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓

December 2010

เดือนแห่วการรายงาน นายกฯ และเลขาฯ รับเลือก The Rotary Club Officer Report Month

Content สารบรรณ

2-3. สารผู้ว่าการภาคฯ 4. ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 5. สารเลขาฯภาค 6-7. สถิติการเข้าประชุม 8-9. DGE’s Corner 10. สนเทศโรตารี 11. คุยกันที่ขอบเวที

12-14. กิจกรรม Activities 17. สารประธานโรตารีสากล 18. พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส 19. บทบรรณาธิการ 20. ใจถึงใจ 21-22. เสียงนกเสียงกา 23-25. สกู๊ปพิเศษ

คณะอนุกรรมการจัดท�ำสารฯผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641

บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย) PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

นย. เอกวุฒิ กาวิละ (กาวิละเชียงใหม่) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์

(เชียงใหม่เหนือ) PP.Prayoon Sirinaphaphan Mobile: 08-1783-5123 E-mail: payoon_siri@hotmail. com อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suwannee Sirinaphaphan Mobile: 08-1960-6737 E-mail:suwannee_siri@hotmail. com

กองบรรณาธิการ

ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail.

26-27 บ้านเลขที่3360R.I. 28-30. รอบด้าน บ้านเรา 31-32 At a glance 33-34 มุมเยาวชน Youth Corner 35. Z00m inside 3360

com อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb. net อน.ยศวัจน์ นิธิแัญญาวัฒน์ (เชียงใหม่ภูพิงค์) PP. Yosawat Nithipanyawat Mobile : 08-1961-9816 E-mail : nyosawat.gmail.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail.

com อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล (เชียงใหม่) Rtn.Sunti Laopanichkul Mobile: 08-1611-8779 E-mail : santi@rotary3360.org รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) Rtn.Jeeranan Jantanaket Mobile : 08-1671-3444 E-mail : je_ranan@hotmail.com


สารจากผู้ว่าการภาค ธันวาคม 2553

ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔

ธันวาคมเป็นเดือนสุดท้ายของปีสากล แต่เป็นครึง่ ปีของโรตารี เป็นเดือนทีม่ กี จิ กรรมรืน่ เริง สนุกสนานเพื่อเตรียมฉลองปีใหม่ โรตารีจัดเป็นเดือนแห่งครอบครัวโรตารี (Family month) เพื่อ ให้ครอบครัวได้มโี อกาสพบปะซึง่ กันและกัน ขณะเดียวกันสโมสรก็มกี จิ กรรมวันครอบครัว เพือ่ สร้าง มิตรภาพที่ดี เพิ่มความเข้มแข็งให้สโมสร อย่างไรก็ตาม หลายๆ สโมสรอาจยุ่งกับกิจกรรม จนลืม หน้าที่ส่งรายงานครึ่งปีแรก (SAR=Semi Annual Report) ให้โรตารีสากล ซึ่งจะมีผลท�ำให้สโมสร ถูกคัดชื่อออกจากสมาชิก (Terminate) โรตารีสากลอย่างไม่รู้ตัว กรรมการที่เกี่ยวข้องต้องท�ำงาน หนัก เพือ่ ติดตามเตือน ทัง้ ทางจดหมาย อีเมลล์ โทรศัพท์ ขอให้สโมสร โดยเฉพาะนายกและเลขา ได้ ตระหนักหน้าที่ส�ำคัญนี้ด้วย เพื่อให้ทุกอย่างราบรื่น ขอแนะน�ำให้ส่ง SAR ตามที่โรตารีสากลก�ำหนด แต่เนิ่นๆ คือภายในเดือนแรกที่ได้รับเอกสารจากโรตารีสากล ครั้งต่อไป (ครึ่งปีหลังโรตารี) ควรส่ง ภายในวันที่ 31 มกราคม 2554 ครับ ธันวาคมยังเป็นเดือนสุดท้ายแห่งการสรรหาผูน้ ำ� สโมสร สโมสรใดยังไม่ได้สรรหา “นายกรับ เลือก” เลขานุการสโมสร และกรรมการสโมสร ปี 2554-2555 กรุณาด�ำเนินการโดยด่วน และแจ้ง ชื่อให้โรตารีสากลทราบภายในสิ้นเดือนธันวาคม มิฉะนั้นอาจไม่มีชื่ออยู่ในท�ำเนียบของโรตารีสากล จริงๆ แล้วผมอยากให้ทกุ สโมสรเตรียมผูน้ �ำสโมสรไว้ลว่ งหน้า 3 ปี เหมือนการเตรียมการในระดับโรตา รีภาคและระดับโรตารีสากล เพื่อผู้นำ� จะได้มีโอกาสเตรียมตัว เตรียมทีมงานแต่เนิ่นๆตามแนวทาง ของโรตารีสากล มีหลายๆ สโมสรในภาคเราได้ด�ำเนินการแล้ว ขอชื่นชม โปรดช่วยแนะน�ำสโมสร อื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะผู้ช่วยผู้ว่าการภาคที่รับผิดชอบแต่ละสโมสร และต้องไม่ลืมแจ้งชื่อกรรมการ ฝ่ายต่างๆ ของสโมสรผ่าน member access ของนายกสโมสรด้วย (นโยบายใหม่ปีนี้ของโรตารี สากล) กรรมการทุกต�ำแหน่งควรเตรียมเข้าอบรมในการประชุมต่างๆ ของภาค ปี 2554-2555 โดย ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (ดูก�ำหนดการในเวบไซท์ภาค) กรรมการชุดที่ก�ำลังจะหมดหน้าที่ ให้เตรียม สรุปงาน ร่วมประกาศความส�ำเร็จในที่ประชุมใหญ่ภาค (19-20 มี.ค.2554) ที่ โรงแรม ล�ำปางเวียง ทอง จังหวัดล�ำปาง สุดท้ายผมอยากให้สโมสรทบทวนแผนงานและกิจกรรมใน 6 เดือนทีผ่ า่ นมา ติดตามเร่งงาน ทีไ่ ม่เป็นไปตามแผน รวมทัง้ นายกสโมสรเตรียมส่งแบบฟอร์ม ขอใบประกาศเกียรติคณ ุ จากประธาน โรตารีสากล (Presidential Citation) ส�ำหรับการประชุมใหญ่ของโรตารีสากล ปีนี้ จัดที่ นิว ออร์ ลีน สหรัฐอเมริกา วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2554 ขอเชิญชวนมิตรโรแทเรียนไปกันเยอะๆ เราต้อง ไปช่วยกันประชาสัมพันธ์ให้มิตรโรแทเรียนทั่วโลก มาร่วมประชุมใหญ่โรตารีสากล ที่กรุงเทพฯในปี หน้า แต่ละภาคมีเป้าหาผู้ไปร่วม 100 ท่าน ขณะนี้ภาค 3360 ลงทะเบียนแล้วไม่ถึง 40 ท่าน นับ เป็นประสบการณ์ครั้งหนึ่งในชีวิตโรแทเรียนทีน่าภาคภูมิใจทีเดียว ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ภาค 3360 โรตารีสากล

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


Messages from District Governor December 2010 Rotary District 3360 Dear Fellow Rotarians and Rotary Anns, Season’s Greetings! I wish you all have wonderful time with your family and friends during this holiday season. For all of us Rotarians, December also marks a half-way milestone of Rotary’s fiscal year and is Rotary Family Month. Rotarians and their families in every corner of the world celebrate the Family Month, which helps bond members and strengthen the clubs. The mid-year is also an important time for each club to prepare its Semi-Annual Report (SAR) for submission to Rotary International. I encourage the club’s president and secretary to get things well prepared ahead of time and submit an SAR as soon as receiving documents from RI. We all know that failure to submit the SAR will result in a termination of the club. Just another way to help avoid this mishap, I would like to ask concerned committees to remind the presidents and secretaries of the importance of the SAR as well. Another significant event of the month is the recruitment of a new governing body of the clubs. Any clubs that have not appointed a president-elect, secretary and committee for year 2011-2012 should do so as soon as possible. The list of governing body has to be submitted to RI within December 2010 to be included in RI Official Directory. In fact, similar to District and International levels, I would like clubs to have 3-year succession plan for governing bodies, ensuring smooth transition and sufficient preparation for a new leadership. I appreciate several clubs that have put this structure into place. As learning can and should be shared, I would like to ask those clubs’ Assistant Governors in Charge to advise and guide other associated clubs as well. According to RI’s 2011 policy, clubs are required to inform the names of committees through Rotary’s Member Access. New committees should get ready for trainings convened by Governor-Elect Chamnan Chanruang. In addition, the current committees should get prepared to present achievements of the year at District Conference during March 19–20, 2011 at Lampang Wieng Thong Hotel in Lampang. Go to www.rotary3360.org for an agenda. As we approach the last half of the fiscal year, it is prudent for all of us to review ongoing projects and ensure they are completed in time. Presidents of the clubs should get prepared to submit questionnaire test of activities for Presidential Citation. Fellow Rotarians are cordially invited to join 2011 Rotary International Convention in New Orleans during May 21-25. Come join us promote next year’s Convention in Bangkok and have a good time with fellow Rotarians. Often referred to as the “most unique” and “most authentic” city of America with its distinct French Creole architecture, as well as its cross cultural and multilingual heritage, and famous for its food, music and festivals, New Orleans will be an incredible experience for a visit. Register now and join us in New Orleans! Yours in Rotary Service, DG. Dr. Virachai Chamroendararasame Rotary International District 3360


สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


อน.วีระพงษ์ โตแสงชัย สโมสรโรตารีเชียงใหม่ สวัสดีครับ มิตรโรแทเรียน ที่เคารพรักทุกท่าน ฉบับนี้เป็นฉบับส่งท้ายครึ่งปีแรกของ คณะกรรมการ บริ ห ารสโมสรปี Building Communities….Bridging Continents และขอแสดงความยินดีกับทุกสโมสรในภาค ที่ส่ง รายงานครึ่งปี (SAR) และค่าบ�ำรุง RI ได้ครบสมบูรณ์โดยไม่ต้อง เกินก�ำหนดเวลาและถูกปรับ ส�ำหรับการส่งรายงานงวดครึ่งปี หลัง และค่าบ�ำรุง RI นัน้ ก�ำหนดส่งคือ ภายในวันที่ 31 ม.ค 2554 ทุกสโมสร ควรจะได้รับจดหมายพร้อมแบบฟอร์มรายงานครึ่งปี จาก RI แล้ว แต่หากเกิน 31 ม.ค 2554 แล้ว สโมสรไหนยังไม่ ได้รบั ขอให้ตดิ ต่อผูแ้ ทนดูแลการเงินโรตารีสากลในประเทศไทย (อผภ.กฤษณ์ อินเทวัฒน์) ศูนย์โรตารีประเทศไทย เพื่อประสาน ขอแบบฟอร์มจาก RI ต่อไป ส่วนการส่งรายงานชือ่ นายก-เลขานุการสโมสร 20112012 (Reporting-RI Officer Directory ) ซึ่งมีก�ำหนดส่ง ภายใน 31 ธ.ค 2553 โดยให้ท�ำรายการในเว็บไซต์โรตารี ผ่าน เมนู Member Access ผู้มีสิทธิ์เข้าท�ำรายการคือนายกและ เลขานุการสโมสรปัจจุบันเท่านั้น แต่ถึงวันนี้ในภาคฯ ยังมีบาง สโมสรทีย่ งั ไม่ได้สง่ ผลคือจะท�ำให้การติดต่อจาก RI มายังสโมสร ในปีถัดไปไม่ราบรื่น RI จึงได้ยืดระยะเวลาให้สโมสรที่ยังไม่ได้ส่ง สามารถด�ำเนินการได้ถึง 15 มี.ค 2554 ซึ่งในปีนี้ท่านอาจส่ง ผ่านศูนย์โรตารีประเทศไทยให้ส่งต่อให้ RI ได้ โดยท่านสามารถ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มจากอีเมล์ที่ผมเคยส่งให้ แล้วกรอกข้อมูล และให้ส่งแฟกซ์หรืออีเมล์ ไปถึงคุณดนุชา ผู้อ�ำนวยการศูนย์ โรตารี ในประเทศไทย email: danucha@rotarythailand.org ส�ำหรับภาระความรับผิดชอบต่อภาค เรือ่ งค่าบ�ำรุงภาค ปีละหนึง่ ครัง้ นัน้ ภาคฯใคร่ขอความร่วมมือสโมสรทีย่ งั ไม่ได้ช�ำระ ช่วยกรุณาด�ำเนินการให้โดยด่วน และสโมสรทีร่ บั สมาชิกเพิม่ ใหม่ กรุณาช�ำระเพิ่มในส่วนสมาชิกที่เพิ่มด้วย ข่าวดีส�ำหรับการช่วยกระตุ้นการเข้าประชุมประจ�ำ สัปดาห์ของโรแทเรียนทุกสโมสรในภาค ในช่วงเวลา 4 เดือน โดย เริม่ นับตัง้ แต่ เดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2554 ภาคฯจะได้จดั ให้มี

รางวัลประกาศเกียรติคณ ุ แก่สโมสรทีม่ คี ะแนนการประชุมประจ�ำ สัปดาห์สงู สุด 3 อันดับแรก ในแต่ละกลุม่ ในช่วงเวลาดังกล่าว โดย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. สโมสรที่มีจ�ำนวนสมาชิกในรายงานครึ่งปี (SAR) ตั้งแต่ 21 คนขึ้นไป 2. สโมสรทีม่ ขี นาดสมาชิกในรายงานครึง่ ปี (SAR) 1020 คน ดังนัน้ จึงขอเชิญชวนให้ทกุ สโมสรรณรงค์ให้สมาชิกเข้า ร่วมประชุมกันมากๆ เพราะถือว่าได้เริม่ แข่งขันพร้อมกันตัง้ แต่ปี ใหม่เป็นต้นไป ส�ำหรับการส่งคะแนนประชุมประจ�ำสัปดาห์เดือน พฤศจิกายนที่ผ่านมา มีสโมสรที่ส่งคะแนนการประชุมประจ�ำ สัปดาห์ได้ภายในก�ำหนดวันที่ 15 เดือนถัดไปจ�ำนวน 33 สโมสร ในทั้งหมด 62 สโมสรของภาค ซึ่งอยากขอความกรุณาให้สโมสร ทีย่ งั ส่งล่าช้าช่วยส่งให้ตรงตามก�ำหนดในช่วงเดือนต่อๆไปนะครับ เพราะการรายงานช้าไปสะสมถึง 2 เดือน หลังจากนี้คงต้องรวบ รายงาน 2 เดือนให้ตามทันเวลา ในเดือนพฤศจิกายนสโมสรที่มี คะแนนประชุม 100% คือ สโมสรโรตารีปัว และสโมสรโรตารี แพร่ สโมสรที่มีคะแนนประชุมเกิน 80% มีทั้งหมด 17 สโมสร เกิน 60% มีอยู่ 49 สโมสร และมี 4 สโมสรทีค่ ะแนนต�ำ่ กว่า 50% ในขณะทีค่ ะแนนเฉลีย่ ทัง้ ภาค 61 สโมสร คือ 70.57% ลดลงจาก เดือนกันยายนที่เท่ากับ 71.07% เดือนกรกฏาคมและสิงหาคม ซึ่งเท่ากับ 75.76%, 74.53%, ตามล�ำดับ จึงยังเป็นงานที่จะได้ ช่วยกันกระตุ้นให้สมาชิกเข้าประชุม พร้อมทั้งจัดการประชุมให้ มีบรรยากาศ มีสาระ และสร้างมิตรภาพการประชุมที่ดีดึงดูดให้ คนเข้าประชุมให้มากยิ่งขึ้น สุดท้ายก็ใกล้เวลานัดส�ำคัญของภาคอีกครั้งหนึ่ง ที่ทุก ท่านไม่ควรพลาดเข้าร่วมประชุม District Conference ทีโ่ รงแรม ล�ำปางเวียงทอง จังหวัดล�ำปางระหว่างวันที่ 19-20 มี.ค 2554 แล้วคงจะได้พบกับทุกท่านนะครับ อน.วีรพงศ์ โตแสงชัย เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-2554


รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน พฤศจิกายน ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลีย่ /เดือน พฤศจิกายน ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 1

83309

Chalawan Phichit

ชาลวัน พิจิตร

20

75

2

23201

Changpuak Chiang Mai

ช้างเผือกเชียงใหม่

26

75

3

16262

Chiang Mai

เชียงใหม่

63

60.52

4

16263

Chiang Mai North

เชียงใหม่เหนือ

27

85.19

8

5

16265

Chiang Rai

เชียงราย

27

99.07

3

4

6

52387

Chiang Rai North

เชียงรายเหนือ

27

85.19

8

7

7

16261

Chiangkam

เชียงค�ำ

26

68.75

8

53170

Chiang-Mai Airport

เชียงใหม่แอร์พอร์ท

15

53.33

9

60808

Chiangmai Doi Suthep

เชียงใหม่ดอยสุเทพ

4

75.00

10

26048

Chiangmai East

เชียงใหม่ตะวันออก

11

42

11

50481

Chiangmai Phuping

เชียงใหม่ภูพิงค์

17

66.17

12

83408

Chiangmai San Sai

เชียงใหม่สันทราย

27

65.92

13

13

51245

Chiangmai South

เชียงใหม่ใต้

12

62.5

15

14

29283

Chiangmai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 29

80.46

15

16264

Chiangmai West

เชียงใหม่ตะวันตก

27

55.56

16

28751

Chiangsaen

เชียงแสน

15

95.99

17

25135

Chomtong

จอมทอง

11

55

18

57289

Doiprabaht

ดอยพระบาท

29

68.96

19

21495

Fang

ฝาง

20

80

15

20

16274

Kamphaengphet

ก�ำแพงเพชร

20

85

9

21

30057

Kawila Chiang Mai

กาวิละ เชียงใหม่

16

68.5

22

83351

Khek River, Wangthong

ลุ่มน�้ำเข็ก

27

55.56

23

24886

Lab Lae

ลับแล

10

50

24

16277

Lampang

ล�ำปาง

29

64.77

25

16278

Lamphoon

ล�ำพูน

11

74

26

50294

Lanna, Chiang Mai

ล้านนาเชียงใหม่

24

60.22

27

52390

Mae Fha Louang

แม่ฟ้าหลวง

10

50

28

16281

Mae Hong Sorn

แม่ฮ่องสอน

10

70

29

16283

Mae Sariang

แม่สะเรียง

12

83.33

30

16280

Maechan

แม่จัน

31

64.52

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓

6 13

11 12

12

3

4

6 1

7 13

10


รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลีย่ /เดือน พฤศจิกายน ของสโมสรโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 31

