rotary Thailand
นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 28 ฉบับที่ 133 มีนาคม-เมษายน 2554 March - April 2011
โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g
โรตารี คืออะไร ?
วัตถุประสงค์ของโรตารี
โรตารี คือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจาก ทั่วโลก ซึ่งบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุกวิชาชีพพร้อมทั้งช่วยสร้าง ไมตรีจิต และสันติสุขในโลก
The Object of Rotary The object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster :
“Rotary is an organization of business and professional persons united worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build good will and peace in the world”
FIRST. The development of acquintance as an opportunity for service; SECOND. High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD. The application of the iedal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;
บททดสอบสี่แนวทาง The Four-Way Test Of the things we think, say or do
FOURTH. The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม
หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญ
1) Is it the TRUTH?
ประโยชน์
2) Is it FAIR to all concerned?
สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับ คุณค่าในการประกอบอาชีพทีย่ งั คุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียน ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
3) Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS? 4) Will it be BENEFICIAL to all concerned?
สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน
“ไม่ว่าสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1. เป็นจริงหรือไม่ 2. เป็นธรรมไหมต่อทุกสิ่ง 3. จะสร้างเสริมไมตรีจิตและ มิตรภาพหรือไม่ 4. เป็นประโยชน์ไหมแก่ทุกฝ่าย”
สี่ การเพิม่ พูนความเข้าใจ ไมตรีจติ และสันติสขุ ระหว่างชาติ ด้วยมิตร
At a Glance Rotary Members: 1,213,608 Clubs: 33,995
สถิติ ถึง 31 ตุลาคม
สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการ บ�ำเพ็ญประโยชน์อย่างเดียวกัน
* ถึง 30 กันยายน
Rotaract Members: Interact Members: 192,809* 295,895* Clubs: 8,383* Clubs: 12,865*
Rotary Community Corps Members: 160,425* Corps: 6,975*
สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท มีนาคม ๒๕๕๔
ท�ำให้เรียบง่าย Keep it simple เมื่อผมเริ่มเข้ามาอยู่ในโรตารีในปี 2504 ผมมักได้ยินบรรดาผู้น�ำโรตารีพูดบ่อยๆ ว่า “ท�ำโรตารีให้เรียบง่าย” ซึ่งความจริงนั้น ประโยคนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของคติพจน์โรตารี ประจ�ำปี 2499-2500 อย่างไรก็ตาม เมื่อโรตารีมีการเจริญเติบโตขึ้นมาก ทั้งในจ�ำนวนสมาชิกและจ�ำนวน โปรแกรมต่างๆ ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีมานี้ การที่จะท�ำให้เรียบง่ายเช่นที่กล่าวมานั้น กลาย เป็นเรื่องที่ท�ำได้ยากล�ำบากขึ้น แผนกลยุทธ์โรตารีที่ปรับปรุงใหม่ส�ำหรับปีน�ำร่อง 2553-2556 เป็นแผนแบบที่สดใส เรียบง่าย ในการท�ำให้ โรตารีมีชีวิตชีวาและมีความมั่นคงในอนาคตต่อไป สิ่งที่ส�ำคัญมาก 3 ล�ำดับแรกในแผนนี้ มีความชัดเจนและสั้นกระชับ เรียกร้องให้เรา (1) สนับสนุนและสร้างความ เข้มแข็งแก่สโมสรของเรา (2) มุ่งเน้นขยายการบ�ำเพ็ญประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์ให้มากขึ้น และ (3) เสริมความตระหนักในภาพลักษณ์สาธารณะให้มากยิ่งขึ้น นี่คือแผนกลยุทธ์ที่แท้จริง เพราะแต่ละเรื่องที่เราเน้นให้ความส�ำคัญทั้ง 3 ข้อนั้น มีเป้า หมาย ทีก่ ำ� หนดและวัดผลได้ทงั้ หมด และในทางกลับกัน ยังมีใบกรอกคะแนนส�ำหรับติดตามผล คืบหน้าส�ำหรับทุกเป้าหมายอีกด้วย เราก�ำลังจัดสรรงบประมาณของโรตารีสากลให้เหมาะสม กับ แต่ละเรือ่ งทีเ่ ราให้ความส�ำคัญดังกล่าว และจัดท�ำให้สมดุลกับกิจกรรมทุกชนิดของโรตารี แม้แต่ การจัดสรรวาระในการประชุมใหญ่ปี 2554 ทีเ่ มืองนิวออร์ลนี ส์ ปีนี้ เรายังต้องจัดท�ำให้สมดุลกับ หัวข้อส�ำคัญทัง้ 3 เรือ่ ง ดังนัน้ แผนกลยุทธ์ใหม่นกี้ บั หัวข้อเรือ่ งส�ำคัญทีเ่ รียบง่ายดังทีก่ ล่าวมาแล้ว นั้น เราจะไม่เก็บไว้บนหิ้งให้ฝุ่นจับอย่างแน่นอน! โปรดสังเกตความสัมพันธ์กนั ระหว่างหัวข้อส�ำคัญทัง้ 3 ประการนีด้ ว้ ย พวกเราได้ทราบ กันมาหลายปีแล้วว่า โรตารีนั้นไม่สามารถด�ำเนินโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่เป็นต้นแบบที่ดีได้ หากไม่มสี โมสรทีเ่ ข้มแข็ง และสโมสรก็จะไม่สามารถรักษา/คัดกรองสมาชิกทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงเพิม่ ขึน้ ได้ หากไม่มีโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่มีคุณค่าส�ำคัญ ในเรื่องส�ำคัญข้อที่สามนั้น เราทราบกัน ดีแล้วว่า ในโลกยุคปัจจุบนั นี้ โรตารีจ�ำเป็นต้องได้รบั การสนับสนุนจากชุมชนของเรา จากองค์กร หุน้ ส่วน และในบางครัง้ จากภาครัฐบาลในการท�ำโครงการขนาดใหญ่ ซึง่ ในทางกลับกัน จะท�ำให้ สโมสรเข้มแข็งมั่นคงยิ่งขึ้นด้วย ปัจจุบันนี้ โครงการโปลิโอพลัส ท�ำให้โรตารีได้อยู่บนเวทีโลก แต่กระนั้น เรายังคงเป็น องค์กรระดับรากหญ้าและพลังของเรายังต้องขึ้นอยู่กับสุขภาพของเหล่าสโมสรพวกเราด้วย สิ่ง ที่ส�ำคัญเบื้องต้น 3 ข้อในแผนกลยุทธ์ เตือนให้เราส�ำนึกว่า ความส�ำเร็จของโรตารีนั้น ขึ้นอยู่กับ สูตรที่เรียบง่ายของการมีสโมสรที่เข้มแข็งมั่นคง อยู่ที่โครงการที่มีคุณค่าส�ำคัญ และอยู่ที่ภาพ ลักษณ์สาธารณะที่น่าชื่นชมด้วย ขอขอบคุณท่านพอล แฮริสและบรรดาผู้บุกเบิกโรตารี นี่คือ สูตรที่เรียบง่ายที่ ให้ผลส�ำเร็จยอดเยี่ยม และท�ำให้โลกน่าอยู่ยิ่งขึ้น! เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2553-54 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President
สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท เมษายน ๒๕๕๔
บางเรื่องเก่า บางเรื่องใหม่ Something old, something new โรแทเรียนส่วนมากจะทราบกันมานานหลายทศวรรษแล้วว่า โรตารีได้ด�ำเนินงานมา โดยใช้บริการ 4 แนวทาง กล่าวคือ บริการสโมสร บริการด้านอาชีพ บริการชุมชนและบริการ ระหว่างประเทศ แต่มีเรื่องไม่ปกติเกิดขึ้นในการประชุมสภานิติบัญญัติโรตารี ปี 2553 เมื่อข้อ ญัตติให้เพิ่มบริการที่ 5 ได้รับการอนุมัติจากสภานิติบัญญัติหลังจากถูกคัดค้านตกไปในการ ประชุมครั้งก่อน บริการใหม่นคี้ อื บริการชนรุน่ ใหม่ ซึง่ ยังคงมีปญ ั หาสับสนอยูบ่ า้ งในผลการเปลีย่ นแปลง นี้ ผู้เสนอญัตตินี้มิได้ยื่นเอกสารการสนับสนุนญัตติข้อนี้ ดังนั้น เราจึงไม่มีเอกสารประกอบที่มี เหตุผลอันสมควรของผูเ้ สนอญัตตินไี้ ว้ อย่างไรก็ตาม ผมคิดว่าวัตถุประสงค์และผลทีเ่ กิดขึน้ นี้ ก็ เพือ่ ให้มงุ่ เน้นความสนใจในโปรแกรมต่างๆ ของโรตารีสำ� หรับเยาวชนและผูท้ เี่ ป็นวัยรุน่ ให้มาก ยิ่งขึ้นนั่นเอง โรตารีมโี ปรแกรมอินเตอร์แรกต์ ไรล่า โรตาแรกต์และเยาวชนแลกเปลีย่ นโรตารี ซึง่ เป็น โปรแกรมทีด่ ที สี่ ดุ ในโลกส�ำหรับผูเ้ ยาว์ อย่างไรก็ดี ในระดับสโมสรและภาคได้แยกโปรแกรมดัง กล่าวไว้ในบริการชุมชนและในบริการระหว่างประเทศ ซึ่งท�ำให้เป็นเรื่องยากขึ้นในการร่วมกัน ท�ำงาน การเปลีย่ นมาเป็นบริการที่ 5 ก็เพือ่ การท�ำงานโดยกรรมการหรือผูป้ ระสานงานเพียงหนึง่ คน ในแต่ละสโมสรและในแต่ละภาค เพื่อควบคุมดูแลและส่งเสริมสนับสนุนโปรแกรมส�ำหรับ ผู้เยาว์ของโรตารี การท�ำงานกับเยาวชนและวัยรุ่นนั้นมีข้อที่ดีมากอยู่สองประการ ข้อแรกคือ ผู้ร่วม โครงการได้รับผลดีในการรับรู้คุณค่าหลักของโรตารี อันได้แก่ การมีมิตรภาพ มีการให้บริการ มีจริยธรรมสูง มีอาชีพที่หลากหลายและมีการเป็นผู้น�ำ ข้อที่สอง คือ มีความประทับใจในด้าน บวกกับโรตารี ทีส่ ง่ ผลให้ผรู้ ว่ มโครงการ จะได้เข้ามีสว่ นร่วมกับสโมสรโรตารี ในชีวติ ของตนภาย หลัง เราจ�ำเป็นต้องท�ำงานให้ดียิ่งขึ้นในการมุ่งหาสมาชิกใหม่ให้แก่โรตารี และเราก�ำลังท�ำตาม แผนงานในการบันทึกรายชือ่ และทีอ่ ยู(่ อีเมล)ของผูร้ ว่ มโครงการไว้ เพือ่ ติดต่อกับพวกเขาต่อไป อีกหลังออกจากโปรแกรมเยาวชนและวัยรุ่นไปแล้ว ในความเป็นจริงนั้น สภานิติบัญญัติปี 2553 มิได้ก�ำหนดโปรแกรมใหม่ขึ้นเลย เพียง แต่เพิม่ บริการทีห่ า้ ขึน้ มาเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับช่วยให้เราได้ทำ� งานโปรแกรมเยาวชน และวัยรุ่นให้ยิ่งใหญ่ขึ้น ดียิ่งขึ้นและกล้ามากขึ้น ในอนาคตต่อๆ ไป - และมุ่งหาสมาชิกใหม่ให้ โรตารีได้มากยิ่งขึ้น นี่คือตัวอย่างที่สมบูรณ์แบบในสถานการณ์ที่เราต้องชนะอย่างเดียว!
