๑๒ โรตารีนามกระเดื่อง อนาคตรุ่งเรือง ด้วยสองมือเรา
คณะอนุกรรมการจัดทำ� สารผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641 บรรณาธิการ
อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย)
PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th ผู้ช่วยบรรณาธิการ อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Naruchol Arpornrat Mobile: 08-1603-8865 E-mail:naruchol.arpornrat@gmail.com ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com กองบรรณาธิการ ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail.com อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb.net อน.จินดา จรรญาศักดิ์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP. Chinda Chanyasak Mobile : 08-1883-7103 E-mail : chinda@vorrawut.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail.com อน.สุรินทร์ ชัยวีระไทย (นเรศวร) PP.Surin Chaiveerathai Mobile: 08-9858-8009 E-mail : prachamati_s@hotmail.com อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ (แม่สาย) PP.Apichai Keelawut Mobile: 08-1681-7988 E-mail: akeelawat@yahoo.com อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สุนิพิฐ คงเมือง (ล้านนาเชียงใหม่) Rtn.Sunipit Kongmuang Mobile: 08-1796-8447 E-mail : sunipit@gmail.com
June 2010 Friendship & R.I. Convention Month
เดือนแห่งมิตรภาพและการประชุมใหญ่สากล
“Rotar
ry International Convention”
2 1
*** อ่านรายงานการเข้าร่วมประชุม Convention ได้ที่ DGN’s Corner และ บทสรุปผลงานตลอดทั้งปี จากประธานฝ่ายต่างๆ” มิถุนายน ๒๕๕๓
RI.President’s Letter สารประธานโรตารีสากล จอห์น เคนนี่-มิ.ย.10 (แปลโดย – Translation by PP Pichet Ruchirat, RC Ratchaburi – May 29, 2010) pichet3330@gmail.com)
RI.President John Kenny Year 2009-10
My fellow Rotarians, - มิตรโรแทเรียนที่รัก ลำ�หนึ่งอยู่ในทุ่งนา ห่างจากชายฝั่งไกลเข้ามา In February, I attended the celebration ถึง 2 ไมล์ เมื่อถูกคลื่นยักษ์กวาดเข้ามาอยู่ที่ of the 100th anniversary of the Rotary Club of St. Paul, Minn., USA. After dinner that evening, a young lady came up to me and asked, “Of everything you have seen this year in Rotary, what has touched your heart the most?”
นั่น
In Banda Aceh, Indonesia, where Rotary has done so much to rebuild the city shattered by the 2004 tsunami, I thought I understood the scale of the disaster before my visit. But I was not prepared for the sight of a large freighter in a field 2 miles inland, swept there by the tsunami.
to serve as your president, and remind you that The Future of Rotary Is in Your Hands.
In China, at a Rotary-supported orphanage, I held a two-month-old girl who had been abandoned on a train. With that baby in my arms, I realized that what Rotary provided to the orphanage – food, warm clothing, a clean and safe home – was only one part of what was needed. What that child wanted most of all, in that moment, was simply to be held and to feel loved, and that touched me very much.
เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผมได้ ไปร่วมงานฉลองการครบรอบ 100 ปี ของ สโมสรโรตารีเมืองเซนต์พอล รัฐมินเนโซต้า หลังจากอาหารค่ำ�คืนนั้น ผมได้พบกับสุภาพ สตรีสาวผู้หนึ่งซึ่งเข้ามาถามผมว่า “เท่าที่ท่าน ที่สถานรับเลี้ยงเด็กกำ�พร้าแห่งหนึ่ง ไปเห็นทุกอย่างระหว่างปีโรตารีนี้แล้ว อยาก ในประเทศจี น ซึ่ งได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก ทราบว่าท่านประทับใจเรื่องอะไรมากที่สุด?” โรตารี ผมได้ อ ุ้มเด็กอายุ 2 เดือนคนหนึ่งที่ถูก For such a simple question, it was nearly ทอดทิ ้ ง ไว้ บ นรถไฟ ขณะที่กำ�ลังอุ้มทารกน้อย impossible to answer – only because I have seen so much that has touched my heart so deeply อยู่นั้น ผมคิดถึงสิ่งที่โรตารีจัดมอบให้กับสถาน and made me so proud to be a Rotarian. These รับเลี้ยงเด็กกำ�พร้านั้น คือ อาหาร เสื้อผ้า past 12 months have given me the opportunity เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม และบ้ า นที่ ป ลอดภั ย ซึ่ ง ก็ เ ป็ น and the privilege of observing firsthand how our service touches the lives of others, and how great เพียงส่วนหนึ่งของสิ่งที่ยังขาดแคลน แต่สิ่งที่ ทารกน้อยคนนี้กลับต้องการมากที่สุดในขณะ are the needs we address. สำ�หรับคำ�ถามธรรมดาๆ เช่นนี้ เป็น นั้นก็คือ ความอบอุ่นในอ้อมอกใครสักคนหนึ่ง สิ่งที่ตอบได้ยากเหมือนกัน เพราะสิ่งที่ผมได้ และสิ่งนี้ทำ�ให้ผมประทับใจมากจริงๆ is so much we can do as Rotarians that เห็นนัน ้ มีมากมายและประทับใจผมทีส่ ดุ ก็มมี าก There will mean so much to others. And as important ด้วย ซึ่งทำ�ให้ผมมีความภูมิใจที่เป็นโรแทเรียน as it is to give material assistance – to help in เสมอ ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมานี้ ผมมีโอกาส the areas of water, health and hunger, and literacy และโชคดีมากที่เป็นคนกลุ่มแรกที่ได้เห็นสิ่งที่ – it is equally vital that we give that help freely, เราบำ�เพ็ญประโยชน์นั้นได้ไปสัมผัสชีวิตผู้อื่น with true caring for others. Because often, simply อย่างไรและได้เห็นความขาดแคลนที่เราสนอง caring is what helps others most of all. ในฐานะโรแทเรียน เรายังมีสิ่งสำ�คัญ ตอบนั้นยังมีอีกมากมายเพียงไร It is one thing to see photographs of the สำ�หรับผู้อื่นที่เราจะต้องทำ�อีกมาก และสิ่งที่ devastation in Haiti caused by January’s สำ�คัญมากในการช่วยเหลือด้านรูปธรรม – เช่น earthquake. It was another thing entirely for me ความช่วยเหลือเรื่อง น้ำ� สุขภาพและความ to walk among the rubble, to see the collapsed อดอยาก และการเรียนรู้หนังสือเหล่านี้ เป็น buildings, to understand that the true scope of สิ่งที่มีความสำ�คัญเช่นเดียวกับการให้ความรัก the tragedy will never be known. สิ่งหนึ่งที่เห็นได้จากรูปภาพภัยพิบัติ และเอาใจใส่อย่างแท้จริงต่อผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่ง แผ่นดิน ไหวที่เฮติในเดือนมกราคมนั้น เป็น ตอบแทน เพราะบ่อยครั้งทีเดียว การใส่ใจดูแล สิ่งที่ผมเศร้าใจมาก ขณะเดินอยู่ท่ามกลางซาก ผู้อื่นด้วยความรักอย่างแท้จริงนั้น เป็นการ อที่ดีกว่าการไปมอบสิ่งของให้เสียอีก อาคารที่ปรักหักพังเหล่านั้น ทำ�ให้ผมเข้าใจได้ ช่Asวยเหลื this Rotary year and my term as RI president ดีวา่ เราไม่สามารถทีจ่ ะทราบขอบเขตทีแ่ ท้จริง draw to a close, I thank you all for your service ของเรื่องน่าเศร้าสลดเหล่านั้นได้ทั้งหมดจริงๆ to Rotary and your support. I have been honored
ที่ เ มื อ งบั น ดา อาเจะห์ ประเทศ อินโดนีเซีย ซึ่งโรตารีได้ไปช่วยกันสร้างเมือง ขึ้ นใหม่ จ ากความพิ น าศโดยคลื่ น สึ น ามิ ใ นปี 2004 นั้น ผมเคยคิดว่า ผมเข้าใจขนาดของภัย พิบัตินั้นมากแล้วก่อนเดินทางมาแต่ผมก็มิได้ คาดหมายว่าจะได้ไปเห็นเรือสินค้าขนาดใหญ่
มิถุนายน ๒๕๕๓
ขณะที่ ว าระการทำ � งานในฐานะ ประธานโรตารีสากลใกล้จะครบปีโรตารีลงนี้ ผมขอขอบคุณทุกๆ ท่านทีไ่ ด้ให้บริการและการ สนับสนุนแก่โรตารี ผมรู้สึกเป็นเกียรติมากที่ ได้ทำ�หน้าที่ประธานโรตารีสากล ขอให้ท่าน รำ�ลึกไว้เสมอว่า อนาคตของโรตารีอยู่ในมือ ท่าน John Kenny -จอห์น เคนนี่ ประธานโรตารี สากล President, Rotary International
3 2
District Governor’s Letter มวลมิตรโรแทเรียนโรตารีแอนน์ และ ท่านสุภาพบุรุษโรตารี ที่รักทุกท่าน เดือนมิถุนายน คือเดือนสุดท้ายใน ปี บ ริ ห ารขององค์ ก รโรตารีทั่วโลกจากเดือน กรกฎาคม จนถึ ง เดือนมิถุนายน และเช่น เดียวกันเดือนนี้ คือ เดือนสุดท้ายของการ บริหารงานภาค 3360 ของดิฉัน และเป็นเดือน ที่สโมสรส่วนใหญ่ในภาค ก็เริ่มจัดงานสถาปนา นายกและคณะกรรมการบริหารสโมสรชุดใหม่ ที่จะทำ�หน้าที่ในปีบริหารปี 2553 – 2554 ต่อ ไป นั บ เป็ น วั ฒ นธรรมที่ ดี ง ามเปี่ ย มด้ ว ย มิตรภาพที่ภาค 3360 ของเราได้ปฏิบัติสืบเนื่อง กันมาตลอด โดยการทีพ ่ วกเราจะร่วมใจกันเดิน ทางไปร่วมพิธีสถาปนาในทุกๆจังหวัดที่มีงาน สถาปนาในภาค 3360 ของเรา และบางครั้งก็ ไปร่วมงานของภาคอื่นๆในประเทศเราด้วย เพราะหลายสโมสรในภาคเราเป็ น คู่ มิ ต รกั บ สโมสรต่างภาค เช่น 3350, 3330 และ 3340 นอกเหนือจากการที่เราจะไปให้กำ�ลังใจซึ่งกัน และกัน และแสดงความยินดีต่อนายกและคณะ กรรมการชุดใหม่ พวกเรายังมีโอกาสได้ไปพัก ผ่อนตามจังหวัดต่างๆซึ่งถือเป็นการท่องเที่ยว ไปในตัวด้วย งาน Rotary Convention ประจำ�ปี 2009 – 10 จัดขึ้นที่เมือง Montreal ประเทศ แคนาดา ก็ได้ผ่านไปแล้ว ทางภาคของเราก็มี การจัดทัวร์รวมพลภาค 3360 ไปร่วมงาน มี ท่าน ผวล. ชำ�นาญ จันทร์เรือง, ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ และดิฉน ั นำ�ไป โดยมีมวลมิตรโรแท เรียนภาค 3360 เรา ไปจำ�นวน 13 ท่าน, มวล มิตรภาค 3350 จำ�นวน 9 ท่าน และจากภาค 3340 จำ�นวน 1 ท่านรวมทั้งสิ้น 23 ท่านร่วม เดินทางในครั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 17 - 25 มิถุนายน 2553 ที่ผ่านมา ทุกๆท่านได้สัมผัสกับพิธีเปิด, พิธีปิด อันอลังการทรงคุณค่า ตื่นตาตื่นใจยิ่ง และการหาดูบูทความรู้ต่างๆเกี่ยวกับโรตารี รวมถึ ง การ ชอปปิ้ ง สิ น ค้ าโรตารี ใ นบริ เ วณ House of Friendship กันอย่างสนุกสนาน รวม ถึงการไปท่องเที่ยวสถานที่ต่างๆ ในเมืองโต รอนโต, แคว้นควิเบค อาหารเลิศรสแบบจีน กวางตุ้งโพ้นทะเล และเมนูอาหารฝรั่งเศสสุด ยอดของควิเบค บรรยากาศลงเรือ Maid of the Mist เพื่อเข้าไปชมน้ำ�ตกในแองการ่าให้ ใกล้ตัวสุดๆ รวมทั้งการเปียกปอนกลับขึ้นฝั่ง ด้วย ทัง้ หลายทัง้ ปวงเหล่านีไ้ ด้สร้างบรรยากาศ ของการใกล้ ชิ ด สนิ ท สนมและมิ ต รภาพที่ จ ะ จดจำ�ไปอย่างไม่รู้ลืมของมวลมิตรภาค 3340, 3350 และ 3360 ที่ได้ร่วมกันเดินทางด้วยกันใน ครั้งนี้ งาน 2011 Rotary Convention ครั้งต่อ ไปจะจัดขึน ้ ทีเ่ มือง New Orleans รัฐ Louisiana ประเทศสหรัฐอเมริการะหว่างวันที่ 21 – 25 พฤษภาคม 2554 ดิฉันหวังไว้ว่ามวลมิตรโรแท
2 3
เรียนภาค 3360 จะร่วมใจไปกันเยอะๆ เพราะ ปีถัดไปงาน 2012 Rotary Convention จะจัด ขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย พวกเรา จะต้องช่วยกัน Promote ให้มวลมิตรโรแทเรียน จากต่างประเทศทั่วโลกมาร่วมงานของเราในปี 2012 ซึ่งจะมีท่าน ผวภ.ชำ�นาญ จันทร์เรือง เป็นผู้นำ�ภาค 3360 เพื่อทำ�ให้งานยิ่งใหญ่ไม่แพ้ งาน Convention ที่ได้จัดผ่านๆมานะคะ ข่าวน่ายินดีก่อนที่จะหมดปีบริหาร ของดิฉันก็คือ ความสำ�เร็จในการก่อตั้งสโมสร ใหม่ 2 สโมสรคือ สโมสรโรตารีชาลวัน พิจิตร ที่มี อน.เสริมพงษ์ วงศ์สมานจิตร เป็นผู้แทน พิเศษผู้ว่าการภาค และมีสโมสรโรตารีศรีสอง แควเป็นพี่เลี้ยง มีสมาชิกก่อตั้งรวม 20 คน และสโมสรโรตารีลุ่มน้ำ�เข็ก พิษณุโลกที่มีผชภ. สุพจน์ จินันทุยา และสโมสรโรตารีพิษณุโลก เป็นสโมสรพี่เลี้ยง มีสมาชิกก่อตั้งรวม 27 คน ทำ�ให้ภาคของเรายังสามารถเพิ่มสมาชิกโรแท เรียนได้อย่างมากในเดือนสุดท้ายของปีบริหาร 2552–53 ตามมาติดๆคือสโมสรโรตารีเชียงใหม่ สันทราย ที่มี นยก.ประพิณ กาไชย เป็นผู้แทน พิเศษผู้ว่าการภาค สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่น ไทยงามเป็นสโมสรพี่เลี้ยง ได้เริ่มทดลองการ ประชุมแล้ว แต่จะสามารถยื่นขอใบสถาปนาได้ คงอยู่ในสมัยของปีบริหารต่อไป คือปีบริหาร 2553-2554 ดิฉันต้องขอกราบขอบคุณในความ ความตั้งใจและการประสานงานอย่างเข้มแข็ง ของทั้ง 3 ท่านและทั้ง 3 สโมสรมาอย่างสูง และอยากให้มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านช่วย เป็นกำ�ลังใจและเป็นพี่เลี้ยงดูแลให้สมาชิกใหม่ ของทั้ง 3 สโมสรด้วยนะคะ เวลาของดิฉันจะหมดลงในวันที่ 30 มิถุนายน 2553นี้ ช่างรวดเร็วและน่าใจหาย แต่ ก็น่าภาคภูมิใจว่าทั้งปีที่ผ่านมาเป้าหมายภาค แ ล ะ สิ่ ง ที่ ดิ ฉั น อ ย า ก เ ห็ น ร ว ม ถึ ง ก า ร เปลีย่ นแปลงและภาพลักษณ์ของภาค 3360 เรา พุ่งทะยานขึ้นมาไม่เป็นรองใครอีกแล้ว ดิฉัน ขอกราบขอบพระคุณมวลมิตรโรแทเรียนทุกๆ ท่านที่ได้กรุณาให้การสนับสนุน, ให้กำ�ลังใจ, ให้ความร่วมมือ ช่วยกันสร้างสรรค์เพื่อภาค 3360 ของเราและได้ช่วยกันทำ�ให้ปี 2009 -2010 นี้เป็นปีที่ดีที่สุดในชีวิตของดิฉันค่ะ
ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓
อนาคตโรตารีอยู่ในมือท่าน
(แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ) ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553 (English version continue on page 50)
มิถุนายน ๒๕๕๓
สารบรรณ
สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๑๒ เดือนมิถุน 2. สารประธานโรตารีสากล 3. สารผู้ว่าการภาคฯ 5. บอกอ บอกกล่าว 6-13 สรุปผลงานของประธาน ฝ่ายต่างๆ ของภาค ๓๓๖๐ 14 สารสนธิ 15. สารเลขาฯภาค 16-17 สถิติการเข้าประชุม 18-21 DGN’s Corner
มิถุนายน ๒๕๕๓
22-23 คุยกันที่ขอบเวที 24-27 เสียงนกเสียงกา 28-30 Behind the Scene 32-33 At a Glance 34-36 บ้านเลขที่3360R.I. 37 Rotary Friendship Exchange 38-41 หนึ่งในร้อย 42-43 Youth Corner
5 4
Editor’s Note
“ช่อดอกไม้ แด่ โรตารี” สิ บ สองเล่ ม สิ บ สองสี สิ บ สองเดื อ น ที่ ท างกอง บรรณาธิการได้รว่ มแรง รวมใจ สละเวลาเพือ่ ให้สารฯ สมบูรณ์ ทั้งเนื้อหา สาระ และ รูปลักษณ์ ปฐมบท แห่งอนาคตกาล ยิ่งยืนนาน พระชนมพรรษา ช่วงชีวิตหนึ่ง ซาบซึ้งและตรึงตรา วายอีมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ฝึกผู้นำ� ไรล่าพาสุขสันต์ รวมใจกัน ถวายพรพระทรงชัย เปิดสวิทช์ มอบชีวิตด้วยหัวใจ เกียรติเกริกไกร โรตารีได้หนึ่งร้อยห้าปี อบอุ่นอันอบอวล มวลหมู่มิตรใน ดีซี สุโข สุขี ป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์ โลกลือเลื่อง โรตารีนามกระเดื่อง อนาคตรุ่งเรือง ด้วยสองมือเรา
นายน ๒๕๕๓ 44-45 เอกพาแอ่ว 46-47 เล่าขานตำ�นาน 48 มุม สบาย สบาย 49 Z00m inside 3360 50 District Governor’s letter 51 DG.Activities ปกหลัง แทนคำ�นับพัน
4 5
อน.วาณิช โยธาวุธ สโมสรโรตารีแม่สาย
การทำ�งาน ที่ต้องแข่งกับทั้งเวลา และภาระกิจหน้าที่ ในชี วิ ต ประจำ � วั น ของคณะทำ � งานทุ ก ท่ า น จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ บรรณาธิการ ต้องยอมรับโดยปริยาย ขอขอบคุณ แรงใจ เสียงเชียร์ จากทั้งในภาค และ นอกภาค ที่คอยยกย่อง คอยให้กำ�ลังใจ คณะทำ�งานสารฯ ใน ปีนี้ และขอมอบช่อดอกไม้นี้ ให้กับทางกองบรรณาธิการทุก ท่าน รวมไปถึงท่านผู้ว่าการภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ที่ได้ สละทุนทรัพย์ ในการดำ�เนินการจัดพิมพ์ ตลอดทั้งปี ขอบคุณมวลมิตรโรแทเรีย่ นจากทุกสโมสรฯ ทัง้ ในและ นอกภาค ทีม่ สี ่วนร่วมด้วยการส่งภาพ ข้อมูล ฯลฯ ทำ�ให้สารฯ ครบครัน และ สมบูรณ์แบบ ในด้านเนื้อหา สมกับเป็นสารฯ ของภาคฯ อย่างแท้จริง ท้ายนี้ ขอขอบคุณองค์กรโรตารี ที่ได้ทำ�ให้ทุกสิ่งทุก อย่างที่กล่าวมาแล้วข้างต้นได้เป็นจริง ขอบคุณและสวัสดี บอกอ ผู้หนังเหนียวอีกทั้งอยู่ยงคงกระพัน ในฐานะ บอกอ สารฯปีหน้า (อีกแล้วครับท่าน)
มิถุนายน ๒๕๕๓
มูลนิธิโรตารีภาค 3360 ประจำ�ปี 2552-2553
เรื่อง รายงานการบริจาคของมูลนิธิโรตารีภาค 3360 ประจำ�ปี 2552-2553
อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่
เรียน มิตรโรแทเรียนทุกท่าน ผมขอแจ้งรายงานการบริจาคประจำ�ปี 2552-2553 ดังต่อไปนี้ ก่อนอื่นผมใคร่ขอแจ้งว่า ตัวเลขยอดบริจาคที่ผมรายงาน ครั้งนี้ (ณ วันที่ 9 มิ.ย. 2553) ยังไม่ใช่ตัวเลขรวมทั้งหมดจนกว่า จะถึงวันที่ 30 มิ.ย. 2553 จึงจะถือว่าเป็นข้อมูลรวมทั้งหมดของปีบริหารนี้ (2552-53) (1) สโมสรที่บริจาค EREY (การบริจาค U$100 ต่อปี ทุกปี) 32 สโมสร (2) 2.1 โรแทเรียนที่บริจาค EREY ให้กองทุนประจำ�ปี 302 ท่านๆละ U$100 รวมเป็น U$30,224.24 (997,399.92 บาท) 2.2 โรแทเรียนที่บริจาค EREY ให้เครงการ MG. 4 ท่านๆละ U$100 รวมเป็น U$400 (13,200 บาท) 2.3 โรแทเรียนที่บริจาค EREY ให้กองทุน Polio Plus 6 ท่านๆละ U$100 รวมเป็น U$600 (19,800 บาท) 2.4 รวมโรแทเรียนที่บริจาค EREY ทั้งหมด 312 ท่าน เป็นเงิน U$31,224.24 (1,030,399.9 บาท) (3) 3.1 โรแทเรียนที่บริจาค RFSM (การบริจาคที่มากกว่า U$100 ต่อปี) ให้กองทุนประจำ�ปี จำ�นวน 5 ท่าน เป็นเงิน U$2,700 (89,100 บาท) 3.2 โรแทเรียนที่บริจาค RFSM ให้โครงการ MG. จำ�นวน 7 ท่าน เป็นเงิน U$3,200 (105,600 บาท) 3.3 รวมโรแทเรียนที่บริจาค RFSM ทั้งหมด 8 ท่าน เป็นเงิน U$5,900 (194,700 บาท) (4) โรแทเรียนบริจาคเพื่อเป็น PHF,MPHF ทั้งหมด 61 ท่าน 4.1 บริจาคให้กองทุนประปี (APF) 26 ท่านๆละ U$1,000 รวมเป็น U$26}030.30 4.2 บริจาคให้กองทุนประจำ�ปี (APF) โดยใช้ Available Credit บางส่วน 2 ท่าน รวมเป็น U$1,700(56,100 บาท) 4.3 บริจาคตรงเข้าโครงการ MG. 27 ท่านๆละ U$1,000 รวมเป็น U$29,000(957,000 บาท) 4.4 บริจาคตรงเข้าโครงการ MG โดยใช้ Available Credit บางส่วน 5 ท่าน รวมเป็น U$2,500(82,500 บาท) 4.5 บริจาคให้โครงการ Ploio Plus 1 ท่าน รวมเป็น U$1,000(33,000 บาท) (5) ยอดเงินบริจาคที่เข้ากองทุนประจำ�ปี APF (EREY, PHF, MPHF, PHS) U$58,954 (1,945,499.8 บาท) (6) ยอดเงินบริจาคที่บริจาคเข้าโครงการ MG. (Restrict Fund) U$32,600 (1,075,800 บาท) (7) ยอดเงินบริจาคให้กองทุน Polio Plus U$1,600 (52,800 บาท) (8) ยอดเงินบริจาคให้กองทุนถาวร (Bhichai Endowment Fund) U$4,000 (132,000 บาท) รวมทุกกองทุน (ณ วันที่ 9 มิ.ย. 2553) U$97,154.54 (3,206,099.80 บาท) ตัวเลขที่สำ�คัญ คือ (ข้อ 5) ยอดบริจาคเข้ากองทุนประจำ�ปี U$58,954.54 โดยภาคได้ตั้ง เป้าไว้ U$60,000 ซึ่งค่อนข้างใกล้เคียงกับเป้าหมาย เหตุที่สำ�คัญเพราะอีก 3 ปี เงินบริจาคยอด นี้จะกลังมา 50% เข้าเป็นกองทุนจัดสรร สำ�หรับภาค DDF เพื่อให้ภาคและสโมสรได้นำ�ไปทำ� โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ต่อไป ผมขอขอบคุณนายกสโมสรโรแทเรียน ทุกท่าน ที่ได้เห็นประโยชน์ของโปรแกรมต่างๆ ของมูลนิธิโรตารี เช่น โครงการเพื่อมนุษยชาติ (Matching Grants) โครงการรณรงค์ เพื่อการ หยอดโปลิโอวัคซีน โครงการศึกษาแลกเปลี่ยน GSE โครงการทุนการศึกษาเพื่อสันติภาพ และ ขจัดข้อขัดแย้ง ของศูนย์โรตารีเพื่อการศึกษานานาชาติ โดยมีส่วนร่วมในโครงการต่างๆ ของ มูลนิธิโรตารี และได้เห็นคุณค่าด้วยการบริจาคให้มูลนิธิโรตารี ถึงแม้จะมีวิกฤตเศรษฐกิจ ทั้ง ภายนอก และ ภายในประเทศ แต่การบริจาคให้มูลนิธิโรตารี ก็ยังคงได้รับการสนับสนุนด้วยดี ผมขอขอบคุณท่านผู้ว่าการภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ที่ได้กรุณาให้กาสนับสนุนงาน ของมูลนิธิโรตารีของภาค จนประสพความสำ�เร็จ ตามคาดหมายทุกประการ ด้วยไมตรีจิต อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ประคณะกรรมการมูลนิธิ โรตารีภาค 3360 R.I.
มิถุนายน ๒๕๕๓
7 6
บำ�เพ็ญประโยชน์ภาค 3360 ประจำ�ปี 2552-2553 โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553 โดย อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล ประธาน
ในนามประธานคณะกรรมการบำ�เพ็ญประโยชน์ภาค 3360 ดิฉันขอแสดงความชื่นชม ยินดี และขอขอบพระคุณ สโมสรโรตารีทุกสโมสรในภาค 3360 ของเรา ที่แสดงความมุ่งมั่น ใน การทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ ที่ครอบคลุม เกือบทุกด้าน ตามนโยบายของ ประธานโรตารี สากล จอห์น เคนนี และ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ทั้ง 4 ด้านดังนี้: 1. ด้านสุขภาพและความหิวโหย (HEALTH AND HUNGER ) 2. 3. 4.