16282

Maesai

แม่สาย

28

82.14

11

11

32

24956

Maesod-Muang Chod

แม่สอด เมืองฉอด

35

64.16

3

33

29389

Maewang

แม่วัง

19

73.68

5

34

83480

Muang Ko Kha

เมืองเกาะคา

30

37.41

35

65185

Muang Thoen

เมืองเถิน

23

72

36

65762

Nakorn Hariphunchai

นครหริภุญชัย

10

65

37

57910

Nakorn Nan

นครน่าน

10

65

38

64215

Nakorn Thoeng

นครเทิง

19

73.68

39

23050

Nan

น่าน

41

67.8

40

27553

Naresuan

นเรศวร

28

57.14

41

16291

Payao

พะเยา

11

72.5

4

42

16292

Phan

พาน

25

48

6

43

24741

Phichai

พิชัย

14

70

44

23541

Phrae

แพร่

20

100

1

6

45

16297

Pitsanulok

พิษณุโลก

60

80.33

14

14

46

22008

Pua

ปัว

24

100

1

10

47

27741

Sanpatong

สันป่าตอง

14

87.12

7

48

30612

Sarapee, Chiang Mai

สารภีเชียงใหม่

12

70.83

49

16307

Sawankaloke

สวรรคโลก

22

62.72

50

25680

Sawankaloke North

สวรรคโลกเหนือ

25

79.2

51

25165

Sila-Asana

ศิลาอาสน์

30

89.33

5

52

22010

Song

สอง

14

89.28

6

53

52394

Sri Song Kwai

ศรีสองแคว

23

77.39

6

54

24965

Sukhothai

สุโขทัย

24

65.84

14

55

16312

Tak

ตาก

10

42.5

56

50326

Thawangpha

ท่าวังผา

11

65.45

12

57

70997

Thoen Downtown

เถินดาวน์ทาวน์

13

52.31

10

58

16317

Uttaradit

อุตรดิตถ์

27

99.08

59

74261

Vientiane

เวียงจันทน์ (สปป.ลาว)

60

50650

Wangchan

วังจันทน์

28

60

61

51392

Wiangkosai

เวียงโกศัย

21

80.37

62

31711

Wiengsa

เวียงสา

12

79.17

11 9

10 11

2

na 5 13

8 2


ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

ชมรมผู้บริจาคจากมรดก (Bequest Society) ในคราวประชุมคณะทรัสตีมูลนิธิโรตารีเมื่อเดือนตุลาคม ปี 2542 ได้มีมติให้มี ชมรมผู้บริจาคจากมรดก (Bequest Society) ขึ้น โดยมีหลักการว่าผู้บริจาคจะให้สัญญา ว่าจะบริจาคให้แก่มูลนิธิโรตารีอย่างน้อย 10,000 เหรียญสหรัฐจากแผนอสังหาริมทรัพย์ เมื่อเกษียณอายุ (Retirement Plan asset) จากทรัสต์ (Living Trusts) หรือจาก กอง มรดกของตน (Wills) ตลอดจนจากกรมธรรม์ประกันชีวิตไม่ว่าจะเป็นการเอาประกันทั้ง ฉบับหรือเป็นการเอาประกันทั่วๆไป (Whole and Universal Life Insurance) ในการบริจาคนี้เราสามารถระบุในพินัยกรรมหรือในเอกสารต่างๆข้างต้นด้วย ข้อความดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ในรูปแบบทั่วๆไป เราสามารถระบุว่าเรายกให้มูลนิธิกี่ส่วนจากทรัพย์สินของ เราทั้งหมด(A general bequest is for a certain percentage or portion of estate: “I give to The Rotary Foundation of Rotary International one-fourth of my property.” - ในรูปแบบที่เป็นการให้เป็นจ�ำนวนเฉพาะเจาะจง เช่น ให้หุ้นเป็นจ�ำนวน กี่หุ้น เป็นต้น (A specific bequest directs that the Foundation is to receive a specific piece of property : I give…500 shares of XYZ stock to The Rotary Foundation of Rotary International.”) - ในรูปแบบของการให้ในส่วนที่เหลือ เช่น ให้ส่วนที่เหลือจ�ำนวน 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น (A residual bequest designates all or a portion of whatever remains after all debt, taxes, expenses, and other bequests have been paid:“I give…50 percent of the rest, reside ,and remainder of my estate to stock to The Rotary Foundation of Rotary International.”) - ในรูปแบบของการให้โดยมีเงือ่ นไข เช่น คูส่ มรสไม่เลีย้ งดู เป็นต้น (A contingent bequest takes effect only under certain conditions: “In the event my spouse does not survive me , I give to stock to The Rotary Foundation of Rotary International ,the sum of...”)

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


ผูบ้ ริจาคตัง้ แต่ 10,000 เหรียญสหรัฐขึน้ ไป จะได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติพร้อม กับโล่แก้วเจียรนัยสลักชือ่ พร้อมเข็มประดับเพชร (จ�ำนวนเพชรตามระดับทีบ่ ริจาค) และได้ รับการประกาศชื่อในนิตยสาร The Salute of Donors

ระดับของการยกย่อง จะมี 6 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 บริจาค 10,000 - 24,999 เหรียญสหรัฐ ระดับที่ 2 บริจาค 25,000 - 49,999 เหรียญสหรัฐ ระดับที่ 3 บริจาค 50,000 – 99,999 เหรียญสหรัฐ ระดับที่ 4 บริจาค 100,000 – 499,999 เหรียญสหรัฐ ระดับที่ 5 บริจาค 500,000 – 999,999 เหรียญสหรัฐ ระดับที่ 6 บริจาค 1,000,000 เหรียญสหรัฐขึ้นไป ปัจจุบัน(ข้อมูล ณ 31 ธ.ค.2553)มีผู้บริจาคเป็น Bequest Society ทั้งหมดทั่ว โลก จ�ำนวน 7,444 ราย แต่ประเทศไทยเรามีผู้บริจาคเพียง 3 ราย เท่านั้น คือจากภาค 3330,3350 และ 3360 ภาคละ 1 ราย ซึง่ อาจเนือ่ งเพราะ การบริจาครูปแบบนีย้ งั เป็นของ ใหม่หรืออาจจะเป็นเพราะความเชื่อของคนไทยเราที่อาจจะดูเหมือนว่าเป็นการแช่งตัวเอง ให้ตายเร็วขึ้น ซึ่งไม่น่าจะถูกต้อง การท�ำประโยชน์ให้แก่มวลมนุษยชาติ โดยการบริจาคผ่านมูลนิธิโรตารีนั้นไม่ จ�ำเพาะขณะที่เรามีชีวิตอยู่เท่านั้น แม้เมื่อเราละจากโลกนี้ไปแล้วเราก็ยังสามารถท�ำ ประโยชน์ได้อีก ดังเช่นกรณีที่ผมได้ยกตัวอย่างมาข้างต้นแล้ว


พิมพ์ประไพ พรรณาภพ สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ ประธานคณะกรรมการ จัดอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA ภาค 3360

“RYLA (Rotary Youth Leadership Award)” ปัจจุบันนี้ RYLA เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย พอสมควรโดยเฉพาะในหมู่ของนักเรียน นักศึกษา ใน สถาบันการศึกษาต่าง ๆ จะเห็นได้ว่าทุกวันนี้มีการ จัดการเรียนการสอน การฝึกอบรม การติววิชาความ รู้ ทักษะต่าง ๆ ทัง้ ทางวิชาการทัง้ ทางการเพิม่ ความรู้ ความ สามารถในทักษะต่าง ๆ เพื่อการพัฒ นาเด็ ก และ เยาวชนให้มีความรู้ความสามารถมากมาย ผู้ปกครอง มีทางเลือก ให้บุตรหลานของตนที่จะได้โอกาสในการ พัฒนาตนเองในสิ่งที่สนใจ หรือสิ่งที่ชอบ เพื่อจะได้ เก็บเกี่ยวความรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ ทั้งนี้เป็นการ สร้างภูมิคุมกันให้กับบุตรหลาน เพื่อก้าวไปสู่การ เป็นเยาวชนที่เก่ง ดี มีสุข ได้ต่อไปในภายภาคหน้า ซึ่งโครงการอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA ก็เป็นอีกหนึ่ง ทางเลือก ที่เยาวชนจะได้เรียนรู้ในการเป็นผู้น�ำและ อื่น ๆ อีกที่เป็นประโยชน์เพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ให้ เป็นประโยชน์ต่อ การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันได้เป็น อย่างดี ฉนั้นดิฉันจึงอยากจะถือเอาเวทีนี้เป็นการ ประชาสัมพันธ์ให้กับ มิตรโรแทเรียนที่มีบุตรหลาน ในวัยเรียนได้คอยติดตามข่าวสาร ในการสมัครเข้ารับ การอบรมผูน้ ำ� เยาวชน RYLA ในครัง้ ต่อไปและช่วยกัน บอกต่อด้วยนะคะ จากประสบการณ์ในนามของคณะกรรมการ จัดการอบรมดังกล่าวนี้ ก็อยากจะเล่าถึงผลงานแห่ง ความส�ำ เร็จ ในการจัดอบรมที่เป็นที่ ชื่น ชอบและ ประทับใจของเยาวชนผู้ผ่านการอบรม ได้สะท้อน ความรู้สึกให้พวกเราได้รับฟัง มีปัจจัยต่าง ๆ มาก หมายทีเดียวที่คณะผู้จัดต้องให้ความส�ำคัญในทุก ๆ เรื่องไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ทั้งการวางแผนล่วงหน้าก่อน การอบรม และระหว่างการอบรมมีความตืน่ เต้นให้เรา

ได้ตนื่ ตัวคอยรับกับสถานการณ์อยูต่ ลอดเวลา แต่การ วางแผนล่วงหน้า การศึกษาข้อมูลจากประธานจัดงาน รุ่นพี่ ที่ผ่าน ๆ มาเป็นประโยชน์มากทีเดียว หัวใจของการจัดการอบรมที่น�ำมาสู่ความ ส�ำเร็จอีกประการหนึ่งก็คือวิทยากรมืออาชีพ ที่มาก ด้วยเทคนิควิธี รู้และเข้าใจธรรมชาติของผู้เข้าอบรม ว่ า น่ า จะให้ เขาได้ เรี ย นรู ้ อ ะไร ไปในกระบวนการ ตามโปรแกรมต่าง ๆ โดยไม่รู้ตัว เป็นไปด้วยความ สนุกสนานบ้าง สร้างบรรยากาศได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์นั้น ๆ ระยะเวลา สถานที่ อาหาร เพศ วัย ของผู้เข้าอบรม ล้วนเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญทั้งสิ้น ในส่วนของผูเ้ ข้าอบรมเราจะมีกลุม่ นักเรียน แลกเปลี่ยน YE (Youth Exchange) ที่มาจากต่าง ประเทศ เป็นโอกาสอันดีทเี ดียวทีผ่ เู้ ข้าอบรมจะได้แลก เปลีย่ น เรียนรูภ้ าษาและวัฒนธรรมของกันและกัน เรา ต้องมีที่ปรึกษา ที่สามารถสื่อสารกับเขาให้เข้าใจกฏ กติกา มารยาทของค่ายตั้งแต่เริ่มแรก แล้วคอยเป็น ที่ปรึกษาให้เขาอยู่ห่าง ๆ ไม่ต้องเข้าไปยุ่งกับเขาเสีย ทุกเรื่อง กระจายให้เขาไปอยู่กับเพื่อนผู้เข้าอบรมทุก กลุ่ม ให้เวลาเขาได้เรียนรู้จากเพื่อนในกลุ่มและเวลา ในช่วงแรก ๆ ไม่ต้องดูแลและให้ความพิเศษกับเด็ก YE เกินเด็กอื่น ๆ ให้ถือว่าผู้เข้าอบรมมีความส�ำคัญ เช่นเดียวกันหมด แต่ทั้งนี้ก็ต้องมีความยืดหยุ่นตาม สถานการณ์ได้ กฏบางข้อก็อาจยกเว้นได้ ในมุ ม มองของดิ ฉั น เห็ น ว่ า โครงการ อบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA ซึ่งเป็นอีกหนึ่งโครงการ ที่โรตารี สากลให้ความส�ำคัญกับเยาวชนคนรุ่นใหม่ (New Generation) เพื่อสร้างอนาคตของโรตารีตาม นโยบายในศวรรษที่สอง

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

“ธันวาคม”

ธันวาคม เป็นเดือนสุดท้ายของปฏิทิน สากล ท�ำให้ผมรู้สึกว่า วีซ่าที่อนุญาตให้ผมมาเกิด ในโลกมนุษย์ใกล้จะหมดลงไปทุกทีแล้ว เมื่อวีซ่า หมดอายุลง ผมคงต้องกลับไปอยู่ที่เดิมที่ผมจาก มา เพื่อนเก่าๆคงจะพากันถามผมว่า “โลกที่ไปอยู่มาเกือบ 100 ปี เป็นอย่างไร” ผมตั้งใจว่า ผมจะเล่าให้เขาฟังถึงโลกใบ นี้ พร้อมกับความเป็นไปที่ได้ไปเห็น “โลกที่ได้ไปเที่ยวหรือไปเยี่ยม เป็นดาวเคราะห์ ดวงหนึง่ ของสุรยิ ะจักรวาล อยูห่ า่ งจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร มีอุณหภูมิและสิ่ง แวดล้อมพอดีที่ชีวิตจะอาศัยอยู่ได้ โลกมีลักษณะ กลมคล้ายผลส้ม มีส่วนโป่งเหมือนจุกส้มอยู่ทาง ด้านเหนือ ตรงส่วนกลางพองออกเล็กน้อย เรียก ว่าบริเวณอีเควเตอร์ มีความยาวประมาณ 4 หมื่น กิโลเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ตรงอีเควเตอร์ ยาวประมาณ 12.8 พันกิโลเมตร, มีพื้นผิวทั้งสิ้น 150 ล้านตารางกิโลเมตร สามารถจุคนได้ประมาณ 5 หมื่นล้านคน โลกมีอายุมาแล้วถึง 4.7 พันล้าน ปีโดยประมาณ” “เพื่อง่ายต่อการศึกษาอ้างอิง หรือพูด ถึง เขาแบ่งโลกออกเป็นชั้นๆ ชั้นนอกสุดหนา ประมาณ 1,100 กิโลเมตร เป็นก๊าซชนิดต่างๆ ที่ ห้อมล้อมโลกอยู่ เรียกกว่าชั้น แอ็ทโมสเฟียร์ ก๊าซ ทีห่ อ้ มล้อมโลกนีจ้ ะหนาแน่น อยูใ่ กล้กบั ผิวโลกสูง ขึน้ ไปประมาณ 100 กิโลเมตร ,ผิวโลกเป็นแผ่นหิน นูนบ้างเว้าบ้าง ส่วนทีเ่ ว้าจะมีนำ�้ ขังเป็นบ่อน�ำ้ แม่นำ�้ และทะเลกว้างใหญ่ไพศาลเป็นอาณาบริเวณถึง 70 เปอร์เซนต์ ของผิวโลก บนผิวทีไ่ ม่มนี �้ำ จะเป็นภูเขา หรือทีร่ าบ มีอนิ ทรียส์ ารและหินทีผ่ พุ งั ผสมปะปน กันอยู่เป็นดิน ใช้เป็นที่ๆมนุษย์เพาะปลูกพืชพันธุ์ ธัญญาหาร และสร้างบ้านเรือนอยูอ่ าศัย เรียกโลก

ชั้นนี้ว่า ฮัยโดรสเฟียร์ ทะเลบางส่วนของโลกชั้นนี้ ลึกมาก ค�ำนวณกันว่าน�ำ้ บนผิวโลกมีอยู่ถึง 1.35 ล้านล้านล้านตัน ลึกลงไปอีกจนถึงใจกลางโลกเป็น หินทั้งสิ้น จึงเรียกว่า ชั้นหิน หรือ สิทโธสเฟียร์ๆ เกิดจากการรวมตัวของธาตุต่างๆ เป็นแผ่นๆใหญ่ บ้างเล็กบ้าง ชนกันบ้าง ซ้อนกันบ้าง และเคลื่อน ตัวได้ เป็นเหตุให้เกิดแผ่นดินไหว หินจะละลายตัว เป็นของเหลวจากความร้อนภายในพิภพ มีความ ดัน ทะลุเนินหินขึ้นมาเป็นลาวา ภูเขาไฟ ฯลฯ” “ผมได้เห็นความเปลี่ยนแปลงของโลก ต่างๆนาๆ เช่นท�ำให้อุณหภูมิปกติเปลี่ยนแปลง เป็นหนาวจัดร้อนจัด แผ่นดินไหวรุนแรงจนท�ำให้ บ้านเรือนทลาย หรือท�ำให้เกิดคลื่นลมในทะเล พัดกวาดชายฝั่ง เกิดพายุลมแรง ฝนตกหนัก น�ำ้ ท่วมกรากจนแผ่นดินพัง ภูเขาไฟพ่นลาวา เกิด กลุ่มควันขนาดใหญ่แผ่ข้ามประเทศ ฯลฯ เป็นภัย พิบัติธรรมชาติของมนุษย์ที่น่าเกรงกลัว นอกจาก ภั ย ธรรมชาติ ที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลง ทาง กายภาพของโลกเองแล้ว ยังมีภัยที่เกิดจากน�้ำมือ มนุษย์ เช่น ภัยจากการทดลองระเบิดปรมาณู ภัย จากการท�ำให้สิ่งแวดล้อมบนโลกเป็นพิษ ภัยจาก การท�ำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เหล่านี้เป็นต้น” “ผมภูมิใจที่ได้มาเกิดบนโลกมนุษย์ ได้ ช่วยให้ผู้ที่ด้อยโอกาสกว่า พ้นจากความอดอยาก หิวโหย พ้นจากความเจ็บป่วยพิการทีท่ รมาน และ ช่วยให้ความขัดแย้ง ตลอดจนความไม่ทดั เทียมกัน ในสังคมลดน้อย เบาบางลง ความเข้าใจกันและ กันช่วยให้เกิดสันติภาพ และสันติสุขขึ้นได้อย่าง แน่นอน”


ร่วมส่งภาพกิจกรรม มาได้ที่ อน.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์ E-mail : nyosawat.gmail.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล E-mail : santi@rotary3360.org สโมสรโรตารี น ่ า น ภาค 3360 RI ร่วมกับสโมสรโรตารีกรุงเทพสุริวงศ์ ภาค 3350 RI จัดมอบรถจักรยานจ�ำนวน 300 คัน ใน “โครงการจักรยานยืมเรียนจากโรตารี” โดยได้รบั บริจาครถจักรยาน จากสโมสรโรตารี HIGASHI CHITA 2760 RI ประเทศญี่ปุ่น ให้ แก่เด็กนักเรียนด้อยโอกาสในจังหวัดน่านใช้ เป็นพาหนะเดินทางไปกลับโรงเรียน ในวันที่ 6 ธันวาคม 2553 ณ ส�ำนักงานเทศบาลเมือง น่าน สโมสรโรตารีน่านร่วมกับสโมสร โรตารีกรุงเทพใต้ มอบหนังสือเข้าห้องสมุด โรงเรียนประถม (Library Kits) และผ้าห่ม กันหนาว แก่นักเรียนเด็กเล็ก ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 และ ใต้ ม อบหนั ง สื อ เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพในการเรียนรู้โครงการ English For Fun and Rotary shares ให้แก่โรงเรียน มัธยมศึกษา 12 โรงเรียน ในวันพฤหัสบดี ที่ 18 พฤศจิกายน 2553

สโมสรโรตารีน่าน และ สโมสรโรตารี กรุงเทพสุริวงศ์ ภาค 3350 R.I.