02
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2553-54 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President
สารประธานทรัสตีฯ
คาร์ล วิลเฮล์ม สเต็นแฮมเมอร์ มีนาคม ๒๕๕๔
ส่งเสริมการศึกษาโดยวิสัยทัศน์อนาคต Promoting education through Future Vision โปรแกรมการศึกษา เป็นเรื่องแรกที่มูลนิธิโรตารีให้การสนับสนุนมานานก่อนจะมี โปรแกรมเพือ่ เพือ่ นมนุษย์เพิม่ ขึน้ มาในยุคปลายทศวรรษที่ 60 และ 70 การศึกษามีความส�ำคัญ ต่อความส�ำเร็จในชีวิต และเป็นสิ่งที่โรตารีสามารถให้ความช่วยเหลือได้ แผนวิสัยทัศน์อนาคต ให้ทางเลือกโดยอิสระอย่างมากมาย โดยเฉพาะเรื่องทุนการ ศึกษา ผมขอเรียนให้ทราบว่า แผนวิสัยทัศน์อนาคตนี้ มีการปรับปรุงโปรแกรมทุนการศึกษา ในปัจจุบันอย่างมากมายทีเดียว แผนวิสัยทัศน์อนาคตสามารถให้นักศึกษาได้รับทุนการศึกษา ไม่ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ ทุกระดับ ทุกระยะเวลา ไม่ว่าจะเป็นระดับปริญญาหรือ ประกาศนียบัตร หรือแม้แต่การศึกษาระยะสั้นก็ตาม กรอบเวลาปัจจุบันของทุนการศึกษาแบบทูตสันถวไมตรีให้เวลานานถึง 18 เดือน แต่ ทุนการศึกษาใหม่ภายใต้วสิ ยั ทัศน์อนาคต เสนอให้ขอ้ ยืดหยุน่ มากทีส่ ดุ และลดกรอบเวลาให้สนั้ ลง แต่ภาคก็สามารถใช้กรอบเวลาเดิม 18 เดือนต่อไปได้ หากภาคต้องการ แต่ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ กรอบเวลานั้นอีกต่อไปแล้ว ภายใต้ทุนสนับสนุนระดับโลก สโมสร/ภาคอาจขอใช้เงินสดหรือทุนจัดสรรของภาค (DDF) ในการขอรับทุนสมทบจากกองทุนโลก ส�ำหรับนักศึกษาไปศึกษาต่างประเทศในหลักสูตร เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ใน 6 เรือ่ งทีโ่ รตารีมงุ่ เน้นเป็นหัวข้อหลัก ทัง้ นี้ ภาคอาจเลือกมอบทุนการศึกษา ให้เพียง 1 ปี หรือให้ทนุ จนจบหลักสูตรปริญญา 4 ปีแก่นกั ศึกษา ขณะทีท่ นุ สนับสนุนระดับโลก มีงบประมาณขั้นต�่ำ 30,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ แต่ภาคอาจขอทุนจ�ำนวนที่สูงกว่านั้น เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้ที่มีอัจฉริยะภาพ สามารถศึกษาจนจบหลักสูตรในระดับปริญญาที่ต้องการ ซึ่งอาจ ท�ำให้โลกมีการเปลี่ยนแปลงได้ ดังนั้น ขอให้พวกเราช่วยส่งเสริมด้านการศึกษาต่อไป เพื่อให้ ชุมชนสร้างสรรค์ สาน สัมพันธ์โลก ด้วยบริการเหนือตน/ คาร์ล วิลเฮล์ม สเต็นแฮมเมอร์ ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี
สารประธานทรัสตีฯ
คาร์ล วิลเฮล์ม สเต็นแฮมเมอร์ เมษายน ๒๕๕๔
ความส�ำคัญของนิตยสารของเรา The importance of our magazines เมื่อไม่นานมานี้เอง เราใช้โทรเลขส�ำหรับการติดต่อระหว่างประเทศ และโทรเลขถูก แทนที่โดยเครื่องเทเล็กส์ ซึ่งต่อมาก็ถูกแทนที่โดยเครื่องโทรสาร (แฟกซ์) ปัจจุบันนี้มีการติดต่อ กันทุกวันทางอินเตอร์เน็ต ถึงกระนั้นหนังสือพิมพ์ หนังสือและนิตยสารสิ่งพิมพ์ ก็ยังหาสิ่งที่มา แทนที่ได้ยากในปัจจุบันนี้ นิตยสาร The Rotarian เป็นนิตยสารทางการของเราและเป็นแหล่งข่าวที่ดีด้วย เรา สามารถทราบ มติคณะกรรมการบริหาร การประชุมหรืองานที่จะมีขึ้น การเปลี่ยนแปลงใน ระบบบริหารและโครงการต่างๆจากทัว่ โลก คูม่ อื ปฏิบตั กิ ารของโรตารีก�ำหนดวัตถุประสงค์ของ นิตยสารทางการนี้ว่า จะต้องท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลางเพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการบริหารในการ ด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโรตารีและเป้าหมายของ โรตารีสากล นอกจากนิตยสารทางการของเราแล้ว ยังมีเครือข่ายนิตยสารในส่วนภูมิภาคโรตารี ของเราอีก 30 ฉบับ เช่น Rotary Down Under (โรตารีออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์และหมู่เกาะ แปซิฟิกใต้) Rotary Norden (โรตารีนอร์เวย์และสวีเดน) El Rotario de Chile (โรตารีชิลี) The Rotary-No-Tomo (โรตารีญี่ปุ่น) และโรตารีประเทศไทย ซึ่งเป็นนิตยสารส่วนภูมิภาค โรตารี ทีม่ สี าระส�ำคัญเช่นเดียวกับนิตยสารทางการของเรา โดยพิมพ์เพิม่ เติมจากเรือ่ งของแต่ละ ประเทศ เพื่อผู้อ่านในประเทศ นี่คือแสงแห่งการเป็นสากลขององค์กรเราที่แท้จริง ทุกวันนี้ ธุรกิจการพิมพ์ในโลกได้รับผลกระทบจากโลกดิจิตัลที่พัฒนาไปโดยไม่อาจ หยุดยั้งได้ เรามีนัดประชุมมากขึ้นๆ ทุกวัน แต่ไม่อาจเทียบได้กับการประชุมที่เราได้เห็นตัวตน กันอย่างแท้จริง และในท�ำนองเดียวกัน ผมยังหวังว่าสิง่ พิมพ์นจี้ ะยังคงมีอยูต่ อ่ ไป และการติดต่อ ในโลกดิจิตัลจะเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมให้ดียิ่งขึ้นต่อไป เวลาทีเ่ ราถือหนังสือหรือมีนติ ยสารสักเล่มอยูใ่ นมือ เราย่อมจะมีความรูส้ กึ ทีด่ เี ป็นพิเศษ ดังนั้น ผมจึงหวังว่า นิตยสารโรตารีจะไม่มีวันสูญหายไปในโลกไซเบอร์อย่างแน่นอน เราจ�ำเป็น ต้องอ่านสิ่งตีพิมพ์ในทุกวันนี้ และในอนาคตต่อไป เช่นเดียวกับในอดีตที่ผ่านไปด้วย
04
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
คาร์ล วิลเฮล์ม สเต็นแฮมเมอร์ ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี
สุนทรพจน์ ประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท
ในการอบรมผู้ว่าการภาครับเลือกที่ ซานดิ เอโก สหรัฐอเมริกา ในเดือน มกราคม 2554
แปลโดย อผภ.สม อินทร์พยุง จาก Rotary International / Courtesy : e Flash_Rotary)
สานสัมพันธ์โลกด้วยใจห่วงใยเพื่อนมนุษย์ (Bridging Continents to Embrace Humanity) แม้เวลาหลายปีจะผ่านไปแล้ว แต่ข้าพเจ้าก็ยังจ�ำประสบการณ์ตอนเป็นผู้ว่าการภาครับ เลือก ซึ่งได้รับการอบรมในเมืองโบคา ราตัน (Boca Raton) รัฐฟลอริดา ในปี 1975 (2518) ได้ ดี การเข้าอบรมในครั้งนั้น เป็นการเริ่มโฉมหน้าใหม่ที่ท้าทายความสามารถ (new adventure in service) ของข้าพเจ้า และข้าพเจ้าก็ได้รับเอาค�ำแนะน�ำต่างๆ ของบรรดาผู้ให้การอบรมมา พิจารณาอย่างจริงจัง ข้าพเจ้ายังได้พดู กับเพือ่ นๆ ผูเ้ ข้ารับการอบรมเกีย่ วกับความหมายในคติพจน์ ของประธานโรตารีสากลในปีของข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าเข้าใจว่าท่านทัง้ หลายก็คงจะพูดกับเพือ่ นๆ ของท่านเกี่ยวกับคติพจน์ “ใฝ่ใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์” (Reach Within to Embrace Humanity) ของประธานโรตารีสากลรับเลือก กัลยัน บาเนอร์จี ด้วย คติพจน์นี้เป็นคติพจน์ในทางปรัชญา ซึ่ง สมควรได้รับการฉายแสงออกมาและศึกษาหาคุณค่าในวงการของเรา คติพจน์ของท่านกัลยันเป็นส่วนหนึ่งของโฉมหน้าใหม่ที่ท้าทายความสามารถของท่าน ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบคุณท่านกัลยันที่ให้โอกาสข้าพเจ้าได้พูดถึงความเกี่ยวพันระหว่างคติพจน์ของ ท่านกับคติพจน์ของข้าพเจ้า กล่าวโดยเฉพาะเจาะจง คือท่านได้ขอให้ข้าพเจ้าเอาส่วนหนึ่งของ คติพจน์ที่ว่า “ห่วงใยเพื่อนมนุษย์” (embracing humanity) เชื่อมต่อเข้ากับส่วนที่สองของ คติพจน์ของข้าพเจ้า คือ “สานสัมพันธ์โลก” (bridging continents) ซึ่งก็ง่ายมากที่จะเอามา เชือ่ มต่อกัน พวกเราต่างรูก้ นั ดีอยูแ่ ล้วว่าโรตารีเป็นองค์กรดีเด่นทีส่ ดุ และเราท�ำเรือ่ งต่างๆ ส�ำเร็จมา แล้วด้วยดี ลักษณะของงานทีเ่ ราท�ำได้ยอดเยีย่ มคืองานบริการระหว่างประเทศ งานในบริการนีค้ อื การสานสัมพันธ์โลกด้วยใจห่วงใยเพื่อนมนุษย์ (We bridge continents in order to embrace humanity) เมือ่ ไม่นานมานี้ นักศึกษาจ�ำนวนหนึง่ ของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิรน์ (Northwestern University) ได้ใช้โรตารีเป็นกรณีศกึ ษา (a case study) พวกเขาสรุปว่าโรตารีมคี วามสามารถท�ำให้ ผู้คนกลายเป็นมิตรที่ดียิ่งขึ้น เป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่ดียิ่งขึ้นและเป็นประชากรของโลกที่ดียิ่งขึ้น (better friends, better professionals and better citizens of the world) ข้าพเจ้าชอบ ข้อความดังกล่าวนี้ เพราะว่าจุดประสงค์ประการหนึง่ ของการประชุมอบรมในครัง้ นีก้ ค็ อื ส่งท่านทัง้ หลายให้เข้าสูแ่ วดวงระหว่างประเทศของโรตารี ซึง่ จะยังผลให้ทา่ นทัง้ หลายกลายเป็นประชากรที่ ดียิ่งขึ้นของโลก โดยแท้จริงแล้ว ข้าพเจ้าคิดว่า ถ้าท่านทั้งหลายไม่ได้เป็นประชากรที่ดียิ่งขึ้นของ โลกแล้ว ก็เป็นการยากที่ท่านทั้งหลายจะมีความสุขกับการประชุมอบรมพิเศษสุดเป็นเวลาหนึ่ง สัปดาห์ในครัง้ นีส้ ำ� หรับทุกท่านซึง่ ล้วนเป็นโรแทเรียนดีเด่นจากทุกมุมโลก โดยสรุปคือ เพราะมนต์ เสน่ห์ของโรตารี (Indeed, it is the magic of Rotary !) จึงมีท่านทั้งหลายมาประชุม ณ ที่นี้