34 โครงการ 37,771,168.12 บาท ด้านการรู้หนังสือ (LITERACY) 22 โครงการ 9,692,000.00 บาท ด้านน้ำ�และสิ่งแวดล้อม (WATER+ENVIRONMENT) 4 โครงการ 270,000.00 บาท ด้านเยาวชน (YOUTH PROGRAM) 8 โครงการ 480,000.00 บาท รวมทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ทั้งสิ้น 68 โครงการ 48,213,168.12 บาท
จะเห็นได้ว่า โครงการด้านอาชีพ สโมสรต่าง ๆ ในภาค ยังให้ความสนใจไม่มากพอ ซึ่ง สมควรทำ�กิจกรรมด้านอาชีพมากยิ่งขึ้นเพื่อให้ชุมชนผู้ด้อยโอกาส ในท้องถิ่น ได้มีอาชีพที่มั่นคง และยั่งยืน ช่วยตัวเอง และครอบครัวได้ต่อไป ส่วนโครงการด้านสุขภาพขนาดใหญ่ของภาค 3360 คือ “โครงการโรตารีสร้างศูนย์ผ่าตัด หัวใจโรงพยาบาลลำ�ปางเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา” ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว 5 ปี เริ่มตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2552 สิ้นสุดโครงการ 30 มิถุนายน 2557 โดยเน้นการจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ ที่จำ�เป็นและเร่งด่วน สำ�หรับใช้ผ่าตัดรักษาโรคหัวใจ จำ�นวน 34 รายการ เป็นเงิน 94 ล้านบาท ตลอดระยะเวลา 1 ปี ของโครงการ 1 กรกฎาคม 2552-30 มิถุนายน 2553 สรุปได้ดังนี้:
อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม
1. มีผู้ให้การสนับสนุน บริจาคเงินให้โครงการ จำ�นวน 1,173 ราย เป็นเงิน 29,000,000.- ล้านเศษ 2. เงินสดอยู่ในบัญชีมี 17 ล้าน เงินที่ยังไม่เข้าบัญชีจากผู้บริจาค 2 รายเป็นเงิน 12,000,000.- ล้านเศษ 3. อนุมัติซื้อเครื่องมืออุปกรณ์แพทย์แล้ว 7 รายการ เป็นเงิน 12,000,275.- ล้านบาท 4. โรงพยาบาลลำ�ปางได้ผ่าตัดผู้ป่วยโรคหัวใจ ไปแล้ว 66 ราย โดยแบ่งเป็นการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจรั่ว 62 ราย ผ่าตัดปิดผนังกั้นห้องหัวใจโหว่ 3 ราย ผ่าตัดเส้นเลือดหัวใจตีบ เป็นพระสงฆ์ 1 ราย 5. ผู้ป่วยเสียชีวิต จากการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (เนื่องจากมีอาการหนักก่อนผ่าตัด) 2 ราย 6. ผู้ป่วยรอคิวผ่าตัด ถึงเดือน กรกฎาคม 2553 12 ราย จึงใคร่ขอเชิญชวน มวลมิตรโรแทเรียน ญาติสนิท มิตรสหายของท่าน ตลอดจน ประชาชนชาวไทย ทุกคน ได้โปรดให้ความเมตตาปราณี แก่ผู้ป่วยโรคหัวใจที่ยากไร้ ได้มีที่พึ่ง อีกแห่งหนึ่ง และผู้ป่วยหัวใจ ที่อยู่ในจังหวัดใกล้เคียง เช่น แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย ตาก แม่ฮ่องสอน และ สุโขทัย โดยให้การสนับสนุนโครงการนี้ ตามศรัทธาของท่าน เพื่อถวายเป็น พระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาส เฉลิมพระชนม์พรรษาครบ 84 พรรษา ให้วันที่ 5 ธันวาคม 2554 โดยพร้อมเพรียงกัน
6 7
มิถุนายน ๒๕๕๓
สมาชิกภาพภาค 3360 ประจำ�ปี 2552-2553
รายงานคณะกรรมการสมาชิกภาพ ภาค 3360 อน.จุไร ชำ�นาญ ประธานสมาชิกภาพ
อน.จุไร ชำ�นาญ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม
ก่อนอื่นต้องเกริ่นให้ทราบก่อนว่าคณะอนุกรรมการจัดทำ�สารผู้ว่าการ ภาค 3360 ได้แจ้งให้ประธานคณะอนุกรรมการแต่ละฝ่ายสรุปผลงานของตนเอง และกำ�ชับมาว่า ไม่ต้องวิชาการมากเกินไป บอ.กอ ไม่ชอบ คนเขียนก็ไม่ค่อย ถนัดอยู่แล้ว ขออภัยนะ เรื่องสมาชิกภาพ พวกเราก็ทราบกันดีว่า ยากเพียงไหน ทุกๆปีประธานโรตารี่สากลจะเน้นเรื่องการเพิ่มสมาชิกทั่วโลก ทั้งปริมาณและ คุณภาพ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างที่โรตารี่หวังให้บรรลุผลสำ�เร็จนั้นย่อมขึ้นอยู่กับ สมาชิกทั้งหลายและพวกเราทุกคนที่ต้องช่วยกันรับผิดชอบ ในการหาสมาชิกที่ มีคุณภาพ เป็นที่ประจักษ์แล้วว่า สโมสรใดที่มีสมาชิกหลากหลายอาชีพและมี คุณภาพ ก็จะสามารถทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนได้สำ�เร็จตามเป้า หมายได้มากขึ้น ปี 2552-2553 ประธานโรตารี่สากล จอห์น เคนนี่ มีนโยบายที่ จะให้สโมสรโรตารี่ทั่วโลกทุกภาคช่วยกันรณรงค์และเพิ่มกลยุทธ์ต่างๆในการที่จะ เพิ่มสมาชิกให้ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ผู้ว่าการภาคแววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ก็ได้ มอบนโยบายให้นายกสโมสรนำ�สมาชิกใหม่ 1 ท่านเข้าสโมสรภายในวันที่ 31 มีนาคม 2553 ส่วนใหญ่ทำ�ได้ตามเป้า เป็นที่น่าชื่นชมยินดี ที่บางสโมสรได้เพิ่ม สมาชิกใหม่ที่มีคุณภาพเป็นจำ�นวนมาก ในนามของประธานสมาชิกภาพภาค 3360 ขอขอบคุณทุกสโมสรที่ให้ ความร่วมมือและเล็งเห็นความสำ�คัญ ทำ�ให้ภาค ฯ ซึ่ง 5 ปี ติดต่อกันมายังไม่มี สมาชิกถึง 1200 คน ปีนี้ ณ วันที่ 7 มิถุนายน 2553 เรามีสมาชิก 1217 คน และ กำ�ลังจะเพิ่มขึ้นอีก เพราะภาคเราได้ก่อตั้งสโมสรใหม่ที่ได้ส่งเอกสารพร้อมค่า สมาชิกส่งโรตารี่สากลเรียบร้อยแล้วจำ�นวน 20 คน ขอปรบมือให้สโมสรโรตารี่ ชาละวันน้องใหม่ของพวกเรา โดยความสามารถของผู้แทนพิเศษผู้ว่าการภาค เสริมพงษ์ วงศ์สมานจิต อีกสโมสรหนึง่ ทีก่ �ำ ลังจะเรียบร้อยวันที่ 24 มิถนุ ายน2553นี้ โดยผู้แทนพิเศษผู้ว่าการภาค อน. พรพัฒน์ วัฒนกุล ที่ย้ายจากเชียงใหม่ไป พิษณุโลก โดยการนำ�ของนายก ชญากานต์ พิทตระพันธ์ คนเก่งของภาค 3360 ทำ�ได้อย่างไรเพิ่มสมาชิกจาก 37 เป็น 57 ควบคู่กับสโมสรโรตารี่เชียงใหม่ ที่มี สมาชิกมากที่สุดเกิน 60 อย่าลืมบอกเคล็ดลับให้มิตรต่างสโมสรบ้างนะ เข้าตาม เป้าของผู้ว่าการภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ทำ�บุญมาเยอะ ทำ�อะไรก็ได้ดั่งใจ สรุปแล้วถึงแม้บางสโมสรจะน้อยหรืออาจยุบไป ก็ยังจะเกิน 1200 คน เอ้า พวกเราช่วยกันหน่อย แซงโค้งด้วยความระมัดระวัง ขอแถมให้ทราบหน่อย ปัจจุบับนี้โรตารี่ทั้งโลกมีสมาชิก 1,228,215 34 โซน 33,967 สโมสร ภาค 3360 อยู่โซน 6 ทั้ง 4 ภาค มี 276 สโมสร จำ�นวน สมาชิก 6,992 คน ( ข้อมูล ณ วันที่ 7 มิถุนายน 2553 )
มิถุนายน ๒๕๕๓
9 8
ประชาสัมพันธ์ภาค 3360 ประจำ�ปี 2552-2553 ผลงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ภาค 3360 ปีบริหาร 2552-2553 โดย อน. จันทนี เทียนวิจิตร
ในปีบริหาร 2553-2554 คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ได้ใช้กลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์เผย แพร่กิจกรรมของโรตารี คือ 1.การประชาสัมพันธ์ภายนอก 2.การประชาสัมพันธ์ภายใน การประชาสัมพันธ์ภายนอกองค์กร ได้ทำ�การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสโมสรโรตารีให้แก่สาธารณชนให้ได้รับทราบ ตามช่องทาง สื่อสาธารณะต่างๆ คือ • หนังสือพิมพ์ส่วนกลาง เช่น หนังสือพิมพ์มติชน, เดลินิวส์ โดยได้รับการนำ�ลงในส่วนของข่าว ภูมิภาค • หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นของภาคเหนือตามจังหวัดต่างๆ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ไทยนิวส์, เชียง ใหม่นิวส์ และเชียงใหม่เมล์ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับภาษาอังกฤษ รวมถึงหนังสือพิมพ์แจกฟรี เช่น หนังสือพิมพ์เฉียบ โดยได้ลงพิมพ์ขา่ วและภาพกิจกรรมของโรตารี จำ�นวน 132 ครัง้ นอกจาก นี้ยังมีฝ่ายประชาสัมพันธ์ของสโมสรต่างๆ นำ�ลงในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นของจังหวัด เช่น จังหวัด พิษณุโลก เป็นต้น • วิทยุ โดยการจัดให้มีการแจ้งข่าวความเคลื่อนไหวของการทำ�กิจกรรมของสโมสรที่เด่นๆ ใน ช่วงของข่าวบริการเพื่อสังคม • โทรทัศน์ เริ่มเมื่อต้นปีบริหารโดยการสัมภาษณ์ ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ทาง E-TV ของ คณะสื่ อ สารมวลชนมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ การออกโทรทั ศ น์ ถ วายพระพรวั น เฉลิ ม พระ ชนมพรรษาฯ และเผยแพร่กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ที่เด่นของสโมสรและของภาค เช่น โครงการ น้ำ� โครงการจัดสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจโรงพยาบาลลำ�ปาง ฯลฯ ทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 • เคเบิ้ ล ที วี โดยร่ ว มกั บ คณะกรรมการประชาสั ม พั น ธ์ ข องโรตารี ทุ ก ภาคในประเทศไทย ประชาสัมพันธ์เรื่องการรณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอของโรตารีเมื่อเดือนธันวาคม 2552 และเคเบิ้ล ทีวีจังหวัดในภาคเหนือโดยฝายประชาสัมพันธ์ของแต่ละสโมสรในจังหวัดที่มีเคเบิ้ลทีวี • ติดบอร์ด แผ่นป้าย โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม เมื่อมีการประชุมใหญ่ประจำ�ปี การ ประชุมของภาคในโอกาสต่างๆ ในแต่ละช่วงปี • อินเตอร์เน็ต ในเว็บไซต์ www.rotary3360.org โดยเชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของโรตารีประเทศไทย และภาคอื่นๆ รวมทั้งลิ้งค์อื่นที่เกี่ยวข้องกับโครงการโรตารี และสโมสรโรตารีในภาค การประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร • ทำ�การสำ�รวจที่อยู่อีเมล์ของโรแทเรียนผ่านนายกสโมสรเมื่อต้นปีบริหาร เพื่อส่งข่าวสารต่างๆ ให้โรแทเรียนในภาคทางอีเมล์ ในลักษณะข่าวประจำ�สัปดาห์และข่าวด่วน ซึ่งยังได้รับที่อยู่อีเมล์ ของโรแทเรียนในจำ�นวนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับจำ�นวนโรแทเรียนในภาค • จัดทำ�ข่าวภาคประจำ�สัปดาห์ (Weekly News) ส่งทางอีเมล์สัปดาห์ละหนึ่งฉบับ โดยมีเนื้อหา ความเคลือ่ นไหวของโรตารีสากล โรตารีในประเทศไทย ข่าวสารของภาค 3360 และประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ ของสโมสรโรตารีในภาค โดยจัดทำ�เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งข่าวภาค ประจำ�สัปดาห์นี้ได้นำ�ลงในเว็บไซต์เพื่อให้โรแทเรียนได้ติดตามในภายหลังด้วย - เชื่อมโยงอินเตอร์เน็ตของภาคไปยังเว็บไซต์ของสโมสรต่างๆ - จัดทำ�ฐานข้อมูลสมาชิก โดยสำ�รวจที่อยู่อีเมล์ของสมาชิกเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร - นำ�สารผู้ว่าการภาคฉบับออนไลน์ลงในอินเตอร์เน็ตเว็บไซต์ของภาคเพื่อเผยแพร่ให้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น • สิ่งพิมพ์ต่างๆ - สารผู้ว่าการภาค ที่ได้ร่วมประชาสัมพันธ์ข่าวสารและกิจกรรม โดยสารผู้ว่าการภาคนี้ทางทีม งานของผู้ว่าการภาคได้จัดส่งให้กับสมาชิกทุกคนโดยผ่านนายกสโมสรเป็นประจำ�ทุกเดือนๆ ละ หนึ่งครั้ง - การส่งจดหมายแจ้งข่าว เช่น การประชุมระดับภาคโปรแกรมต่าง ๆ - กระจายข่าวเพื่อลงสารสโมสร ที่มีการจัดทำ�เป็นสิ่งพิมพ์และออนไลน์ - การส่งภาพข่าวกิจกรรมของสโมสรและภาค 3360 ไปลงยังนิตยสารโรตารีประเทศไทย เพื่อเผย แพร่ให้โรแทเรียนต่างภาคได้รับทราบกิจกรรมของภาค 3360 คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการที่ทำ�ให้งานด้านการ ประชาสัมพันธ์ของภาค 3360 ในปีบริหาร 2552-2553 บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้.
8 9
อน.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรล้านนาเชียงใหม่
มิถุนายน ๒๕๕๓
การบริจาคเงินเข้ามูลนิธิโรตารีสากลของภาค Annual Program Fund (APF-Share) 63,154.54 Permanent Fund (PF-Benefactor) 6,030.30 Matching Grant (MG) 32,600.00 PolioPlus 1,600.00
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
ชื่อสโมสรโรตารี กำ�แพงเพชร จอมทอง จามะเทวี เชียงราย เชียงรายเหนือ เชียงแสน เชียงคำ� เชียงใหม่ เชียงใหม่ดอยสุเทพ เชียงใหม่ถิน ่ ไทยงาม เชียงใหม่ภูพิงค์ เชียงใหม่เหนือ เชียงใหม่ตะวันตก เชียงใหม่ตะวันออก เชียงใหม่ใต้ เชียงใหม่แอร์พอร์ต ช้างเผือกเชียงใหม่ ดอยพระบาท ตาก เถินดาวน์ทาวน์ ท่าวังผา นเรศวร นครหริภุญชัย นครเทิง นครน่าน น่าน ปัว ฝาง พิชัย พิษณุโลก
รายชื่อนายกสโมสร นย.ศรีภา จันทร์ดี นย.วิชิต อึ้งจิตรไพศาล นย.อุทัย สุนันต๊ะ นย.ไพบูลย์ เลาพงษ์สิต นย.ทรงพล เจียรพินิจนันต์ นย.ประสาธน์ กิตินา นย.อดิศักดิ์ ศุภการกำ�จร นย.รศ.โรม จิรานุกรม นย.สมศักดิ์ กนกวิบูลย์ศรี นย.ดร.ราตรี พิมพ์พันธุ์ นย.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์ นย.สุนิศา เฟรนเซิ้ล นย.ดร.กอบกิจ อิสรชีววัฒน์ นย. สมบูรณ์ อมรเสนารักษ์ นย.ดรัณ สิรีเลิศ นย.จันทิรา นามวงค์ นย.สุรพล ทวีเลิศนิธิ นย.เอก อิ่มเจริญ นย.กัมปนาท ภูมิลำ�นันท์ นย.ดร.ธีรวัฒน์ หมู่วิเศษ นย.สุวิทย์ หารต๊ะ นย. วิรัช ตั้งค้าวานิช นย.สมฤทัย สุรินทร์คำ� นย.ประจวน มังคละ นย.วชิระพงษ์ คันธะมาลา นย.สุรชัย เมธาวรนันท์ชัย นย.บรรเจิด อุดมศิลป์ นย.ภัค สันติภราดรกุล นย.อำ�นาจ อินมั่นคง นย.ชญากานต์ พิทตระพันธ์
มิถุนายน ๒๕๕๓
APF 900.00 1,800.00 1,000.00 1,800.00 1,000.00 3,000.00 2,500.00 300.00 1,900.00 300.00 1,300.00 2,100.00 600.00 500.00 2,000.00 2,900.00 500.00 1,624.24 1,400.00 500.00 100.00 1,700.00 1,900.00 400.00 800.00 4,530.30
MG
PF
1,000.00 100.00 11,000.00 7,000.00 1,000.00 100.00
3,000.00 1,000.00
1,000.00 2,100.00 1,000.00
3,000.00
200.00 1,030.30
PolioPlus รวม 900.00 1,800.00 2,000.00 1,800.00 1,000.00 3,100.00 600.00 17,100.00 300.00 9,900.00 1,300.00 1,000.00 2,400.00 2,100.00 1,000.00 2,700.00 1,500.00 2,000.00 2,900.00 500.00 4,624.24 1,400.00 500.00 100.00 1,700.00 1,900.00 600.00 800.00 5,560.60
11 10
3360 โรตารีสากลปี 2552 - 2553
Total in $ USD = 103,384.84 Total in Baht (103,384.84x33) 3,411,699.72 Baht
ที่ 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
ชื่อสโมสรโรตารี แพร่ พะเยา พาน แม่จัน แม่วัง แม่สาย แม่ฟ้าหลวง แม่สอด แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน เมืองฉอด เมืองเถิน ลับแล ล้านนาเชียงใหม่ ลำ�ปาง ลำ�พูน วังจันทร์ เวียงสา เวียงโกศัย ศรีสองแคว ศิลาอาสน์ รีสอง สวรรคโลก สวรรคโลกเหนือ สันป่าตอง สารภี สุโขทัย หางดง อุตรดิตถ์ เวียงจันทร์
รายชื่อนายกสโมสร นย.คณพศ ใจบาล นย.ศุภฤกษ์ ไวศยานุวัฒน์ นย.สุกฤษฎิ์ เมฆประภามงคล นย.สุภาวดี วานิชผดุงธรรม นย.นิรันดร์ ดุษฎีพร นย.ตระสัก ศรีธิพรรณ์ นย.ประคอง ขัติยะ นย.ศิริพร เรืองพรวิสุทธิ์ นย.อุดม ทั่งทอง นย.สุวัฒน์ อัมมวรรธน์ นย.ปัญญา ยศปาน นย.จรัล จันทราช นย.ฟู บุญถึง นย.นิตยา ภู่ยงยุทธ นย.อธิษฐาน วงศ์ใหญ่ นย.สมพล เจียรนัย นย.นารีรีตน์ หอภัทรพุฒิ นย.วิโรจน์ ชื่นสุขประสงค์ นย. สมพงษ์ สังข์บุณยนิธิ นย.มนัส จุติพรประสิทธิ์ นย.สุภัคกานต์ คงธนศุภธร นย.ธนิตย น้ำ�เงิน นย.ปรารถนา อันเทส นย.ประทุม อาเทศ นย.สุรพล อายูร นย.นสพ.พิรุณ ชุติพงษ์วิเวท นย.ประทุม เกตุกิตติกุล นย.ศิรพงศ์ ไชยวงศ์ นย.สุรพล โกศลดิลกกุล P.Houmpheng Manipoun
APF 100.00 1,000.00 1,300.00
MG 1,000.00
4,000.00
1,900.00 400.00 700.00 1,700.00 3,700.00 1,600.00 600.00 1,200.00 1,000.00 300.00 2,100.00 3,700.00 2,200.00 500.00 300.00 800.00 1,000.00
100.00
1,000.00
PF
PolioPlus รวม 1,000.00 100.00 1,000.00 1,300.00 4,000.00 1,900.00 500.00 700.00 1,700.00 3,700.00 1,000.00 1,600.00 600.00 1,200.00 1,000.00 300.00 2,100.00 3,700.00 2,200.00 500.00 300.00 800.00 1,000.00 -
63,154.54 32,600.00 6,030.30 1,600.00
10 11
มิถุนายน ๒๕๕๓
103,384.84
ถ้วยเกียรติยศของสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี 2552-2553n ถ้วยกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
สโมสรโรตารีพิษณุโลก (ครองร่วมกับ สร.หลักห้า-ดำ�เนิน (3330)) โดย นย.ชญากานต์ พิทตระพันธ์
ถ้วยกรมพระกำ�แพงเพชรอัครโยธิน สโมสรโรตารี ศิลาอาสน์ (3360) โดย นย.สุภัคกานต์ คงธนศุภธร
ถ้วยเกียรติยศของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2552-2553 ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สโมสรโรตารีแม่จัน
ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สโมสรโรตารีพิษณุโลก ถ้วยพระยาศรีวิสารวาจา สโมสรโรตารีลำ�ปาง ถ้วยกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ สโมสรโรตารีพิษณุโลก ถ้วยกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ถ้วยกรมพระกำ�แพงเพชรอัครโยธิน สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ มิถุนายน ๒๕๕๓
13 12
Presidential Citation
รายชื่อสโมสรที่ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ จากประธานโรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553
12 13
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33
ชื่อสโมสรโรตารี เชียงใหม่ เชียงใหม่เหนือ สารภี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ช้างเผือกเชียงใหม่ เชียงใหม่แอร์พอร์ต พิษณุโลก วังจันทน์ สุโขทัย สวรรคโลก สววรคโลกเหนือ ลำ�ปาง แม่วัง ดอยพระบาท เมืองเถิน เถินดาวน์ทาวน์ เชียงราย เชียงรายเหนือ พาน แม่จัน แม่สาย เชียงแสน เชียงคำ� แพร่ สอง เวียงโกศัย ปัว อุตรดิตถ์ ศิลาอาสน์ ลับแล แม่สอด เมืองฉอด ศรีสองแคว
ชื่อนายกสโมสร นย.รศ.โรม จิรานุกรม นย.สุนิศา เฟรนเซิ้ล นย.นส.พ.พิรุณ ชุติพงษ์วิเวท นย.สุรพล ทวีเลิศนิธิ นย.ดร.ราตรี พิมพ์พันธุ์ นย.รศ.นพ.สำ�เริง รางแดง นย.ชญากานต์ พิทตระพันธ์ นย.นารีรีตน์ หอภัทรพุฒิ นย.ประทุม เกตุกิตติกุล นย.ปรารถนา อันเทส นย.ประทุม อาเทศ นย.อธิษฐาน วงศ์ใหญ่ นย.นิรันดร์ ดุษฎีพร นย.เอก อิ่มเจริญ นย.จรัล จันทราช นย.ดร.ธีรวัฒน์ หมู่วิเศษ นย.ไพบูลย์ เลาพงษ์สิต นย.ทรงพล เจียรพินิจนันต์ นย.สุกฤษฎิ์ เมฆประภามงคล นย.สุภาวดี วานิชผดุงธรรม นย.ตระสัก ศรีธิพรรณ์ นย.ประสาธน์ กิตินา นย.อดิศักดิ์ ศุภการกำ�จร นย.คณพศ ใจบาล นย.ธนิตย น้ำ�เงิน นย. สมพงษ์ สังข์บุณยนิธิ นย.บรรเจิด อุดมศิลป์ นย.สุรพล โกศลดิลกกุล นย.สุภัคกานต์ คงธนศุภธร นย.ฟู บุญถึง นย.ศิริพร เรืองพรวิสุทธิ์ นย.ปัญญา ยศปาน นย.มนัส จุติพรประสิทธิ์
มิถุนายน ๒๕๕๓
ศูนย์โรตารีประเทศไทย FG เดือนมิถุนายน 2553 ED สวัสดีครับ...เพื่อนสมาชิกที่รักทุกทาน ขอเริ่มดวยขาวฝากจากผูแทนดูแลการเงินฯ วาสโมสรใดที่ยังไมไดชําระคาบํารุงงวดเดือนมกราคม 2553 ขอใหรีบดําเนินการโดยดวน เพราะหากพนเดือนมิถุนายนไปแลว สโมสรของทานจะถูกขึ้นบัญชียุบเลิก (Terminate) จากโรตารีสากลครับ ในเดือนมิถุนายนนี้ ผมและเจาหนาที่ศูนยโรตารีฯ จะเดินทางไปรวมในการประชุมภาคประจําปเพื่อ อบรมเจาหนาที่สโมสร (District Assembly) ของภาค 3350 ซึ่งไดเลื่อนการจัดประชุมฯ ไปเปนวันที่ 26 มิถุนายนนี้ สารจากศูนยฯ ฉบับนี้ จะเปนฉบับสุดทายของคณะกรรมการบริหารศูนยฯ ป 2551-53 ผมขอขอบคุณมวลมิตรโรแทเรียน ทุกสโมสรและทุกภาค ที่ใหความรวมมือกับศูนยโรตารีฯ ในทุกๆ เรื่องดวยดีเสมอมา ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย โปรด ดลบันดาลใหทุกทานประสบแตสิ่งดีงาม และขอใหองคกรโรตารีเจริญรุงเรืองยิ่งขึ้นสืบไป ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยฯ อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล เดือนมิถุนายน 2553
33 บาท
ตอ 1 เหรียญสหรัฐ
ตัวเลขโรตารีไทย ภาค โรแทเรียน สโมสร 3330 2,139 77 3340 1,278 60 3350 2,425 90 3360 1,209 60 รวม 7,051 287 ขอมูล:ผูแทนดูแลการเงินฯ (มิ.ย.53)
อผภ.ชาญชัย วิศิษฎกุล
การประชุมคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายนที่ผานมา ณ ศูนยโรตารีฯ เปนการประชุมรวมของคณะกรรมการฯ ป 2552-53 และ 2553-55 และไดมีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารศูนยฯ ป 2553-55 อยางเปนทางการ โดย อผภ.ชาญชัย วิศิษฏกุล สโมสรโรตารีกรุงเทพใต ภาค 3350 จะรับหนาที่ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยฯ ประจําป 2553-55
อผภ.ประพันธ หุตะสิงห
เจาหนาที่ศูนยโรตารีฯ รับของที่ระลึกจาก ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ในโอกาสที่ได ชวยในการจัดประชุม District Assembly ของภาค 3360 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2553 จ.เชียงใหม
วันที่ 3 มิถุนายนที่ผานมา ไดมีการประชุมสภารวมอดีตผูวาการภาคในประเทศไทย ประจําป 2552-53 ขึ้นที่ศูนยโรตารีฯ โดยมี อผภ.ประเสริฐ ฟกทองผล (3330) เปนประธาน เพื่อพบปะ หารือ แลกเปลี่ยนความคิดในเรื่องตางๆ ที่สําคัญ เชน การประชุมใหญโรตารี สากล ป 2012, โครงการสรางความเขาใจระหวางประเทศไทย-มาเลเซีย เปนตน นอกจากนี้ ยังมีการสรรหาผูที่จะทําหนาที่ประธานสภารวมฯ ในป 2553-54 อีกดวย ไดแก อผภ.ประพันธ หุตะสิงห จากสโมสรโรตารีกรุงเทพใต ภาค 3350 โรตารีสากล
ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82‐83 ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 มิ ถ น ุ ายน โทร. 0 2661 6720‐1 ๒๕๕๓ โทรสาร 0 2661 6719 e‐mail: rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org
15 14
District’s Secretary มิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่านคะ โรตารี แปลว่า เวียนกัน หมุนเวียน ซึ่งก็หมายถึง การผลักเปลี่ยน หมุนเวียนคณะทำ�งานในองค์กรโรตารี นับตั้งแต่ระดับโรตารีสากล ระดับภาค และระดับสโมสร เพื่อให้โรแทเรียนทุกท่านได้เข้ามาทำ�งานเรียนรู้หน้าที่ต่างๆ ในองค์กรของเรา จะเห็นได้จากการผลัดเปลี่ยนประธานโรตารีสากล การผลัด เปลี่ยนผู้ว่าการภาค แม้แต่ผลัดเปลี่ยนนายกสโมสรและคณะกรรมการบริหาร สโมสร ซึ่งจะเข้ารับตำ�แหน่งในวันที่ 1 กรกฎาคม นี้ เป็นการเริ่มต้นปีบริหาร ใหม่ของโรตารี เดือนมิถุนายนเป็นเดือนแห่งมิตรภาพ มิตรโรแทเรียนจะเริ่ม เดินทางไปแสดงความยินดีกับนายกสโมสรและคณะกรรมการบริหารสโมสรชุด ใหม่ในงานสถาปนาคณะกรรมการบริหารสโมสรโรตารีปีบริหาร 2553-2554 ทั้ง ในภาค ต่างภาค หรือแม้แต่การไปแสดงความยินดีกับมิตรโรแทเรียนในต่าง ประเทศด้วย ในนามของคณะกรรมการภาค 3360 ปีบริหาร 2552-2553 ขอแสดง ความยินดีกับท่านผู้ว่าการภาค นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี พร้อมทั้งโรตารี แอนน์ ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี นายกสโมสรและคณะกรรมการบริหาร สโมสรทุกสโมสรในภาค 3360 ของเราในปีบริหาร 2553-2554 ขอให้ท่านประสบ ผลสำ�เร็จในการทำ�งานในองค์กรโรตารีดังในแผนงานที่ท่านได้เขียนไว้ และ ประสบผลสำ�เร็จในธุรกิจส่วนตัวของท่าน และมีสุขภาพดี แข็งแรงตลอดไปนะ คะ ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ เลขานุการภาค 3360 ปี 2552-2553 สโมสรโรตารีช้างเผือก