สโมสรโรตารีน่าน และ สโมสรโรตารีกรุงเทพใต้ สโมสรโรตารีแพร่ จัดเลี้ยง อาหารกลางวัน และ มอบเงิน โครงการ อาหารกลางวันให้กับ โรงเรียนสอนคนตาบอด บ้านจินตนา อ.เด่นชัย จ.แพร่ เป็นประจ�ำทุก เดือน แจกไอศครีมเนื่องในงาน วันเด็กแห่งชาติ

สโมสรโรตารีแพร่ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ มอบอลูมิเนียมผลิต ขาเทียม ที่มูลนิธิขา เทียม

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ พิธีต้อนรับสมาชิก ใหม่ และตั ด เค้ ก ฉลองครบรอบ ๑๐๖ ปีของโรตารี เ มื่ อ วั น ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


หยอดวัคซีนโปลิโอ ครั้งที่ 2 วันที่ 19 มกราคม 2554

เดินในสวนสัตว์เชียงใหม่ เพื่อผู้ป่วยจิตเวช ครั้งที่ 9 สโมสรโรตารีเชียงใหม่ภูพิงค์ และ สโมสรโรตารีใน จ.เชียงใหม่ ผชภ.นิพนธ์ ลักษณ์ธนากุล ประธาน จัดกิจกรรมปล่อยปลา ของโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-2554 เพื่อ ถวายพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันเฉลิมพระชน พรรษา 84 รอบ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2553 โดยความร่วมมือของหลายหน่วย งาน ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย

กิจกรรมปล่อยปลาของ โรตารีภาค 3360 โรตารีสากล


สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


06 พบกันที่นครลำ�ปาง

การประชุมใหญ่ภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-54 วันเสาร์ที่ 19 - วันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม 2554 ณ โรงแรมลำ�ปางเวียงทอง จังหวัดลำ�ปาง

www.rotary3360.org



สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงสมิท - ธันวาคม 2010

RI.President Ray Klinginsmith Year 2010-11

วิถีคาวบอย Cowboy logic ผมเลือกใช้เพลง “วิถีคาวบอย” เป็นเพลงประจ�ำตัวผม ด้วยเหตุผล 2 ประการ ประการ แรก คือเสียงดนตรี ทีส่ นุกสนาน สะท้อนถึงความอบอุน่ และบรรยากาศทีด่ ี ของการประชุมสโมสร โรตารีรอบโลก ประการทีส่ อง คือ เนือ้ ร้อง ซึง่ แสดงถึงการใช้สามัญส�ำนึกในการลงมือท�ำอย่างเรียบ ง่าย เมื่อ 50 ปีก่อนนั้น ผมได้ยินค�ำนี้บ่อยๆ ว่า “ให้เป็นโรตารีที่เรียบง่าย” แต่ค�ำเตือนนี้ได้ เลือนหายไปในปีต่อๆ มา ผมจึงต้องขอย�้ำเตือนความจ�ำของมิตรโรแทเรียนว่า รูปแบบพื้นฐาน การให้บริการของ โรตารีนั้น คือ ความเรียบง่าย สมาชิกสโมสรซึ่งเป็นผู้น�ำชุมชน ต่างเรียนรู้ที่จะ รู้จักนับถือกันด้วยการมาเข้าประชุมประจ�ำสัปดาห์ ซึ่งก่อให้เกิดไมตรีจิตมิตรภาพและสร้างเครือ ข่ายของกันและกัน เมื่อได้ทราบความต้องการของชุมชนแล้ว สมาชิกสโมสรจะเห็นได้ว่า พวก เขาสามารถตอบสนองความต้องการนั้นได้อย่างน่าพิศวง เพราะว่ามีผู้น�ำธุรกิจ/ผู้น�ำด้านอาชีพใน ชุมชนเป็นสมาชิกอยูใ่ นสโมสร และทราบดีวา่ จะท�ำงานนัน้ ให้สำ� เร็จได้อย่างใด วิธกี ารลงมือกระท�ำ อย่างเรียบง่ายดังกล่าวนัน้ ใช้ได้สำ� หรับ บริการสโมสร บริการด้านอาชีพและในโครงการบริการคน รุ่นใหม่ ด้วย สโมสรโรตารีย่อมมีความสามารถพิเศษที่จะประเมินผล/จัดล�ำดับความส�ำคัญ ของ ความต้องการในชุมชนและสโมสรยังมีผู้เชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากรที่ตอบสนองความต้องการ หากได้แจ้งให้สมาชิกทราบและด�ำเนินการ และการสือ่ สารภายในสโมสร ต้องมีความเรียบง่ายและ ใช้บอ่ ยๆ ส�ำหรับบริการระหว่างประเทศนัน้ ความเรียบง่ายของโรตารีนนั้ เห็นได้ชดั เจนทีส่ ดุ โรแท เรียนจะได้รู้ว่า เพื่อนสมาชิกสโมสรของตนนั้น เป็นผู้ที่ไว้วางใจได้และเมื่อเขาได้พบกับมิตรโรแท เรียนจากประเทศอื่นๆ แล้ว เขาจะตระหนักได้ว่า ทั้งสองฝ่าย ก็ควรเป็นผู้ที่ไว้วางใจได้เหมือนกัน และด้วยการไว้วางใจกันนัน้ มิตรโรตารีทมี่ าจากแดนไกลย่อมจะมาผูกมิตรกันได้อย่างง่ายดาย และ ผลจากความร่วมมือกันระหว่างสโมสรในโครงการบริการระหว่างประเทศนัน้ เป็นสิง่ น่าพิศวงอย่าง แท้จริง เพลง “วิถีคาวบอย” จะบอกได้ว่า พวกคาวบอยใช้วิธีคิดที่เรียบง่าย ส�ำหรับแก้ปัญหาทุก อย่าง และ โรตารีกใ็ ช้วธิ อี ย่างนัน้ ได้ เราเรียกมันว่า “จิตวิญญาณโรตารี” และมีเครือ่ งหมายรับรอง คุณภาพ คือ มิตรภาพ และการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ซึ่งหากเรามาร่วมมือกันแล้วก็สามารถท�ำให้โลก เราน่าอยู่ยิ่งขึ้น ด้วยการท�ำให้สโมสรของเรานั้น ใหญ่ยิ่งขึ้น ดียิ่งขึ้นและกล้าท�ำมากขึ้น ดังนั้น ขอ ให้เราลงมือท�ำเถิด และนั่นก็คือ วิธีคิดแบบวิถีคาวบอย นั่นเอง เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)


ผู้นำ�โรตารีกับวิกฤตสมาชิก ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี

แนวคิดผูน้ ำ� โรตารีระดับสูงกับความสัมพันธ์เรือ่ งสมาชิกภาพ สามารถเพิ่มสมาชิก ท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ บริจาคให้มูลนิธิ RIVP.Tom Thorfinnson ท่านเป็นรองประธาน โรตารี สากล ปีปัจจุบัน มีโรแทเรียนหลายท่านคงไม่เคยได้ยินชื่อนี้ ส�ำหรับ ผู้ที่ไปร่วมประชุมโรตารีระหว่างโซน (BKK Rotary Institute meeting) ระหว่างวันที่ 19-21 พฤศจิกายน ที่ผ่านมาย่อมรู้จักท่าน อย่างแน่นอน หัวข้อที่ท่านบรรยายคือแนวทางทันสมัยที่สุด เป็น แนวทางล่าสุดของโรตารีสากล ในการแก้ไขและปรับปรุงโรตารีของ เรา “Strategic Plan of RI” แผนยุทธศาสตร์ใหม่ที่คณะกรรมการ บริหารโรตารีสากล มีมติน�ำมาใช้ทั่วโลกเมื่อต้นปี 2553 เนื้อหาของ แผนยุทธศาสตร์ ผมมีโอกาสน�ำเสนอให้โรแทเรียนในสโมสรต่างๆได้ รับทราบบ้างแล้ว ระหว่างการเยีย่ มสโมสรอย่างเป็นทางการของผม (สิงหาคม-พฤศจิกายน) ในสุนทรพจน์ ด้วยการผสมผสานกับเนือ้ หา อื่นๆ ที่เป็นประโยชน์กับโรแทเรียนและสโมสรนั้นๆ โดยตรงเพื่อ พัฒนาสโมสรให้เข้มแข็ง โอกาสต่อไปผมจะพยายามน�ำเสนอใหม่ เพื่อให้เห็นภาพว่าสามารถช่วยแก้ไขวิกฤตของสโมสรได้อย่างไร ผมมีโอกาสได้ใกล้ชิดท่าน Tom ระหว่างที่ท่านมาเป็น แขกส่วนตัวของภาค 3360 หลังการประชุม BKK Rotary Institute (22-24 พ.ย.) ผมและทีมงานได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อย่างกันเองด้านโรตารี ระหว่างเดินทางไปเยีย่ มโครงการในภาคหรือ เยี่ยมชมสถานที่ที่น่าสนใจ โดยเฉพาะแนวคิดของผู้น�ำองค์กรระดับ สูงของโรตารี วิธที ำ� งานของคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล ทราบ ว่าวิกฤตสมาชิกภาพ เป็นเรื่องที่โรตารีสากลพยายามหาแนวทาง แก้ไขมาตลอด 10 ปีที่ผ่านมา การด�ำเนินงานอย่างมีระบบ การส่ง ต่อหน้าที่ของผู้น�ำโรตารีระดับสูง ปีต่อปีอย่างต่อเนื่อง สรุปสุดท้าย เราก�ำลังแก้ไม่ตรงประเด็น ทุกอย่างอยูท่ สี่ มาชิกของโรตารีสากล คือ สโมสรโรตารี และสมาชิกของสโมสรโรตารี คือ โรแทเรียน เป็นปัจจัย ที่ส�ำคัญที่สุด หากแก้ไขโจทย์ข้อนี้ “โรแทเรียน” ได้สำ� เร็จ นั่นคือ เราต้องการโรแทเรียนที่มีศักยภาพ มีใจเป็นผู้ให้ด้วย “บริการเหนือ ตนเอง” ไม่หวังเกียรติยศชื่อเสียง ไม่หลังผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น เดียวกับต้นแบบโรแทเรียนที่ดี (ผู้ให้ก�ำเนิดโรตารี 4 ท่าน) เราก็จะ สามารถแก้ปญ ั หาได้อย่างถาวร ท�ำอย่างไรให้โรแทเรียนทุกท่าน เป็น โรแทเรียนที่ดี(มีคุณสมบัติในค่านิยมหลัก = Core Value ของโรแท เรียน) อย่างแท้จริง นี่เป็นสิ่งท้าทายในทางปฏิบัติ แนวทางการแก้วกิ ฤตสมาชิกโดยโรแทเรียน (ตัวท่านเอง) ย้อนกลับมาดูโครงสร้างสโมสรโรตารีที่มีประสิทธิภาพ 4 อย่างคือ

โรตารี และส่งเสริมให้สมาชิกได้ทำ� งานในระดับที่สูงขึ้นกว่าสโมสร หากสโมสรได้ด�ำเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่อง โดยเฉพาะสร้างผู้น�ำ ของสโมสรให้รับผิดชอบระดับสูงขึ้นต่อเนื่อง ทั้งคนเก่าและเพิ่ม คนใหม่ สโมสรย่อมเข้มแข็ง เป็นที่สนใจของผู้มุ่งหวังที่มีอุดมการณ์ เดียวกันเข้ามาเป็นสมาชิก ผลรวมของโรตารียอ่ มดีขนึ้ ทุกปัญหาแก้ ได้อย่างถาวร อดีตผู้น�ำของสโมสร (อยากเรียกว่า Post Officer = PO) จึงเป็นบุคลากรหลักในการแก้ปัญหาวิกฤต ท่าน Tom พูดถึง PO ที่ โลดแล่นออกไปท�ำงานให้โรตารีสากลในระดับสูง ไม่ว่าจะเป็น DG, PDG, RC, RID, PRID, PRIP, Trustee หรือต�ำแหน่งอื่นใด เช่นตัว ท่าน Tom เอง สุดท้าย Home club ของตนเองส�ำคัญที่สุด น�ำ ประสบการณ์กลับมาช่วยสโมสร ช่วยแนะน�ำ ประสานเครือข่ายมิตรต่างสโมสร/ต่างประเทศ เชือ่ มต่อให้สโมสรพัฒนาต่อเนือ่ ง ท่าน Tom บอกว่าไม่ควรอยูเ่ ฉยๆ หรือวางตัวเป็นเจ้าของสโมสร ควบคุม นายกสโมสร/กรรมการสโมสร จนทุกคนเป็นง่อยไม่กล้าคิด ไม่กล้า ท�ำอะไรเลย นอกจากตัวเองไม่พฒ ั นาแล้ว ยังมีผลเสียกับสโมสรท�ำให้ เข้มแข็งลดลงๆ ถึงเวลาแล้วที่ขอเชิญชวน PO ทุกระดับ (ในสโมสร และภาค) ย้อนกลับมาดูแลสโมสรของท่าน เหมือนผู้ใหญ่ที่ดีๆของ โรตารี ตัวอย่างเช่น ฯพณฯพิชัย รัตตกุล, อผภ.ดร.ศุภวัตร ภูวกุล เป็นต้น ท�ำตัวให้ติดดิน(กลับสู่สามัญ) อย่าได้เป็นไปตามค�ำกล่าว ของผูห้ วังดี(ต่างชาติ) ทีก่ ล่าวเป็นตัวอย่างใน BKK Rotary Institute meeting ว่า “PDG” มาจาก “Post Death and Gone” (ต้อง ขออภัย หากค�ำกล่าวที่น�ำมาเขียนในบทความนี้ ไปกระทบใครบาง คนโดยไม่ได้ตั้งใจ เป็นความปรารถนาดีอย่างบริสุทธิ์ใจของผู้เขียน ที่ต้องการน�ำเสนอให้โรแทเรียนทุกท่านได้พิจารณา) ค่านิยมหลัก หรือ Core Value 5 ประการของโรแทเรียน (ที่ควรมีอยู่ในสายเลือดโรแทเรียนทุกท่าน) คือ... 1. โรแทเรียนต้องมีมิตรภาพกับทุกๆท่าน (Fellowship) 2. โรแทเรียนต้องท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ (Service mind) 3. โรแทเรียนต้องมีความหลากหลายในวิชาชีพ (Diversity) 4. โรแทเรียนต้องมีคุณธรรม (Integrity) มี 4 way test 5. โรแทเรียนต้องมีภาวะผู้น�ำ (Leadership) อยู่ในสายเลือด ภาค 3360 จะมีโอกาสพัฒนาหรือไม่ อยู่ที่โรแทเรียนทุก ท่านของทุกสโมสร (อ่านต่อฉบับหน้า)

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓

ท่ามกลาง ภัยธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ โลกใบนี้อย่างต่อเนื่อง ถ้าทุกคน ขอย�้ำว่าทุกคน ไม่ช่วยกัน ท�ำนุบ�ำรุง ดูแลรักษาโลกสีฟ้าใบนี้ เราจะอยู่อย่างมีความสุขกันได้อย่างไร ท่ามกลาง ความไม่เท่าเทียมและความเหลื่อมล�้ำของผู้คน บนโลกใบนี้ ถ้าผู้คนไม่มีเมตตา แบ่งปันซึ่งกันและกัน โลกที่โกลาหล ของผู้คนที่ขาดแคลน ทุกข์ยาก ก�ำลังรอเราอยู่

น่าดีใจ ที่กระแสนิยม หรือ เทรนด์ (TREND) ของเหล่าผู้มีชื่อเสียงในด้านต่างๆ บนโลก ใบนี้ ต่างก็มุ่งบ�ำเพ็ญประโยชน์ หรือร่วมแบ่งปันให้กับผู้อื่น ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เหล่าโรแทเรียน ที่เป็นผู้ประสพผลส�ำเร็จในหน้าที่การงาน และวิชาชีพ ได้ร่วมกัน “บริการผู้อื่นเหนือตน” อย่างต่อเนื่องมากว่าหนึ่งร้อยปี สารฯขอร่วม ถ่ายทอด แบ่งปัน เรื่องราวเพียงส่วนน้อยกับมวลมิตร แน่นอน สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นเพียง กระแสนิยม แต่เป็นจิตวิญญาณ ของพวกเราทุกคน จิตวิญญาณแห่งการอาสา บอกอ ผู้ขอร่วม จิตอาสา ตวยคนเน้อ ก�ำหนดการประชุมใหญ่ภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-54 วันเสาร์ที่ 19-วันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม 2554 ณ โรงแรมล�ำปางเวียงทอง จังหวัดล�ำปาง

วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม 2554 08.00-12.00 ลงทะเบียน Pre-PETS (รับเอกสารหน้าห้องเวียงเงิน ชั้น 11) 09.00-12.00 การอบรมนายกรับเลือกภาค 3360 (Pre-PETS) โดย ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง ห้องเวียงเงิน ชั้น 11 09.45-10.00 พิธีเปิด House of Friendship โดย ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารา รัศมี ห้องดริ้งพาเลซ ชั้น 1 10.00-12.00 ประชุมสภาอดีตผู้ว่าการภาค ห้องเวียงค�ำชั้นลอย 11.00-12.00 ประชุมคณะกรรมการจัดงาน และ SAA ห้องเวียงแก้ว 5 ชั้น 2 08.00-18.00 ลงทะเบียนการประชุมใหญ่ (รับเอกสาร) หน้าห้องเวียงแก้ว ชั้น 2 13.00-17.00 พิธีเปิด การประชุมครบองค์ ครั้งที่ 1 (สูท,เครื่องแบบสโมสร) 13.00-13.25 ผู้ว่าการภาคเคาะฆ้องเปิดประชุม 13.25-13.50 ผู้ว่าการภาค กล่าวค�ำปราศรัย (ยกย่องสมาชิกใหม่และครอบครัว ที่เข้าร่วมประชุมครั้งแรก,รายงานกิจกรรมของผู้ว่าการภาค) 13.50-13.55 อผภ.ดร.ศุภวัตร ภูวกุล กล่าวแนะน�ำผู้แทนประธานโรตารีสากล PDG. Chetan Aggarwal และเชิญกล่าวค�ำปราศรัย 13.55-14.20 ผู้แทนประธานโรตารีสากล กล่าวสุนทรพจน์ครั้งที่ 1 14.20-14.50 อดีตประธานโรตารีสากล ฯพณฯพิชัย รัตตกุล กล่าวสุนทรพจน์ 14.50-15.15 พักดื่ม น�้ำชา-กาแฟ 15.15-15.40 รายงานความส�ำเร็จด้านสมาชิกภาพ (เพิ่ม, ลด, การขยายสโมสร) 15.40-16.10 รายงานความส�ำเร็จด้านโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ (โครงการดี เด่น, โครงการ Global grant) 16.10-16.40 รายงานการด�ำเนินงานของคณะกรรมการเยาวชนแลกเปลี่ยน (inbound , outbound, งบประมาณ) 17.00-18.00 รทร.และแอนน์ที่ลงทะเบียนไปนั่งรถม้าชมเมืองล�ำปาง หรือวาด เซรามิคด้วยตนเอง 18.30-19.15 มิตรภาพสังสรรค์ ราตรีแห่งความส�ำเร็จและภาคภูมใิ จ (ชุดพืน้ เมือง หรือไทยล้านนา ) (โต๊ะจีน) ห้องเวียงแก้วชั้น 2 19.15-20.00 รับประทานอาหารและชมการแสดงบนเวที 20.00 น.ผู้ว่าการภาคกล่าวเปิดงาน 20.15 น. ผู้แทนประธานโรตารีสากล กล่าวสุนทรพจน์ครั้งที่ 2 21.00 น. การมอบรางวัลแห่งความส�ำเร็จ ดนตรี และบันเทิงจนปิดงาน

วันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2554 08.30-12.00 ลงทะเบียนการประชุมใหญ่และรับเอกสาร (เพิ่มเติม) 09.00-16.00 เปิดประชุมครบองค์ ครั้งที่ 2 ห้องเวียงแก้ว ชั้น 2 09.00-09.20 เพลงโรตารี โดย อผภ.ดร.ศุภวัตร ภูวกุล และ อน.พญ.วรรณ จันทร์ พิมพ์พิไล 09.20-09.50 “วิสัยทัศน์และเป้าหมายในปีบริหาร 2554-2555 ของผู้ว่าการ ภาค” โดย ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรือง 09.50-10.25 รายงานความส�ำเร็จของมูลนิธิโรตารีภาค 3360 (ยอดบริจาค, การน�ำเงินไปใช้, โครงการที่น่าสนใจ) 10.25-10.45 พัก ดื่มน�้ำชา-กาแฟ 10.45-11.00 รายงานการเงินของภาคในปีบริหาร 2552-2553 โดย อผภ. แวว ดาว ลิ้มเล็งเลิศ ** 11.00-12.00 ผวภ.ประชุมร่วมกับผู้แทนสโมสร (elector ) เพื่อลงมติรับรอง ข้อเสนอส�ำคัญ (แยกไปห้องเวียงค�ำ ชั้นลอย) 11.00-11.30 รายงานความส�ำเร็จด้านการบริหารสโมสร 11.30-12.00 รายงานความส�ำเร็จด้านโครงการประชาสัมพันธ์ และโครงการที่ ได้รับทุนจากโรตารีสากล 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน ห้องเวียงพนาชั้น 1 13.00-13.30 รายงานมติและสาระส�ำคัญการประชุมผูแ้ ทนสโมสร (elector) โดย ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี 13.30-13.45 แนะน�ำผู้ว่าการภาครับเลือกปี 2556-2557 ผวภ.นพ.วีระชัย และ แอนน์ อน.ดร.บุษบง มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดี 13.45-14.15 การรณรงค์ ก ารเข้ า ประชุ ม Bangkok Thailand Rotary International Convention 2012 ที่เมืองทองธานี กรุงเทพฯ โดย อผภ.ชัย สิน มณีนันทน์ 14.15-14.35 พัก ดื่มน�้ำชา-กาแฟ 14.35-15.00 การรณรงค์การเข้าประชุม Rotary International Convention 2011 ที่ New Orleans , Luisiana U.S.A. 15.00-15.20 ผู้แทนประธานโรตารีสากล กล่าวสุนทรพจน์ ครั้งที่ 3 15.20-15.40 กล่าวสรุปผลการลงมติและผลการประชุม โดย อผภ.อนุวัตร ภูว เศรษฐ 15.40-16.00 ผูว้ า่ การภาคกล่าวขอบคุณ และมอบของทีร่ ะลึกแด่ผแู้ ทนประธาน โรตารีสากล และคู่ครอง ปิดการประชุมใหญ่ และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ 16.00 น. จับฉลากรางวัล


บก.วาณิช โทรศัพท์ มาบอกให้เขียนบทความ ในคอลัมน์ จากใจถึงใจ (คงไม่ใช่ จากใจบก.ถึงใจ ผูเ้ ขียนนะคะ) เล่าถึงงาน เฉลิมฉลองในโอกาสครบ รอบ 30 ปี ของสโมสร โรตารี แม่สาย เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม2553 ส�ำหรับดิฉนั ได้รบั โทรศัพท์จาก อน.ดร. บุษบง จ�ำเริญ ดารารัศมี ให้มาช่วยออกหน่วยแพทย์และ ทันตแพทย์เคลือ่ นที่ ร่วมกับมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอกในวันที่ 17 ธันวาคม ที่ อ�ำเภอแม่สาย หน่วยแพทย์ฯ ของมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก ออกเดินทางจากเชียงใหม่เมื่อเวลาประมาณ 6 โมงเย็นของวัน ที่ 16 ธันวาคม ด้วยรถตู้ 1 คันและรถ Fourwheels อีก 1 คัน ผวภ. นพ. วีระชัย และ อน.ดร. บุษบง ขับรถตามมาสมทบกับ คณะออกจากเชียงใหม่เมือ่ เวลาประมาณ 2 ทุม่ คณะทีเ่ ดินทาง มาค้างที่แม่สาย 1 คืน เพื่อตอนเช้าวันที่ 17 ธันวาคม จะได้ ออกไปตัง้ หน่วยแพทย์และทันตแพทย์เคลือ่ นที่ ให้บริการตรวจ สุขภาพ ตรวจฟัน และให้ความรูแ้ ก่ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานเกีย่ วกับ การดูแลสุขภาพของตัวเองทีว่ ดั ห้วยไคร้ อ�ำเภอแม่สาย ร่วมกับ คณะแพทย์จาก โรงพยาบาลแม่สาย การออกหน่วยแพทย์ฯ ครั้งนี้เป็นกิจกรรมหนึ่งในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 30 ปี ของ สโมสรโรตารีแม่สาย กิจกรรมที่ 2 ในวันที่ 18 ธันวาคม คือ การท�ำบุญ ตักบาตรแก่พระภิกษุสงฆ์จำ� นวน 99 รูป ในตอนเช้าทีห่ น้าสถานี ต�ำรวจอ�ำเภอแม่สาย ร่วมกับสโมสรโรตารีจางฮัว้ เซ็นทรัล จาก ประเทศไต้หวัน ซึ่งเป็นสโมสรคู่มิตรของสโมสรโรตารีแม่สาย เช่นเดียวกับ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม กิจกรรมที่ 3 คือ การน�ำผ้าห่ม เสือ้ กันหนาว อุปกรณ์ กีฬา ฯลฯ ไปแจกแก่ชาวบ้านทีห่ มูบ่ า้ นสันเกล็ดทอง ต.บ้านโป่ง ร่วมกับ Interactor จากโรงเรียนแม่สายประสิทธิศาสตร์ และ โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม น�ำโดยนายกสโมสรโรตารีสโุ ขทัย ผวภ. นพ. วีระชัย สโมสรคู่มิตรจางฮั้วเซ็นทรัล และสโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ส่งผู้แทนไปร่วมด้วย 2 ท่าน คือ อน.ดร.

บุษบง และ อน.ทพ.ญ. เรวดี กิจกรรมสุดท้าย คือ การจัดงาน Cowboy Night และงานต่อสัญญาคู่มิตรปีที่ 8 กับสโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่น ไทยงาม มีผมู้ าร่วมงานจากหลายวงการ อาทิเช่น ชมรมรักเสียง เพลง ชมรมลีลาศ และสโมสร ไลออนส์ แม่สาย เป็นต้น มีผู้มา ร่วมงาน ประมาณ 300 ท่าน งานจัดที่โรงแรมแม่โขงเดลต้า มี การแสดงจากชมรมต่างๆ ทีข่ าดไม่ได้คอื การแสดงลีลาประกอบ เพลง ชุดต�ำน�้ำพริกจากสโมสร คู่มิตร(รักนักเพลง) เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม การแสดงชุดนี้ อผภ. แววดาว ลงทุนควบคุมการ ฝึกซ้อมและน�ำแสดงด้วยตัวเอง (ถ้าไม่ใช่แม่สายคงไม่ลงทุน ขนาดนีห้ รอกนะ จะบอกให้) มีการประกวดผูแ้ ต่งกายชุด Cow boy และ Cow girl ได้สวยที่สุด และเซ็กซี่ที่สุด ผลการตัดสิน ผู้ชนะเลิศก็หนีไม่พ้น อผภ. แววดาว และจากถิ่นไทยงาม และ เจ๊หลิง (เจ้าเดิม) จากสโมสรไลออนส์แม่สาย แต่งกายได้เซ็กซี่ สุด คือ นย. รัศมี จากถิ่นไทยงาม เจ้าตัวงง ออกไปรับรางวัล และถามว่าหนูเซ็กซี่ตรงไหนคะ สาเหตุมาจาก นย. บัณฑิต ผู้ จัดงานไม่รู้จักชื่อสาวเซ็กซี่ตัวจริง ของถิ่นไทยงาม รทร. กวิตา และ รทร. จีรนันท์ ไม่กล่าวถึงไม่ได้ คือการแสดงดนตรี Folk Song และ การเต้น Square Dance ของเหล่า Cow boy, Cow girl จาก น้อง Interactor โรงเรียนแม่สายประสิทธิศาสตร์ทที่ ำ� ให้งานคืน นั้นมีชีวิตชีวาขึ้นอีกมาก งานฉลองครบรอบ 30 ปีของสโมสร โรตารีแม่สายในปีนี้จัดได้ยิ่งใหญ่อลังการงานสร้าง และเป็นที่ กล่าวขวัญถึงไปทัง้ อ�ำเภอแม่สายไม่แพ้งานอืน่ ๆ ทีส่ โมสรโรตารี แม่สายเป็นผู้จัดเช่นเคย ในการมาครัง้ นีข้ องดิฉนั เป็นการมาแม่สายทีย่ าวนาน ที่สุด คือ 4 วัน 3 คืน ตั้งแต่คืนวันที่ 16, 17 และ 18 เดินทาง กลับเชียงใหม่วนั ที่ 19 เป็นตัวแทนจากสโมสรคูม่ ติ รถิน่ ไทยงาม ร่วมกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 30 ปีของสโมสรโรตารีแม่สาย ทุกกิจกรรม โอกาสหน้าถ้าสโมสรโรตารีเชียงใหม่ถนิ่ ไทยงามจัด งานบ้าง คูม่ ติ รแม่สายคงจะส่งตัวแทนไปร่วมงานกันบ้างสักคน สองคนนะคะ จากแฟนพันธ์แท้คนเดิม อน.ทพ.ญ. เรวดี ปีตะนีละผลิน

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


สุขสันต์วันตรุษจีน ขอให้เพื่อนๆโรแทเรียนทุกท่าน มีสุขภาพแข็งแรง จิตใจ ผ่องใส สบายทั้งกาย ใจ และกระเป๋า นะคร๊าบบบบ 55555555 เสียงนก เสียงกา ฉบับ นี้เป็นหัวข้อ “การบ�ำเพ็ญประโยชน์ร่วมกับภาค และผลงานที่ได้รับ” ทราบว่าแต่ละ สโมสรได้ทำ� กิจกรรมร่วมกับภาคมากมาย แต่ดว้ ยระยะเวลาทีป่ น่ั ต้นฉบับ มีเทศกาลต่างๆ มากมาย โรแทเรียนแต่ละท่านซึง่ มีงานล้นมืออยูแ่ ล้ว จึงไม่คอ่ ยมีใครว่างทีจ่ ะส่งข้อมูลมา ให้ ท�ำให้เนื้อหาฉบับนี้มีจ�ำนวนน้อยลงครับ อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

“การบำ�เพ็ญประโยชน์ร่วมกับภาค และผลงานที่ได้รับ” รทร.เพ็ญวิภา พรหมสุวรรณ์ สโมสรโรตารีฝาง

สวัสดีค่ะมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ดิฉันรู้สึก ดีใจและตื่นเต้นมากกกกกกกกก ที่ได้รับข่าว จากท่าน อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ แจ้งมาทาง โทรศัพท์ว่า ให้ดิฉันช่วยเขียนเกี่ยวกับกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ของสโมสรโรตารีฝาง เพือ่ จะได้ ตีพมิ พ์ลงในสารผูว้ า่ การภาค ดิฉนั ได้ปรึกษากับท่านนายกสโมสรแล้ว ว่า จะเขียนเล่าให้มวลมิตรโรแทเรียนในภาคของเราว่า ในปี บริหาร 2553-2554 นี้ สโมสรโรตารีฝางของเราท�ำกิจกรรมเพื่อบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ 4 โครงการคือ 1. โครงการน�้ำดื่มสะอาดเพื่อเด็กนักเรียนในชนบท ซึ่งเป็นโครงการ Matching Grant ที่ MG NO.70629 ได้รบั การสนับสนุนจาก สโมสร โรตารีบอสแมน ซันไรส์ มลรัฐมอนทานา สหรัฐอเมริกา ภาค 5390 และภาค 3360 รวมทั้งมูลนิธิโรตารี ได้ติดตั้งเครื่องกรองน�้ำสะอาด และเครื่องกรองน�้ำเย็นให้กับโรงเรียนในชนบท 22 โรงเรียน รวมงบ ประมาณทั้งสิ้นกว่า 800,000 บาท 2. โครงการจัดกิจกรรมวันเด็กและวันขึ้นปีใหม่ ให้กับเด็กที่ได้รับผล กระทบ จากโรคเอดส์ จ�ำนวน 75 คน ณ ร้านอาหารนิวศิริชัย 2 ซึ่ง เป็นสถานทีป่ ระชุมของสโมสร เด็กๆ สนุกสนาน อิม่ อร่อย ได้รบั ของ รางวัลและเงิน ทุกคนประทับใจมาก 3. โครงการมอบทุนการศึกษา ให้กับเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก โรค เอดส์ ที่อยู่ในความดูแลของโรงพยาบาลฝาง จ�ำนวน 25 ทุนๆ ละ 2.000 บาท รวมเป็นเงิน 50.000 บาท 4. โครงการมอบรถเข็นส�ำหรับคนพิการ ซึ่งเป็นโครงการร่วมกับ สโมสรโรตารีนครเทิง โดยมอบรถเข็นจ�ำนวน 20 คัน.ให้กับผู้พิการ

ในเขตอ�ำเภอฝาง แม่อาย และไชยปราการ โครงการทั้งหมดเพื่อชุมชนที่อยู่ใน Area ของ สร.ฝาง กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นท�ำให้ได้เห็นรอยยิ้ม ความดีใจ และความตื้น ตันใจของผูร้ บั เท่านีก้ ท็ ำ� ให้อมิ่ บุญไปตลอดปีและตลอดไป แต่อย่างไร ก็ตาม สร.ฝาง ก็ยงั จะสร้างสิง่ ดี ๆ ให้กบั ชุมชนต่อไป เหมือนดัง่ กงล้อ โรตารีที่หมุนไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ขอเป็นก�ำลังใจให้กับสโมสร ที่จะท�ำโครงการค่ะ

นย.รัชดา ผ่องธัญญา สโมสรโรตารีวังจันทน์

กิจกรรม โครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของสโมสร โรตารีวังจันทน์ ปี 2553-2554 บางส่วนที่ได้ ด�ำเนินการไปแล้วและจะก�ำลังด�ำเนินการดังนี้ 1) มอบอาหาร น�้ำดื่ม ในโครงการ” Osotsapa to University 2010 ”ครัง้ ที่ 2 ตามค�ำเชิญของผู้ ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เพือ่ จัดติววิชาความรูใ้ ห้กบั นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายใน 3 เขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาของจังหวัดพิษณุโลก ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2553 2) ร่วมกับสโมสรโรตารีบางรักภาค 3350 องค์กรสิทธิมนุษยชนยุค สุดท้าย และมูลนิธิยูนิเซฟ มอบรถเข็นคนพิการ จ�ำนวน 27 คัน ให้ คนพิการในจังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2553 ณ ศาลา ประชาคมจังหวัดพิษณุโลก โดยมี ดร.ปรีชา เรืองจันทร์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดพิษณุโลก เป็นประธานในพิธี 3) สโมสรโรตารีวังจันทน์ ร่วมกับสโมสรโรตารีบางเขน ภาค 3350 และสโมสรโรตารี New Hualien ไต้หวัน มอบเงินจ�ำนวน 96,460 บาท ให้กับโรงเรียนบ้านเนินสะอาด อ.วังทอง จ.พิษณุโลก เป็น


โครงการปรับปรุงสนามเด็กเล่น และโครงการจัดท�ำมุ้งลวดห้อง ปฐมวัย เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 4) ร่วมกับสโมสรโรตารีบางเขน ภาค 3350 สโมสรคูม่ ติ ร มอบทุนการ ศึกษาให้กับนักเรียน โรงเรียนบ้านเนินสะอาด อ.วังทอง จ.พิษณุโลก พร้ อ มกั บ น� ำ โรตาแรคท์ ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้าไทย กทม. ท�ำกิจกรรม ทาสี ปรับปรุงห้องน�้ำโรงเรียน ซึ่ง ทางโรงเรียนและชาวบ้านได้จัดพิธีบายศรีสู่ขวัญให้ด้วย เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2554 5) เข้าร่วมโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ โรตารีภาค 3360 ในโครงการ มอบหนังสือพจนานุกรม อังกฤษ – ไทย จ�ำนวน 400 เล่ม และ โครงการน�้ำดื่มสะอาด มอบถังเก็บน�้ำจ�ำนวน 6 ถัง ให้แก่โรงเรียนใน จังหวัดพิษณุโลก ( จ่ายเงินแล้ว ก�ำลังรอหนังสือจากภาค ) 6) ร่วมกับ Rtn. Kathy Weinmeiater สโมสรโรตารี Thompson Valley ภาค 5440 สหรัฐอเมริกา จัดหาเสื้อผ้าและรองเท้ามอบให้ เด็กในจังหวัดพิษณุโลก ( ได้รับเงินโอน 2,000 เหรียญ US แล้ว และ ก�ำลังด�ำเนินการ ) กิจกรรมที่ได้ด�ำเนินการแล้ว ในข้อ 1 – 4 สร้างความยินดี ให้กบั ผูท้ ไี่ ด้รบั ความช่วยเหลือเป็นอย่างมาก รวมทัง้ ได้สร้างมิตรภาพ ในระหว่างสมาชิกในสโมสรและต่างสโมสรอย่างดียิ่ง และ เป็นการ เผยแพร่กิจกรรมของโรตารีให้เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปด้วย