ค�ำถามต่อไปคือ เราจะด�ำเนินการอย่างไร เพื่อแสดงความห่วงใยเพื่อนมนุษย์และเพื่อ
สานสัมพันธ์โลก ข่าวดีในเรื่องนี้คือ โรตารีของเราให้แนวทางในการเลือกด�ำเนินการแก่สโมสร และแก่โรแทเรียนไว้หลายประการในบริการระหว่างประเทศ ข้าพเจ้าจะขอน�ำมาพูดทบทวน กับท่านเพียงบางประการ, ความเข้าใจดี สันถวไมตรี และสันติภาพระหว่างประเทศเป็นราก เง่าของโรตารี โครงการสานสัมพันธ์โลกที่ข้าพเจ้าชอบมากโครงการหนึ่งคือ โครงการเยาวชนแลก เปลีย่ น (Rotary Youth Exchange) ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับค�ำกล่าวของท่านคาร์ล-วิลเฮล์ม สเตน แฮมเมอร์ อดีตประธานโรตารีสากลที่กล่าวว่า ถ้าเด็กอายุ 17 ปีทั่วโลกทุกคนสามารถไปอยู่กับ ครอบครัวของโรแทเรียนในประเทศอื่นเป็นเวลาหนึ่งปี ก็คงจะไม่มีการท�ำสงครามกันแน่นอน แม้ว่าเราไม่สามารถเข้าไปอยู่ใกล้ชิดกับเด็กหนุ่มสาวทุกคนในโลก แต่ในทุกปี โรตารีของเราก็ สามารถจัดให้เด็กทีม่ คี ณ ุ ภาพดีเป็นนักเรียนแลกเปลีย่ นได้มากกว่า 8,000 คน ซึง่ จ�ำนวนนีม้ สี ว่ น สร้างความเข้าใจดีระหว่างประเทศได้อย่างดียงิ่ ภาคบางภาคของโรตารีมโี ครงการนักเรียนแลก เปลีย่ นทีเ่ ข้มแข็งมาก ข้าพเจ้าขอยกย่องท่านผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกท่าน ข้าพเจ้าได้พบบ่อยครัง้ ว่า ผู้ท�ำงานเกี่ยวกับโครงการนี้บางท่าน เป็นโรแทเรียนที่ท�ำงานหนักมากที่สุดในวงการโรตารีของ เรา สิ่งที่ข้าพเจ้าห่วงใยเกี่ยวกับโครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนประการหนึ่งคือ โครงการนี้ มักเกีย่ วข้องกับเด็ก ซึง่ บิดา-มารดาของเขาสามารถออกเงินค่าใช้จา่ ยในการเดินทางของเด็กได้ ในขณะนี้ ภาคต่างๆ จ�ำนวนมากก�ำลังจัดให้มที นุ ส�ำหรับนักเรียนแลกเปลีย่ นจากประเทศก�ำลัง พัฒนา ซึ่งบิดา-มารดาไม่มีเงินเป็นค่าพาหนะเดินทาง ข้าพเจ้าขอแนะน�ำให้ภาคของท่านทั้ง หลายพิจารณามอบทุนดังกล่าว เมื่อถึงโอกาสที่บรรดานักเรียนแลกเปลี่ยนทั้งปวงที่มีคุณภาพ ดีได้มีโอกาสร่วมโครงการและร่วมในการส่งเสริมสันติให้เกิดขึ้นในโลก โครงการเยาวชนแลก เปลี่ยนของเราก็จะจัดเฉลิมฉลองโอกาสดังกล่าว ประโยชน์ส�ำคัญประการหนึ่งของโครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนของโรตารี คือความ สัมพันธ์สว่ นบุคคลและมิตรภาพทีย่ งั่ ยืน ซึง่ เกิดจากนักเรียนแลกเปลีย่ นในระหว่างหนึง่ ปีของการ อยู่ต่างประเทศ มีสิ่งบ่งชี้ชัดว่า วิธีที่ดีที่สุดส�ำหรับพวกเราชาวโรแทเรียนในการจะสานสัมพันธ์ โลกด้วยใจห่วงใยเพือ่ นมนุษย์กค็ อื การหาโอกาสเดินทางไปต่างประเทศ เรามีสโมสรโรตารีอยูถ่ งึ 34,000 สโมสร ก�ำลังรอต้อนรับโรแทเรียนผูส้ นใจในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ระหว่างประเทศ ด้วย เหตุผลดังกล่าวมานี้ ข้าพเจ้าหวังว่า ท่านทั้งหลายคงจะกระตุ้นเตือนให้โรแทเรียนในภาคของ ท่านร่วมงานวันหยอดวัคซีนโปลิโอ (NIDs) ซึ่งยังจะต้องด�ำเนินการต่อไปจนกว่าจะขจัดโปลิโอ ได้ส�ำเร็จ การเดินทางไม่เป็นประโยชน์เฉพาะการช่วยขจัดโปลิโอเท่านั้น แต่ยังอาจจะเป็นการ สร้างประสบการณ์สำ� คัญของชีวติ ด้วย การเดินทางเช่นนีเ้ ป็นผลดีแก่โรแทเรียนทุกท่าน และถ้า เราช่วยสนับสนุนโรแทเรียนหนุม่ -สาวให้รว่ มเดินทางไปด้วย เราก็จะได้รบั การสนับสนุนจากคน หนุ่ม-สาวเหล่านั้นอย่างดียิ่งเป็นเวลาที่จะตามมาอีกหลายปี ในยุคของความก้าวหน้าทางอีเล็คโทรนิคขณะนี้ท�ำให้สโมสรและภาคต่างๆ ง่ายขึ้น อย่างมากที่จะหาผู้ร่วมขอทุนสมทบ (Matching Grants)และขอทุนระหว่างประเทศ (Global Grants) ของมูลนิธโิ รตารี และขณะนีโ้ ครงการหลายโครงการของมูลนิธกิ ก็ ำ� ลังขยายใหญ่ขนึ้ ซึง่ ก็เป็นข่าวทีน่ า่ ยินดี แต่ในขณะเดียวกันพวกเราก็ไม่ประสงค์จะให้ลมื คุณค่าของมิตรภาพระหว่าง บุคคล ซึง่ มีขนึ้ ในโครงการต่างๆ ในบริการระหว่างประเทศ ข้าพเจ้าคิดว่าคุณค่าของมิตรภาพดัง กล่าวมานี้ เป็นสิง่ ส�ำคัญส่วนหนึง่ ซึง่ รวมอยูใ่ นคติพจน์ของท่านกัลยัน เพราะค�ำจ�ำกัดความของ ค�ำว่า “embrace” คือการกอด (hug) หรือทนุถนอม (cherich) เราไม่สามารถกอดหรือทนุ ถนอมเพือ่ นมนุษย์ได้อย่างสนิทใจถ้าเราไม่มกี ารติดต่อกันเป็นส่วนบุคคล และพวกเราก็ได้ทราบ มาว่าโครงการที่ดีเด่นที่สุดของมูลนิธิโรตารีหลายโครงการมักจะพัฒนาจากการที่ภาคต่างๆ มี การติดต่อกับผู้ร่วมโครงการมาอย่างต่อเนื่อง และผู้ร่วมโครงการที่ดีที่สุดก็มักเกิดขึ้นจากการ ที่โรแทเรียนของภาคผู้ร่วมโครงการได้ติดต่อเยี่ยมเยือนกันเป็นการส่วนตัวมาแล้วนั่นเอง
06
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
การที่ข้าพเจ้าได้ตัดสินใจพัฒนาโครงการโรตารีเยือนซาฟารี (Rotary Project Safaris program) ขึ้นมา ก็มีความจ�ำเป็นที่จะต้องอาศัยการติดต่อต่างๆ เป็นส่วนตัวเพื่อกระตุ้นให้มี โครงการเกิดขึ้น โดยขอความร่วมมือคณะโรแทเรียนกลุ่มเล็กๆ ให้เดินทางไปชมโครงการหลาย โครงการของโรตารี ซึ่งต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน ในขณะเดียวกันก็จะได้ชมสถานที่ ท่องเที่ยวบางแห่งเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ ข้าพเจ้าหวังว่าภาคของท่านคงจะสนับสนุนโครงการนี้ใน ปีซึ่งท่านเป็นผู้ว่าการภาค โครงการนี้มีจุดประสงค์เพื่อสานสัมพันธ์โลกด้วยใจห่วงใยเพื่อนมนุษย์ โครงการนี้ไม่ใช่โครงการทางการของโรตารี แต่ก็ประสมประสานไปได้ด้วยดีกับคติพจน์ของท่าน กัลยันที่ขอให้ท่านทั้งหลาย “ใฝ่ใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์” ข้าพเจ้าสามารถพูดได้อีกยืดยาวเกี่ยวกับความห่วงใยเพื่อนมนุษย์ โดยมีการเยี่ยมเยียน ซึ่งกันและกันเป็นส่วนบุคคล ในฐานะที่เป็นอดีตผู้ว่าการภาคมาแล้ว และอดีตผู้ว่าการภาคส่วน มากมักจะเป็นที่ทราบกันแล้วว่าชอบพูด บางครั้งก็จะพูดยาวกว่าเวลาที่กำ� หนดด้วย ฉะนั้นเมื่อ สิ้นปีของท่านแล้วและท่านเป็นอดีตผู้ว่าการภาคก็ขอให้ท่านทั้งหลายจดจ�ำข้อกล่าวหานี้ไว้ด้วย คือ อย่าเพิ่มชื่อเสียงที่ไม่ดีของพวกเราด้วยการถูกกล่าวหาว่าพวกเราพูดมากเกินไป ผู้พูดในที่ประชุมจ�ำนวนมากพลาดโอกาสดีๆ หลายครั้งที่ควรจะต้องหยุดพูดและนั่งลง ซึ่งผู้ฟังก็พอยอมรับได้ เพราะว่าส่วนที่ยากที่สุดของการพูดในที่ประชุมก็คือการเรียนรู้วิธีว่าจะยุติ การพูดอย่างมีประสิทธิภาพในตอนใดหรือช่วงใด ขอให้ท่านคิดหาประโยคสุดท้ายที่เหมาะสมสัก สองสามประโยคในขณะทีท่ า่ นพูดในสโมสรของท่าน การกล่าวถ้อยค�ำสุดท้ายทีม่ คี วามหมายดีเด่น ย่อมจ�ำเป็นต่อความส�ำเร็จในสิ่งที่ท่านพูด (A strong ending for a speech is critical to its success) ทีก่ ล่าวมาข้างต้นเป็นการให้คำ� แนะน�ำโดยท่านไม่ได้ขอร้อง ท่านทัง้ หลายพอจะเดาได้ไหม ว่า ข้าพเจ้าก�ำลังจะยุตกิ ารพูดด้วยถ้อยค�ำอย่างไร ข้าพเจ้ายุตไิ ด้อย่างง่าย เพราะว่าเพลง Cowboy Logic มีเนื้อร้องว่า เราควรพูดแต่น้อย หัวข้อที่ท่านกัลยันขอให้ข้าพเจ้าพูดนี้ เป็นเรื่องง่ายตรงไป ตรงมา และชัดเจนอยู่ในตัว