DG-2009 -10 April

Page 1

๑๐ SongKran Festival 2010 สุโขสุขี ป๋าเวณี ปี๋ใหม่เมือง


คณะอนุกรรมการจัดทำ� สารผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641 บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย)

PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th ผู้ช่วยบรรณาธิการ อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Naruchol Arpornrat Mobile: 08-1603-8865 E-mail:naruchol.arpornrat@gmail.com ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com กองบรรณาธิการ ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail.com อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb.net อน.จินดา จรรญาศักดิ์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP. Chinda Chanyasak Mobile : 08-1883-7103 E-mail : chinda@vorrawut.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail.com อน.สุรินทร์ ชัยวีระไทย (นเรศวร) PP.Surin Chaiveerathai Mobile: 08-9858-8009 E-mail : prachamati_s@hotmail.com อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ (แม่สาย) PP.Apichai Keelawut Mobile: 08-1681-7988 E-mail: akeelawat@yahoo.com อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สุนิพิฐ คงเมือง (ล้านนาเชียงใหม่) Rtn.Sunipit Kongmuang Mobile: 08-1796-8447 E-mail : sunipit@gmail.com

April 2010 Rotary’s Magazine Month เดือนแห่งนิตยสารโรตารี บททดสอบสี่ แนวทาง เมื่อจะ คิดพูดหรือทำ� ควรสำ�นึก ต้องตรองตรึก พิเคราะห์ ให้เหมาะสม จะนำ�พา ให้ผู้อื่น เขาชื่นชม หรือทำ�ให้ ขื่นขม ทับถมกัน เป็นความจริง หรือไม่ ในทุกเรื่อง ความต่อเนื่อง ทุกอย่าง ต้องสร้างสรรค์ ยึดถือสัจธรรม เป็นสำ�คัญ ไม่เหหัน กลับกลอก หรือหลอกลวง อิงเที่ยงธรรม นำ�ประพฤติ ยึดถูกต้อง ตามทำ�นอง ครองธรรม ย้ำ�หนักหน่วง ไม่เลือกรัก มักชัง ใครทั้งปวง เกิดผลพวง ผลดี เป็นจีรัง นำ�ไมตรี มีน้ำ�ใจ ให้ความรัก สมานสมัคร เกลียวกลม สร้างสมหวัง ยึดใจเขา ใจเรา เอาจริงจัง ทั้งหน้าหลัง ตีสองหน้า อย่าพึงทำ� ดีทุกฝ่าย ผลลัพธ์ นับถ้วนหน้า เกิดคุณค่า ทุกชนชั้น วันยังค่ำ� ไม่เล่นพวก เล่นพรรค ไม่ชักนำ� ต้องตอกย้ำ� อย่าทำ�เป็น เห็นแก่ตัว บททดสอบสี่แนวทาง สร้างตระหนัก พึงรู้จัก ใคร่ครวญ ให้ถ้วนทั่ว รู้ผิดถูก ทุกสิ่งต้อง ไม่หมองมัว เพียงแค่ชั่ว ชีวิตหนึ่ง...พึงใส่ใจ

อน.พลวัฒน์ วรเจริญยิ่ง 7 ต.ค.52

1


“Myanmar Compassion Project”

*** อ่านรายงานสถานการณ์ตรงจากพื้นที่ ริมอ่าวเบงกอล สหภาพเมียนมาร์ ถึง ความช่วยเหลือจากโรตารี มีต่อผู้ประสบภัยพายุนาร์กิสถล่ม หลังจากสองปีผ่านไป ได้ที่ คอลัมน์ “ใจถึงใจ”

21

เมษายน ๒๕๕๓


RI.President’s Letter สารประธานโรตารีสากล จอห์น เคนนี่-เมษ.10 My fellow Rotarians, - มิตรโรแทเรียนที่รัก At any given time, every one of Rotary’s (แปลโดย – Translation by PP Pichet Ruchirat, RC Ratchaburi – April 1, 2010) pichet3330@gmail.com)

RI.President John Kenny Year 2009-10

33,000-plus clubs is carrying out some form of vital service in its local community and often internationally as well. Under Rotary’s structure, each club works autonomously within a broader network that supports and inspires our efforts. An important piece of that network is the Rotary World Magazine Press, made up of The Rotarian and 31 regional magazines in 25 languages.

ในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ นี้ จะมีสโมสร โรตารีแห่งใดแห่งหนึ่ง ในบรรดาสโมสรทั่วโลก มากกว่า 33,000 แห่ง กำ�ลังปฏิบัติงานบำ�เพ็ญ ประโยชน์ที่มีความสำ�คัญแบบใดแบบหนึ่ง อยู่ ในชุ ม ชนของตนและบ่ อ ยครั้ ง อยู่ ใ นชุ ม ชน ระหว่างประเทศด้วย ในโครงสร้างของโรตารี กำ�หนดให้สโมสรโรตารีแต่ละแห่ง มีการทำ�งาน อย่างเป็นอิสระ รวมอยู่ในเครือข่ายที่ให้การ สนับสนุนอย่างกว้างขวางและสร้างแรงจูงใจใน การทำ�งานแก่เรา สิ่งหนึ่งที่สำ�คัญในเครือข่าย ดังกล่าวนั้น คือ สำ�นักพิมพ์นิตยสารโรตารีโลก ซึ่งประกอบด้วยนิตยสาร The Rotarian และ นิตยสารประจำ�ภูมิภาคซึ่งพิมพ์ในภาษาต่างๆ 25 ภาษา ประจำ�ภูมภิ าคต่างๆ จำ�นวน 31 ฉบับ

That is why a subscription to either The Rotarian or one of the regional magazines is mandatory for all Rotary club members. These publications bring us news of other clubs and districts, offer ideas for our own projects, and help us feel a greater bond with our fellow Rotarians. And the RI-mandated content printed in each issue creates a direct connection between our headquarters in Evanston and every Rotarian, everywhere in the world.

นี่คือเหตุผลที่เป็นข้อบังคับสำ�หรับ สมาชิ ก สโมสรโรตารี ทุ ก คน กำ � หนดให้ เ ป็ น สมาชิกนิตยสาร The Rotarian หรือนิตยสาร ประจำ�ภูมิภาค ฉบับใดฉบับหนึ่ง สิ่งพิมพ์เหล่า นี้จะเสนอข่าวสโมสรแลละภาคต่างๆ นำ�เสนอ แนวคิดโครงการของเราเอง และช่วยให้เรามี ความผูกพันธ์กับมิตรโรแทเรียนของเรายิ่งขึ้น ในเนื้อหาที่บรรจุไว้ตามที่โรตารีสากลกำ�หนด ในนิตยสารแต่ละฉบับ จะสร้างความสัมพันธ์ โดยตรงระหว่างสำ�นักงานใหญ่โรตารีสากล ที่ เมืองเอฟแวนสตัน กับสมาชิกโรแทเรียนทุกคน ทุกหนแห่งในโลก

Your experience at this moment – of simply reading this message in a Rotary publication – is one that is common to every one of your fellow Rotarians, wherever they may be. RImandated content is consistent in every publication. It is a single, shared message – a single, shared experience. That is invaluable and irreplaceable.

สิ่งที่ท่านได้รับในขณะนี้ คือ การได้

เมษายน ๒๕๕๓

อ่านสารของผมฉบับนี้ในสิ่งพิมพ์โรตารี ซึ่ง เป็นสื่อกลางของมิตรโรแทเรียนทุกคนทุกหน แห่ ง เนื้ อ หาที่ โ รตารี กำ � หนดไว้ ใ ห้ พิ ม พ์ ใ น นิตยสารทุกฉบับ คือ สารนี้เพียงฉบับเดียว เท่านั้น ที่จะแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน อัน เป็นสิ่งที่ประเมินค่ามิได้และไร้สิ่งทดแทน

When I sit down to write a monthly president’s message, destined for the pages of all of Rotary’s magazines, I know that I have an opportunity that will come only once a month, for only the one year that I will be in office. It is an opportunity to speak directly, in my own words, to every one of our 1.2 million members. No matter how much I travel, or how often I speak, or how hard I work to bring my message to clubs and districts, nothing I can do will have the reach of the 400 words I am privileged to put on this page. Because I know that every Rotary magazine, everywhere in the world, carries forth that message just as I wrote it, or in its own local language.

ขณะที่ นั่ ง เขี ย นสารรายเดื อ นของ ประธานที่กำ�หนดให้พิมพ์ในนิตยสารโรตารีทุก ฉบับนี้ ผมจึงทราบดีว่า มีโอกาสนี้ เพียงเดือน ละครั้งเท่านั้น ตลอดหนึ่งปีที่ผมอยู่ในตำ�แหน่ง นี้ จึงเป็นโอกาสเดียวที่จะได้เขียนด้วยสำ�นวน ของผมเอง ถึ ง สมาชิ ก ทุ ก ท่ า นโดยตรง ใน จำ�นวนสมาชิกของเรา 1.2 ล้านคน ไม่ว่าผม จะเดินทางไกลเท่าใด หรือกล่าวปราศัยกี่ครั้ง ก็ตาม เป็นการยากมากที่ผมจะนำ�สารของผม ไปมอบแก่สโมสรและภาคต่างๆ ผมคงทำ�ได้ เพียงแค่เขียนได้เพียง 400 คำ�ใน 1 หน้าที่ผม ได้ รั บ มอบมานี้ เ ท่ า นั้ น แต่ ผ มทราบดี ว่ า นิตยสารโรตารีทุกฉบับ ทุกแห่งในโลก ย่อมจะ พิมพ์สารชองผมทีเ่ ขียนมานี้ หรือพิมพ์บทแปล สารนี้ ในสำ�นวนภาษาของเขาเอง

I value that opportunity tremendously, as I value the publications that make it possible. April is Magazine Month, a good time to consider how this important member benefit can help your club’s service efforts and to share the useful information in its pages with others.

ผมคิดว่าโอกาสนี้มีคุณค่าเป็นอย่าง มาก เช่นเดียวกับที่ผมให้คุณค่าแก่นิตยสารสิ่ง พิมพ์ในสิง่ ทีส่ ามารถทำ�ได้ เดือนเมษายนนี้ อัน เป็นเดือนแห่งนิตยสาร เป็นเวลาอันเหมาะสม สำ�หรับใช้พิจารณาผลประโยชน์ของสมาชิกที่ จะได้ รั บ สามารถมาช่ ว ยเหลื อ ในการทำ � กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ในสโมสรท่าน และ แบ่งปันข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่กันและกัน ต่อไปด้วย John Kenny - จอห์น เคนนี่ ประธานโรตารีสากล President, Rotary International

3 2


District Governor’s Letter

2 3

มวลมิตรโรแทเรียนโรตารีแอนน์ และ ท่านสุภาพบุรุษโรตารี ที่รักทุกท่าน เดือนเมษายน คือ เดือนแห่งนิตยสาร โรตารี ( Rotary’s Magazine Month) พวกเราชาว โรแทเรี ย นจะได้ ท ราบถึ ง กิ จ กรรม, ข่ า วสาร, นโยบายใหม่ๆ ของประธานโรตารีสากล และคณะ กรรมการที่จะมีการเปลี่ยนแปลง หรือย้ำ�เน้นให้ทำ� ต่อในปีต่อๆไป นิตยสารโรตารีได้ถูกส่งไปยังทุกๆ สโมสรโรตารีในโลกเป็นประจำ�ทุกเดือน ดิฉันอยาก จะขอให้พวกเราช่วยกันสนับสนุนการจัดทำ�และส่ง ภาพกิจกรรม หรือเรือ่ งราวทีอ่ ยากจะอวดชาวโรแท เรียนทัว่ โลกว่าภาค 3360 ของเรามีอะไรดีๆบ้างได้ที่ www.rotary.org.the rotarian งานอบรมนายกรับเลือกร่วม 3 ภาค ( Multi District PETS ) ที่ภาค 3340 ได้เป็นเจ้าภาพ จัดขึ้นที่โรงแรมพินนาเคิล แกรน รีสอร์ท แอนด์ สปา พัทยา จ.ชลบุรี ระหว่างวันที่ 27 – 28 เมษายน 2553 ก็ผ่านไปแล้ว ท่ามกลางบรรยากาศ พักผ่อนชายทะเลตะวันออก และมีนายกต่างภาค ประมาณ 200 สโมสรมาร่ ว มแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์กัน ทุกท่านจะได้ความรู้ความเข้าใจ ในหน้าที่และบทบาทก่อนการทำ�หน้าที่จริงในวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของ โรตารีสากล และนโยบายรวมทั้งเป้าหมายของภาค 3360 โดยการนำ�ของผู้ว่าการภาค นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ตามอรรถพจน์ที่ว่า “Building Communities Bridging Continents” หรือ “ชุมชน สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก” เหลือเวลาในปีบริหารของดิฉันอีกไม่ถึง 3 เดื อ นดั ง นั้ น ทุ ก สโมสรตอนนี้ ก็ พ ยายามสรุ ป กิ จ กรรมและเป้ า หมายของสโมสร รวมทั้ ง การ แข่งขันสู่ความเป็นหนึ่งของภาค 3360 นำ�ไปสู่ รางวัลดีเด่นของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารี สากล ปีบริหาร 2552 -53 นี้ การบริจาคให้มูลนิธิ โรตารีในปีนี้ แต่ละสโมสรก็ทยอยกันนำ�เงินส่งตาม ที่ แ จ้ ง เจตนารมณ์ ไ ว้ ต อนที่ ดิ ฉั นไปเยี่ ย มสโมสร อย่างเป็นทางการ ในนามของภาค 3360 โรตารี สากลนี้ ดิฉันต้องขอขอบคุณท่านนายกสโมสร, ท่านผู้ช่วยผู้ว่าการภาค ท่านประธานมูลนิธิโรตารี ท่านอน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ และมวลมิตรโรแท เรียนทุกท่านที่ช่วยกันผลักดันให้ยอดบริจาคของ ภาคเราในปีนี้จะเกินเป้าหมายไปสู่ 100,000 $ USD. ซึ่งเกิดจากการร่วมใจกันบริจาคในโครงการ EREY คนละ $100 USD. เพื่อการนำ�ไปสู่โครงการช่วย เหลือสังคมและผู้ด้อยโอกาสต่อไป โครงการ “เปิดสวิทซ์หัวใจ โรตารีสร้าง ศูนย์ผ่าตัดหัวใจ ถวายในหลวงฯ” ก็ดำ�เนินการไป อย่างสวยงามถึงแม้ว่าจะเป็นโครงการ 5 ปี แต่แค่ ยังไม่ถึงปีนั้นยอดบริจาคเพื่อการกุศลนี้ รวมถึง โครงการconcert 8 จังหวัดภาคเหนือ เพื่อรณรงค์ หาทุนก็ประสบความสำ�เร็จอย่างงดงามในทุกแห่ง ทุกนัด ดิฉันก็ต้องขอขอบคุณ และเป็นกำ�ลังใจให้ ท่านประธานโครงการ ท่านอน.พญ.วรรณจันทร์ พิ ม พ์ พิ ไ ลที่ ท่ า นอุ ทิ ศ แรงกายแรงใจ ผลั ก ดั น โครงการนี้เป็นอย่างมาก และดิฉันอยากจะขอให้ ทุกๆสโมสรในภาคกรุณาสนับสนุนกิจกรรมนี้ด้วย เดือนหน้านี้ก็จะเป็นเดือนของการจัด

อบรมคณะกรรมการบริหารสโมสรชุดใหม่ในปีบริ หาร 2553 – 2554 พร้อมทั้งงานสถาปนาผู้ว่าการ ภาคคนใหม่ประจำ�ปีบริหาร 2553 – 2554 ท่านผู้ ว่าการภาค นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ก็ขอให้ เรามาร่ ว มกั น ต้ อ นรั บ และให้ กำ � ลั งใจแก่ ท่ า นผู้ ว่าการภาคคนใหม่โดยพร้อมเพรียงกันด้วย อนาคตโรตารีอยู่ในมือท่าน (แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ)ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารี สากล ปี 2552-2553 Dear Rotarians, Rotary Anns, and Gentlemen April is the Rotary’s Magazine Month. Rotarians will be informed about the upcoming events, news, Rotary International policies, and the new set of district committee. Rotary magazine has been sent to every clubs of Rotary globally and monthly. I would ask for fellow Rotarians to submit pictures of activities we have implemented at www.rotary.org.the rotarian to show our district 3360 spirit. Multi District PETS, hosted by district 3340 at Pinnacle Grand Resort and Spa at Pattaya, Chonburi between March 27 – 28th, 2010, was organized in the relaxed atmosphere of Eastern sea breeze. There were approximately 200 new Rotary Club presidents participating in the event. The participants were informed about the role as the Club presidents before their actual duty would officially commence on July 1st, 2010. Our new 3360 district governor is DGE.Dr. Veerachai Chumreundararasmi, and the new slogan will be “Building Communities Bridging Continents.” My duty as a district governor will last less than three months from this point. Every clubs should make a summary on their activities and club objectives and push to be rewarded and recognized as the excellent 3360 Rotary club, 2009 – 2010. The donation to Rotary foundation by various Rotary Clubs has been very promising. In the name of district 3360 RI, I would like to say thank you to Rotary Club Presidents, Assistant District Governors, PP.Surasak Pluksiganon, and fellow Rotarians that contribute to the total donation reaching $100,000. The amount is reached by the spirit of everybody to donate $100 from his or her disposable income into a fund contributing to satisfy social needs as well as those in need of life opportunities. The project to build heart surgery center commemorating the King has been in a good shape. Even though the project will last 5 years, the total donation to the project has currently exceeded our expectation, and fundraising concert in Thailand’s eight Northern provinces has been very successful. Our district is grateful to the commitment of Dr. Warnnachan Pimpilai who is devoting a great deal of her ambition and energy in this project. I hope to see a support from every Rotary Clubs toward this project. The 2010-2011 District Assembly and the installation ceremony of 2010 - 2011 District Governor, Dr. Veerachai Chumreundararasamee, will be in the next month. Everybody should warmly welcome our new year District Governor.

ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓

เมษายน ๒๕๕๓


CONTENT

สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๑๐ เดือนเมษ

สารบรรณ

2. สารประธานโรตารีสากล 3. สารผู้ว่าการภาคฯ 5. บอกอ บอกกล่าว 6-7 ใจถึงใจ 8 ปฎิทินภาค 9. สารเลขาฯภาค 10-11 สถิติการเข้าประชุม 12-13 DGN’s Corner 14-15 คุยกันที่ขอบเวที

เมษายน ๒๕๕๓

มิตรภาพเป็นหัวใจสำ�คัญของการขับเคลื่อนองค์กร บรรยากาศการเซ็นสัญญาคู่มิตรปีที่ 9 ระหว่าง สโมสรเชียงใหม่ถิ่นไท แม่สาย ที่ โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว เชียงใหม่ วันที่ 1 พ 16 สารสนธิ 17-19 เสียงนกเสียงกา 20-23 Behind the Scene 24-25 At a Glance 26-29 บ้านเลขที่3360R.I. 30-33 1 ใน 100 34-35 Youth Corner 36-37 เอกพาแอ่ว 38 Z00m inside 3360

5 4


Editor’s Note

“วาทยากร วงประสานอักษร”

ษายน ๒๕๕๓

รโรตารี ทยงาม กับ สโมสรโรตารี พฤษภาคม 2552 39 เล่าขานตำ�นาน 40-43 รวมภาพกิจกรรม 44 มุม สบาย สบาย 45 DG.Activities ปกหลัง แทนคำ�นับพัน

ถ้าวงดนตรีมีวาทยากร เป็น ผู้คอยควบคุมวงและการ บรรเลงให้มีการสอดประสานกันอย่าง ไพเราะเพราะพริ้ง พร้อมๆ กับการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง ให้เป็นไปตาม ที่คีตกวีได้ตั้งใจหรือทำ�การตีความ ห้วงจังหวะทำ�นองเสียใหม่ ให้ได้ความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป ตามแต่จินตนาการ เปรียบได้กับ บรรณาธิการสารฯ ที่คอยดูแลให้เหล่า คอลั ม นิ ส ต์ ได้ เ รี ย งร้ อ ยถ้ อ ยคำ � พร้ อ มจั ด สรรรู ป ภาพให้ กลมกลืนกับเนื้อหาสาระที่ต้องการนำ�เสนอ บทเพลงของโรตารี เป็ น บทเพลงแห่ ง มิ ต รภาพ บทเพลงของการเสียสละและการบริการผู้อื่นเหนือตน ที่ได้มี การบรรเลงซ้ำ�ๆ อย่างต่อเนื่องมากว่าหนึ่งร้อยปี ไม่ว่าบรรณาธิการแต่ละท่าน จะนำ�เสนอในรูปแบบ ใด หรือในท่วงทำ�นองที่แตกต่างกันอย่างไร อาจจะเป็นเพียง แผ่นพับ สิ่งพิมพ์สองสี สามสี หรือสี่สี บทเพลงที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความเมตตากรุ ณ า ก็ ยั ง คง ไพเราะจับใจ ไม่ว่าจะบรรเลงเมื่อไหร่ หรือโดยใคร

อน.วาณิช โยธาวุธ สโมสรโรตารีแม่สาย

ไม่มีอะไรในโลกนี้ที่ได้มาเปล่าๆ สารฯที่น่าอ่าน น่าดู น่าจับต้อง เกิดจากการคัดสรร เนื้อหาในการนำ�เสนอโดย บรรณาธิการ ฝีไม้ลายมือของนัก เขียน จะช่วยให้การอ่านสนุกสนานรื่นรมย์มากยิ่งขึ้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น สาระที่จะนำ�มาเสนอล้วนเกิดจาก กิจกรรมของมวลมิตรโรแทเรี่ยนทั้งหลายนั่นเอง ซึ่งถือได้ว่า เป็นส่วนสำ�คัญยิ่งของการทำ�สารฯ และที่ จ ะลื ม เสี ย ไม่ ไ ด้ ก็ คื อ ผู้ ที่ จ ะตั ด สิ นใจให้ ทุ น สนับสนุนรูปแบบในการนำ�เสนอสารฯ ซึ่งก็คือ ผู้ว่าการภาค แต่ละท่านนั่นเอง บอกอ จึงขอใช้โอกาสนี้กล่าวขอบคุณแทน มวลมิตรมายัง ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ จะเห็นได้ว่าสารฯ เล่มหนึ่งๆ กว่าจะสามารถนำ�เสนอ สู่สายตาทุกท่าน ในแต่ละเดือนได้นั้น ต้องได้รับความร่วมมือ และเสียสละผู้ที่เกี่ยวข้องจากทุกฝ่าย ในฐานะผู้ควบคุมวงประสานอักษรนี้ ขอขอบคุณทุก ท่านมาอีกครั้งหนึ่ง บอกอ ผู้รั้งตำ�แหน่ง วาทยากร วงประสานอักษรแห่ง ๓๓๖๐ โรตารีสากล ด้วย

4 5

เมษายน ๒๕๕๓


ใจถึงใจ

Rtn.J.T.Waring Rotary Club of NewPort Irvine, CA.

LIVE FROM MYANMAR – OUR INITIAL EXPERIENCES ON SPRING 2010 ROTARY ORPHANAGES PROJECT

รายงานตรงจากพื้นที่ ประสบการณ์ของพวกเรา ต้นฤดูใบไม้ผลิ 2010 โครงการเด็กกำ�พร้าของโรตารี สหภาพเมียนมาร์ วันพฤหัสบดี ที่ ๑๘ เดือนเมษายน ผมอยู่ ท่ า มกลางวงล้ อ มของเด็ ก ๆ ประมาณกว่าหนึ่งโหล เด็กๆทุกคนต่างรื้อฟื้น ประสบการณ์ ที่เคยตกอยู่ท่ามกลางพายุไต้ฝุ่น นาร์กีส ให้พวกเราได้รับรู้ ความทรงจำ�อันน่า สะพรึงกลัว สะท้อนออกมาจากแววตาของ เด็กๆ เหล่านั้น โดยภัยพิบัติจากพายุนาร์กิสที่ แสนโหดร้ายนี้ได้คร่าชีวิต เฉพาะชาวพม่าไป ถึง ๑๓๘,๐๐๐ คน เด็กๆ กลุ่มนี้ ได้ผ่านประสบการณ์ แห่งความเป็นความตาย ท่ามกลางกระแสลม แรงจัดของลมของพายุที่พัดกว่า ๒๐๐ กม.ต่อ ชั่วโมง เป็นช่วงเวลากว่า ๒๔ ชั่วโมงของชีวิต ที่แขวนอยู่บนเส้นด้าย เด็กๆทุกคนได้ประสบ กับความสูญเสียทั้งญาติสนิทมิตรสหาย ตลอด จนบ้านเรือน รวมไปถึงหมู่บ้านที่เคยอยู่อาศัย แทบทุกคนได้พลัดพรากจากบุคคลผู้เป็นที่รัก ไม่คนใดก็คนหนึ่ง หรืออาจจะทั้งหมด เด็กๆ เหล่านี้ต้องอาศัย อยู่ในวัด หรือ สถานเลี้ยงเด็กกำ�พร้า ที่ให้ความอุปการะ ช่วยเหลืออย่างจำ�กัดจำ�เขี่ย เมื่อทุกคนทราบถึงความช่วยเหลือ

เมษายน ๒๕๕๓

จากโรตารีที่จะมาถึงพื้นที่ พวกเด็กๆ ต่างรู้สึก ดีใจ และพร้อมที่จะได้บอกเล่าถึงประสบการณ์ อันสุดแสนจะเลวร้ายที่ไม่น่าจดจำ� เห็นได้จาก สีหน้าและแววตา ถึงแม้ว่าเวลาจะผ่านมากว่า สองปีแล้ว ทุกคนมีเรือ่ งราวทีอ่ ยากจะเล่าถึงการ ต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของชีวิต แต่เรือ่ งของเด็กน้อยอายุ สิบเอ็ดขวบ ที่ สู ญ เสี ย ทุ ก คนในครอบครั ว จากพายุ นี้ สะเทือนใจมากที่สุด เด็กน้อยรำ�ลึกถึงช่วงเวลาที่พายุเริ่ม ตั้งเค้าของบ่ายของวันที่ ๓ เดือนพฤษภาคม ว่ า กำ � ลั ง นั่ ง เล่ น อยู่ บ นบ้ า นของลุ ง บริ เ วณ ชานเมือง ลาบุตตา ทางทิศตะวันตกตะเฉียงใต้ ริมอ่าวเบงกอล ซึง่ เป็นบริเวณหน้าด่านทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากพายุลูกนี้อย่างจัง เด็กๆเล่าถึงแรงลมที่ค่อยๆเพิ่มขึ้น แรงกรรโชกทำ �ให้ บ้ า นไหวโยกเขย่ าไปมา กระแสลมพัดแรงขึ้น และแรงขึ้นเรื่อยๆ ใน ขณะที่ ระดับน้ำ�ก็เริ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ในที่สุดทุก คนในบ้านตัดสินใจที่จะอพยพ แต่สายไปเสียแล้วบ้านทัง้ หลังล้มครืน ลงไปในสายน้ำ�ที่ขุ่นคลั่ก และกระแสลมแรงจัด ท่ามกลางความมืดมิดทุกคนถูกสายน้�ำ ทีเ่ ต็มไป ด้วยโคลนตมและซากสิ่งก่อสร้าง พัดพาไป คนละทิศคนละทาง เด็กน้อยซึ่งอายุเพียงเก้า ขวบในขณะนัน ้ จมหายภายใต้กระแสน้ำ�ทีเ่ ชีย่ ว