นย.พะเยาว์ ศิริกิจภิญโญกุล สโมสรโรตารีแพร่

พิธีฉลองสารตราตั้ง สโมสรโรตารีเมืองเกาะคา จังหวัดล�ำปาง ดิฉันและสมาชิกสโมสรโรตารี แพร่ได้มีโอกาสไปร่วมงาน และร่วมแสดงความ ยินดีกับท่านนายกก่อตั้ง ชื่นจิตร ธรรมรัตน์ การ ไปร่วมงานในครั้งนี้รู้สึกประทับใจในในไมตรีจิต มิตรภาพในการต้อนรับและบรรยากาศในงานรูส้ กึ อบอุน่ มากๆ ถึงแม้ จะเป็นสโมสรใหม่ แต่สมาชิกทุกท่านมีความเข้มแข็งและมีศักยภาพ ทุกท่าน ขอชมว่าพิธกี ารต่างกระชับดีไม่ยดื เยือ้ และรวดเร็วดีจริงๆค่ะ ส�ำหรับโครงการเพิ่มสมาชิกภาพของภาค 3360 ถือว่าได้ก้าวมาอีก ขั้นหนึ่ง ต้องขอแสดงความยินดี กับท่านผู้ว่าการภาคท่าน นพ.วีระ ชัย จ�ำเริญดารารัศมี ที่โครงการเพิ่มสมาชิกในภาคของท่านประสพ ความส�ำเร็จอีกระดับหนึ่ง ที่ในภาคของเราได้สโมสรใหม่เพิ่มเข้ามา อีกหนึ่งสโมสรคือ สโมสรโรตารีเมืองเกาะคาและได้สมาชิกใหม่ที่มี ศักยภาพเข้ามาในภาคของเราถึง 30 ท่าน ส�ำหรับสโมสรโรตารีแพร่ ก็มเี ป้าหมายทีร่ กั ษาสมาชิกเก่าทีม่ อี ยูแ่ ล้ว และจะเพิม่ สมาชิกใหม่ใน ปีนอี้ ย่างน้อย 4-5 ท่านและหวังว่าอีกหลายสโมสรก็ก�ำลังทีจ่ ะหาสมา ชิกที่มีศักยภาพเพิ่มเข้ามาในสโมสรของตัวเองอยู่ ดิฉันขอเป็นก�ำลัง ใจให้ค่ะ เพื่อที่จะให้ภาคของเราฝ่าวิกฤตสมาชิกภาพไปให้ได้นะคะ

อน . ปราโมทย์ เอื้ออ�ำนวย สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ โครงการน�้ำดื่มสะอาดและสุขอนามัย Matching grant #69256 สโมสรและองค์กรคู่มิตร ที่ร่วมด�ำเนินโครงการ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือและภาค 3360 ได้ ร่วมกับสโมสรต่างประเทศอาทิ สโมสรโรตารี Twinsburg, Nordonia (Northfield), Strongville, D. 6460 RI, D.6630 RI , Engineers Without Borders (EWB), Case Western Reserve University, Rotary International (RI) องค์กรในประเทศอาทิ มูลนิธิมิตรภาพ ไร้พรมแดน ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ บริษัทเบทาโกร บริษัทซีพี โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก ชาวไทยภูเขา และกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ตามชายแดนของอ�ำเภอ ต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงรายและแม่ฮ่องสอน กิจกรรม ได้ท�ำการขุดเจาะบ่อบาดาลน�ำ้ ลึกสองบ่อ บ่อน�ำ้ ตื้นสาม บ่อ แท้งค์นำ�้ ดืม่ สะอาด เครือ่ งกรองน�ำ้ ห้องส้วม 20 ห้องและห้องอาบ น�้ำ 10 ห้อง พันธุ์ปลา 20,000 ตัว หมูขุน 60 กว่าตัว ไก่เนื้อประมาณ 250 ตัว ไก่ไข่ประมาณ 100 ตัว อาหารสัตว์ประมาณ 3,000 กิโลกรัม เมล็ดพันธุ์ผักและอื่น ๆ ประมาณ 300 กิโลกรัม ก้อนเห็ดประมาณ 3,000 ก้อน ให้กบั 5โรงเรียน และบ้านพักเด็กนักเ รียนชาวไทยภูเขา การฝึกอบรม ได้ท�ำการฝึกอบรมแบบเข้มข้นให้กับนักเรียน(เยาวชน) ตัวแทนจากโรงเรียนต่าง ๆ จ�ำนวน 56 คน ในเรื่อง เกษตรผสมผสาม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การสุขาภิบาลสัตว์ การผสมอาหารสัตว์ ที่ ภาควิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกจากนี้ทางสมาชิก โรตารีได้ท�ำการให้การศึกษาและฝึกอบรมอย่างไม่เป็นทางการขณะ ออกปฏิบัติงานในพื้นที่อาทิ ให้กับคุณครู นักเรียนช่วงชั้นต่าง ๆ ใน เรื่อง ประวัติความเป็นมาของโรตารี แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจพอ เพียง การจัดการและการวางแผนงาน การท�ำปุ๋ยชีวภาพ ภาวะโลก ร้อน ความรู้เรื่องสุขภาพและสุขอนามัย การเลี้ยงสัตว์ผสมผสานกับ การท�ำผักสวนครัว และความรู้เรื่องการจัดการดูแลรักษาระบบถัง น�้ำกรองและการจัดการน�้ำที่มีประสิทธิภาพ ให้กับนักเรียน ครู และ ผู้ปกครองอีกประมาณ 1,200 คน ผู้รับประโยชน์ เป็นเด็กนักเรียนชาติพันธุ์และชาวไทยที่เรียนอยู่ในโรงเรียนต่าง ๆ ตามชายขอบ ของจังหวัดเชียงใหม่ เชียงรายและแม่ฮอ่ งสอน จ�ำนวน 5 โรงเรียน พร้อมบ้านพักเด็กนักเรียนชาวไทยภูเขา 6 แห่ง รวมมี ผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการนี้โดยตรงประมาณ 2,500 คน และ ประโยชน์ทางอ้อมคือกลุ่มชาวบ้านและผู้ปกครองนักเรียนที่อาศัย อยู่บริเวณรอบ ๆ โรงเรียนอีกประมาณ 20,000 คน

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


อน.จารุวัตร เตชะวุฒิ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

โครงการถังน้ำ� Drinking Water Project Global Grant #25179

ก่อนอืน่ ก็คงต้องเล่าถึงความเป็นมาของโครงการก่อนนะครับ จากการ ทีท่ า่ น ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมีของพวกเราได้พบปะกับผวภ.ต่างๆใน การประชุมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น RI Convention หรือการประชุมอบรมผู้ว่าการ ภาค (GETS) การได้พดู คุยรูจ้ กั กันในระดับภาคและได้มกี ารเกริน่ เรือ่ งโครงการ ต่างๆจึงเป็นจุดเริ่มต้นของ โครงการหลายๆโครงการในปีนี้ โครงการกองทุนสนับสนุนระดับโลก (Global Grant) เป็นโครงการ ใหม่ของ มูลนิธิโรตารีที่มีวัตถุประสงค์ให้ภาคที่อยู่ใน Pilot District ของแผน Fututre Vistion Plan ในการท�ำโครงการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและ ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง ซึ่งมีขั้นตอนไม่เหมือนกับ Matching Grant ในสมัยก่อน โดยจุดส�ำคัญมีดังต่อไปนี้ • ส่งโครงร่างโครงการและใบสมัครขอท�ำโครงการผ่านทาง Member Access ของผู้รับผิดชอบท�ำโครงการสโมสร • โครงการต้องอยู่ในเป้าหมายพื้นที่ 6 เรื่องที่ก�ำหนด • ต้องเป็นโครงการที่ยั่งยืน (sustainable) • โครงการต้องมีสโมสรในภาคน�ำร่อง 2 ภาคร่วมด้วย • งบประมาณโครงการต้องไม่น้อยกว่า US$30,000 • ภาคจะต้องให้การรับรองว่าเป็นสโมสรที่มีคุณสมบัติ จะเห็นได้วา่ โครงการ Global Grant ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายสโมสร และหลายภาคซึ่งอาจจะมากกว่า 2 ภาคเพราะงบประมาณของโครงการค่อน ข้างสูง


จากการทีส่ โมสรโรตารีเชียงใหม่ได้ทำ� โครงการแทงก์นำ�้ 250 แทงก์ ในปีครบรอบ 50 ปี ของสโมสรโรตารีเชียงใหม่ ทางผู้ว่าการภาคจึงมีความคิดที่จะท�ำโครงการ ลักษณะเดียวกัน แต่เพิ่มจ�ำนวนแทงก์ขึ้นไปอีกเป็น 500 แทงก์ และให้สโมสรต่างๆ ในภาค 3360 มีส่วนร่วมทั้ง ในการบริจาคและการรับแทงก์ไปแจกจ่าย ให้กับชุมชน ในภาคเหนือ งบประมาณทั้งสิ้นมีราย ละเอียดดังต่อไปนี้

ภาค 3360 Thailand, ภาค 3500 Taiwan, ภาค 3630 Korea เงิน DDF $20,600 เงินสด Cash Contribution $30,000 จากสโมสรต่างๆใน 3 ภาค มูลนิธิโรตารีสมทบ $35,600 รวม $86,200 (ประมาณ 2,586,000 บาท ณ อัตราแลกเปลี่ยน $1 = 30 บาท) ในส่วนของขั้นตอนการด�ำเนินการ ผมขออธิบายโดยละเอียดดังต่อไปนี้นะครับ 1.เก็บข้อมูลเกี่ยวกับโครงการและเขียนร่างโครงการพร้อมงบประมาณเบื้องต้น 2.การหา Partner ซึ่งสามารถท�ำได้สองทางคือติดต่อกับสโมสรในต่างประเทศ เพื่อให้สโมสร น�ำเรื่องเสนอกับภาคหรือติดต่อผ่านการประสานงานระหว่างภาคแล้วค่อยหาสโมสรที่จะเข้า ร่วมโครงการ แต่ที่ส�ำคัญคือภาคนั้นต้องเป็นภาคที่อยู่ใน Pilot District ซึ่งโครงการแทงก์น�้ำ นี้ ท่านผวภ.นพ.วีระชัย ได้ติดต่อกับภาค 3500 Taiwan และ ภาค 3630 Korea 3.เมื่อตกลงได้แล้วก็เริ่มส่งโครงร่างโครงการใน Member Access โดยขั้นตอน จะสะดวกกว่า เดิมคือสามารถกรอก Online และสามารถแก้ไขได้ตลอดจนกว่า จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อนที่จะ ส่งทาง Online ให้กับทางมูลนิธิโรตารี 4.เมื่อทางมูลนิธิโรตารีได้พิจารณาและตอบรับ Proposal ก็จะได้รับข้อความใน Member Access ที่แสดงว่าโครงร่างนั้นผ่านแล้ว เราจึงจะสามารถเริ่มกรอกใบสมัคร 5.ในขั้นตอนการกรอกใบสมัคร Application ก็ท�ำบน Member Access เช่นกันแต่จะต้อง เตรียมข้อมูลเพิม่ เติมในหลายๆด้าน ทัง้ เกีย่ วกับรายละเอียดโครงการ ชือ่ ผูต้ ดิ ต่อทัง้ ในประเทศ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


และต่างประเทศ ซึ่งใช้ Rotary ID ในการกรอก ที่มาของงบประมาณ การตอบโจทย์ของความ ยั่งยืนของโครงการ 6.ทางมูลนิธิโรตารีจะท�ำการตรวจสอบใบสมัครโดยละเอียดและอาจจะมีการติดต่อกลับ เพื่อถามค�ำถามเพิ่มเติมให้ตอบทางอีเมลล์ ซึ่ง ณ ปัจจุบันมีคุณ Jennifer Berg (Senior Coordinator Global Grants) เป็นผู้ประสานงาน เมื่อใบสมัครผ่าน ก็จะได้รับการแจ้งทาง Member Access 7.ขัน้ ตอนส�ำคัญถัดไปก็คอื การแจ้งบัญชีทจี่ ะใช้ในการรับเงินของโครงการ และ เริม่ การรวบรวม เงินบริจาคจากทุกฝ่ายซึง่ ขัน้ ตอนนีจ้ ะยุง่ ยากพอสมควรถ้ามีสโมสรจ�ำนวนมาก เพราะต้องติดต่อ แจ้งและต้องไม่ลืมที่จะต้องใส่หมายเลข Global Grant ในการบริจาคทุกรายการ ในส่วนของ DDF จะสะดวกกว่าก็คือทางประธานมูลนิธิของภาค จะสามารถอนุมัติ Online ได้เลย 8.หลังจากนั้นทางฝ่ายการเงินซึ่งมีคุณ Lauren Murrell (Future Vision Payment Coordinator) ติดต่อเกี่ยวกับสถานะการบริจาค และแจ้งเมื่อการบริจาคครบถ้วนพร้อมกับ แจ้งการส่งเงินโครงการเข้าบัญชี 9. หลังจากนั้นก็จะเป็นช่วงของการด�ำเนินงานและท�ำ Report ซึ่งจะเรียกว่า Open Grant และ Close Grant ใน Member Access ส่วนนี้ก็เทียบได้กับการท�ำ Progress และ Final Report ของ Matching Grant แต่เป็นการท�ำ Online เท่านั้นเอง โดยสรุปแล้วนะครับ ผมคิดว่าการท�ำโครงการ Global Grant มีขนั้ ตอนทีม่ ากขึน้ กว่า Matching Grant แต่สะดวกกว่าตรงที่ทุกอย่างท�ำ Online ซึ่งสะดวกและรวดเร็ว ปัญหาของ Website ในส่วนนี้มีบ้าง แต่ถ้าได้รับการปรับปรุง คงจะราบรื่นขึ้น เร็วๆนี้พวกเราภาค 3360 คงจะได้เริ่มการแจกแทงก์น�้ำให้กับชุมชนในภาคเหนือ ผมต้องขอขอบคุณ ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี และท่านอน.บุษบง จ�ำเริญ ดารารัศมี ท่านอน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ท่านอน.พัลลภ ลาสุขะ ท่านนย.อุณา ชไนเดอร์และ ผู้ใหญ่อีกหลายๆท่านที่คอยเป็นที่ปรึกษาและให้ค�ำแนะน�ำผมในการท�ำโครงการนี้ ผมหวังว่า ประสบการณ์นี้จะสามารถเป็นประโยชน์ให้กับสโมสรอื่นๆในการท�ำ โครงการอื่นๆต่อไป


อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม

สรุปโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ เฉพาะที่ขอรับการสนับสนุนจากมูลนิธิโรตารี การบ�ำเพ็ญประโยชน์ ของชาวโรแทเรียนมีวิวัฒนาการ จากเดิมมาก โรแทเรียนรุ่นอาวุโสเล่าว่า “...เมื่อโรแทเรียนเห็นว่า ควรบ�ำเพ็ญประโยชน์ในเรื่องใด ก็จะชักชวนกันบริจาคแล้วรวบรวม เงินทีไ่ ด้นนั้ ไปช่วยกันท�ำโครงการ สิง่ ทีไ่ ด้รบั ตอบแทน คือความสุขใจ เพราะเห็นชัดๆ ว่าสิ่งที่กำ� ลังบ�ำเพ็ญประโยชน์นั้นเกิดจากน�ำ้ พักน�้ำ แรงโดยแท้ ทุกคนต่างต้องช่วยกันคนละไม้คนละมือ…” ในรุ่นต่อมาโรแทเรียนเข้าใจบทบาทของ มูลนิธิโรตารี มากขึ้น รู้ว่ามูลนิธิคือแหล่งทุนสมทบ สามารถน�ำมาสมทบกับเงินที่ บริจาคไป ใช้ทำ� โครงการขนาดทีใ่ หญ่ขนึ้ ยิง่ บริจาคมากโอกาสในการ ท�ำโครงการก็จะมากขึน้ เป็นล�ำดับ เป็นแรงกระตุน้ การบริจาคทีด่ อี นั หนึง่ ส่วนโรแทเรียนทีบ่ ริจาคจะได้รบั การยกย่องให้เป็น Paul Harris Fellow สามารถเขียน PHF ต่อท้ายชื่อ โรแทเรียนหลายท่านนิยมบริจาคตรงไปยังโครงการ เรา เรียกการบริจาคแบบนีว้ า่ restricted fund มูลนิธโิ รตารีจะสมทบให้ ครึง่ หนึง่ ของเงินทีบ่ ริจาค แต่เงินทีบ่ ริจาคจะไม่กลับมาเป็น DDF ของ ภาค ต่างไปจากเงินบริจาคที่ไม่เจาะจงโครงการหรือเป็นการบริจาค ประจ�ำปี (Annual Program Fund) เงินจะหมุนเข้าไปในระบบปัน ส่วน เมื่อครบ 3 ปี ครึ่งหนึ่งของเงินนี้จะกลับมายังภาค เรียกว่า DDF เก็บสะสมไว้ได้ ครึง่ หนึง่ ของ DDF จะขอใช้ในโครงการ district grant ได้และหากขอเป็น global grant จะได้รับการสมทบจากมูลนิธิหนึ่ง เท่าตัว เมื่อมูลนิธิโรตารีเข้าสู่ Future Vision Plan อย่างเต็มตัว ในปี 2556-57 (ขณะนี้อยู่ในโครงการน�ำร่อง ที่ภาค 3360 เป็นหนึ่ง ในร้อยของภาคน�ำร่อง) เป้าหมายของการกระตุ้นการบริจาคจึงไม่ เพียงเพิ่มจ�ำนวนบริจาค แต่ยังให้ลดการใช้ restricted fund ไปใน เวลาเดียวกัน การให้ความรูเ้ รือ่ งระบบปันส่วน และข้อไม่พงึ ประสงค์ ของการใช้ restricted fund จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็น โครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ มีวิวัฒนาการจากการท�ำโครง การเล็กๆ กระจัดกระจายมาเป็นโครงการขนาดใหญ่ขึ้นเป็นล�ำดับ มูลนิธโิ รตารีเปลีย่ นการสมทบจากไม่กำ� หนดขัน้ ต�ำ่ เลย มาเป็นก�ำหนด