ท่านมีข้อสงสัยบ้างไหมที่เรากล่าวว่าโรตารีเป็นองค์กรที่ดีที่สุดในโลก ในการสานสัมพันธ์โลก และเพื่อว่าเราจะบรรลุเป้าหมายในเรื่องความเข้าใจดี สันถวไมตรีและ สันติสุขในโลก เราก็จะต้องใฝ่ใจห่วงใยเพื่อนมนุษย์มิใช่หรือ ข้อความสองส่วนในคติพจน์ดังกล่าว ข้างต้น เข้ากันได้ดเี หมือนมือกับถุงมือ ข้าพเจ้าขอยกย่องคติพจน์ของท่านกัลยัน ซึง่ ท�ำให้การสาน สัมพันธ์โลกกับความห่วงใยเพื่อนมนุษย์มีพลังสร้างสรรค์ต่อไป พวกเราโชคดีที่เกิดเป็นโรแทเรียน บัดนี้ถึงเวลาแล้วที่พวกเราควรจะต้องกระท�ำการให้ เป็นไปตามแก่นสารของโรตารีตามที่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น ได้สรุปไว้ด้วย ข้อความว่า โรตารีคอื เครือข่ายของบุคคลผูม้ แี รงดลใจทัว่ โลก ในการมอบความรักและห่วงใยเข้าไป แก้ปัญหาทุกข์ร้อนต่างๆ ทางสังคม เพื่อช่วยเปลี่ยนแปลงชีวิตในชุมชนทั้งหลายให้ดีขึ้น (Rotary is a worldwide network of inspired individuals who translate their passions into relevant social causes to change lives in communities) ข้าพเจ้าขอกล่าวซ�้ำอีกครั้งหนึ่งว่า โรตารีคือเครือข่ายของบุคคลผู้มีแรงดลใจ มอบความ รักและห่วงใยเข้าไปแก้ปญ ั หาทุกข์รอ้ นต่างๆ ทางสังคม เพือ่ ช่วยเปลีย่ นแปลงชีวติ ในชุมชนทัง้ หลาย ให้ดขี นึ้ รายงานสรุปของนักศึกษาดังกล่าวมานีม้ ปี ระโยชน์มาก พวกเราควรภูมใิ จในพวกเขาเหล่า นั้น และบัดนี้ก็มีค�ำถามที่ท่านทั้งหลายจะต้องหาค�ำตอบ คือโรตารีของเราจะมั่นคงด�ำรงอยู่ต่อไป ในภาคของท่านได้ตามรายงานของนักศึกษาหรือไม่ ถ้าท่านท�ำตามแผนผู้น�ำภาค ภาคของท่านก็ จะมั่นคงด�ำรงอยู่ต่อไปได้ และถ้าเราด�ำเนินการเป็นกลุ่ม เราก็จะมั่นคงด�ำรงอยู่ต่อไปได้ดีกว่าที่ ผ่านมา โดยเรามุ่งมั่นที่จะสานสัมพันธ์โลกด้วยใจห่วงใยเพื่อนมนุษย์ และผลที่ได้ก็คือโลกของเรา จะน่าอยู่ยิ่งขึ้น
rotary Thailand นิตยสารโรตารี ประเทศไทย
อาสาสมัครจาก สโมสรโรตาแรกต์ มหาลัยนอร์ท เวสเทอร์น สหรัฐอเมริกา ในศูนย์รับเลี้ยงเด็กของผู้ประสพภัยแผ่นดิน ไหวที่เมือง El Molino ใกล้ๆ กับเมือง Pisco ประเทศเปรู แผ่นดินไหวเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม ปี 2007 ขนาดความ แรง 8.0 ริคเตอร์ มีผู้เสียชีวิตกว่า 600 คน
08
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 28 ฉบับที่ 133 มีนาคม-เมษายน 2554 March - April 2011
สารบัญ Content
สารประธานโรตารีสากล 1-2. สารประธานทรัสตีฯ 3-4 สุนทรพจน์ประธานฯ ที่ซานดิเอโก 5-7 สารบัญ 8-9 คณะท�ำงาน บทบรรณาธิการ 10 Letters to editor 11-15 ผู้เริ่มก่อตั้งโรตารีเมื่อ 106 ปีที่แล้ว 16-17 สกู๊ปพิเศษ “คัลยัน บาเนอร์จี ประธานโรตารีสากลปี 2011-2012” 18-27 แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิฯ 28-31 ผู้ประสานงานโรตารี 32 ความรู้ คู่โรตารี 34-35 นับถอยหลังการประชุมใหญ่ 36-37 อดีตผู้ว่าการภาคฯ 38-39 สิ่งละอันพันละน้อย 40-41 Rotary in Action 42-45
กองบรรณาธิการ
สถานที่ติดต่อ 29/10 หมู่2 ต.ช้างเผือก อ.เมืองจ.เชียงใหม่ 50300 29/10 Mu2,Chang Puak, Muang,Chiang Mai,THAILAND 50300 Tel +668 1595 7999 Fax +66 5335 7345 Email: chamnan@rotarythailand.org ช�ำนาญ จันทร์เรือง Chamnan Chanruang
สุรกิจ เกิดสงกรานต์ Surakit Kerdsongkran
วาณิช โยธาวุธ Vanit Yotharvut
อรอนงค์ ศิริพรมนัส Onanong Siripornmanut
พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ Pichet Ruchirat
ดนุชา ภูมิถาวร Danucha Bhumithaworn
บทบรรณาธิการ
ชำ�นาญ จันทร์เรือง
พบกันอีกเช่นเคยกับนิตยสารโรตารีประเทศไทยฉบับประจ�ำเดือน มีนาคมเมษายน ๒๕๕๔ ผมขอขอบคุณส�ำหรับข้อเสนอแนะและความเห็น ตลอดจนบทความ ต่างๆที่ส่งมายังกองบรรณาธิการอย่างมากมายจนต้องแบ่งไปลงในฉบับต่อๆไป หรือบาง เรื่องก็อาจไม่ได้รับการตีพิมพ์เพราะอาจไปซ�้ำหรือใกล้เคียงกับเรื่องของท่านอื่น หรือบาง ครั้งอาจจะดูเป็นเรื่องราวเฉพาะบุคคลมากเกินไป ผมในฐานะบรรณาธิการจึงขอหลีกเลี่ยง เสีย เพราะโรตารีเรานัน้ หากยกย่องชมเชยหรือต�ำหนิตเิ ตียนกันเองจนเกินไปก็อาจท�ำให้เสีย ไมตรีตามบททดสอบ สี่แนวทางได้ อย่าเพิ่งเคืองผมนะครับ ขอให้ส่งมาอีกเรื่อยๆครับ มีผู้อ่านบางท่านหรือบางสโมสรที่เป็นชาวต่างประเทศบอกว่าท่านรับ The Rotarian แล้ว ขอไม่รับนิตยสารโรตารีประเทศไทยได้ไหม ซึ่งผมขอเรียนว่าในฐานะ บรรณาธิการคงไม่สามารถตอบได้เพราะเป็นนโยบายของคณะกรรมการบริหารศูนย์โรตารี ในประเทศไทยกับผู้ว่าการภาคที่มีมติร่วมกัน แต่แน่นอนว่าย่อมกระทบกับต้นทุนของการ จัดท�ำนิตยสารอย่างแน่นอน ซึ่งในส่วนของนิตยสารโรตารีประเทศไทยนั้นผมขอเรียนว่า เนื้อหาที่ตรงกับ The Rotarian นั้น มีเพียงสารจากประธานทั้งสองและบทความหลักหรือ main article ที่เป็นบทความภาคบังคับเท่านั้น ส่วนบทความอื่นและข่าวสารล้วนแล้วแต่ เป็นส่วนที่จัดท�ำขึ้นเองทั้งสิ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับโรตารีในประเทศไทยซึ่ง เป็นเขตพื้นที่โรตารีหรือ local area ของภาคหรือของสโมสรนั่นเอง บางบทความมีภาษา ไทยภาษาเดียว บางบทความก็มีสองภาษาแล้วแต่เจ้าของบทความจะจัดท�ำขึ้น ซึ่งจะไม่ ปรากฏใน The Rotarian แต่อย่างใด ไว้พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ
10
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ช�ำนาญ จันทร์เรือง บรรณาธิการ
letters to editor Email: chamnan@rotarythailand.org
เรียน ผวล. ช�ำนาญ Rational Rotarianism: โรตารีนิยมอย่างมี เหตุผล ค�ำอธิบาย: หมายถึงการเป็นสมาชิกโรตารี อย่างมีเหตุผล กล่าวคือ มีความเชื่อมั่นศรัทธาในหลัก การของโรตารี และพร้อมที่จะอุทิศตนเป็นโรแทเรียน ทีด่ มี คี วามรับผิดชอบ โดยค�ำนึงถึงหลักการและเหตุผล ตามแนวทาง “The Four-Way Test” ยิ่งกว่านั้น ยัง ต้องรู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบ ต่อตนเองและ ผู้อื่น แต่ต้องไม่ใช่การคลั่งไคล้ใหลหลงหรือทุ่มเทแก่ โรตารี อย่างขาดสติ นั่นคือ ต้องเป็นโรแทเรียนอย่างมี สติและรู้จักแยกแยะ ระหว่างหน้าที่การงานและการ ด�ำรงตนเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นตามศักยภาพของตน อน.ดร.ประดิษฐ์ เถกิงรังสฤษดิ์/สร.เชียงใหม่
เป็นที่จุดประกาย ขยายผล เป็นที่สร้างคุณค่า ค�ำว่าคน เป็นที่ลด เห็นแก่ตน...คนอารี ดูแลเรื่องเหลื่อมล�้ำ ความต�่ำสูง ช่วยชักจูง ให้เผื่อแผ่ แก่น้องพี่ ปัจจัยสี่ กิจกรรม น�ำผลดี ทุกทุกที่ รู้หนังสือ คือปัญญา “มีน�้ำใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์ “ ช่วยกันหยุด ความแตกต่างอย่างมีค่า ยุติธรรม สันติธรรม ช่วยน�ำพา ด้วยศรัทธา ..บริการเหนือตนเอง พลวัฒน์ วรเจริญยิ่ง/1 ก.พ.54
ขอบคุณมากครับ ค�ำว่ามีน�้ำใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์ นี้ เป็นคติพจน์ ที่แสดงถึงวิถีแห่งเอเชียได้ดีที่สุดคติพจน์ ขอบพระคุณอย่างสูงครับท่านอาจารย์/บก. หนึ่ ง เท่ า ที่ โรตารี เ คยมี ม า เพราะเป็ น การแสดงถึ ง ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความมีน�้ำใจ และความเข้าใจ เรียน ท่านช�ำนาญที่นับถือ ในตนเอง (reach within) เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น (to ผมส่งกลอนมาให้ในโอกาสที่จะรับต�ำแหน่ง embrace humanity)/บก. ในปีโรตารีหน้าครับ ผมฟังท่านช�ำนาญพูดที่ DC เรื่องวิสัยทัศน์ “มีน�้ำใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์” โรตารี ที่ล�ำปางแล้วชอบมาก อยากให้มีการเผยแพร่ โลกจะมีสันติสุข ทุกถิ่นที่ ให้กว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสารผู้ว่าการภาค คนจะมีความสุข ทุกสถาน หรือโรตารีประเทศไทยครับ ชุมชนจะน่าอยู่ คู่ชื่นบาน อผภ.วิวัฒน์/เชียงราย ทุกทุกบ้านจะอยู่เย็น เป็นครอบครัว กุญแจคือเราและท่าน ต้องขันแข็ง ขอบคุณมากครับ จริงๆ แล้วผมได้แนวความคิดต้นแบบ ต้องร่วมแรงร่วมใจ ให้ถ้วนทั่ว ที่ท่าน อผภ.สวัสดิ ผดุงมาตรวรกุล จากภาค 3340 ซึ่ง ใช้ความคิดใช้พลัง.. อย่างเต็มตัว ได้เคยเขียนไว้หลายปีมาแล้ว แต่กย็ งั ทันสมัยอยูม่ าปรับ ท�ำด้วยหัวใจเข้ม..อย่างเต็มใจ เข้ากับการกล่าวสุนทรพจน์ของผม แต่ครั้นจะน�ำลง เริ่มต้นที่ตัวเรา เอาจุดเด่น เป็นบทความเฉพาะเลยก็ดูกระไรอยู่ เพราะจะกลาย น�ำมาเป็น สิ่งสร้างสรรค์ อันยิ่งใหญ่ เป็นพูดเองเป็น บก.เองน�ำลงหนังสือของตัวเอง กอปร ท�ำครอบครัวอุ่นด้วยรัก เป็นหลักชัย กับหลายๆ ท่านก็ขอให้ผมส่งไฟล์หรือถอดเทปไปให้ ประสานให้เพื่อนบ้าน..บริการชุมชน ฉะนั้น ผมจึงขอน�ำมาลงใน Letter to Editor นี้ครับ ชุมชนเป็นขุมพลัง คลังมนุษย์ และขออภัยหากจะเป็นการพูดถึงตัวเองครับ