6 7


กราก เขาพยายามอย่างสุดแรงที่จะโผล่ขึ้นมาเพื่อสูดอากาศ ประจวบเหมาะซากควายลอยมาพอดี จึงได้ใช้เป็นที่พยุงตัว แต่ในที่สุดก็หมดสติไป หลังจากโดน ไม่รู้ว่าเป็นขอนไม้หรือ ก้อนหินกระแทกเข้าที่หัว เช้าวันต่อมาจึงพบตัวเองนอนอยู่ บนชายหาด ไม่เห็นใคร แม้แต่ซากควายที่ทำ�ให้รอดชีวิต. การดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดของผู้คนนับพัน นับ หมื่น เป็นเรื่องราวที่เขาเหล่านั้นต่างได้เจอะได้เจอ ในส่วนของโครงการที่ โรตารี ได้ให้การสนับสนุน ปีนี้เป็นปีที่ ๖ และเป็นปีที่ ๔ ของโครงการน้ำ�สะอาดสำ�หรับ สถานเลี้ยงเด็กกำ�พร้า ถ้ารวมการเดินทางมาพม่าของผม ครั้งนี้ก็เป็นครั้งที่ ๒๖ แล้ว โดยในปีที่ผ่านมาเราพบว่า วัดและสถานเลี้ยงเด็ก กำ�พร้าหลายแห่ง ได้ทำ�การรับเด็กในอุปการะจากผลกระทบ ของภัยพิบัติจากพายุนาร์กิส สถานที่ๆ หลายแห่งอยู่ห่าง ไกลและการคมนาคมเข้าถึงถูกตัดขาด ตลอดจนข้อจำ�กัด ของการอนุญาตเข้าพืน ้ ทีจ่ ากรัฐบาลทหาร ซึง่ ต้องมีเป็นการ เฉพาะ จึงเป็นความยากลำ�บากที่จะทำ�การสำ�รวจเพื่อหา ข้อมูลถึงแหล่งและสถานที่ ทีม่ คี วามต้องการช่วยเหลืออย่าง เร่งด่วนอย่างแท้จริง ด้วยความช่วยเหลือของเครือข่ายทีมงานชาวพม่า ทีล่ งสำ�รวจพืน ้ ที่ ทำ�ให้สามารถ พบสถานที่ ทีม่ คี วามจำ�เป็น เร่งด่วน เหมาะสมกับชุมชน และกับงบประมาณทีแ่ สนจำ�กัด จากโรตารีในปีที่ผ่านมา ในสัปดาห์ที่แล้ว ทีมงานทุกคนรวมทั้งผมได้ลง สำ�รวจพื้นที่ บริเวณที่ราบลุ่มที่ได้ผลกระทบจากภัยพิบัติ นาร์กิส เป็นเวลาทั้งสิ้น ๔ วัน และแน่นอนบนหนทางที่ แสนจะทุรกันดาร ซึ่งในท้ายที่สุดเราก็ได้คัดเลือก สถานที่ ทั้งหมดรวมทั้งสิ้น ๑๒ โครงการ โดยมีทั้งสถานเลี้ยงเด็ก กำ�พร้า และ วัดที่ทำ�การอุปการะเด็กๆ ที ม งานครบชุ ด ของเราประกอบด้ ว ย ผู้ ดู แ ล โครงการ วิศวกร ผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้คุมงาน ช่างภาพของ โครงการ พร้อมคนขับรถที่เป็นล่ามในตัวและผม โดยมียาน พาหนะเป็นรถแวนเปิดประทุน ผมพร้อมทีมงาน ได้ตระเวนไปตามเมืองต่างๆ ได้แก่ เมือง Myaungmya, Pyapon, Bogale, และ Maubin พวกเราได้ พิ จ ารณาถึ ง ความเหมาะสม ความ จำ�เป็นเร่งด่วน ความเป็นไปได้ของการก่อสร้าง และผลลัพธ์ สูงสุดที่ชุมชนจะได้รับจากโครงการร่วมกัน โดยได้ข้อสรุปของโครงการเร่งด่วนที่จะสามารถ ทำ�การก่อสร้างภายในสิบวันนับจากนี้คือ วัด Pizawtayone , สถานเลีย้ งเด็กกำ�พร้าYayatwin Yaykan(Baptist Christian) ที่ Myaungmya, และที่วัด Tharthang Linyongchit, Pyapon ทั้งสามแห่งได้ทำ�การรับอุปการะเฉพาะเด็กๆ ที่ผู้ ปกครองเสียชีวิตทั้งหมดจากภัยพิบัตินาร์กิส และในฐานะโรแทเรียน ผมได้ให้คำ�สัญญากับชาว พม่าที่ได้รับความทุกข์ยากเหล่านี้ว่า ภายในปีนี้ ระบบน้ำ� สะอาดพร้อมอุปกรณ์ครบชุดรวมทั้งตัวอาคาร จะทยอย ทำ�การก่อสร้างและส่งมอบให้กับแต่ละแห่ง ตามสถานที่ ต่างๆ ของพื้นที่ที่ได้ประสบภัยพิบัติจากพายุนาร์กิสในครั้ง นี้ ถึงแม้จะเป็นบริเวณที่ยากลำ�บากอย่างที่สุดที่จะเข้าถึง ของสหภาพเมียนมาร์

7 6

แต่กงล้อของ โรตารี จะหมุนเข้าถึงที่เหล่านี้เพื่อ ให้การบริการ และให้ความช่วยเหลืออย่างแน่นอน ยังไม่นับถึง กล่องยังชีพจำ�นวน 1740 ชุดที่ถูกส่ง มาอย่างฉับพลันหลังจากเกิดภัยพิบัตินาร์กิสได้ไม่นาน และ ได้ชว่ ยครอบครัวจำ�นวนมากได้อยูร่ อดจากภัยพิบตั มิ าจนถึง ทุกวันนี้ ผมคาดว่าการก่อสร้างที่เหลือจะเริ่มดำ�เนินการได้ ก่อนวันที่ ๒๖ เมษานี้ โดยผมจะอยู่อำ�นวยการดูแลตลอด เดือนพฤษภาคม ท้ายนี้อยากจะเชิญชวนให้เพื่อนๆ จากสโมสรฯ แม่สาย ถ้ามีโอกาสได้กรุณามาร่วมเยี่ยมชม และเป็นกำ�ลัง ใจกับโครงการที่สำ�คัญนี้ เพราะทางแม่สายได้มีส่วนร่วม ช่วยเหลือ ประสานงานมาแต่ต้น และหวังว่าจะได้มีโอกาส พบกันในเร็ววัน ที่กรุงย่างกุ้ง โปรดรอติดตาม รายงานตรงจากพื้นที่ Best to all, J.T. Warring ปล. คงจะได้ทราบข่าวกันแล้วว่า ช่วงบ่ายของวัน สงกรานต์ ได้ เ กิ ด ระเบิ ด ขึ้ น บริ เ วณจั ด งานเฉลิ ม ฉลอง เทศกาลนี้ ใกล้ๆกับทะเลสาบ ตรงข้ามโรงแรมยางกอน มี ผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ 9 คน และบาดเจ็บอีกกว่าสามสิบ คน โชคดีทีเ่ ราไม่ได้อยูใ่ นบริเวณนัน ้ แต่บา่ ยวันพุธก่อนหน้า นั้นหนึ่งวัน พวกเราได้มาร่วมเฉลิมฉลอง และเดินเล่นใน บริเวณนั้นเหมือนกัน ประชาชนผู้บริสุทธิ์ได้ตกเป็นเยื่อของ ระเบิด ที่มีจุดประสงค์ที่จะประท้วงการเลือกตั้งครั้งใหม่ที่จะ มีการจัดขึ้นในพม่าภายในปีนี้ ขอจบรายงานเพียงแค่นี้

จดหมายรายงานตรงจากกรุงย่างกุง้ สหภาพเมียนมาร์ ของเพื่อนโรแทเรียน เจ ที วอร์ริ่ง ชาวอเมริกัน สมาชิกของ สโมสร NewPort Irvine CA. USA. โรแทเรียนท่านนี้ได้ร่วมโครงการกับ สโมสรฯแม่สาย มากว่าหกปีแล้ว สำ�หรับโครงการน้ำ�สะอาด ในสถานเลี้ยงเด็ก กำ�พร้า โดยเริม่ จากเหตุการณ์ทสึนามิ ทางภาคใต้ของประเทศไทย ต่อเนื่องจนถึง พายุนาร์กิส ที่ถล่มที่ราบลุ่มริมอ่าวเบงกอล อย่าง จังและเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุด ประชาชนล้ม ตายมากที่สุด และได้รับความช่วยเหลือน้อยมากจากปัญหา ทางการเมือง ทำ�ให้ปฎิบัติการทางมนุษยธรรมจากทั่วโลกเข้าถึง อย่างยากลำ�บาก แต่สมาชิกท่านนี้ ก็เกาะติดสถานการณ์เดินทางเข้า ออกตั้งแต่ช่วงเกิดเหตุการณ์ใหม่ๆ (นับได้ถึง ๒๖ ครั้ง ในรอบ หกปี) และระดมทุนให้ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง มาจนถึงทุก วันนี้.... บอกอ

เมษายน ๒๕๕๓


ปฏิทินภาค

การประชุมอบรมเจ้าหน้าที่ สโมสร (District Assembly)

ภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-2554 15-16 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมเซ็น ทาราดวงตะวัน จ.เชียงใหม่

อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

ภาค 3360 โรตารีสากล จะได้ จัดการประชุมอบรมเจ้าหน้าที่ และคณะ กรรมการบริหารสโมสร โดย ผชภ.วีรพงศ์ โตแสงชัย จากสโมสรเชียงใหม่ เป็น ประธานจัดการประชุม ค่าลงทะเบียน โรแทเรียนท่านละ 999 บาท และคู่ครอง 799 บาท โดยขอ เชิญมวลมิตรโรแทเรียน ลงทะเบียนและชำ�ระเงินล่วงหน้า ภายใน วันที่ 5 พฤษภาคม 2553 จะได้รับเหรียญ องค์พระธาตุดอยสุเทพเป็นที่ระลึก นอกจากการอบรมให้ความรู้แก่ เจ้าหน้าที่สโมสรแล้ว จะมีการปาฐกถา พิเศษของ ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล อดีต ประธานโรตารีสากล สำ�หรับปี 2553-2556 ภาค 3360 ได้รับคัดเลือกเป็น “หนึ่งใน ร้อยภาคแรกของโลก” ในโครงการ Future Vision Plan (FVP) ซึ่งจำ�เป็นที่ทุกสโมสร ต้องศึกษาวิธีการ ดำ�เนินโครงการบำ�เพ็ญ ประโยชน์ การขอทุนสมทบ ที่มีการ เปลี่ยนแปลง และจะมีการลงนาม MOU ระหว่างสโมสร (ผู้ลงนาม 3 คน ประกอบ ด้วย นายกสโมสร นายกรับเลือก และ ประธานมูลนิธีสโมสร ) กับภาค (ใน ระหว่างการประชุม) เพื่อให้มีคุณสมบัติ ครบตามข้อบังคับ ของมูลนิธิโรตารี และ ในปีนี้ โรตารีสากล และภาค ได้ให้ความ สำ�คัญของคู่ครอง โรตารี ที่จะมีบทบาท ส่งเสริมมิตรภาพและงานในโรตารี จึงได้ จัดให้มีโปรแกรมพิเศษ สำ�หรับคู่ครอง โรตารี ระหว่างการประชุมครั้งนี้

President Salute ราตรีดอกไม้บาน

วันที่ 29 พฤษภาคม 2553 ณ บ้านสวนโป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ของ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ

ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ จะจัด

เมษายน ๒๕๕๓

งานเลี้ยงขอบคุณ อดีตผู้ว่าการภาค ผู้ ว่าการภาครับเลือก ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค นายกสโมสร และคณะกรรมการภาค 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2552-2553 และผู้ ช่วยเหลืองานในปีเดียวกัน เพื่อเป็นการ แสดงความขอบคุณ โดย อน.จันทนี เทียนวิจิตร เป็นประธานจัดงาน โดยใช้ชื่อ งานว่า “Blooming Blossom Night “ หรือ ราตรีดอกไม้บาน เน้นการแต่งกาย ด้วยเสื้อผ้า เครื่องประดับ ที่สดสวยด้วย ลายดอกไม้นานาพันธุ์ และมีการประกวด การแต่งกายงามด้วย ผู้ร่วมงาน จะได้รับ การ์ดเชิญ โดยตรง จาก ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ในงาน จะมีการมอบถ้วย จำ�ลอง จำ�นวน 8 ถ้วย พร้อมประกาศ เกียรติคุณ และโล่ขอบคุณ ตลอดจนมีการ ถ่ายภาพหมู่ พาโนรามา เพื่อเป็นที่ระลึก สำ�หรับปีบริหารของ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็ง เลิศ จึงขอประชาสัมพันธ์มาล่วงหน้า ณ โอกาสนี้

การสถาปนาคณะกรรมการ บริหารสโมสรในจังหวัด เชียงใหม่ วันเสาร์ที่ 26 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส

ด้วยสโมสรโรตารีในจังหวัด เชียงใหม่ จะจัดงานสถาปนาคณะ กรรมการบริหารสโมสร ในค่ำ�ของวันที่ 26 มิถุนายน 2553 สโมสรโรตารีเชียงใหม่แอร์พอร์ท เป็นแกนนำ� โดย อน.นพ.สำ�เริง รางแดง ประธานจัดงาน ขอเรียนเชิญมวลมิตร โรแทเรียนทุกท่าน ร่วมงานสถานปนาค ณะกรรมการบริหาร และแสดงความยินดี เพื่อเป็นการให้กำ�ลังใจแก่นายกสโมสรและ คณะกรรมการบริหารชุดใหม่ ปีบริหาร 2553-2554 โดยพร้อมเพรียงกัน โดยลง ทะเบียนท่านละ 500 บาท จึงขอ ประชาสัมพันธ์ล่วงหน้ามา ณ โอกาสนี้

9 8


District’s Secretary สวัสดีปีใหม่ไทยมิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน เดือนเมษายนของไทยเราถือว่าเป็นเดือนของการเปลี่ยนจักรราศี จะ เห็นได้จากการประกาศสงกรานต์ในแต่ละปี และมีการเสี่ยงทายว่า ในปีที่จะมา ถึงนี้ จะมีความอุดมสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด ในเดือนนี้จึงมีวันหยุดให้คนไทย เรามีเวลาว่างสำ�หรับครอบครัว เพื่อจะได้เดินทางไปทำ�พิธีรดน้ำ�ดำ�หัวบุพการี ญาติผู้ใหญ่ ผู้ที่เราเคารพนับถือ ซึ่งถือเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ของเรา สำ�หรับเราชาวโรแทเรียนก็มีพิธีรดน้ำ�ดำ�หัวในแต่ละสโมสรด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สร้างมิตรภาพทั้งภายในสโมสรและต่างสโมสรเป็นอย่างดีค่ะ ในส่วนของโรตารีเดือนเมษายนเป็นเดือนแห่งนิตยสารโรตารี ซึ่งเป็น นิตยสารที่ให้ความรู้ และนำ�ข่าวสารใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อมิตร โรแทเรียนทุกๆท่าน เพื่อให้เราทันต่อเหตุการณ์ต่างๆในโลกของโรตารี เช่น การแจ้งข่าวสารของอัตราการแลกเปลี่ยนเงินในการส่งเงินค่าบำ�รุงโรตารีสากล เป็นต้น ดิฉันต้องของขอบคุณสโมสรโรตารีที่ได้ส่งเงินค่าบำ�รุงโรตารี สากลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ก็ยังมีอีกบางสโมสรที่ยังไม่ได้ส่งเงินค่าบำ�รุงโรตา รีสากลในรอบครึ่งปีหลังนี้นะคะ เพื่อไม่ให้มีปัญหาในการค้างจ่ายที่จะผูกพันไป ถึงปีบริหารที่จะมาถึง ดิฉันจึงขอเชิญชวนสโมสรที่ยังไม่ส่งเงิน ให้ทำ�การส่งเงิน ไปยังศูนย์โรตารีแห่งประเทศไทย พร้อมทั้งส่งแบบฟอร์ม SAR (SEMIANNUAL REPORT FORM ) ไปด้วยนะคะ และส่งสำ�เนามาที่สำ�นักงานผู้ว่าการภาคด้วย อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ นะคะ ขอบคุณสำ�หรับไมตรีจิตค่ะ อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553 สโมสรโรตารีช้างเผือก Happy Thai New Year’s to all fellow Rotarians. April marks the Thai transition into the new year, announced by the annual Song Kran Festival each year, during which elders predict the abundance and plentitude of harvest for the approaching year. This is a time spent with family members, visiting and paying respect to elders, traveling to temples and other religious venues, a charming and unique tradition of our country. Rotary clubs in Thailand each held a ceremony whereby members could pay respect to elders within their clubs, an activity that has proven to strengthen relations and forge bonds between fellow club members and members of other clubs. In terms of Rotary, April is the month of Rotary Magazine, which provides readers with much educational material and news, allowing fellow Rotarians to be updated about current affairs on a global level, such as the exchange rate for clubs wishing to submit their Rotary International due. I would like to thank all clubs that have submitted their Rotary International due. ; however, there are a few clubs remaining that have yet to send in their fees for the second half of this year. In order to prevent these fees from passing over to the upcoming year, I would like to invite the remaining clubs to please send in your fees - along with the SAR (SEMIANNUAL REPORT FORM) to the Rotary Center Thailand, before sending a copy to the office of the District Governor. Thank you for your kind cooperation. P.P. Siriluck Chaiyawong District 3360 Secretary Rotary International 2009-2010

8 9

เมษายน ๒๕๕๓


สถิติการเข้าประชุม เรียน ท่านนายกสโมสรโรตารีภาค 3360 ที่รักทุกท่าน การส่งคะแนนการประชุมในเดือนนี้ สโมสรทีส่ ง่ เร็วมาเป็นอันดับ ที่ 1 คือ สโมสรโรตารีปัว และสโมสรโรตารีดอยพระบาท ได้รับเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 สโมสรที่ส่งมาเร็วเป็นอันดับที่ 2 คือ สโมสรโรตารีเชียงรายเหนือ ได้รับเมื่อวันที่ 31 เมษายน 2553 สโมสรโรตารีที่ส่งเร็วเป็นอันดับที่ 3 คือ สโมสร โรตารีวังจันทน์ ได้รับเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2553

ส่วนสโมสรโรตารีทีม่ คี ะแนนการประชุมมากทีส่ ดุ เป็นอันดับ1 คือ

รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนกุมภาพันธ์ ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน % อันดับ หมายเหตุ 1 16274 Kamphaengphet กำ�แพงเพชร 16 45 *ค่าเฉลี่ย 2 25135 Chomtong Chiangmai จอมทอง 10 40 *ค่าเฉลี่ย 3 23182 Chamadhevi จามะเทวี 10 40 *ค่าเฉลี่ย 4 23201 Changpuak Chiang Mai ช้างเผือกเชียงใหม่ 21 76.20 5 16262 Chiang Mai เชียงใหม่ 57 49.13 6 60808 Chiangmai Doi Suthep ดอยสุเทพ 3 50 7 16264 Chiangmai West เชียงใหม่ตะวันตก 29 54 8 26048 Chiangmai East เชียงใหม่ตะวันออก 15 65 9 29283 Chiang Mai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 32 78.50 10 51245 Chiangmai South เชียงใหม่ใต้ 13 45 *ค่าเฉลี่ย 11 16263 Chiang Mai North เชียงใหม่เหนือ 30 84.29 8 12 50481 Chiangmai Phuping เชียงใหม่ภูพิงค์ 15 40 *ค่าเฉลี่ย 13 53170 Chiang-Mai Airport เชียงใหม่แอร์พอร์ต 12 40 *ค่าเฉลี่ย 14 16261 Chiangkam เชียงคำ� 23 84.35 7 15 16265 Chiang Rai เชียงราย 29 100 1 16 52387 Chiang Rai North เชียงรายเหนือ 20 85.71 6 17 28751 Chiang Saen เชียงแสน 15 90.67 4 18 57289 Doiprabaht ดอยพระบาท 22 71.60 19 16312 Tak ตาก 10 63.20 20 70997 Thoen Downtown เถินดาวน์ทาวน์ 16 60 21 50326 Thawangpha ท่าวังผา 10 80 10 22 23050 Nan น่าน 43 73 23 57910 Nakron Nan นครน่าน 10 55 24 64215 Nakorn Thoeng นครเทิง 17 45.92 25 65762 Nakron Hariphunchai นครหริภุญชัย 10 50 26 27553 Naresuan นเรศวร 33 40 *ค่าเฉลี่ย 27 22008 Pua ปัว 24 100 1 28 21495 Fang ฝาง 18 40 *ค่าเฉลี่ย 29 16291 Payao พะเยา 10 62 30 16292 Phan พาน 25 62.40

เมษายน ๒๕๕๓

11 10


สโมสรโรตารีแชมป์ของเรา สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ สโมสรโรตารีปัว สโมสรโรตารีเชียงราย และ สโมสรโรตารีลับแล ทั้งสี่สโมสรมีคะแนนการประชุมเป็น 100% อันดับที่ 2 คือสโมสรโรตารี อุตรดิตถ์ มีคะแนนการประชุมเป็น 97.22% และอันดับที่ 3 คือ สโมสรโรตารีสอง มีคะแนนการ ประชุมเป็น 94.64% หมายเหตุ *ค่าเฉลี่ย* ค่าเฉลี่ยของคะแนนการประชุมของเดือนที่ผ่านๆมา เนื่องจากสโมสรเหล่านี้ส่งคะแนนมาล่าช้า หรือไม่ส่งคะแนนเลย

รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนกุมภาพันธ์ ของสโมสรโรตารี Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน 31 23541 Phrae แพร่ 23 32 24741 Phichai พิชัย 15 33 16297 Phisanulok พิษณุโลก 56 34 27084 Muang Chod เมืองฉอด 20 35 65185 Muang Thoen เมืองเถิน 17 36 16280 Maechan แม่จัน 32 37 29389 Maewang Lampang แม่วัง 22 38 24956 Mae Sod แม่สอด 21 39 16283 Mae Sariang แม่สะเรียง 12 40 16282 Maesai แม่สาย 27 41 16281 Mae Hongson แม่ฮ่องสอน 13 42 52390 Mae Fha Louang แม่ฟ้าหลวง 9 43 24886 Lab Lae ลับแล 10 44 50294 Lanna ล้านนา 25 45 16277 Lampang ลำ�ปาง 30 46 16278 Lampoon ลำ�พูน 10 47 50650 Wangchan วังจันทน์ 25 48 51392 Wiangkosai เวียงโกศัย 25 49 31711 Wiangsa เวียงสา 12 50 52394 Sri Song Kwai ศรีสองแคว 16 51 25165 Sila-Asana ศิลาอาสน์ 28 52 16307 Sawankaloke สวรรคโลก 26 53 25680 Sawankhalok North สวรรคโลกเหนือ 25 54 22010 Song สอง 14 55 27741 Sanpatong สันป่าตอง 14 56 30612 Sarapee สารภี 12 57 24965 Sukhothai สุโขทัย 23 58 30057 Hang Dong หางดง 10 59 16317 Uttaradit อุตรดิตถ์ 26 60 74261 Vientiane เวียงจันทน์ 10

10 11

ภาค 3360 % 70.43 72.50 86.55 70 65 48.39 55.68 68 40 63.75 60 50 100 55.50 40 50 51.85 64 76 82.38 100 44.61 80 94.64 65 60 71.48 30 97.22 40

โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 อันดับ หมายเหตุ 5

*ค่าเฉลี่ย

1 *ค่าเฉลี่ย

9 1 10 3

2

*ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย

เมษายน ๒๕๕๓


DGN’s Corner

การประชุมใหญ่โรตารีสากล (Rotary International Convention) ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ

ในโอกาสที่ประเทศไทยเราจะเป็น เจ้ า ภาพการประชุ ม ใหญ่ โ รตารี ส ากลใน ระหว่าง 6-9 พฤษภาคม 2555 ผมจึงขอนำ� เสนอเรื่องราวบางส่วนเกี่ยวกับการประชุม ใหญ่ฯเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น แก่มวลมิตร โรแทเรียน ตามธรรมนูญของโรตารี สากลกำ � หนดให้ มี ก ารประชุ ม ใหญ่ โ รตารี สากลประจำ�ปีในระหว่างสามเดือนสุดท้าย ของปีโรตารี(เมษายน พฤษภาคม หรื อ มิ ถุ น ายน) ตามเวลาและสถานที่ ที่ ค ณะ กรรมการบริหารโรตารีสากลกำ�หนด การประชุ ม ใหญ่ โ รตารี สากลมีความมุ่งหมายเพื่อให้เกิดแรงบันดาล ใจและให้ ค วามรู้ แ ก่ โรแทเรี ย นระดั บ นานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนายกสโมสร เจ้าหน้าที่อื่นๆของสโมสรและเจ้าหน้าที่ของ โรตารีสากลที่จะเข้ารับหน้าที่ เพื่อกระตุ้น การพัฒนาโรตารีระดับสโมสรและภาค การประชุ ม ใหญ่ โ รตารี สากลมี ลั ก ษณะเป็ น การประชุ ม สมาคม นานาชาติประจำ�ปีเพื่อดำ�เนินธุรกรรมของ สามคม เนื่องจากการประชุมใหญ่โรตารี สากลเป็นที่รวมของครอบครัวแห่งโรตารีทั่ว โลก ดังนั้น จึงมีการร่วมฉลองมิตรภาพ โรตารี โดยจัดรายการสังคมและการรื่นเริง โดยไม่หันเหออกไปจากแนวทางหลักของ การประชุมใหญ่โรตารีสากล

ใหญ่โรตารีสากลในที่ๆโรแทเรียนคนใดจะไม่ ถูกกีดกันการเข้าร่วมประชุมเพราะเหตุเกีย่ ว กั บ สั ญ ชาติ คณะกรรมการบริ ห ารโรตารี สากลจะตัดสินใจว่าจะจัดการประชุมใหญ่ โรตารีสากลในบริเวณส่วนใดของโลก และ ขั้นต่อไปจะตัดสินใจเกี่ยวกับประเทศและ เมืองที่จัดการประชุมใหญ่โรตารีสากลโดยจะ ไม่จัดซ้ำ�ในประเทศเดียวกันเกินกว่าสองปี กระบวนการคัดเลือกสถานที่จัดการประชุม ใหญ่โรตารีสากล เลขาธิการโรตารีสากลจะเก็บข้อมูล ปัจจุบน ั เกีย่ วกับเมืองต่างๆ ทัว่ โลกทีร่ ายงาน ว่ามี สิง่ อำ�นวยความสะดวกและบริการต่างๆ ในการที่จะการประชุมใหญ่โรตารีสากลเก้าปี ก่อนจะถึงปีที่จะจัดการประชุมใหญ่โรตารี สากลคณะกรรมการบริหารโรตารีสากลจะ กำ�หนดบริเวณในโลกทีจ่ ะขอให้เสนอตัว เพือ่ จั ด การประชุ ม ใหญ่ เมื่ อ คณะกรรมการ บริหารโรตารีสากลตัดสินใจแล้วเลขาธิการ จะส่งหนังสือไปยังสโมสรต่างๆในบริเวณที คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลกำ�หนด ซึ่ ง จะต้ อ งอยู่ ใ นเมื อ งที่ มี สิ่ ง อำ � นวยความ สะดวกและบริการอย่างเพียงพอ ในจดหมายจะระบุถึงกฎเกณฑ์ใน การจัดการประชุมใหญ่และความผูกพันรับ ผิ ด ชอบของสโมสรและภาคเจ้ า ภาพ ใน จดหมายจะขอให้สโมสรเหล่านีส้ ง่ ข้อเสนอไป ยังโรตารีสากลภายในเวลา 6 เดือน คณะ สถานที่จัดการประชุมใหญ่โรตารีสากล กรรมการบริหารโรตารีสากลจะพิจารณาข้อ คณะกรรมการบริหารโรตา เสนอจากสโมสรต่างๆ ต่อเมื่อเลขาธิการ รีสากลจะกำ�หนดสถานที่เพื่อจัดการประชุม รับรองว่าเมืองนั้นในปัจจุบันมีทุกสิ่งตาม

เมษายน ๒๕๕๓

12 13


ความต้องการในการจัดการประชุมใหญ่ เจ้าภาพ องค์กรเจ้าภาพอาจจะประกอบไปด้วยหลาย สโมสรและอาจมีมากกว่า 1 ภาค(ของไทยเราร่วมกันเป็น เจ้าภาพทั้ง 4 ภาค)ที่มีความชำ�นาญอันจำ�เป็นและมี กำ�ลังอาสาสมัครที่เข้มแข็งที่จะปฏิบัติตามความต้องการ ต่างๆของการจัดการประชุมใหญ่ เจ้าภาพยังต้องมีความรับผิดชอบในการส่งเสริม การเข้าประชุม การตกแต่งประดับประดาเมือง การ ออกแบบสัญลักษณ์ของการประชุม การจัดเรือนแห่ง มิตรภาพ(House of Friendship) การจัดงานราตรี ต้ อ นรั บ ของเจ้ า ภาพ การแจ้ ง ข้ อ มู ลในระหว่ า งการ ประชุม การเลือกบริษัทนำ�เที่ยวในท้องถิ่นที่เหมาะสม การจัดการต้อนรับ การจัดงานบันเทิงของเจ้าภาพ การ จัดพืน ้ ทีส่ �ำ หรับสำ�นักงานการประชุม การรับอาสาสมัคร การประชาสัมพันธ์ การทำ�งบประมาณ และการสนับ อื่นๆที่คณะกรรมการการประชุมร้องขอ โปรแกรมการประชุมใหญ่โรตารีสากล โปรแกรมการประชุมใหญ่ที่คณะกรรมการการ ประชุ ม ใหญ่ ร ายงานและได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากคณะ กรรมการบริหารโรตารีสากลและยอมรับในการประชุม ใหญ่ถือว่าเป็นวาระประจำ�วันสำ�หรับทุกภาคการประชุม การเปลีย่ นแปลงในโปรแกรมอาจทำ�ได้เป็นครัง้ คราวโดย เสียงสองในสามของผู้แทนและผู้แทนรับมอบอำ�นาจที่ อยู่ในการประชุมและออกเสียง โปรแกรมการประชุมใหญ่โรตารีสากลจะต้องมี ส่วนประกอบมาตรฐาน ได้แก่ ภาคการประชุมรวมซึ่ง ควรจะช่วยนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จตามความมุ่งหมายของ การประชุมใหญ่ การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องมูลนิธิ โรตารี กิจกรรมมิตรภาพ การจัดนิทรรศการสำ�หรับ