ไว้ที่ 5,000 U$ และเปลีย่ นเป็น 15,000 U$ ซึง่ เป็นวิธกี ารท�ำให้ขนาด ของโครงการใหญ่ เป็นเรื่องเป็นราวมากขึ้น โดยจ�ำกัดขอบเขตให้อยู่ ใน 6 เรื่องเท่านั้น คือ ป้องกันและรักษาสุขภาพ สุขภาพแม่และเด็ก น�้ำและสุขาภิบาล การศึกษาเรียนรู้ สันติภาพและ การขจัดความขัด แย้ง และการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การเรียกชื่อกองทุนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม การขอทุน อย่างง่าย (District Signature Grant, DSG) ซึ่งขอได้ง่ายแต่ไม่ได้ รับการสมทบ เปลี่ยนเป็น district grant ส่วนทุนสมทบที่เคยเรียก กันว่า Matching Grant นั้นเปลี่ยนใหม่เป็น Global Grant ซึ่งขอ ได้ยากขึน้ แต่ขอได้มาก ภาคจึงต้องเลือกระหว่างใช้คล่องแต่เงินน้อย กับต้องออกแรง ยากขึ้น แต่ได้เงินก้อนใหญ่ขึ้นและสมาชิกต้องเพิ่ม ความสามารถในเรื่องคอมพิวเตอร์กับภาษาอังกฤษ ในปี 2553-54 นี้ ภาค 3360 ก�ำลังหัดใช้กติกาใหม่ในการ ขอทุนทั้ง district grant และ global grant เราใช้ DDF จ�ำนวน 9,000 U$ เป็น district grant เพื่อซื้อผ้าห่ม ถังน�้ำ และ ดิกชันนารี ได้รับเงินมาตั้งแต่ต้นปี ได้ด�ำเนินโครงการไปเรียบร้อยแล้ว มีสโมสร ที่ได้รับอานิสงค์จ�ำนวนทั้งสิ้น สโมสร 36 สโมสร และได้มีโอกาส ทดสอบว่าผ้าห่ม ดิกชันนารี และถังน�้ำยังเป็นที่ต้องการของพวกเรา อยูห่ รือไม่ และเหมาะทีจ่ ะขอเป็น global grant ซึง่ สามารถจัดหาได้ จ�ำนวนมากหรือไม่ พบว่าดิกชันนารีและถังน�ำ้ ยังเป็นทีต่ อ้ งการและมี ความยั่งยืนพอที่จะขอเป็น global grant ต่อไป ส่วนผ้าห่มนั้น ตอบ ค�ำถามด้านความยั่งยืนได้ยาก และมีโอกาสจัดหาโดยวิธีอื่นจึงระงับ ไป การขอ global grant ในปีแรก ยื่นขอทั้งสิ้น 9 โครงการ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการอีก 3 โครงการ (โครงการหาหนังสือเข้า ห้องสมุด โครงการเครือ่ งกรองน�ำ้ และโครงการรถพยาบาลเคลือ่ นที)่ รวมเป็น 12 โครงการ เป็นโครงการที่ภาคขอส�ำหรับหลายสโมสร 5 โครงการ โครงการทีต่ อ้ งตอบแทนคูม่ ติ รต่างชาติ 2 โครงการ ทีเ่ หลือ อีก 5 โครงการเป็นโครงการที่สโมสรเป็นผู้ขอ มีความก้าวหน้า ดังนี้

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


ที่ หมายเลข ชื่อโครงการ

จ�ำนวนเงิน (U$) สถานะปัจจุบัน

1

25362

Dictionary Project (ภาคโดยสโมสรแม่จัน)

36,176

draft

2

25269

FU Gang elementary library renew project (สโมสรแม่สายเป็นคู่มิตรให้ ภาค 3500 ไต้หวัน)

40,250

Payment requirement submitted

3

25409

Omkoi Non-formal Education Project (สโมสรเชียงใหม่)

187,500

draft

4

25307

Rehabilitation Treatment Project (เป็นคู่มิตรให้ภาค 3560 เกาหลี)

32,000

information request

5

25136

School Renovation (ภาค 3360)

79,500

under review

6

25340

Thailand Block-Making & School materials (สโมสรเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) 35,000

Draft

7

25414

VTT, Village Water Supply & Distribution System, D3360, Thailand (สโมสรสวรรคโลกเหนือร่วมกับ Russel,D.5170)

57,791

Draft

8

25151

Water Supply Project in Thailand (แม่สอด-เมืองฉอด)

63,000

information request

9

25179

Clean water tanks (ภาคโดยสโมสรเชียงใหม่)

86,200

payment

10 รอเลข

Mobile hospital for hiltribe (ภาคโดยสโมสรเชียงใหม่/ถิ่นไทยงาม/แม่สาย) 133,800

proposal

11 รอเลข

Water Filtration Project (ภาคโดยสโมสรแม่จัน)

ยังไม่ระบุ

รวบรวมผู้ร่วมโครงการ

12 รอเลข

Books for Libraries (สโมสรในจังหวัดล�ำปางและแพร่)

ยังไม่ระบุ

รอคู่มิตร

การขอทุนมีหลายขั้นตอน ได้แก่ 1) การรวบรวมผู้ร่วมโครงการและพิจารณาเรื่องความเป็นไปได้ 2) ยื่น proposal 3) หากได้รับหมายเลขจะอยู่ขั้นที่เรียกว่า draft 4) เมื่อมีคู่มิตรและมีความพร้อมทางการเงินจึงจะเริ่ม apply 5) จากนั้นต้องตอบค�ำถามหรือส่งข้อมูลเพิ่มเติม คือ information request จะยาวหรือสั้นแล้วแต่โครงการ 6) เมื่อตอบกันเรียบร้อยดีจะเข้าสู่ under review และให้ค�ำตอบ ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน 6.1) หากไม่ผ่านก็ว่ากันใหม่ อาจตกไปเลย หรือ 6.2) ขอ resubmit และเข้าสู่การปรับโครงการและ information request เมื่อเรียบร้อยเข้าสู่ under review อีก ครัง้ 7)โครงการทีผ่ า่ นการพิจารณาจะเข้าสูก่ ระบวนการ payment requirement submitted 8) เมื่อผู้เกี่ยวข้องจ่ายเงินเรียบร้อยจึงจะ payment ได้ 9) จากนั้นรอกระบวนการด้านการเงิน แล้วจึงจะเริ่มด�ำเนินการได้ ในการทดลองท�ำงานเบื้องต้น คณะกรรมการมีความ เห็นพ้องกันว่ายากและช้ากว่าเดิม และยังมีอุปสรรคมาก ทั้งใน ด้านค�ำจ�ำกัดความ การตอบค�ำถาม และด้านความไม่พร้อมทาง คอมพิวเตอร์ และได้ feedback ไปแล้ว การเรียนรู้จากโครงการหลากหลายเหล่านี้ ภาคได้ปรับ กระบวนท่ามาใช้ในการขอโครงการโรงพยาบาลเคลื่อนที่ คือ น�ำรถ บัสมาปรับเปลีย่ นเป็นคลินกิ ฟัน ห้องตรวจ ห้องแลปขนาดเล็ก เตียง ส�ำหรับขอรับบริจาคโลหิต และอาจเติมคลินกิ ตาลงไปด้วย รถคันนี้

จะติดตราโรตารีวงิ่ ไปทุกแห่งให้บริการการรักษาพยาบาล และขอรับ บริจาคโลหิต เป็นการให้บริการนอกโรงพยาบาลเพือ่ ลดความแออัด และเป็นการประชาสัมพันธ์โรตารีไปในตัว และเห็นประโยชน์ชดั เจน และใช้เป็นกรณีศึกษาเรื่องขั้นตอนของการท�ำงาน ดังนี้ 1) ทาบทาม primary host (สโมสรเชียงใหม่/แม่สาย/ถิน่ ไทยงาม), international host (RC Tokyo Yotsaya/RC Chungli Chunsing,Taiwan), strategic partner (มูลนิธิ รพ. สวนดอก) 2) น�ำข้อมูลของผูเ้ กีย่ วข้องทัง้ หมดหาคูม่ ติ รและผูบ้ ริจาค เพิม่ เติม และได้รบั transfer DDF จากภาค non-pilot มาส่วนหนึง่ และ 3) วางแผนขอความร่วมมือเพิ่มเติมจากผู้มีจิตศรัทธา ขณะนีใ้ กล้เคียงความจริงแล้วจึงยืน่ proposal เพือ่ ขอหมายเลขและ ด�ำเนินการต่อไป โดยหวังว่าเวลาทีใ่ ช้ในการยืน่ ขอและการอนุมตั จิ ะ สั้นลง และท�ำให้ผู้ขอเข้าใจวิธีการที่ง่ายขึ้นและชัดเจนขึ้น จากนั้นจะเริ่มอบรมสโมสรที่มีศักยภาพให้เตรียมตัวขอ (ไม่รวมสโมสรที่ขอเองได้อยู่แล้วตามที่ปรากฏ) ให้เป็นการต่อเนื่อง และหวังว่าในปี 2556-57 ประมาณ 10-20 สโมสรในภาค 3360 น่าจะเป็นสโมสรหลักและ เอื้อเฟื้อสโมสรอื่นเข้ามาร่วมโครงการ บ�ำเพ็ญประโยชน์ขนาดใหญ่ และภาคควรถึงเวลาทีจ่ ะให้สโมสรเล็ก ที่ประสงค์จะใช้ district grant ได้ใช้โดยทั่วถึงกัน และภาค 3360 น่าจะเป็นภาคน�ำร่องทีเ่ ก่งพอสมควร (หากไม่ถกู รวมไปเสียก่อน???)


รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

“การให้โอกาสความเสมอภาคทางการศึกษา แก่เด็กนักเรียนมัธยม ปลาย พื้นที่ห่างไกลที่ขาดโอกาส ได้ติวเข้มจากวิทยากรที่เชี่ยวชาญ และมีชื่อเสียงในสาขาวิชาต่างๆ เพื่อเตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัย เป็น สิ่งที่ผมสนใจและอยากจะมอบสิ่งดีๆ เหล่านี้ให้กับเด็กๆ ทุกคนครับ” นี่เป็นค�ำพูดที่กลั่นมาจากความรู้สึกลึกๆ ของ ร.ศ.ทพ.วิรัช พัฒนาภรณ์ นายก สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตก ผูร้ บั ผิดชอบและประสานงานโครงการ ติวเข้ม เติมเต็มความ รู้ เพื่อก้าวสู่มหาวิทยาลัย ที่ได้ด�ำเนินโครงการติวเข้มไปแล้วเมื่อวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2553 และประสบความส�ำเร็จอย่างงดงาม มีนักเรียนมาร่วมเข้ารับการฝึกอบรมจากทั้ง จังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอนมากถึง 3,700 คน มีโรงเรียนเข้าร่วมมากกว่า 20 โรงเรียน กับค�ำถามทีด่ ฉิ นั ได้สนทนากับท่านนายก ร.ศ.ทพ.วิรชั พัฒนาภรณ์ ถึงแรงบันดาล ใจของโครงการนี้ท่านก็ได้กล่าวอย่างภาคภูมิใจว่า “ได้ทราบจากทางโรตารี่น่าน ประมาณสัก 2-3 ปีที่แล้ว นายกโรตารีน่าน ซึ่ง เป็นญาติกัน คือนายกนิธิ สูงสว่าง และแอนด์สายทิพย์ สูงสว่าง ได้จัดท�ำโครงการเกี่ยว

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


กับเรื่อง สร้างเสริมการศึกษาให้เด็กซึ่งอยู่ตามจังหวัดภูมิภาคให้ได้มีความรู้ความ สามารถในเรื่องเกี่ยวกับวิชาต่างๆ หลายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการสอบเอ็นทรานซ์เพื่อ เข้ามหาวิทยาลัย และได้จัดไปเมื่อประมาณ 2-3 ปีที่แล้ว ประสบความส�ำเร็จด้วยดี ซึ่งคุณสายทิพย์ได้เป็นแกนน�ำในเรื่องการติดต่อ อาจารย์ติวเตอร์ในระดับ ประเทศ พอผมทราบก็คิดว่าถ้าสามารถจัดโครงการ ติวเข้ม เติมเต็มความรู้เพื่อก้าว สู่มหาวิทยาลัยของเด็กในจังหวัดเชียงใหม่ได้น่าจะเป็นประโยชน์ และคิดว่าถ้าเน้น โรงเรียนต่างหรือเด็กนักเรียนต่าง ที่เข้ามาร่วมโครงการเป็นนักเรียนที่ด้อยโอกาส หรือขาดแคลนโอกาส ที่จะได้รับการสอนจากอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ รวม ทั้งโรงเรียนที่ห่างไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่ น่าจะเป็นประโยชน์กับนักเรียนเหล่านั้น ได้มาก ถ้าเปรียบเทียบนักเรียนในเมืองใหญ่ๆ ไม่ว่าเชียงใหม่หรือกรุงเทพก็ตาม มี โอกาสได้รับความรู้มากกว่านักเรียนในชนบทห่างไกล หรือว่าอ�ำเภอรอบนอก ถ้าเราท�ำได้ตรงนี้จะเป็นการ กระตุ้นหรือจุดประกายไฟในหัวใจของเด็ก แม้ว่า 2 วันที่เราติวเข้มอาจจะเป็นเวลาไม่มาก แต่ การที่เขาได้รับความรู้จากอาจารย์อาจจะจุดประกาย ไฟว่าจะท�ำให้เขาตั้งใจเรียน และต่อยอดไปอ่านต�ำรา เอง เพือ่ เตรียมตัวให้มคี วามรูค้ วามสามารถ จนกระทัง่ สอบเอ็นทรานซ์จนเข้ามหาวิทยาลัยได้ตามความใฝ่ฝนั ของเขา โครงการนี้ได้รับเสียงตอบรับจากเด็กๆ เป็นอย่างดี นอกจากนี้เรายังได้มีการติดต่อกับ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาส�ำนักงาน กศน. ที่กรุงเทพซึ่งได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์นี้ในการจัดหาวิทยากร โดยไม่คิดค่า ตอบแทน ในการจัดหาวิทยากร ไม่ว่าอาจารย์ครูพี่แนน (อริสรา ธนาปกิจ) อาจารย์ เจีย๋ (ชัยรัตน์ เจษฎารัตติ กิ ร) อาจารย์ชยั (ชัย ลาภเพิม่ ทวี) แล้วก็ อาจารย์สธุ น เสถียร ยานนท์ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ของส�ำนักงาน กศน. จัดงบประมาณสนับสนุน ให้ และผมก็ ไ ด้ มี โ อกาสที่ จ ะกราบเรี ย นคุ ณ หญิ ง วรรณา เพื่ อ ขอความ อนุเคราะห์ในเรื่องเกี่ยวกับการสนับสนุนนักเรียนในโครงการ ติวเข้ม เติมเต็มความ รู้เพื่อก้าวสู่มหาวิทยาลัย ในส่วนของเอกสารประกอบการเรียนการสอน ของคุณครู ของติวเตอร์ทั้ง 4 ท่านใน 2 วันนี้ และรวมทั้งค่าอาหารกลางวันส�ำหรับเด็กที่เข้ามา ทั้งหมด ตอนแรกเรากะไว้ว่าจะมีเด็กมาร่วมอบรมทั้งหมด น่าจะประมาณ 2000 คน แต่ถึงเวลาเราท�ำโครงการจริงๆ เด็กที่เข้ามาจากเครือข่ายมัธยมศึกษาที่ 34 มี จ�ำนวนทั้งหมดประมาณ 3600-3700 คน โดยมาจากโรงเรียนรัฐบาล 21 โรงเรียน จากโรงเรียนเอกชน 8 โรงเรียน ในส่วนของจังหวัดเชียงใหม่และก็จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน โดยจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีโรงเรียน มาร่วมกับเราด้วย 2 โรงเรียนนะครับ”


ดิฉันได้สนทนากับท่านถึงความส�ำเร็จของ โครงการ ท่านก็ได้ตอบว่า “ต้องขอขอบคุณ อธิการบดีมหาวิทยาลัย แม่โจ้ในการสนับสนุน ขอหอประชุมโดยไม่ได้คิดเรื่อง ค่าใช้จ่าย และ 4 สโมสร ประกอบด้วย สโมสรโรตา รีเชียงใหม่ตะวันตก สโมสรโรตารีช้างเผือกเชียงใหม่ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ แล้วก็สโมสรเชียงใหม่ภู พิงค์ และมวลมิตรโรแทเรียนทุกคน อี ก ทั้ ง ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ท างการศึ ก ษา ส�ำนักงาน กศน. ที่น�ำทีมวิทยากรผู้มีชื่อเสียง และ เชี่ ย วชาญถึ ง 4 วิ ช า ในการติ ว ครั้ ง นี้ คื อ วิ ช า คณิ ต ศาสตร์ ก็ มี อ าจารย์ เจี๋ ย เป็ น ติ ว เตอร์ วิ ช า สังคมศาสตร์ มีอาจารย์ชัย เป็นอาจารย์ติวเตอร์ ใน ครั้งนี้ วิชาภาษาอังกฤษ มีอาจารย์ครูพี่แนน และ ส�ำหรับวิชาเคมี รองศาสตราจารย์สุธน เป็นติวเตอร์ ในครั้งนี้ แล้วเราก็ได้รับการสนับสนุนจาก สปอน เซอร์ หลายๆ ส่วน ในส่วนตัวผมคิดว่าเราก็ประสบ ความส�ำเร็จตามที่เราวางวัตถุประสงค์ไว้ แต่ส่วนหนึ่ง

ก็คือ จ�ำนวนนักเรียนมามากเกือบ 2 เท่า ก็เป็นส่วน หนึ่ง ที่เราคิดว่าเรื่องจ�ำนวนก็ประสบความส�ำเร็จได้ ดี แต่ตอนนี้ถ้าเผื่อจะพูดในเรื่องคุณภาพและประสบ ความส�ำเร็จ ต้องดูถึงว่า นักเรียนที่ติวแล้วสอบเข้า มหาวิทยาลัยเยอะไหม ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ทีเ่ ราต้องดู ผม คิดว่า 2 วัน บางทีมันอาจจะบอกยากว่า การที่เขาได้ เข้ามหาวิทยาลัยมาจากการติว 2 วันนี้รึเปล่า แต่ อ ย่ า งน้ อ ยการอบรมในครั้ ง นี้ ผมคิ ด ว่าจะเป็นการ จุดประกายไฟแห่งความมุ่งมั่นและ หนทาง ก้าวสู่ความส�ำเร็จของน้องๆ ในอนาคตได้ อย่างแน่นอนครับ” และนี่คือกลุ่มบุคคลและ 4 สโมสรอันทรง คุณค่าของเราชาวโรแทเรียนภาค 3360 ที่ท�ำคุณ ประโยชน์

“ร่วมจิตอาสา เพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา ให้กับเด็กไทยได้อย่างทัดเทียม” พบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ สวัสดีค่ะ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