วิสัยทัศน์
ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง
ณ การประชุมใหญ่ภาค ๓๓๖๐ จ.ล�ำปาง ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ------- การที่เราจะพูดถึง Rotary Vision หรือในภาษาไทยว่าวิสัยทัศน์หรือ มโนทัศน์เกี่ยวกับโรตารี ซึ่ง หมายถึง การมองภาพอนาคตของโรตารีแล้วมุ่งสู่จุดหมายปลายทางที่เราต้องการนั้น เราจ�ำเป็นที่จะต้อง รู้จักโรตารีในหลายๆ มุมมอง แน่นอนว่าเราไม่สามารถน�ำเฉพาะมุมมองใดมุมมองหนึ่ง หรือเพียงจุดใดจุด หนึง่ มาวิเคราะห์ได้ เราต้องดูภาพรวมทัง้ หมดแล้วน�ำมาบูรณาการ (Integrate) โดยผมจะกล่าวถึงจุดก�ำเนิด ของโรตารี การเปลี่ยนผ่านจากสโมสรแห่งมิตรภาพสู่สโมสรแห่งการให้บริการ นิยามหรือความหมายของ โรตารี เอกลักษณ์ของโรตารี แล้ววิเคราะห์ถึงจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และปัญหาอุปสรรค พร้อมกับข้อคิด เห็นเพื่อให้ท่านทั้งหลายพิจารณา แม้วา่ องค์ความรูใ้ นโรตารีจะเป็นการ บูรณาการ (Integration) ของศาสตร์ตา่ งๆเข้าด้วยกันก็ตาม แต่เมื่อวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งแล้วจะเห็นว่า โรตารีเป็นศาสตร์แห่งมิตรภาพ (Friendship) ที่มิได้แบ่งแยกหมู่ เหล่า สีผิว เป็นการสร้างมิตรภาพระหว่างกันทั้งด้านอาชีพ ศาสนา ความเชื่อ วัยวุฒิ คุณวุฒิ ความรู้ความ สามารถ แม้ว่าช่วงหนึ่งการเป็นสมาชิกโรตารีจะถูกแบ่งแยกด้วยเรื่องเพศ แต่ต่อมาก็ได้ถูกแก้ไขแล้ว แม้แต่ความเชื่อทางการเมืองเองก็ตามที บางครั้งอาจถูกกีดกันหรือถูกห้าม เช่นในประเทศที่ ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ก็พิสูจน์แล้วว่ามิตรภาพจากโรตารีมีความจริงใจ มิได้แทรกแซงต่อการ บริหารการปกครองของชาติใดๆ ปัจจุบันไม่ว่า รัสเซีย จีน มองโกเลีย ลาว กัมพูชาต่างก็มีสโมสรโรตารีแล้ว หรือแม้แต่ประเทศที่นับถือศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัดในตะวันออกกลาง ที่แต่เดิมปฏิเสธโรตารี แต่ใน ปัจจุบนั นีห้ ลายประเทศมีสโมสรโรตารี ทีเ่ ข้มแข็ง เช่น จอร์แดน คูเวต ซาอุดอิ ารเบีย และล่าสุดคือปาเลสไตน์ ซึ่งได้ก่อตั้งสโมสรโรตารีเมืองรามัลลาฮ์ เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา เป็นต้น จุดก�ำเนิดของโรตารี โรตารีได้ก่อเกิดมาในโลกนี้ นับอายุได้ร้อยกว่าปีแล้ว โดยก�ำหนดให้วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๑๙๐๕ หรือ พ.ศ.๒๔๔๘ เป็นวันก่อตั้งสโมสรโรตารีแห่งแรกขึ้นในโลก นั่นคือ สโมสรโรตารีชิคาโก ประเด็นที่น่าวิเคราะห์คือแนวความคิดของบุคคลที่ร่วมก่อตั้ง ตลอดจนวิเคราะห์สภาพและสิ่ง แวดล้อมในยุคนั้นว่าอะไรคือสิ่งบันดาลใจให้คณะบุคคลหนึ่งร่วมอุดมการณ์ในการก่อตั้งสโมสร อีกทั้งได้ ก�ำหนดเป้าหมายไว้ขนาดใดหรือไม่ มีความตั้งใจว่าจะท�ำให้สโมสรโรตารีขยายตัวมากมายดังเช่นทุกวันนี้ หรือไม่ ในเบื้องต้นนี้เรามาวิเคราะห์ถึงสถานภาพ และอาชีพของคณะบุคคล ที่ร่วมกันก่อตั้งโรตารีครั้ง แรก นั่นคือ พอล พี แฮริส (Paul P. Harris) ,ซิลเวสเตอร์ ชีล, กัส โลว์และฮิแรม โชเรย์ ซึ่งบุคคลทั้งสี่ล้วน ต่างสาขาอาชีพ ซิลเวสเตอร์ ชิล เป็นพ่อค้าถ่านหิน กัส โลว์เป็นวิศวกรเหมืองแร่ ฮิแรม โชเรย์ เป็นช่าง ตัดเสื้อบุรุษ แต่พอล แฮริส เป็นนักกฎหมาย ทั้งนี้ พอล แฮริส มิได้มีอาชีพเป็นเพียงนักกฎหมายเท่านั้น
12
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
เขาผ่านประสบการณ์ด้านธุรกิจที่หลากหลาย เช่น เป็นผู้สื่อข่าว นัก หนังสือพิมพ์ นักแสดง พนักงานโรงแรม พนักงานขายสินค้าและอื่นๆ อีกมากมาย อีกทัง้ ได้มโี อกาสเดินทางไปตามสถานทีต่ า่ งๆทัง้ ต่างมลรัฐ และต่างประเทศ ท�ำให้ได้เห็นและเข้าใจต่อสภาพสังคมที่มีความแตก ต่าง ทางวัฒนธรรมอย่างหลากหลาย การที่ พ อล แฮริ ส เป็ น นั ก กฎหมาย และเป็ น ที่ ป รึ ก ษา กฎหมายให้กบั เพือ่ นต่างสาขาอาชีพ จึงมักจะมีการนัดร่วมรับประทาน อาหารด้วยกัน ได้มกี ารหยิบยกถึงประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพ และ ความส�ำเร็จในผลงานด้านอาชีพตลอดจนอุปสรรคและ ปัญหาทาง ด้านอาชีพ อีกทั้งการเอารัดเอาเปรียบของนักธุรกิจที่ไร้จรรยาบรรณ มาพูดคุยกันในระหว่างรับประทานอาหารด้วยกัน จากจุดนี้ ท�ำให้ เกิดแนวคิดร่วมกัน ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนหรือ rotate กันเป็นเจ้าภาพจัดเลี้ยง อันเป็นที่มาของชื่อ สโมสรโรตารีโดยมี ซิลเวสเตอร์ ชีลเป็นนายกสโมสรคนแรกของโลก กล่าวได้ว่าโรตารีเกิดจาก มิตรภาพของบุคคลหลากหลาย อาชีพที่มุ่งส่งเสริมจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม และส่วนรวม การเปลีย่ นผ่านจากสโมสรแห่งมิตรภาพ สูส่ โมสรแห่งการให้บริการ จากจุดก�ำเนิดของโรตารี ที่เป็นการพบปะกันระหว่างคน หนุม่ ๔ คน ร่วมกันตัง้ สโมสรขึน้ มา ซึง่ เป็นลักษณะทีเ่ น้นไปในเรือ่ งของ มิตรภาพ (Friendship) และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางด้านวิชาชีพ ในระยะแรก ซึง่ เป็นการรวมตัวกันแบบหลวมๆ ยังไม่มเี ป้าหมายในการ ท�ำกิจกรรมอื่นใด จนต่อมาได้มีการริเริ่มแนวความคิดในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ร่วมกัน โดยสโมสรโรตารีชิคาโก ได้ตกลงพร้อมใจกันสร้าง ส้วมสาธารณะขึ้นเป็นแห่งแรก เมื่อร้อยกว่าปีที่ผ่านมา ในการร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ครั้งแรก ได้สร้างความรู้สึก แปลกใหม่ขึ้นแก่สมาชิกและผู้พบเห็น คือ ความรู้สึกปลาบปลื้มยินดี ความสุขใจที่ได้เป็นผู้ให้ ความชื่นชมในความเสียสละและการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ จึงท�ำให้มกี ารขยายตัวเพิม่ ขึน้ ของสโมสร คือมีจำ� นวนสมาชิก เพิม่ มากขึน้ และได้ผลักดันให้เกิดสโมสรใหม่ขนึ้ และเมือ่ มีหลายสโมสร ที่มีอุดมการณ์เดียวกัน จึงรวมตัวกันเป็นสมาคมโดยมี พอล แฮริสเป็น ประธาน ซึ่งได้พัฒนามาเป็นโรตารีสากลในปัจจุบัน ซึ่งแสดงให้เห็น ว่านอกเหนือจากมิตรภาพแล้ว การบ�ำเพ็ญประโยชน์เป็นปัจจัยส�ำคัญ ที่ท�ำให้องค์กรโรตารีเจริญเติบโตมาจนถึงปัจจุบัน เพราะล�ำพังเพียง แต่มิตรภาพอย่างเดียว ไม่สามารถสร้างความเจริญเติบโตได้ขนาดนี้ และการบ�ำเพ็ญประโยชน์ได้ขยายตัวจนเกิดเป็นอุดมการณ์ ที่เรียกว่า Service Above Self อย่างไรก็ตาม มิตรภาพก็เป็นสิง่ ทีย่ งั คงมีความส�ำคัญอยูค่ วบคู่ ไปกับการบ�ำเพ็ญประโยชน์ และ ได้มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดย เฮอร์เบิร์ท เจ เทย์เลอร์ (Herberth J. Taylor) ได้เสนอบททดสอบ สี่ แนวทาง (Four Ways Test) อันเลื่องชื่อ แม้ว่าบททดสอบสี่แนวทาง นี้จะเกิดจากแนวความคิด ทางด้านธุรกิจหรือด้านอาชีพ แต่สามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างมิตรภาพให้เติบโต และมีความยั่งยืนได้ นิยามของโรตารี “โรตารีคือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจากทั่วโลกซึ่ง บ�ำเพ็ญประโยชน์ทางการกุศล ส่งเสริมมาตรฐานจรรยาบรรณในทุก วิชาชีพ พร้อมทั้งช่วยสร้างไมตรีจิตและสันติสุขในโลก”(Rotary is an organization of business and professional persons united
worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build goodwill and peace in the world) ฉะนั้น จากนิยามที่ว่าโรตารีเป็นองค์กรของนักธุรกิจและ วิชาชีพนั้นย่อมหมายถึงว่า สมาชิกของสโมสรหรือโรแทเรียนจะต้อง มีอาชีพเป็นของตนเอง หรือนัยหนึ่งต้องมีรายได้เป็นของตนเอง ทั้งนี้ เพราะ โรแทเรียนทุกคน มีภาระในการช�ำระค่าบ�ำรุงสโมสร ค่าบ�ำรุง ภาค และ ค่าบ�ำรุงโรตารีสากล ค�ำว่านักธุรกิจและวิชาชีพนั้น หมายความรวมถึงพนักงาน หรือข้าราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆหรือองค์กรต่างๆ ด้วย อาทิ นายธนาคาร นายหน้า เจ้าของร้านค้าฯลฯ เพราะผู้ท�ำธุรกิจและ ผู้รับราชการทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชนและภาครัฐ ล้วนต้อง เป็นนักบริหารจัดการขององค์กร ไม่สว่ นใดก็สว่ นหนึง่ หรือเป็นเจ้าของ กิจการเอง แต่ทั้งนี้ต้องเป็นกิจการที่มีผลด้านบวกต่อสังคม แต่เดิมนั้น โรตารีสากลก�ำหนดให้แต่ละสโมสรรับสมาชิก หลายๆอาชีพ โดยเน้นว่าสมาชิกแต่ละคนควรเป็นตัวแทนของแต่ละ สาขาอาชีพ แต่ต่อมาก็ได้มีการแก้ไขข้อบังคับฯหลายครั้ง อาทิ ได้ อนุญาตให้บางสาขาอาชีพ สามารถเป็นสมาชิกได้โดยไม่จ�ำกัดจ�ำนวน เช่น อาชีพนักบวช นักการศาสนา นักหนังสือพิมพ์ ผูส้ อื่ ข่าว นักการทูต เป็นต้น และล่าสุดก็มกี ารแก้ไขข้อบังคับฯให้สโมสรโรตารีหนึง่ สามารถ มีประเภทอาชีพซ�้ำได้ถึง ๕ คน และสโมสรที่มีสมาชิกเกิน ๕๐ คน ยัง เพิม่ ได้อกี ๑๐ % ซึง่ หากวิเคราะห์โดยละเอียดแล้วจะเห็นว่าในปัจจุบนั ประเภทอาชีพ มิใช่ปัญหาในการรับสมาชิกใหม่แต่อย่างใด เอกลักษณ์ของโรตารี เอกลักษณ์พิเศษของโรตารี คือ การก�ำหนดวิสัยทัศน์ในการ บริหารและการให้บริการ โดยเริ่มจากประธานโรตารีสากลแต่ละปีจะ ก�ำหนดคติพจน์ (Theme) ของตนเป็นธงน�ำในการบริหารและการให้ บริการ เช่น Be a Friend, Sow the Seed of Love, Lead the way, The Future of Rotary is in Your Hands, Building Communities Bridging Continents และล่าสุดคือ Reach Within to Embrace Humanity หรือแปลเป็นไทยว่า “มีน�้ำใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์” ซึ่ง คติพจน์ต่างๆ เหล่านี้ถือได้ว่าเป็นวิสัยทัศน์ต่อการบริหารและบริการ ของโรตารีทั่วโลกในแต่ละปี โดยประธานโรตารีสากล จะส่งผ่านให้ กับผู้ว่าการภาค ในการอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก (International Assembly) อีกทั้งยังมีการเสนอพันธกิจ (Mission) และเป้าหมาย (Objective หรือ Goal) เพื่อน�ำไปปฏิบัติอีกด้วย เช่น Vision = คติพจน์ของแต่ละปี Mission = การขยายสโมสร การเพิ่มสมาชิก Objective = เพิ่มสโมสรภาคละ 1-2 สโมสร /เพิ่มสมาชิกให้ได้อย่าง น้อย ๑ คนสุทธิ ฯลฯ ส่วนการก�ำหนดกลยุทธ์ (Strategy) นัน้ เป็นภาระของแต่ละ สโมสรและภาค ซึ่งน�ำโดยนายกแต่ละสโมสรและผู้ว่าการภาคแต่ละ ภาค สโมสรใดหรือภาคใด ไม่มีกลยุทธ์ในการบริหาร ก็ยากที่จะท�ำ พันธกิจ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้ แม้วา่ ภายในสโมสรอาจจะมีมติ รภาพ ในหมู่สมาชิกที่แน่นแฟ้น มีเปอร์เซ็นต์การประชุมสูง แต่มิได้ก่อให้เกิด พลังในการให้บริการแล้ว ก็ปราศจากวิญญาณของโรตารี เป็นเพียงการ ที่หมู่เพื่อนสนิทมาพบปะกันเท่านั้นเอง ส่วนเอกลักษณ์เฉพาะของโรตารี นอกจากจะมีสัญลักษณ์
ฟันเฟือง ๒๔ ซี่ ซึ่งมีความหมายว่าให้บริการ ๒๔ ชั่วโมง องค์กรโรตารี ยังมีเอกลักษณ์เฉพาะอีกคือ ทุกสโมสรต้องมีการประชุม มีการแบ่ง หน้าทีใ่ นองค์กร และทีส่ ำ� คัญดังทีก่ ล่าวมาแล้วคือต้องมีการจัดกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ นอกจากนี้เอกลักษณ์เฉพาะอีกอย่างหนึ่งก็คือ การด�ำรง ต� ำ แหน่ ง ใดใดของโรตารี จ ะมี อ ายุ เ พี ย ง ๑ รอบปี บ ริ ห ารเท่ า นั้ น ยกเว้นบางต�ำแหน่ง เช่น กรรมการบริหารโรตารีสากล (Board of RI Director) มีระยะเวลา ๒ ปี หรือประธานมูลนิธิภาคฯ ๓ ปี เป็นต้น วิเคราะห์กระบวนการ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคของ โรตารีภาค ๓๓๖๐ เรา เมื่อวิเคราะห์ถึงผลลัพธ์ หรือผลผลิตของกระบวนการของ โรตารีแล้วผมพบว่า ในด้านตัวบุคคล หรือโรแทเรียนผูเ้ ป็นสมาชิกของ สโมสรทีย่ งั คงอยูก่ บั โรตารี และผ่านกระบวนการของโรตารีทไี่ ด้รบั การ พัฒนาแนวคิดต่างๆ นัน้ ได้พสิ จู น์แล้วว่าเป็นบุคคลทีม่ อี ดุ มการณ์สงู มี จุดยืน มีมนุษย์สมั พันธ์ทดี่ ี มีภาวะผูน้ ำ � และเป็นผูท้ เี่ สียสละเห็นแก่สว่ น รวม ส่วนผูท้ มี่ งุ่ หวังประโยชน์สว่ นตน หรือคิดว่าการได้เพือ่ นเพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนนัน้ กระบวนการของโรตารีและเวลาจะ เป็นตัวก�ำจัดบุคคลเช่นนั้นออกไปจากองค์กรในที่สุด ผมขออนุญาตอธิบายในเชิงวิชาการว่า ในกระบวนการหรือ process ของโรตารีนั้น เมื่ออาศัยปัจจัยน�ำเข้า ซึ่งมีคนที่เป็นสมาชิก ของสโมสรเป็นหลัก และมีกระบวนการบริหารจัดการ ตลอดจน กิจกรรมต่างๆ ของสโมสร ของภาค และนโยบายของโรตารีสากล เมือ่ ผ่านขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ก็จะได้ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยม ส่วน ใดที่เป็นส่วนเกิน ซึ่งหมายถึงสมาชิกที่ขาดอุดมการณ์และวิสัยทัศน์ก็ จะถูกก�ำจัดออกไปโดยธรรมชาติ หรือแม้แต่สโมสรทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพ ก็จะอยู่ได้ไม่ยืนยาว อีกทั้งกิจกรรมที่สโมสรร่วมกันกระท�ำ ก็จะถูกคัด กรองจนเป็นที่ยอดเยี่ยมตามค�ำขวัญที่ว่า “One Profits Most Who Serves Best” ซึ่งแปลเป็นไทยว่า “ผู้ได้กุศลมากที่สุดคือผู้ที่บ�ำเพ็ญ
14
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ประโยชน์ดีที่สุด”หรือพูดง่ายๆว่า“ยิ่งให้ยิ่งได้”นั่นเอง ในกระบวนการที่เกิดขึ้น ตลอดระยะเวลาร้อยกว่าปีของ โรตารีต่อการบริหารจัดการในหลักของการให้บริการนั้น มักจะก่อ เกิดแนวคิดแนวบริหารและกิจกรรมใหม่ๆ ที่เราเรียกว่า นวัตกรรม (Innovation) อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น แนวคิดของอาร์ช คลัมภ์ ใน การก่อให้เกิดมูลนิธิโรตารี การก่อเกิดแนวคิดบททดสอบสี่แนวทาง (Four-Ways Test) การก่อตั้งโปรแกรมโปลิโอพลัส (PolioPlus) การ จัดหลักสูตรการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งและสันติภาพ (Peace and Conflict Resolution) หรือที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดก็คือรูปแบบการ ประชุม ที่สามารถประชุมผ่านทางอินเตอร์เน็ตที่เราเรียกว่า e-Club ได้ และล่าสุด ได้มีการรับสมัครสโมสรที่จะท� ำการทดลอง โครงการน�ำร่อง ๓ ปี(๒๐๑๑-๒๐๑๔) คือเป็นสโมสรดาวบริวาร (satellite club) สโมสรทีม่ สี มาชิกสมทบ (Associate membership) สโมสรที่มีสมาชิกองค์กรบริษัท (Corporate membership) สโมสร โรตารีแบบใช้นวัตกรรมใหม่และยืดหยุ่น (Innovation & Flexibility club) เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นนวัตกรรมตามยุคตามสมัย โรตารี เราไม่ มี ก ารก� ำ หนดดั ช นี วั ด ผลงาน (Keys of Performance Index,KPI) อย่างชัดเจน มีแต่ข้อก�ำหนดหรือเป้า หมายของประธานโรตารีสากล ทีใ่ ห้พยายามด�ำเนินกิจกรรมของสโมสร ตลอดจนการให้บริการในระดับหนึง่ เท่านัน้ เราจึงต้องอาศัยวิธปี ระเมิน ผลเพือ่ เพิม่ ศักยภาพของสโมสร โดยวิธกี ารก�ำหนดสโมสรข้างเคียงทีม่ ี ศักยภาพสูงกว่าเป็นเป้าหมายหรือบรรทัดฐาน (Benchmark) เราอาจวิเคราะห์ เพื่อประเมินผลของการบริหารหรือการ บริการในระดับสโมสรที่เป็นรูปธรรมได้ เช่น จ�ำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น จ�ำนวนกิจกรรมการให้บริการ มูลค่าของกิจกรรมที่ให้บริการ เป็นต้น ส่วนระดับภาคนัน้ อาจวิเคราะห์ถงึ ความส�ำเร็จของจ�ำนวนสโมสรและ โรแทเรียนทีเ่ พิม่ ขึน้ จ�ำนวนผูบ้ ริจาคให้กบั มูลนิธิ จ�ำนวนสโมสรทีไ่ ด้รบั การประกาศยกย่องจากประธานโรตารีสากล (Presidential Citation) เป็นต้น