14 15
Dearly Beloved Fellow Rotarians, Rotary is a symbol of cycle and change, signifying the change in committee members within the Rotary Organization, beginning with Rotary International, to the District level, and finally, within each club itself. This change enables every member to learn about the responsibilities that pertain to each of the different positions within the organization. This is evident in the changes of the President of Rotary International, the District Governor, even the changes of each club’s President and its committee members; all of whom will be assuming their positions from the 1st of July onwards, marking the new administrative year for Rotary. June is the month of friendship, whereby fellow rotarians far and wide will be travelling all around to congratulate the numerous Presidents and their committee members, in their new roles, during the installation 2010-2011 ; both within the District, to neighboring Districts, and going so far as to visit and pay respects to fellow rotarians in other countries. On behalf of District 3360 and the 2009-2010 Committee members, I would like congratulate Dr. Weerachai Chamroendararasmee and Rotary Anne Dr.Busabong Chamroendararassamee, Presidents and Committee members in all clubs across District 3360 for the year 2010-2011. May all of you be successfull in your endeavors and reach your intended goals for this administrative year, as well as in your private careers, with the best of health and spirits. Yours in Rotary, PP. Siriluck Chaiyawong, District Secretary D.3360 RI (2009-2010)
มิถุนายน ๒๕๕๓
สถิติการเข้าประชุม มิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน เกณฑ์การตัดสินการคิดคะแนนการประชุมสำ�หรับรางวัลที่ส่งเร็ว ทาง กรรมการจะดูจากวัน-เวลาของไปรษณีย์บัตรที่ส่งถึงคณะกรรมการตามที่อยู่บน ไปรษณีย์บัตร ไม่นับการส่งทาง อีเมล์หรือแฟกซ์ และส่วนการคิดคะแนนการ ประชุมสูงสุด ก็คิดจากคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด คณะกรรมการขอแสดงความยินดี กับสโมสรที่ได้รับรางวัลในปีนี้ คือ สโมสรที่ได้คะแนนเฉลี่ยทั้งปีสูงสุด คือ สโมสร โรตารีศิลาอาสน์ สำ�หรับสโมสรที่ส่งคะแนนมาเร็วที่สุดเฉลี่ยตลอดปี คือ สโมสร โรตารีปัว สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ สโมสรโรตารีดอยพระบาท และสโมสร รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนมิถุนายน ของสโมสรโรตารีภาค 3360 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน 1 16274 Kamphaengphet กำ�แพงเพชร 16 2 25135 Chomtong Chiangmai จอมทอง 10 3 23182 Chamadhevi จามะเทวี 10 4 23201 Changpuak Chiang Mai ช้างเผือกเชียงใหม่ 21 5 16262 Chiang Mai เชียงใหม่ 57 6 60808 Chiangmai Doi Suthep ดอยสุเทพ 3 7 16264 Chiangmai West เชียงใหม่ตะวันตก 29 8 26048 Chiangmai East เชียงใหม่ตะวันออก 15 9 29283 Chiang Mai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 32 10 51245 Chiangmai South เชียงใหม่ใต้ 13 11 16263 Chiang Mai North เชียงใหม่เหนือ 30 12 50481 Chiangmai Phuping เชียงใหม่ภูพิงค์ 15 13 53170 Chiang-Mai Airport เชียงใหม่แอร์พอร์ต 12 14 16261 Chiangkam เชียงคำ� 23 15 16265 Chiang Rai เชียงราย 29 16 52387 Chiang Rai North เชียงรายเหนือ 20 17 28751 Chiang Saen เชียงแสน 15 18 57289 Doiprabaht ดอยพระบาท 22 19 16312 Tak ตาก 10 20 70997 Thoen Downtown เถินดาวน์ทาวน์ 16 21 50326 Thawangpha ท่าวังผา 10 22 23050 Nan น่าน 43 23 57910 Nakron Nan นครน่าน 10 24 64215 Nakorn Thoeng นครเทิง 17 25 65762 Nakron Hariphunchai นครหริภุญชัย 10 26 27553 Naresuan นเรศวร 33 27 22008 Pua ปัว 24 28 21495 Fang ฝาง 18 29 16291 Payao พะเยา 10 30 16292 Phan พาน 25
มิถุนายน ๒๕๕๓
โรตารีสากล ประจำ�ปี % อันดับ 75* 65* 62* 70.70 60.34 50* 52* 55* 70.41* 79.50 75* 55* 50* 94.56 4 100 1 92.58 5 91.67 6 61.12 57.50* 55* 80* 74.99 52.50* 54 58* 50* 97.92 3 65* 60 53
2552-2553 หมายเหตุ *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย เร็วที1่ 29/5/53 เร็วที2่ 31/5/53 เร็วที1่ 29/5/53 *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย เร็วที2่ 31/5/53 *ค่าเฉลี่ย เร็วที1่ 29/5/53
17 16
โรตารีพาน สำ�หรับการส่งคะแนนในเดือนสุดท้ายนี้ สโมสรที่ทำ�เปอร์เซนต์การประชุมเต็ม 100% มี สองสโมสร คือ สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ และสโมสรโรตารีเชียงราย ส่วนสโมสรที่ส่งคะแนนการ ประชุมรวดเร็วที่สุด อันดับ 1 คือสโมสรโรตารีเชียงราย สโมสรโรตารีพาน และสโมสรโรตารี เวียงสา อันดับ 2 คือ สโมสรโรตารีเชียงแสน สโมสรโรตารีปัว และสโมสรโรตารีแม่สาย อันดับ 3 คือ สโมสรพะเยา
รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนมิถุนายน ของสโมสรโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน % อันดับ หมายเหตุ 31 23541 Phrae แพร่ 23 80.43 10 32 24741 Phichai พิชัย 15 83* *ค่าเฉลี่ย 33 16297 Phisanulok พิษณุโลก 58 87.50 7 34 27084 Muang Chod เมืองฉอด 20 75.94 35 65185 Muang Thoen เมืองเถิน 17 76* *ค่าเฉลี่ย 36 16280 Maechan แม่จัน 32 64.52* *ค่าเฉลี่ย 37 29389 Maewang Lampang แม่วัง 22 65 38 24956 Mae Sod แม่สอด 21 65* *ค่าเฉลี่ย 39 16283 Mae Sariang แม่สะเรียง 12 50* *ค่าเฉลี่ย 40 16282 Maesai แม่สาย 27 69.82 เร็วที่2 31/5/53 41 16281 Mae Hongson แม่ฮ่องสอน 13 62* *ค่าเฉลี่ย 42 52390 Mae Fha Louang แม่ฟ้าหลวง 9 50* *ค่าเฉลี่ย 43 24886 Lab Lae ลับแล 10 65* *ค่าเฉลี่ย 44 50294 Lanna ล้านนา 25 67.64 45 16277 Lampang ลำ�ปาง 30 68* *ค่าเฉลี่ย 46 16278 Lampoon ลำ�พูน 10 50* *ค่าเฉลี่ย 47 50650 Wangchan วังจันทน์ 27 49.04 48 51392 Wiangkosai เวียงโกศัย 25 69 49 31711 Wiangsa เวียงสา 12 83 8 เร็วที่1 29/5/53 50 52394 Sri Song Kwai ศรีสองแคว 17 82.35 51 25165 Sila-Asana ศิลาอาสน์ 28 100 1 52 16307 Sawankaloke สวรรคโลก 26 48 53 25680 Sawankhalok North สวรรคโลกเหนือ 25 83.60 9 54 22010 Song สอง 14 65* *ค่าเฉลี่ย 55 27741 Sanpatong สันป่าตอง 14 60* *ค่าเฉลี่ย 56 30612 Sarapee สารภี 12 45* *ค่าเฉลี่ย 57 24965 Sukhothai สุโขทัย 23 74* *ค่าเฉลี่ย 58 30057 Hang Dong หางดง 10 40* *ค่าเฉลี่ย 59 16317 Uttaradit อุตรดิตถ์ 26 98 2 60 74261 Vientiane เวียงจันทน์ 10 40* *ค่าเฉลี่ย
16 17
มิถุนายน ๒๕๕๓
DGN’s Corner
การประชุมใหญ่โรตารีสากล ประจำ�ปี 2 (2010 ROTARY INTERNATIONAL CON
ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ
เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาผมได้มีโอกาสไปร่วม การประชุมใหญ่โรตารีสากลที่ มอนทรีออล แคนาดา ซึ่งจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 20-23 มิถุนายน 2553 นอกจากจะมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในความใหม่ๆเกี่ยวกับวงการโรตา รีแล้วยังมุ่งหมายที่จะไปศึกษาเพื่อเป็นการเตรียมงานในการเป็น เจ้าภาพการประชุมใหญ่ฯที่กรุงเทพฯในปี 2553ที่จะถึงนี้ การประชุมใหญ่ที่มอนทรีออลครั้งนี้เป็นการประชุมใหญ่ ขนาดกลางเพราะมีผู้เข้าร่วมการประชุมประมาณ 18,000 คน จกากเป้าที่ตั้งไว้ 20,000 คน อาจจะเป็นเพราะข้อจำ�กัดในเรื่อง สถานที่ ที่ ต้ อ งจั ด แยกกั น ระหว่ า งการประชุ ม รวม (plenary session) จัดที่ Centre Bell กับการประชุมแยก (breakout session) จัดที่ Palais des Congres de Montreal ซึ่งอยู่กันคนละ ที่ต้องใช้รถรับส่งจำ�นวนมากและใช้เวลาพอสมควร เจ้าภาพจึงตั้ง เป้าจำ�นวนผู้เข้าร่วมประชุมไม่มากนักเพียง 20,000 คน ซึ่งแตก ต่างจากของไทยเราในปี 2555 ที่จัดรวมกันที่เดียวคือที่เมืองทอง อารีนาและตั้งเป้าผู้เข้าร่วมประชุมไว้ถึง 30,000 ถึง 40,000 คน อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะจำ�กัดด้วยอาคารสถานที่ แต่ใน เรื่องทางด้านวิชาการและการจัดโปรแกรมต่างๆไม่ว่าจะเป็น House of Friendships หรือ Host Event ต่างๆเจ้าภาพก็จัดได้ อย่างดีเยี่ยม นอกจากเนื้อหาสาระจะอยู่ในความสนใจของผู้เข้า ประชุมกันอย่างมาก โดยยังอยู่ร่วมประชุมต่อหลังจากพิธีเปิดแล้ว เป็นเปอร์เซ็นต์ค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับการประชุมในครั้งที่ ผ่านๆมา ที่ผู้เข้าประชุมส่วนใหญ่พอร่วมพิธีเปิดแล้วก็มักจะเดิน ทางต่อไปเที่ยวแล้วไม่กลับมาอีกเลย แต่ในคราวนี้มีผู้เข้าร่วมเต็ม เกื อ บทุ ก ห้ อ ง บางห้ อ งถึ ง กั บ ต้ อ งปิ ดไม่ ใ ห้ เ ข้ าไปอี ก แล้ ว ยั ง มี keynote speakers หลายท่านที่อยู่ในความสนใจของผู้เข้าประชุม เป็นอย่างยิ่ง Keynote Speaker ที่สำ�คัญนอกจากประธานโรตารีสากล John Kenny ซึ่งทำ�หน้าที่เป็นผู้ดำ�เนินรายการหลัก (Master of Ceremonies) และประธานโรตารีสากลรับเลือก Ray Klingkinsmith แล้วท่านอื่นคือ พระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน (Her Majesty Queen Noor of Jordan) ซึ่งพระองค์ได้กล่าวสุนทรพจน์ได้อย่างประทับ ใจโดยไม่ต้องมีเครื่องช่วยเหมือน speaker ท่านอื่นๆ พระองค์ ท่านเป็นสามัญชนชาวอเมริกันมาก่อนและมาอภิเษกสมรสกับ กษัตริย์ฮุสเซนแห่จอร์แดนผู้ล่วงลับไปแล้ว พระราชินีนูร์ทรงมี บทบาททีส่ ำ�คัญอย่างยิง่ ในการเสริมสร้างสันติภาพระหว่างอาหรับ กับอิสราเอล ในการกล่าวสุนทรพจน์ในวันนั้นได้เรียกเสียงปรบ มืออย่างกึกก้องเมื่อพระองค์ทรงกล่าวถึงความตั้งใจที่อยากจะมี สโมสรโรตารีในเยรูซาเร็มที่สมาชิกประกอบไปด้วยทั้งคนยิวและ คนอาหรับอยู่ด้วยกัน อีกท่านหนึ่งก็คือ ดอลลี พาร์ตัน (Dolly Parton) ดารา
มิถุนายน ๒๕๕๓
18 19
2553 NVENTION )
19 18
ฮอลลีวูดรุ่นอาวุโสที่ทำ�งานในด้านการเรียนรู้หนังสือได้ก่อตั้ง Dollywood theme park มาครบรอบ 25 ปีโดยบริจากหนังสือมาแล้วถึง 25 ล้านเล่มแล้ว ในการพูดในวันนั้นเธอยังได้แสดงดนตรีประกอบด้วยความสนุกสนาน และ ในตอนท้ายโรตารีสากลได้มอบ Paul Harris Fellow เป็นการตอบแทนที่เธอ ได้ร่วมสนับสนุนทำ�งานของโรตารีมาอย่างยาวนานเช่นกัน นอกจากนั้ น ยั ง มี บุ ค คลสำ � คั ญ และมี ชื่ อ เสี ย งอี ก หลายท่ า น อาทิ Fr.Marciano “Rocky” Evangelista ซึ่งเป็นพระ Salesian ที่บวชโดยสันตะ ปาปาพอลที่ 6, Greg Mortenson ผู้ก่อตั้งร่วม Central Institute และเป็นผู้ แต่ง Three cups of Tea ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก, Bruce Aylward นายแพทย์ ผู้เป็นหัวหน้าโครงการ Global Polio Eradication Initiative(GPEI), Peter Kyle อดีตที่ปรึกษาธนาคารโลก, Jo Luck ผู้เป็น CEO ขององค์การ Heifer International ที่ผมเห็นว่าเธอผู้นี้น่าจะเป็นผู้หญิงที่เก่งที่สุดในโลกที่ผมเคย รู้จักและพูดคุยด้วยมาตั้งแต่เมื่อครั้งที่เธอมาเชียงใหม่เมื่อ 2 ปีก่อน และใน การพูดในวันนั้นเธอคำ�ว่า “น้ำ�ใจ”(Nam Jai) ที่เธอบอกว่าเป็นภาษาลาวซึ่ง เป็นคำ�ที่ช่วยทำ�ให้งานทั้งหลายประสพความสำ�เร็จ ในส่วนของการแสดงในพิธีเปิดและปิดก็ทำ�ได้อย่างยิ่งใหญ่ คือ ใน พิธีเปิดมีการแสดงของ Celtic Thunderซึ่งเป็นกลุ่มนักร้องที่มีชื่อเสียงมากจ ำ�นวน 5 คนมารวมตัวกัน เป็นการแสดงที่สนุกสนานจนคณะที่เดินทางไป ประชุมด้วยบอกว่าเสียค่าเครือ่ งบินมาเป็นแสนแต่เห็นการแสดงสดครัง้ นีก้ ค็ ุม้ แล้ว ส่วนในพิธีปิดก็มี Russel Watson นักร้องเสียง Tenor ชาวอังกฤษที่ ขึ้นมาร้องเพลงสะกดผู้ฟังโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพลงเก่าๆของ Pavarotti ชาว อิตาเลียนผู้ล่วงลับและยังการแสดงกายกรรมของคณะ Cirque du Soleil ที่ แสดงไปทั่วโลกกว่า 300 เมืองใน 5 ทวีป ผ่านตาผู้ชมมามากกว่า 100 ล้าน คน ส่วนที่เป็นจุดสำ�คัญของการประชุมใหญ่ในทุกๆครั้งที่ผ่านมาอีกจุด หนึ่งก็คือ House of Friendship ซึ่งทำ�ได้ดีมาก มีการออกบูธมากมายทั้งการ ขายสินค้าที่เกี่ยวกับตราสัญลักษณ์โรตารี และบูธจัดแสดงนิทรรศการจาก หน่วยงานต่างๆของทั้งจากสำ�นักงานใหญ่โรตารีสากล และสโมสรหรือชมรม ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโรตารีเป็นร้อยๆบูธ ที่น่าสนใจสำ�หรับผมก็คือชมรมคน ชอบดื่มไวน์ของโรตารีนั่นเอง นอกจากนั้นก็มีชมรมกอล์ฟ ชมรมฮาร์เลย์ ฯลฯ แต่เวทีการแสดงไม่ค่อยคึกคักนักเป็นแต่เพียงการแสดงเล็กๆน้อยๆ แต่ ก็มีส่วนหนึ่งที่ขึ้นจอยักษ์สำ�หรับถ่ายทอดการแข่งขันฟุตบอลโลกเอาไว้ด้วย ซึ่งก็สะดวกมากเพราะตรงกับเวลากลางวันบ้านเขา (แต่ตรงกับดึกดื่นของ บ้านเรา) โดยมีเสียงเฮเป็นระยะๆ สร้างบรรยากาศได้ครึกครื้นดีทีเดียว นอกจากโปรแกรมอย่างเป็นทางการของเจ้าภาพแล้วผูไ้ ปร่วมประชุม ยังมีการจัดโปรแกรมต่างๆเพิ่มขึ้นมาอีก อาทิ 2010 Asia Breakfast Meeting, Down Under Breakfast, Japanese Friendship,Centenial Governors Reunion, RIBI Breakfast, Latin American Breakfast, Beatles Tribute Concert เป็นต้น ในฐานะที่เป็นโรแทเรียนคนหนึ่งผมอยากให้ทุกท่านหากมีโอกาสเข้า ร่วมประชุมใหญ่ก็จะเป็นประสบการณ์ที่ยิ่งใหญ่และยากที่จะลืมเลือนได้ แต่ หากจำ�กัดด้วยระยะเวลา สุขภาพหรือค่าใช้จ่ายแล้ว ในปี 2555 ไทยเราก็จะ ได้เป็นเจ้าภาพการประชุมนี้ ผมอยากให้ทุกท่านได้เข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ เป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะได้ความรู้มากมากมายแล้วยังได้พบปะ และ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับมวลมิตรโรแทเรียนชาวต่างชาติ ที่ส�ำ คัญก็คือโอกาส ในการได้รบั การสนับสนุนหรือแลกเปลีย่ นโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ตา่ งๆ ซึง่ สามารถนำ�มาพัฒนาโครงการต่างๆของโรตารีบ้านเราให้เจริญรุดหน้ายิ่งๆขึ้น ไป สมดังอุดมการณ์ของโรตารีที่ว่า “Service Above Self” หรือ “บริการ เหนือตนเอง” นั่นเอง
มิถุนายน ๒๕๕๓
การประชุมใหญ่โรตารีสากล ประจำ�ปี 2553 (2010 ROTARY
มิถุนายน ๒๕๕๓
20 21
Y INTERNATIONAL CONVENTION)
21 20
มิถุนายน ๒๕๕๓
คุยกันที่ขอบเวที
Paul P. Harris
พอล พี แฮริส (ตอนจบ)
ช่างเป็นคราวเคราะห์หรือความบังเอิญ ที่เรื่อง พอล พี.แฮริส (1868-1947) ตอนที่ 3 ที่ปรากฏในสารฯ ฉบับที่ 11 มีข้อความ เหมือนตอนที่ 2 ทุกตัวอักษร ต้องขออภัยใน ความผิ ด พลาดครั้ ง นี้ ด้ ว ย ในฉบั บ นี้ เ ป็ น ข้อความของตอนที่ 3 ตัวจริงแต่ผมได้เปลีย่ น หัวข้อเป็น พอล พี แฮริส (ตอนจบ) แทน ณ.วั น นี้ โรตารี มี อ ายุ ค รบ 105 ปี บริบูรณ์แล้ว ชื่อของพอลก็ยังอยู่ที่ริมฝีปาก ของโรแทเรี ย นกว่ า 1.2 ล้ า นคนใน 207 ประเทศและเขตแคว้นต่างๆ พอลเคยวิเคราะห์ถึงสโมสรอาชีวะที่มีลักษณะ เหมือนสโมสรโรตารีว่า สโมสรจันโตที่ก่อตั้งโดย เบ็น จามิน แฟรงคินส์ นักวิทยาศาสตร์ และนักปรัชญา เอกของโลก เมื่อ 200 ปีก่อนโน้นไม่น่าสลายไปเลย พอลหาเหตุผลถึงการไม่เจริญเติบโตและที่สุดก็ได้ สลายตัวไปว่า “ลัทธิและปรัชญาที่เหมาะสมหรับ คนแต่ละยุคคงไม่เหมือนกัน ดูแต่ลัทธิขงจื๊อ ที่ไม่ รุ่งเรืองในขณะที่เจ้าของลัทธิยังมีชีวิตและเผยแพร่ ด้วยตัวเอง แต่กลับได้รับความนิยมจากสังคมชาวจีน อีกครั้งหลังเจ้าของลัทธิได้ตายไปแล้วถึง 200 ปี” สโมสร บริการเหมือนโรตารีเช่น ไลออนส์ ซอนต้า และอื่นๆ ล้วน เจริญดีในยุคศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบันนี้ทั้งสิ้น ปัจจัยที่เอื้อให้ โรตารีได้รับการยอมรับด้วยดีคงมีหลายอย่าง ที่สำ�คัญดูเหมือนจะ เป็นการยอมรับในเรื่องมิตรภาพ ความเท่าเทียมกันในอาชีพและ ในสังคม และความเสียสละบำ�เพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น รวมทั้งองค์กรโรตารีเองก็มีปรับปรุงธรรมนูญ กฎระเบียบ และข้อ บังคับต่างๆให้เหมาะสมกับความประสงค์ของโรแทเรียนและความ เป็นไปในสังคมอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา 105 ปี เมื่อมีผู้ยกย่องสรรเสริญโรตารี พอล พี. แฮริสจึงได้รับคำ�สรรเสริญร่วมอยู่ด้วย ตัวอย่างในเรื่องการ สร้างคุณงามความดีไว้กับชีวิตในอดีตจึงเป็นเรื่องที่มนุษย์ควร เจริญรอยตามดั่งที่ พอล พี.แฮริสได้ทำ�ให้เห็นแล้ว ในตอนที่แล้ว ได้กล่าวถึงโรตารีกับสงครามโลกครั้งที่ 2 จนลืม สนิทถึงสงครามโลกครัง้ แรกทีร่ ะเบิดขึน ้ เมือ่ ปี ค.ศ. 1914 เนือ่ งจาก
อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่
มิถุนายน ๒๕๕๓
22 23
มีการชิงอำ�นาจของกลุม่ อำ�นาจ 2 กลุม่ ในยุโรป คือกลุม่ เยอรมันนี ออลเตรีย-ฮังการี กลุ่มหนึ่ง กับกลุ่มฝรั่งเศส อังกฤษ รัสเซีย อีกกลุ่มหนึ่ง ก่อนสงครามระเบิด 2-3 ปี พอล พี.แฮริส มุ่งมั่นกับการไปก่อตั้งสโมสรโรตารี ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษต่อจากที่วินนิเพ็ค ขึ้น ในประเทศแคนาดาเสียก่อน พอล ก็ไม่ได้เลิกล้มความ ตั้งใจเดิม และเห็นเป็นการดีที่โรตารีได้ก้าวออกไปจาก สหรัฐอเมริกาแล้ว เขาได้ร่วมคิดกับอาร์เธอ เชลดอน แห่งชิคาโก และ รทร.ฮาร์วี วีลเลอร์แห่งสโมสรโรตารี บอสตัน ซึ่งทั้งสองมีธุรกิจอยู่ใน บริเดน ที่จะไปก่อตั้ง สโมสรโรตารีในกรุงลอนดอน แต่ความตั้งใจของพอล ต้ อ งพลาดลงอี ก เมื่ อโรตารี ไ ด้ ไ ปโผล่ ที่ ก รุ ง ดั บ ลิ น ประเทศไอร์แลนด์เสียก่อน จึงทำ�ให้สโมสรโรตารีดับลิน เป็นสโมสรโรตารีแห่งแรกในหมู่เกาะ อังกฤษแทน เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ระเบิดขึ้นในเดือน สิงหาคม 1914 ความมุ่งมั่นที่จะขยายโรตารีเข้าไปใน ยุโรปจึงต้องชะงักลง ส่วนอาณาบริเวณที่ไม่มีสงคราม อย่างเอเชียและอเมริกาใต้ โรตารีก็ยังก้าวต่อไป มีการ ต่อตั้งสโมสรโรตารีในประเทศ ฟิลิปปินส์ จีน อินเดีย ปานามา และอาร์เจนตินา ขึ้นหลายสโมสรฯ ถึงปี 1917 สหรัฐอเมริกา ได้เข้าร่วมส่งครามคราวนี้ด้วย สโมสร โรตารีในสหรัฐ จึงได้รณรงค์หาอาหาร เสื้อผ้า หนังสือ แมกกาซีน และสิ่งอำ�นวยความสะดวกอื่นๆ ส่งไป บรรเทาทุกข์ในประเทศที่ได้รับภัยจากสงคราม เป็น บริการของโรตารีที่เห็นได้ชัดเจนยามสงคราม ถึง พอล พี. แฮริส จะมุ่งมั่นขยายโรตารีออก ไปยังประเทศอังกฤษและประเทศอื่นๆ แต่โรแทเรียน ในสหรัฐฯ ก็ต้องการให้พอล มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรตารี ในสหรัฐอเมริกา ดังจะเห็นได้ว้า เมื่อก่อตั้งสโมสรโรตา รีแห่งแรกขึ้น เขาก็ต้องการให้พอล เป็นนายกสโมสร เป็นคนแรก แต่ พอลก็ได้ขอให้ ซิลเวสเตอร์ ชีล เป็น แทน ส่วนตัวเองก็หันไปเน้นเรื่องการขยายสโมสรฯ เพื่อให้โรตารีงอกงามออกไปในเชิงกว้าง เมื่อสโมสร โรตารีในสหรัฐฯ รวมตัวเป็น “สมาคมสโมสรโรตารีแห่ง ชาติ” ขึน ้ และในคราวประชุมสมาคมคราวแรกทีช่ คิ าโก พอลก็ได้รับเลือกให้เป็นประธานของสมาคมฯ เป็นคน แรกในปี 1910 อย่างเป็นเอกฉันท์ ต่อมา สมาคมสโมสร โรตารีแห่งชาติ ซึ่งโดยข้อเท็จจริงแล้ว น่าจะเป็นของ สหรั ฐ อเมริ ก าในตอนนั้ น ได้ รั บ การเปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “สมาคมสโมสรโรตารีสากล” หลังจากโรตารีได้ก้าวออก
23 22
ไปจากสหรัฐอเมริกาสู่ แคนาดา และอังกฤษเรียบร้อย แล้ว สงครามโลกทัง้ 2 ครัง้ ทิง้ เวลาห่างกันประมาณ 20 ปีเศษ ทำ�ให้ พอล พี.แฮริส อเนจอนาถต่อเหตุการณ์ สงครามเป็นอันมาก ทำ�ให้ท่านถึงกับกล่าวออกมาว่า “มันทำ�ให้งงงันไปหมด และไม่รู้ว่าจะหวังอะไรกับโลก ที่มีสภาพเช่นนี้” แต่แล้วก็เหมือนกับปลอบใจตัวเอง หรือดูวิกฤติให้เป็นโอกาส พอลได้กล่าวเพิ่มว่า “แต่... สภาพเช่ น นี้ นี่ แ หละที่ เ ป็ น ตั ว กระตุ้ น และเร่ ง เร้ าให้ วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 ของโรตารีงอกงาม” วัตถุประสงค์ ข้อที่ 4 ของโรตารีมีความว่า “ เพิ่มพูนความเข้ใจ ไมตรีจิต และสันติสุข ระหว่างชาติโดยร่วมกันจรรโลง อุดมคติของการบำ�เพ็ญประโยชน์ ของนักธุรกิจและผู้ ประกอบวิชาชีพทั่วโลก” พอล แฮริส ยังเห็นต่อไปว่า “สภาพเช่นนี้อีกนั่นแหละที่ให้โอกาสแก่เราได้เป็นผู้นำ� ในการประกอบภารกิจนี้ โรตารีถึงแม้จะเป็นองค์กรที่ ไม่ใหญ่โตนัก แต่ถ้าเราช่วยกันใช้บ่าเข้าแบกหาม โดย ไม่เห็นแก่ความเหน็จเหนื่อยผลักดันให้สำ�เร็จ เราก็จะ ได้ความสงบและสันติดังที่ทุกคนปรารถนา” การที่พอล ไม่ได้เป็นายกคนแรกของสโมสรฯ ชิคาโก ไม่ได้หมายความว่า เขาไม่เคยเป็นนายกของ สโมสรนัมเบอร์วันนี้เสียเลย ปรากฏว่าหลังจาก ซิลเวส เตอร์ ชีล เป็นนายกคนแรกแล้ว ต่อมาก็เป็นแอลเบิร์ท ไวท์ , แล้วพอลจึงรับเป็นในปี 1907 ถึงปี 1910 พอล แฮริ ส ได้ รั บ เลื อ กจากผู้ แ ทนของสโมสรโรตารี 14 สโมสรฯ ที่เข้าร่วมประชุมสมาคมสโมสรโรตารีแห่งชาติ ให้เป็นประธานคนแรก และ เชส เพอร์รี ได้เป็นเลขาฯ ที่ประชุมมีการร่างธรรมนูญ และข้อบังคับต่างๆ ของ โรตารีขึ้น กาทำ�งานของสมาคมฯ แม้จะมีพอลเป็น ประธาน แต่งานบริหารสมาคม พอลได้มอบให้ เพอร์ รี ทำ � เกื อ บทั้ ง หมด โดยตั ว เองไปทำ � หน้ า ที่ ใ ห้ ก าร ประชาสัมพันธ์ และการขยายสโมสรฯ กล่าวกันว่าใน ฐานะผู้ก่อตั้งโรตารี และการเป็นนายกเกียรติคุณของ สโมสรโรตารี พอลมีอิทธิพลในการจูงใจให้มีการก่อตั้ง สโมสรโรตารีใหม่ขึ้นในทุกๆที่ๆเขาไปปรากฏตัว พอล เคยก่อตั้งสโมสรธุดงค์วัตรนิยม สำ�หรับ ผู้นิยมเดินทางท่องเที่ยวด้วยเท้าไปในป่าเขา และที่ สโมสรนี้ เขาได้พบกับ จีน ธอมป์สัน ชาวสก๊อต ผู้เดิน ทางใช้ชีวิตในชิคาโก จนได้เป็นคู่ครองกันในที่สุด