รทร.จตุรยุทธ พรมนิล สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

ความพยายามฟื้นฟูไฮติ ในหนึ่งปีที่พ้นผ่าน

โดย Ryan Hyland จาก Rotary International News ฉบับ 11 มกราคม 2554

นับตั้งแต่ที่ประเทศเฮติได้เผชิญหายนะภัยแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงเมื่อปีที่แล้ว โรแทเรียนไฮติกไ็ ด้รว่ มกันระดมทรัพยากรและทุนทรัพย์ซงึ่ บริจาคมาจากสโมสรโรตารีจาก ทั่วโลกเพื่อใช้ในการซ่อมแซมโรงเรียน การให้ความรู้ด้านการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม และการ ริเริ่มโครงการจัดหาน�้ำสะอาดเพื่อพลเมืองของประเทศนี้ เหตุแผ่นดินไหวความสั่นสะเทือนระดับ 7 ตามหน่วยริกเตอร์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2553 ได้พร่าผลาญท�ำลายทัง้ ชีวติ ชาวไฮติกว่าสามแสนคนและสาธารณูปโภค สาธารณูปการของประเทศอย่างย่อยยับ ผู้รอดชีวิตกว่าล้านคนต้องอาศัยในเต็นท์ผ้าใบซึ่ง สร้างขึน้ ง่ายๆเพือ่ ใช้เป็นทีพ่ กั ชัว่ คราว และการระบาดอย่างรุนแรงของอหิวาตกโรคในเดือน ตุลาคมก็ได้กลายมาเป็นอุปสรรคส�ำคัญในการเยียวยาฟื้นฟูประเทศ ในการนี้ สโมสรโรตารีได้ให้เงินช่วยเหลือแก่ประเทศไฮติกว่า 18 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยโรตารีสากลภาค 7020 ซึง่ มีพนื้ ทีค่ รอบคลุมประเทศไฮติดว้ ยนัน้ ก็ได้รว่ มบริจาคเงิน 1.5 ล้านเหรียญพร้อมทั้งบริจาคสิ่งของและความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนมูลค่า 11 ล้านเหรียญ สหรัฐอีกด้วย อดีตผู้อ�ำนวยการโรตารีสากล Barry Rassin กล่าวว่า ชาวโรแทเรียนในไฮติ ได้แสดงให้เราได้เห็นแล้วซึ่งความมหัศจรรย์แห่งการทุ่มเทพลังกายพลังใจอย่างไม่รู้จัก เหน็ดเหนื่อยเพื่อช่วยชุมชนและประเทศของพวกเขาจากหายนะภัยแผ่นดินไหวในครั้ง นี้ ท่านรู้สึกประทับใจและขอชื่นชมกับทุกสิ่งที่โรแทเรียนไฮติได้ร่วมกันท�ำอย่างต่อเนื่อง ตลอดมา มร. Rassin ยังเป็นผู้ถือบัญชีของกองทุนฟื้นฟูแผ่นดินไหวไฮติ ซึ่งเป็นกองทุนที่ จัดตั้งขึ้นโดยมีพื้นฐานจากมูลนิธิโรตารี โดยกองทุนดังกล่าวได้รับการสนับสนุนเงินบริจาค จากโรแทเรียนทั่วโลกกว่า 2 ล้านเหรียญสหรัฐ และคณะกรรมการของกองทุนดังกล่าวได้ มีมติให้ใช้เงินจ�ำนวน 1 ล้านเหรียญสหรัฐให้แก่ 53 โครงการ โดยมีโรแทเรียนจากกว่า 50 ประเทศทั่วโลกให้การสนับสนุนอย่างแข็งขัน


นอกจากนั้นแล้ว มร. Rassin ยังได้กล่าวว่าโรตารี นับเป็นองค์กรที่มีบทบาทส�ำคัญมากต่อการให้ความช่วยเห ลือชาวไฮติทีได้รับผลกระทบจากโศกนาฏกรรมในครั้งนี้ผ่าน โครงการมากมาย โดยที่เราทุกคนและโรแทเรียนไฮติควรร่วม เคียงบ่าเคียงไหล่กนั เพือ่ ฟืน้ ฟูให้ไฮติกลับกลายมาเป็นประเทศ ที่น่าอยู่และเต็มไปด้วยความหวังไปด้วยกัน ส�ำหรับการให้ความช่วยเหลือชาวไฮติจากกองทุน ดังกล่าว มีดังต่อไปนี้ • การซ่อมแซมและสร้างห้องเรียนใหม่แก่โรงเรียน La St. Famille ใน La Savane ซึ่งเป็นเขตพื้นที่ที่ยากจนที่สุด ของเมือง Les Cayes ซึ่งโรงเรียนดังกล่าวมีนักเรียน 682 คน โครงการนี้ใช้เงินทุน 50,000 เหรียญสหรัฐจากโรตารีสากล ภาค 7020 • โครงการของสโมสรโรตารี Carrefour/Mon Repos, Ouest เพือ่ ให้การศึกษาและปลูกจิตส�ำนึกให้นกั เรียน จ�ำนวน 1,300 คน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการปลูกและ ฟื้นฟูสภาพป่าให้แก่นักเรียนจ�ำนวน 1,300 คน เนื่องจากไฮติ ต้องสูญเสียพืน้ ทีป่ า่ ไปเพราเหตุการณ์แผ่นดินไหวครัง้ นีถ้ งึ 98 เปอร์เซ็นต์ โดยนักเรียนจะได้เรียนรูถ้ งึ การปลูกและบ�ำรุงรักษา ต้นผลไม้ ซึง่ จะช่วยลดอัตราการพังทลายของหน้าดินและช่วย เพิม่ ผลผลิตทางการเกษตรไปพร้อมๆกัน โครงการนีใ้ ช้เงินจาก กองทุนจ�ำนวน 13,000 เหรียญสหรัฐ • โครงการของสโมสรโรตารี Mirebalais, Centre เพื่ อ ก่ อ สร้ า งถั ง เก็ บ น�้ ำ ฝน 80 ลู ก ความจุ ลู ก ละ 2,500 แกลลอนแก่เขตพื้นที่ Mirebalais ซึ่งเป็นเขตที่ไม่มีระบบ ชลประทานบริการ ไม่มนี ำ�้ ดืม่ และไฟฟ้าใช้ และประชากรร้อย ละ 95 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยคาดกันว่าประชากร กว่า 3,000 คนจะได้มีน�้ำเพื่อใช้บริโภคจากโครงการซึ่งใช้เงิน

จากกองทุนจ�ำนวน 64,000 เหรียญสหรัฐโครงการนี้ มร. Rassin กล่าวเพิ่มเติมว่า แม้ว่าอาจต้องใช้เวลา อีกหลายปีกว่าที่จะฟื้นฟูประเทศได้ แต่การที่โรแทเรียนได้มา ท�ำงานร่วมกันในแต่ละโครงการนั้นก็ได้ท�ำให้เราเห็นแล้วว่า โรตารีได้ช่วยเปลี่ยนแปลงชีวิตของชาวไฮตินับล้านได้อย่างไร ส่วน Richard McCombe สมาชิกสโมสรโรตารี South-East Nassau จาก New Providence แห่ง Bahamas นัน้ เห็นว่า โรตารี คือองค์กรทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในการช่วยฟืน้ ฟู ไฮติ เพราะก่อนหน้าที่จะเกิดหายนะภัยแผ่นดินไหวครั้งนี้นั้น ทางโรตารีก็ได้ริเริ่มโครงการเพื่อมนุษยธรรมและการศึกษา กว่า 30 โครงการไว้บ้างแล้ว McCombe กล่าวว่าสิ่งที่สโมสรของเขาท�ำนั้นจะ ได้ช่วยพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพให้แก่ไฮติอย่างยั่งยืน โดยยกตัวอย่างโครงการบริการอวัยวะเทียมในเมือง Pignon ซึ่งอยู่ทางภาคเหนือของไฮติ ซึ่งได้ช่วยฝึกอาชีพและสร้าง ทักษะความช�ำนาญในการผลิตอวัยวะเทียมซึ่งมีน�้ำหนักเบา และราคาไม่สูงมากให้แก่คนในท้องถิ่น ทั้งนี้โครงการมูลค่า 500,000 เหรียญสหรัฐ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิและ สโมสร โรตารีในสหราชอาณาจักรโครงการนี้ จะช่วยพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ให้แก่ผรู้ อดชีวติ จ�ำนวน 4,000 คนและผูท้ ตี่ อ้ งการอวัยวะ เทียมจ�ำนวนมากอีกด้วย ทางด้านองค์กร ShelterBox องค์กรรากหญ้าซึง่ ตัง้ ขึ้นมาเพื่อให้ความช่วยเหลือสโมสรโรตารีทั่วโลก ก็ได้ให้การ ช่วยเหลือด้านที่พักอาศัยแก่ผู้ประสบภัยชาวไฮติจ�ำนวนกว่า หนึ่งในสามของทั้งหมด โดยการบริจาคที่พักอาศัยชั่วคราว (Box) จ�ำนวน 28,000 หน่วย ซึ่งการบริจาคครั้งนี้ได้ถือ เป็นการบริจาคครัง้ ยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ขององค์กรนี้

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


นย.เอกวุฒิ กาวิละ สโมสรโรตารีกาวิละเชียงใหม่

อิทธิพลของสีต่ออารมณ์จิตของเรา “Do different colors affect your mood?” ผ่านมาแล้วกับเล่มสีหวานแหวว ชมพูน่ารักของสาร ผู้ ว่าการภาค 3360 ฉบับที่ 5 เล่มรับวันแห่งความรัก Valentine day ที่หลายคนคงได้รับกุหลาบแดงงามๆ ไปแล้วจากคนใกล้ชิดกับ บทความที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวโรตารีกับ End Polio Now ที่ได้ ประชาสัมพันธ์ได้อย่างดีมากๆ และช่วยให้ผู้เขียนบรรเจิดความคิด เรื่องของ “สี” ที่มีอิทธิพลต่อชีวิตและจิตใจของคนเรา โดยเฉพาะ กับเด็กๆ ที่เป็นวัยเริ่มต้นแห่งการเจริญเติบโตที่ต้องเรียนรู้และ เพลิดเพลินกับสีสนั ต่างๆ และมีอทิ ธิพลต่อการเรียนรูแ้ สวงหาในห้วง วัยนีม้ าก และเป็นวัยทีด่ ขี องการยังไม่เจอะเจอะกับการโดนป้ายสีสนั ทั้งดีและร้ายบ้าง ที่ห้วงเวลาหนึ่งๆ ของชีวิตของคนๆ หนึ่งต้องเจอะ เจอกันบ้างเป็นเรื่องธรรมดาของโลก เพียงแต่เขาเหล่านั้นจะแก้ไข หรือ ก้าวข้ามไปได้อย่างไรเท่านั้น

your mood?” หรือ “สีที่มีอิทธิพลต่อจิตใจของเรา” เป็นผลงาน วิจัยของ เดวิด จอห์นสัน นักวิจัยที่มีชื่อคนหนึ่ง เรื่องตามหัวข้อของ เขานี่ ฟังแล้วก็น่าคิดเอามากๆ เป็นไปได้ไหมว่าสีสันที่ต่างกันจะให้ ความรู้สึกที่ต่างกันไปด้วย...

บทความนี้ นีอ่ กี หนึง่ ของชีวติ จริงทีเ่ ราน่าจะพึงได้รบั ทราบ หากเรามาพูถงึ เรือ่ ง “สี” ทีเ่ รามักชอบและไม่ชอบกันดีกว่า บทความ นี้ได้เรียบเรียงและแต่งแต้ม เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้รับรู้และรับทราบ ว่า ที่แท้จริงเราต่างได้รับอิทธิพลของสีโดยรอบตัวเราทุกวัน ไม่ว่า จะเป็นโฆษณาจากสื่อโทรทัศน์ หรือ หนังสือ นิตยสาร ที่เผลอไป ชื่นชม หรือโดนหลอกตากับไปกับสีสันของสีอาหารที่แต่งแต้มและ ตกแต่ง โดยเฉพาะอาหารประเภทของหวาน ที่แสนจะน่ากินเมื่อมี สีสันมาหลอกล่อ และเผลอจ่ายเงินไปกับมันมากๆ พอๆ กับเสื้อผ้า ที่มีสีสัน ที่โดนใจเราอีกอย่างมากมาย กว่าจะรู้เท่าทันก็เผลอรูดบัตร เครดิตของธนาคารไปเสียแล้ว ฮือ แล้วจริงๆ สี นั้นมันส�ำคัญไฉนกัน หนอ เรามาเปิดเผยเรื่องราวของ “สี” กันนะครับ หลังจากอ่านแล้ว ผู้เขียนเองก็คงเข้าใจว่าท่านก็อาจจะชื่นชอบด้วยเช่นกัน และคิดว่า เหมาะจะให้เพื่อนๆ ที่ตั้งใจอ่านด้วยความเพลิดเพลินเจริญใจ เรียก ว่าร่วมด้วยช่วยชอบกันอ่านสนุกๆ นะครับ

สีด�ำ

หัวข้อเรื่องที่โปรยไว้คือ “Do different colors affect

ท่านผู้อ่านหลายท่านคงเห็นด้วยว่าโลกเราก็มีเรื่องแบบนี้ ชัดเจนอยู่แล้วนะ และก็ถือเป็นวัฒนธรรมที่เราเห็นได้อยู่ทุกเมื่อเชื่อ วันอยู่แล้วด้วยในสังคมทั้งของไทยและของต่างประเทศแล้วเช่นกัน อาทิเช่น ไปงานศพต้องสีด�ำ ไปงานแต่งงานต้องสีขาว หรือสีแดง แสดงถึงความรัก แต่เมือ่ อ่านแล้ว ก็รสู้ กึ ชัดขึน้ นะ ถึงความหมายของ สีแต่ละสี ลองไปอ่านกันดูนะว่าสีที่เขาได้วิจัยแล้วนั้นเหล่านี้ แสดง อะไรกันบ้างและเราผูกพันกับสีไหนกันดีกว่า สีด�ำเป็นสีแห่งอ�ำนาจและพลัง และยังเป็นสีที่ใช้กันบ่อย ในวงการแฟชั่นเอามากๆ เพราะว่ามันท�ำให้รูปร่างของเราดูเพียว ผอมลง เรียกว่าเป็นแฟชั่นที่อินเทรนด์ตลอดกาลจริงๆ และใช้ได้กับ หลากหลายสีดว้ ย รูห้ รือไม่วา่ การใส่เสือ้ ผ้าสีดำ� ยังช่วยดึงพลังในตัวตน ของเราออกมาได้ด้วยดูเป็นตัวอย่าง ท่านบาทหลวงก็ใส่ชุดสีด�ำ เพื่อ ท�ำให้ศักดิ์สิทธิ์ดูสิ ฮือ พอเชื่อแล้วล่ะ สีขาวเป็นสัญลักษณ์ของเจ้าสาวของใครต่อใครนั่นเอง เป็นเรื่องของความบริสุทธิ์ผุดผ่อง และไร้เดียงสา เป็นสีประจ�ำของ ฤดูร้อนเสียด้วย และยังโดดเด่นมากส�ำหรับการตกแต่ง เพราะมัน เป็นสีที่สว่าง สะอาดเป็นธรรมชาติ และเข้ากันได้ดีกับทุกสี ความ บริสุทธิ์ของสีขาวยืนยันได้จากการที่หมอและพยาบาลต่างใส่ชุดสีนี้ อือ ก็จริงอย่างเขาว่าจริงๆ ด้วยสิ นับถือจริงๆ ครับอาชีพนี้


สีแดง

สีแดงเป็นสีที่แสดงอารมณ์ได้มากที่สุดสีหนึ่ง และเป็นสี ที่ผู้เขียนชื่นชอบเอามากๆ ฮ่าๆ ก็เพราะเกิดวันอาทิตย์ นี่เองห้าม คิดมากนะจ๊ะ สีแดงเขาว่ากันว่ามันช่วยท�ำให้เกิดความตืน่ เต้น กระตุน้ ความรู้สึก และยังเป็นสีแห่งความรัก การใส่เสื้อผ้าสีแดงจะเป็นจุด สังเกตได้ง่าย และเด่น นอกจากนี้ ยังส่งเสริมบุคลิกภาพของคนสวม ใส่ และเพราะมันเป็นสีที่โดดเด่นเช่นนี้เอง การใส่เสื้อผ้าสีแดงจึงให้ ความรู้สึกที่ดูจะสุดโต่ง อาจจะเป็นเรื่องของการโต้แย้งก็ได้ ว่ากันว่า รถยนต์สีแดงเป็นจุดเด่น และถึงได้โดนขโมยมากที่สุดเสียด้วยสิ ใน การตกแต่ง การใช้สีแดงจะช่วยดึงดูดความสนใจได้มาก สังเกตได้ เลย จากทีมกีฬาต่างๆ ไม่ว่าจะบาสเกตบอล หรือฟุตบอล ก็ล้วนใช้ สีแดงเพือ่ ดึงดูดสายตาของผูช้ ม และเพิม่ ก�ำลังใจให้นกั กีฬาฮึกเหิม นี่ ยังรวมไปถึงคงการใช้สแี ดง ในการดึงดูดสายตาในวงการโฆษณาด้วย นะ ดูเอาอย่างป้ายที่อยู่ตามริมถนนดูสิครับ เจ้าป้ายแมคโดนัลด์ จะ ดึงดูดสายตามากกว่าป้าย ปั้มน�้ำมัน บางจากสีขาวๆ เขียวๆ มากๆ เลยแหละ เออ แล้ว สโมสรไหนใช้สนี บี้ า้ งหนอ เอกวุฒจิ ะรักตายเลย... อ้อ เห็นแล้ว ก็ สโมสรสาวสวยรวยเสน่ห์ ก็คือ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ถิ่นไทยงามนี่เอง

สีน�้ำเงิน, สีฟ้า

สีแห่งท้องฟ้า และมหาสมุทร เป็นอีกสีหนึ่งที่เป็นที่นิยม มากที่สุด และเป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกับสีแดง นั่นคือเป็นสีแห่งความ สงบ อ่อนโยน สบายตาสบายใจ ด้วยเหตุนี้ คนจึงนิยมใช้สีฟ้าในการ ตกแต่งห้องนอนเสมอ อย่างไรก็ตาม สีฟ้ายังเป็นสีที่ดูเยือกเย็น และหดหู่ในบาง ครั้ง นักแฟชั่นดังๆ บอกว่าควรใส่สีฟ้าไปสัมภาษณ์งาน เพราะมัน แสดงถึงความซื่อสัตย์ได้ดี สโมสรโรตารีไหนบ้าง ที่มีสีสูทประจ�ำสีนี้ บ้างครับยกมือขั้นหน่อย อ้อ..ของสโมสรโรตารีกาวิละเชียงใหม่ ที่ผู้ เขียนสังกัดอยู่ พวกเราเลือกสีแนวนีอ้ ยูเ่ หมือนกัน เพราะเวลาถ่ายรูป แหมมันดูโดดเด่น ช่วยให้คนเขม่นได้มากๆ ฮ่าๆ ก็เพราะโรตารีท�ำไม ชอบถ่ายรูปนีแ่ หละเรือ่ งนี้ แม้นแต่ทา่ นผูว้ า่ การภาค ปี 2554-55 ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรือง ยัง งง งง อยู่ ฮิฮิ (จากบทความที่ท่านขยันเขียน ให้อ่านเล่นๆ)