13 12

โครงการพิเศษต่างๆและมีการขายสินค้าที่มีตราโรตารี บทบาทของคณะกรรมการบริหารโรตา รีสากลในที่ประชุมใหญ่โรตารีสากล คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลและ กรรมการบริหารแต่ละคนทำ�หน้าทีเ่ ป็นตัวแทนของคณะ กรรมการบริหารในหน้าที่เป็นทางการต่างๆที่ได้รับมอบ หมายในการประชุมร่วมในการประชุมรวม การประชุม เชิงปฏิบัติการ หรือการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตามที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้บรรยาย เป็นผู้นำ�การ ประชุม หรือเป็นคณะผู้อภิปราย ร่วมการประชุมก่อน การประชุมใหญ่โรตารีสากล(Pre-Convention) ต่างๆ เช่น การสัมมนาเจ้าหน้าทีโ่ รตารีสากล(Rotary Institute) การ ประชุมเจ้าหน้าที่เยาวชนแลกเปลี่ยน หรือการประชุมโร ตาแรกต์ ร่วมในงานเลี้ยงอาหารกลางวันหรืออาหารค่ำ� ของโรตารีสากลและงานสังคมอื่นๆ จากที่ผมได้ยกตัวอย่างมาบางส่วนนี้ จะเห็นได้ว่าการจัดการประชุมใหญ่โรตารีสากลนั้นยิ่ง ใหญ่มาก มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบออกเป็น ส่วนๆอย่างชัดเจน สำ�หรับมวลมิตรโรแทเรียนไทยเรา นั้นแน่นอนว่าในฐานะเจ้าภาพย่อมต้องมีหน้าที่ในการ ต้อนรับผู้มาเยือนให้เกิดความประทับใจให้มากที่สุด เหนือสิ่งอื่นใดก็คือหน้าที่ของการเข้าร่วมประชุมของ มวลมิตรโรแทเรียนชาวไทยเรา กันอย่างพร้อมเพรียง นั่นเอง เพราะผมเชื่อว่าในช่วงชีวิตนี้ของเราโอกาสไทย เราจะได้เป็นเจ้าภาพการประชุมใหญ่ของโรตารีที่คาดว่า จะมีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 40,000 – 50,000 คน เช่น นี้ คงหาไม่ได้อีกแล้วครับ

เมษายน ๒๕๕๓


คุยกันที่ขอบเวที พอล พี แฮริส (ตอนที่ ๒)

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

การเกิ ด สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 1939 ถึงเดือน สิงหาคม 1945 มีผลให้สโมสรโรตารี ในเขต สงครามทั่วโลกต้องปิดการประชุมลง และ เนื่องจากการติดต่อระหว่างสโมสรฯ ส่วน ใหญ่กับโรตารีสากลถูกตัดขาด ที่ประชุม คณะกรรมการบริหารโรตารี จึงมีมติให้ปิด สำ�นักงานที่ชิคาโกลงชั่วคราว ก่อนสงครามจะสงบลงอย่างแน่ชัด ต่างก็เห็นพ้องต้องกันว่า จะต้องมีการเตรี ยมการฟืน ้ ฟูประเทศทีไ่ ด้รบั ภัยสงคราม และ ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ คือการสร้างสันติภาพให้เกิดขึน ้ โรตารีจึงได้จัดให้มีการประชุม “โรตารีคอน เฟอร์เรนซ์” ขึ้นที่กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1942 โดยมอบหมายให้ภาค 13 โรตารีสากล เป็นผู้ดำ�เนินการ คณะกรรมการจัดการ ประชุ ม ได้ เ ชิ ญ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง ศึกษาธิการของประเทศต่างๆ พร้อมกับผู้ สังเกตการณ์ เข้าร่วมประชุม เพื่อพิจารณา ทำ � โครงการแลกเปลี่ ย นการศึ ก ษาและ วัฒนธรรมระหว่างประเทศ หลังสงครามขึ้น อย่างกว้างขวาง นี่เป็นจุดเริ่มให้องค์กร-ยู เนสโก ของสหประชาชาติเกิดขึ้น การเตรี ยมการรับปัญหาหลังสงครามเป็นไปอย่าง กว้างขวาง มีโรแทเรียนเข้าไปเกี่ยวข้องช่วย เหลือองค์การสหประชาชาติในการบรรเทา ทุกข์ และการฟื้นฟูผู้ประสพภัยสงคราม หลายท่านได้เข้าร่วมคณะกรรมการให้ความ ช่วยเหลือทหารผ่านศึก และในการประชุม ครั้ ง แรก ขององค์ ก ารสหประชาชาติ ก็ ปรากฏว่ามีโรแทเรียนเข้าไปนั่งประชุมใน ฐานะต่างๆถึง 49 นาย แม้สงครามจะทำ�ให้การประชุมใหญ่ ต่ า งๆเป็ น ไปไม่ ไ ด้ แต่ โ รตารี ก็ ไ ด้ มี ก าร

เมษายน ๒๕๕๓

ประชุมโรตารีคอนเวนชั่น ปี 1944-45 ขึ้นใน นครชิคาโก โดยแบ่งการประชุมออกเป็น 4 ครั้งในเวลาใกล้เคียงกัน อนุญาตให้โรแท เรียนเข้าประชุม ในแต่ละครั้งได้ไม่เกิน 50 คน การที่มีโรแทเรียนได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นผู้แทน ,ผู้ให้คำ�แนะนำ� หรือเป็นที่ ปรึกษาใน / แก่การประชุมซานฟรานซิสโก คอนเฟอร์เร็นซ์ อันเป็นจุดเริ่มต้นการก่อ ตั้ง องค์การสหประชาชาติ คราวนี้ทำ�ให้ พอล พี.แฮริส มีความภูมิใจเป็นอย่างมาก ท่านถือว่าเป็นเกียรติภูมิ ที่สูงส่งของโรตารี อย่ า งแท้ จ ริ ง โรแทเรี ย นที่ มี ส่ ว นก่ อ ตั้ ง องค์การสหประชาชาติ กลุ่มนี้มาจาก 46 ประเทศ หลังสงครามเสร็จสิน้ ลงแล้ว สโมสร โรตารีทีป่ ดิ ตัวลงได้กลับตัง้ ขึน ้ มาใหม่อกี ครัง้ หนึ่ง ในตอนกลางปี 1946 และปรากฏว่า มี สโมสรโรตารีเพิ่มกว่าที่เคยมี ในปี 1939 ถึง 700 สโมสรฯ ขณะที่โรแทเรียนทั่วโลกกำ�ลังตื่น เต้น กับการเกิดขึ้นใหม่ของสโมสรโรตารี เหมือนได้เห็นต้นไม้ที่กำ�ลังผลิใบหลังความ หนาวเหน็บ จากเหมันตฤดู สิ่งที่ไม่เคยนึก กันมาก่อนก็เกิดขึ้นเมื่อ พอล พี.แฮริส ได้ จากโลกและมิตรโรแทเรียน ที่เขารักไปเมื่อ วันที่ 27 มกราคม 1947 พอลสิ้นใจที่บ้าน คัมลีแบงค์ ชานเมืองชิคาโกที่ได้อยู่มาเกือบ 35 ปี ศพของพอลฝังไว้ที่เมาท์ โฮพ เซเมท เทอรี ชิคาโก ใกล้กับหลุมฝังศพของ รทร. ชิลเวสเตอร์ชีล ผู้ร่วมก่อตั้งสโมสรโรตารี แห่ ง แรกของโลก และเป็ น นายกสโมสร โรตารี คนแรกของโลกด้วย ในปีที่ พอล ถึงแก่กรรมลงนั้น เขามีเพื่อนโรแทเรียนทั่ว

14 15


โลกถึง 279,481 คน ถ้า พอล มีอายุยืนกว่านี้สักอีก 8 ปี เขาก็จะ ได้เห็นโรตารีเจริญมาถึง ครึ่งศตวรรษ ในปี ค.ศ. 195455 แม้ พอล จะได้เห็นการกลับฟื้นคืนชีพของสโมสร โรตารี หลังสงครามที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงได้ เห็นความรุ่งเรืองของอุดมการณ์ ดั่งที่ได้เกิดในประเทศ จีน ซึ่งขณะนั้น สโมสรโรตารี ในประเทศจีน ถูกรัฐบาล จีน คอมมิวนิสต์สั่งปิด เมื่อปี 1950-51 แต่โรแทเรียนที่ อพยพไปยังเกาะไต้หวันก็ได้ร่วมกันก่อตั้งสโมสรฯ ขึ้น บนเกาะนั้ น หลายสโมสรฯ ด้ ว ยความเลื่ อ มใสใน อุดมการณ์แห่งการบำ�เพ็ญประโยชน์ ที่บรรดาโรแท เรียนได้ร่วมกันสร้างขึ้นไว้ ในปี ค.ศ. 1953-54 โรตารีได้เริ่มก่อตั้งศูนย์ ที่ทำ�การใหม่ของตนขึ้น ที่เมืองอีแวนสตัน มณรัฐ อิลลินอยส์ เพื่อให้โรตารีได้มี “ Rotary One Center” ปรากฏเป็นศรีสง่า และเป็นอนุสรณ์แห่งการ เจริญอายุ ครบ 50 ปี ขององค์กรด้วย ในโอกาสอันเป็นที่ชื่นชม นี้ โรตารีได้จัดพิมพ์หนังสือ “Fifty Years of Service” และสร้างภาพยนตร์เรื่อง “The Great Adventure” ไว้ เป็นที่ระลึก มีประเทศต่างๆ รวม 27 ประเทศ ได้ออก แสตมป์ที่ระลึกให้อีกส่วนหนึ่งด้วย หลังอายุ 50 ปี โรตารีไม่เคยหยุดยั้งในการ พัฒนาตนเองเลย เมื่อปี 1956-57 ได้วางนโยบายให้มี การประชุม District Institute ขึ้น เป็นการประชุมสั้นๆ เพียงวันเดียว เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสโมสรโรตารีและ กลวิธขี ยายสโมสรฯ มีการอบรมนักเรียนชัน ้ มัธยมปลาย ให้เป็นผู้เสียสละ และเป็นผู้นำ� ด้วยการก่อตั้ง สโมสร อินเตอร์แรคท์ ขึ้นเป็นครั้งแรกที่เมืองเมลเบิร์น มณรัฐ ฟลอริดา สหรัฐอเมริกา เมื่อปี 1962-63 ทางด้านมูลนิธิโรตารี ได้มีการชักจูงเชิญชวน ให้มิตรโรแทเรียน และผู้มีจิตกุศล บริจาคเงินให้แก่มูล นิธิฯ ทำ�ให้มีผู้บริจาคให้แก่มูลนิธิฯ สูงขึ้นตามลำ�ดับ สามารถให้ ทุ น การศึกษาแก่นักเรียนได้มากขึ้น ส่ ง นักเรียนไปเรียนต่างประเทศในปี 1965-66 ได้ถึง 141

15 14

คน จาก 34 ประเทศ และในปีนี้มูลนิธิโรตารีได้เริ่ม โครงการ ทุนการอบรมด้านเทคนิค และทุนเพื่อพัฒนา ชุมชน ซึ่งในปัจจุบันนี้พัฒนาเป็น แมชชิ่งแกรนท์ ใน ทศวรรษนี้ การบริการของโรตารี ได้เน้นไปที่บริการ อาชีวะ ในประเทศที่กำ�ลังพัฒนา ในทศวรรษที่ 7 การบริการของโรตารีทำ�ให้ ชุมชนเห็นว่า “โรตารี” กับ “บริการ” เป็นของคู่กัน ตลอดเวลาที่ พอล แฮริส ยังมีชีวิต ท่านพยายามชี้ให้ เห็นว่า “โรตารี เป็นทางบุญทางหนึ่งสำ�หรับผู้ต้องการ “ให้” ไม่ใช่ทางมาหากำ�ไร” คำ�ของ พอล จึงเป็นคำ�ที่ นำ�ไปสู่วรรค. ในวาระที่โรตารีมีอายุ 75 ปี ในปี 1980 โรตารี ไ ด้ ข ยายตั ว ไปอยู่ ใ นประเทศต่ า งๆ ถึ ง 153 ประเทศ มีสมาชิกกว่า 850,000 คน เศษ 2ส่วน 3 อยู่ นอกสหรัฐอเมริกา และมีการตัดสินในทำ�โครงการ โปลิโอ-พลัส ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1982 ถึงปี ค.ศ. 1985 โรตารีงอกงามไปอยู่ตาม ประเทศต่างๆถึง 160 ประเทศ มีสโมสรฯในสังกัด 220,000 สโมสรฯ รวมสมาชิกได้กว่า 1,000,000 คน งาน บริการหลักในช่วงนี้คือ “โครงการ 3-H” เพื่อแก้ไข ปัญหาความอดอยากหิวโหย ส่งเสริมสุขภาพของเพื่อน มนุษย์ และช่วยเหลือให้เพื่อนมนุษย์มีความเป็นมนุษย์ มากขึ้น ในโอกาสที่โรตารีมีอายุ 80 ปีบริบูรณ์ ได้มีการ รณรงค์หาทุน 120 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อซื้อวัคซีน และบริ ห ารโครงการโปลิ โ อ-พลั ส ให้ เ ป็ นไปอย่ า งมี ประสิทธิ์ภาพ เพื่อกวาดล้างโปลิโอให้สิ้นโลก เป็นของ ขวัญสำ�หรับเด็กๆ ในโอกาสที่โรตารีสากลจะมีอายุครบ 100 ปีอันใกล้นี้ ระหว่างอายุ 80 ถึง 100 ปี โรตารีได้แสดง ศักยภาพในบริการและมิตรภาพ ที่สูงยิ่ง ควรแก่ความ ภูมิใจ หากพอล พี.แฮริส สามารถได้ยิน “ระฆัง 100 ปีโรตารี” ที่ลั่นดังกังวาน ณ ที่ประชุมโรตารีคอนเวน ชั่น ที่นครชิคาโกได้ ท่านคงภูมิใจต่อโอกาสนี้ โอกาสที่ องค์กรน้อยนักจะมาถึง ณ. จุดนี้ได้.

เมษายน ๒๕๕๓


ศูนย์โรตารีประเทศไทย FG เดือนเมษายน 2553 ED สวัสดีครับ...เพื่อนสมาชิกที่รักทุกทาน ผานพนไปแลว สําหรับการประชุมใหญประจําปของภาคตางๆ ในประเทศ ไทย ขอแสดงความยินดีกับผูวาการภาคและคณะกรรมการภาค ตลอดจนนายกและ เจาหนาที่สโมสรทุกทาน ที่ไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดตั้งเปาหมายไวจนสําเร็จ บรรลุ วัตถุประสงคที่ไดตั้งใจไวครับ กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ เ พิ่ ง ผ า นพ น ไปก็ คื อ การสั ม มนาอบรมนายกรั บ เลื อ ก (President Elect Training Seminar – PETS) เปนการสัมมนาที่จัดขึ้นเพื่อใหความรู แนวทางและแรงจูงใจในการปฏิบัติหนาที่แกนายกรับเลือก โดยมีเหลาผูนําการอบรม ของภาคเป น ผู ใ ห คํ า แนะนํ า รวมทั้ ง ถ า ยทอดประสบการณ แ ก น ายกรั บ เลื อ ก เจาหนาที่ศูนยโรตารีฯ ก็ไดไปเปนผูประสานงานการจัดเตรียมเครื่องมือนําเสนอใน การสัมมนาดวย สวนการจัดสัมมนาอบรมนายกรับเลือกของภาค 3350 ที่แตเดิม กําหนดไววันที่ 13-14 มีนาคม ก็ไดเลื่อนการสัมมนาไปเปนวันที่ 24-25 เมษายน โดยสถานที่ยังคงเปนโรงแรมรามาการเดน กรุงเทพฯ เชนเดิมครับ สุดทายนี้ ขอเชิญชวนทานนายกรับเลือกและเจาหนาที่สโมสรทุกทาน เขา รวมการประชุมภาคประจําปเพื่ออบรมเจาหนาที่สโมสร (District Assembly – DA) เพื่อรับทราบแนวทางการปฏิบัติหนาที่ในปที่จะมาถึงโดยผูนําการอบรมที่มากดวย ประสบการณของภาค ผมและเจาหนาที่ศูนยโรตารีฯ จะเดินทางไปรวมในการ ประชุมเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายดวยครับ ... แลวพบกันนะครับ ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยฯ

อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล เดือนเมษายน 2553

33 บาท

ตอ 1 เหรียญสหรัฐ

ตัวเลขโรตารีไทย

ภาค โรแทเรียน สโมสร 3330 2,072 76 3340 1,286 60 3350 2,431 90 3360 1,221 60 รวม 7,010 286 ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ (มี.ค. 53)

อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ ขณะบรรยายในหัวขอ “ผลงานศูนยโรตารีในประเทศไทย” ณ การประชุมใหญประจําปของภาค 3350 เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2553 ภาพจาก www.flickr.com/photos/rotary3350/sets/72157623682563604/

อผภ.นพ.เล็ ก นานา (สโมสรโรตารี ส วรรคโลก ภาค 330 [ในขณะนั้ น ] ป 2524-25) ได ถึ ง แก กรรมแล ว เมื่ อ วั น ที่ 17 มี น าคม 2553 ศู น ย โรตารีฯ ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวของ ทานมา ณ โอกาสนี้ ประชาสัมพันธ • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม เสด็จ พระราชดําเนินในการพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารยกิตติคุณ รอยเอก กฤษฎา อรุณวงษ ณ อยุธยา ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม ในวัน อาทิตยที่ 25 เมษายน เวลา 17.00 น. • การสัมมนาอบรมนายกรับเลือก ภาค 3350 – วันที่ 24-25 เมษายน ณ โรงแรมรามาการเดน กรุงเทพฯ กําหนดการจัดประชุมภาคประจําปเพื่ออบรม เจาหนาที่สโมสร (District Assembly – DA) • ภาค 3330 – วันที่ 8 พฤษภาคม จ.สุพรรณบุรี • ภาค 3340 – วันที่ 8 พฤษภาคม จ.ระยอง • ภาค 3350 – วันที่ 22 พฤษภาคม กรุงเทพฯ • ภาค 3360 – วันที่ 15-16 พฤษภาคม จ.เชียงใหม

ตลอดเดือนมีนาคม เจาหนาที่ศนู ยโรตารีฯ ไดเดินทางไป รวมในการประชุมใหญประจําปของทุกภาค เพื่อจัดแสดง และจําหนายเอกสารโรตารีสากล และเอกสารโรตารีที่แปล เปนภาษาไทยโดยคณะกรรมการแปลของศูนยโรตารีฯ

ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82‐83 ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 เมษายน โทร. 0 2661 6720‐1 โทรสาร 0 2661 6719 e‐mail: rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org

๒๕๕๓

17 16


๐๘

เสียงนก เสียงกา ๐๗

เกียรติเกริกไกร โรตารีได้ หนึ่งร้อยห้าปี

District Governor’s Monthly Letter 2009-10 เปิดสวิทช์ มอบชีวิต ด้วยหัวใจ

16 17

สารผู้ว่าการภาคฉบับนี้เป็นฉบับต้อนรับวันสงกรานต์ หรือวันปี๋ใหม่เมืองของล้านนาเรา ผมขอให้โรแทเรียนทุกท่าน มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากภัยอันตรายต่างๆ โรคภัยอย่ามา ได้กล้ำ�กลาย คิดสิ่งใดก็ให้สมมาตรปรารถนาทุกประการ และ ต่อจากนี้พบกับการแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับสารผู้ว่าการภาคฉบับต่างๆที่ผ่านมาของโรแทเรียนจากสโมสรในภาค 3360 เราครับ รทร.ประยูร ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ ฉบับนี้และเห็นประโยชน์ในการใช้เรื่องราวต่าง อผภ.ศิริจางคพัฒนา ๆ ของโรตารีที่มีอยู่ในสารฉบับต่างๆ ในการ สโมสรโรตารีเชียงราย อีกหนึ่งปีที่ สารผู้ว่าการภาค สนเทศโรตารี ของสโมสรช้างเผือกเชียงใหม่ ที่ เป็นหน้าเป็นตาที่ดีที่สุดของ มีรายการสนเทศโรตารีทุกครั้ง ที่มีการประชุม ภาค 3360 ทั้งเนื้อหา สาระ สโมสร อยากให้ ส ารฉบั บ นี้ ค งอยู่ แ ละมี ก าร สีสันสุดยอด ต้องขอชื่นชม พัฒนาเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ต่อมวลมิตร บรรณาธิ ก าร อน.วาณิ ช โรแทเรียน ทัง้ เก่าและน้องใหม่ทีเ่ พิง่ เข้าสูว่ งการ โยธาวุธ และทีมบรรณาธิการ โรตารี เพื่ อ สื่ อ ความเข้ าใจ ในงานบำ � เพ็ ญ ที่มีเรื่องใหม่ ๆ ตามแนวคิดของคนรุ่นใหม่ หัว ประโยชน์ที่เน้นการให้และแบ่งปันเพื่อพัฒนา ก้าวหน้า มีแต่สิ่งดีดี ใหม่ๆ ให้ผู้อ่านได้รู้ ได้คิด สังคมของเราเป็นหลัก และพัฒนาสิ่งดีๆ ให้แก่ภาคของเรา ผชภ.ธัญภา หล่อวัฒนา ขอบคุณ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ที่ สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ ได้ทุ่มเท กับทีมบรรณาธิการ อย่างเต็มความ รู้สึกประทับใจ ผู้ว่าการภาค สามารถ จนเป็นที่ประจักษ์ กลายเป็นหน้าตา แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ในความ และสร้างชื่อเสียงให้ภาค 3360 ของเราโด่งดังไป ตั้ ง ใจอย่ า งสู ง ของท่ า น ที่ ทั่วสารทิศ จนถึงโรตารีสากล ต้ อ งการให้ ผ ลงานทุ ก อย่ า ง ออกมาดีที่สุด ยิ่งได้ บอ.กอ. นยล.อานัฐ ตันโช ระดั บ มื อ อาชี พ อย่ า ง ท่ า น สร.ช้างเผือกเชียงใหม่ สารผู้ว่าการภาคในปีปัจจุบัน อน.วาณิช โยธาวุธ ที่ฝากผลงานมาแล้วหลาย มีรูปเล่มที่สายงามน่าอ่าน มี สมัยก็รับประกันฝีไม้ลายมือกันได้ รวมถึงกอง ความหลากหลายในเนื้อหา บรรณาธิการ ผู้จัดทำ�สารผู้ว่าการภาคทุกท่าน ที่ ไ ด้ ม าจากการมี ส่ ว นร่ ว ม สารผู้ว่าการภาคในปีนี้ มีรูปเล่มสวยงาม เรียก ของมวลสมาชิ ก ของโรตารี ว่าสวยไม่มีที่ติ ตั้งแต่ปกหน้า ไปจนถึงหน้า จากสโมสรต่ า งๆ ในระดั บ สุดท้าย รูปภาพประกอบลงตัวมาก ชอบทุก แกนนำ� ที่มีบทบาทต่อการพัฒนาองค์กรนี้ ให้ คอลัมน์ เพราะเขียนได้น่าอ่าน ชวนติดตาม ก้ า วไปข้ า งหน้ า อย่ า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น กอง เนื้อหาสาระดี มีประโยชน์ สะท้อนให้เห็นถึง บรรณาธิการ ของสารผู้ว่าการก็น่าจะได้รับ ความตั้ งใจ และความทุ่ ม เทของที ม งาน ที่ เครดิตส่วนนี้ไปอย่างสมบูรณ์ ผมติดตามสาร ทำ�งานกันอย่างแข็งขันในการหาข้อมูล และ

อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภา พันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ เหนือ

เมษายน ๒๕๕๓


เสียงนก เสียงกา

ติดตามข่าวสารต่างๆ มานำ�เสนอได้อย่างครบ ถ้วน และทันเวลาด้วย ขอชื่นชมจากใจจริงและ เป็นกำ�ลังใจให้คณะผู้ จัดทำ�สารผู้ว่าการภาคทุกท่าน ที่สละเวลา และ ทุ่มเททำ�งานเพื่อภาค 3360 ของเรา ดิฉันจะ คอยติดตามผลงานในฉบับต่อๆ ไป ค่ะ อน.อร่าม หงษ์โต สโมสรโรตารีแม่วัง ภูมใิ จมากทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของ โรตารี แ ละสุ ข ใจเมื่ อ ได้ มี โอกาสช่วยเหลือสังคม ถ้าคน เราเกิดมาเท่าเทียมกันหมดก็ ไม่ ต้ อ งมี ใ ครช่ ว ยเหลื อใคร แต่ความเป็นจริงทุกคนเกิด มาไม่ได้เท่าเทียมกัน บางคนขาดแคลน บาง คนมีมากเกินความจำ�เป็น คนที่มีเกินความ จำ � เป็ น ควรคิ ด บริ จ าค (จาคะ) ให้ กั บ คนที่ ขาดแคลนด้วยใจที่เป็นสุข สังคมเราก็จะมีแต่ คนที่มีความสุข โรตารีเป็นองค์กรการกุศลที่ให้ โอกาสสมาชิกได้ช่วยเหลือสังคมให้เอื้อเฟื้อเผื่อ แผ่กัน สังคมก็จะมีแต่สิ่งที่ดีตลอดไป ขอบคุณ โรตารีที่ให้โอกาสอันดีนี้

เป็ น ผู้ ว่ า การภาคที่ มี ค วาม สมบูรณ์แบบ ในการเป็นแบบ อย่างที่ดี ท่านรวมเอาความ ละเอียดอ่อนของผู้หญิงและ ความเข้มแข็งของผู้ชายไว้ใน ตั ว เ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ เพราะฉะนั้ น คงไม่ ต้ อ งพู ด ถึงว่า วารสารผู้ว่าการภาค แต่ละฉบับในปีนี้จะสมบูรณ์ตามแค่ไหน ดังที่ มิตรรักโรแทเรียนทุกท่านได้หยิบจับอ่านทุก ฉบับ ซึ่งในเนื้อหาทุกหน้าทุกบรรทัด ล้วนน่า อ่าน มีสาระทั้งสิ้น และคงอดที่จะเก็บไว้อ่าน อีกไม่ได้ สมดังที่ท่านได้คุยอวดไว้จริงๆ ปี๋ใหม่เมืองก็ได้ผ่านพ้นไปแล้ว คิดว่า มิตรรักโรแทเรียนทุกท่าน ก็คงได้ม่วนอ๊กม่วน ใจ๋กันไปถ้วนหน้า ดำ�หัวผู้เฒ่าผู้แก่กันไปทุก ท่าน ซึ่งคงไม่มีพรใดที่จะประเสริฐเท่า ถึงแม้ บ้านเมืองจะร้อนระอุแค่ไหน แต่น้ำ�ใจของเรา เหล่าโรแทเรียนทุกท่านก็พร้อมที่จะเสียสละ หัวใจ และเวลา เหมือนเช่นเคยที่ปฏิบัติสืบ เนื่องกันมาต่อไป รทร พีศเดช รอดเรืองสันต์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ สำ�หรับส่วนตัวผมแล้ว ถ้าให้ กล่าวถึงความรู้สึกของตัวเอง ทีม่ ตี อ่ สารผูว้ า่ การภาคทีผ่ า่ น มาแล้วนั้น ก่อนอื่นผมต้อง ขอขอบคุ ณ ทุ ก ตั ว อั ก ษรที่ เรี ย งร้ อ ยจากความรู้ สึ ก ที่ งดงาม ขอบคุณสาระดี ๆ ในทุกบทความที่ บรรจงเขียนขึ้น ขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ทำ�ให้เกิดสารผู้ว่าการภาคขึ้น เพราะผมเชื่อ มั่นว่า กว่าที่สาระดี ๆ จะมารวมอยู่ในสารเล่ม หนึ่งนั้นไม่ง่าย เพราะฉะนั้นคงไม่มีคำ�พูดใดๆ กล่าวแทนความรู้สึกส่วนตัวของผมได้นอกจาก คำ�ว่า “ขอบคุณ”