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค โรตารีมีองค์ประกอบทั้งทางด้านรูปธรรมและนามธรรม ที่ เป็นรูปธรรมก็คือ ตัวบุคคล สโมสร ภาค คณะกรรมการต่างๆ กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ (Procedure) ส่วนที่เป็นนามธรรมก็คือ มโน ทัศน์ หรือ วิสยั ทัศน์ (Vision) นัน่ เอง การทีโ่ รตารีจะเจริญเติบโตในโลก แห่งการให้บริการ(World of Service)ต่อไปได้นนั้ จะต้องวิเคราะห์พนื้ ฐานให้รอบด้าน ทัง้ องค์ประกอบภายในและสิง่ แวดล้อมภายนอกกล่าว คือ การวิเคราะห์ภายในซึ่งหมายถึงจุดแข็ง (Strength) และจุด อ่อน (Weakness) ขององค์กรโรตารีว่าองค์กรของเรามีจุดแข็งและจุด อ่อนด้านใด มีแนวทางแก้ไขจุดอ่อนขององค์กรได้หรือไม่ ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก ที่เป็นสิ่งแวดล้อมของ องค์กรคือการวิเคราะห์โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) นั้นคือ การวิเคราะห์เหตุต่างๆที่เป็นโอกาสให้โรตารีเจริญเติบโต หรือ เหตุใดบ้าง ที่เป็นอุปสรรคแห่งการเจริญเติบโตในการบริหารงานของ องค์กรโรตารี ตลอดจนกิจกรรมการให้บริการทั้งหลายของโรตารีใน แต่ละระดับ นับจากระดับสโมสร ระดับภาค หรือระดับสากล ล้วนมี จุดอ่อน จุดอ่อน (Weakness) ประการแรกคือ ในด้านของระยะ เวลาของการด�ำรงต�ำแหน่ง เพราะข้อก�ำหนดหรือประเพณีปฏิบัติของ โรตารี ที่ให้คณะกรรมการบริหารของสโมสรหรือของภาคมีอายุการ ด�ำรงอยูเ่ พียงครบรอบปีบริหาร เมือ่ ครบวาระก็จะมีการสถาปนา คณะ กรรมการบริหารใหม่ ท�ำให้กิจกรรมที่ท�ำอยู่อาจไม่มีความต่อเนื่องจน ไม่สามารถประเมินผลหรือวัดคุณค่าของงานได้ จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สองก็คือ ในการบริหารไม่ ว่าจะเป็นระดับใดก็ตาม ผู้บริหารของโรตารีไม่มีอ�ำนาจในการให้คุณ ให้โทษหรือการสัง่ การแบบผูบ้ งั คับบัญชา แต่ในทางกลับกันก็มจี ดุ แข็ง (Strength) คือสมาชิกเป็นผูท้ มี่ คี วามหลากหลายทางอาชีพ ทีส่ ามารถ น�ำจุดเด่นของแต่ละคน มาบูรณาการเพื่อสร้างผลงานให้กับองค์กรได้ อย่างดีเลิศ แต่จะส�ำเร็จได้อย่างแท้จริงต้องมีคณะกรรมการบริหารที่ มีคุณภาพด้วย จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สามก็คือจุดอ่อนที่บางท่าน เห็นว่าในการคัดเลือกผู้บริหารหรือผู้น�ำ ไม่เปิดโอกาสให้มีการหาเสียง หรือ เปิดโอกาสให้สมาชิกลงคะแนนเลือกตัง้ โดยตรง ท�ำให้ไม่ทราบแนว นโยบายการท�ำงานและไม่มสี ว่ นร่วม แต่อย่างไรก็ตามในส่วนนีผ้ มกลับ มองว่าเป็นจุดแข็ง (Strength) คือไม่ทำ� ให้แตกความสามัคคีหรือแบ่งฝัก แบ่งฝ่าย เพราะโรตารีเชือ่ ว่าการทีจ่ ะเป็นผูน้ ำ� ได้นนั้ ย่อมมาจากผลงาน ในอดีตของเขาเอง ทีจ่ ะส่งให้เขาได้รบั การรับเลือก มิใช่จากการโฆษณา หาเสียงเพียงชั่วครั้งชั่วคราว แต่กระนั้นก็ตามปัญหาใหญ่ประการหนึ่ง ในปัจจุบันของโรตารีไทยเราก็คือการขาดผู้ที่อาสาเข้ามาเป็นผู้น�ำ จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สี่ก็คือสมาชิกเรามักไม่ค่อย ยึดกฎระเบียบ ไม่ศึกษาให้ถ่องแท้ หรืออาจจะศึกษาเหมือนกันแต่ แทนที่จะเป็นการศึกษาเอาไว้ใช้งานเหมือนเป็นคู่มือ หรือ Road Map แต่กลับเป็นการศึกษาไว้เพื่อคอยจับผิดกันจนสโมสรแตก จุดอ่อน (Weakness) ประการที่ห้าก็คือ จุดอ่อนที่เรามัก ไม่ค่อยพูดถึงซึ่งก็คือความไม่โปร่งใสในโครงการต่างๆ ของผู้ที่ไม่มี อุดมการณ์หรือพูดง่ายๆ ก็คือหาเศษหาเลยกับโครงการนั่นเอง ซึ่งใน เรื่องนี้ในสมัยท่านพิชัยเป็นประธานโรตารีสากล ท่านได้เล่าว่าท่านได้
เคยจับได้แถบอาฟริกาและให้ระงับโครงการดังกล่าวเสีย ซึ่งหลังจาก นั้นมูลนิธิโรตารี ก็ได้เพิ่มมาตรการการตรวจสอบอย่างเข้มงวดตั้งแต่ ก่อนอนุมัติโครงการจนโครงการเสร็จสิ้น ดังที่เราจะเห็นได้ว่าในระยะ หลัง มีเจ้าหน้าที่ของมูลนิธิโรตารีมาติดตามผลทุกปี จุดอ่อน (Weakness) ประการทีห่ กซึง่ เป็นจุดอ่อนของโรตารี ไทยเราหรือภาค ๓๓๖๐ เรา โดยเฉพาะคือการท�ำงานที่ไม่เป็นทีมและ ปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งกันในเรื่องไม่เป็นเรื่อง มีการแบ่งฝักแบ่ง ฝ่าย มีการออกอีเมลหรือจดหมายเวียนโจมตีกนั ในลักษณะบัตรสนเท่ห์ หรือแม้กระทัง่ การลงชือ่ จริง (ดีหน่อยทีร่ บั ผิดชอบ) คนนัน้ ฟ้องคนนี้ คน นี้ ฟ้องคนนั้น ขนาดตอนนี้ผมยังเป็น ผวล.ข้อมูลต่างๆประดังเข้ามาไม่ ขาดสาย แต่ไม่ต้องห่วงครับ ผมท่องคาถา “หูหนัก”เอาไว้แล้วครับ ทีนี้หันกลับมามองปัจจัยภายนอก ที่จะส่งผลกระทบต่อ องค์กรโรตารีเราซึ่งก็คือ อุปสรรคหรือภัยคุกคาม(Threat) ประการแรกแน่นอนที่สุด ก็คือภาวะเศรษฐกิจที่ย�่ำแย่ของ โลก ซึ่งมีผลกระทบต่อการเพิ่มและรักษาสมาชิกภาพและกระทบต่อ องค์กรโรตารีโดยรวม และโรตารีเรา ได้มีการออกมาตรการหลาย อย่างเพื่อแก้ไขปัญหานี้ อาทิ การลดค่าใช้จ่ายของการเดินทางของเจ้า หน้าที่ (ซึง่ รวมตัง้ แต่ประธานฯจนถึงระดับล่างสุด) ซึง่ ทีผ่ า่ นๆ มา ระดับ ประธานฯ หรือกรรมการบริหาร (Director) นั้นเดินทางด้วย ชั้นเฟิร์ส คลาส บิสสิเนสคลาส พักโรงแรมหลายดาว เป็นต้น ประการที่สอง อุปสรรคหรือภัยคุกคามที่ส�ำคัญส�ำหรับภาค เราก็คอื การทีอ่ าจจะถูก Redistrict ซึง่ ผมไม่อยากใช้คำ� ว่า ยุบรวมภาค เพราะอาจจะฟังดูแรงเกินไป แต่ที่แน่ๆ หากภายในวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ หากภาคเรามีจ�ำนวนสมาชิกต�่ำกว่า ๑,๒๐๐ คน โอกาสที่ภาค เราจะถูก Redistrict ค่อนข้างสูง โอกาส (Opportunity) โรตารีเราเป็นองค์กรที่ได้รับความ เชือ่ ถือว่า เป็นองค์กรในระดับแนวหน้าของโลกมาอย่างยาวนาน โรตารี เรามีสมาชิกกว่า ๑.๒ ล้านคน ๒๐๐ กว่าประเทศและเขตภูมิศาสตร์ สมาชิกของเราได้รับการยอมรับนับถือว่า เป็นผู้ที่มีเกียรติสูงในสังคม ที่เห็นได้ชัด การเป็นโรแทเรียนในญี่ปุ่นหรือสหรัฐอเมริกานั้นเป็นยาก มาก ฉะนัน้ โอกาสของโรตารีสากลเราในการด�ำรงอยูต่ อ่ ไปอย่างมัน่ คง จึงยังคงมีอยู่สูงมาก ส�ำหรับโอกาสของโรตารีไทยเรานัน้ ก็คอื การได้รบั เกียรติเป็น เจ้าภาพการประชุมใหญ่โรตารีสากลในปีหน้า ซึง่ ผมเชือ่ ว่าวงการโรตารี เราจะกลับมาเฟือ่ งฟูอกี ครัง้ หนึง่ แต่สำ� หรับภาค ๓๓๖๐ เรายังคงอยูใ่ น ภาวะที่อันตรายอยู่ซึ่งอาจจะถูก Redistrict ได้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว สรุป จากทีผ่ มกล่าวมาข้างต้น ผมคิดว่าโรตารีสากลและโรตารีไทย เรายังคงมัน่ คงและ ยังมีอนาคตทีส่ ดใสอยู่ ส่วนอนาคตภาค ๓๓๖๐ เรา นั้น ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยส�ำคัญที่สุดก็คือตัวโรแทเรียน ๓๓๖๐ เราพร้อม ที่จะทุ่มเทและเสียสละให้แก่โรตารีมากกว่าที่ผ่านๆ มาหรือไม่ และ พร้อมที่จะหันหน้ามาเข้าใจปัญหาของการแตกความสามัคคี เหมือน ไก่ในเข่งของภาคเราเอง ก่อนที่จะออกไปเป็นที่พึ่งของมวลมนุษยชาติ แค่ไหนเพียงใด ดังคติพจน์ของประธานโรตารีสากลรับเลือก Kalyan Banerjee ที่ว่า Reach Within to Embrace Humanity นั่นเอง
ผู้เริ่มก่อตั้งโรตารีเมื่อ 106 ปีที่แล้ว อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ ผู้แปล