สีเขียว

เป็นสีที่ใช้กันบ่อยที่สุดในงานตกแต่ง สีเขียวแสดงถึง ธรรมชาติ และเป็นสีที่ดีต่อสายตา เพราะสงบ และสดชื่น ส่วนใหญ่ เราจะเห็นสีนี้ในโรงพยาบาล เพราะใช้เพื่อผ่อนคลายให้คนไข้คลาย กังวล สีเขียวเข้ม ยังเป็นสีของสุขภาพ ความมั่งคั่ง และความหัว โบราณ อย่างไรก็ตาม ยังมีคนจ�ำนวนมากคิดว่าสีนี้เป็นสีที่จะน�ำโชค ร้ายมาให้ด้วย ผู้เขียนเห็นด้วยเต็มร้อยก็ตอนที่เห็นสีเขียวลายพลาง ยิงเอา ยิงเอา ที่แยกราชประสงค์ เมื่อคราวก่อน ไปดูภาพตามเวป ไซด์ของยูทูปเองนะครับ เดี๋ยวจะเอียงข้างไปมากกว่านี้ สโมสรไหน ใช้สีนี้อย่าว่าผมนะ..เพราะเป็นบทความที่เขาวิจัยมาต่างหากล่ะ แต่ ก็สบายตาจริงๆ ทีเ่ ห็นหลายสโมสรโรตารีใช้สเี สือ้ เขียวอ่อนบ้าง เขียว เข้มบ้าง

สีเหลือง

สีสดใสร่าเริง และเป็นสีที่ท�ำให้คนมองโลกในแง่ดี แต่ถึง อย่างนั้นก็ตามที มีความเชื่อที่ว่าถ้าคนอยู่ในห้องสีเหลือง จะอารมณ์ เสียได้งา่ ยขึน้ ดังนัน้ สีนจี้ งึ เป็นสีทยี่ ากจะอธิบาย ถ้าใช้ดๆี มันจะช่วย ให้เรามีสมาธิ และช่วยในการรับประทานด้วย แต่ถ้าใช้ไม่ดี จะท�ำให้ เราเป็นคนหงุดหงิด โมโหง่าย โดยเฉพาะคนที่ไม่ชอบสีนี้เอาเสียเลย แต่สีนี้ยามเมื่อเราเห็นดอกสีเหลืองๆ ก็ดูผ่อนคลาย และเริงร่าน่ะ... อย่างสีเหลืองของดอกบัวตอง ที่บานสะพรั่งกลางขุนเขาแห่งดอน แม่อู่คอ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ยามเทศกาลดอกไม้บานย�่ำยามเดือน ตุลาคมมาเยือน เขาจัดให้ไปนักท่องเที่ยวไปเที่ยวชมทุกปี ไปแล้วก็ อย่าได้ลืมไปให้ก�ำลังใจ สโมสรโรตารีแม่สะเรียง ด้วยนะครับ เพราะ อยากให้สโมสรนี้กลับมาชูช่อแห่งความงาม ทางขอบประเทศแถบนี้ ด้วย

สีม่วง

สีแห่งความภักดี ความหรูหรา ความมั่งคั่ง และเรื่องของ ปรัชญา มันเป็นสีของหญิงสาว และเน้นถึงความโรแมนติก และมี หลายสโมสรโรตารีทั้งจากภาคเหนือ ทั้งตอนเหนือ และตอนกลาง และทางตอนใต้ มีไว้ใช้เป็นสูทสีประจ�ำสโมสรด้วยดูสวยงามดีครับ ไม่มั่นคงได้อย่างไรก็สีม่วง มันแบ๊งค์ห้าร้อยนี่นา ฮิฮิ...

สีน�้ำตาล

เป็นสีทเี่ ข้มแข็ง และมัน่ คง คือลักษณะของสีน�้ำตาลทีเ่ ป็น สีหลักของพืน้ ดิน แต่กใ็ ห้ความเศร้าขรึมได้ในบางขณะ เหมือนราวกับ ว่าเป็นส่วนหนึ่งของธาตุดิน และรู้ไหมว่า ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ชายมักจะ บอกว่าสีนี้เป็นสีโปรดของพวกเขาเสียด้วยสิ ฮือเห็นจะจริงกระมัง...

สีสันของโรตารี

สัญญาลักษณ์โรตารีเป็นรูปของวงล้อโรตารี ประกอบด้วย น�้ำเงิน สีเหลือง สีด�ำ และสีขาว คงจะบอกพวกเราได้เป็นอย่างดีว่า องค์กรพวกเรานัน้ เป็นองค์กรนักธุรกิจและนักวิชาชีพทีเ่ ก่าแก่มากว่า 106 ปี เป็นดัง่ องค์กรหลักของโลกแห่งหนึง่ ทีม่ ที รงพลังและเปีย่ มด้วย อ�ำนาจดุจสีดำ� ของนิลแห่งหินผาทีแ่ ข็งแกร่ง ทีเ่ กิดจากการมารวมตัว กันของมวลสมาชิกจากหลากหลายอาชีพทั่วโลก ด้วยน�้ำใจที่กว้าง ขวางดุจมหาสมุทรน�้ำทะเล สีฟ้าน�้ำเงิน ที่แสนกว้างใหญ่ไพศาลสุด ลูกหูลูกตา และจะเบิกบานสราญใจทุกครั้งยามที่ได้บริการให้การ ช่วยเหลือแก่มวลมนุษย์ชาติเพื่อนร่วมโลก โดยไม่หวังผลตอบแทน ใดๆ ซึ่งถือเป็นน�้ำใจที่สุดแสนประเสริฐ และบริสุทธิ์ประดุจดังสีขาว ของปุยนุ่นหรือปุยเมฆที่ล่องลอยในนภากาศ ที่พัดพาปกคลุม แต่ง แต้มสีสนั ให้มมี ติ แิ ก่โลกสีฟา้ ใบนี้ ให้โดดเด่นในจักรวาลอย่างสวยงาม ยิ่งนัก... ขอให้พวกเราจงภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรที่เก่าแก่ ของโลกนาม “โรตารี” แห่งนี้ และจงพร้อมที่จะส่งความรักและรอย ยิม้ จากดวงใจลึกๆ ให้แก่กนั และกัน ทัง้ ในวันนีแ้ ละวันหน้า ในทุกทุก วินาที ที่ผ่านไป และผ่านไป พร้อมๆกับการหมุนของโลก ในห้วงของ วันและเวลา ทีแ่ สนยาวนานอีกหลายแสนกัปแสนกัลป์ตอ่ ไป แม้นจะ เป็นดอกไม้ที่หลากสีแต่เราจะเดินไปด้วยกัน จริงไหมครับ.

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๖ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๓


นย.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนาเชียงใหม่

สวัสดีค่ะมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ก่อนอื่นขอแสดงความยินดีกับ อน. ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ คน เก่งแห่งสโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ ที่ได้รับมติเป็นเอกฉันท์จากคณะ กรรมการเสนอชื่อผู้ว่าการภาคปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ของภาค ๓๓๖๐ ให้ เป็นผู้ว่าการภาคเสนอชื่อเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ปีบริ หาร ๒๕๕๖-๒๕๕๗ เรื่องความสามารถไม่ต้องห่วงเพราะอาจารย์แจง เก่งอยู่แล้ว ห่วงอย่างเดียวว่าในการประชุม International Assembly ที่ซานดิเอโก้ก่อนเข้ารับต�ำแหน่ง จะมีสุภาพบุรุษโรตารีไปให้ก�ำลังใจ ด้วยหรือเปล่า...เอาน่า...อีกตั้งสองปีกว่าคงยังมีเวลาอยู่...***...งานฉลอง สารตราตั้งสโมสรโรตารีเมืองเกาะคา อ. เกาะคา จ. ล�ำปาง ผ่านไปด้วย ความเรียบร้อย มีสมาชิกต่างสโมสรมาร่วมแสดงความยินดีกนั อย่างคับคัง่ อน. ขวัญพงษ์ คมสัน ผู้แทนพิเศษผู้ว่าการภาค จากสโมสรโรตารีแม่วัง ฝากขอบคุณมวลมิตรโรแทเรียนที่มาให้ก�ำลังใจ ส่วน นย. วันชาติ ธรรม รัตน์ สโมสรโรตารีแม่วังยิ้มหน้าบานที่โรตารีแอนน์เปลี่ยนค�ำน�ำหน้าเป็น นายกก่อตั้ง คือ นยก. ชื่นจิตต์ ธรรมรัตน์ ครอบครัวนี้เลยมีนายกโรตารี ถึงสองคนในเวลาเดียวกัน...***....โครงการเยาวชนแลกเปลีย่ นภาค 3360 ก�ำลังเข้มข้น เพราะถึงเวลาต้องส่งใบสมัครของลูก ๆ หลาน ๆ ออกไปแล้ว ประธานโครงการ อน.ตุลย์ สุวรรณรัตน์, อน. นัยนา คมสัน และ รทร. อัธ ยา เวชสถานารักษ์ ก�ำลังช่วยกันหัวหมุนหา Placements. และฝากเชิญ ชวนน้อง ๆ มาเข้าค่ายภาษา เพือ่ เตรียมความพร้อมในเรือ่ งการใช้ภาษา ที่ ศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ จ.ล�ำปาง ระหว่างวันที่ 13-19 มีนาคม...สอบถาม รายละเอียดได้ที่กรรมการทั้งสามท่าน...***...ด้าน นย. รัชดา ผ่องธัญญา สโมสรโรตารีวังจันทน์ เพิ่งไปเยี่ยมสโมสรคุ่มิตรของคู่มิตร (สร. บางเขน) คือสโมสรโรตารีนิวฮัวเหลียน ใต้หวันได้ไม่นานก็ได้ร่วมกันท�ำโครงการ สร้างห้องน�้ำ ติดมุ้งลวด ให้แก่โรงเรียนบ้านเนินสะอาด ...ยัง..ยังไม่พอ คู่ มิตรเก่าแก่จากสโมสรโรตารีบางเขน กรุงเทพฯ ส่งโรตาแรค์เตอร์ในสังกัด (ส.โรตาแรคท์ ม.หอการค้าไทย และ ส.โรตาแรคท์ศรีปทุม) มาร่วมสร้าง สนามเด็กเล่นให้เด็ก ๆ ได้มีที่เล่นด้วย...***...นย.พญ. ธัญญรัตน์ สิทธิวงศ์ สโมสรโรตารีเถินดาวน์ทาวน์ ที่มีงานล้นมือทั้งงานราษฎร์งานหลวง เพิ่ง รับสมาชิกใหม่คุณภาพคับแก้ว ไม่ว่าจะเป็นท่านก�ำนันธวัชชัย เทวราช หรือว่าท่านประเสริฐ เมืองเหมอะ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนผาปังวิทยา และ อีกหลายๆ ท่าน นยก. สุภาพร เสมอเชื้อเป็นปลื้ม...***...RFE (Rotary Friendship Exchange) ของภาค 3360 จะไปเยีย่ มเยียนมิตรโรแทเรียนที่ ฮาวาย ภาค 5000 วันที่ 3-16 เมษายน ผู้ที่สนใจรีบจองที่นั่งด่วน ที่ นยล. สุภาพร จันทร์ศิริโยธิน โรตารีแม่วัง ซึ่ง PDG. Steve Yoshida เตรียม ต้อนรับอยู่ ด้าน ผวล. อนุรักษ์ นภาวรรณ จะไปฮาวายเดือนเมษายน กับ RFE พอเดือนพฤษภาคมก็ต้องไปประชุม RI Convention ที่ New Orleans อีก ชีพจรลงเท้าดีจัง...***...สโมสรโรตารีนเรศวรและสโมสร โรตารีในจังหวัดพิษณุโลกปีนี้จัดงานเดินรณรงค์ต่อต้านโปลิโออย่างยิ่ง ใหญ่ ให้ชาวพิษณุโลกได้รับทราบกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านโปลิโอของ โรตารี และประชาสัมพันธ์โรตารีให้ประชาชนได้รู้จักมากขึ้น เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคมทีผ่ า่ นมา ผูท้ อี่ ยูเ่ บือ้ งหลังงานอีกท่านหนึง่ คือ ผชภ. จิตมากร รอบ

บรรเจิด นัน่ เอง...***...ชาวเมืองแพร่บอกว่าปีนเี้ ป็นปีทองของ นย. พะเยาว์ ศิริกิจภิญโญกุล แห่งสโมสรโรตารีแพร่อย่างแท้จริง ไม่ว่าจะท�ำกิจกรรม ใหญ่-น้อย แค่ไหน สมาชิกทุกคนเป็นธุระจัดการ ร่วมมือ ร่วมใจ กันพรึ่บ พรับ่ และยังเพิม่ สมาชิกใหม่ให้สโมสรได้อกี 5 ท่าน รางวัลการเพิม่ สมาชิก ภาพอยู่แค่เอื้อม...***... อน.สมพงษ์ และ อน. ธนิตา สังข์บุณยนิธิ ก�ำลัง เดินหน้าสร้างครอบครัวใหม่ และปั้นเด็กๆ ให้สโมสรโรตารีเวียงโกศัย... เอ๊ะยังไง...แปลได้ว่า ท่านก�ำลังทั้งวิ่ง ทั้งเต้น ทั้งผลักดันการจัดตั้งสโมสร Early Act ที่โรงเรียนเทศบาลวัดสวรรค์นิเวศน์ อ. เมือง จ. แพร่ และมี ก�ำหนดจะสถาปนาให้ทันปีบริหาร 2554-2555 นี้ นย. ด�ำรงทรัพย์ อัศว รัตนากรและ นยล. สราวุธ วรรณนิรนั ดร์ เป็นปลืม้ และพร้อมเตรียมรับส่ง ไม้อย่างเต็มที่...***...งานฤดูหนาวไทยล้านนาและกาชาดแพร่ ที่ผ่านมา ผชภ.นันทนา มั่งมี มือวางอันดับหนึ่งของสโมสรโรตารีเวียงโกศัย ขึ้นเดิน แบบผ้าไหมไทย และตามมาติดๆ ด้วยดาวรุ่งดวงใหม่ รทร.อภิญญา สุข แสงศรี ทีเ่ ดินแบบให้สมาคมสตรีนกั ธุรกิจและวิชาชีแพร่ เปลีย่ นลุคจนไม่มี ใครจ�ำได้ ท�ำไปด้วยจิตอาสาแท้ๆ และก็งามแต๊ๆ ตวย...***...สโมสรโรตา รีเชียงใหม่จะเป็นเจ้าภาพจัดงานพิธสี ถาปนาคณะกรรมการบริหารสโมสร โรตารี ๑๓ สโมสรในจังหวัดเชียงใหม่ ปีบริหาร ๒๕๕๔-๒๕๕๕ นย. อุณา ชไนเดอร์ เตรียมการก่อนใครด้วยการเชิญนายกสโมสรต่างๆ ร่วมเป็น กรรมการและประชุมนัดแรก ๑๐ กุมภาพันธ์ เตรียมงานแต่เนิน่ แบบนีข้ อ ปรบมือให้ดงั ๆ...***...ยังเดินหน้ารณรงค์เพือ่ โครงการจัดตัง้ ศูนย์ผา่ ตัดโรค หัวใจ อน. อธิษฐาน วงศ์ใหญ่ ฝากประชาสัมพันธ์การจ�ำหน่ายนาฬิกาติด ผนัง “เปิดสวิทช์หวั ใจ” แบบสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าขนาดโปสเตอร์ เหมาะส�ำหรับ เป็นของขวัญวันส�ำคัญในสีสนั สดใส หรือใช้แทนพวงหรีดส�ำหรับสีดำ� -ขาว เรียกว่าใช้ได้ประโยชน์ในทุกงาน ทีส่ ำ� คัญคือได้บญ ุ ด้วย..อันนีส้ ำ� คัญ ติดต่อ สั่งได้ที่ฝ่ายบริหาร โรงพยาบาลล�ำปาง...***... “โปลิโอ จอมปีศาจ ฝัน ร้ายในวัยเด็ก” เรื่องราวที่แต่งโดย รทร. ทศพล เพชรรัตนกุล หรือครูช้าง จากสโมสรโรตารีเชียงใหม่ภพู งิ ค์ ทีใ่ ห้เด็กๆ อ่านและจินตนาการตามเพือ่ ประกวดภาพวาด ครูช้างมีวิธีการสอนเด็กๆ วาดภาพได้อย่างแยบยล... จะเห็นครูช้างคู่กับมอเตอร์ไซค์คันเก่งและกล้องถ่ายรูปพร้อมกับท่าเล็งที่ เท่หไ์ ม่เหมือนใคร...ชอบสโลแกนของครูชา้ งทีว่ า่ “อยูอ่ ย่างต�ำ่ ท�ำอย่างสูง ตลอดมาเป็นเช่นไร ตลอดไปเป็นเช่นนั้น” ...ใครจะยืมไปใช้เจ้าตัวบอกไม่ สงวนลิขสิทธิ์...***...สโมสรโรตารีน่าน, นครน่าน, เวียงสา ร่วมกับสโมสร โรตารีกรุงเทพใต้มอบหนังสือให้โรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดน่าน ๑๐ โรงเรียน เพื่อส่งเสริมการอ่านหนังสือของเด็กนักเรียนโดย นย. ปราการ คูอาริยะ กุล สโมสรโรตารีนา่ นเป็นเจ้าภาพจัดโครงการทีเ่ รียกว่า English for Fun and Rotary Shares...***...โรแทเรียนจากหลายสโมสรร่วมต้อนรับคณะ RFE จาก TASMANIA ประเทศ AUSTRALIA โดยมีสโมสรโรตารีแม่จัน เป็นโต้โผ นย. ขวัญจิต เอี่ยวตระกูล นายกคนสวยต้องรับรองทั้งโรแท เรียนจากออสเตรเลียและจากต่างสโมสรในภาค เรียกว่าเต็มที่ เต็มใจ เท ใจให้โรตารีจริงๆ...***...รณรงค์ประชาสัมพันธ์การประชุมใหญ่ (District Conference) ของภาค ๓๓๖๐ วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคมอย่างเข้มข้น ก่อน หน้านี้ ผวล. อนุรกั ษ์ นภาวรรณ ประธานจัดงานบอกว่ามีของทีร่ ะลึกแจก ให้ผู้ที่ลงทะเบียนเข้าประชุมใหญ่เป็นครั้งแรก...ล่าสุดบอกว่าหากใครลง ทะเบียนล่วงหน้าจะได้ของขวัญเป็นถ้วยเซรามิคใบสวย นอกเหนือจาก ส่วนลดที่ลงทะเบียนเพียง ๑,๐๐๐ บาท เรียกว่าทั้งลดทั้งแจก เครือฟ้า ก็ลงทะเบียนแล้ว รับของขวัญมาเรียบร้อยแล้วด้วย สโมสรใดยังไม่ได้ลง ทะเบียนรีบด่วนนะคะ... เครือฟ้า


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.