มิถุนายน ๒๕๕๓
เสียงนก เสียงกา Congratulation “สรุปผลงานในรอบปี”
๐๘
๐๗
เปิดสวิทช์ มอบชีวิต ด้วยหัวใจ เกียรติเกริกไกร โรตารีได้ หนึ่งร้อยห้าปี
คอลัมน์เสียงนกเสียงกาฉบับเดือนมิถุนายนนี้ เป็นฉบับสุดท้ายของปีบริหารของผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ จึงเป็นที่มาของหัวข้อ “ผลงานในรอบปี ” ของคณะกรรมการภาค และ นายกปี 52-53 ที่มีผลงานโดดเด่นจนได้รับถ้วยรางวัลของภาคมาครอง ซึ่งได้สร้างความภาคภูมิใจให้ ตนเองและสมาชิกในสโมสรอย่างเป็นมาก และ ท้ายนี้ผมขอขอบพระคุณสมาชิกโรแทเรียนทุก ท่านที่เสียสละเวลา ร่วมแสดงความคิดเห็น และมุมมองของแต่ละท่านมา ตั้งแต่ฉบับแรกจวบ จนฉบับนี้ มา ณ ที่นี้ด้วยครับ
อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ
ของ ผวภ.แววดาวลิ้มเล็งเลิศ นั้นเป็นการให้ อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ สโมสรโรตารี ช้ า งเผื อ ก บริการที่ต่อเนื่องมาหลายปี และเยาวชนเหล่า นั้นต่างประสพความสำ�เร็จในหลากหลายอาชีพ เชียงใหม่
อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภา พันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ เหนือ
การที่ ดิ ฉั น ได้ เ ข้ า มารั บ ตำ�แหน่งเลขานุการภาค 3360 โรตารี ส ากล ปี 2552-2553 ทำ�ให้ดิฉันได้มีความรู้ ความ เข้าใจ ในองค์กรโรตารีกว้าง และลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น มีความเข้าใจในสโมสร ต่างๆในภาคของเรา เพราะแต่ละสโมสรก็มี เอกลักษณ์เป็นของตนเอง จึงทำ�ให้การดำ�เนิน งานของแต่ละสโมสรแตกต่างกันออกไป แต่ทุก สโมสรก็มเี ป้าหมายในการทำ�งานโครงการต่างๆ ในชุมชนให้ครบ และบรรลุวัตถุประสงค์ ตาม เป้าหมายของโรตารีสากล และสิ่งที่สำ�คัญอีก อย่างหนึ่งที่ดิฉันได้รับก็คือมิตรภาพ จากมิตร โรแทเรียนทุกสโมสรในภาค 3360 มิตรภาพจาก มิตรโรแทเรียนต่างภาค และจากต่างประเทศ ด้วย ทำ�ให้ดิฉันมีความภูมิใจในการที่ได้เข้ามา ร่วมเป็นสมาชิกคนหนึง่ ในองค์กรอันทรงเกียรติ นี้ ดิฉันขอเชิญชวนมิตรโรแทเรียนทุกท่าน เข้า ร่วมทำ�งานในหน้าที่ต่างๆทั้งในระดับสโมสร และระดับภาค และทุกท่านก็จะได้รับสิ่งเหล่านี้ เช่นกันค่ะ
ไม่ว่าจะเป็นพยาบาล ช่างปั้นรูปชนเผ่าเซรามิค นักดนตรีไวโอลิน ได้รับทุนไปประเทศเบลเยียม การแสดงมายากลและการอบรม สโมสรอินเต อร์ แ รคท์ ในการเป็ น ผู้ ใ ห้ ค วามรู้ ใ นเรื่ อ ง คอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์เน็ต จาก นักเรียน ที่ใช้เป็นเพียง สองสามท่านสอนจน ขณะนี้มี สมาชิกอยู่ในกลุ่ม โครงการ Laptop 100 กว่า ท่านล้วนเป็นสมาชิก สโมสรอินเตอร์แรคท์ ส่ ว นนั ก ดนตรี ไ วโอลิ น ซึ่ งได้ รั บ การสอนจาก อาจารย์อาสาสมัครจาก ประเทศเบลเยียม ก็ ต่อยอดสอนรุ่นน้องอีกหลายรุ่น ยังมีกลุ่มถ่าย ภาพ และ ภาพยนตร์ซึ่งออกไปถ่ายภาพนอก พื้นที่ และได้พบกับชุมชนเล็กๆ ประมาณ 20 กว่าหลังคาเรือนไม่มี น้ำ�และห้องน้ำ�ใช้ต้องไป อาบที่ลำ�ธาร และไฟฟ้าก็ไม่มี no Basic Live จึงเป็นทีม่ าของโครงการ Building Communities Bridging Continents ที่ร่วมมือหลายฝ่ายหลาย ประเทศ มีทั้งฮาวาย,อลาสก้า ฟอริด้า เซี่ยงไฮ้ ป่าตองบีชภูเก็ต ที่จะสร้าง ห้องน้ำ� ประปาภูเขา ถังเก็บน้ำ�กระท่อมเรียนรู้ และลานเอนประสงค์ ทั้งหมดนี้เยาวชนมีส่วนร่วม
นย.สุภาวดี วานิชผดุงธรรม สโมสรโรตารีแม่จัน
อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์ พิไล สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม
สโมสรโรตารีแม่จันได้รับถ้วย พระราชทานของ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิราช ในการที่ ให้ บริ ก ารแก่ เ ยาวชนยอด เยี่ยมในปี 2009-2010 ปีบริหาร
มิถุนายน ๒๕๕๓
หายใจเข้าออกเวลานี้ ก็จะมี แต่โครงการโรตารีสร้างศูนย์ ผ่ า ตั ด หั วใ จโ ร ง พ ย า บ า ล
25 24
ลำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา เผลอเดี๋ยว เดียวโครงการนี้มีอายุ 1 ปีเต็ม มีผู้ให้การ สนับสนุนบริจาคถึง 1178 ราย รวมเป็นเงินทั้ง สิ้น 28 ล้านกว่าบาท โครงการฯได้ดำ�เนินการ จัดซื้อเครื่องมือผ่าตัดหัวใจแล้ว 12 ล้านบาท ทำ�ให้โรงพยาบาลศูนย์ลำ �ปางสามารถผ่าตัด หัวใจช่วยผู้ป่วยแล้ว 52 ราย เป็นการเปลี่ยน ลิ้นหัวใจรั่วถึง 90 % จนสิ้นปี 2553 จะสามารถ ผ่าตัดโรคหัวใจได้ 120 ราย และขณะนี้มีคนไข้ รอคิวผ่าตัดถึงเดือน สิงหาคม 2553 แล้วค่ะ จึง ขอขอบพระคุณผู้มีกุศลจิตทุกๆท่านมา ณ ที่นี้ ด้วยค่ะ
ประเทศไทยด้วย จะเห็นได้ว่าประสบการณ์ เหล่านี้ไปหาเรียนที่ไหนไม่ได้ จะได้จากการมา ทำ�งานให้กับโรตารีเท่านั้น ปีบริหารหน้าดิฉัน ก็จะเปลี่ยนไปรับหน้าที่ในคอลัมน์ “In sight” ซึง่ ก็ตอ้ งมีเครือข่ายทัว่ ทัง้ ภาคเพือ่ ให้ได้ขา่ วสาร ที่กว้างขวางครอบคลุม แม้ว่าหน้าที่ในงาน ประจำ�จะเพิ่มมากขึ้น แต่ก็เป็นการท้าทายที่จะ บริหารเวลาและบริหารงานหลายๆ อย่างไป พร้อมกัน ดีใจค่ะที่ได้มาเป็นโรแทเรียน ได้ ทำ�งานให้โรตารี ...จะบอกให้นะคะว่าดิฉันได้ไป สมัครทำ�งานในตำ�แหน่งที่อยากทำ�กับผู้ว่าการ ภาครับเลือกปีถัดจากปีบริหารหน้าแล้ว แม้ว่า จะยังไม่ได้รับการพิจารณาเพราะอาจจะยังไกล อน.จันทนี เทียนวิจิตร เกินไป แต่ดิฉันก็ขอเสนอตัวและอยากจะเป็น สโมสรโรตารี ล้ า นนา ผู้เลือกที่จะทำ�งานที่คิดว่าตัวเองถนัด มากกว่า เชียงใหม่ ถูกผู้อื่นเลือกที่จะให้เรามาทำ�งานด้วยและเรา ตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมานับว่า จำ�ใจต้องตอบรับด้วยความเกรงใจ ได้ มี โ อกาสทำ � งานภาคใน ระดั บ ที่ ก้ า วกระโดดขึ้ น มา นย.สุนิศา เฟรนเซิ้ล เป็นประธานคณะกรรมการ น า ย ก สโ ม ส ร โ ร ต า รี ประชาสัมพันธ์ภาค ซึ่งเป็น เชียงใหม่เหนือ งานที่ใหญ่และท้าทายมาก โดยส่วนตัวคิดว่า ตลอดช่วงเวลาในการทำ�งาน จากเป้าหมายที่วางไว้กับผลสำ�เร็จที่ได้รับยังไม่ ในฐานะของนายกสโมสร ใกล้เคียงกันนัก แต่เมือ่ ได้พยายามทำ�เต็มทีแ่ ละ โรตารี เ ชี ย งใหม่ เ หนื อ ปี บ ริ เสียงตอบรับก็อยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ ก็ทำ�ให้ หาร 2552-2553 นั้นนับเป็น มีกำ�ลังใจที่จะทำ�งานให้กับโรตารีต่อไปอีก ซึ่ง ช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยความทรงจำ�ที่ดี ได้เรียน อาจจะขอทำ�งานทีค่ ดิ ว่าถนัดและแตกต่างกันไป รู้และเข้าใจแนวทางในการทำ�งานขององค์กร เพื่อจะได้ช่วยงานได้หลากหลายขึ้น ในขณะ โรตารีมากยิ่งขึ้น ได้มีโอกาสร่วมทำ�งานกับ เดียวกันก็ได้เรียนรู้งานที่หลากหลายมากขึ้น นายกต่ า งสโมสรทั้ งในและต่ า งประเทศ ได้ รู้จักผู้คนแตกแขนงออกไปอีก ในหนึ่งปีนี้ดิฉัน พบปะและร่ ว มทำ � กิ จ กรรมกั บ มวลมิ ต รและ ได้รู้จักมิตรโรแทเรียนต่างสโมสรมากขึ้นอย่าง สมาชิกสโมสรโรตารีตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นกิจกรรม ไม่น่าเชื่อ เป็นการทำ�งานที่ได้มิตรภาพเพิ่มขึ้น รณรงค์ป้องกันไข้หวัด2009 กิจกรรมวันเด็ก อย่างคาดไม่ถึง และขณะเดียวกันดิฉันได้เรียน กิ จ กรรมเดิ น เพื่ อ สุ ข ภาพ กิ จ กรรมปลู ก ป่ า รู้จากประสบการณ์ของงานที่ทำ� ไม่ว่าจะเป็น เฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมหยอดวัคซีนโปลิโอ งานด้านบำ�เพ็ญประโยชน์ งานประชาสัมพันธ์ ฯลฯ ทำ�ให้ได้มีโอกาสพัฒนาตัวเองในการเป็น งานสารผู้ว่าการภาค โดยเฉพาะคอลัมน์ “๑ ใน ผู้นำ�และผู้ตามที่ดี ที่จะนำ�พาสโมสรให้สืบสาน ร้อย” ที่สัมภาษณ์บุคคลในวงการโรตารีและ และดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ตามที่ตั้งไว้ ไม่ว่าจะ นอกวงการแต่มาทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับโรตารี เป็นโครงการ Matching Grant ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อ ทำ�ให้ได้เรียนรู้ว่าการสัมภาษณ์เขาทำ�อย่างไร ช่วยเหลือและแบ่งเบาปัญหาการขาดแคลนน้ำ� จากที่ไม่เคยมีประสบการณ์ด้านนี้มาก่อนเลย ดื่มสะอาดให้กับนักเรียนและชาวบ้านในเขต จะเห็นได้ว่าสองฉบับแรกการสัมภาษณ์ของ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงรายและแม่ฮ่องสอน ดิฉน ั อาจจะแข็งไปหน่อย ก็ได้รบั คำ�แนะนำ�จาก โครงการฝึกทักษะอาชีพด้านการเกษตรให้กับ บก. วาณิช ที่เติมลูกเล่นต่างๆ ให้จนตอนหลัง เด็กนักเรียนบนพื้นที่สูง การจัดทำ�โครงการ สามารถเขียนได้เอง ทำ�ให้รู้สึกสนุกกับการ แข่งขันสะกดคำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษให้กับเด็ก สัมภาษณ์ แม้บางครั้งจะมีความกังวลหลาย นักเรียนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ เพื่อส่ง เรื่องโดยเฉพาะการสัมภาษณ์ท่านผู้ใหญ่ เช่น เสริมด้านการเรียนรู้หนังสือของเด็กๆในเขต ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล ฯพณฯ องคมนตรี ศ.นพ. ชุมชนเมือง สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนส่งผลให้ทาง เกษม วัฒนชัย แต่เมื่อได้สัมภาษณ์ท่านแล้วก็ สโมสรฯได้รับรางวัล Presidential Citation ที่ รูส้ กึ ภูมใิ จทีเ่ ราทำ�ได้ และได้รบั เสียงตอบรับจาก ดิฉัน คณะกรรมการบริหารสโมสร และมวล มิตรโรแทเรียนเป็นอย่างดี รวมทั้งการได้รับ สมาชิกในสโมสรภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง. เกียรตินำ�บทสัมภาษณ์ไปลงในนิตยสารโรตารี
24 25
มิถุนายน ๒๕๕๓
เสียงนก เสียงกา
6. มอบดิคชันนารีให้กับโรงเรียนรอบ นย.ชญากานต์ พิ ท ตระ นอก จำ � นวน 10 โรงเรียน พันธ์ 7. เลี ้ยงอาหารกลางวันเด็กนักเรียน สโมสรโรตารีพิษณุโลก
ก่ อ น อื่ น ต้ อ ง ข อ ข อ บ คุ ณ เจ้าของคอลัมน์ที่ให้โอกาสได้ มาเล่าความในใจกับเสียงนก เสียงกา เวลาแห่งการสิ้นสุดของการ เป็นนายกสโมสรจะมาถึงในเวลา 2 สัปดาห์ข้าง หน้านี้ เวลา 1 ปีของการดำ�รงตำ�แหน่งนายก สโมสร สำ�หรับบางท่านอาจจะคิดว่ามันช่างนาน เหลือเกิน เมื่อไหร่จะหมดปีเสียที แต่สำ�หรับ ดิฉันแล้วคิดว่าทำ�ไมมันช่างรวดเร็ว ใน 1 ปีนี้ ดิฉันทำ�งานด้วยความสนุก ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างดียิ่ง จากสมาชิกทุกท่านในสโมสร แม้ในบางเวลาจะเกิดการท้อแท้ในการไม่เข้าใจ กัน บ้างแต่ก็ได้กำ�ลังใจจากผู้ใหญ่ในสโมสร ให้ คำ�แนะนำ�ในการทำ�งานขับเคลือ่ นสโมสรให้เป็น ไปอย่างสวยงามและเรียบร้อย และกำ�ลังใจคน สำ�คัญที่สุด คือครอบครัว สุภาพบุรุษ พัฒนา พิทตระพันธ์ ท่านเลื่อมใสในองค์กรนี้มาเป็น เวลาเท่ากับการที่ดิฉันเป็นสมาชิกของสโมสรนี้ คุณพัฒนา เข้าประชุมพร้อมกับดิฉันทุกครั้งที่ มีประชุม เว้นเสียจากว่าติดภารกิจไปประชุมที่ กรุงงเทพฯ และตอนนีท้ ่านก็ได้รับเชิญให้เข้ามา เป็นสมาชิกของสโมสร ท่านเป็นโรแทเรียน รทร.พัฒนา พิทตระพันธ์ เต็มตัวแล้ว ดิฉันเชื่อ ว่าถ้าเราไม่ได้รับความร่วมมือหรือการยินยอม จากครอบครัว การทำ�งานจะไม่ประสบผลสำ�เร็จ แน่นอน ก็ขอขอบคุณ คุณพัฒนาและครอบครัว ที่ได้สนับสนุนดิฉันด้วยดีมาตลอด และในปีบริหารของดิฉันโดยการทำ� หน้าที่นายกสโมสร ได้ทำ�ชื่อเสียงให้กับสโมสร โดยได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ เ ป็ น สโมสรโรตารี ที่ บำ�เพ็ญประโยชน์ครบวงจรดีเด่น 4 กิจกรรมขึ้น ไป โดยได้รับถ้วยรางวัลเกียรติยศ “ถ้วยสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี” ใน การทำ�กิจกรรมครบวงจรคือ 1. เพิ่มสมาชิกใหม่จำ�นวน 22 ท่าน (เดิมมี 37 ออก 1 เหลือ 36 เพิ่ม 22 เป็น 58) 2. ก่อตั้งสโมสรใหม่ในอำ�เภอวังทอง 3.ร่วมกิจกรรมหยอดวัคซีน โปลิโอ จำ�นวน 2 ครั้ง 4. จัดกิจกรรมโบว์ลิ่งการกุศล รายได้ ซื้ออุปกรณ์แพทย์ เครื่องผลิตออกซิเจน ขนาด 5 ลิตร มอบให้กับแผนก กุ ม ารเวชกรรม โรงพยาบาลพุ ท ธชิ น ราช จ.พิษณุโลก จำ�นวน 4 เครื่อง เป็นเงิน 120,000 บาท 5. จัดกิจกรรมงานบอลโรตารีสัมพันธ์ การกุ ศ ล รายได้ ช่ ว ยเหลื อโรงเรี ย นในถิ่ น ทุรกันดาร เพื่อพัฒนาการศึกษา
มิถุนายน ๒๕๕๓
โรงเรียนบ้านหินลาด ต.ดอนทอง อ.วัดโบสถ์ จ.พิ ษ ณุ โ ลก พร้ อ มบริ ก ารตั ด ผมและมอบ คอมพิวเตอร์ ผ้าห่ม เสื้อผ้า รองเท้า ร่วมกับ กองบัญชาการช่วยรบที่ 3 ค่ายสมเด็จพระเอกา ทศรถ 8. รณรงค์ ส มาชิ ก บริ จ าค PHF. จำ�นวน 3 ท่าน บริจาค EREY จำ�นวน 15 ท่าน 9. มอบข้าวสาร อาหารแห้ง พร้อม เงินจำ�นวน 1,000 บาท ให้ผู้ยากไร้ จำ�นวน 10 รายในจังหวัดพิษณุโลก ในโครงการ “1 บาทแด่ผู้ยากไร้ ร้อยดวงใจ ทำ�ความดีถวายพ่อของแผ่นดิน” โดยร่วมกับ รายการมุมชีวติ อินเตอร์แร็คโดยสโมสรอุปถัมภ์ นักเรียน คณะครูโรงเรียนพุทธชินราชพิทยา และกิจกรรมอื่นๆอีกมากมาย อีกหนึง่ รางวัลคือถ้วยรางวัลเกียรติยศ “ถ้ ว ยกรมหมื่ น นราธิ ป พงศ์ ป ระพั น ธ์ ” ถ้ ว ย รางวัลนี้มอบให้แก่สโมสรที่มีสมาชิกเพิ่มขึ้น สูงสุดเมื่อเทียบเป็นเปอร์เซ็นตํ ในปีบริหารของ นายก ชญากานต์ พิทตระพันธ์ สามารถเพิ่ม สมาชิกใหม่และมีคุณภาพได้ทั้งสิ้น 22 ท่าน นับ เป็ น ความภาคภู มิ ใ จของสมาชิ ก และสโมสร รางวัลนี้เป็นกำ�ลังใจที่ยิ่งใหญ่ที่จะทำ�ให้ นายก คนต่อไปมีกำ�ลังใจในการขับเคลื่อนสโมสรให้ เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น สุดท้ายนี้ ทุกเรื่องราวจะเกิดขึ้นไม่ได้ เลย ถ้าไม่มีผู้ที่สนับสนุนให้ดิฉันทำ�หน้าที่ได้ อย่างราบรื่น ณ โอกาสนี้ ดิฉันในนามนายก สโมสรโรตารีพษ ิ ณุโลก ขอขอบคุณท่านผูว้ า่ การ ภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ที่ได้ให้โอกาสในการ ทำ�งานในปีของท่านและให้การสนับสนุนทุก กิจกรรมที่ดิฉันได้ปรึกษาหารือ ตลอดจน คณะ กรรมการภาคทุ ก ท่ า นที่ ทำ �ให้ สโมสรโรตารี พิษณุโลกเป็นทีร่ ูจ้ กั ในองค์กรของโรตารี และอีก ท่านหนึง่ ทีด่ ฉิ น ั ขออนุญาตเอ่ยนามท่าน เพราะ ท่านเป็นเสาหลักของสโมสร ช่วยเหลือ และ สนับสนุนทุกเรื่องเกี่ยวกับการบริหารงานของ สโมสร คือท่าน อผภ.นพ.สุเทพ และ แอนน์ นิภาพร นิ่มพิทักษ์พงศ์ MPHF. ผชภ.สุพจน์ จิ นันทุยา ผชภ.รุ่งรานี แสงศิริ อุปนายกทุกท่าน และเพือ่ นสมาชิกสโมสรโรตารีพษ ิ ณุโลกทุกท่าน ขอได้รับการขอบคุณจากใจจริงของดิฉัน ขอก ราบขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูง
นย.รศ.โรม จิรานุกรม นายกสโมสรโรตารีเชียงใหม่
50 ปี แห่งการบริการชุมชนของสโมสรโรตารี เชียงใหม่ เวียนมาครบรอบในปีนีจ้ งึ เป็นปีพเิ ศษ มากสำ�หรับสมาชิกของสโมสรฯทุกท่าน ที่ร่วม
26 27
กันทำ�กิจกรรมเฉลิมฉลองวันครบรอบการ ก่อตั้งสโมสรฯในวันที่ 14 ตุลาคม นอก เหนือไปจากการจัดงานฉลองในค่ำ�คืนที่ เต็ ม ไปด้ ว ยมิ ต รภาพจากมวลมิ ต รโรทา เรียนที่มาร่วมแสดงความยินดีจากทั้งใน ประเทศและมิ ต รจากต่ า งประเทศอย่ า ง คับคั่งแล้ว สโมสรฯยังได้จัดทำ�โครงการ บำ�เพ็ญประโยชน์เพื่อร่วมฉลองในโอกาส ครบรอบ 50 ปีสโมสรฯ อีกด้วย ได้แก่ โครงการบริจาคถัง เก็บน้ำ�ดื่ม ขนาด 10,000 ลิตรให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลน จำ�นวน 50 โรงเรียน , โครงการอาคารห้องสมุดและ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนเทพเสด็จ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ , โครงการประปาภูเขาสำ�หรับชาวไทยภูเขา ที่อ.แม่สรวย จ.เชียงราย และโครงการทุนการศึกษาสำ�หรับเยาวชนด้อย โอกาสของมูลนิธิศูนย์ชีวิตใหม่ เป็นต้น การประชุมสัมมนาร่วมกันกำ�หนดเป้าหมายของ สโมสรฯและวางแผนยุทธศาสตร์ระยะสั้นและระยะยาวได้ส่ง ผลให้มีปรับปรุงการบริหารงานสโมสรฯ ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีส่วนร่วมรับผิดชอบและอาสาเข้ามาทำ�งาน สามารถตรวจ สอบความโปร่งใสของระบบการเงินสโมสรฯได้ เพื่อให้เป็น ตัวอย่างในการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานและระบบ การเงินของภาค 3360 ของเราอีกด้วย รวมถึงการรณรงค์ เพิ่มสมาชิกใหม่ ทำ�ให้มีสมาชิกในปัจจุบันจำ�นวน 63 คน คิดเป็นอัตราเพิ่มร้อยละ 16.6 จากจำ�นวนสมาชิกเมื่อต้นปีบ ริหาร 2551-52 พร้อมทั้งการจัดอบรมสมาชิกใหม่ (New Member Orientation) ที่ Four Season Resort อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีสมาชิกเข้าร่วมมากมายเป็นจำ�นวนถึง 36 ท่าน ได้รับความรู้และ สนุกสนานชื่นมื่นทั่วกันทุกท่าน ส่วนการบริจาคสมทบมูลนิธิโรตารีสากล สมาชิก ของสโมสรฯ ก็ได้มีส่วนร่วมในการบริจาคให้กองทุนประจำ� ปี ( Annual Program Fund ) จำ�นวน US$ 13,200 (10 PHF, 32 EREY ) และได้บริจาคให้กองทุนถาวร( Permanent Fund ) อีกจำ�นวน US $3,000 ให้กับกองทุนท่านพิชัย รัตตกุล ( Bhichai Rattakul Endowed Fund ) นับเป็นกิจกรรมที่ได้ สนองตอบต่อนโยบายของโรตารีสากล ในปีบริหาร2551-52 ตามคติพจน์ “ The Future of Rotary is in your hands “ ได้เป็นอย่างดี
อน.ดร.สุรพล นธการกิจกุล ประธานอนุกรรมการโปลิโอพลัส ภาค 3360 สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ
โครงการ “หยุดโปลิโอ ด้วยมือเรา” การขจัดโรคโปลิโอ นับเป็นแผนกลยุทธ์ ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ขององค์กรโรตารีสากลในการ สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพแก่ เ ด็ กในชุ ม ชนที่ มี โอกาสเสี่ ย งจากการติ ด เชื้ อไวรั สโปลิ โ อ (Polio) หรือโรคไขสันหลังอักเสบ ซึ่งหากเชื้อติดต่อเข้าสู่ ร่างกายทางปาก เด็กจะเกิดอาการป่วยมีไข้ อ่อนเพลีย อาการตึงกล้ามเนื้อที่คอ เชื้อหากเข้าสู่ประสาทแล้วจะเป็น อัมพาต ส่งผลทำ�ให้เด็กเกิดความพิการของแขนขาลีบ ไม่ สามารถเดินได้อย่างปกติ และอาจเสียชีวิตได้ การป้องกัน ได้โดยหยอดวัคซีนอย่างน้อย 3 ครั้งใน 1 ปี และหยอด
27 26
กระตุ้นอีก 2 ครั้งเมื่ออายุ 1ปีครึ่งและ 4 ปี นับตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1988 โครงการโปลิโอพลัส (Polioplus) ของมูลนิธิโรตารีได้รณรงค์การหาทุนบริจาค มากกว่า 650 ล้านดอลลาร์ จัดหาวัคซีนโปลิโอให้ทางปาก ให้กับเด็กในโลกกว่า 2,000 ล้านคน เป็นเวลารวม 22 ปี และ ยังมีเป้าหมายร่วมกับมูลนิธิเกตส์ (The Bill & Melinda Gates Foundation) ทีม่ มี ลู ค่าโครงการกว่า 550 ล้านดอลลาร์ สหรั ฐ ฯเพื่ อ จั ด หาวั ค ซี น และขจั ด เชื้ อโปลิ โ อหมดจากทุ ก ประเทศ ในฐานะที่ผมได้รับมอบหมายจากผู้ว่าการภาคให้ ทำ�หน้าที่ประธานอนุกรรมการโปลิโอพลัส ภาค 3360 ถึง 3 สมัย (ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2553) ผมขอขอบคุณท่านผู้ ว่าการภาค นายกสโมสร สมาชิกโรแทเรียน และอาสาสมัคร ที่บริจาคทรัพย์และร่วมกันทำ�กิจกรรมรณรงค์หยอดวัคซีน ให้กับเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ผมเชื่อมั่นว่าความมุ่งมั่น ของพวกเราจะสามารถทำ�งานได้สำ�เร็จในการขจัดโปลิโอให้ หมดไปจากโลกนี้
นย.อธิษฐาน วงศ์ใหญ่ นายกสโมสรโรตารีลำ�ปาง
ผมได้มีโอกาสไปร่วมพิธี มอบเครื่องมือ แพทย์ให้แก่โรงพยาบาลแม่พริกจังหวัด ลำ�ปาง เสร็จพิธีเราก็มานั่งทานอาหาร กลางวั น ที่ ร้ า นอาหารกลางวั น ที่ ร้ า น อาหารแห่งหนึ่งในอำ � เภอเถิน ผมได้มี โอกาสพู ด คุ ย กั บ ท่ า นประธานบำ � เพ็ ญ ประโยชน์ของภาค 3360 อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไลได้ เล่าถึงความทุกข์ยากของชาวลำ�ปาง ที่ต้องเสียชีวิตด้วยโรค หัวใจ วันละ 3 คน ต้องไปขอรอคิวผ่าตัดรักษาที่ โรง พยาบาลสวนดอก เชียงใหม่ เป็นเวลากว่า 2 ปี กว่าจะได้ ผ่าตัดรักษา บางรายเสียชีวิตก่อน บางรายทนความทรมาน ไม่ไหว ฆ่าตัวตายไปแล้วก็มี จากวันนั้น คือ จุดเริ่มต้น โครงการ “เปิดสวิทช์ หัวใจ” ของภาค 3360 โรตารีสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรง พยาบาลลำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ภายใต้การนำ� ของผู้ว่าการภาคแววดาว ลิ้มเล็งเลิศ เพื่อระดมทุนจัดซื้อ เครื่องมือแพทย์ มูลค่า 94 ล้านบาท พวกเราได้ร่วมกันจัด กิจกรรมต่าง ๆ มากมาย จนได้รับความสนใจจากผู้มีจิต ศรัทธา ร่วมบริจาคภายในระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมา ได้เงิน จำ�นวนทั้งสิ้นประมาณ 28 ล้านบาท ส่งผลให้โรงพยาบาล ลำ�ปางได้เริม่ เปิดให้บริการผ่าตัดหัวใจแก่ผูป้ ว่ ยเป็นผลสำ�เร็จ ครั้งแรก ตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคม 2553 จนถึงขณะนี้ผ่าตัด หัวใจช่วยชีวิตผู้ป่วยไปแล้วถึง 55 ราย (ณ 7 มิถุนายน 2553) เนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการระยะยาว 5 ปี จึงต้องการ ความร่วมแรงร่วมใจจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่านอดีตผู้ว่าการภาครับเลือกทุกท่าน ที่จะสนับสนุนให้ฝัน ของพี่น้องชาวภาคเหนือได้เป็นจริงต่อไป จึงขออนุโมทนา บุ ญ กั บ ทุ ก ท่ า นที่ มี ส่ ว นร่ ว มกั บโครงการนี้ และกราบ ขอบพระคุณที่ได้มอบถ้วยรางวัล พระยาวิศาลวาจา ให้แก่ สโมสรโรตารีลำ�ปาง ในฐานะสโมสรทีม่ โี ครงการบริการดีเด่น ที่สุดของภาค 3360 ในปีนี้ด้วย ซึ่งเป็นกำ�ลังใจให้ พวกเรา จะทำ�งานแข่งกับการเต้นของหัวใจผู้ป่วยต่อไป
มิถุนายน ๒๕๕๓
Behind the scene
อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม สวัสดีค่ะ มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ในที่สุดสารผู้ว่าการภาคฉบับสุดท้าย ของปี บริหาร 2552-2553 ก็มาถึง ดิฉันได้ทำ�หน้าที่ ร้อยเรียงเรื่องราว การประชุมระดับภาค ใน โอกาสต่างๆ ของภาค 3360 ตลอดปี ให้ทุกท่าน ได้ติดตามความเคลื่อนไหว และเรื่องสุดท้ายที่ ดิฉันจะกล่าวถึงคือ งาน President Salute ของ ผู้ว่าการภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ โดย อน.จัน ทนี เทียนวิจิตร เป็นประธานจัดงาน วันที่ 29 พฤษภาคม 2553 เป็นวันจัดงาน President Salute นับเป็นครั้งแรกที่จัดขึ้นในภาค 3360 โดยความตั้งใจ ของ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ จัดขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อแสดงความขอบคุณ ที่ปรึกษา อดีตผู้ว่าการภาค ผู้ว่าการภาครับ เลือก คณะกรรมการภาค ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค นายกสโมสร และทุกท่านที่มีส่วนสนับสนุน กิจกรรมของภาค ให้สำ�เร็จลุลว่ งไปด้วยดีตลอด ปีบริหาร 2552-2553 และประสบความสำ�เร็จที่ ยิ่ งใหญ่ ดั ง เป้ า หมายที่ ว างไว้ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม รั บ ตำ�แหน่ง ผู้ว่าการภาคหญิงคนแรกของภาค 3360 โดยงานดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ในการ มอบรางวัลต่าง ๆ ประกาศเกียรติคุณ โล่ห์
มิถุนายน ๒๕๕๓
ขอบคุณ ให้แก่ฝ่ายต่างๆ และเลี้ยงขอบคุณ ใน บรรยากาศบ้านสวน อบอุ่นและเป็นกันเอง ของผูว้ า่ การภาค ทีเ่ จ้าของบ้านได้ตัง้ ใจต้อนรับ มวลมิตรทุกท่าน ในบรรยากาศ “ราตรีดอกไม้ บาน” บ้านสวนโป่งแยง (หรือผานรินทร์) เป็นสถานที่จัดงาน อยู่ห่างจากเมืองเชียงใหม่ 19 กม. การตกแต่งสถานที่ถูกเนรมิตอย่าง สวยงาม ด้วยดอกไม้นานาพันธุ์ มีผาน้�ำ ตกเป็น ฉากหลั ง เวที ธ รรมชาติ โ อบล้ อ มด้ ว ยขุ น เขา อากาศบริสุทธิ์เย็นสบาย ผู้ร่วมงานแต่งกาย สบายๆ ด้วยสีสันของดอกไม้บาน ตามชื่อธีม ของงาน “ราตรีดอกไม้บาน” ช่วงนี้เป็นฤดูฝน เพื่ อ ลดความเสี่ ย ง เราจึ ง มี 3 สาวงาม นย.สมฤทัย ส.นครหริภุญไชย และสมาชิก สโมสรล้านนา ทำ�พิธีปักตระไคร้กลางแจ้ง เพื่อ บนบานสานกล่าวขอเทวดาอย่าได้ปล่อยฝนลง มา แต่กเ็ หมือนเทวดาเห็นใจน้อยไปหน่อย เริม่ โปรยฝนลงมา ก่อนเริ่มงาน ในช่วงที่มิตรโรแท เรียนเริม่ ทยอยเดินทางมาถึง ในช่วงก่อน 16.00 น.ทุกคนต่างหลบฝน ในเต็นท์ที่เตรียมไว้ และ แล้วเทวดาก็ทรงเห็นใจทีท่ กุ คนแต่งตัวสวยๆมา
28 29
“President Salute” ราตรีดอกไม้บาน 29 พฤษภาคม 2553
29 28
ร่วมงาน จึงดลบันดาลให้ฝนหยุดตกทันใด ฟ้าเปิดสดใสด้วย สี ฟ้ า คราม อากาศบริ สุ ท ธิ์ ส ดชื่ น เย็ น สบาย ฝ่ า ยรั บ ลง ทะเบียนทำ�หน้าที่แข็งขัน โดยทุกคนมาถึงลงชื่อที่โต๊ะรับลง ทะเบียน พร้อมรับป้ายชื่อ ด้านหน้าทางเข้างานซุ้มลูกโป่ง ขนาดใหญ่โค้งต้อนรับผู้มาเยือนด้วยสีสันสวยงาม ภายในมี มุมถ่ายภาพ สไตล์โคมไฟทรงสูงชมพูสดใส ประดับด้วย ดอกไม้ทรงคดเคี้ยว ให้ได้เก็บภาพประทับใจ โต๊ะจัดเลี้ยง ไม่น้อยกว่า 30 โต๊ะ ซุ้มอาหารต่างๆ เรียงราย รอบบริเวณ งาน มีอาหารเลิศรสหลากชนิด วัวหัน คอหมูย่าง หมูสะเต๊ะ กระเพาะปลาน้ำ�แดง อาหารญี่ปุ่น ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นหมู อาหารไทย ข้าวเหนียวทุเรียน ข้าวเหนียวมะม่วง มะม่วง น้ำ�ปลาหวาน ผลไม้ เครื่องดื่ม ไอศกรีม มีเพียบพร้อมให้ มิตรโรแทเรียน ได้เลือกชิมได้เต็มอิ่ม อย่างสนุกสนาน คลอ เคล้าด้วยเสียงดนตรี และเสียงขับกล่อมจากมิตรโรแทเรียน ทีต่ า่ งชิงไมค์รว่ มกันสร้างสีสน ั แห่งความสุข โดยมีพธิ กี รภาค สนาม ผชภ.เอกวุฒิ กาวิละ คนเสียงหล่อ ดำ�เนินรายการ ผูร้ ว่ มงานเต็มเกือบทุกโต๊ะ คาดว่าในวันดังกล่าวมีผูร้ ว่ มงาน มากว่า 250 คน ก่อนเข้าช่วงพิธีการ มิตรโรแทเรียนมา พร้อม เราจึงเชิญถ่ายภาพหมู่พาโนรามาเป็นชุด ๆ โดยเริ่ม จาก ที่ปรึกษา อดีตผู้ว่าการภาค ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค คณะ กรรมการภาค นายกสโมสร ขณะเดียวกันมีการแสดง ไวโอลินชาวเขาของนักเรียน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
แม่จัน ก่อนเข้าสู่พิธีการ มีการแสดงคาบาเร่ต์ โชว์พิเศษ สุดอลังการของสาวประเภท 2 ให้ผู้ร่วมงานได้ตื่นตาตื่นใจ อีกไม่น้อยกว่า 4 ชุด แล้วจึงเข้าสู่ช่วงพิธีการ ในเวลา 19.00 น.พิธีกรคู่ขวัญเปิดตัว ด้วยการโชว์พลังเสียงของพิธีกรฝ่าย ชาย ผชภ.บรรจบ สุนทรสวัสดิ์ และ รทร.จีรนันท์ จันต๊ะ นาเขตร์ พิธีกรฝ่ายหญิง เริ่มสร้างบรรยากาศด้วยลีลาขำ� ขำ� สร้างความเป็นกันเองกับผู้ร่วมงาน แล้วจึงชิญ อน.จัน ทนี เทียนวิจิตร กล่าววัตถุประสงค์การจัดงาน ผวภ.แวว ดาว ลิ้มเล็งเลิศ กล่าวเปิดงานและพลุจำ�นวนไม่น้อยกว่า 10 ลูกก็ทยานขึ้นสู่ท้องฟ้าอย่างสวยงาม พิธีเปิดอย่างเป็น ทางการเป็นอันสมบูรณ์ แล้วจึงเรียนเชิญ อผภ.ดร.ศุภวัตร ภูวกุล นำ� ดื่มเพื่อโรตารีสากล และนำ � ร้องเพลงโรตารี สัมพันธ์ ได้เวลานำ�เสนอผลงาน วีดีทัศน์ แสดงผลงาน ตลอดปีบริหารเปิดขึ้นผ่านโปรเจคเตอร์ขนาดใหญ่ นายก สโมสรไม่น้อยกว่า 32 สโมสร ได้รับเชิญขึ้นรับ Presidential Citation คือสโมสรที่ทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ได้ครบ ตามคุณสมบัติที่กำ�หนด และนายกทุกสโมสรในภาค 3360 ได้รับเชิญรับเกียรติบัตรเพื่อแสดงความขอบคุณจาก ผู้ ว่าการภาค และมีการมอบโล่หข์ อบคุณ ให้แก่คณะกรรมการ ภาค ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษาภาค จนครบถ้วน และ ถ่ายภาพหมู่ในทุกๆ กลุ่มที่กล่าวมา จากนั้นจึงเป็นการ ประกาศผู้ได้รับถ้วยรางวัล ที่สำ�คัญในรอบปีนี้มีจำ�นวน 7
มิถุนายน ๒๕๕๓
ข้างหลังภาพ
ถ้วย ประกอบด้วย ถ้วยที่ 1 โรตารีในประเทศไทย มอบ ให้แก่สโมสรโรตารีในภาค โดยพิจารณาร่วมกัน ทั้งสี่ภาค เป็นถ้วยรางวัลรวม ภาค 3360 ได้รับ มา 1 รางวัล คือ ถ้วยกรมพระกำ�แพงอัครโยธิน มอบให้ แ ก่ สโมสรที่ มี ส มาชิ ก มาร่ ว มประชุ ม 100% ทุกสัปดาห์ตลอดทั้งปี ซึ่งสโมสรในภาค 3360 ที่ได้รางวัลนี้ได้แก่ สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ ถ้วยที่ 2-7 เป็นถ้วยจำ�ลอง ที่ผู้ว่าการภาค เป็น ผู้จัดทำ�ขึ้นเอง เพื่อมอบให้แก่สโมสรในภาคที่มี คุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้ 2. ถ้วยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ มอบให้สโมสรที่บำ�เพ็ญประโยชน์ให้แก่เยาวชน ต่างๆ เป็นเลิศ 3 กิจกรรม ได้แก่สโมสรโรตารี แม่จัน 3. ถ้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มอบให้สโมสรทีท่ �ำ กิจกรรมครบวงจร 4 กิจกรรม ในปีนี้ ได้แก่ สโมสรโรตารีพิษณุโลก 4. ถ้วยกรมพระกำ�แพงเพชรอัครโยธิน มอบให้สโมสรที่มีสมาชิกเข้าร่วมประชุมสูงสุด ในรอบปี ได้แก่ สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ 5. ถ้ ว ยกรมหมื่ น นราธิ ป พงศ์ พั น ธ์ มอบให้แก่สโมสรที่มีสมาชิกเพิ่มขึ้นสูงสุดเมื่อ เที ย บเป็ น เปอร์ เ ซ็ น ต์ ได้ แ ก่ สโมสรโรตารี พิษณุโลก เพิ่มขึ้นถึง 22 คน 6. ถ้วยกรมหมื่นพิทยลาภพฤติยากร มอบให้สโมสรที่มีสมาชิกเข้าร่วมประชุมใหญ่ ของภาคเปอร์เซ็นต์สูงสุด ได้แก่ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 7. ถ้วยพระยาศรีวิศาลวาจา มอบให้ สโมสรที่มีกิจกรรมในการบริการที่ดีเด่นในรอบ ปี ได้แก่ สโมสรโรตารีลำ�ปาง นอกจากนี้ในภาค 3360 ได้มอบถ้วย รางวัลพิเศษให้แก่สโมสรโรตารีในภาค โดยเข้า รับรางวัลจากผู้ว่าการภาค คือ 1. รางวัลสโมสรที่มีสมาชิกต่ำ�กว่า 20 คน แต่มีสมาชิกมาร่วมประชุมสูงสุด ได้แก่ สโมสรโรตารีสอง 2. รางวัลการส่งคะแนนการประชุม ตลอดปีเร็วที่สุด ซึ่งมี 4 สโมสรที่ได้คะแนนเท่า กั น ซึ่ ง ทางภาคจะมอบถ้ ว ยรางวั ลให้ ทั้ ง 4 สโมสร (ถ้วยรางวัลนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก อน. สมชัย นิรชรกุล) ได้แก่ สโมสรโรตารี ปัว สโมสรโรตารี พาน สโมสรโรตารี ดอยพระบาท สโมสรโรตารี ล้านนาเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับทุกสโมสร ที่ได้ รับถ้วยรางวัลทั้งหมด เมื่อการมอบรางวัลต่าง ๆ เสร็จสิ้น เทวดาก็ได้มอบน้ำ�มนต์อย่างแรงมา
มิถุนายน ๒๕๕๓
ให้อีกระลอกในเวลา 21.00 น. มวลมิตรแตก กระจาย ต่างขึ้นรถเดินทางกลับเข้าเมืองทันที เทวดาไม่เป็นใจเสียแล้ว งานจึงต้องหยุดลง กิจ กรรมอื่นๆ ที่เตรียมไว้ จึงงดไปโดยปริยาย อื้อฮือ …..เสียดายจัง หลายท่านแต่ง กายสวยงาม เพื่อร่วมประกวด สาวงามดอกไม้ บาน มีเบอร์ 1…2…3…4….5….6….7…8 ฯลฯ ติด หน้าอกเรียบร้อย มีแมวมอง และคณะกรรมการ ตัดสินพร้อม อน.วีรวรรณ รัตนสุภา ตั้งใจอย่าง เต็มที่กับการเป็นแม่งานจัดประกวด และแล้ว พี่ เ ราเลยได้ กิ น แห้ ว แทนสมหวั ง ส่ ว น อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ก็เตรียมเหรียญ พอลแฮริส เตรียมมอบแก่ผูบ้ ริจาคก็เป็นอันต้อง รีบเก็บเข้ากล่อง เพราะเทวดาไม่เป็นใจเสียแล้ว ส่วนจ่าแตง เตรียมเก็บเครื่องอิเล็กโทน เพราะ กลัวไฟดูด แต่ท่าน ผวภ.แววดาว บอกอย่าเพิ่ง กลับ ร้องเพลงก่อน ได้เลย เราจัดให้ ในที่สุด กว่าจะได้กลับบ้านก็เข้าไป 22.00 น. เราต่างทำ� หน้ า ที่ เ ป็ น นั ก ร้ อ งขั บ กล่ อ ม เจ้ า หน้ า ที่ จ าก บริษัท สหพานิชเชียงใหม่ เคลียร์พื้นที่ เคลียร์ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย คณะกรรมการจัดงาน คน หน้าเดิมๆ ทุกท่านต่างอยูก่ น ั พร้อมหน้า ภายใน เต็นท์ในค่ำ�คืนฝนพรำ� พร้อมจัดการกับอาหาร ตรงหน้าที่ยังมีให้ได้อิ่มอีกรอบก่อนสลายตัว งานในค่�ำ คืนนี้ เต็มเปีย่ มไปด้วยบรรยากาศแห่ง มิตรภาพ ที่ทุกท่านต่างพูดเป็นเสียงเดียวกัน บรรยากาศเยี่ยม อาหารสุดยอด และสุดแสน ประทับใจ เราจะจดจำ�บรรยากาศที่ยอดเยี่ยมนี้ ไปตราบนานเท่านาน ….ขอบคุณสำ�หรับน้ำ�ใจ ที่กว้างใหญ่ดุจมหาสมุทร ของผู้ว่าการภาคที่ สวยที่สุดในโลก (โรตารี) ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็ง เลิศ และครอบครัวลิ้มเล็งเลิศ…สวัสดีค่ะ
31 30
“เป็นไปตามเป้าหมาย”
โดย นย.ดร.ราตรี พิมพ์พันธุ์
สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม
30 31
การเป็นนายกสโมสร โรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ในปีนี้ของดิฉัน ไม่ได้ทำ�ให้ดิฉันผิดหวัง เพราะเป็นโอกาสให้ ดิฉันได้ทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ ในหลายด้าน สโมสรมี กิจกรรมหลายเรื่อง แต่ขอเล่าสู่กันฟังเพียง 2 เรื่อง นั่นคือ สโมสรของเรา ได้รับถ้วยกรมหมื่นพิทยาลาภ พฤฒิยากร จาก ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ซึ่งเป็นรางวัลแห่งความ สามัคคี ของสมาชิกเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ที่เข้าร่วมประชุม ใหญ่มีเปอร์เซ็นต์สูงสุด และเรื่องที่ 2 คือการทำ�โครงการ คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสำ�หรับนักเรียน จำ�นวน 105 เครื่อง เพื่อเฉลิมฉลอง “105 คอมพิวเตอร์ เพื่อ 105 ปีโรตารี” ได้สำ�เร็จตามเป้าหมาย เมื่อดิฉันเป็นนายกรับเลือก ปี (2551-2552) มี อน.เปี่ยมสุข จันทรัตน์ เป็นนายกสโมสร คู่มิตรของสโมสร คือ สโมสร Kulai จากประเทศมาเลเซีย ได้ชักชวนกันทำ� Matching Grant โดยเน้นเรื่อง Literacy สโมสรได้รับทราบ จากผู้อำ�นวยการโรงเรียนบ้านแสนตอ อำ�เภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่ ว่า คอมพิวเตอร์ที่ให้เด็กเรียนนั้น เก่าไม่มีงบ ประมาณซ่อม เพราะซ่อมมาหลายครั้งแล้ว เครื่องที่ได้ก็เก่า มาจากหน่วยงานอื่นมายกให้ ผู้อำ�นวยการได้กล่าวถึง ความ ก้าวหน้าของวิชาการของเด็กปัจจุบันเร็วมาก เด็กตั้งแต่ชั้น อนุบาล ก็เริ่มเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ สังคมของเด็กตั้งแต่ 6-16 ปี หากไม่รู้คอมพิวเตอร์ถือว่าไม่ทันสมัย ดิฉัน และ อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล ซึ่งเป็น ประธานบำ�เพ็ญประโยชน์ (ปี 2551-2552) ได้ปรึกษากันว่า สมควรที่จะหาทางช่วยเหลือจึงได้คิดทำ� Matching Grant เพื่ อซื้ อคอมพิวเตอร์สำ�หรับโรงเรียนโดยให้ชื่ อว่า “คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา” อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์ พิไล เสนอความคิดปีที่โรตารีสากลครบ 105 ปี จะซื้อ คอมพิวเตอร์แจกให้ได้ 105 เครื่อง เป็นการฉลอง “105 คอมพิวเตอร์ เพื่อ 105 ปี โรตารี” ซึ่งจะต้องทำ�ติดต่อกัน 3 ครั้ง จึงจะได้ครบตามเป้า แต่ปีบริหาร 2552-2553 ได้รับแจ้ง ว่า ภาค 3360 จะเป็นภาคนำ�ร่องในการเป็น Future Vision ซึ่งเป็นหนึ่งในร้อยภาคของโรตารีสากล การขอ Matching Grant แบบเดิมไม่สามารถทำ�ได้ ดิฉันเกิดความกังวลแต่ไม่ ท้อแท้ในการที่จะทำ�ให้ได้ครบ 105 เครื่อง ตามเป้าหมายใน ปี 2553
ดิฉันได้รับเชิญจากสโมสรโรตารีเชียงใหม่ ให้เป็น กรรมการพัฒนาโรงเรียนเทพสเด็จ ของอำ�เภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2550-2551 ที่ อน.สุภาพร เนตร งาม เป็นนายกร่วมรุ่นกับ อน.ดร.บุญทอง ภู่เจริญ กรรมการ ได้ไปเยี่ยมโรงเรียนหลายครั้ง ดูแล้วน่าเห็นใจผู้อำ�นวยการ โรงเรียน เพราะเป็นโรงเรียนอยู่บนดอย ประชาชนยากจน โรงเรี ย นมี อ าคารกำ � ลั ง จะชำ � รุ ด อยู่ เพราะนั ก ศึ ก ษาจาก มหาวิทยาลัยพายัพได้ไปสร้างแบบไม่แข็งแรงเท่าไรไว้ ห้อง สมุดก็ดูไม่ดี ห้องประชุมของอาจารย์ก็มุงด้วยสะแลม ฝนตก ก็ไม่สามารถนั่งประชุมได้ เมื่อได้พบสภาพเช่นนี้ จึงมีการ ประชุ ม หลายครั้ ง เพื่ อ ระดมสมองและความคิ ด ในที่ สุ ด อน.ดร.บุญทอง ภู่เจริญ ซึ่งมีเพื่อน ๆ ต่างประเทศมาก ได้ ส่ง E-mail ไปเล่าเรื่องโครงการ (เริ่มเขียนโดยดิฉัน) บรรยาย ถึงลักษณะของโรงเรียน ความยากจนของประชากร การอยู่ ไกลปืนเที่ยง ที่ยากจะได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล ในที่สุด คณะกรรมการก็ได้รวบรวมเงินทุน จาก โรแทเรียนต่างประเทศ มีทัง้ อเมริกา ญีป่ ุน ่ และ สโมสรบางรัก ภาค 3350 ทำ� Matching Grant 2 เรื่อง โดย สโมสร โรตา รีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม รับเป็น Host Club ทำ� 1 เรื่อง คือ เรือ่ งเกีย่ วกับห้องน้�ำ ทีถ่ กู สุขอนามัย ของ ชาย และหญิง ส่วน สโมสรเชียงใหม่ทำ�เรื่องห้องสมุด โดยมีคอมพิวเตอร์ถึง 20 เครื่อง การทำ�งานสำ�เร็จลุล่วงได้ด้วยดี เป็นการบริจาค เหรียญ PHF โดยหลายๆ สโมสร เพื่อให้ทุกอย่างจบ ปี 2553 อันเป็นปีที่ปิดฉาก Matching Grant ความสำ�เร็จมองเห็นอยู่ ข้างหน้า ดิฉันอยากจะพูดว่าความต้องการทำ�ดีให้กับมนุษย์ ชาติ ตามอุดมการณ์ของโรตารี ขอให้ทำ�ด้วยใจ และต้องการ ที่จะ “ให้” อย่างแท้จริง เทวดาจะจัดสรรให้เอง ในที่สุด ดิฉัน ได้สโมสรที่ร่วมทำ� Matching Grant รวม 2 ปีโรตารี และ 3 Matching Grant ได้คอมพิวเตอร์ครบ 109 เครื่อง ดังราย ละเอียดดังนี้ : สโมสรเชียงใหม่ถิน ่ ไทยงาม 23 เครือ่ ง , สโมสร เชียงใหม่ 16 เครื่อง ,สโมสรเชียงใหม่แอร์พอร์ท 11 เครื่อง ,สโมสรเชียงใหม่ภูพิงค์ 11 เครื่อง ,สโมสรสารภีเชียงใหม่ 7 เครื่อง ,สโมสรฝาง 7 เครื่อง ,สโมสรเชียงใหม่ใต้ 4 เครื่อง ,สโมสรเชียงใหม่ตะวันออก 4 เครื่อง ,สโมสรเถินดาวน์ทาวน์ 10 เครื่อง ,สโมสรอันดามัน(ภาค 3330) 12 เครื่อง และ สโมสร แพร่ 4 เครื่อง ภูมิใจมากที่สุดที่ได้ทำ�หน้าที่นายกสโมสร เชียงใหม่ถิ่นไทยงามได้อย่างสมบูรณ์แบบ และประสบความ สำ�เร็จดังเป้าหมายทุกประการ
มิถุนายน ๒๕๕๓
At a glance... เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยเราจะไดแป็นเจ้าภาพการประชุมโรตารีอินสติติว ท์ที่โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค กรุงเทพฯในระหว่าวันที่ 19-21 พฤศจิกายน 2553 ทีจ่ ะถึงนี้ จึงจะขอนำ�ความรูท้ ีค่ น ้ คว้ามาได้เกีย่ วกับการประชุมฯมาเสนอเพือ่ เป็นข้อมูล ในการพิจารณาเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว การประชุมโรตารีอินสติติวท์เป็นการประชุมที่จัดเพื่อเจ้าหน้าที่โรตารีสากล ทั้งในอดีต ปัจจุบันที่กำ�ลังจะเข้ารับตำ�แหน่ง ที่มีภูมิลำ�เนาอยู่ในขอบเขตที่การประ ชุมฯครอบคลุมถึง การประชุมโรตารีอน ิ สติตวิ ท์ เป็นการประชุม เพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูล โดยไม่มีผลใด ๆ ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหาร ซึ่งการจัดประชุมโรตารี อินสติติวท์นี้อาจจัดในระดับโซนๆ หนึ่ง หรือบางส่วนของโซนหรือหลายโซนรวมกัน ก็ได้
อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของการจัดประชุมโรตารีอินสติติวท์ ได้แก่ 1. แจ้งให้เจ้าหน้าที่โรตารีสากลที่ดำ�รงตำ�แหน่งในปัจจุบันได้รับทราบถึงนโยบายและ โครงการต่าง ๆ ของโรตารีสากล รวมถึงนโยบายและกิจกรรมของมูลนิธิโรตารีด้วย 2. ให้การส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายและโครงการต่างดังกล่าว พร้อมทั้งรับฟังข้อ เสนอแนะสำ�หรับการปรับปรุงและนวัตกรรมใหม่ ๆ 3. แจ้งต่อคณะกรรมการบริหารโรตารีสากลถึงผลสำ�เร็จของการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ที่โซนรับไปปฏิบัติตลอดจนโครงการที่ยังต้องการการแก้ไขปรับปรุงต่อไป 4. สร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้ว่าการภาคสำ�หรับบทบาทผู้นำ�ภาค 5. เป็นเวทีสำ�หรับการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น และสร้างแรงบันดาลใจให้ เกิดขึ้นเพื่อผลแห่งการเป็นผู้น�ำ และการสร้างสรรค์จิตวิญญาณการทำ�งานเป็นทีมแก่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผูเ้ ข้าร่วมประชุมโรตารีอน ิ สติตวิ ท์จำ�กัดเฉพาะเจ้าหน้าทีโ่ รตารีสากลทัง้ ทีเ่ ป็น ในอดีต ปัจจุบันและที่กำ�ลังเข้ารับตำ�แหน่ง ตลอดจนแขกรับเชิญจากเจ้าหน้าที่เหล่า นี้ นอกจากนี้อาจเป็นบุคคลที่เจ้าภาพผู้จัดงานเชื้อเชิญ หรือเป็นบุคคลที่ประธานโรตา รีสากลหรือเลขานุการโรตารีสากลมอบหมายให้มาร่วมประชุมด้วย เจ้าภาพผู้จัดอาจม อบหมายให้บรรดาโรแทเรียนในประเทศที่เป็นเจ้าภาพตลอดจนบุคคลภายนอกให้ช่วย เหลือในการจัดงานได้ นอกจากนี้แล้วโรแทเรียนในพื้นที่ยังอาจได้รับเชิญเข้าร่วม สังเกตการณ์ในกิจกรรมพิเศษบางกิจกรรมได้ เช่นในการประชุมที่มีประธานโรตารี สากลรับเลือกแสดงปาฐกถา เป็นต้น ในแต่ละปีประธานโรตารีสากลและประธานรับเลือกมักเข้าร่วมการประชุม โรตารีอินสติติวท์ ในบางประเทศ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเสริมความรู้ ความเข้าใจสิ่งที่เกิด ขึ้นในโลกแห่งโรตารี และสามารถแลกเปลี่ยนทัศนคติกับผู้นำ�โรตารีในระดับโซนเพื่อ ให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ่งเกี่ยวกับทิศทางการทำ�งานของโรตารีในอนาคต แต่ด้วย ความจำ�กัดเรื่องเวลาและภาระความรับผิดชอบที่มีอยู่มากมาย ประธานและประธาน โรตารีสากลรับเลือกคงสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมโรตารีอินสติติวท์ได้เพียง บางส่วนเท่านั้น การเข้าร่วมประชุมของตัวแทนมูลนิธิโรตารี (โดยเฉพาะอดีตและกรรมการ ทรัสตีในปัจจุบัน) สมควรอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของมูลนิธิฯ และ เป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่โรตารีสากลทั้งที่เป็นอดีต ปัจจุบัน และที่กำ�ลังเข้าปฏิบัติหน้าที่
มิถุนายน ๒๕๕๓
32 33
การประชุมโรตารี อินสติติวท์ (Rotary Institutes) คืออะไร Rotary Institutes Rotary institutes are meetings designed for the attendance and participation of past, present, and incoming RI officers residing within the area the institute is to serve. Institutes are informational meetings with no administrative responsibility or authority. A Rotary institute may be organized for a zone, a section of a zone, or a grouping of zones. (RIB 19.020.; RCP 60.050.) Purpose The purpose of a Rotary institute is to 1) Inform current and past RI officers accurately concerning the policies and programs of RI, including those of its Foundation 2) Promote support for these policies and programs while also soliciting suggestions for improvements and innovations 3) Inform the RI Board of successful, zone-level program developments that it may want to consider for further development 4) Inspire, motivate, and inform governors for leadership 5) Provide a forum for learning, discussion, and inspiration, which will engender fellowship and a team spirit among all participants (RCP 60.050.) Participants
33 32
Attendance at each institute is limited to past, current, and incoming RI officers and their guests, though others may be invited by the conveners or may attend at the request of the president or the general secretary. Host Rotarians and other local persons may assist the convener in administering the institute. In addition, local Rotarians may be invited as observers to special institute events, such as an address by the president or president-elect. (RIB 19.020.; RCP 60.050.) The RI president and president-elect participate in some institutes each year in order to enhance their knowledge and experience of the Rotary world and to provide opportunities for zone-level Rotary leaders to gain greater knowledge and insight into the current and future directions of Rotary. However, because of their many duties and commitments, the president or president-elect may be able to attend only portions of institutes. (RCP 60.050.) The attendance of a Rotary Foundation representative (preferably a current or past trustee) is highly desirable in achieving the Foundation’s objectives and enhancing the knowledge of past, present, and incoming officers. (RCP 60.050.)