อน.เกษมสรวง แก้วสะแสน สโมสรโรตารีศรีสองแคว สิ่งสำ�คัญอย่างหนึ่งที่จะทำ�ให้ บุคลากรในองค์กร ร่วมมือใน การทำ�กิจกรรมเพื่อให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ ความเข้ าใจในจุ ด มุ่ ง หมาย ของกิ จ กรรม หรื อ องค์ ก ร ความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร มี ความสำ�คัญต่อความสำ�เร็จขององค์กร ได้รับ การยอมรับและให้เกียรติ และมีสัมพันธภาพที่ ดีระหว่างสมาชิกในองค์กร รวมทั้งความจริงใจ ของบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ สารจากผู้ว่าการ ภาค เป็นสื่อที่ทำ�ให้สมาชิกโรตารีได้รับรู้ เข้าใจ ในภารกิจของโรตารี การดำ�เนินกิจกรรมของ อน.ไกรสร พิมพ์ประสานต์ มวลมิตรโรแทเรียน ได้รับทราบแนวทาง ใน สโมสรโรตารีวังจันทน์ การดำ�เนินงานด้านต่าง ๆ และความห่วงใย พิษณุโลก ของผู้ว่าการภาคที่มีต่อมมวลมิตรโรแทเรียน รู้ สึ ก ดี ใ จที่ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมในความเป็น ท่ า น อน.ประยู ร ศิ ริ น ภา เจ้าขององค์กร และความเป็นหนึ่งเดียวกันได้ พันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ เป็นอย่างดี สิ่งที่ควรระวังอย่างหนึ่งก็คือ พื้นที่ เหนื อ ที่ ใ ห้ ผ มได้ ม าแสดง ในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสโมสร ควร ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สารผู้ว่าการภาคในปี เป็นของทุกสโมสรจริง ๆ 52-53 นั้น สารผู้ว่าการภาคนั้น ผมถือว่ามี ความสำ�คัญและมีความจำ�เป็นเป็นอย่างมาก นย.ศรีภา จันทร์ดี ในด้านการประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่าง ๆ ของ สโมสรโรตารีกำ�แพงเพชร โรตารีสากลและภายในภาค 3360 ให้มวลสมา อันดับแรกก็ต้องขอชมผู้ว่าการภาค 3360 ของ ชิ กโรแทเรี ย นได้ รั บ ทราบถึ ง ข่ า วสารความ เรา ผูว้ า่ การภาคแววดาว ลิม้ เล็งเลิศ ก่อน ท่าน เคลื่อนไหวต่าง ๆ ของมวลสมาชิกโรตารี ว่า

เมษายน ๒๕๕๓

18 19


19 18

ใครทำ�อะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำ�อะไร ถ้าไม่มีข่าวสารต่าง ๆ ข้อมูลและรูปภาพมาให้กองบรรณาธิการ ทำ�ให้สาระในปีนี้ นั้นแล้วก็เหมือนพวกเราถูกปิดหู ปิดตา ไม่รับรู้ข่าวสาร มีครบถ้วนทุกสโมสร อะไรเลยกลายเป็นพวกตกยุคได้ และจากการได้ติดตาม และ อ่านข่าวสาร ในสารผู้ว่าการภาคฯ นั้น ถือว่าเป็นสาร ฯ ที่ นย.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์ ดีมีคุณภาพและครอบคลุมในข่าวสารเป็นอย่างดี ทันต่อ สโมสรเชียงใหม่ภูพิงค์ เหตุการณ์ มีมุมที่ให้มวลสมาชิกได้มีส่วนร่วมในการออก บก.วาณิช และทีมงาน ทำ�สารผู้ว่าการ ความคิดเห็น ถือว่าดีมาก ๆครับ ผมต้องขอบคุณและปรบ ภาคได้ดีและสวยงามมาก มองในฐานะ มือให้กับทีมงานที่ได้เสียสละเวลาในการจัดทำ�สารผู้ว่าการ ช่างศิลป์ที่มีประสบการณ์เรื่องการพิมพ์ ภาคฯได้ฉับไวเหมือนมืออาชีพ สุดยอด...ครับ ผมเป็นกำ�ลัง มุมมองของภาพ และงานกราฟิกก็ดี ท่าน ใจให้...ครับ ไม่เพียงแต่ทำ�ได้ แต่ทำ�เป็นด้วย ข่าวว่าปี หน้าท่านจะได้ทำ�ต่ออีก ก็ขอเป็นกำ�ลังใจ Rtn. Bob Wiggins ให้ครับ RotaryClub of Chiang Mai North อน.ศิริรัตน์ เจริญวงษ์ It is always a pleasure to read through สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ the Governor’s Monthly Newsletter. สารผู้ว่าการภาคในปี 2552-2553 นับได้ว่า As this is my first year with the Rotary เป็นสารที่ดีที่สุดเท่าที่มีมา ไม่ว่าจะเป็น Club of Chiang Mai North, the reports ขนาดรูปเล่มที่กะทัดรัด กระดาษอาร์ตมัน in the Newsletter reinforce my interest อย่างดี รูปมากมายที่แสดงเรื่องราวแทน and dedication to the goals of Rotary International. คำ�พูด มีคอลัมน์ที่หลากหลาย ทั้งแวดวง Many of the Rotarians featured are friends of mine โรตารีและนานาสาระอันเป็นประโยชน์ ที่ – and many more are those with whom I have worked น่าประทับใจที่สุดคือ ปกหลัง “แทนคำ�นับพัน” เป็นสารผู้ on various Rotary projects in District 3360. When I ว่าการภาคที่หรูหราที่สุดในรอบศตวรรษ ที่จะวางบนชั้น review the information in the Newsletter, it once again หนังสือได้อย่างสง่างาม makes me feel proud to be a member of Rotary International and reinforces my reasons for becoming อน.วีรวรรณ รัตนสุภา a member. สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ผมมีความสุขทุกครั้ง ที่ได้พลิกอ่านสารฯ รายเดือน และปี “วารสารที่ดี ต้องมีสาระประทับใจ ให้ นี้เป็นปีแรกของผมกับการเป็นสมาชิกของสโมสรโรตารี ความรู้” ดิฉันขอชื่นชมในวารสารภาค เชียงใหม่เหนือ เรื่องราวใน สารฯ ยิ่งบันดาลใจให้ผมมุ่งมั่น 3360 ปีบริหาร 2552-2553 สมัยผู้ว่าการ ในการอุทิศตนให้กับเป้าหมายของโรตารีสากล บทความใน ภาคแววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ดิฉันขอสรุป สารฯ บางบทความมาจากเพือ่ นๆ บางส่วนเกีย่ วกับโครงการ ความดีของวารสารภาคได้ดังนี้ ในภาค 3360 ที่ผมมีส่วนร่วม เมื่อได้เห็นการบันทึกเป็นลาย 1. เป็นวารสารทีโ่ รทาเรียนทุกๆคนได้รบั ลักษณ์อักษร ยิ่งสร้างความภาคภูมิใจ ในการมีส่วนร่วม รวดเร็วทันเหตุการณ์ เพราะออกตรงเวลาทุกๆเดือน และเชื่อมั่นในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรนี้ 2. คุณภาพกระดาษดีมาก เป็นกระดาษมันสีชดั เจน 3. ภาพกิจกรรมของผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มี อน.สุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ ครบถ้วนในวาระที่ทำ�กิจกรรม สโมสรโรตารีช้างเผือกเชียงใหม่ 4. มีภาพกิจกรรมของสโมสรภาคต่างๆในภาค 3360 จากภาพรวมที่ได้อ่านสารผู้ว่าการภาคฯ ทุกๆเล่ม ในปีนี้ บอกได้เลยว่าเป็นอีกปีหนึ่งที่ภาค 5. เนื้อหาที่เขียนไว้ในเล่มให้ความรู้แก่โรทาเรียน 3360 โรตารี ส ากล ได้ มี ก ารนำ � เสนอ และผูอ้ า่ นได้ดี และอยากให้ทกุ สโมสรมีสว่ นร่วมในการเขียน ข่ า วสารที่จำ � เป็นในการสื่อสารระหว่าง เนื้อเรื่องที่มีความสำ�คัญและเป็นประโยชน์ต่อโรตารีเราใน โรตารีสากลกับสโมสรฯ ,ภาคฯกับสโมสรฯ, บางคอลัมน์ หรือมีปัญหาอะไร มีทางแก้ไขอย่างไร ก็ สโมสรฯกับสโมสรฯ ได้สำ�เร็จตามความมุ่ง สามารถเขียนสอบถามได้โดยให้ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค แต่ละ หมายของโรตารีสากล เป็นอย่างดีเยี่ยม ซึ่งต้องยกย่องผู้นำ� ท่านช่วยประสานให้ การที่พวกเราได้มีวารสารภาคที่ดีเช่น ภาคฯ คือ ผู้ว่าการภาคแววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ที่เป็นผู้นำ�ใน นี้ ต้องขอชื่นชมผู้จัดทำ�หนังสือ และการสนับสนุนของ การขับเคลื่อน และทีมงานสารผู้ว่าการภาคฯ ซึ่งทุกคนใน ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ซึ่งท่านได้เสียสละ สนับสนุนด้าน ภาคฯ ขอปรบมือให้กับความทุ่มเทและความพยายามใน การเงินทำ�วารสารอย่างเต็มที่ ผลกำ�ไรจึงเป็นของผู้อ่าน การนำ�เสนอสิ่งที่ดีๆ ออกมาสู่สายตาของชาวชุมชนโรตารี ทุกๆคน ขอขอบคุณที่มีวารสารดีๆ เช่นนี้ให้พวกเราได้อ่าน โดยส่วนตัวผม ขอยกย่องทีมงานในปีนี้ มากที่มีนวัตกรรม ทุกๆ เดือนนะคะ ทั้งเนื้อหาและคอลัมน์ ตลอดจนการนำ�เสนอภาพที่สวยงาม และทีข่ าดไม่ได้ทีจ่ ะขอบคุณคือ สโมสรฯต่างๆ ทีไ่ ด้สนับสนุน

เมษายน ๒๕๕๓


Behind the scene

อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

สารผู้ว่า สวัสดีปี๋ใหม่เมืองเจ้า มวลมิตรโรแท เรียนทุกท่าน วันสงกรานต์ปีที่แล้ว ภาคเราจัด งาน Multi Pets 3 ภาค ที่เชียงใหม่ส่วนดิฉัน ใช้วันหยุดตลอดสัปดาห์ จัดทำ�หนังสือทำ�เนียบ ภาค ในปีนี้พอมีเวลา ได้ขับรถชมบรรยากาศ รอบคูเมืองเชียงใหม่ มีประชาชน ชาวเชียงใหม่ และนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ เล่นสงกรานต์อย่างสนุกสนาน ทำ�ให้คลายร้อน และผ่อนคลายไปได้มาก ส่วนกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ที่มีชื่อถนน สารพัดข้าว ตั้งแต่ถนนข้าวสาร ข้าวเหนียว ข้าวปุ้น ข้าวยำ� ข้าวหอม ฯลฯ ก็มีประชาชน ออกมาเล่นน้�ำ สงกรานต์ กันจนดึกดืน ่ ค่อนคืน เลยทีเดียว ในขณะที่การเมืองร้อนระอุ ไม่แพ้ อากาศที่พุ่งกระฉูดสูงสุดถึง 42 องศา ภาค เหนือ จังหวัดลำ�ปาง ครองแชมป์ ส่วนสารผู้ ว่าการภาคฉบับนี้ ได้รับการบ้าน จาก บอ.กอ. ให้เขียนเบื้องหลังการจัดทำ�สารผู้ว่าการภาค รู้สึกว่าโลกจะหมุนเร็วกว่าเดิมเป็นแน่ เผลอ แป๊บเดียว ฉบับที่ 10 เข้ามาแล้ว หลายท่าน คงจะไชโยโห่ฮิ้ว อีกแว็บเดียวก็จะหมดวาระ การทำ�สารผูว้ า่ ปีนีแ้ ล้ว แต่ บอ.กอ.วาณิช หมด

เมษายน ๒๕๕๓

สิทธิ เพราะปีหน้ายังรับหน้าที่ บอ.กอ.ต่อไป ตั้งแต่สารผู้ว่าการภาคฉบับปฐมฤกษ์ ได้คลอดออกมาเป็นฉบับแรก รูปเล่มขนาด กะทัดรัด สีสันสวยงาม กระดาษมันงามวับ จับตาและจับใจผู้ได้รับ เป็นที่ฮือฮาไม่น้อย เรต ติ้ ง สารฯ ของเราก็ พุ่ ง กระฉู ด มี แ ฟนคลั บ ติดตามผลงานมากมาย ไม่เฉพาะภายในภาค 3360 แม้แต่ต่างภาคก็ยังติดตามผลงานของเรา จากการประมวลความเห็น หลายท่านได้กล่าว ว่า เป็นสารผู้ว่าการภาค ที่มีสีสันสดใสสวยงาม แปลกแหวกแนว มีเนื้อหาสาระ ที่หลากหลาย แต่ละคอลัมน์กระชับไม่เยิ่นเย้อ ชวนให้น่า ติดตาม ดูแล้วมีคุณค่า แก่การสะสม หน้าปก สวยหลากสี เมื่อย้อนกลับถึงผู้เขียน แต่ละ คอลั ม น์ ต้ อ งขอยกย่ อ งและชื่ น ชมในความ มานะ อดทน และความอุตสาหะ ที่พยายาม สืบเสาะหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เพื่อนำ�เสนอ ผู้อ่านอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งข้อมูลที่นำ�เสนอ ก็เป็นข้อมูลที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน ไม่ล้าสมัย และออกสู่ตลาดตรงเวลา ในทุก ๆ เดือน ต้องขอชื่นชมและยกย่อง บอ.กอ.คน

20 21


District Governor’s Letter าการภาค ๓๓๖๐ ปีบริหาร ๒๕๕๒-๒๕๕๓

21 20

เก่ง อน.วาณิช โยธาวุธ ที่ได้สละความสุขส่วนตัว ทำ�งาน เพื่อส่วนรวมอย่างไม่รู้เหน็ดรู้เหนื่อย มีความสามารถใน การเขียนดุจนักประพันธ์ระดับมืออาชีพ มีศิลปะในการ ออกแบบ รูปเล่มสวยงามมีลูกเล่นในการเลือกภาพ และจัด วาง อย่างโดดเด่น ทำ�ให้สารผูว้ า่ การภาคมีชวี ติ ชีวา ทีแ่ ปลก ใหม่ และมีความสามารถในการคัดสรร ทีมงาน ที่มากด้วย คุณภาพคับแก้ว บอ.กอ.วาณิช โยธาวุธ เริ่มวางแผนการ ทำ�งาน โดยกำ�หนดรูปแบบ และหัวเรื่องตลอด 12 ฉบับ และให้คอลัมน์นสิ ต์แต่ละท่าน ตัง้ ชือ่ เรือ่ งทีจ่ ะเขียนเองอย่าง อิสระ โดยไม่ลืมที่จะขอตัวช่วยที่มีความรับผิดชอบในงาน โดยเป็นผู้ประสานงานกับคอลัมน์นิสต์ และช่วยติดตามงาน ที่เรียกว่า ผู้ช่วย บอ.กอ. เพื่อให้สารผู้ว่าการภาค เสร็จทัน ตามกำ�หนดในทุกๆ เดือน ทีมงานสารผูว้ า่ การภาค ทุกท่าน ล้วนเป็นอาสาสมัคร ไม่มีค่าจ้างแต่ทำ�งานด้วยใจ จึงเป็น ธรรมดาทีท่ มี งานสารผูว้ า่ การภาค อาจต้องมีการหมุนเวียน ไปบ้าง เนื่องจากเวลาเป็นตัวผันแปร ทีมงานสารฯ ล้วน เป็นผู้มีความเสียสละ เวลาส่วนตัวในการทำ�งานเพื่อส่วน รวมทั้งสิ้น คอลัมน์ ปฎิณกคำ�นึง คุยกันทีข่ อบเวที อน.ศ.นพ. บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ สไตล์การเขียนของท่าน ไม่ได้แพ้มือ อาชีพ ใครได้อา่ นเป็นต้องติดใจ เนือ่ งจากการถ่ายทอดเรือ่ ง ราว ของท่านสนุกสนานและมีอารมณ์ขัน ต้องขอชื่นชม

และยกย่องท่านเป็นพิเศษ เนื่องจากมีปัญหาสุขภาพเดินไม่ สะดวก กระดูกเข่าเสื่อมมีอาการปวด ซึ่งเป็นไปตามวัย แต่ ด้วยสปิริตแห่งโรตารี และด้วยใจรักในงานเขียน เมื่อ บอ.กอ.เชิญท่านเป็นที่ปรึกษา ท่านรับคำ�และยินดีถ่ายทอด ประสบการณ์อันทรงคุณค่าของท่าน ผ่านคอลัมน์ปฏิณก คำ�นึงด้วย อย่างยอดเยีย่ ม และส่งต้นฉบับถึง บอ.กอ.วาณิช ทางแฟ็กซ์ ตรงเวลาเป๊ะในทุกเดือน ท่านมีความภาคภูมิใจ ในสารผู้ว่าการภาคปีนี้อย่างมาก ท่านชื่นชมและกล่าวว่า ในโลกของโรตารี สารผู้ว่าการภาคปีนี้เป็นสารฯที่ดีและสวย ที่สุดในโลก คอลัมน์“DGN‘s Corner“ ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง เป็นนักเขียนมือทอง ระดับมืออาชีพ เป็นคอลัมน์นิสต์ หนังสือพิมพ์หลายฉบับ ผลงานล่าสุดในกรุงเทพธุรกิจ เขียนบทความเรื่อง “ทุกชีวิตมีค่า หยุดบ้ากันได้แล้ว” ท่าน มีลลี าในการเขียน รักในการอ่านและค้นคว้า ท่านมักสืบค้น ข้อมูล ค้นคว้าตำ�ราของโรตารีอยู่เป็นนิจ จนเป็นผู้รอบรู้ เรือ่ งโรตารีเป็นอย่างดี ท่านรูส้ กึ ยินดีและเป็นเกียรติทีม่ สี ว่ น ร่วมในสารผู้ว่าการภาค เพราะเป็นโอกาสให้ได้แชร์ความรู้ และเผยแพร่ข้อมูล อย่างกว้างขวางทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อ มิตรโรแทเรียน ภายในภาคและต่างภาคได้อย่างมากมาย ท่านเขียนข้อมูลที่เป็นความรู้เกี่ยวกับโรตารีเป็นหลัก มีทั้ง เรื่องอดีต ปัจจุบัน จนถึงอนาคตเลยทีเดียว

เมษายน ๒๕๕๓


ข้างหลังภาพ

คอลัมน์ “บ้านเลขที่ 3360 RI” อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารา รัศมี เป็นนักเขียนสมัครเล่นระดับมืออาชีพ มีหนังสือเป็น ของตนเองหลายเล่ม มีความโดดเด่นในการร้อยเรียงเรื่อง ราวได้อย่างน่าติดตาม ท่านมักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับความ รู้ใหม่ๆ ของโรตารี เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ เรื่องราวเกี่ยวกับการประชุมในต่างประเทศ และการเดิน ทางให้ผู้อ่านได้เปิดโลกกว้าง เพราะเดินทางไปต่างประเทศ อยู่บ่อยครั้ง เนื่องจากหน้าที่การงานของท่าน และตำ�แหน่ง ว่าที่ โรตารีแอนน์ ผู้ว่าการภาคปี 2553-2554 บางครั้ง ต้นฉบับของท่าน อาจต้องเขียนระหว่างอยูต่ า่ งประเทศ หรือ ไม่ก็ต้องเขียนเป็นสต๊อคไว้ล่วงหน้า มีอยู่ 1 ครั้งที่ตกหล่น เพราะภารกิจรัดตัวอยู่ต่างประเทศ ส่งไม่ทันจึงเป็นโอกาส ของ บอ.กอ.วาณิช ขยับปากกาเล่าเรือ่ งราวบรรยากาศ การ จัดงาน “อุ่นไจไอหนาว คาวบอย” มาลงแทนอย่างเต็มอิ่ม พร้อมภาพประกอบที่หรูเลิศอย่างมีสีสัน คอลัมน์ “ หนึ่งในร้อย ” อน.จันทนี เทียนวิจิตร สมเป็นนักประชาสัมพันธ์ ได้สมั ภาษณ์บคุ คลสำ�คัญมากมาย ทำ�ให้เราได้รูค้ วามเป็นมา และเป็นไปของบุคคลสำ�คัญหลาย ท่านอย่างใกล้ชดิ ด้วยท่านสัมภาษณ์ละเอียดยิบ จน บอ.กอ. ต้องสะกิดว่า ยาวไป ยาวไป เป็นสาวมั่น มีความรับผิดชอบ สูง สนุกกับการทำ�งานเพราะเสริมสร้างความก้าวหน้าให้ เธออย่างคาดไม่ถึง คอลัมน์ “ Youth Corner “ น้องไนซ์ รทร.สุนิ พิช คงเมือง เจ้าของคอลัมน์ที่อายุน้อยที่สุด เขียนลงสาร ได้ถึงฉบับที่ 4 กำ�ลังมาแรง มีความภาคภูมิใจมากๆ ที่ได้ รับเกียรติเป็นคอลัมน์นิสต์ มุมเยาวชน ได้ค้นคว้าข้อมูล และเขียนเรือ่ งราวทีเ่ ป็นประโยชน์และแง่คดิ ดี ๆ ต่อเยาวชน เป็นอย่างมาก พร้อมทั้งให้ความรู้ที่ทันสมัยทันเหตุการณ์ แก่ผู้ปกครองอีกด้วย แต่ไม่คาดฝัน น้องไนซ์ได้จากเราไป อย่างไม่มีวันกลับด้วยอุบัติเหตุทางจราจร นอกจากเขียน หนังสือ น้องยังได้เป็นผู้ดูแลเวปไซท์ภาคและช่วยจัดเรียง ภาพกิจกรรมลงในสารฯ ด้วย เมื่อน้องจากไป ภารกิจนี้จึง ต้องโอนกลับไปยัง บอ.กอ.วาณิช คนเก่งของเรา โอ๊ยคิดถึง น้องไนซ์จริงๆๆ เป็นเสียงจาก บอ.กอ เมื่อผู้เขียนมุม เยาวชนต้องจากไป จึงเป็นโอกาสของเยาวชน โรตาแรคท์ และอินเตอร์แรคท์ ได้หมุนเวียนเปิดตัวเองผ่านสารผูว้ า่ การ ภาค ให้ได้รู้จักอย่างกว้างขวางขึ้น คอลัมน์ “เสียงนกเสียงกา “อน.สุรินทร์ ไชยวีระ ไทย รับผิดชอบในเบื้องต้น ต่อมาผู้ช่วย บอ.กอ. ต้องช่วย กันทำ�เอง จนถึงฉบับที่ 5 ฉบับที่ 6 – ปัจจุบัน อน.ประยูร และ อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ มาช่วยรับหน้าที่ เป็นที่เบา เนื้อเบาตัวของผู้ช่วย บอ.กอ.ไปหน่อย อน.ประยูร รับผิด ชอบได้ดีเยี่ยมพยายามประสานงานกับมิตรโรแทเรียน เพื่อ ให้มคี วามหลากหลายในหลายๆ จังหวัด โดยให้หลายๆ ท่าน ได้มสี ว่ นร่วม ในการแสดงความคิดเห็น ในหัวข้อเรือ่ งต่างๆ ลงในคอลัมน์นี้อย่างทั่วถึง ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดียิ่ง คอลัมน์ “ROTARY at a Glance “ อน.ศุภรี ฉัตร กันยารัตน์ เปิดใจ อยากเปิดโอกาสให้บุคคลทีมีเวลาและมี

เมษายน ๒๕๕๓

ความสามารถ ได้มีส่วนร่วมในสารผู้ว่าการภาค เธอรู้สึกว่า การได้มีส่วนร่วมในการทำ� คอลัมน์นี้ ทำ�ให้ได้มีโอกาส ค้นคว้าข้อมูลสิ่งละอันพันละน้อยของโรตารี จาก WEB SItE ROTARY.ORG ได้เพิ่มมากขึ้น เพราะใน WEB SItE โรตารี มีเรื่องราวที่น่าสนใจมากมาย เธอคิดว่าเป็นประโยชน์อย่าง มาก ที่เธอได้ค้นคว้า และทำ�การแปลจากภาษาอังกฤษ มา เป็ น ภาษาไทย ทำ �ให้ มิ ต รโรแทเรี ย นได้ ป ระโยชน์ แ ละ เป็นการจุดประกาย ให้มวลมิตรโรแทเรียนได้ทำ�การค้นคว้า เพิ่มเติมได้อย่างกว้างขวาง ถึงอย่างไรเธอก็ยินดี แต่ในบาง อารมณ์เธอก็รู้สึกว่าเวลาทำ�ไมมันเร็วจัง ต้องส่งต้นฉบับอีก แย้ว ๆๆๆ คอลัมน์ “เอกพาแอ่ว” ผชภ.เอกวุฒิ กาวิละ หนุ่ม น้อยอารมณ์ดีจากแดนอาทิตย์อุทัย ช่วยงานภาคมากมาย ในปีนี้ อาชีพผู้นำ�เที่ยว เป็นสิ่งถนัดที่สุด กอร์ปกับลีลาการ เขียนระดับมืออาชีพ มีความสามารถในการร้อยเรียง ใช้ค�ำ สละสลวย ชวนอ่านไม่น้อย ให้ทั้งความสุข สนุกสนาน และ อารมณ์ขันแก่มิตรโรแทเรียน อ่านไปก็ต้องยิ้มไปด้วยตาม อารมณ์ของผู้เขียน พยายาม Update สถานที่ท่องเที่ยวให้ สอดคล้องกับสถานที่ประชุมของชาวโรตารี พาเที่ยวในเขต ภาคเหนือจนเปิดโลกกว้างถึงประเทศญี่ปุ่น ให้ได้ติดตาม อย่างน่าสนใจ แฟนคลับไม่ผิดหวังกับ “เอกพาแอ่ว” คอลัมน์ฮิตติดตลาด ประจำ�สารฯ ZOOM INSIDE 3360 สะเก็ดข่าวเอื้องผึ้งของ อน.จินดา จรรญาศักดิ์ พี่ท่าน บอกว่ามันสุดแสนยากในการเขียนสารผู้ว่าการภาค ที่ ว่ายากไม่ใช่อะไรหรอก เพราะท่านไม่มีเวลาเดินทางไปทั่ว ทิศ เพื่อเสาะหาข้อมูลมาเขียนตะหาก ไม่เหมือนสารสโมสร เขียนเรื่องราวในสโมสรมันง่ายกว่ากันเยอะ และที่สำ�คัญ ต้องระมัดระวังในการเขียน บางครั้งใจอยากเขียน แต่เขียน ไม่ได้อย่างใจ บางครัง้ ฝืนความรูส้ กึ ตนเอง และต้องพยายาม เขียนให้กระจายไปอย่างกว้างขวาง แต่บางครั้งมีข้อจำ�กัด ขาดข้อมูลและพยายามต้องเขียนให้ออกนอกตัว เดี๋ยวจะ เป็นการเขียนเชียร์กน ั เอง ก็จะทำ�ให้ดไู ม่เหมาะสมอีก อยาก เปิดโอกาสให้บุคคลอื่นมาเขียนบ้าง เพราะตอนนี้งานรัดตัว มากๆๆ ถึงมากที่สุด มุม..สบาย…สบาย ของ อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ คอลัมน์ที่รวบรวมเรื่องตลก ขำ�ขัน มาให้ความสำ�ราญแก่ผู้ อ่าน ทำ�ให้อารมณ์ดี คลายเครียด ตอนอ่าน แต่ตอนให้ตอบ คำ�ถาม ทำ�เอาเครียดได้เหมือนกัน เพราะคิดเท่าไร ก็คิดไม่ ออก ต้องไปถามลูกๆ หลานๆ มาตอบจ้ะ แต่ถ้าเป็นคำ�ถาม เกี่ยวกับโรตารีก็พอจะตอบได้บ้าง ถ้าได้ติดตามงานเขียนใน สารผู้ว่าการภาค รับรองตอบได้แน่นอนและเป็นคอลัมน์ เดียว ที่มีรางวัลให้สำ�หรับผู้ตอบถูก แฟนพันธุ์แท้อย่าลืม ส่งคำ�ตอบโดยตรงถึงผู้เขียนอารมณ์ขัน อน.อภิชัย คีลา วัฒน์ แห่งสโมสรแม่สายด้วยนะจ๊ะ คอลัมน์ ใจถึงใจ เป็นการเปิดโอกาสให้มิตรโรแท เรียนคุยกับ บอ.กอ. ในเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะชมหรือจะเสนอ แนะต่างๆ หรือจะชี้แจง บอกเล่าเก้าสิบ หรือจะนำ�เสนอกิจ กรรมเด่นๆ ในโอกาสต่างๆ ก็สามารถฝากผ่านลงคอลัมน์

23 22


นี้ได้ทั้งสิ้น คอลัมน์ สารจากประธานโรตารีสากล ได้ให้การ แนะนำ�ในเรื่องต่างๆ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจให้มิตรโร เทเรียน ไม่ท้อแท้ต่อการทำ�ความดี และให้มีกำ�ลังใจในการ ทำ�งานเพื่อสังคมส่วนรวม ต่อไปอย่างไม่รู้เหน็ดเหนื่อย คอลัมน์ สารจากผู้ว่าการภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ซึง่ ในทุกเดือนก็จะคุยเล่าเรือ่ งราวต่างๆ พบปะกับโรแทเรียน ทุกท่าน ผ่านสารผู้ว่าการภาคนี้โดยเขียนทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ซึ่งก็ทำ�ให้ภาษาของท่านแข็งแกร่งอย่างมาก ท่านเดินทางร่วมกิจกรรมกับมิตรโรแทเรียนทั่วภาคอย่าง สนุกสนาน ด้วยความยินดีในการต้อนรับที่แสนจะอบอุ่น คอลัมน์ เลขานุการภาค อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงค์ เป็นการพูดคุยกับมิตรโรแทเรียน และรายงานสถิติ คะแนน การเข้าประชุมในทุกเดือน ก็ตามคะแนนการประชุมกันสุด ฤทธิ์ เพราะถึงเวลาต้องส่งรายงานให้ บอ.กอ. จนถึงวัน สุดท้ายนั้นแหละจึงจะได้ครบทุกสโมสร มีการจัดลำ�ดับการ ส่งคะแนนการประชุมเร็ว ๆๆ อีกด้วย ทั้งเขียนทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษเพือ่ ส่งไป RI จะได้อา่ นเข้าใจเพราะรายงาน สถิติการเข้าประชุมเป็นส่วนสำ�คัญ ที่ขาดไม่ได้ต้องรายงาน ต่อโรตารีสากล คอลัมน์ “เล่าขานตำ�นาน” คุณนรินทร์ ลิ้มเล็ง เลิศ บุตรชายคนเก่งของ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ กำ�ลัง จะรับปริญญา 2 สาขาพร้อมกัน 2 ใบ ด้วยเกรดเฉลี่ย มากกว่า 3.5 ในเดือน พฤษภาคม 2553 นี้ ได้นำ�เรื่องราว ประวัติศาสตร์รำ�ลึกถึงล้านนา 700ปี ซึ่งได้ทำ�การค้นคว้า ข้อมูลเป็นเวลาประมาณ 3- 4 เดือน เมื่อครั้งเดินทางกลับ มาประเทศไทยทีผ่ า่ นมา ทำ�ให้เราได้รบั ความรูอ้ ย่างมากมาย เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ล้านนาไทยของเรา

22 23

คอลัมน์ “ปฏิทินภาค และ ข้างหลังภาพ” อน.นฤ ชล อาภรณ์รตั น์ เป็นผูเ้ ขียน โดยปฏิทน ิ ภาคส่วนใหญ่จะแจ้ง ถึ ง กำ � หนดการข้ า งหน้ า ว่ า จะมี โ ปรแกรมอะไร เพื่ อ การ เตรียมตัวของมิตรโรแทเรียน ส่วน “ข้างหลังภาพ” ส่วน ใหญ่จะเป็นการเล่าเรื่องราวบรรยากาศ หรือสรุปการประชุม ในวาระต่างๆ ของภาคที่ผ่านไปสดๆ ร้อนๆ ให้ได้ UPDATE กันอย่างต่อเนื่อง นอกจากเขียนทั้ง 2 เรื่องแล้ว ยังเป็นผู้ ช่วย บอ.กอ. ในการรวบรวมภาพกิจกรรมต่างๆ พร้อม บรรยายใต้ภาพ แล้วจึงส่งให้ บอ.กอ.วาณิช จัดวางในหน้า กิจกรรม และติดตามงานจากคอลัมน์นิสต์ ซึ่งตำ�แหน่งนี้ ใช้เวลามาก ต้องใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูล และต้องเดิน ทางไปเก็ บ ข้ อ มู ลในทุ ก ๆ การประชุ ม งานนี้ ทำ �ให้ ไ ด้ ประสบการณ์มากมาย มีทั้งความสนุกและได้เรียนรู้จิตใจ ของใครต่อใครเพิ่มขึ้น ขอบคุณ อน.วาณิช โยธาวุธ ที่ได้ให้เกียรติเป็นผู้ ช่วย บอ.กอ. ในปีนี้ จึงมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ที่มี ส่วนสำ�คัญในการช่วยเหลือให้สารผู้ว่าการภาค เสร็จได้ทัน กำ�หนดเวลาในทุก ๆ เดือน และมิตรโรแทเรียนทุกท่านได้ ประโยชน์จากการ ติดตามข่าวสารข้อมูลของภาคอย่างต่อ เนื่อง และอาจสร้างแรงบันดาลใจให้สมาชิกมีความตื่นตัว ในการบำ�เพ็ญประโยชน์ เพื่อชุมชนผ่านกิจกรรมต่างๆ ของ สโมสรในภาค 3360 ของเรา เนื่องจากปีบริหารหน้า ดิฉัน ขอสละสิทธิ์ ในตำ�แหน่งอันทรงเกียรตินี้ เนื่องจากมีปัญหา ด้านเวลา ไม่สามารถช่วยงานในตำ�แหน่งนี้ได้ จึงขอเชิญ ชวน มิตรโรแทเรียนทีพ ่ อมีเวลาอาสาเป็นผูช้ ว่ ยงาน บอ.กอ. วาณิช เพื่อสร้างสรรค์งานสารผู้ว่าการภาคที่มีคุณภาพต่อ ไป…สวัสดีค่ะ

เมษายน ๒๕๕๓


At a glance...

RI newsletters

อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ

มวลมิตรโรแทเรียนเราอาจจะคุ้นเคย กั บ ข่ า วสารของโรตารี ส ากลแต่ เ พี ย งจาก นิตยสาร The Rotarian ซึ่งจริงๆแล้วโรตารี สากลมีจดหมายข่าวอีกมากมายหลายประเภท ขึ้นอยู่กับความสนใจของสมาชิก ซึ่งก็คือ Community Service Update เป็ น จดหมายข่ า วรายสี่ เ ดื อ นซึ่งให้ ข่าวสารเกี่ยวกับการบริการ ข้อมูลโครงการ และเหตุการณ์สำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับการบำ�เพ็ญ ประโยชน์ The Community Service Update is a quarterly electronic newsletter that provides Rotarians with news about effective service practices, project resources, and important service-related events.. End Polio Now เป็นจดหมายข่าวรายสามเดือนซึ่งให้ ข่าวสารเกี่ยวกับการกำ�จัดโปลิโอ จดหมายข่าว นี้เกี่ยวข้องทั้งสถิติล่าสุดและเรื่องราวต่างๆที่ ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจ(ในการกำ�จัดโปลิโอ) End Polio Now is a quarterly newsletter about polio eradication. The newsletter includes both the latest statistics and inspiring stories.. Every Rotarian, Every Year เป็นจดหมายข่าวทีใ่ ห้ขอ้ มูลทีท่ น ั สมัย เกี่ยวกับกองทุนประจำ�ปี บทความต่างๆที่เกี่ยว กับการประชุมของเหล่าโรแทเรียนรวมถึงเป้า หมาย เรื่องราวต่างๆเกี่ยวการบริจาคของกอง ทุนประจำ�ปีที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของเพื่อน มนุษย์ Every Rotarian, Every Year offers Annual Programs Fund updates, articles on how Rotarians are meeting their clubs’ goals, and stories about how Annual Programs Fund contributions enhance people’s lives.. Future Vision Pilot News เป็นจดหมายข่าวรายเดือนทีเ่ ชือ่ มต่อ

เมษายน ๒๕๕๓

กับข้อมูลและข่าวสารออนไลน์เกีย่ วกับฟิวเจอร์ วิชัน และเป็นเครื่องเตือนกำ�หนดการที่ต้อง ปฏิบตั ใิ นภาคทีใ่ ช้โปรแกรมการทดลองฟิวเจอร์ วิชัน ซึ่งใครๆก็สามารถสมัครเป็นสมาชิกได้ โดยไม่จำ�เป็นต้องอยู่ในภาคทดลองเท่านั้น The monthly Future Vision Pilot News connects you to new online Future Vision resources and information and reminds you of upcoming Future Vision pilot deadlines. Everyone is welcome to subscribe..

Interactive

เ ป็ น จ ด ห ม า ย ข่ า ว ที่ ช่ ว ย ใ ห้ ประสบการณ์ท่านผ่านรูปถ่ายและวิดีทัศน์ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ มิ ต รภาพของโรแทเรี ย นและ เยาวชนรุ่นใหญ่ในการเกี่ยวข้องกับโปรแกรม ต่างๆของโรตารี เช่น โรตาแรกต์ อินเตอร์แรก ต์ ทุนสันถวไมตรี ซึ่งจดหมายข่าวฯนี้ผลิตปีละ 11 เล่ม Interactive helps you experience through photos and videos the fellowship of Rotarians and young adults involved in programs such as Rotaract , Interact , and Ambassadorial Scholarships. This enewsletter is produced 11 times a year. International Service Update เป็นจดหมายข่าวอีเล็กทรอนิกส์ราย สองเดือนทีน ่ �ำ เสนอข่าวสารในปัจจุบน ั เกีย่ วกับ บริการชุมชนโลก อาสาสมัครโรตารี และชุมชน โรตารีซึ่งรวมถึงข่าวเกี่ยวภัยพิบัติและการช่วย เหลือ The bi-monthly International Service Update e-newsletter provides current information about World Community Service, Rotary Volunteers, and Rotary Community Corps, as well as disaster relief and recovery.

Membership Minute

เป็นจดหมายข่าวทางอีเมล์แบบสั้น

24 25


ซึ่งเกี่ยวกับแนวความคิด ข้อมูลและเครื่องมือในการพัฒนา สมาชิกภาพ The Membership Minute is a short e-mail newsletter that provides membership development ideas, resources, and tools.. New Generations เป็นจดหมายข่าวอีเล็กทรอนิกส์รายเดือนที่เสนอ ข่าวและพัฒนาการเกี่ยวกับเยาวชนโรตารี คือ อินเตอร์แรก ต์ โรตาแรกต์ และไรลา The New Generations monthly e-newsletter provides news and developments regarding Rotary’s youth and young adult programs: Interact , Rotaract , and RYLA .

อบอบรมของโรตารีสากล ซึ่งประกอบไปด้วยจดหมายจาก โรตารีสากล มติของคณะกรรมการบริหารโรตารีสากลที่ เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม และประเด็นสำ�คัญๆเกี่ยวกับการ ฝึกอบรม Rotary Training Talk keeps Rotarians informed about the latest news in RI training, including RI mailings, RI Board decisions that affect training, and training tips.

Rotary Youth Exchange Newsletter

เป็นจดหมายข่าวรายเดือนซึ่งประกอบไปด้วย ข่าวสารและข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับเหตุการณ์และข้อมูลเกี่ยว กับเยาวชนโรตารี ซึ่งมีจุดมุ่งหมายการจัดทำ�เพื่อเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนโรตารีและสร้างความสนใจให้โรแท Peace Net เรียนทั่วไป เป็นจดหมายข่าวที่เป็นเวทีสำ�หรับเป็นศูนย์กลาง The Rotary Youth Exchange Newsletter is distributed ของชุมชนโรตารี monthly and contains information and updates on The Peace Net newsletter is a forum for the Rotary current Youth Exchange events and resources. It’s Centers community.. intended for all Youth Exchange officers and interested PR Tips Rotarians.. เป็นจดหมายข่าวรายสองสัปดาห์ที่เสนอเกี่ยวกับ Visions แนวความคิดใหม่ๆสำ � หรับสโมสรและภาค เพื่ อ เป็นจดหมายข่าว ทีเ่ สนอข่าวสารเกีย่ วกับผลกำ�ไร ประชาสัมพันธ์ โรตารีในชุมชนของเขาเหล่านั้น และการบริจาค ตลอดจนการวางแผนเกี่ยวกับการเงิน The biweekly PR Tips offers innovative ideas for clubs ( ห ม า ย เ ห ตุ - จ ด ห ม า ย ข่ า ว นี้ มุ่ ง เ น้ นไ ป ที่ ผู้ อ่ า นใ น and districts to promote Rotary in their communities.. สหรัฐอเมริกา (เพราะมีผู้บริจาคจากมรดกหรือ Bequest Reconnections Society จำ�นวนมาก–ผู้แปล)) เป็นจดหมายข่าวที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสำ�หรับ Visions provides information about the benefits of ศิษย์เก่าของมูลนิธิโรตารี charitable estate and financial planning. (Note: Visions Reconnections is the source for news about Rotary is intended for a U.S. audience.). Foundation alumni.. Vocational Service Update Rotary Leader เป็นจดหมายข่าวอีเล็กทรอนิกส์รายสามเดือน ที่ เป็นจดหมายข่าวมัลติมีเดียที่ใช้เป็นธงนำ�ในการ เสนอ ต่อโรแทเรียนด้วยข่าวสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ปฏิบัติ ตีพิมพ์รายสองเดือนในแปดภาษา เป็นจดหมายข่าว การบริการด้านอาชีพ เชิงสารคดีที่สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้จริงสำ�หรับสโมสรโรตา The Vocational Service Update is a quarterly electronic รีและเจ้าหน้าที่ของภาคในปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ของภาคที่ newsletter that provides Rotarians with news and กำ�ลังจะเข้ารับตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการและผู้นำ� resources related to vocational service.. ต่างๆ Weekly Update Rotary leader is Rotary’s flagship multimedia เป็นจดหมายข่าวรายสัปดาห์ทีเ่ สนอข่าวสารล่าสุด publication. Published bimonthly in eight languages, ซึง่ ซึส่ ามารถนำ�ไปใช้ในสารสโมสรและสารผูว้ า่ การภาคและ Rotary Leader features practical information for Rotary เว็บไซต์ต่างๆ club and district officers, incoming officers, committee Weekly Update provides the latest Rotary news. It chairs, and other leaders.. can be used for club and district newsletters and Rotary: Navigating the Global Network Web sites. เป็นจดหมายข่าวที่มุ่งสนององค์กรภาคประชาชน ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นนี้ มวลมิตรโรแทเรียน และมนุษยชาติทั่วโลก บทความต่างๆเน้นไปยังงานในท้อง สามารถสมัครและหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ . ถิ่นและในระดับสากล http://www.rotary.org/en/mediaandnews/newsletters/ Rotary: Navigating the Global Network is intended MoreNewsletters/Pages/ridefault.aspx ค่ะ for civic and humanitarian organizations around the world. Articles highlight Rotary’s local and international work..

Rotary Training Talk

25 24

เป็นจดหมายข่าวที่บอกกล่าวข่าวล่าสุดของการ

เมษายน ๒๕๕๓


บ้านเลขที่ 3360 R.I.

อน.ดร.บุษบง จำ�เริญ ดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ร่วมเฉลิมฉลองการก่อตั้งโรตารีสากล เนื่องในการครบรอบ 105 ปีแห่งการก่อตั้ง โดยจัดให้มีการประกวดภาพวาดสันติภาพ ในระดับนักเรียน ในจังหวัดเชียงใหม่

รางวัลชนะเลิศที่ 1 ระดับอายุ 14-17 ปี นาย อนุวัฒน์ พีระเป็น โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำ�พูน

เมษายน ๒๕๕๓

26 27


เดือนแห่งนิตยสารโรตารี ตามด้วยเดือนแห่งการอบรม เจ้าหน้าที่สโมสร

เวลาผ่านไปอย่างรวดเร็วทั้งในความเป็นจริงและในความรู้สึก เดือนเมษายนมีวันหยุดเยอะ .. อากาศร้อนและร้อนมาก ... บรรยากาศ ของประเทศไทยร้อนระอุด้วยปัจจัยหลายอย่าง ... คนเหนือมีธุระต้อง รักษาวัฒนธรรมโดยการแต่งชุดพื้นเมืองตลอดเดือน .... คนไม่ทนน้ำ�ไป ไหนไม่ค่อยได้ เปียกบ้าง แห้งบ้าง เป็นหวัดกันหลายคน ... คนกลัวน้ำ� ไม่กล้าไปไหน .... กิจกรรมที่เหมาะเหม็งเห็นจะเป็น นอนอ่านหนังสือ นิตยสารโรตารีเป็นหนึง่ ในหนังสือทีค่ วรหยิบอ่าน มีทัง้ ภาษาอังกฤษ ภาษา ไทย ในหลักการของโรตารีประเทศไทย ขอให้โรแทเรียนทุกคนรับและ อ่านนิตยสารโรตารีอย่างน้อย 1 เล่ม จะเป็นฉบับไทย หรือเป็น The Rotarian ก็ได้ พวกเราก็เลยรับภาษาไทยทุกคน คนละฉบับ ส่วน The Rotarian แต่ละสโมสรรับไปสโมสรละ 2 ฉบับ นายกสโมสร และ เลขา สโมสรรับไป ไม่อย่างนั้นก็ “ฝรั่งรับไป” ก็ได้ ทั้งนี้ทั้งนั้น คงเป็นเพราะ โรตารี ส ากลคงอยากให้ โ รแทเรี ย นมี ค วามรู้ เ รื่ อ งโรตารี .... โดยตั้ ง สมมุตฐิ านว่าเมือ่ รับต้องอ่าน แต่หลายคนรับจริงแต่ไม่อา่ นจริง น้าน นาน จึงจะอ่านสักที ทำ�ให้รู้เรื่องโรตารีบ้างเป็นบางขณะ .... ไม่ว่ากัน ... เรา ยังมีวิธีหาความรู้เรื่องโรตารีโดยวิธีอื่นๆได้อีก อย่างน้อยๆนิตยสาร “สาร ผู้ว่าการภาค” เป็นอีกเล่มหนึ่งที่แฟนๆนิยมอ่าน ที่ผ่านมาได้สอดแทรก เรื่องที่โรแทเรียนควรรู้ได้อย่างครบถ้วน การทำ�นิตยสารไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องทุ่มกาย ทุ่มใจทำ�จึงจะดี ภาค 3360 มีชื่อเสียงอย่างมากเรื่องคุณภาพของสารผู้ว่าการภาค โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในสมัยของ ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ภาคไหนๆก็สู้ไม่ได้ เลย ไม่มีใครสู้ ยอมจำ�นนแต่ต้น ว่างั้นเถอะ ... บก. ต้องใช้ความสามารถ พิเศษในการวางโครงร่าง ยุให้นักเขียนเขียน และติดตามให้ส่งงานตรง เวลา ต้องยกนิ้วให้บรรณาธิการและทีมงาน จนจัดเป็นรายการ thumb up โลกหมุนทุกวัน ... โลกของโรตารีหมุนชัดเจนมากกว่าโลกของ ใครๆ เพราะฟันเฟือง 24 ซี่ คอยเตือนโรแทเรียนว่าทุกอย่างหมุนไปตาม รอบปีและอย่าหยุด โรตารีมีกิจกรรมหลายอย่างที่จัดเป็นประจำ� เรียกว่า เป็นแบบแผน (pattern) ของโรตารี ขึ้นต้นจาก การอบรมทีมงานภาค (District Team Training ,DTT) , การอบรมนายกรับเลือก (Multi-PET) การอบรมเจ้าหน้าที่บริหารสโมสร (District Assembly), การอบรมมูลนิธิ โรตารี (Rotary Foundation Seminar), อบรมการเพิ่มสมาชิกภาพ การ ประชุมระหว่างเมือง ตามมาด้วยการประชุมใหญ่ประจำ�ปี แปลว่าใกล้จะ ขึน ้ รอบใหม่อกี หนึง่ รอบ เป็นวัฎจักรอย่างนีแ้ หละ นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรม ที่ไม่จัดเป็นแบบแผนอีกมากมาย เช่น ปล่อยปลา ปล่อยโค กระบือ ฯลฯ เป็นต้น

27 26

เมษายน ๒๕๕๓


บ้านเลขที่ 3360 R.I.

ช่วงเวลาต่อรอบคือหลัง DC แต่ ก่อนวันที่ 1 ก.ค. 2553 ช่วงนี้เป็นช่วง ที่ ค นเก่ า จะรี บ ถ่ า ยทอดประสบการณ์ และภารกิ จให้ ค นใหม่ คนเก่ า มั ก จะ หายใจออกยาวๆ ... บางคนยาวมาก ออกเสียงดังเสียด้วยว่า ... “… เฮ้อ!!!!” คนใหม่จะต้องพยายามใจเย็นๆ .. หายใจ เข้าช้าๆ ... ค่อยๆให้ลมเต็มปอดไปทีละ น้อยๆ อาจมีเสียงหนักๆว่า “ฮึ่ม” กลางเดื อ นพฤษภาคม ภาค 3360 มีการอบรมเจ้าหน้าที่สโมสร แปล ว่าเจ้าหน้าที่ทั้งหลายมาเรียนรู้ว่าในปี ต่อไปท่านทัง้ หลายจะต้องทำ�อะไรบ้าง ปี ใหม่นี้ หนักหนาสาหัสหน่อย เพราะภาค 3360 เป็นภาคนำ�ร่องใน Future Vision Plan (FVP) ทุกคนต้องเรียนรู้ใหม่ ว่าจะ ทำ � สโมสรให้ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นได้ อย่างไร ปีนี้ต้องลงนามในบันทึกความ เข้าใจเป็นสองระดับ ระหว่างโรตารีสากล กับภาค และภาคกับสโมสร ไม่อย่างนั้น จะไม่มีสิทธิ์ขอรับการสนับสนุน มากยิ่ง ไปกว่ า นั้ น คื อ จะขอเงิ น ผ่ า นกระดาษ แบบเดิ ม ไม่ ไ ด้ อี ก แล้ ว ต้ อ งขอผ่ า น member access ปัญหาใหญ่คือจะทำ� อย่ า งไรให้ ทุ ก คนใช้ ป ระโยชน์ จ าก

เมษายน ๒๕๕๓

member access ให้ได้มากที่สุด อันดับแรกทุกคนต้องมี e-mail ทั้งนี้เพราะเขาต้องใช้ e-mail ในการลง ทะเบียนใน member access นั่นเอง พวกเราต่ า งเรี ย นรู้ ไ ปพร้ อ มๆกั น กรรมการก็เพิง่ ได้รบั แบบกรอกข้อมูลมา ไม่กี่ วันนี้ เอง ต้องเรียกว่ากำ�ลัง ตาลี ต าเหลื อ กเรี ย นรู้ วิ ธี ใ ช้ ปรึ ก ษา หารือกันทางโทรศัพท์เอย e-mail เอย มาหลายรอบ แต่ยังคงต้องมานั่งคุยกัน อีก 2-3 รอบ เราเลยต้องจัดการประชุม ร่วม จัดที่บ้าน อน.จินดา จรรญาศักดิ์ เพราะบ้ า นของท่ า นใหญ่ โ ต ราวกั บ โรงเรียน คงสะดวก แถมยังเลีย้ งข้าวเสีย ด้วย!!!! เอาเป็นว่ากรรมการบอร์ดของ ภาคกำ�ลังทำ�งานอย่างขมีขมัน นอกจาก นั้น ภาคต้องใช้เวทีของการประชุม DA เป็นที่ ถ่ายทอดวิทยายุทธ์ ทำ�ให้ กรรมการ DA ต้องเหนื่อยขึ้นเป็นเท่า ตัว มีเรือ่ งใหม่หลายเรือ่ ง เพราะนโยบาย ปีใหม่นี้ นอกจากจะ “ดีขึน ้ ใหญ่ขึน ้ เข้ม ขึ้น” แล้วยังมีนโยบายส่งเสริมเรื่องใหม่ อีก 2 เรือ่ งคือ การสร้าง new generation c l u b โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร จึ ง

28 29


เปลี่ ย นแปลงเล็ ก น้ อ ย โดยการยกโครงการที่ เกี่ยวข้องกับเยาวชนมาเน้นความสำ�คัญ เราจึงมี คณะกรรมการเยาวชนภาค ที่ประกอบด้วย YE, RYLA, Interact, Rotaract และจัดแนะนำ� session นี้ให้กับท่านนายกและนายรับเลือก เพราะสโมสร จะมีบทบาทมากขึ้นในการดำ�เนินโครงการเยาวชน และเราจะนำ � เสนอโครงการใหม่ คื อ new generation exchange แลกเปลี่ยนเยาวชนอายุ ระหว่าง 18-25 ปี เป็นเวลา 2 สัปดาห์กับญี่ปุ่น 6 คน นัยว่าออกเดินทาง 7-24 ต.ค. 2553 อยากทราบ รายละเอียดให้เข้าประชุมหัวข้อ โครงการเยาวชน ภาค 3360 บ่ายวันเสาร์ที่ 15 พ.ค. 2553 นอกจากนั้นยังเชิญชวนให้คู่สมรสเข้ามา ช่วยงานด้วยและมี session คู่สมรสช่วยนายกได้ อย่างไร? เพิ่มมาด้วย จึงนับว่าแปลกออกไป ... ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเท่านั้นที่จะช่วยให้ บริหารได้รอด ปลอดภัย .... ขอแรงพวกเราหน่อย แล้วกัน ..... หายเหนื่อยสักพัก ก็ถึงเวลาต้องเดินทาง คิ ด เสี ย ว่ าไปเที่ ย ว ไปให้ กำ � ลั งใจมิ ต รสหาย ใน เทศกาลสถาปนาคณะกรรมการบริหารสโมสรชุด ใหม่ เริ่มกันหลังวันที่ 15 พ.ค. 2553 เพราะกลาง คืนของวันที่ 15 พ.ค. 2553 จะต้องสถาปนาผู้ว่าการ ภาคคนใหม่เลียก่อนจึงจะทำ�หน้าที่อื่นๆต่อไปได้ ผู้ว่าคนใหม่เป็นหมอ ไม่สวย ไม่รวย ไม่เหมือนผู้

29 28

ว่าผ่านพ้น แถมยังมีข้อจำ�กัดแบบ หมอหมอ อีก ต่างหาก คือจำ�กัดเรือ่ งเวลา หมอไปงานไหนก็สายๆ เกือบทั้งนั้น หมอส่วนใหญ่ใจดีแต่มักจะมีมาดขรึม พวกเราก็ช่วยทำ�ให้เกิดเสียงหัวเราะคลายเครียด หน่ อ ยแล้ ว กั น หมอมั ก ขยั บ แว่ น ถามก่ อ นแล้ ว หัวเราะทีหลัง ... ตามมุขช้าหน่อย... บางทีก็ลืม หัวเราะเพราะตามมุขไม่เจอ .. เป็นงั้นไป ต้องไม่ ถือสาหาความ .... นอกจากนัน ้ หมอยังชอบคิดเรือ่ ง ง่ายๆให้ยากเสียอีก .... แต่หมอส่วนใหญ่กแ็ ก้ปญ ั หา ได้เก่ง ไม่ว่าจะปัญหาฉุกเฉิน หรือปัญหาคั่งค้าง ... จะตาย จะตาย อยู่แล้ว หมอยังปั๊มหัวใจจนเต้นต่อ ได้เลย ประสาอะไรกับเรือ่ งอืน ่ ๆ ไม่ถงึ ตายสักหน่อย ... แต่อยากให้ทำ�อะไรก็ต้องบอกเพราะหมอจะถูก ฝึกมาตลอดชีวิตว่าก่อนจะลงมือรักษาคนไข้ต้อง “ซักประวัติ” นั่งทางในไม่ได้ หมอจึงคุ้นเคยกับการ ทำ � งานที่ ข้ อ มู ล มาก่ อ นคำ � ตอบมาที ห ลั ง ..... นอกจากนั้นความสำ�เร็จของหมอมักขึ้นกับความ ร่วมมือของคนรอบข้างอีกต่างหาก ทำ�คนเดียวคง เฉาและไม่สำ�เร็จ ... โรแทเรียนทั้งหลายอย่าลืมให้ ความร่วมมือด้วยแล้วกัน ....