มิถุนายน ๒๕๕๓
บ้านเลขที่ 3360 R.I. สรุปรายงานเรื่อง Matching Grant และทุนสมทบจากระบบ SHARE
ตารางที่ 1 แสดงการทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ด้วยทุนสมทบของภาค 336
อน.ดร.บุษบง จำ�เริญ ดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
หมายเลข 968352 968720 969044 969175 969326 969429 969496 969591 969634 968814 1069256 1070601 1070629 1070667 107712 1070803 1070892 1071079 1071212 1071348 1071487 1071599 1071669 1071696 1071722 1071843 1072160 1072390
สโมสร เงินสดไทย DDFไทย เงินสดคู่มิตร DDFคูม่ ติ ร ชม.ถทง 6,000.00 6,000.00 3,000.00 ภาค 1,900.00 3,000.00 3,000.00 5,000.00 แม่จัน 170.00 1,000.00 16,500.00 7,500.00 เถินดาวน์ทาวน์ 100.00 750.00 5,000.00 6,500.00 ยะโฮบารู 1,000.00 1,000.00 6,000.00 2,750.00 เชียงใหม่ 1,000.00 1,000.00 14,000.00 แม่จัน 500.00 5,500.00 เวียงโกศัย 100.00 6,250.00 6,250.00 เวียงโกศัย 100.00 6,250.00 6,250.00 ลำ�ปาง - 5,000.00 6,318.00 12,100.00 ชม.เหนือ 100.00 750.00 6,000.00 13,000.00 เชียงใหม่ 500.00 1,000.00 25,500.00 5,500.00 ฝาง 200.00 1,500.00 5,000.00 6,300.00 สารภี 250.00 750.00 4,350.00 6,675.00 เชียงใหม่ 2,000.00 1,500.00 10,000.00 4,000.00 นครเทิง 500.00 3,000.00 6,375.00 นครเทิง 100.00 - 46,567.00 เชียงคำ� 100.00 1,000.00 9,450.00 เชียงใหม่ 1,000.00 1,000.00 5,500.00 เชียงใหม่ 1,000.00 15,130.00 6,597.00 ยะโฮบารู - 1,000.00 5,000.00 2,000.00 ภาค 3,500.00 2,200.00 2,500.00 2,000.00 ชม.ถทง 16,000.00 6,000.00 2,000.00 เชียงใหม่ 1,000.00 9,000.00 22,000.00 ชม.ถทง 2,000.00 2,000.00 7,000.00 5,000.00 แม่สาย 4,000.00 6,373.00 6,373.00 เวียงโกศัย 100.00 6,000.00 6,000.00 สอง 200.00 2,500.00 7,200.00 6,000.00
43,420.00
มิถุนายน ๒๕๕๓
25,950.00 188,371.00
TRF 9,000.00 10,450.00 16,830.00 9,800.00 6,750.00 8,500.00 5,750.00 9,400.00 9,400.00 20,259.00 16,800.00 19,500.00 10,400.00 11,500.00 8,125.00 23,333.00 7,000.00 5,500.00 -
216,187.00 208,297.00
34 35
ในปี บ ริ ห ารโรตารี 2009-10 เป็ น ปี ที่ เศรษฐกิจโลกไม่ดีนัก มูลนิธิโรตารีส่งสัญญาณอยู่ เป็นประจำ�ว่าการสนับสนุนทุนสมทบจะลดลง ทุก ภาคทั่วโลกต่างก็ได้รับทราบสัญญาณนี้โดยทั่วกัน ทุกภาคจึงพยายามทำ�งานให้เสร็จกันแต่เนิ่น ขอรับ การสนับสนุนแต่เนิ่น เพราะมูลนิธิโรตารีมีนโยบาย “ขอก่อน ได้ก่อน” หรือ “first come first serve” หลังจากเงินหมดโรตารีเริ่มงดการสมทบ เรียกให้ ไพเราะใหม่ว่า “ศูนย์เหรียญสมทบ”ในปี 2009-2010 ภาค 3360 มี matching ดังนี้
60 รวม 24,000.00 23,350.00 42,000.00 22,150.00 17,500.00 24,500.00 11,750.00 22,000.00 22,000.00 43,677.00 36,650.00 52,000.00 23,400.00 12,025.00 29,000.00 18,000.00 70,000.00 10,550.00 14,500.00 22,727.00 13,500.00 10,200.00 24,000.00 32,000.00 16,000.00 16,746.00 12,100.00 15,900.00
682,225.00
35 34
เป็นเงิน 83,500 U$ อีก 10 โครงการเป็นสมทบศูนย์ เหรียญ เป็นเงินรวม 172,248 U$ อีก 6 โครงการ เป็ น ทุ น สมทบ173,550 U$ รวมเป็ น เม็ ด เงิ นใน ประเทศ 345,798 U$ แสดงว่ามูลนิธิจนจริงจึงสมทบ ได้ไม่มากนัก มูลนิธิโรตารีมีรายรับจากการบริจาคของ โรแทเรียนทั่วโลก ผ่านระบบ SHARE คือเงินที่ บริจาคในปีที่หนึ่งจะนำ�ไปทำ�ผลประโยชน์ ในปีที่ 3 จะถูกจัดสรรให้เป็น DDF ของภาคครึ่งหนึ่ง อีกครึ่ง จะเข้าสู่ world fund เพือ่ นำ�มาสมทบให้กบั โครงการ matching grant หรือบำ�เพ็ญประโยชน์ในรูปแบ บอื่นๆ DDF ซึ่งได้จากการบริจาคในระบบ SHARE จะมีความหมายมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อทุกสโมสรให้เข้ม แข็งจะสามารถใช้ DDF ของสโมสรด้วยตนเอง ใน รอบ 3 ปีนับแต่ปีนี้เป็นต้นไป สโมสรที่มี DDF สิบ อันดับแรก คือ
อธิบายจากตารางที่ 1 ได้ว่า ภาค 3360 มี โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ต่อเนื่องจากปีก่อนหน้า 10 โครงการ (นำ�หน้าด้วยหมายเลข 9) เป็นเงินรวม 252,927 U$ ในปีนี้มีโครงการเพิ่มเติมอีก 18 โครงการ มีพื้นที่ในต่างประเทศ 2 โครงการ รวม
ตารางที่ 2 สโมสรสิบอันดับแรกที่มีจำ�นวน DDF สูงสุดในปี 2010-11 ID 1 29283 2 30057 3 16262 4 16264 5 16277 6 57289 7 29389 8 16297 9 16261 10 52387
RC ชม.ถิ่นไทยงาม หางดง เชียงใหม่ ชม. ตะวันตก ลำ�ปาง ดอยพระบาท แม่วัง พิษณุโลก เชียงคำ� เชียงรายเหนือ
บริจาค 07 9100 5100 4600 4600 4499 3309.09 3300 3000 2430.3 2234.38
DDF(10) 4550 2550 2300 2300 2249.5 1654.545 1650 1500 1215.15 1117.19
บริจาค08 2300 1000 5105.62 900 2300 1500 3000 1400 800 1200
DDF11 1150 500 2552.81 450 1150 750 1500 700 400 600
บริจาค 09 200 0 3400 0 3700 2900 1300 4430.3 3100 1800
DDF12 100 0 1700 0 1850 1450 650 2215.15 1550 900
ตารางที่ 3 สโมสรสิบอันดับแรกที่มีจำ�นวน DDF สูงสุด ในปี 2011-12 1 2 3 4
ID 16262 16281 21495 24956
5 6 7
29389 26050 29283
8 16277 9 25165 10 24741
RC เชียงใหม่ แม่สาย ฝาง แม่สอด-เมือง ฉอด แม่วัง น่าน ช ม . ถิ่ น ไ ท ย งาม ลำ�ปาง ศิลาอาสน์ พิชัย
บริจาค07 4600 0 100 3000
DDF(10) 2300 0 50 1500
บริจาค08 5105.62 4262 4100 3900
DDF11 2552.81 2131 2050 1950
บริจาค 09 3400 0 408.82 2600
DDF12 1700 0 204.41 1300
3300 0 9100
1650 0 4550
3000 2500 2300
1500 1250 1150
1300 1700 200
650 850 100
4499 1200 1000
2249.5 600 500
2300 2300 2157.17
1150 3700 1150 0 1078.585 0
มิถุนายน ๒๕๕๓
1850 0 0
สรุปรายงานเรื่อง Matching Grant และทุนสมทบจากระบบ SHARE
ตารางที่ 4 สโมสรสิบอันดับแรกที่มี DDF สูงสุดในปี 2012-13 ID 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 11 11
16262 21495 16281 24956 29389 26050 29283 25165 16277 24741 23541 16280 57289
RC พิษณุโลก สวรรคโลก ลำ�ปาง เชียงใหม่ เชียงคำ� ดอยพระบาท แม่สอด-เมืองฉอด สอง สวรรคโลกเหนือ ช้างเผือกเชียงใหม่ เชียงรายเหนือ ปัว จอมทอง
บริจาค 07 3000 0 4499 4600 2430.3 3309.09 3000 0 0 1000 2234.38 0 0
DDF(10) 1500 0 2249.5 2300 1215.15 1654.545 1500 0 0 500 1117.19 0 0
บริจาค08 1400 0 2300 5105.62 800 1500 3900 1100 0 0 1200 0 0
DDF11 700 0 1150 2552.81 400 750 1950 550 0 0 600 0 0
บริจาค 09 DDF12 4530.3 2265.15 3900 1950 3700 1850 3400 1700 3100 1550 2900 1450 2600 1300 2300 1150 2200 1100 2000 1000 1800 900 1800 900 1800 900
อธิบายจากตารางที่ 2, 3 และ 4 ได้วา่ มีแต่สโมสรเชียงใหม่ทีส่ ามารถประคอง ตนเองให้ติดสิบอันดับแรกอยู่เสมอ มีการบริจาคผ่านระบบ SHARE มากขึ้น และจะทำ�ให้สโมสรมี DDF มากขึ้น DDF จะใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นเป็นลำ�ดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเข้าสู่ Future Vision Plan และสโมสรโรตารีได้เติบโต และแข็งแกร่งมากขึ้นจะสามารถตัดสินใจใช้ DDF ด้วยตนเอง นอกจากนั้น การรวมตัวของสโมสรโรตารีแม่สอดกับเมืองฉอด ทำ�ให้สโมสรเข้มแข็งขึ้น อย่างทันตา หากสโมสรเข้มแข็งภาคจะเข้มแข็งตามไปด้วย จึงควรส่งเสริม ซึ่งกันและกัน
มิถุนายน ๒๕๕๓
37 36
Rotary Friendship Exchange ** RFE Rotary Friendship Exchange
36 37
มิถุนายน ๒๕๕๓
หนึ่ง ใน ๑๐๐
อน.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนา เชียงใหม
แด่...ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2552 - 2553
สวยทั้งกาย ทั้งใจ ใสสะอาด เด่นสามารถ เป็นประจักษ์ เกียรติศักดิ์ศรี อุทิศตน ด้วยใจ ด้วยไมตรี เพื่อองค์กร โรตารี ที่ชื่นชม “อนาคตโรตารี อยู่ในมือท่าน” ปณิธาน คือพลัง ที่สั่งสม อุดมการณ์ คือศรัทธา ค่านิยม สร้างสังคม ให้พราวแพรว ...ดั่ง “แววดาว” ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี พลวัฒน์ วรเจริญยิ่ง
บทสัมภาษณ์
มิถุนายน ๒๕๕๓
38 39
คอลัมน์ “หนึ่งในร้อย” ได้สัมภาษณ์บุคคลต่างๆ ในวงการ โรตารีมาแล้ว 11 เดือน ซึ่งเดือนนี้เป็นเดือนสุดท้ายของปีบริหาร 2552-2553 บุคคลที่เราจะสัมภาษณ์ต่อไปนี้แน่นอนว่าต้องเป็น ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ที่ได้ทำ�หน้าที่บริหารงานโรตารีภาค 3360 มาตลอดหนึ่งปีเต็ม มิตรโรแทเรียนคงจำ�ได้ว่าจากฉบับแรก ที่เราเคยสัมภาษณ์ ผวภ. แววดาวในการเตรียมตัวเข้ารับตำ�แหน่ง ว่าได้เตรียมตัวอย่างไรบ้าง มีความรู้สึกอย่างไร วางแผนงานไว้ อย่างไร ณ บัดนี้เราก็กลับมาปิดท้ายบทสัมภาษณ์ส่งท้ายกับ ผวภ. แววดาวอีกครั้งหนึ่ง ก่อนที่คำ�นำ�หน้าของท่านจะเป็น อผภ. ว่า ตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไรบ้าง เมื่อตอนสัมภาษณ์ ผวภ. แววดาว ฉบับแรก “๑ ใน ร้อย” และโรแทเรียนทุกคนเรียกท่านอย่างคุ้นเคยว่า “คุณแวว” แต่เมื่อเวลาผ่านไปคำ�ว่า “คุณแวว” ได้ถูก แปรเปลี่ยนไปเป็นคำ�ว่า “ผู้ว่าการภาค” อย่างสนิทใจ ผวภ. แววดาวในวันนี้หน้าตาสดใสและคงความสวยไม่ แตกต่างจากวันที่สัมภาษณ์เมื่อ 12 เดือนก่อนหน้านี้ เราไปคุยกับเธอกันดีกว่าค่ะ ๑ ในร้อย : หนึ่งปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไรบ้างคะกับการ รับตำ�แหน่งผู้ว่าการภาค 3360 เคยได้ยินผู้ว่าการภาค บอกว่าประสบการณ์ตลอดหนึ่งปีนี้สามารถเขียนเป็น หนังสือพ็อคเก็ตบุ๊คได้เลย ผวภ. แววดาว : ไม่น่าเชื่อว่าจากวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 มาถึงวันนี้ วันที่ 15 มิถุนายน 2553 ก็ เกือบ 1 ปี หรือ 350 วัน สำ�หรับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ว่าการ ภาค 3360 โรตารีสากล จริงๆ แล้วถ้าจะนับกันต้องถอย หลังไปตั้งแต่ได้รับตำ�แหน่ง ผู้ว่าการภาครับเลือกเมื่อ 2 ปีที่แล้ว ดิฉันก็เริ่มเตรียมตัว เริ่มวางแผน เริ่มศึกษา งานต่างๆ เกี่ยวกับโรตารีสากลและงานที่ภาค 3360 ได้ ทำ�เอาไว้ และส่งต่อกันมาเรื่อยๆ จนถึงปีที่ดิฉันเข้ารับ ตำ�แหน่ง นั่นก็เฉพาะเรื่องของงานในหน้าที่นะคะ แต่
39 38
เมือ่ มาปฏิบตั จิ ริงก็ได้รบั ประสบการณ์อย่างมากมาย ซึง่ ก็ ต้ อ งเจอกั บ ปั ญ หาบ้ า ง, ข้ อ คิ ด บ้ า ง ความรู้ ห รื อ ภูมิปัญญาของโรตารีที่ไม่สามารถหาที่ไหนได้ถ้าไม่ใช่ โรแทเรียนภาค 3360 และที่สำ�คัญที่สุด คือ “เพื่อน” หรือ “มิตรภาพ” ทีด่ ฉิ น ั ไม่เคยมีมากขนาดนีเ้ ลยในชีวติ ตัวดิฉันเองเป็นคนสนุก ไม่เคยซีเรียสกับเรื่องอะไร มากมาย จะปลงตลอด เพราะบอกตัวเองเสมอว่าไม่มี อะไรในโลกนี้ที่จะสมบูรณ์แบบ 100% ไม่ขาดก็เกิน มากกว่า จำ�เรื่องผิดหวังไว้เป็นบทเรียนว่าคราวหน้าจะ ไม่พลาดอีก จำ�เรื่องสุขใจว่าคราวหน้าจะทำ�ให้ดีกว่านี้ อีก จดจำ�ทุกเรื่องราวผ่านสมุดไดอารี่ที่บันทึกประจำ� วันไม่เคยขาด ตอนนี้แทบทุกซอกมุมของอาณาเขต บริเวณภาค 3360 ดิฉันคิดว่าถ้าจะให้นำ�เที่ยว ก็คงจะ พอมีความสามารถระดับหนึ่งทีเดียว ที่สำ�คัญภูมิใจว่า จำ�หน้าตาของนายกสโมสรทั้ง 59 สโมสรในภาค 3360, ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค 20 คน และคณะกรรมการภาคทุก ท่านได้หมด เพราะได้มีโอกาสคุยกันในเรื่องงานที่เรา จะต้องประสานกันทุกคน. . . มีความสุขค่ะ คิดว่าจะ หาเวลาว่างเขียนหนังสือซักเล่มเกี่ยวกับเวลา 1 ปี ของ การเป็นผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล เอาไว้แจก เพื่อนๆ กำ�ลังหาชื่อเหมาะๆ อยู่ค่ะ
ผวภ.แววดาว ลิ ้ ม เล็ ง เลิ ศ ผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ปีบริหาร ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒ มิถุนายน ๒๕๕๓
หนึ่ง ใน ๑๐๐
๑ ในร้อย : ช่วงสามเดือนแรกได้เดินทางไปร่วมงาน สู่ความเป็นหนึ่งให้ชาวบ้านรวมถึงชาวโลกได้กล่าวถึง สถาปนาคณะกรรมการบริหารสโมสร และต่อมาก็เยี่ยม อย่างชื่นชมค่ะ สโมสรอย่างเป็นทางการ เป็นอย่างไรบ้าง ๑ ในร้อย : จากที่เคยวางแผนการแบ่งเวลาทำ�งานไว้ ผวภ. แววดาว : ช่ ว งเดื อ นมิ ถุ น ายน 2552 ถึ ง กับการได้มาทำ�งานจริงๆ แตกต่างกันไหม และปรับวิธี กรกฎาคม 2552 เป็นช่วงงานสถาปนาคณะกรรมการ การทำ�งานเป็นอย่างไรบ้าง บริหารสโมสรของแต่ละจังหวัด ก็ไปทุกนัดค่ะ ไม่เคย พลาดแม้แต่จุดเดียว จนถึงปลายเดือนกรกฎาคม 2552 ผวภ. แววดาว : ดิฉันได้วางแผนงานตามหนังสือคู่มือ เริ่มมีการประชุมอบรมสัมมนาของภาคแล้วก็คือ การ ผู้ว่าการภาคที่ได้มาจากการอบรมของโรตารีสากล พอ ประชุมอบรมสัมมนามูลนิธิโรตารีที่ อำ�เภอฝาง จังหวัด มาทำ�จริงๆ ทุกอย่างก็ลงตัวอย่างทีเ่ ขาแนะนำ�ไว้เป๊ะเลย เชียงใหม่ จากนัน ้ ก็เริม่ เยีย่ มสโมสร โดยประเดิมทีส่ โมสร นะค่ะ! การทำ�งานส่วนตัวดิฉันมีช่วงเวลาซึ่งวางไว้แล้ว โรตารีพาน เป็นสโมสรแรกในวันอังคารที่ 21 กรกฎาคม ซึ่งก็เป็นไปตามช่วงเวลาของมัน ไม่มีอะไรที่ขัดขวาง 2552 แล้วต่อเนื่องเป็นสโมสรโรตารีแม่ฟ้าหลวง, สโมสร และสะดุดซึ่งกันและกัน จะสะดุดก็คือ เวลาส่วนตัวแทบ โรตารีแม่สาย, สโมสรโรตารีน่าน, สโมสรโรตารีเวียงสา ไม่มีจริงๆไม่มีเวลาไปเดินเล่น หรือ ช็อปปิ้งเป็นปีค่ะ ช่วงนั้นเป็นหน้าฝน ฝนตกตลอดเวลาเดินทางได้ความ รู้สึกที่ไม่เคยได้มาก่อน เพราะปกติหน้าฝนคนเขาจะอยู่ ๑ ในร้อย : การทำ�งานของภาคได้บรรลุเป้าหมายที่วาง ประจำ�ที่กันแต่เราเองต้องมาตะลอนไปทั่วภาค แต่ยังคง ไว้มากน้อยขนาดไหน ต้องแต่งตัวสวย เสื้อผ้า, หน้าผม ไม่มียับเยินแม้ว่า ผวภ. แววดาว : การทำ�งานของภาคบรรลุเป้าหมาย ต้องฝ่าฝนไปพบมิตรโรแทเรียนสโมสรค่ะ เกิดคาดค่ะ ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ การเพิ่มสมาชิกรวม ๑ ในร้อย : การทำ�งานร่วมกับคณะกรรมการภาคและ ของภาคซึ่งดิฉันไม่คิดว่าจะเกิน 1,200 คนได้ก็เกินไป แล้ว ไม่ได้หวังว่าจะก่อตั้งสโมสรใหม่แต่ก็สามารถก่อตั้ง สโมสร มีอะไรที่น่าประทับใจหรือว่ายุ่งยากใจไหม ได้ถึง 2 สโมสรแล้วด้วยความตั้งใจของสโมสรพี่เลีย้ ง คือ ผวภ. แววดาว : บอกตรงๆ ว่าดิฉันเป็นคนทำ�บุญมา สโมสรโรตารีศรีสองแคว สามารถก่อตั้ง “สโมสรโรตารี เยอะจริงๆ เพราะการทำ�งานร่วมกับคณะกรรมการภาค ชาลวัน พิจิตร” ที่จังหวัดพิจิตร และสโมสรโรตารี และสโมสรได้รับแต่ความร่วมมือที่ดีและประทับใจที่สุด พิษณุโลก ทีส่ ามารถก่อตัง้ “สโมสรลุม่ น้�ำ เข็ก” ที่ อำ�เภอ ทุกคนรับทราบและเข้าใจว่าดิฉันทำ�ทุกอย่างเพื่อภาค วั ง ทอง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ได้ สำ � เร็ จ ดิ ฉั น ต้ อ งกราบ 3360 ของเรา ทุกคนก็ช่วยกันคนละมือก็ทำ�ให้อนาคต ขอบพระคุณอย่างสูงในความร่วมมือและประสานงาน ของภาค 3360 ที่อยู่ในมือพวกเราอยู่แล้ว พุ่งทะยานไป ของทั้ง 2 สโมสร มา ณ ที่นี้ และการบริจาคให้มูลนิธิ
มิถุนายน ๒๕๕๓
41 40
โรตารีซึ่งดิฉันได้ตั้งไว้ว่าจะทำ�ยอด $100,000 -. ซึ่งใน ท้ายที่สุดก็สามารถปิดยอดที่กว่า $ 102,000 -.ไม่ทราบ จะเอาคำ�ขอบคุณสักล้านคำ�ที่ไหนดี มาขอบคุณทุกๆ ท่าน ที่ได้กรุณาช่วยกันทำ�เป้าหมายที่ยากยิ่ง ให้เป็น จริงได้ . . . ๑ ในร้อย : มีสิ่งไหนบ้างที่คิดว่าอยากทำ�แล้วไม่ได้ทำ� ผวภ. แววดาว : สิ่งที่คิดไว้ว่าอยากทำ�แล้วไม่ได้ทำ� ก็ คือโครงการอุปกรณ์ผูพ ้ กิ ารและรถจักรยานยืมเรียนของ ภาค เคยวางแผนไว้แล้ว คือต้องเป็นโครงการร่วมกับ ภาค 3350 แต่ปรากฏว่าผลจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ภาค ทางเมืองนอกเขาตัดงบประมาณออกไปเยอะ ส่วนที่ ต้องจัดสรรมาที่ภาคของเราก็เลยเหลือน้อยไม่มากมาย อย่างที่ได้ตกลงกันไว้ แต่ไม่เป็นไร ภาคของเราก็มีกิจ กรรมอื่นๆ ที่น่าสนใจและท้าทายอีก เช่นโครงการจัด สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจของโรงพยาบาลลำ�ปาง ซึ่งเป็น โครงการ 5 ปี กับงบประมาณ 92 ล้านบาท และอีก หลายๆ เรื่องที่กล่าวได้ไม่หมดค่ะ
ตลอดตั้งแต่เข้ามาเป็นสมาชิกในปี 2537 ดิฉันเริ่มต้นที่ สโมสรฯ จนมาเป็นผู้นำ�ภาค หมดวาระก็จะกลับไปช่วย ดูแลสโมสรเหมือนเดิม และก็ไม่เกี่ยงในการช่วยเหลือ ดูแลทุกๆ สโมสรที่ขอความช่วยเหลือมาค่ะ ประสบการณ์หนึ่งปีของผู้ว่าการภาคหญิงคนแรกของ ภาค 3360 มีมากมายเหลือคณานับ ท่านได้ทำ�ในหลาย สิ่ ง หลายอย่ า งในการ “บริ ก ารเหนื อ ตนเอง” ตาม อุดมการณ์ของโรตารี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการได้รับ ความร่วมมือจากโรแทเรียนในภาค 3360 ทั้ง 59 สโมสร และที่สุดของที่สุดคือการได้มี “เพื่อน” ร่วมอุดมการณ์ ทั่วโลกมากกว่าหนึ่งล้านสองแสนคน คอลัมน์ “๑ ใน ร้อย” ขอปรบมือให้กับ ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ดังๆ มา ณ ที่นี้ ด้วยค่ะ.