เมษายน ๒๕๕๓


หนึ่ง ใน ๑๐๐

อน.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนา เชียงใหม

พักนี้เราก็จะเห็นทีมงานของคณะกรรมการชุดใหม่ ปีบริหาร ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔ นำ�โดย ผวล. นพ. วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ได้มีการเตรียมงานกันอย่างคึกคัก เริ่ม ตั้งแต่การอบรมผู้นำ�ภาคเมื่อวันที่ ๒๐-๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ที่อำ�เภอแม่สอด จังหวัด ตาก อบรมนายกรับเลือกรอบแรกภายในภาค (Pre-PETS) เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ ต่อด้วยการจัดอบรมนายกรับเลือกร่วมสามภาค พร้อม กับภาค ๓๓๓๐, ๓๓๔๐, ๓๓๖๐ เมื่อวันที่ ๒๗-๒๘ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมพินนา เคิลแกรนด์ พัทยา จ. ชลบุรี และงานทีจ่ ะจัดขึน ้ เร็วๆ นีก้ ค็ อื การอบรมเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สโมสรหรือที่เรียกกันว่า District Assembly (DA) ในวันที่ ๑๕-๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวัน เชียงใหม่ คอลัมน์ “๑ ในร้อย” จึงขอถือโอกาสสัมภาษณ์ ผู้นำ�ภาคคนใหม่ ผวล.นพ. วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ผู้ที่จะรับตำ�แหน่งผู้ว่าการภาค เร็วๆ นี้ว่าท่านมีที่มาที่ไปอย่างไรในการเข้ามาทำ�งานโรตารี และนโยบายในการบริหาร งานของภาคในปีบริหารของท่าน

บทสัมภาษณ์ เมษายน ๒๕๕๓

ผวล.น 30 31


๑ ในร้อย : ท่านเข้ามาเป็นโรแทเรียนตั้งแต่เมื่อไหร่ ผวล.นพ. วีระชัย : ผมเข้ามาเป็นโรแทเรียนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยการเชิญชวนของ อผภ.ดร. ศุภวัตร ภูวกุล ตอน นั้นท่านเป็นคนไข้ที่ผมดูแลอยู่ที่โรงพยาบาล ปีนั้นเป็นปีที่ นย. สุทัศน์ จุลศรีไกวัล เป็นนายกสโมสร ผมอยู่สโมสรโรตา รีเชียงใหม่มาตลอด ที่จริงโรตารีแอนน์ของผม (อน.ดร. บุษบง จำ�เริญดารารัศมี) เป็นโรแทเรียนก่อนผมสองปี คือ เขาเป็นเลขานุการก่อตั้งของสโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทย งาม ช่วงนัน ้ ผมมีภารกิจในการบริหารโรงพยาบาลจึงไม่คอ่ ย มีเวลาว่าง พอเข้ามาเป็นโรแทเรียนเป็นจังหวะที่ผมลาออก จากโรงพยาบาล ก็เลยมีเวลามาร่วมกิจกรรมกับโรตารีได้ มากขึ้น ๑ ในร้อย : ท่านเป็นนายกสโมสรปีไหน ผวล.นพ. วีระชัย : เป็นนายกสโมสรโรตารีเชียงใหม่ปี ๒๕๔๘ หรือปี ค.ศ. ๒๐๐๕ เป็นปีที่โรตารีเริ่มนับปีที่ ๑๐๑ ของโรตารีสากล ในปีนั้นท่านคาร์ล วิลแฮมส สเต็นฮัมมา ประธานโรตารีสากลมาเมืองไทย และมาเยี่ยมมิตรโรแท เรียนภาค 3360 ที่เชียงใหม่ด้วย สมัย ผวภ.ทวี ทะพิงค์แก ผมเป็นประธานจัดงานต้อนรับที่เชียงใหม่ ๑ ในร้อย : เห็นคุณหมอทำ�งานเกี่ยวกับมูลนิธิโรตารีมา หลายปีในระยะหลังนี้ ผวล.นพ. วีระชัย : ผมช่วยงานที่สโมสรหลายอย่าง แต่งาน ที่ยากที่สุดก็คืองานมูลนิธิโรตารี ก็เลยสนใจเพราะมันเป็น รากฐานการที่หาเงินได้เยอะๆ มาช่วยในการทำ�โครงการ ก็ เลยสนใจไปเรียนรู้ ไปค้นหาจากอินเตอร์เน็ตของโรตารี สากล ประกอบกับก่อนหน้านี้ อน.ดร. ประดิษฐ์ เถกิง รังสฤษฎ์ เป็นประธานคณะกรรมการมูลนิธโิ รตารีภาค ท่าน มาชวนให้ช่วยเป็นประธานอนุกรรมการโปลิโอพลัสภาค ตอนนั้นมีการรณรงค์เพื่อให้โรคโปลิโอหมดไปเพื่อจะปิด โครงการ ผมรับเป็นประธานอนุกรรมการโปลิโอพลัสของ ภาคอยู่ ๓ ปี ได้ริเริ่มให้โรแทเรียนคุ้นเคยกับการรณรงค์ โครงการโปลิโอพลัสในภาค ก่อนหน้านัน ้ ต่างคนต่างทำ� เมือ่ อน.ดร.ประดิษฐ์เป็นประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรตารี ภาคครบวาระ ๓ ปี ท่านมาทาบทามผมเป็นประธานคณะ กรรมการมูลนิธิโรตารีภาคต่อ โดยความเห็นชอบของผู้ ว่าการภาค ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ หลังจากพ้นตำ�แหน่งนายกแล้ว ขณะที่เป็นนายกสโมสร รับหน้าที่เป็นประธานโปลิโอพลัส ของภาคด้วย ๑ ในร้อย : ในภาคเราท่านได้ทำ�อะไรเกี่ยวกับมูลนิธิโรตารี มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง ผวล.นพ.วีระชัย : เปลี่ยนไปเยอะเลย ก่อนหน้านั้นผมไป พูดเรื่องมูลนิธิโรตารีทีไร ทุกคนจะหลบหมด เพราะเขา เข้าใจว่ามูลนิธิโรตารีก็เหมือนมูลนิธิทั่วไป คือมาขอรับ บริจาคสตางค์อย่างเดียว แล้วเงินที่บริจาคหายไปไหนหมด มันคุม้ หรือเปล่า ทำ�ให้มคี วามกลัว ไม่ชอบมูลนิธโิ รตารี โดย ปกติทั่วไปโรตารีเราไม่ค่อยรณรงค์ขอรับการบริจาคเงิน ต่างๆ ใครมาขายของหรือขอรับบริจาคเป็นข้อห้าม เมื่อเข้า มาทำ�งานนี้ ก็เลยมาเริ่มต้นใหม่ เปลี่ยนแนวคิด (Concept)

ใหม่ ให้โรแทเรียนเรียนรู้ว่าทุกท่านสามารถขอความช่วย เหลือจากมูลนิธิโรตารีได้ มูลนิธิโรตารีเป็นผู้ให้การสนับ สนุนโรแทเรียน ไม่ใช่มาขอเรี่ยไรเงิน มูลนิธิโรตารีสามารถ ช่วยสนับสนุนโครงการของโรแทเรียนและสโมสรได้อย่างไร เงินของมูลนิธิโรตารีเป็นเงินของโรแทเรียนทั่วโลกบริจาค ร่วมกันในระบบปันส่วน(Share) เพื่อช่วยสนับสนุนพันธกิจ ของโรตารีสากล คนที่ช่วยเหลือบริจาคให้มูลนิธิโรตารีจะได้ รับการยกย่องตามแนวทางของโรตารีสากล และมีสิทธิ์ได้ อะไรติดไม้ตดิ มือกลับไป เช่นสามารถทำ�โครงการทีใ่ หญ่กว่า สโมสรของตัวเอง(บริจาคร่วมน้อย แต่ทำ�โครงการขนาด ใหญ่กว่า) เป็นแนวทางของโรตารีสากลที่ต้องการให้ผู้ทำ� โครงการต้องมีส่วนร่วมในการบริจาค เวลาผ่านมาสามปี โครงการในภาคที่ขอการสนับสนุนสมทบจากมูลนิธิโรตารี เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ และโรแทเรียนเริ่มตื่นตัวบริจาคมากขึ้น ช่วยให้ภาคเราเริ่มเป็นสากลมากขึ้น ๑ ในร้อย : เราให้ความรู้กับเขาอย่างไร ผวล.นพ.วีระชัย : ใหม่ๆ ก็เหนื่อยหน่อย ความรู้มูลนิธิ โรตารีไม่รู้จะไปหาที่ไหน ก็ต้องหาในอินเตอร์เน็ต ในภาค เราก็ไม่ค่อยจะมีใครรู้ มีบางท่านที่รู้เยอะ เช่น อน.นพ. บริบูรณ์ พรพิบูลย์ แต่สมัยมันก็เปลี่ยนไปหลายอย่างโดย เฉพาะในช่วงสิบปีหลัง Concept ก็เปลี่ยนไปหมด ยก ตัวอย่าง EREY เริ่มปี ๒๐๐๓ เนื่องจากผู้ที่บริจาคแล้วขอ ให้มูลนิธิโรตารีสมทบมันมากขึ้นแบบก้าวกระโดด โรตารี สากลก็ เ ลยหาวิ ธี ว่ า จะรณรงค์ ใ ห้ ค นบริ จ าคมากขึ้ น ได้ อย่างไร มาลงตัวทีแ่ นวคิดแบบ EREY ซึง่ เริม่ ต้นในปี ๒๐๐๓ โดยตั้งเป้าว่าโรแทเรียนมี ๑.๒ ล้านคนทั่วโลกถ้าบริจาค คนละ ๑๐๐ เหรียญสหรัฐทุกคน ก็จะได้เงินเข้ามูลนิธฯิ ๑๒๐ ล้านเหรียญสหรัฐ/ปี ซึ่งพอเพียงกับเงินที่มูลนิธิโรตารีใช้ จ่ายไปทำ�โครงการทั่วโลก ในปี ๒๐๐๖-๒๐๐๘ เป็นปีที่โรแท เรียนบริจาคถึง ๑๐๐ ล้าน/ปี แต่น่าเสียดายที่มีปัญหาด้าน เศรษฐกิจทำ�ให้เงินบริจาคน้อยลง(ปี ๒๐๐๙) แต่ก็มีการทำ� โครงการมากอยู่ ปี ห น้ า เขาก็ จ ะมาปรั บใหม่ เ พราะว่ า โครงการที่ เ คยทำ � นั้ น มั น ไม่ เ ป็ น เนื้ อ เป็ น หนั ง ที่ จ ะ Represent หรือว่าอ้างอิงของโรตารีสากลเรามีตวั อย่างเรือ่ ง โปลิโอ ถ้าโปลิโอหมดไปก็จะเป็นผลงานของโรตารีแน่นอน เพื่อให้ได้แนวทางเดียวกัน โรตารีจึงปรับวิสัยทัศน์ใหม่ ซึ่ง เป็นที่มาของ Future Vision Plan โรตารีจะเริ่มปีใหม่นี้ นั่นหมาย ความว่าเราจะต้องปรับแนวทางการทำ�โครงการ ในทิศทางเดียวกัน ๘๐ % แล้วให้โรแทเรียนสามารถทำ� โครงการที่เต็มใจอยากทำ�(กระจายไม่เป็นทิศทางเดียวกัน) ๒๐% ๑ ในร้อย : ขอให้ท่านอธิบายสั้นๆ ว่าแผนวิสัยทัศน์เป็น อย่างไร ผวล.นพ. วีระชัย : แผนวิสัยทัศน์สำ�หรับปีหน้าคือให้ทุก สโมสรมีส่วนร่วมในการทำ�โครงการที่มีขนาดใหญ่ แต่ขึ้น อยู่กับความสามารถในการบริจาคของสโมสร โดยอาศัย สโมสรที่มีประสบการณ์เป็นผู้นำ�ในการทำ�โครงการส่วน สโมสรเล็กก็จะได้เรียนรู้ไปในทางเดียวกัน การทำ�โครงการ

นพ.วีผู้วร่าการภาค ะชัย ๓๓๖๐ จำ�เริ ญ ดารารั ศ ม ี ปีบริหาร ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ 31 30

เมษายน ๒๕๕๓


หนึ่ง ใน ๑๐๐

ขอเงินสมทบจากมูลนิธิฯ แต่ละโครงการต้องขอเงินสมทบ รวมแล้วมากกว่าหนึ่งล้านบาท แนวทางใหม่นี้จะใช้ทั่วโลก ในปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ๑ ในร้อย : ในหนึ่งโครงการจะมีกี่สโมสรร่วมมือกันก็ได้ ? ผวล.นพ.วีระชัย : แต่ละโครงการขนาดใหญ่ มีสโมสรร่วม มากๆ ยิ่งดี และสามารถมีมิตรร่วมโครงการที่ไม่ใช่โรตารี ร่วมได้ด้วย ๑ ในร้อย : ถึงขั้นตอนนี้หรือเปล่าที่ต้องมีการทำ�บันทึก ความเข้าใจ หรือลงนาม MOU กับภาค ก่อนจะเข้าไปทำ� ผวล.นพ.วีระชัย : เราเป็นภาคนำ�ร่อง มูลนิธิฯ กำ�หนดให้ ภาค/สโมสรรับผิดชอบเงินมากขึน ้ สโมสรจะต้องมีคณ ุ สมบัติ ในการใช้เงินในส่วนนั้นได้ก่อน จึงต้องมีการลงนามบันทึก ความเข้าใจ ทัง้ ระดับภาคกับสโมสร และภาคกับมูลนิธโิ รตารี กล่าวคือภาคไปลงนามกับมูลนิธิโรตารีก่อน เพื่อมูลนิธิโรตา รีจะได้โอนสตางค์มาให้ภาคโดยตรง เพื่อให้ภาคเป็นผู้บริหาร จัดการ ก่อนโอนให้สโมสร จะได้ทำ�โครงการรวดเร็วขึ้น ๑ ในร้อย : โครงการเดิมมูลนิธิฯโอนมาให้สโมสรโดยตรง ผวล.นพ.วีระชัย : ใช่เดิมเราต้องขอสมทบจากมูลนิธิโรตา รีโดยตรง จะสังเกตว่าบางโครงการใช้เวลาหกเดือนหรือเป็น ปี เงินจึงจะโอนมาให้ ต่อไปในระบบ Future Vision Plan จะทำ�ให้เร็วขึ้น ได้เงินเร็วขึ้น ๑ ในร้อย : เป็นระบบเงินสดไหม และ DDF ยังมีเหมือน เดิมหรือเปล่า ผวล.นพ.วีระชัย : ถ้าเป็นระบบเงินสด สมทบให้ครึ่งหนึ่ง ส่วน DDF ก็ยังได้เท่าตัวเหมือนเดิม แต่ระบบเปลี่ยนไป ให้ ภาคจะเข้าไปดูแลว่าโครงการแต่ละโครงการในภาค สโมสร ได้ดำ�เนินการถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของมูลนิธิโรตารีหรือไม่ สโมสรที่ไม่ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจก็จะไม่สามารถขอ สมทบจากมูลนิธิโรตารี ๑ ในร้อย : คุณหมอจะมีอะไรเพิ่มเติมในส่วนของมูลนิธิ โรตารีอีกไหม ผวล.นพ.วีระชัย : อยากเพิ่มเติมก็คือแนวโน้มในอนาคตน่า จะต้องรณรงค์การบริจาค เพราะการบริจาคเข้ามูลนิธิฯ เงิน ไม่หายไปไหน เงินจะวกกลับมาหาเรา ภาคเรายังเป็น Super user อยู่ หมายความว่าเราจ่ายไปหนึ่งบาทเราได้กลับมา เป็นสิบเท่ายี่สิบเท่า เนื่องจากเรามีคู่มิตรต่างประเทศที่ ให้การสนับสนุนทำ�โครงการ หากทำ�โครงการขนาดใหญ่ ก็ ต้องการเงินไปขอสมทบมากขึ้นตามไปด้วย เพราะฉะนั้น การบริจาคก็จะต้องเข้มข้นขึ้นมิฉะนั้นอีกสามปีเงินที่จะวก กลับมาเพื่อใช้สมทบก็จะมีน้อย ๑ ในร้อย : เคยมีหลายคนอยากบริจาคให้มูลนิธิโรตารีแต่ มีปัญหาว่าไม่สามารถเอาใบเสร็จรับเงินไปลดหย่อนภาษีได้ ก็เลยต้องไปบริจาคให้องค์กรหรือหน่วยงานอื่น ผวล.นพ.วี ร ะชั ย : ตอนนี้ เ รามี มู ล นิ ธิ ภ าคโรตารี ไ ทย สำ � นั ก งานอยู่ ที่ ศู น ย์ โ รตารี เราใช้ เ วลากว่ า สิ บ ปี เ พื่ อให้ สามารถเอาเงินบริจาคไปลดหย่อนภาษีได้ ซึง่ เพิง่ อนุมตั เิ มือ่ เดือนสิงหาคมนี่เอง รวมถึงโครงการที่เรานำ�เข้าสิ่งของจาก ต่างประเทศก็สามารถไปลดหย่อนภาษีนำ�เข้าได้ด้วย ขอให้ ช่วยกันประชาสัมพันธ์ให้โรแทเรียนได้รับทราบกันมากๆ ๑ ในร้อย : อยากบริจาคติดปัญหาเรื่องการนำ�ใบเสร็จไปลด หย่อนภาษี ติดต่อได้ที่ใคร ผวล.นพ.วีระชัย : ตอนนี้ใครต้องการขอเอกสารลดหย่อน

เมษายน ๒๕๕๓

ภาษีให้ติดต่อคุณดนุชา ผู้อำ�นวยการศูนย์โรตารีได้เลย ๑ ในร้อย : คุณหมอมารับตำ�แหน่งผู้ว่าการภาคมีแรง บันดาลใจอะไร ผวล.นพ.วีระชัย : โดยอาชีพแล้วงานที่ทำ�คืองานบริการ ความตัง้ ใจก็คอื น่าจะบริการนอกเหนือจากด้านอาชีพของตัว เองด้วย เพื่อช่วยเหลือสังคม ก็ยินดีจะบริการ ประกอบกับ ลูกๆ ก็โตหมดแล้ว มีเวลาว่างมากขึ้น ก็เลยยินดีรับงานดัง กล่าว ๑ ในร้อย : คุณหมอเตรียมตัวมากี่ปี ผวล.นพ.วีระชัย : ตั้งแต่สโมสรทาบทามและรับทราบผล การคัดเลือก ประมาณสองปี เป็นจังหวะเดียวกับมูลนิธิฯ เปลี่ยนโครงสร้างการให้ทุน ได้เริ่มศึกษาตรงนั้นพร้อมกัน ไม่รู้ว่าเป็นโชคดีหรือโชคร้าย ต้องเรียนรู้หนักขึ้น ๑ ในร้อย : เป็นโชคดีของภาค และก็มีอาจารย์บุษบงช่วย โดยเฉพาะด้าน Matching Grant อย่างเข้มแข็ง ผวล.นพ.วีระชัย : ยังไงต้องอาศัยโรแทเรียนทุกคนต้องเรียน รู้ร่วมกัน ผมคนเดียวเรียนรู้คนเดียวก็ทำ�อะไรไม่ได้ ๑ ในร้อย : ขอทราบนโยบายการบริหารปีหน้า ผวล.นพ.วีระชัย : ปีหน้าจะมีการปรับ โดยเป็นความตั้งใจ และการแนะนำ�ของประธานโรตารีสากลคนใหม่ คุณเรย์ คลิง กิ้นสมิธ ท่านแนะนำ�ให้นำ�ศักยภาพของผู้นำ�ในภาคมาช่วย ลดสโมสรที่อ่อนแอให้น้อยที่สุด ผู้นำ�ที่เข้มแข็งในภาคคือ อดีตผู้ว่าการภาค ผมเรียนเชิญอดีตผู้ว่าการภาคอาสามา ช่วยงาน เพราะมีประสบการณ์ โดยแบ่งเป็นโซนต่างๆ แต่ละ โซนไม่เกินสิบสโมสร ยกเว้นเชียงใหม่จะแบ่งเป็นสองโซน กำ�ลังวางแผนวิธีการ เพื่อให้คำ�แนะนำ�กับนายกและผู้นำ� สโมสร โดยการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และผมจะ พยายามไปประชุมร่วมด้วย ในส่วนของภาคมีแผนผู้น�ำ ภาค แนวทางเดียวกับแผนผู้นำ�สโมสร เช่นแผนระยะยาวสามปี โดยอาศัยนายก นายกผ่านพ้น และนายกรับเลือก ช่วยกัน วางแผน ในระดับภาคเราก็จะทำ�อย่างเดียวกัน ผมเรียนเชิญ ผู้ ว่ า การภาคปี ถั ดไปอี ก สองท่ า นมาร่ ว ม รวมเป็ น คณะ กรรมการบริหารภาค ๑๑ คนรวมผมด้วย เรามาวางแผน ระยะยาว ๓ ปีร่วมกัน ปีถัดไปสามารถแก้ไขสิ่งที่ทำ�แล้วยัง ไม่ดใี ห้ดขี ึน ้ ปีถดั ๆ ไปก็จะดีขึน ้ เรือ่ ยๆ คณะกรรมการบริหาร ภาคเปลี่ ย นได้ ทุ ก ปี แนวคิ ด ที่ ว างไว้ ก็ คื อ ดึ ง ผู้ ที่ มี ค วาม สามารถ มีศักยภาพสูงและมีเวลาเข้ามาอยู่ในกรรมการชุด นี้ เพื่อเตรียมเป็นผู้นำ�ของภาคในอนาคตได้ และสามารถ ช่วยผู้ว่าการภาค ประสานลงมาในระดับคณะกรรมการฝาย ต่างๆ ของภาค นายกสโมสร หรือโรแทเรียน เช่นเดียวกับ คณะกรรมการบริหารสโมสรนั่นเอง ๑ ในร้อย : บอร์ดแต่งตั้งโดยผู้ว่าการภาคทั้งหมด รวมทั้ง ผู้ว่าการภาครับเลือกอีกสองท่านด้วย ผวล.นพ.วีระชัย : ใช่ ยกเว้นผู้ว่าการภาครับเลือกที่เรียน เชิ ญ มาร่ ว ม ในโอกาสไปร่ ว มประชุ ม International Assembly ที่ซานดิเอโก โรตารีสากลแนะนำ�แผนก CDS (Club and District Support) คือคณะกรรมการสนับสนุน สโมสรและภาค หมายความว่าเป็นหน่วยงานของโรตารี สากลที่มาช่วยภาคและสโมสร เราไม่เคยรู้มาก่อนจริงๆว่ามี หน่วยงานสนับสนุนนี้ มีกรรมการรับผิดชอบแต่ละโซนดูแล โซนของเราคือโซน 6 B ก็มีคุณสุภาพ จิตตะ เป็นผู้ดูแล โชคดีที่เป็นคนไทย เขาช่วยเตรียมเนื้อหาที่สโมสรสามารถ

33 32


ติดต่อขอความช่วยเหลือจากเขาโดยตรง ผ่านทางเว็บไซต์ โดยทำ�เป็นดีวีดีบรรยายเป็นภาษาไทยว่าหน่วยงานนี้จะ สามารถช่วยสโมสรและภาคได้อย่างไร มี Power Point เรือ่ ง ราวของสโมสรที่ เป็นพืน ้ ฐานว่าหน้าทีส่ โมสรมีอะไรบ้าง ผม ได้อัดสำ�เนาซีดีแจกให้นายกรับเลือกไปแล้ว ท่านใดอยาก ได้มาขอรับได้ เป็นแนวทางที่เปิดกว้าง ทำ�ให้เราได้รับรู้ ข่าวสารใหม่อีกทางหนึ่ง สำ�หรับแนวทางการทำ�โครงการแบบใหม่ได้อย่างไรในภาค นำ�ร่อง Grant Management Seminar จะมีการอบรมใน District Assembly (DA) รวมทั้งลงนามบันทึกความเข้าใจ กับภาค ขอเชิญชวนสโมสรที่มีศักยภาพ เปิดบู้ทเรื่องการ ทำ�โครงการแบบใหม่ ให้ทุกสโมสรมาเลือกช็อปปิ้งว่าอยาก ได้โครงการอะไร จะมีส่วนร่วมบริจาคในโครงการได้อย่างไร ๑ ในร้อย : หมายความว่าโครงการของทางภาคมีอยู่แล้ว แต่มาเปิดบู้ทเชิญสโมสรมาร่วมโครงการ โดยการบริจาค และร่วมกิจกรรม ผวล.นพ.วีระชัย : ใช่ ตามโครงสร้างใหม่ใน ๖ เรื่อง เรา ได้ติดต่อมิตรที่เป็นภาคนำ�ร่องด้วยกันไว้แล้วส่วนหนึ่ง ถ้า ขั้นตอนการประสานงานเรียบร้อยก็จะได้โครงการมาเลย โครงการเหล่านี้คาดหมายจะได้มาภายในก่อนสิ้นปีนี้ ผม อยากให้ทุกสโมสรมีส่วนร่วมจะมากน้อยก็แล้วแต่ความ พร้อม ถ้าทุกสโมสรร่วมกิจกรรมและบริจาคตั้งแต่ ๑๐๐ เหรียญขึ้นไป ท่านก็สามารถร่วมโครงการได้ เริ่มสำ�รวจได้ เลยว่าชุมชนอยากได้อะไร ๑ ในร้อย : อยากทราบนโยบายเกี่ยวกับสมาชิกภาพในปีบ ริหารของท่าน ผวล.นพ.วีระชัย : ปีนี้ถ้านับจากเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เรามีสมาชิกเพิ่มขึ้นหลายสิบคนทีเดียว หลายปีมานี้ภาค เรามีโรแทเรียนเพิ่มมากพอๆ กับหายไป เราเคยมีสมาชิก สูงถึง ๑,๔๐๐ คน ตอนนี้เหลือ ๑,๒๐๐คน ภาควางแผน ๓ ปีเพิ่มสมาชิกปีละ ๑๐๐ คน ปีนี้เราจะมีสโมสรหายไปสอง สามสโมสร สโมสรโรตารีแม่สอดและเมืองฉอดได้รวมกัน อย่ า งเป็ น ทางการแล้ ว ส่ ว นสโมสรโรตารี ห างดงและ แม่ ส ะเรี ย งไม่ เ สนอนายกสโมสรสำ � หรั บ ปี ห น้ า ปี ห น้ า ประธานโรตารีสากลไม่เน้นการตั้งสโมสรใหม่ แต่เขาเน้น ความเข้มแข็ง ของสโมสร แต่สโมสรจะเข้มแข็งก็ต้องมี สมาชิกมาช่วยกันทำ�งาน และถ้าจะให้กิจกรรมเด่นก็ต้องมี การบริจาคเพื่อจะได้เงินมาทำ�โครงการ ทุกเรื่องก็จะเกี่ยว พันกันไป ๑ ในร้อย : ที่สโมสรโรตารีล้านนามีสมาชิกใหม่เข้ามาปีนี้ ๘ คน แต่ก็มีคนเก่าออกไป ๗-๘ คนเหมือนกัน เพราะเรา ต้องการคนที่มาร่วมกิจกรรมจริงๆ เดิมมีมาแต่ชื่อและเงิน ค่าบำ�รุง RI เริ่มเก็บยากขึ้น ตอนนี้จะเอาแต่คนที่มาจริงแม้ จำ�นวนจะลดลง แล้วค่อยหาใหม่ ผวล.นพ.วีระชัย : อยากให้คนที่อยู่จริงๆ ถ้ามีแต่ชื่อก็ไม่ ไหว เอาคนที่มาร่วมกิจกรรมจริงๆ ให้เรารู้ตัวเลขที่แท้จริง จะได้วางแผนได้ หลายสโมสรมีสมาชิก ๑๔ แต่ส่ง ๑๐ จะ ทำ�ให้สทิ ธิของสมาชิกหายไป ในภาคเราจะปรับใหม่ เอาของ จริงก็แล้วกัน ๑ ในร้อย : ปี ๒๕๕๕ ประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพการ ประชุมใหญ่โรตารีสากล (RI Convention) ตอนนี้ใกล้เข้ามา แล้ว ปีนี้เราจะรณรงค์อย่างไร

32 33

ผวล.นพ.วีระชัย : เรื่อง RI Convention เป็นเรื่องใหญ่ ใน ฐานะประเทศเจ้าภาพโรแทเรียนเราต้องไปประชุม ปกติ ประเทศใดเป็นเจ้าภาพโรแทเรียนในประเทศนั้นจะต้องช่วย กันออกค่าใช้จ่ายในการจัดงาน แต่ของเรามี TCEP = Thailand Convention & Exhibition Promotion :ซึ่งเป็น หน่วยงานภาครัฐที่ส่งเสริมการประชุมและการจัดแสดง นิทรรศการระดับนานาชาติ จะช่วยออกค่าใช้จ่ายเหล่านี้ให้ ส่วนโรแทเรียนเราที่เข้าร่วมประชุมจะจ่ายเฉพาะค่าลง ทะเบียนและค่าใช้จ่ายส่วนตัว ถ้าหากว่ามีปัญหาค่าใช้จ่าย ส่ ว นตั ว ก็ ใ ห้ ช่ ว ยกั น คิ ดในสโมสรว่ า จะเริ่ ม เก็ บ ออมกั น อย่างไร ส่วนค่าลงทะเบียนเรากำ�ลังคิดในคณะกรรมการ ภาคว่าเราจะหากองทุนภาคเพื่อจะนำ�ส่วนนี้ไปสนับสนุน บางส่วน เช่น เอาไปช่วยผูท้ ีม่ ปี ญ ั หาในการลงทะเบียน หรือ ช่วยในการเดินทางเพื่อจะได้เป็นกลุ่มเป็นก้อน ส่วนสโมสร ให้รณรงค์การไปร่วมประชุมมากกว่า ๕๐ % ถ้าได้เกินครึ่ง หนึ่งเราก็ถือว่าเข้าเป้า ให้สโมสรช่วยกันรณรงค์ด้วย ถ้า สโมสรมีคู่มิตรต่างประเทศก็ขอให้เริ่มออกหนังสือเชิญชวน เขามา ถ้าเขามาก็ให้เป็นเจ้าภาพที่ดี ดูแลต้อนรับ ตรงนั้น ก็จะเป็นจุดที่ทำ�ให้เราได้มิตรที่จะมาร่วมทำ�โครงการกับเรา เราจะคุย Up date เรื่องนี้ทุกครั้งในการประชุมระดับภาค ต่อไปเราก็จะพูดในการประชุม District Assembly ๑ ในร้อย : ปลายปีนี้จะมีประชุมสถาบันโรตารี หรือ Rotary Institute ทางภาคจะประชาสัมพันธ์รณรงค์อย่างไร เพราะ ยังเห็นเงียบๆ อยู่ ผวล.นพ.วีระชัย : เรื่องการประชุมสถาบันฯ นี้น่าสนใจ เพราะเป็นการประชุมระดับโซนหลายโซน ซึ่งของโซนนี้จะ ประกอบด้วยโซน 6B, 7A และ10B การประชุมสถาบัน เดิม เป็นอบรมผู้ว่าการภาครับเลือกและกรรมการภาค แต่ตอน นี้เปลี่ยนไปเพราะถ้าโรแทเรียนรู้ก็จะ Up date ข้อมูลให้กับ โรแทเรียนด้วย การจัดก็หมุนเวียนไปแต่ละประเทศ ซึ่งปี นีก้ จ็ ะเวียนมาจัดขึน้ ทีก่ รุงเทพ คือวันที่ ๑๙-๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์พาร์ค มีค่าลงทะเบียน คนละ ๑๕๐ เหรียญสหรัฐ (๔,๙๕๐ บาท) คู่ครอง ๑๐๐ เหรียญสหรัฐ แต่ถ้าลงทะเบียนล่วงหน้าภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ อาจจะได้รับส่วนลด โรแทเรียนสามารถ ค ลิ๊ ก เ ข้ า ไ ป ดู ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ล ง ท ะ เ บี ย น ไ ด้ ที่ www.2010bangkokrotaryinstitute.org บรรยายกาศของการพูดคุยกับ ผู้ว่าการภาครับเลือกคุณ หมอวีระชัยครั้งนี้ “๑ ในร้อย”ได้นัดหมายที่บ้านของท่าน หลังจากที่ท่านเลิกงานจากคลีนิค เริ่มสองทุ่มครึ่งจากที่ ตั้งใจว่าจะพูดคุยสั้นๆ แต่เราก็สนทนากันอย่างเพลิดเพลิน จนถึงสี่ทุ่มเศษ โดยมี โรตารีแอนน์ อน.ดร. บุษบง นั่ง ทำ�งานโรตารีอยู่ใกล้ๆ เท่าที่สังเกตดูจะเห็นว่าคุณหมอวีระ ชัยมีเลขาส่วนตัวที่เข้มแข็งมาก เราเชื่อแน่ว่าจากความ ตัง้ ใจและมีทมี งานทีเ่ ข้มแข็ง ในปีบริหาร “ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก” จะต้องมีโครงการที่บริการชุมชนจากทุก สโมสรและเต็มเปี่ยมไปด้วยพลังในการบริการเหนือตนตาม คติพจน์ของโรตารี.

เมษายน ๒๕๕๓


Youth Corner

ความหวัง ความฝัน และ ผู้ใหญ่ใจบุญ

นส.ธณัฐฐา คำ�บุญ

“ทุกครั้งที่ได้เปิดโทรทัศน์ดูรายการ แฟชั่นโชว์ ฉันเห็นเหล่านางแบบเดินเฉิดฉาย แล้ ว ปิ ด รายการด้ ว ยการแสดงตั ว ของนั ก ออกแบบชุดที่เหล่านางแบบสวมใส่ ที่ยืนโค้ง คำ�นับรับเสียงปรบมือดังกึกก้องทำ�ให้ดิฉันรู้สึก ชื่นใจ และชื่นชมนักออกแบบคนนั้น และมี ความฝันว่า จะได้ไปยืนท่ามกลางเหล่านางแบบ และเสียงปรบมือเช่นในโทรทัศน์บ้าง แต่ดิฉันก็ ตระหนักดีว่า การจะเป็นนักออกแบบผู้โด่งดัง ได้นัน ้ ต้องจบการศึกษาสูงๆ และต้องอาศัยเงิน จำ�นวนมากซึ่งดิฉันเองก็ประมาณตนเสมอว่า สำ�หรับดิฉันแล้ว การได้รับการศึกษาขั้นพื้น ฐานก็ถือว่าโชคดีที่สุดแล้วก็ว่าได้” ดิ ฉั น ชื่ อ นางสาวธณั ฐ ฐา คำ � บุ ญ “น้องขิม” อายุ 17 ปี เรียนอยู่โรงเรียนหอพระ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 พ่ อ และแม่ ข องดิ ฉั น เสี ย ชี วิ ต แล้ ว ตั้งแต่ยังเด็ก ฉันจึงได้อาศัยอยู่กับป้าและลุงซึ่ง มีอาชีพขายปลาเผาอยู่ที่ ตลาดสด แม่เหียะ นอกจากจะช่วยงานท่านเพื่อเป็นการแบ่งเบา ภาระทดแทนคุณท่านให้ได้ มากที่สุดแล้ว ฉัน ยังตั้งมั่นในความดีเสมอ เป็นเด็กดีและเชื่อฟัง ท่าน ฉันคิดมาตลอดว่า คงจะดีหากฉันมีโอกาส ได้รับทุนการศึกษาเพราะจะช่วยลดภาระค่าใช้ จ่ายของครอบครัวได้ไม่มากก็น้อย จนกระทั่ง วันหนึ่งความหวังของดิฉันก็มาถึง ดิฉันได้รับ ทุนการศึกษาจากสโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ และ สโมสร The Rotary Club of Queenstown, Singapore ฉันจึงได้นำ�เงินทุนการศึกษาก้อน นั้นมาสร้างโอกาสทางการศึกษาของตนเอง เงินก้อนนี้เป็นเสมือนเงินลงทุน ที่ได้ความรู้

เมษายน ๒๕๕๓

และประสบการณ์เป็นกำ�ไรของชีวติ ติดตัวไปจน เติบใหญ่ และสามารถหาประโยชน์เพื่อตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในภายหน้า การได้เข้ามาเป็นเด็กทุนที่อยู่ร่วมใน สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ ฉันรู้สึกว่าฉันโชคดีที่ ได้ร่วมกิจกรรมต่างๆที่ทางสโมสรหยิบยื่นให้มา เสมอ การได้พบปะกันเพื่อนๆและผู้ใหญ่จาก ทางสโมสรฯ ที่คอยให้คำ�แนะนำ� ดูแลฉันเสมอ มานัน ้ ทำ�ให้ฉน ั มีก�ำ ลังใจทีจ่ ะกระทำ�ตนเป็นคน ดี และเพียรพยายามศึกษาเล่าเรียน ให้คุ้มค่า กับทุนการศึกษาที่ได้รับ นอกจากนี้ยังสร้าง ความหวังอันริบหรี่ในการเป็นนักออกแบบชื่อ ดังของฉันให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ฉันเชื่อว่า หากฉันได้รับโอกาสฉันจะ ต้องทำ�ตามความฝันของฉันได้ดั่งใจหวัง และ ฉันยังตั้งใจไว้ว่า เมื่อฉันโตขึ้น ฉันจะต้องเป็น ผู้ใหญ่ที่ดี และมีเมตตาเหมือนดังผู้ใหญ่ใจบุญ ของสโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ และสโมสร The Rotary Club of Queenstown, Singapore ที่ ได้ ใ ห้ โ อกาสกั บ เด็ ก ธรรมดาอย่ า งฉั น ไม่ ใ ห้ ความฝันของฉันต้องถูกทำ�ลายไปเพียงเพราะ ไม่อยากรบกวน หรือสร้างภาระให้ลุง กับ ป้า ที่ อุ ต สาห์ เ ลี้ ย งดู ฉั น มาอย่ า งดี โ ดยตลอดไป มากกว่านี้อีก สุ ด ท้ า ยนี้ ฉั น รู้ สึ ก สำ � นึ ก และขอ ขอบพระคุณ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้เป็นอย่าง ยิ่ง ที่คอยสนับสนุน ผลักดันและเห็นใจฉันคอย มอบทุนการศึกษาทีด่ ใี ห้มาโดยตลอด ฉันสัญญา ว่า จะเป็นคนที่ดีของสังคม ตั้งใจเรียนและคอย ปฏิบัติตนตามความถูกต้องของกฏหมายบ้าน เมือง เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดี แก่บุคคลอื่นๆต่อไป

34 35


สิ่งที่ได้จากการเป็น นักเรียนแลกเปลี่ยน

35 34

ชื่อนางสาวญาณิศา นฤนาทวงศ์สกุล (ฝ้าย) อายุ 17 ปี ขณะนีศ้ กึ ษาอยูท่ โี่ รงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นส.ญาณิศา ได้มีโอกาสทำ�หน้าที่เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ฒนธรรม ทีเ่ มือง Castlegar, British Columbia นฤนาทวงศ์สกุล วัประเทศแคนาดา ในเดือนมีนาคม 2552 – กุม พาพันธ์ 2553 เป็นระยะเวลาทั้งหมด 11 เดือน โดยมี สโมสรโรตารี เ ชี ย งใหม่ ใ ต้ เ ป็ น สโมสร อุปถัมภ์ การเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนคือการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยกับต่างชาติ ภาษา ไม่ ใ ช่ อ ย่ า งเดี ย วที่ เ ราจะได้ จ ากการไปแลก เปลี่ยนเท่านั้น การแลกเปลี่ยนยังเป็นการเปิด โอกาสให้เราได้สะสมประสบการณ์ใหม่ๆ ทำ�ใน สิ่งที่ไม่เคยทำ� และได้ค้นพบว่าเราชอบอะไรไม่ ชอบอะไร สิ่งที่เราคิดว่าไม่ชอบหรือทำ�ไม่ได้ เราอาจจะค้นพบว่าเราสามารถทำ�มันได้และ ชอบมัน เป็นประสบการณ์ทีไ่ ม่สามารถหาได้ใน ประเทศ หรือไหนหนังสือเล่มไหนๆ เราจะต้องสัมผัสและเรียนรู่ด้วยตัว ของเราเอง เช่น โรงเรียนที่นั้นแตกต่างกับที่ เมื อ งไทยอย่ า งไร นั ก เรี ย นที่ นั้ น ทำ � อะไรที่ โรงเรียนบ้าง นิสยั และการใช้ชวี ติ ประจำ�วันของ คนแคนาดาเหมื อ นหรื อ แตกต่ า งกั บ คนไทย อย่างไรบ้าง นอกจากประสบการณ์แล้ว เรายัง ได้ความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น สิ่งสำ�คัญอีก อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ เราจะสามารถปรั บ ตั ว กั บ สิ่ ง แวดล้อมต่างๆ ได้ง่ายขึ้น อย่ า งที่ ท ราบกั น ว่ า โครงการแลก เปลีย่ นโรตารี นักเรียนจะต้องอยู่ 3-4 ครอบครัว อุปถัมภ์ นอกจากจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่ง แวดล้ อ มและฝึ กในด้ า นของภาษาแล้ ว เรา

จำ�เป็นที่จะต้องปรับตัวเราให้เข้ากับครอบครัว ที่เราไปอยู่ให้ได้ จะทำ�ให้เกิดความสนิทสนมกับ ครอบครัวเร็วขึ้น ในช่วงแรกอาจจะยาก แต่ใน การย้ายครอบครัวครั้งต่อไป เราก็จะปรับตัวได้ ง่ายขึ้น รวมไปถึงไปอนาคต ไม่ว่าที่ใดเราก็จะ ปรับตัวเข้ากับสังคมนั้นๆได้ง่าย การเป็นนักเรียนแลกเปลีย่ นทำ�ให้ฝา้ ย โตขึ้นในอีกระดับหนึ่ง ทำ�ให้ฝ้ายอดทนกับสิ่ง ต่างๆที่เข้ามามากขึ้น และสามารถจัดการกับ ปัญหาต่างๆด้วยตนเองได้มากขึ้น พึ่งตัวเองได้ มากขึ้น วางแผนว่าในวันๆหนึ่ง เราจะต้องทำ� หรือจะทำ�อะไรบ้าง สุดท้ายนี้ฝ้ายก็ต้องขอขอบคุณโรตารี สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ และคุณพ่อคุณแม่ที่ มอบโอกาสและประสบการณ์ที่ดีและมีค่ามากนี้ ให้ ฝ้ายจะนำ�ประสบการณ์ที่ได้จากการไปแลก เปลี่ ย นครั้ ง นี้ ม าใช้ ใ นชี วิ ต ข้ า งหน้ า ให้ เ กิ ด ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นให้ได้มากที่สุด ในขณะที่หลายคนยังไม่มีโอกาสที่เข้า เรี ย นในโรงเรี ย นดี ๆ แต่ พ วกเรามี โ อกาส มากกว่าคนอื่นๆ หลายเท่า เราก็ควรจะใช้ โอกาสที่เรามีให้ดีที่สุด แล้วจะรู้ว่ามันเป็นสิ่งที่ มีค่ามากอีกอย่างหนึ่งที่พ่อแม่ได้มอบให้แก่เรา ฝ้ายอยากฝากให้คุณพ่อคุณแม่ทุกท่าน สนับสนุนในเรื่องของการแลกเปลี่ยนและเรื่อง ของประสบการณ์ของเด็ก แต่ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่ กับความสมัครใจในการทำ�หน้าที่เป็นนักเรียน แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม

เมษายน ๒๕๕๓


เอกพาแอ่ว

Pai in Love ผชภ.เอกวุฒิ กาวิละ สโมสรโรตารีหางดง

เข้าสู่ฤดูร้อนแบบนี้ หลายคนโทร มาถามว่าจะพาไป “เอกพาแอ่ว” จะพา หลบลมร้อนไปไหนดี ก็นั่งนึกนอนนึกว่าจะ พาไปเมื อ งญี่ ปุ่ น ก็ ไ กลไป จะพาไปเมื อ ง ยุโรปก็ค่าใช่จ่ายก็มากดีไม่ดีติดค้างที่เมือง ใดเมืองหนึ่ง เนื่องจากเครื่องบินบินไม่ได้ ติดฟ้าไม่เปิดจากเถ้าควันภูเขาไฟต้นเหตุ จากเกาะไอร์แลนด์จะว่าเราอีก เป็นอันพับ จะพาไปตะลุยยุโรป เลยนึกได้ว่าคนยุโรป หรือพวกฝรั่งมังค่าทั้งหลายเขามักไปก็ที่นี่ ไง ที่หลบทั้งคนและอากาศร้อนๆ ก็ “ปาย อิ น เ ลิ ฟ ” เ มื อ ง เ ล็ ก ๆ ท า ง ผ่ า นไ ป จ.แม่ฮ่องสอน เรานี่ไง อือ ว่าแล้วก็จะพา ไปตะลุย ละน่ะ.. “Pai” หรือ “ปาย” เป็นเมืองเล็กๆ ทางแวะผ่านเหมือนไปขอนแก่น อีสาน ก็ ต้องแวะนครไทย หรือ ชุมทางเขา “ชุมแพ” ยั ง จำ � ชื่ อ หนั ง เรื่ อ งนี้ ดี อ ยู่ กั น หลายคน สำ�หรับคนสูงวัยนะ ส่วนใครไป สปป.ลาว ทางน้ำ�จากเชียงของ ก็ต้องพักแวะที่ “เมือง ปากแบง” เมืองท่องเที่ยวระหว่างไปแอ่ว หลวงพระบาง น้อยคนจะรู้จัก ผมเคยพา ญี่ปุ่น โรแทเรี่ยน ภาค 2760 กว่า 35 ชีวิต มาทางเรือผ่านลำ�น้ำ�โขงแวะมาแล้ว อย่าง ทรหดอดทน 10 กว่าชั่วโมง ไปทำ�กิจกรรม ที่ ล าว จนเป็ น ที่ เ ล่ า ขานว่ า อย่ า ไปกั บ Kenjiro อีกเลย ฮิฮิ แหมความประทับใจ แบบนี้หายากจะตายไป ใช่ไหมครับ ปายก็เช่นกันมีมนต์เสน่ห์ ที่เป็น เมืองไม่วุน ่ วาย มีล�ำ น้�ำ สายปายลัดเลาะผ่าน เมืองที่มีชุมชนผสมผสาน ระหว่างชนพื้น เมืองเดิมแท้ๆ กับชาวไทยภูเขา และส่วน หนึ่งเป็นชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่ตอนใต้ที่ อพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร เป็นชาว ยูนนาน เรียกที่นี่ว่า “ศูนย์วัฒนธรรมจีน

เมษายน ๒๕๕๓

ยูนนาน บ้านสันติชล” หมุ่บ้านชาวจีนนี้มี วั ฒ นธรรมจี น ยู น นานแท้ ใ ห้ เ ที่ ย วชม เหมือนมาเมืองจีนเลยแหละ มีหินก้อนใหญ่ สลักตัวจีนเหมาะสำ�หรับถ่ายเป็นที่ระลึก ห่างจากเมืองราว 6-7 กิโลเมตร มีทีพ ่ กั แบบ ทั้งโฮมสเตย์ และรีสอร์ตอีกต่างหาก ก็เลือก ตามใจชอบละกัน แต่โดยส่วนใหญ่ นักท่อง เที่ ย วทั้ ง ไทยและเทศมั ก จะพากั น มาพั ก ใกล้ๆ ในเขตเมืองมากว่า เพราะกลางคืน ก็เป็นเวลาสำ�ราญที่พวกเขาจะตะเวนเที่ยว เดินไปตามซอกซอยของถนน ที่ในเมือง เป็นถนนคนเดินแบบอดีต มีสินค้าน่ารัก หลากหลาย น่าซื้อ น่าชม น่าจับ น่าจอง เป็ น ของฝากจำ � นวนแปลกตามากมาย บางทีกเ็ ดินไปราวกับว่าอยูอ่ กี เมืองหนึง่ ของ โลก ลืมเรื่องการงานไปเลยทีเดียว คน กรุงเทพดูจะชอบมากๆ ดาราก็มากันบ่อยๆ แต่กระนั้นสมัยก่อนฝรั่งหนุ่มสาวชอบ มา ที่นี่เพื่อเพียงหวังว่าจะมาสดสอบว่า “ยา” ที่นี่แรงดีขนาดไหน เพราะไกลปืนเที่ยงไง แต่เดี๋ยวนี้ เมืองปายเจริญขึ้น พี่ๆ ตำ�รวจ ทำ�งานเป็นกันอย่างคึกคะนองเลย ไม่ค่อย จะมีเรือ่ งพรรคอย่างนีใ้ ห้แล้ว แต่มนต์เสน่ห์ ที่ขึ้นชื่อติดหู ติดตาของฝรั่งมังค่าเลยทำ�ให้ ใครๆ ที่มาจากถนนข้าวสาร กทม. หรือ ถนนลอยเคราะห์ แต่ไม่คอ่ ยมีเคราะห์หรอก มีแต่ความสุข จากเมืองเชียงใหม่ ถวิลหา ต้องมาเที่ยวปาย เลยทำ�ให้เมืองปายพัฒนา ไปอีกรูปแบบใหม่ ที่ไม่ต้องพึ่ง “ยาเสพติด” เป็นเมืองท่องเที่ยวเต็มรูปแบบทีเดียวใน ปัจจุบัน ทั้งนี้ “ปาย” ไม่ใช่จะมีเฉพาะมนต์ เสน่ห์ของผู้คนแล้ว ยังมีประวัติศาสตร์เมื่อ ยามสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ราวๆ พ.ศ. 2482 ที่ทหารญี่ปุ่นจะไปรบกับอังกฤษต้อง

36 37


ผ่านมาทางนี้ มีสะพานข้าม แบบเมืองกาญจนบุรีแต่ เล็กกว่า ญี่ปุ่นใช้เป็นทางผ่านเพื่อจะไปเมืองพม่ามะละ แหม่ง เลยมีการสร้างสะพานสายนี้ขึ้นมา เสร็จเอาปี พ.ศ.2485 ถือเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของปาย ที่ทุกคนจะ มาถ่ายรูปไว้กับ “ขัวเหล็ก” นี้ที่หลงเหลือให้ดูเป็น อนุสรณ์ นอกจากนั้นใกล้ๆ ยังมี บ่อน้ำ�พุร้อนจากพื้น พิภพ ที่คนที่ชอบแบบเที่ยว “อองเซนญี่ปุ่น หรือ สปา” พลาดไม่ได้เด็ดขาดทีจ่ ะมาสัมผัสไออุน ่ จากธรรมชาติ ถึง บอกว่าหากมาปายที่ไหนดีนอกจากเที่ยวในเมืองก็ที่นี่ แหละครับ นอกจากนั้น กิจกรรมที่คนท้องถิ่นสรรหามา แต่งเติมให้ “ปาย” เพิ่มเสน่ห์ก็คือ การพานักท่องเที่ยว ต่างชาติ “ล่องแก่งลำ�น้ำ�ปาย” ที่เป็นสายน้ำ�หลักของ แม่ฮ่องสอน มีต้นกำ�เนิดมาจากทิวเขาถนนธงชัย และ แดนลาว ถือว่าน่าจะเป็นกิจกรรมต้นๆ รวมระยะทาง ประมาณ 50 กิโลเมตรทีเดียว ความยากของแก่งมีตัง้ แต่ ระดับ 1-4 ช่วงฤดูฝนอาจจะถึงระดับ 5 ซึ่งมีความยาก มากและระดั บ น้ำ � รุ น แรง นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะได้ สั ม ผั ส ธรรมชาติที่สวยงามและความสนุกสนานตลอดสายน้ำ� เช่น เล่นน้ำ�ตกซู่ซ่า ผจญภัยแช่ตัวในบ่อโคลน กระโดด หน้าผาสูง ช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการล่องแก่ง คือ เดือนมิถุนายน-กุมภาพันธ์ ของทุกปี การล่องแก่งต้อง อาศัยผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่น ส่วนอันดับรองลงไปก็ น่าจะ เป็นการนั่งขี่ช้างจับตักแตนป่าอันนี้ ไม่แน่ใจว่าจะจับ ได้ไหมนะ หากใครสนใจก็ไปที่ บ้านท่าปาย ราคาก็ 500 บาท นั่งได้ 2 คน จู๋จี๋กันไปบนหลังช้างดูโรแมนติคเหลือ หลายเอาการ ปางช้างอยู่แถวๆ นี้แหละ และการเดิน ป่าที่ฝรั่งวัยรุ่นต่างดีอกชกลม อยากออกกำ�ลังบ้าปิ่น แบบนี้ที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า การ Tracking และปั่น จั ก รยานชมเมื อ งปายก็ น่ า สนใจ แวะมาแช่ น้ำ � แร่ ท่ามกลางขุนเขาแห่งธรรมชาติอย่างที่บอกตอนต้นก็ไม่ เลวทีเดียว แต่สำ�หรับผมขอเลือกเที่ยวและถ่ายรูปไป เรื่อยๆ ตามแหล่งธรรมชาติและยามราตรีมากว่า เคย

37 36

มาน้องๆ เยาวชนแลกเปลี่ยนของโรตารีมาพักแรมที่นี่ ทุกคนบอกว่า “สุดยอดดดด” แล้วจะมาอีกแน่ะกับ Mr.Japan อีกนี่ก็ชื่อเล่นกับเด็กๆฝรั่ง YE เขาตั้งให้ ฮิฮิ ส่วนเรื่องกินเรื่องใหญ่ หลายคนมาที่นี้ ก็ต้อง แวะที่ร้านน้องเบียร์ ใจกลางเมืองมีข้าวซอยก็อร่อยดี หรือหมูสะเต็กย่างชิน ้ ใหญ่เนือ้ นุม่ ลูกสาวมาสืบทอดเจน ตาแทนคุณแม่ทีว่ ยั ล่วงเลยสาวๆ ไปแล้ว แต่รสชาติบอก สอนมากับมือเองรับประกันความผิดหวังความอร่อย อือ เชือ่ แกไว้กอ่ นก็คงดี และส้มตำ�กับไก่ยา่ งก็ตอ้ งร้านส้มตำ� หน้าที่ว่าการอำ�เภอปาย แถวนั้นแหละ เขาว่าอร่อยรส เด็ดเลยทีเดียว แต่ไม่เคยไปชิมนะ ไม่มีเวลา แต่ ที่ แ น่ ๆ หากใครมาปายแล้ ว ต้ อ งมาซื้ อ โปสการ์ด สวยๆที่ร้านนี้ “ร้านมิตรไทย” (Mitthai in Pai) ดึกๆ ค่อนเขียนส่งไปหาคนรักว่ามาพักที่ปาย แล้ว หรือส่งให้ กิก กิก ก็ได้แอบๆ เขียนส่งไปอย่าให้เขาจับ ได้ ล ะกั น ฮิ ฮิ นอกจากนี้ ร้ า นนี้ ยั ง ขายของที่ ร ะลึ ก มากมายหลายอย่าง เป็นร้านทีช่ าวไทยและชาวต่างชาติ รู้จักดี ขายทั้งเสื้อ เข็มกลัด กระเป๋าผ้า ต่อรองได้ เจ้าของใจดี อาจมีของแถมให้ก็เป็นได้ แต่ ที่ ทุ ก คนหมายตา เวลาขากลั บ จาก แม่ฮ่องสอน ก็ ต้องมาแวะที่ร้านกาแฟ Coffee in Love ตั้งอยู่นอกเมืองทางมาเชียงใหม่นิดเดียว สถานที่น่านั่ง ดื่ม ลิ้มรสกาแฟมากๆ อร่อยสุดๆ มีขนมขบเคี้ยว ราคา ก็ไม่แพงอย่างที่คิด สนใจก็แวะด้วยน่ะ บรรยากาศดี มากๆ ขอบอก มีบ้านทรงฝรั่ง 2 ชั้นครึ่ง แบบวิลล่า ยุโรป สวยๆทาสีเหลืองไข่ สีนวลตาดูคลาสสิคสวยดี มี มุมสำ�หรับคนชอบถ่ายภาพเยอะแยะเลยแหละ ไม่ว่าจะ เป็นตัวหลักกิโล ที่ทำ�เสียใหญ่โตหลายทาสีขาว ยกถ่าย ได้กับมือ หรือมุมป้ายร้านของเขากับ รถจักรยานเก่าๆ โบราณๆ มีบ้านเป็นฉากหลังก็เก๋อีกแบบ แหมดื่มไปชม ไป เลยลืมเวลากลับเชียงใหม่ กว่าจะถึงก็คงอีกนาน หลายชั่วโมง ไปละครับ บาย บาย โอ้ ล่า ล้า