๑ ในร้อย : ต่อไปเมื่อเป็นอดีตผู้ว่าการภาคแล้ว จะ ช่วยงานโรตารี และงานสโมสรอย่างไรบ้าง ผวภ. แววดาว : ดิฉันเคยพูดไว้แล้วว่า ปีนี้ดิฉันจะ กลับไปช่วยงานสโมสรตัวเองคือสโมสรโรตารีเชียงใหม่ ถิน ่ ไทยงาม ในเรือ่ งของสารสโมสรรายสัปดาห์ และงาน ผู้ช่วยเลขานุการสโมสรรวมทั้งเป็นที่ปรึกษาของนายก สโมสร โดยปกติดิฉันก็เป็นสมาชิกที่ช่วยดูแลสโมสรมา
40 41
มิถุนายน ๒๕๕๓
Youth Corner สรุปงานของโครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนโรตารี สากล ภาค 3360 ปี2009–2010
วัตถุประสงค์หลักของโครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนโรตารี อายุ 15 – 19 ปี คือ การให้โอกาสเยาวชนได้มีประสบการณ์ใช้ชีวิตอยู่ในต่างประเทศเพื่อเรียนหนังสือ อยู่กับ ครอบครัวของต่างประเทศ และได้เรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ เพื่อจะได้มีความ คิดและจะได้พัฒนาวิสัยทัศน์ ให้กว้างไกล ในปี 2009 – 2010 ภาค 3360 ประเทศไทย โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนโรตารี สากลได้ทำ�การแลกเปลี่ยนนักเรียนกับประเทศต่างๆ ดังปรากฎในตารางต่อไปนี้ Inbound 2009 -2010 ออสเตรเลีย 0 เบลเยียม 1 บราซิล 8 แคนาดา 4 โคลัมเบีย 2 ฝรั่งเศส 0 เยอรมัน 4 ญี่ปุ่น 0 อินเดีย 0 เมกซิโก 10 เนเธอร์แลนด์ 0 รัสเซีย 2 ใต้หวัน 1 สหรัฐอเมริกา 8 รวม 40
ประเทศ
อน.ดร.บุญทอง ภู่เจริญ สโมสรโรตารีเชียงใหม่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
2010-2011 0 0 3(1)* 2(3)* 1 3 2(2)* 1 0 6(1)* 1 2 2 5(5)* 28(12)*
Outbound 2009-2010 1 0 5 1 1 1 4 0 0 7 0 2 1 20(รอ 2 )** 43 (รอ 2)**
2010-2011 1 0 3 4 0 2 4 (รอ 1)* 1 2 4 1 2 2 17(รอ 2)** 43 (รอ 3)**
* ระงับส่งนักเรียนเพราะเหตุการณ์ประท้วง ** จำ�นวนนักเรียนรอไปในปีถัดไป
ในระหว่างปี 2009 – 2010 เราได้ให้นักเรียนแลกเปลี่ยน (Inbound) กลับบ้าน ก่อน (Early return) จำ�นวน 2 คน เป็นชาวอเมริกัน 1 คน และชาวโคลัมเบีย 1 คน เพราะไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมไทยได้ และทางประเทสสหรัฐอเมริกาได้ส่งนักเรียน ของเรากลับก่อนครบกำ�หนด 2 คน โดยสาเหตุเดียวกัน สำ�หรับปี 2010 – 2011 มีจำ�นวนโควต้า ไปต่างประเทศรวมแล้วมากกว่า 60 คน แต่ปรากฎว่านักเรียนภาค 3360 ไม่สนใจที่จะไปหรือสนใจน้อยมาก เช่น Argentina, Colombia, Brazil และ Mexico เป็นต้น และเนื่องจากเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง มี การประท้วงภายในประเทศ ทำ�ให้พ่อแม่ของนักเรียนต่างประเทศ ระงับการส่งลูกมา ประเทศไทย และประกอบกับบางกลุ่มในรัฐของสหรัฐอเมริกาและแคนาดาได้ระงับการส่ง นักเรียนแลกเปลีย่ นมาทัง้ หมด เพราะรัฐบาลสหรัฐอเมริกาห้ามนักเรียนมายังประเทศไทย อยู่ จากผลการประท้วงดังกล่าว ทำ�ให้นักเรียนงดเข้าประเทศทั้งหมด 12 คน ปีกลายคณะกรรมการชุดก่อนได้ส่งนักเรียนที่มีสิทธิ ไปสหรัฐอเมริกาจำ�นวน 2 คน ให้กรรมการชุดนี้ดำ�เนินการซึ่งกรรมการชุดนี้ก็ได้จัดการตามมติของกรรมการชุดที่ แล้วและปีนี้มีนักเรียนรอต่อไปประเทศสหรัฐอเมริกา จำ�นวน 2 คน และเยอรมัน 1 คน ซึ่งกรรมการได้มีมติมอบให้กรรมการชุดต่อไปดำ�เนินการ (อน.ดร.บุญทอง ภู่เจริญ) ประธานกรรมการ
มิถุนายน ๒๕๕๓
43 42
Group Study Exchange ** GSE
GSE.3360 RI. กลับมาแล้ว ด้วยความ สวัสดิภาพ นักธุรกิจแลกเปลี่ยนของภาคฯ ซึ่งได้เดิน ทางเยือน ภาค 5730 Texas ได้เดินทางกลับถึง บ้านเรียบร้อย ทุกคนได้รับ ประสบการณ์ที่ยิ่งใหญ่ และ ความประทับใจ ในการต้อนรับของมิตรโรแทเรี่ยน แห่งภาค 5730 เป็นอย่างยิ่ง ไม่สามารถหาได้จาก ที่ไหน นอกจากองค์กรโรตารี ที่เดียว และทันที ที่กลับมาถึง ว่าที่ ดร.ฟ้าวิกร อินลวง ได้ตอบรับคำ�เชิญของนายกสโมสร โรตารี่ เชียงใหม่ (นย.ผศ.โรม จิรานุกรม) เข้าเป็นสมาชิก น้องใหม่ของสโมสรโรตารี เชียงใหม่ พร้อมทั้ง ปฏิญาณว่า จะทำ�งานบริการชุมชน เพื่อตอบแทน บุณคุณของ โรตารีสากล ที่ต้องขอบคุณเป็นพิเศษคือ Team Leader อน.เบญจลักณ์ อัครพสุชาติ จากสโมสรศิลาอาสน์ อุตรดิตถ์ ทีน ่ �ำ ทีมไปและกลับมาด้วยความปลอดภัย แถมเมื่อจบโปรแกรมฯ ยังพาน้องๆ GSE. ไปเที่ยว ที่ Dallas ต่ออีกหนึ่งสัปดาห์ ด้วยความสนุกสนาน (แทนที่จะรีบกลับมาพบสุภาพบุรุษแห่งโรตารี่ที่รอ อยู่) และเมื่อมาถึง ได้ทำ�รายงานผลการเดินทาง ไปยังโรตารี่สากล ตลอดจนส่งเมล์ขอบคุณ ทุก Host Family นี่คือ Team Leader ตัวจริงที่ผม ภูมิใจ โดย อน.มนตรี วงษ์เกษม สโมสรโรตารีเชียงใหม่
42 43
มิถุนายน ๒๕๕๓
เอกพาแอ่ว
Sayonara ผชภ.เอกวุฒิ กาวิละ สโมสรโรตารีหางดง
หากเรานึกถึงประเทศญี่ปุ่น แล้วคง มีอะไรไม่กี่อย่างที่พอจะช่วยให้เห็นภาพญี่ปุ่น ได้ดี อาทิเช่น ภูเขาไฟฟูจิ,นักกีฬาซูโม่ตัว อ้วนๆ, สาวสวยญี่ปุ่นกับกิโมโนสวยๆ,วัดญี่ปุ่น และสวนหินญี่ปุ่น ในงานเขียนเล่มสุดท้ายนี้ จึงภูมิใจเรียบเรียงเรื่องนี้อยากจะให้หลายๆ ท่านได้รู้จักกับสวนเซน (Zen garden) เพื่อ การผ่อนคลายและเรียนรูเ้ รือ่ งราวของญีป่ ุน ่ อีก แง่มุมหนึ่ง เพื่ออาจจะช่วยให้อ่านไปจิตสงบไป ไม่ต้องคิดอะไรที่เกินเลยมากเรื่อง ชวนให้จิต ไม่สงบหลงอยู่ในวังวนของกิเลสตัณหาความ หลงจนหาทางออกไม่เจอ จนไม่สามารถจะเข้า ถึงความจริงของชีวิตได้ หากได้อ่านงานเขียน นี้ แ ล้ ว จิ ต อาจจะสงบและสว่ า งก็ เ ป็ น ได้ น ะ ครับ... สวนหินญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น:คาเระซันซุย หรือรู้จักกันทั่วไปในนาม เซนการ์เดน) คือ สวนพื้นภูมิแห้งแล้งนั้นจัดเป็นชนิดของสวน เซนญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิผลจากนิกายเซนในพุทธ ศาสนาของญี่ปุ่น และสามารถหาชมได้ตามวัด เซนแห่งการฝึกสมาธิ สวนในรูปแบบของญี่ปุ่นนั้นถือเป็น ศิลปะที่มีชีวิต เพราะต้นไม้และพืชต่างๆ ที่มี ความเปลีย่ นแปลงให้เห็นในฤดูทีแ่ ตกต่างกันไป ระหว่างทีต่ น ้ ไม้เจริญเติบโตจะได้รบั การตกแต่ง อย่างสม่ำ�เสมอเพื่อความสวยงาม และเพราะ ฉะนัน ้ สวนญีป่ ุน ่ ไม่มลี กั ษณะทีเ่ หมือนเดิมเสมอ ไปและไม่ มี ก ารสิ้ น สุ ด หรื อ เสร็ จ สมบู ร ณ์ โครงสร้างพื้นฐานของสวนญี่ปุ่นจะพิจารณา จากสถาปั ต ยกรรม ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ องค์ ประกอบเช่น อาคาร, ระเบียง, เส้นทาง, สึกิ ยะมะ (เนินเทียม) และการจัดวางของหิน เมื่อ เวลาผ่านไปความงดงามของสวนก็จะขึน ้ อยูก่ บั การดูแลและการบำ�รุงรักษาที่ ได้รับโดยผู้มี
มิถุนายน ๒๕๕๓
ฝีมือในศิลปะแห่งการตัดและตกแต่งสวนเช่นนี้ ส่วนสำ�คัญอย่างหนึง่ ของศิลปะเซ็นคือการดูแล รักษาสวนให้คงที่ในลักษณะเสมือน ภาพวาด และจิตรกรรม สวนคาเระซันซุยสามารถจัด เป็นสิ่งที่เป็นนามธรรมและเป็นสัญลักษณ์ของ พื้นภูมิ ที่เรียกได้ว่าเป็น “mind-scape” ทั้งนี้ มันคือปรัชญาพุทธศาสนาซึ่งแสดงออกให้เห็น ถึงความงามแห่งจักรวาลในสิ่งแวดล้อมที่เป็น หลักสำ�คัญในพุทธศาสนานิกายเซนของ ญี่ปุ่น ความหมายย่อของคำ�ว่า คาเระซันซุย จากบท สวนญี่ ปุ่ น ของพจนานุ ก รมฉบั บ บิ ลิ ง เกลให้ ความหมายไว้ว่า พื้นภูมิแห้งแล้ง (สวน) ; สวนแห้ง แล้ง. - เป็นชนิดสวนญี่ปุ่นที่มีลักษณะพิเศษ เฉพาะ ซึ่งเริ่มมีขึ้นในยุคมุโระมะจิ (ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1568) และปราศจากบ่อน้ำ�หรือสายน้ำ� ใดๆ สวนชนิดนี้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็น ถึงพื้นภูมิธรรมชาติซึ่งมีองค์ประกอบ ของการ จัดวางของก้อนหิน, ทรายขาว, พืชจำ�พวกมอ สและต้นไม้ที่ถูกจัดแต่ง ในหนังสือซากุเทกิซึ่ง เป็ น หนั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วกั บ การจั ด แต่ ง ของสวน ตั้งแต่ยุคเฮอัน (ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185) ถ้อยคำ� นั้นบอกเล่าถึงศิลปะของการจัดวางหินในการ จัดสวนไร้ธาตุน้ำ� ต่ า งออกไปจากสวนตามประเพณี สวนคาเระซันซุยจะไม่มีธาตุน้ำ�ใดๆ เพียงแต่ จะมีการปูกรวดหรือทราย ซึ่งอาจโดนกวาด ลวดลายหรื อไม่ ก็ ส ามารถเป็ น เครื่ อ งหมาย สัญลักษณ์ของทะเล, มหาสมุทร, แม่น้ำ� หรือ ทะเลสาบได้ การจัดกวาดของกรวดหรือทราย เพื่อให้เป็นลวดลายที่บ่งบอกถึงคลื่นน้ำ�นั้นมี บทบาทของความสวยงามอยู่เช่นกัน อีกทั้ง พระของพุทธศาสนานิกายเซนนั้นฝึกฝนและ ปฏิบตั กิ ารกวาดลวดลายเพือ่ การ ฝึกสมาธิ การ
44 45
ที่จะกวาดเส้นและลวดลายอย่างสมบูรณ์แบบนั้นไม่ใช้เรื่อง ง่าย การกวาดลวดลายนั้นขึ้นอยู่กับแบบของแนววัตถุหินที่ ตั้งอยู่ในพื้นที่บริเวณ กรวด อย่างไรก็ตามแบบของลวดลาย นั้นส่วนใหญ่จะไม่อยู่คงที่ เพราะการพัฒนาแบบลวดลาย ใหม่ ๆ เป็ น การฝึ ก ทั ก ษะของความสร้ า งสรรค์ แ ละการ ประลองฝีมืออันก่อเกิดดลบันดาล การขัดวางของหินและ วัตถุขนาดเล็กอื่นๆ นั้นเป็นเครื่องหมายที่บ่งบอกถึงภูเขา และธาตุน้ำ�ธรรมชาติและทัศนียภาพ, เกาะแก่ง, แม่น้ำ� และ น้ำ�ตก หินก้อนใหญ่และพุ่มไม้ที่ผ่านการตัดแต่งกะริโกะมิ หรือฮะโกะ-ซุกุริ (ศิลปะการตัดแต่งต้นไม้) นั้นเป็นขั้นตอน ที่แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ในสวนส่วนใหญ่จะมีการนำ�มอ สมาปกคลุมพื้นผิวเพื่อที่จะสร้างสัญลักษณ์ซึ่ง บ่งบอกถึง พื้นดินที่ปกคุลมไปด้วยป่าไม้ ในหนังสือ “ซะกุเทกิ” (การสร้างสวน) นั้นแสดง ความหมายถึง “อิชิ โอะ ทะเทะอึน โกะโตะ” (การจัดวาง ก้อนหิน) ซึ่งแปลตามตัวอักษรนั้นหมายถึงการจัดตั้งก้อน หิน ในยุคที่ ซะกุเทกิ นั้นได้ปรากฏเป็นหนังสือ การจัดวาง ตำ�แหน่งของก้อนหินนั้นเป็นขั้นตอนหลักของการจัดสวน อีกทั้งยังมีถ้อยคำ�อักษรที่คล้ายกันในหนังสือหากแต่มันมี ความหมายว่า “การจัดวางก้อนหินของสวน” มากกว่า “การสร้างสวน” การจัดวางก้อนหินนั้นควรจะต้องมีการ คำ�นึงถึงการวางหิน ซึง่ รวมถึงผิวพืน ้ ด้านทีด่ ที ีส่ ดุ ควรจะหัน มาถูกทิศทาง ในกรณีที่ก้อนหินนั้นมียอดที่ไม่สวยงาม ควร จะวางให้ส่วนนั้นเป็นจุดที่เด่นน้อยสุด ถึงแม้ก้อนหินนั้นจะ ต้องโดนวางในลักษณะที่แปลกก็คิดได้ว่าจะไม่มีใครสังเกต อีกทั้งโดยปกติควรจะเลือกหินที่มีแนวนอนมากกว่าแนวตั้ง ในกรณีที่มี “หินหนี” ก็จะต้องมี “หินไล่” และถ้ามี “หิน เอียง” ก็จะต้องมี “หินหนุน” และควรจดจำ�ไว้ว่า ในหลาย กรณีนัน ้ ก้อนหินและพุม่ ไม้ทีผ่ า่ นการตัดแต่งสามารถนำ�มา ใช้ได้อย่างแลกเปลี่ยนซึ่งกัน และกัน อิ ท ธิ พ ลของพุ ท ธศาสนานิ ก ายเซนที่ มี ต่ อ การ ออกแบบสวนนั้นได้ถูกนำ�มาบรรยาย โดย Kuck ในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที่ 20 และทักท้วงโดย Kuitert ในช่วงท้าย ของศตวรรษนั้น หากแต่เรื่องที่ไม่ได้ถูกทักท้วงคือเรื่องที่
45 44
สวนคาเระซันซุยนั้นดลบันดาลมา จากภาพวาดทิวทัศน์ ของจีนและญี่ปุ่นจากอดีต ถึงแม้สวนทั่วไปต่างก็มีการจัด วางไม่เหมือนกัน ส่วนใหญ่ก็จะนำ�ก้อนหินและพุ่มไม้ที่ผ่าน การตัดแต่งมาเป็นสัญลักษณ์ของภูเขา, หุบเขาและน้ำ�ตกที่ ได้ถกู จารึกเป็นจิตรกรรมในภาพวาดทิวทัศน์ของจีน ในบาง ภาพ ทิวทัศน์นั้นดลบันดาลมาจากทัศนียภาพสิ่งแวดล้อม ที่มีอยู่จริง เช่น เนินเขาที่อยู่ข้างหลังเป็น “ทิวทัศน์ที่ยืม มา” โดยใช้เทคนิคที่เรียกว่า “ชักเคอิ” (shakkei) ในปัจจุบันภาพวาดหมึกโมโนโครมยังถือว่าเป็น ศิลปะที่ใกล้เคียงที่สุดกับ พุทธศาสนานิกายเซน หลักการ ออกแบบของการสร้างพื้นภูมินั้นได้อิทธิพลมาจากภาพวาด ทิวทัศน์หมึกโม โนโครมสามมิติ ที่เรียกว่า ซูมิเอะ หรือ ซุย โบคุกะ สวนญี่ปุ่นนั้นถือว่ามีค่าระดับเดียวกับงานศิลปะใน ประเทศ สวนหินที่มีชื่อเสียงในประเทศญี่ปุ่นอยู่ที่ เรียวอัน จิ ฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือในเมืองเกียวโต สวนที่เรียวอันจิมี ความยาว 30 เมตรจากฝั่งตะวันออกถึงตะวันตกและ 10 เมตรจากเหนือถึงใต้ ในสวนนั้นไม่มีต้นไม้มีเพียงแต่ก้อน หินที่มีหลายขนาด บางก้อนปกคลุมไปด้วยมอส และถูกจัด วางอยู่บนพื้นภูมิที่โรยไว้ด้วยกรวดและทรายขาวซึ่งมีการ กวาดวาดลวด ลายในแต่ละวัน การดำ�รงอยูข่ องสวนหิน ในวัดนิกายเซ็นญีป่ ุน ่ นัน ้ ถือเป็นการเอือ้ ต่อการฝึกสมาธิจติ อย่างหนึง่ ทีพ ่ ระนิกายเซน จะทำ � สมาธิ โ ดยจ้ อ งมองสวนหิ น กำ � หนดจิ ต เพื่ อ การ จินตนาการให้จิตของตนเองได้นิ่งไม่ถ่ายทอดจิตสู่นอกกาย ดูความนิ่งของหิน ตัวแทนของเกาะแก่ง และกรวดทราย ที่ เป็นตัวแทนของมหาสมุทรในท้องทะเล เมื่อจ้องมองดูสวน หินในท่ามกลางธรรมชาติที่แท้จริงแล้วจิตจะอ่อนคล้อยได้ ง่าย เมื่อจิตเดิมแท้ได้เข้าใจในความเป็นจริงของชีวิต เพื่อ สร้างจิตเข้าสู่สถาวะธรรมขั้นสูงที่เรียกว่า “การซาโตริ” (Enlightenment) หรือการบรรลุธรรมชั้นสูง ซึ่งเป็นเป้า หมายหลักสูงสุดของการแสวงหาโมกธรรมในพุทธศาสนา แล้ววันนี้ท่านผู้อ่านมิตรโรแทเรียน ได้ฝึกฝนจิตของตนเอง ให้นิ่งพอแล้วหรือยัง...Sayonara ครับ.
มิถุนายน ๒๕๕๓
เล่าขานตำ�นาน “ล้านนารำ�ลึก 700 ปี ที่ สูญหาย”(๙)
นรินทร์ ลิ้มเล็งเลิศ
นักศึกษาปี 4 สาขาการบัญชี และการเงิน University of Virginia, Charlottesville ,Va., USA.
หากจะอธิบาย ความหมายของ เมือง “ประเทศราช” โดยง่าย ให้เปรียบเทียบ ง่ายๆ ดังนี้ หาก “หัวเมืองประเทศราช” และ เมืองที่เมืองประเทศราชนี้ไปขึ้นอยู่ คือ คน เมือง ประเทศราชนี้ จะมีฐานะ เป็น ลูก หรือ บุคคลในสายเลือด ในขณะที่ เมืองที่คุมอยู่ จะมีฐานะ เหมือน บุพการี นั่นคือ ในขณะที่ เมืองประเทศราช มีฐานะที่จะต้องสนับสนุน ค้ำ�จุน เมืองแม่ ในบางโอกาส แต่ ท้ายสุด แล้ว เมืองประเทศราช ก็จะยังคง ความเป็น เอกภาพไว้ได้ระดับหนึ่ง ในสมัย พระเจ้า อินทวิชยานนท์ (พศ ๒๔๑๖ ถึง ๒๔๔๐) แม้ว่า ทางกรุงเทพได้มีมาตรการเข้ม งวด ขึ้นตามกาลเวลา ในการควบคุมหัวเมืองประเทศราชล้านนา แต่ถึงอย่างไรก็ตามล้านนาใน สมัยนั้น ก็ยังคงอำ�นาจการปกครองอันแท้จริง ใน มือของผู้ครองนครล้านนา อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงก็เกิดขึ้นในที่สุด โฉมหน้าของล้านนาในสมัย พระเจ้า อินทวโรรสสุริยวงศ์ (พศ ๒๔๔๔ ถึง ๒๔๕๒) จาก การมีอิสระอย่างหัวเมืองประเทศราช ได้กลาย เป็น มณฑลหนึ่ง แห่งสยามประเทศ ต่างจากฐานะของล้านนา อย่าง เมืองประเทศราช หรือเมือง ลูก ล้านนา ได้ กลายสภาพ ประดุจหนึ่ง เป็น แขนขา หรือ อวัยวะส่วนหนึ่ง ของเมืองแม่ อำ�นาจ การปกครองล้านนาอันแท้จริงนั้น ไม่ได้ อยู่ ในกำ�มือ ผู้ครองนคร ล้านนา อีกต่อไป แต่ ไปถูก รวมอำ�นาจเข้าไว้ ในสมบูรณายาสิทธิราชจาก กรุงเทพ ความเปลี่ยนแปลง ได้กระทบกลุ่มเจ้านาย ท้องถิ่น อย่างมาก เฉพาะที่ เมืองเชียงใหม่นั้น ที่ คลังเมือง ถูกรวบรวมไปไว้ที่ คลังมณฑล โดย มีข้าหลวงไทย ดูแลรักษาเงิน สำ�หรับเมืองอื่นๆ นั้นยังไม่เป็นระเบียบ เจ้าผู้ครองนคร จะทำ�หน้าที่ เก็บเอาไว้ ดังนั้นแล้ว ข้าหลวงเทศาภิบาลจะออกตรวจ นับเงินแผ่นดิน และ โอนอำ�นาจให้ ข้าหลวงประจำ�เมืองเป็นคนจัดการ เรื่องคลังแทน ยิ่งกว่านั้นเหล่า เจ้านายล้านนา ถูกให้เสียภาษี ที่ดินเช่นเดียวกับคนธรรมดาทั่วไป การเคลื่อนไหว ต่อต้านจากกลุ่มเจ้านายท้องถิ่นนั้นได้เกิดขึ้น โศกนาฎกรรมที่ ใหญ่ที่สุด นั้น เกิดที่ เมืองแพร่ หรือ เรียก เหตุการณ์ ในครั้งนั้นว่า กบฎ เงี้ยวเมืองแพร่ พศ ๒๔๔๕ โศก นาฎกรรมนีก้ ลายเป็นเรือ่ งสยองขวัญประจำ�เมืองแพร่ หากท่านมีโอกาสขอให้ทา่ นได้ไปเยือน ศาลา กลางเก่า ของเมืองแพร่ ศาลากลางนี้ เดิมเป็นคุ้ม ของเจ้าผู้ครองนครแพร่ ตามทฤษฎีทาง ประวัติศาสตร์ เจ้าของคุ้ม เป็นเจ้าเมืองแพร่คนสุดท้าย ผู้เสียผลประโยชน์ทางการเมือง และการ คลัง แก่ ทางกรุงเทพ หลักฐานจากทางส่วนกลางกล่าวว่า ท่านจึง สนับสนุน เงี้ยวในเมืองแพร่ ให้ก่อกบฎ เมื่อก่อกบฎแล้ว ทางกลางกรุงเทพ มาปราบปราม เจ้าเมืองแพร่ หนีไปหลวงพระบาง เราจึงไม่น่าแปลกใจว่า เหตุใดจึงไม่มีนามสกุล “ณ แพร่” ดังที่ พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ ได้ทูลขอ รัชกาลที่ ๖ พระราชทาน นามสกุล “ณ เชียงใหม่” เพื่อเป็นเกียรติ ต่อคนในวงศ์ เจ้าผู้ตรอง เชียงใหม่ เพราะสายเลือดของเจ้าผู้ครองนครแพร่ นั้น ขาดสะบั้นไปก่อน และจากการ ถูกกล่าว หา ว่าเป็นกบฎ ส่วนพวกเงี้ยว นี่ เป็นนักโทษถูกจับลงขังใต้ดินของคุ้มแห่งและเสียชีวิต เพราะ ขาดอากาศ (ติดตาม อ่านล้านนา และ ความเคลื่อนไหว ระลอกสำ�คัญ การกอบกู้เอกลักษณ์ ล้าน นา ระลอกสุดท้าย ในฉบับหน้า) Lanna, under the ruling of Phrachao Intavichayanon (1873 – 1897 ce.), retained a moderate degree of independence in several ways including both political as well as fiscal although the central figure who is a king in Bangkok had gradually exerted a political interference. In the time of Phrachao Intavarorod suriwongse (1901–1909 ce.), Lanna faced a critical change when Lanna was fully annexed as a part of Siam kingdom and when the political and fiscal power, once in the hand of Lanna ruler, became absolutely centralized in the hand of the king of Siam kingdom in Bangkok. In Chiang Mai, the Lanna’s royal treasure was no longer the procession of the Lanna ruler and his family; it became a part of Siam’s national treasure. The property tax, as the first time in the history, was levied on the Lanna’s royal family. The defensive movement to protect Lanna royal family’s rights to power and treasure did occur. The greatest tragedy occurred in 1902 Ce when the Burmese-blooded local clan called Kjiao was supported by Phrae’s local ruler to cause a chaos as a response to the suppressive fiscal and political measure caused by the central figure in Bangkok. As a consequence, Phrae utmost ruler was exiled, and all rebellions were captured and killed. The story is dramatic. If you have a chance to visit Phrae, you should remember to visit the old palace of the Phrae’s royal family. The dark and damp basement of this palace was used to capture hundreds of Kjiao in such event. They were all killed because of suffocation (To be continued).