Pai in Love…

เมษายน ๒๕๕๓


เล่าขานตำ�นาน

ในฉบับนี้จะขอกล่าวถึงที่มาแห่ง ตระกูล ณ เชียงใหม่ โดยสังเขป คนในตระกูล ณ เชียงใหม่ นั้นได้สืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน แห่งล้านนา กษัตริย์ล้านนาแต่ละพระองค์ นั้นชาวล้านนาในอดีตเรียกท่านๆ ว่า เจ้าหลวง ในฉบับก่อนได้เล่าประวัติโดยสังเขปของพระเจ้า กาวิละ ซึ่งเป็นเจ้าหลวงองค์แรกแห่งราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนไปแล้ว ถัดจากสมัยของพระเจ้ากาวิละ ก็ได้มี เจ้าหลวงแห่งราชวงศ์นี้ สืบเชื้อสายกันมาอันได้แก่ พระยาธรรมลังกา(พศ ๒๓๕๙ ถึง ๒๓๖๔),พระยาคำ�ฝั้น หรือ“เจ้าหลวงเศรษฐี” (พศ ๒๓๖๖ ถึง ๒๓๖๘), พระยาพุทธวงศ์ (พศ ๒๓๖๙ ถึง ๒๓๘๙), พระเจ้ามโหตรประเทศ (พศ ๒๓๙๐ ถึง ๒๓๙๗), พระเจ้ากาวิโลรสสุริวงศ์ หรือจ้าว ชีวิตอ้าว (พศ ๒๓๙๙ ถึง ๒๔๑๓), พระเจ้าอินทวิชยานนท์ (พศ ๒๔๑๖ ถึง ๒๔๔๐), เจ้าอินทว โรรสสุริยวงศ์ (พศ ๒๔๔๔ ถึง ๒๔๕๒), และ พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ (พศ ๒๔๕๔ ถึง ๒๔๘๒) ใน ฉบับนี้จะเน้นถึงเจ้าหลวงสามองค์ สุดท้ายแห่งราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน และเป็นเวลาแห่งความผนวก เป็นหนึ่งระหว่างไทยและล้านนา • พระเจ้าอินทวิชยานนท์ (พศ ๒๔๑๖ ถึง ๒๔๔๐) หรือ เจ้าอินทนนท์เป็นบุตรแห่ง พระยา ราชวงศ์ มหาพรหมคำ�คง ซึ่งเป็นบุตรของพระยาคำ�ฝั้น เจ้าอินทนนท์ เป็นบุตรเขยของพระเจ้า กาวิโลรส แต่งกับเจ้าเทพไกรสรมีธิดาคือ พระชายาเจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ ๕ เจ้าอินทนนท์มี ความอ่อนแอในการปกครอง แต่เจ้าเทพไกรสรมีความเฉลียวฉลาดรอบรู้ในราชการ ได้ช่วยเป็น ผู้สำ�เร็จราชการทั่วๆไป ในสมัยนี้นั้นรัฐบาลกลางได้มีนโยบายยกเลิกหัวเมืองประเทศราช และ ผนวกเชียงใหม่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของไทย ดังนั้นแล้วเจ้าอินทวิชยานนท์ นับเป็นเจ้าเมือง ประเทศราชองค์สุดท้าย • เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์ (พศ ๒๔๔๔ ถึง ๒๔๕๒) เป็นบุตรของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ กับเจ้ารินคำ� เป็นเจ้าเมืองที่ไม่มีอำ�นาจในการปกครองบ้านเมือง เพราะราชการทั้งปวงขึ้นกับ ข้าหลวงประจำ�นคร ซึ่งเป็นข้าราชการจากส่วนกลาง • พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ (พศ ๒๔๕๔ ถึง ๒๔๘๒) เป็นบุตรแห่งเจ้าอินทวิชยานนท์ เป็นเจ้า เมืององค์สุดท้ายของเชียงใหม่ ไม่มีอำ�นาจในการปกครอง แต่รัฐบาลให้เกียรติในฐานะประมุข นรินทร์ ลิ้มเล็งเลิศ ปกครองบ้านเมือง รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชทานนามสกุล ณ เชียงใหม่ ให้แก่พลตรีเจ้าแก้วนว นักศึกษาปี 4 สาขาการบัญชี รัฐ ตามที่ทูลขอให้เหล่าทายาทในสายสกุล“เจ้าเจ็ดตน” ซึ่งล้วนสืบเชื้อสายมาจากเจ้าหลวงทุก และการเงิน พระองค์ รวมถึงผู้ครองนครในล้านนาทีส่ ืบเชือ้ สายมาจาก“เจ้าเจ็ดตน” โดยอ้อม(อ่านต่อฉบับหน้า)

“ล้านนารำ�ลึก 700 ปี ที่ สูญหาย”(๘)

University of Virginia, Charlottesville ,Va., USA.

In this month, I will briefly summarize the family line of “Na Chiang Mai.” A Lanna person with a last name of “Na Chiang Mai” is a later generation of Chao Ched Ton dynasty of Lanna. In the past, Lanna people will call their king, “Chao Luang.” Last month, I wrote the story of Chao Luang Kawila, who was the first king of Chao Ched Ton dynasty. Descending from Chao Luang Kawila, several kings continued the reign, including Phraya Thammalangka (1816 – 1821 ce.), Phraya Kumfun (1823 – 1825 ce.), Phraya Budhawong (1826 – 1846 ce.), Phrachao Mahotaraphrathet (1847 -1854 ce.), Phrachao Kavilolodsuriyawongnse (1856 – 1870 ce.), Phrachao Intavichayanon (1873 – 1897 ce.), Phrachao Intavarorod suriwongse (1901 – 1909 ce.), and General Chao Kaew Nowarat (1911-1939 ce.). In this month, I will emphasize only the last three Chao Luangs who dwelled in a time of change when Lanna was annexed into a part of Thailand politically, socially, and culturally. • Phrachao Intavichayanon (1873 – 1897 ce.) was a son-in-law of Phrachao Kavilolodsuriyawongnse. He married with Chao Thep Kraisorn and had a daughter named Chao Dararasmi, who became one of the wife of the fifth king of Siam’s Chakkri dynasty. Phrachao Intavichayanon was a weak ruler, but he was well supported by Chao Thep Kraisorn. During this period of time, the central government of Siam begun a centralizing process, slowly inhibiting decentralized feudalism and gradually fostering power at Bangkok. • Phrachao Intavarorod suriwongse (1901 – 1909 ce.) was a son of Phrachao Intavichayanon and Chao Rincome. He no longer had an absolute or political power as a Lanna ruler because the power was at that time in the hand of the official representative sent to preside over Lanna from Bangkok. • General Chao Kaew Nowarat (1911-1939 ce.) was a son of Phrachao Intavichayanon. He was known as the last Chao Luang of Chiang Mai. He possessed no ruling power, but Siam’s central government allowed him to remain as a symbol unifying and empowering Lanna societies. With the request of Chao Kaew Nowarat, the sixth king of Siam’s Chakkri dynasty gave an honorary last name “Na Chiang Mai” to the descendents, both of direct and indirect line to Chao Chet Ton dynasty in honor of the dynasty’s majestic contribution to the renaissance of Lanna. (To be continued…)

เมษายน ๒๕๕๓

39 38


Zoom Inside 3360

38 39

การประชุมครั้งสุดท้าย District Conference ของ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ สำ�เร็จเรียบร้อย แต่ภาระหน้าที่ก็ยังไม่สิ้นสุด ทำ�หน้าที่ด้วยความเข้มแข็งภาคภูมิใจสะสาง ปัญหาที่ยังค้างคาเรียบร้อยค่ะ...***ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ จะจัดให้มีงานเลี้ยงขอบคุณ คณะกรรมการทั้งหมดอีกครั้ง เร็ว ๆ นี้...***เยี่ยมสโมสรสุดท้ายของภาค 3360 ผวภ.แวว ดาว ลิ้มเล็งเลิศ นำ�ทีมโรแทเรียนภาค 3360 เยี่ยมสโมสรเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 28 กพ.-2 มีค.53 ด้วยความเรียบร้อย สนุกสนานกับการเที่ยวหลวงพระบาง...***นายกรับเลือก ผู้ ช่วยผู้ว่าการภาค 3360 เดินทางร่วมประชุม Multi-PETs ที่พัทยา เกือบครบถ้วน ขอได้ รับความขอบคุณจาก ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี...***การเดินทางค่อนข้างลำ�บาก เพราะจะต้องต่อรถไปพัทยาถ้าไปด้วยเครื่องบิน หลาย ๆ ท่านเดินทางด้วยรถส่วนตัว แต่ ทุ ก ท่ า นก็ มี ค วามมุ่ ง มั่ น เตรี ย มพร้ อ มในการที่ จ ะปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นปี บ ริ ห าร Building Communities Bridging Continents ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก ปีแห่งการนำ� ร่องใน Future Vision Plan ปีที่ภาค 3360 จะต้องทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ที่ “ใหญ่ ขึ้น ดีขึ้น และเข้มขึ้น”...***ขอบคุณ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ แนะนำ�ประวัติของ ผวล. นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี...***สุดยอดวิทยากรภาค 3360 ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง อน.พิมพ์ประไพ พรรณนาภพ ผชภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ นย.อธิฐาน วงศ์ใหญ่ อน.อนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ อน.จันทนี เทียนวิจิตร อน.พัลลภ ลาศุขะ อน.พตท.สมบูรณ์ บูรณพิร อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี อน.ดร.สุรพล นธการกิจกุล ทุกท่านได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้นำ�การอบรมที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ...***ต้องปรบมือให้ อผภ.อนุวัตร ภูวเศรษฐ ประธานฝ่ายวิชาการ ที่ท่านได้คัดสรรวิทยากรอย่างดีเยี่ยมค่ะ...***ขอบคุณ อน.พัลลภ ลาศุขะ อน.วีระพงศ์ โตแสงชัย ที่ช่วยดูแลเรื่องห้องพักแทน ด้วยความเรียบร้อย...***เสา หลักของภาค 3360 อผภ.วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา เดินทางร่วมให้กำ�ลังใจในการอบรมที่ อน.จินดา จรรญาศักดิ์ พัทยา ขอได้รับความขอบคุณจาก ผวล.นพ.วีระชัย ...***อผภ.นพ.สมบัติ อินทรลาวัณย์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ป่วยเข้าๆ ออกๆ โรงพยาบาล ขอให้หายป่วยเร็วๆ นะคะ...***สโมสรโรตารีเชียงใหม่โดย ถิ่นไทยงาม อน.วีรพงศ์ โตแสงชัย เป็นประธานจัดอบรม District Assembly ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน วันที่ 15-16 พค.53 ค่าลงทะเบียนแสนถูก 999 บาทสำ�หรับโรแทเรียน 799 สำ�หรับโรตารีแอนน์ ของแจกของแถมเพรียบค่ะ...***สโมสรแม่สาย ทยอยจัดส่งไวน์ จำ�นวน 10 ลัง ผวล.นพ.วีระชัย ควักกระเป๋าค่าไวน์ 50,000 บาท เพื่องานเลี้ยงราตรีผู้ ว่าการภาค ดื่มไวน์แล้วเก็บแก้วไวน์กลับบ้านเป็นที่ระลึกอีกด้วย แปลกดีแฮะ...***ปีนี้ เป็นปีแรกของ Future Vision Plan นายกสโมสร นายกรับเลือก สมาชิกสโมสรทุกสโมสร โปรดร่วมเข้ารับการอบรมเพื่อทำ�ความเข้าใจแนวทางใหม่ในการรับทุนและสนับสนุนจาก มูลนิธิโรตารีของโรตารีสากล เพื่อทำ�โครงการบำ�เพ็ญโยชน์ ทุกท่านต้องรับการอบรมและ ลงนามในบันทึกแห่งความเข้าใจ อย่าพลาดโอกาสดี ๆ นะคะ...***ภาค33360 ได้รับเกียรติ จาก อดีตประธานโรตารีสากล ฯพณฯพิชัย รัตตกุล ปาฐกถาพิเศษ “การบำ�เพ็ญประโยชน์ ภายใต้บริการ 4 แนวทาง” และให้เกียรติในการกล่าวแสดงความยินดีในพิธีสถาปนาผู้ ว่าการภาค มิตรโรแทเรียนโปรดรีบลงทะเบียนล่วงหน้าด้วยค่ะ ...***ในการประชุมจะมีบู๊ ช โครงการต่าง ๆ ให้ท่านสามารถเลือกจะทำ�อะไร? ทำ�อย่างไร? โดย อน.พัลลภ ลาศุขะ ประธานผู้เข้มแข็ง จะเป็นผู้จัดทำ�และให้การแนะนำ�ค่ะ...***คณะกรรมการจัดการอบรม District Assembly ร่วมประชุมเตรียมงานเมื่อวันศุกร์ที่ 23 เมย. 53 ที่บ้าน อน.จินดา จรรญาศักดิ์ พร้อมร่วมรับประทานอาหารเย็นเกือบ 30 ท่าน การ เตรียมงานพร้อม ค่ะ...***หาทางไปบ้านลำ�บากหน่อยแต่ก็หาเจอจนได้ อน.อนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ อุตส่าห์ เดินทางมาจากแม่จัน ประชุมเตรียมงานเสร็จเดินทางกลับ ขอได้รับความขอบคุณจาก ผวล.นพ.วีระชัย...***พิธีกร “น้องทราย” อน.บรรจบ สุนทรสวัสดิ์ ร้องขอผู้ช่วยอยู่ใกล้ ๆ เวที เมื่อมีปัญหาขลุกขลัก จะได้ช่วยเหลือพิธีกรได้ทันค่ะ...***ขอแสดงความยินดีกับ อน.อนุรักษ์ นภาวรรณ ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ว่าการภาคปี 55-56 สามปีของ Future Vision Plan คงไปโลดค่ะ...***พบกันใหม่ฉบับหน้า ........เอื้องผึ้ง...........

เมษายน ๒๕๕๓


Activities

ขอสูมาลาโต้ด ปั๋นปอน กู่ผู้กู่กน

สโมสรโรตารีเชียงใหม่

สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

สโมสรโรตารีแม่สาย

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม เมษายน ๒๕๕๓

สโมสรโรตารีแม่จัน

40 41


Multi District PETS

41 40

เมษายน ๒๕๕๓


Activities อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล และคณะกรรมการ ร่วม ประชุมเรื่อง โครงการสร้างศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจ วันที่ 24 มีนาคม 2553 ที่ผ่านมา ณ รพ.ลำ�ปาง คอนเสิร์ตเปิดสวิทช์หัวใจ ครั้งที่ ๓ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๓ ณ อ.แม่สอด จ,ตาก ศิลปิน อรวี สัจจานนท์ พิงค์แพนเตอร์ แดง แฟนทาสติค ได้รับเงินบริจาค จำ�นวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท

วันที่ 4 เมษายน 2553 ได้จัดการ ประชุมเตรียมงาน President Salute ซึ่ง ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็ง เลิศ จะจัดงานเลี้ยงขอบคุณ ในวัน ที่ 29 พฤษภาคม 2553 ณ บ้าน สวนโปงแยง ท่านจะได้รับการ์ด เชิญในเร็ว ๆ นี้ โดย อน.จันทนี เทียนวิจิตรเป็นประธานจัดงาน วันจันทร์ที่ 19 เมษายน 2553 อน. นพ.สำ�เริง รางแดง สโมสร เชียงใหม่แอร์พอร์ท ประธานจัด งาน สถาปนาคณะกรรมการบริหาร ประจำ�ปี 2553-2554 ได้จัดประชุม เตรียมงาน เป็นครั้งที่ 4 ณ โรงแรมเพนนินซูล่า จ.เชียงใหม่ ภาพประวัติศาสตร์ของการก่อตั้ง สโมสรน้องใหม่ของภาค ๓๓๖๐ สโมสรโรตารี ชาลวัน นยก.บัณฑูรย์ ตั้งประดิษฐ์ รทร.สมบูรณ์ โพธิ์ทอง เลขานุกา รสโมสรฯ, รทร.วิศาล รอดกำ�เหนิด อุปนายก รทร.กัลยา พานิชผล ผู้ ช่วยเลขานุการสโมสร อดีตสมาชิก สโมสรโรตารีตราด

เมษายน ๒๕๕๓

42 43


สร.แม่สาย เดินทางขึ้นเขาร่วมร้อยกิโลเมตร เพื่อ ติดตามประเมินโครงการและจัดทำ�ร่างโครงการ ช่วยเหลือเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยหม้อ ต.เทอดไทย อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย ซึ่ง โครงการต่างๆ ที่ทำ�นั้นเป็นโครงการที่ทำ�ต่อเนื่อง หลายปี ร่วมกับ สร.คู่มิตร สร.ดูรัล ออสเตเรีย และมีโครงการที่ทำ�มากมายเช่น โครงการเลี้ยงไก่ โครงการแปลงปลูกผักไร้สารพิษ โครงการเอื้อ อาทรดูแลอุปการะเด็ก ร่วม 150 คน วันที่ 7 เมษายน 2553 ผวภ. ชัยรัตน์ ประเสริฐล้ำ� ภาค 3350 และ ผวภ. แวว ดาว ลิ้มเล็งเลิศ ภาค 3360 อดีตนายก จากภาค 3350 และมิตรโรแทเรียน ให้ เกียรติร่วมงาน ฉลองมงคลสมรถของ บุตรชาย ของ นย.สุภาวดี อน.พรเทพ วานิชผดุงธรรม ณ โรงแรมดุสิตไอส์ แลนด์รีสอร์ท วันที่ 11 เมษายน 2553 สโมสรเชียงใหม่ถิ่นไทย งาม ร่วมพิธีเปิดหมู่บ้าน แม่ฮักพัฒนา อ.สันทราย โดยมี Mr.David Narracott เป็นหัวหน้าดำ�เนิน โครงการ วันที่ 13 เมษายน 2553 สโมสรโรตารี เชียงใหม่ตะวันออก ได้จัดทำ�โครงการไถ่ ชีวิตโคกระบือ ที่วัด แม่คือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่

บรรยากาศของงาน “คืนนัด พบ คู่มิตร” ระหว่าง สโมสรฯ แม่สาย และ เชียงใหม่ถิ่นไทย งาม เมื่อวันที่ ๑ พค. ๒๕๕๒ ที่ รร.แกรนด์วิว เชียงใหม่ เป็นปีที่ ๙ ของการเซ็น สัญญาคู่มิตร ระหว่างสอง สโมสรฯ

43 42

เมษายน ๒๕๕๓


มุม...สบาย...สบาย

อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ สโมสรโรตารีแม่สาย ส่งคำ�ตอบมาที่ akeelawat@yahoo.com หรือจดหมายมาที่ 23 ถนนพหลโยธิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย 57130

มวลมิตรโรแทเรียน โรตารีแอนน์และสุภาพบุรุษโรตารีที่เคารพ ถึงเดือนเมษายนทุกคนต้องนึกถึงวันสงกรานต์ซึ่งเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทยเรา หวังว่าจะได้เล่น น้�ำ สนุกสนาน แต่สองปีมานีส้ งกรานต์กเ็ หมือนสงครามความสงบสุขของบ้านเมืองไม่มเี ลย สงสาร แต่พ่อหลวงของเรา……… หยุด ! ทำ�ร้ายประเทศไทยเถอะครับ ของรางวัลฉบับนี้เป็นตุ๊กตาน่ารัก 3รางวัลส่งคำ�ตอบมาด่วนครับ มิน่า ผูจ้ ดั การเดินออกมาเห็นพนักงานหนุม่ คนหนึง่ คุณป้าท่าทางอารมณ์เสียเดินตรงรี่ไปหาเจ้า แอบเข้าไปงีบหลับในห้องประชุม ผู้จัดการยืน หน้าที่ไปรษณีย์ มองอยูค่ รูห่ นึง่ ก่อนจะไปหากระดาษและปากกา “มีปัญหาอะไรหรือเปล่าครับ” เจ้าหน้าที่ถาม มาเขียนข้อความแล้ววางกระดาษไว้บนหน้าอก “เมื่อเช้ามีเจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ไปส่งพัสดุที่บ้าน ของชายหนุ่ม ผู้จัดการยิ้มพอใจก่อนเดินออก และทิ้งกระดาษไว้แผ่นหนึ่ง บอกว่าที่บ้านไม่มี ไปจากห้อง ในกระดาษเขียนข้อความว่า “คุณ คนอยู่ ให้มารับของที่สำ�นักงานไปรษณีย์แทน ยังคงมีงานทำ�นานตราบเท่าที่คุณยังนอนหลับ มันจะเป็นไปได้ยังไงในเมื่อสามีฉันอยู่ที่บ้าน อยู่ ต รงนี้ แ ต่ เ มื่ อไรที่ คุ ณ ตื่ น ...ผมไล่ คุ ณ ออก ตลอดเช้า” คุณป้าพูดใส่แบบไม่ยั้ง ทันที” “ต้องขอโทษจริงๆครับ” เจ้าหน้าที่บอก ตามเจตนารมณ์ “รู้ไหมว่าฉันรอของในห่อพัสดุมาตั้งเกือบปี” เบนเป็นอดีต ส.ส.ที่สอบตกในการเลือกตั้งครั้ง คุณป้ายังไม่หายเคือง นี้ เบนไม่รู้จะทำ�อะไรในช่วงที่ไม่ได้เป็นส.ส. “ของอะไรเหรอครับ” พนักงานถาม เขาเลยตัดสินใจไปสมัครงานที่บริษัทแห่งหนึ่ง คุณป้าตอบว่า “เครื่องช่วยฟังของสามีฉัน” ในวันสอบสัมภาษณ์ ผู้จัดการถามเขาว่า “ ทำ�ไมคุณถึงออกจากงาน แก่แล้วลุง เดิม ” โจนส์มาเที่ยวผับ เขาเห็นสาวน้อยแสนสวย เบนถอนหายใจก่อนตอบว่า “ เพราะเป็น หน้าตาท่าทางถูกใจใช่เลยกำ�ลังนั่งดื่มอยู่คน เจตนารมณ์ของประชาชนครับ ” เดียว เขาจึงเดินเข้าไปทักว่า “คนสวย หน้าตา สวยๆแบบนี้ไปหลบอยู่ที่ไหนมา ผมตามหาผู้ สบายมาแต่เกิด หญิงแบบคุณมาทั้งชีวิตเลย รู้ตัวไหมจ๊ะ” หญิง ลูกชายชอบวิ่งออกในบ้าน แต่ไม่ชอบปิดประตู สาวมองโจนส์ตั้งแต่หัวจรดเท้าก่อนตอบเสียง วันหนึ่งแม่ทนไม่ไหวเลยบ่นลูกชายว่า เย็นชาว่า “ สามสิบปีแรกของชีวิตคุณ ฉันยัง “ แค่ปิดประตูทุกครั้งที่ออกจากบ้าน ลูกก็ทำ� ไม่เกิดเล้ย ” ไม่ได้...ไม่เข้าใจเลยจริงๆ ลูกเกิดในกองฟาง หรือไงถึงได้สอนยากสอนเย็นยังงี้ ” ไม่กล้า ลูกชายตอบว่า “ เปล่าครับ ผมเกิดในโรง ในวิชาประวัตศิ าสตร์อเมริกา คุณครูเล่าประวัติ พยาบาล และที่นั่นใช้ประตูเปิดอัตโนมัต ” ของอดีตผู้นำ�ผู้แสนกล้าหาญให้นักเรียนฟังว่า “จอร์จ วอชิงตัน สมัยยังเด็กเคยตัดต้นเชอร์รี่ เหยื่อล่อ ที่พ่อรักมาก แต่เขาก็ยังกล้ายืนรอบอกพ่อว่า แซมพาภรรยาสาวสวยไปตกปลาที่ทะเลสาป ตัวเองเป็นคนทำ� สุดท้ายพ่อก็ไม่ทำ�โทษเขา ชายหนุ่มแปลกหน้าที่นั่งตกปลาอยู่ก่อนแซวว่า นักเรียนรู้ไหมว่าทำ�ไม” นักเรียนชายคนหนึ่ง “โอ้..ผมต้องใช้เหยื่อล่อเท่าไรถึงจะมีวาสนาได้ ยกมือขึ้นตอบว่า “เพราะพ่อเห็นในมือจอร์จยัง สาวสวยแบบนี้มาครองบ้าง” ถือขวานอยู่ครับ” แซมตอบยิ้ม ๆ “ ก็แค่ทรัพย์สินที่คุณหาได้ใน อดีต ปัจจุบัน และอนาคตทั้งหมดเท่านั้น ” ห้ามตื่น

คำ�ถาม 1. ในปี 2010 โรตารีสากลมีอายุเท่าไร ? 2. วันเกิดโรตารีสากลคือวันที่เท่าไร เดือนอะไร ? 3. สิ่งที่เป็นหัวใจของโรตารีในความเห็นของท่าน ผวล. ชำ�นาญคืออะไร ? 4. โครงการใหญ่ที่สโมสรอินเตอร์แรคท์โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ และ โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคมร่วมกันทำ�ชื่อโครงการว่าอะไร ? 5. “ฉันรักคุณ” ในภาษาเกาหลีพูดว่าอย่างไร ?

คํำ�ถาม Puzzle

เมษายน ๒๕๕๓

45 44


DG’s Activities

วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม 2553 ณ โรงแรมพินนาเคิล แกรนด์ รีสอร์ท แอนด์ สปา เมืองพัทยา จ.ชลบุรี (º¹ÊØ´)ผวภ.แววดาว ลิม้ เล็งเลิศ ร่วมพิธเี ปิดการอบรมสัมมนา นยล.ร่วมภาคปี 53-54 (ขวาบนสุด)ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ และผู้ว่าการภาค ร่วม รุ่น ภาค 3330, 3340, และ 3350 ร่วมกันร้องเพลงให้กำ�ลังใจ นยล.ปี 2553-54 ทุก ท่นในงานราตรีสังสรรค์ (กลางขวา) วันอาทิตย์ที่ 28 มีนาคม ผวภ.แววดาว ลิ้ม เล็งเลิศ กับ นยล.,ผชภ.รับเลือก และ ประธานวิทยากรภาคปี 2553-54 2553

44 45

วันเสาร์ที่ 13 มีนาคม 2553 ณ โรงแรมดิเอมเพรส จ.เชียงใหม่ (¡ÅÒ§ซ้าย) ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มอบของที่ระลึกให้กับท่านไพโรจน์ แสงภู่วงศ์ รองผู้ว่าราชการ จ.เชียงใหม่ ในโอกาสที่ท่านให้เกียรติมาร่วมพธีเปิดงานประชุมใหญ่ประจำ�ปีภาค (กลางขวาล่าง)การแสดง“รักแท้...ยังไง” งานราตรีผู้ว่าการภาค 2010 District Conference (ล่าง)ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ,ผวภ.ร่วมภาค และท่านผู้แทนโรตารี สากลและภริยา ในพิธีเปิดการประชุมใหญ่ประจำ�ปีภาค 3360 โรตารีสากล

เมษายน ๒๕๕๓


แทนคำ�นับพัน

HộiAn tôi yêu bạn

Hội An tôi yêu bạn

ฮอยอัน ฉันรักเธอ

เมืองฮอยอัน มรดกโลก สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

เมืองฮอยอัน (Hội An) เป็นเมืองขนาดเล็กริมฝั่ง ทะเลจีนใต้ทางตอนกลางของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ตัง้ อยูใ่ นเขตจังหวัดกว่างนาม มีประชากรอาศัยอยูร่ าว 80,000 คน ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ในสมัยของอาณาจักรจามปา บริเวณนี้เคยเป็นเมือง ท่าบนปากแม่น้ำ�ทูโบน ซึ่งมีชื่อว่า ไฮโฟ โดยเป็นศูนย์กลาง ทางการค้าในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 มีชาวต่างชาติมาตั้ง

เมษายน ๒๕๕๓

ถิ่นฐานและค้าขายในเมืองนี้เป็นจำ�นวนมาก ทั้งชาวจีน ญี่ปุ่น ดัตช์ และอินเดีย ในปี พ.ศ. 2542 องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเขต เมืองเก่าของฮอยอันให้เป็นมรดกโลก ด้วยเหตุผลว่าเป็นตัวอย่าง ของเมืองท่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 15-19 ที่มีการผสมผสานศิลปะและสถาปัตยกรรมทั้งของท้อง ถิ่นและของต่างชาติไว้ได้อย่างมีเอกลักษณ์ และอาคารต่างๆ ภายในเมืองได้รบั การอนุรกั ษ์ให้อยูใ่ นสภาพเดิมไว้ได้เป็นอย่างดี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.