มิถุนายน ๒๕๕๓
47 46
หากท่านมีโอกาสเดินทางมาท่องเที่ยวยังจังหวัดเชียงใหม่ สถานที่ หนึ่งที่ ท่านจะต้อง มา คือ อนุสาวรีย์ ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา ตั้งอยู่บริเวณทางขึ้นดอยสุเทพ ว่ากันว่า มี ความศักดิ์สิทธิ์ และเป็นที่สร้างกำ�ลังใจให้ผู้คน ดำ�เนินไปสู่ความสำ�เร็จ ในการเรียนและหน้าที่การ งาน คำ�ว่าครูบาหมายถึงพระภิกษุที่ควรค่าแก่การกราบไหว้ ภิกษุรูปใดจะได้เป็น ครูบา หรือ ครูบา เจ้า หรือ ตนบุญ เกิดจากแรงศรัทธาของกลุ่มลูกศิษย์ลูกหา ของสงฆ์รูปนั้นๆ ในทางประวัติศาสตร์ บริเวณอนุสาวรีย์ นั้นเป็นที่ตั้งการประกอบพิธีลงจอบแรกสร้างทางขึ้นดอย เมื่อวันที่ ๙ พฤษจิ กายน พศ. ๒๔๗๗ ครูบาศรีวิชัย นามเดิมอินท์เฟือน (๒๔๒๑–๒๔๘๑) หรือ อ้ายฟ้าร้อง ท่านเกิดในพลบค่ำ� ของวันอังคารที่ ๑๑ พศ ๒๔๒๑ ครูบาศรีวิชัย เป็นพระสงฆ์สืบสายมาจากฝ่ายนิกายวัดป่าแดง หลวง พระพุทธศาสนานิกายป่าแดง หรือลังกาวงศ์ใหม่นั้น แต่เดิมทีได้ถูกนำ�เข้ามาโดยพระเจ้า ติโลกราช (พ.ศ.๑๙๘๔ ถึง ๒๐๓๐) สู่เชียงใหม่ และได้เจริญสูงสุดในสมัยนั้นนั่นเอง ช่วงเวลาที่ครูบาศรีวิชัย ยังมีชีวิตอยู่นั้น เมืองเชียงใหม่ถูกลดบทบาทเป็นเพียงศูนย์กลาง แห่งมณฑลพายัพ (พศ.๒๔๔๒–๒๔๗๖) อันคาบเกี่ยวอยู่ในสมัยราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน แห่งล้านนา สมัยเจ้าอินวโรรสสุริยวงศ์ (พศ.๒๔๔๔–๒๔๕๒) และสมัยพลตรีเจ้าแก้วเนาวรัฐ (พศ.๒๔๕๔– ๒๔๘๒) ส่วนกลางของสยามพยายามทีจ่ ะลดบทบาทของล้านนาลงทุกวิถที าง ทางด้านการปกครอง ส่งข้าหลวงส่วนกลางมาประจำ� ทางศาสนาก็มี พระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ์ รศ.๑๒๑ (พศ.๒๔๔๖) โดยกำ�หนดไว้ว่า พระอุปัชฌาย์ที่จะบวชกุลบุตรได้จะต้องได้รับการแต่งตั้งตามระเบียบ จากส่วนกลางเท่านั้น โดยถือเป็นหน้าที่ของเจ้าคณะแขวงนั้นๆ เป็นผู้คัดเลือกและเมื่อคัดเลือกได้ แล้วจะนำ�ชื่อเสนอเจ้าคณะผู้ใหญ่ในกรุงเทพ เพื่อดำ�เนินการแต่งตั้งต่อไป อย่างไรก็ตามครูบาศรี วิชัย ยึดถือการปกครองสงฆ์ในล้านนาแบบระบบหัวหมวดอุโบสถ หรือ หัวหมวดวัด พระอุปัชฌาย์ รูปหนึ่งจะมีวัดขึ้นอยู่ในการดูแลจำ�นวนหนึ่ง เรียกว่า เจ้าหมวดอุโบสถ คัดเลือกพระที่มีผู้เคารพ นับถือและได้รับการยกย่องว่าเป็นครูบา ดังนั้น ครูบาศรีวิชัยจึงมีสิทธิ์ที่จะบวชกุลบุตรได้ตามจารีต สงฆ์ล้านนา ครูบา ถูกข้อต้องหาอุปชั ฌาย์กลุ บุตรโดยไม่ได้รบั การแต่งตัง้ ตามพระราชบัญญัติ นอกจาก นี้ด้วยการที่ครูบายังยึดขนบการปฏิบัติอย่างล้านนาอยู่ท�ำ ให้ถูกเพ่งเล่งจากส่วนกลาง เพราะถือว่า มีอิทธิพลต่อความเชื่อความขัดแย้งถูกแบ่งออกเป็นสามระยะ • ระยะที่ ๑ ครูบาถูกกล่าวหาว่าล่วงละเมิด อำ�นาจเจ้าคณะแขวงและนายอำ�เภอลี้เรื่อง การบวชเณรและอุปสมบท • ระยะที่ ๒ ครูบาถูกกล่าวหาด้วยข้อหาเดิมแต่ชื่อเสียงของครูบาก็แผ่ไปในวงกว้างจาก การสอบสวนก็พบว่าครูบาไม่มีความผิด เกิดคำ�พูดที่ว่า บาปบ่แพ้บุญ (บาปไม่ชนะบุญ) • ระยะที่ ๓ เกิดขึ้นในช่วงที่มีการสร้าง ทางขึ้นสู่วัดพระธาตุดอยสุเทพ โดยรัฐบาลบอกว่า สร้างทางขึ้นดอยสุเทพทำ�ได้ยาก ต้องใช้เวลาและงบประมาณสูง แต่ฝ่ายครูบาว่าทำ�ได้ไม่ยากไม่ ต้องใช้งบประมาณใช้แต่พลังศรัทธาก็สร้างสำ�เร็จ ผลทำ�ให้มีพระสงฆ์ในเชียงใหม่ ๑๐ แขวง ๕๐ วัด ลาออกจากการปกครองคณะสงฆ์มาขึ้นอยู่ภายใต้การปกครองของครูบาแทน พระสงฆ์ที่แยก ตัวถูกทางการสั่งให้มอบตัว ส่วนพระที่ครูบาบวชให้ก็ถูกสั่งให้สึก ความขัดแย้งระยะที่ ๓ นี้ ดำ�เนิน มาจนกระทั่งปี ๒๔๗๙ ครูบาจึงให้คำ�รับรองกับคณะสงฆ์ว่าจะยอมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการ ปกครองสงฆ์ การทีค่ รูบาศรีวชิ ยั ยังคงปฏิบตั ติ ามจารีตของล้านนาโดยไม่โอนอ่อนต่อนโยบายส่วนกลาง เป็นเหมือนการปลุกจิตสำ�นึกของชาวล้านนาให้หวงแหนและรักสิ่งที่ตนมี สร้างกระแสล้านนานิยม ให้เพิ่มขึ้น และถึงแม้ว่าในที่สุดท่านจะยอมผ่อนปรนต่อส่วนกลาง แต่จิตวิญญาณล้านนานั้นกลับ ไม่แปรเปลี่ยน ตรงกันข้ามยิ่งข่มกลับยิ่งแข็งแกร่งยิ่งขึ้นไป ปัจจุบันเชียงใหม่ และดินแดนล้านนา ทั้งมวลได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทยซึ่งเข้ามาอยู่ในยุค แห่งวัตถุนิยม (Materialistic Economy) อย่างสมบูรณ์แบบ GDP (Gross Domestic Product) ถูกเข้าใจว่าเป็นเครื่องวัดความสุขสมบูรณ์ ของคนในชาติ ซึ่งนับวันแม้ GDP มีแนวโน้มจะเพิ่มและเติบโตขึ้น แต่ผู้คนกลับขาดความสุข โดย สะท้อนออกมาถึงจำ�นวนผู้ป่วยที่มากขึ้นเกี่ยวกับโรคทางจิต และผู้นำ�ชาวเชียงใหม่ที่สร้างความ เดือดร้อนแก่ชาติ ทั้งที่แท้จริงแล้วความสุข อันเกิดจากความพอเพียงและการควบคุมกิเลส อัน เป็นรากฐานที่บ่มเพาะเขาโดยพระพุทธศาสนา และภูมิปัญญาล้านนา ถึงเวลาแล้วที่เราชาวล้าน นา จะกลับมามองสิ่งที่เป็นรากฐานของเรา ท้ายสุดนั่นอาจเป็นกุญแจสู่การเข้าใจสัจธรรมของชีวิต และสรรพสิ่ง และในที่สุดการนำ�มาซึ่งความสุขในทุกๆ ระดับของชาวล้านนา ชาวโรตารี ชาวไทย และชาวโลกอย่างยั่งยืน อ้างอิงจาก หนังสือ “ตนบุญล้านนา” โดย บุญลักษณ์ ศรีป่าซาง
46 47
“ล้านนารำ�ลึก 700 ปี ที่ สูญหาย”(๑๐)
มิถุนายน ๒๕๕๓
มุม...สบาย...สบาย
มวลมิตรโรแทเรียน โรตารี่แอนน์และสุภาพบุรุษโรตารี่ที่เคารพ ขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ติดตามมุมสบายสบายมาโดยตลอด ถึงแม้นจะไม่ได้ร่วมตอบ ปัญหาชิงรางวัลแต่ได้เปิดอ่านสักนิดก็ยังดี และขอขอบคุณบอกอที่ได้ให้โอกาสทำ�คอลัมน์นี้ มีสิ่ง ใดที่ผมได้พาดพิง ล่วงเกินโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ต้องขออภัยไว้ ณ.ที่นี้ด้วย มีโอกาสคงได้รับใช้ มวลมิตรโรแทเรียนอีก ขอบคุณครับ
อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ สโมสรโรตารีแม่สาย ส่งคำ�ตอบมาที่ akeelawat@yahoo.com หรือจดหมายมาที่ 23 ถนนพหลโยธิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย 57130
อาทิ ต ย์ ที่ แ ล้ ว ได้ พ าลู ก ไปเข้ า ค่ า ย ธรรมะ 2 คืน3วันลูกกลับมาเล่าให้ฟังว่า ช่วง ก่อนนอนหลวงพ่อจะให้สวดมนต์ ไหว้พระก่อน นอน ท่านได้ให้หัวหน้าห้องออกไปนำ�สวดโดย หลวงพ่อจะเป็นผู้สอน หลวงพ่อ: ลูกเอ๋ย...ก่อนนอนขอให้ลูกไหว้พระ สวดมนต์นั่งสมาธิขอให้ทำ�ทุกวันจะได้มีจิตใจที่ สงบ ทำ�งาน ทำ�การ จะได้ดีมีสติ เรียนหนังสือ เก่ง .......เอาล่ะพนมมือสงบจิตสงบใจแล้วว่าน โม สาม จบ หัวหน้าห้อง: นโม นโม นโม ไม่อยากนึกเลยว่าห้องสวดมนต์จะเป็นอย่างไร สวัสดี. ความแตกต่าง ขณะที่แนนกำ�ลังเดินเล่น ในศูนย์การค้ากับแฟนหนุ่มคนใหม่ เธอหันไป เห็นพีส่ าวกำ�ลังเลือกซือ้ ของอยูใ่ นร้านร้านหนึง่ จึงพาแฟนเข้าไปทักทายและแนะนำ�ให้รู้จัก แฟนเธอบอกว่า “พี่สาวคุณเหรอ ทำ�ไมหน้าไม่ เหมือนกันเลย โดยเฉพาะจมูกกับคาง” พี่สาวแนนบอกว่า “ก็จะเหมือนได้ยังไงล่ะจ๊ะ ศัลยกรรมกันคนละคลินิกนี่” เครื่องสั่น เครื่องบินลำ�หนึ่งกำ�ลังบิน เพื่อไปออสเตรเลียท่ามกลางสภาพอากาศปกติ แต่แล้วกัปตัน ลูกเรือ และผู้โดยสารก็ต้องพา กันตกใจกับแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น ไฟเตือน ให้รัดเข็มขัดสว่างขึ้น กัปตันบอกคนตรวจสอบ สาเหตุทกุ อย่างแต่ไม่พบ ทีส่ ดุ ก็ตอ้ งตัดสินใจเอา เครื่องบินลงฉุกเฉิน พร้อมกับที่โฮสเตสเดินเข้า มากระซิ บ ว่ า “กั ป ตั น ว่ า จะเป็ น สาเหตุ ข อง เครื่องสั่นได้ไหมค่ะ ดิฉันพบหญิงอ้วนคนหนึ่ง วิ่งจ๊อกกิ้งอยู่ในห้องน้ำ�” มากกว่านี้ ณ.ร้านอาหารแห่งหนึ่งคู่รัก คู่หนึ่งนั่งรับประทานอาหารกันอย่างมีความสุข โจน : ถ้าฉันอ้วนกว่านี้นิด เธอยังจะรักฉันมั้ย ร๊อบ : รักแน่นอน โจน:เธอจะไม่เปลีย่ นใจจากฉันไปไหนจริง ๆนะ ร็อบ : แน่สิโจน เพราะตอนนี้เธอก็หนักกว่า 80 กิโลแล้วถ้าจะหนักขึน ้ อีกก็คงไม่เป็นไรหรอก ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ บาทหลวงอยากไป ลองดูชีวิตผู้คนทั่วไปว่าเขาไปถึงไหนกันแล้ว เลยเปลี่ยนใส่ชุดเสื้อยืดกางเกงยีนส์เหมือนคน ธรรมดาไปเดินเล่นที่ชายหาด และมั่นใจว่า คงจะไม่มีใครจำ�ได้ ผู้คนบนชายหาดหนาแน่น เดินผ่านกันไปมาโดยไม่มีใครสังเกตเห็นว่ามี บาทหลวงคนหนึ่งปลอมตัวมา แต่จู่ๆก็มีสาว ผมบลอนด์หุน ่ ดีในชุดบิกน ิ ีส่ สี ดเดินเข้ามาทักว่า
มิถุนายน ๒๕๕๓
“สวัสดีค่ะคุณพ่อ...มาเที่ยวเหรอคะ” บาทหลวง ตกใจ “พ่อใส่ชุดแบบนี้ทำ�ไมลูกยังจำ�พ่อได้” หญิงสาวตอบว่า “จำ�หนูไม่ได้เหรอคะ หนูแม่ชี แคธีอยู่โบสถ์บ้านใกล้ๆนี่เองค่ะ” น่ายินดี แนทเพิ่งหย่ากับสามีได้ไม่ นาน และวันนี้เธอก็ไปที่สำ�นักงานของเมือง เพื่อเปลี่นกลับมาใช้นามสกุลเดิมของตัวเอง “แล้วที่อยู่ล่ะครับ เปลี่ยนด้วยไหม” เจ้าหน้าที่ ถาม “ ไม่ค่ะ ที่เดิม” แนทตอบ เจ้าหน้าที่ยิ้ม บอกว่า “ยินดีด้วยนะครับ...ที่คุณได้บ้านไว้” งั่ก ถึงคุณย่าจะแปดสิบแล้วแต่ ก็ยังรักสวยรักงามดูแลตัวเองอย่างดีตลอดเวลา วันนี้เพื่อนคุณย่าที่ไม่ได้พบกันมานานมาเยี่ยม ที่บ้านและทักคุณย่าว่า “ยี่สิบปีที่ไม่ได้เจอกัน เธอยังดูเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนไปเลยนะ” คุณย่ายกมือทาบอกอุทานด้วยความตกใจว่า “ตายแล้วอย่าบอกนะว่าเมื่อยี่สิบปีก่อนฉันก็ดู แก่งั่กขนาดนี้แล้ว” เก้าคำ�กำ�กวมของผู้หญิง 1. ดี,โอเค: คำ�นี้ผู้หญิงใช้ปิดการโต้เถียงตอนที่ เธอมั่นใจว่าเป็นฝ่ายถูก และคุณต้องหุบปากซะ 2. ห้านาทีนะ: ถ้าหล่อนกำ�ลังแต่งตัว นี่จะ หมายถึงชั่วโมงครึ่ง แต่ห้านาทีก็คือห้านาทีถ้า เธอเพิ่งยอมให้คุณดูบอลต่ออีกห้านาทีแล้วค่อย ไป ช่วยเธอทำ�งานบ้าน 3. ไม่มีไร : นี่คือความสงบก่อนพายุจะเข้า มันแปลว่า “มีอะไร” แน่ ๆ ขอให้เตรียมตัวได้ เลย การโต้เถียงที่เริ่มด้วย “ไม่มีไร” มักจะไป จบลงที่ “ดี,โอเค” 4. ก็เอาดิ,เอาเลย: นี่เป็นคำ�ท้า ไม่ใช่คำ� อนุญาต อย่าทะลึ่งทำ�เป็นอันขาด! 5. ทำ�เสียง ชิ,ฮึ,จึ๊ ฯลฯ ออกมาดัง ๆ: มัน มี ความหมายแน่นอน แต่อวจนภาษามักทำ�ผูช้ าย เข้าใจผิด เสียงพวกนี้หมายความว่าเธอกำ�ลัง คิดว่าคุณซื่อบื้อเหลือทน และไม่เข้าใจว่าจะมา เสียเวลายืนเถียงกับคุณเรื่อง “ไม่มีไร” แบบนี้ ทำ�ไม (กลับไปดู “ไม่มีไร” ที่ข้อ 3) 6. ไม่เป็นไร: นี่คือสถานะอันตรายสุด ๆ ที่ผู้ หญิงจะมีต่อผู้ชายแล้ว “ไม่เป็นไร”แปลว่าเธอ ต้องคิดดูก่อนอย่างนานและอย่างหนักว่าคุณ ต้องชดใช้อะไร อย่างไร และเมื่อไหร่ ในความ ผิดที่คุณก่อไว้ 7. ขอบคุณ: ถ้าผู้หญิงขอบคุณ อย่ามีคำ�ถาม อย่ามัวทำ�เฉย ตอบรับคำ�เขาไปดี ๆ แต่ขอเพิ่ม หน่อยว่า ถ้าผู้หญิงพูดว่า “ขอบคุณมาก” อัน นี้ประชดเต็มดอก
49 48
Zoom Inside 3360 Zoom Inside 3360 สารผู้ว่าการภาคฉบับสุดท้าย ปีบริหาร ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ครบถ้วน 12 ฉบับ สวยงามเต็มไปด้วยเนื้อหา เป็นความตั้งใจความเสียสละของ บอ.กอ.วาณิช โยธา วุธ ปรบมือให้คนเก่ง ของสโมสรแม่สาย...***ด้วยความเก่ง จึงต้องรับหน้าที่เป็น บอ.กอ. สารผูว้ า่ การภาคต่ออีก 1 ปี ไม่บน ่ ไม่ทอ้ เตรียมพร้อมสารฉบับปฐมฤกษ์ของ ผวภ.นพ.วีระ ชัย จำ�เริญดารารัศมี รูปปกสวยงามจำ�นวนหน้าเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ขอบคุณสปอน เซอร์ 4 ราย ใครบ้างที่ให้การสนับสนุนอุบไว้ก่อนค่ะ ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ซาบซึ้งและขอบคุณ ขอบคุณ...***ติดตามเล่าขานตำ�นาน ของนรินทร์ ลิ้มเล็งเลิศ ลูกชาย คนเดียวของผวภ.แววดาว ลิม้ เล็งเลิศ ไม่นา่ เชือ่ เด็กรุน ่ ใหม่ใส่ใจประวัตขิ องล้านนา ติดตาม คุณแม่ไปสโมสรประจำ� ทุกครั้งที่เดินทางกลับจากต่างประเทศจะต้องมีสิ่งดี ๆ มาพูดใน สโมสร หลัง ๆ จะเล่าประวัติศาสตร์ของล้านนาได้อย่างละเอียด เผลอแผลบเดียวจบ ปริญญาตรีเกียรตินยิ ม จากสหรัฐอเมริกา คุณแม่บน ิ ไปร่วมรับปริญญาด้วยความภาคภูมใิ จ ชื่มชม...สมใจคุณแม่ค่ะ...***ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มอบหมายให้ อน.จันทนี เทียน วิจิตร จัดงาน President Salute ที่ตำ�บลโป่งแยง อ.แม่ริม เพื่อเป็นการขอบคุณคณะ ทำ�งานทัง้ หมดของภาค 3360 เขาทัง้ ลูกเนรมิตอย่างสวยงาม น้�ำ ตกเป็นฉากหลังเวที สุภาพ บุรุษสลิล ลิ้มเล็งเลิศ ทุ่มทุนสร้างอย่างไม่อั้น เต๊นส์อาหารหลายชนิดเลือกรับทานตาม สะดวก อผภ.วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา อผภ.ชัยสิน แอนน์ปรารมภ์ มณีนันทน์ อผภ.อนุ วัตร ภูวเศรษฐ์ อผภ.นพ.สุเทพ แอนน์พญ.แน่งน้อย นิ่มพิทักษ์พงษ์ อผภ.ดร.ศุภวัตร ภูวกุล ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง ผวล.อนุรักษ์ นภา วรรณพร้ อ มแอนน์ และมวลมิ ต รโรแทเรี ย นมากมายพร้ อ มใจร่ ว มงานอย่ า ง คับคั่ง...***พิธีกรคู่ขวัญ อน.บรรจบ ลิ้มจรูญ รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ ทำ�หน้าที่ได้ อน.จินดา จรรญาศักดิ์ อย่างยอดเยี่ยม สุดท้ายฝนตกพิธีกรอยู่บนเวทีต้องลงบันไดสูงเป็นไงหนอ..ไม่ทันได้เห็น สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ค่ะ...***ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มอบโล่มอบถ้วยให้คณะกรรมการ นายก ผู้ช่วยผู้ว่าการ ถิ่นไทยงาม ภาค พร้อมถ่ายรูปเป็นคณะ ทุกท่านที่ไปร่วมงานจะได้รับของแจกก่อนกลับ งานนี้ทุ่มทุน สร้าง ขอบอก.. เป็นความตั้งใจที่จะมอบสิ่งดี ๆ เพื่อมิตรโรแทเรียน แทนคำ�ขอบคุณตลอด 1 ปี ที่ได้รับความร่วมมือ เป็นความภาคภูมิใจที่ไม่ลืมเลือนจากใจของ ผวภ.แววดาว ลิ้ม เล็งเลิศ...***เตรียมมอบเหรียญ Paul Harris ให้กับผู้บริจาค ประธานมูลนิธิ อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ชวด.. ฟ้าฝนไม่เป็นใจ ไม่สามารถแจกได้มิตรโรแทเรียนหนีฝนอลหม่าน ขอเก็บไว้ไปแจกในการสัมมนามูลนิธิที่แม่จันค่ะ...***หลังเดินทางกลับ GSE รายงานตัว กับประธาน อน.มนตรี วงศ์เกษม MPHF ทุกคน เว้นแต่ GSE ของสโมสรเวียงโกศัย หาย เงียบ กริ๊งกร๊างหาประธานหน่อยนะคะ...***สถาปนาคณะกรรมการ 5 สโมสรในจังหวัด น่าน เสาร์ที่5 มิย.ณ โรงแรมเทวราช ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญ ดารารัศมี ทำ�หน้าที่ประธานในพิธี ติดตามด้วย 3 สโมสรในจังหวัดแพร่ อาทิตย์ที่ 6 มิย....***เสาร์ที่ 12 มิย.สโมสรพะเยา เชียงคำ� ที่ริมสระว่ายน้ำ�โรงเรียนปิยมิตรวิทยา อากาศร้อนจัด หลายท่านบอกเหงื่อหยดติ๊ง ๆ อาทิตย์ที่ 13 มิย. 8 สโมสรในจังหวัด เชียงราย อน.วาณิช โยธาวุธ อน.พงษ์เทพ อินทรานุปกรณ์ รับหน้าที่พิธีกร บอกอาหาร อร่อยที่สุดของจังหวัดเชียงราย จริงไหมเอ่ย!...***นยล.กนิษฐา เหรียญทอง พร้อมบริจาค 1,000 เหรียญในพิธีสถาปนาให้แก่ ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ผิดเวลาไปหน่อย ยกยอดไปบริจาคในการสัมมนามูลนิธิที่แม่จัน โครงการห้องอาหารสำ�หรับโรงเรียน ภาค สนับสนุน 1 โครงการ...***หนูจะโอนเงินบริจาค 2,000 เหรียญให้เลยให้หนูโอนไปที่ไหน นยล.สุพิชณาย์ อริยาภัทรวณิช ยัง ๆ ..ให้ไปมอบที่แม่จัน วันที่ 24 กค. รับไป 2 โครงการ สำ�หรับโรงเรียน 2 แห่ง...***24 กค.53 สัมมนามูลนิธิโรตารีภาค 3360 ณ ม.ราชภัฎ เชียงราย สโมสรแม่จันเป็นเจ้าภาพ โปรดอย่าพลาดโอกาสสำ�คัญสำ�หรับการทำ�โครงการ บำ�เพ็ญประโยชน์ Bigger Better Bolder…***........เอื้องผึ้ง...........
48 49
มิถุนายน ๒๕๕๓
District Governor’s Letter
ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓
June is the final month of the Rotary International fiscal year as well as my period as a District Governor. June is a month that most Rotary clubs start the 2010 - 2011 club presidents and committees’ installation ceremony. Such ceremony has long been implemented, has proved to foster our friendship, and has become a culture of our organization. As Rotarians, we will altogether travel to different provinces, districts, or overseas, for instance district 3350, 3330, and 3340 to attend such ceremonies. In addition to encouraging and congratulating the new club presidents and committees, we gain opportunity to travel and relax in different environments. Rotary International Convention 2009-2010 at Montreal, Canada has passed. Our District has organized a tour led by the DGE.Chamnan Chanruang, the DGN. Anurak Napawan, and me. There were 23 Rotarians in our Journey to Canada from June 17-25, 2010: 13 Rotarians from D.3360, 9 Rotarians from D.3350, and 1 Rotarian from D.3340. Our group members were satisfied with the grandeur of the opening and the closing ceremony, gained extensive knowledge of Rotary International, enjoyed shopping and socializing in the House of Friendship, had exotic time in Toronto and Quebec, tasted oversea Cantonese food as well as French food, and were on board Maid of the Mist to closely watch Niagara. The trip brought us good memories and tightened our friendship between District 3340, 3350, and 3360; the trip was so wonderful that its memory would be long lasting. Next year, Rotary International Convention 2011 will be held at the city of New Orleans, Louisiana, USA on May 21-25, 2011. I hope that more Rotarians from District 3360 will participate in this event and help promoting the Rotary International Convention 2012 which will be held in Thailand the time of which is of the DG.Chamnan Chanruang. Good news is the achievement in the establishment of 2 clubs including the Rotary club of Chalawan in the province of Phichit with 20 chartered members; was chartered on June 10, 2010 and the Rotary Club of Khek River in the province of Phisanuloke with 27 chartered members was chartered on June 18, 2010. The sponsoring club of the Rotary club of Chalawan is the Rotary Club of Sri Songkwae, the past club president and the district governor representative of which is Sermpong Wongsamanjit. The sponsoring club of the Rotary club of Khek River is the Rotary Club of Phisanuloke, led by the AG.Supote Jinantuya. The establishment of two clubs greatly enhanced the number of Rotarians in the past months of the period 2009-2010.It is very pity that there is another new club which has started in my time but couldn’t end up yet and hopefully be chartered in the period of2010-2011 is the Rotary club of Chiang Mai Sansai in the province of Chiang Mai, The sponsoring club is the Rotary club of Chiang Mai Thin Thai Nagm, the Chartered President Prapin Karchai is the district governor representative .I am grateful for the determination as well as the contribution of every Rotarians and all sponsoring clubs and hope that all Rotarians will encourage and support the new Rotarians of the 3 emerging clubs. My official time as a district governor will end on June 30th, 2010. The time has passed quickly; however, I am glad that I have seen the overall improvement as well as the goal accomplishment of the District 3360. We are no longer inferior to any other Districts. I am thankful for the contribution, commitment, as well as encouragement from all Rotarians to push our district 3360 ahead. 2009 and 2010 have been the best years of my life. Yours in Rotary Waewdao Limlenglert District Governor D.3360 RI 2009 - 2010
มิถุนายน ๒๕๕๓
51 50
DG’s Activities
(ขวาบนสุด) วันเปิดการประชุม และรับป้ายชื่อ ของงาน 2010 RI CONVENTION CANADA วันอาทิตย์ที่ 20 มิถุนายน 2553 กรุงมอนเทรียล ประเทศแคนาดา (กลางขวา) คณะโรแทเรียนไทยในงาน 2010 RI CONVENTION CANADA June 20,2010 (¡ÅÒ§ซ้าย) “Presidential Citation for 2009-10 District Governor“ เกียรติบัตรเกียรติยศ แห่งความสำ�เร็จ ในการบริหารงานภาค 3360 โรตารีสากล
50 51
ปี 2009-10 จาก ท่านประธานโรตารีสากล (กลางบน) ภาพกับท่านผู้แทนประธาน โรตารีสากล งานประชุมใหญ่ภาค 3360 ปี 2552-53 ท่านPDG.KOU WEN-HSU จันทร์ ที่ 21 มิถุนายน 2553 Asian Breakfast , The Westin Hotel, Montreal Canada (ล่าง) คณะร่วมทาง ภาค 3360, 3350,และ 3340 ที่ น้ำ�ตกไนแองการ่า วันศุกร์ที่ 18 มิถุนายน 2553 ประเทศแคนาดา
มิถุนายน ๒๕๕๓
แทนคำ�นับพัน
Cirque du Soleil
“Circus of the Sun” ละครสัตว์พระอาทิตย์ มอนตรีออล แคนาดา
ละครสัตว์แนวใหม่ (Cirque Nouveau / New Circus) ของคณะละครสัตว์ พระอาทิตย์ มีทตี่ งั้ สำ�นักงานใหญ่อยูท่ ี่ เมืองมอนตรีออล ประเทศแคนาดา เป็นอุตสาหกรรม บันเทิง ที่เกิดจากการสร้างสรรค์อย่างแท้จริงและโด่งดังไปทั่วโลก เป็นความคิดของ คนสองคนที่เริ่มต้นจากการเป็นนักแสดงข้างถนน ชื่อว่า กาย ลาลิแบร์เต้ (Guy Laliberté) และ ดาเนียล โกธิเย (Daniel Gauthier) ชาวเมือง ควีเบค ละครสัตว์แนวใหม่ เป็นการแสดงกายกรรมที่ไม่มีสัตว์มาเกี่ยวข้อง แต่ได้นำ�รูป แบบของการแสดงทุกประเภทมารวมกัน อาทิเช่น อุปรากร บัลเลต์ เพลงร็อค เพลงพืน้ บ้าน และการแสดงจากตัวตลกฯ โดยมี ฉาก เนื้อเรื่อง ที่แบ่งเป็นองก์เช่นเดียวกับอุปรากร มีวง ดนตรีและนักร้องที่แสดงสดเหมือน คอนเสิร์ท นอกจากนั้นการแต่งกายที่เต็มไปด้วยสีสัน และภาษาที่ใช้ทั้งในการแสดง และ บทเพลง เป็นภาษาที่จินตนาการขึ้นมาเอง ประสบความสำ�เร็จอย่างยิ่ง จนสามารถทำ�เป็นเครือข่ายการแสดงไปตามเมือง ใหญ่ๆ ทั่วโลก เช่น ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา, ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ ที่ใกล้ที่สุด ที่ ดิ เวเนเทียน ประเทศ มาเก๊า นี่เอง
มิถุนายน ๒๕๕๓