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 พอล พี.แฮริส - กุสตาวัส โลว์ - ซิลเวสเตอร์ ชีล และ ฮีรัม อี. โชเร่ย์ ชาย 4 คนนี้ได้นัดพบกันที่ส�ำนักงานของกุสตาวัส โลว์ การพบกันครั้ง นั้น ถือกันว่าเป็นการประชุมสโมสรโรตารีครั้งแรกของโลก เมื่อมีการประชุมครั้งที่สอง ได้ มีชายคนที่ 5 มาร่วมประชุมด้วย และนี่คือบุรุษ 5 คนแรกในโรตารี พอล แฮริส ผู้ปรารถนาให้นักธุรกิจที่เกี่ยวข้องมาเป็นมิตรสหายกัน ได้ชักชวนกัน มาพบปะสนทนาแบ่งปันแนวคิดของกันและกัน การรวมตัวกันนี้ต่อมาได้กลายเป็นองค์กร บ�ำเพ็ญประโยชน์ระหว่างประเทศที่มีไมตรีจิตมิตรภาพ นี่คือประวัติย่อของชาย 4 คนผู้สร้างประวัติศาสตร์ และเรื่องราวของชายคน ที่ 5 แฮรี่ แอล.รักเกิ้ลส์ ผู้ซึ่งมักถูกเรียกในเวลาต่อมาว่าเป็น ”โรแทเรียนคนที่ห้า” ใน ประวัติศาสตร์การก่อตั้งโรตารี 1. พอล แฮริส นักกฎหมาย ผู้ก่อตั้งโรตารี เกิดในรัฐวิสคอนซิน เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2411 เมื่อยังเด็ก ท่านได้รับการเลี้ยงดูโดยปู่กับย่าของท่านในรัฐเวอร์มอนต์ ท่าน ได้ศกึ ษาในมหาวิทยาลัยเวอร์มอนต์ มหาวิทยาลัยพริน้ สตัน และมหาวิทยาลัยไอโอวา ท่าน เป็นนายกสโมสรโรตารีชิคาโกระหว่างปี 2453 ถึง 2455 และเป็นประธานโรตารีกิตติคุณ จนถึงแก่กรรมในวันที่ 27 มกราคม 2490 2. กุสตาวัส โลว์ วิศวกรเหมืองแร่ เกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2407 ที่เมืองคาร์ ลินวิลล์ รัฐอิลลินอยส์ ท่านเป็นโรแทเรียนเพียงไม่นาน ไม่เคยรับต�ำแหน่งใด ทั้งในระดับ สโมสรหรือระดับประเทศ แต่การประชุมของโรตารีครั้งแรก ได้มีขึ้นที่ส�ำนักงานเลขที่ 711 ของท่าน อาคารยูนิตี้ ย่านดาวทาวน์ชิคาโก ท่านถึงแก่กรรมในวันที่ 23 พฤษภาคม 2461
16
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
3. ฮีรัม อี. โชเร่ ช่างตัดเสื้อบุรุษ เกิดที่รัฐเมน ในเดือนสิงหาคม 2405 เป็น เลขานุการ ผู้บันทึกการประชุมของสโมสรในระหว่างปีแรก ท่านเป็นโรแทเรียนเพียงไม่กี่ปี และถึงแก่กรรมในเดือนมีนาคม 2487 4. ซิลเวสเตอร์ ชีล พ่อค้าถ่านหิน เกิดในรัฐอินเดียนาเมื่อปี 2413 ท่านเป็นนายก สโมสรโรตารีคนแรกในปี 2448 และเป็นเหรัญญิกโรตารีสากลคนทีส่ ามในปี 2488 ท่านจบ การศึกษาจากวิทยาลัยธุรกิจในเมืองและเข้ารับราชการในกองทัพบกสหรัฐระหว่างสงคราม อเมริกัน-สเปน ท่านเป็นประธานบริษัทถ่านหินชีลล์ ตั้งแต่ปี 2445 จนเกษียณอายุในปี 2482 ชีลล์เป็นเพือ่ นสนิทกับพอล แฮริส ตลอดชีวติ ทีย่ าวนานและทัง้ สองมีทพี่ ำ� นักอยูใ่ กล้ๆ กันทางทิศใต้ของเมืองชิคาโก ชีลล์ถึงแก่กรรมในวันที่ 17 ธันวาคม 2488 หลุมศพของท่าน อยูใ่ กล้กบั หลุมศพของ พอล แฮริส ในสุสานเม้าท์โฮป แสดงถึงมิตรภาพอันยัง่ ยืนของคนทัง้ สอง 5. แฮรี่ แอล.รักเกิล้ ส์ เจ้าของธุรกิจการพิมพ์ ชาวมิชแิ กน ส�ำเร็จการศึกษาจากมหา วิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น ที่เอฟแวนสตัน อิลลินอยส์ มาเข้าร่วมประชุมโรตารีกับชาย 4 คน แรกในการพบกันครั้งที่สองและรับเป็นเหรัญญิกของสโมสรชิคาโกตลอดปีแรก ต่อมาเป็น นายกสโมสรในปี 2451 - 2453 และเป็นกรรมการโรตารีสากลในปี 2455 – 2456 เป็นผู้ ริเริม่ ให้มกี ารร้องเพลงในการประชุมสโมสร ท่านมีธรุ กิจการพิมพ์ บริษทั เอช.แอล.รักเกิล้ ส์ ซึ่งพิมพ์นิตยสารโรตารีฉบับแรกคือ The National Rotarian และหนังสือเพลง โรตารีเล่ม แรก ท่านถึงแก่กรรมในวันที่ 26 ตุลาคม 2502 โดยเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ ในสโมสรถึง 7 สโมสร นอกเหนือไปจากสโมสรโรตารีชิคาโก ที่ท่านสังกัดอยู่จนถึงวาระสุดท้าย (เรียบเรียงจาก www.rotary.org/MediaAndNews)
Special Scoop สุรกิจ เกิดสงกรานต์ ผู้แปล
กัลยัน บาเนอร์จี ประธานโรตารีสากล ปี 2011-2012
“ผมคิดว่า การมีสัมมาคารวะ คือ สาระสำ�คัญ ของความเข้มแข็ง และ คงเป็นเฉพาะผู้ที่เข้มแข็งเท่านั้น ที่จะมีความอ่อนน้อมได้” 18
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
Kalyan Banerjee
คั ล ยั น บาเนอร์ จี เข้ า เป็ น สมาชิ ก สโมสรโรตารี ว าปี ประเทศอินเดียเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๕ ท่านส�ำเร็จการศึกษาด้าน วิ ศ วกรรมเคมี จ ากสถาบั น เทคโนโลยี ก ารั ง ปู ร ์ ปั จ จุ บั น เป็ น กรรมการบริษัทยูไนเต็ดฟอสฟอรัส จ�ำกัด ผู้ผลิตเคมีภัณฑ์เพื่อ การเกษตร รายใหญ่ที่สุดรายหนึ่ง ในประเทศอินเดีย ท่าน บา เนอร์ จี ผ่านการเป็นผูว้ า่ การภาค ๓๐๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ และเป็น กรรมการในคณะกรรมการบริหารโรตารีสากลในปี พ.ศ. ๒๕๓๘๔๐ เป็นกรรมการทรัสตีของมูลนิธิโรตารีในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๔๘ และก�ำลังจะเป็นประธานโรตารีสากลในปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๕๕ ท่านบาเนอร์จสี มรสกับนางบิโนทา ผูซ้ งึ่ ท�ำงานเกีย่ วกับ สังคมสงเคราะห์และเป็นสมาชิกของสโมสรอินเนอร์วลี ท่านมีบตุ ร ด้วยกัน ๒ คน หลาน ๔ คน หัวหน้ากองบรรณาธิการจอห์น เรเซค สนทนากับ บา เนอร์จี ที่ออฟฟิศในอีแวนสตัน รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา
20
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
เรเซก สรุปไว้วา่ “มีหลายอย่างทีส่ งั เกตเห็นได้จากตัวท่านประธาน โรตารีสากลรับเลือกบาเนอร์จีในทันทีที่พบท่าน สิ่งแรกคือท่าน เป็นผู้ที่มีความสุขุมคัมภีรภาพไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่แห่งใด ท่าน ยังเป็นคนที่พูดจานุ่มนวลแต่ก็ตรงประเด็น และมีหลักการตาม เจตคติของท่าน ซึ่งท่านสามารถอธิบายด้วยถ้อยค�ำที่สุภาพ เมื่อ สอบถามถึงความยุง่ ยากทีท่ า้ ทายท่าน ในต�ำแหน่งประธานโรตารี สากลคืออะไร ท่านกลับให้ค�ำสอนว่า “ชีวติ เป็นเรือ่ งง่าย ๆ คนเรา ท�ำให้มันเป็นเรื่องยากเอง” เดอะโรแทเรียน : ท�ำอย่างไรคน ๆ หนึ่งจึงจะได้เป็นประธาน โรตารีสากล บาเนอร์จี: ถ้ารู้ค�ำตอบได้คงจะดี แต่ผมคิดว่าแค่เพียงคุณท�ำสิ่ง ที่ท�ำอยู่อย่างต่อเนื่องและให้เวลากับโรตารี ท�ำงานเพื่อโรตารี สิ่ง หนึ่งย่อมน�ำไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง มันอาจไม่เป็นไปตามความคิดนี้ทุก กรณี แต่ในกรณีของอินเดีย ก็ไม่ทราบว่ามันเป็นจริงได้อย่างไร ผม
ได้รับเกียรตินี้เกือบ ๒๐ ปีหลังจากที่อินเดียเคยมีประธานโรตารี สากลคนก่อนหน้า ผมเพียงแค่ตงั้ หน้าตัง้ ตาท�ำความดีและเป็นผูท้ ี่ เชือ่ ในผลงานของโรตารีและภารกิจทีโ่ รตารีมอี ยู่ ผมพอสรุปได้วา่ นีก่ ค็ อื ผลของการท�ำสิง่ หนึง่ ทีน่ ำ� ไปสูอ่ กี สิง่ หนึง่ และคงไม่ใช่วา่ ผม ได้เป็นประธานโรตารีสากลเพราะพยายามทีจ่ ะเป็น แต่เป็นเพราะ พยายามเป็นโรแทเรียนที่ดีเท่านั้นเอง เดอะโรแทเรียน: เมื่อทราบว่าได้รับการเสนอชื่อเป็นประธาน โรตารีสากล ปฏิกิริยาของท่านออกไปในแนวตอบรับทันทีเลย หรือเปล่าครับ บานเนอร์จี : อ้อ! ผมจ�ำได้ว่าท่านประธานคณะกรรมการ สรรหาประธานโรตารีสากล จอห์น เจิมได้โทรหาผมและถามว่า “คุณได้รับคัดเลือกจากคณะกรรมการ คุณจะตกลงหรือเปล่า คุณรับต�ำแหน่งนี้ได้หรือไม่?” ตอนนั้นผมตอบว่า “โอ้ พระเจ้า” และพูดอย่างนีส้ กั สองครัง้ แล้วจอห์นก็พดู ต่อว่า “คุณหยุดพูดค�ำ ว่า โอ้ พระเจ้าก่อน แล้วพูดว่าได้หรือไม่ได้” การสนทนาครั้งนั้น จอห์นยังเอามาคุยหยอกล้อผมสักสองสามครั้งในภายหลัง ถึงขณะนี้ ผมได้รับเอาความคิดนั้นมาอยู่กับตัวเองสัก ระยะหนึง่ แล้ว ผมหวังว่าจะมีโอกาสได้ทำ� งานและรับมือกับความ ท้าทายที่ยิ่งใหญ่ เดอะโรแทเรียน : งานในต�ำแหน่งประธานโรตารีสากลนัน้ นับว่า เป็นหน้าที่ที่ดีที่สุดในองค์กรใช่หรือไม่ บาเนอร์จี : ทีจ่ ริงผมยังไม่ได้คดิ ไกลขนาดนัน้ ผมยอมรับว่า มีความสุขกับการเป็นนายกสโมสรในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ สามปีหลัง จากที่เข้าเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี แล้วก็ได้เป็นผู้ว่าการภาคใน ปี พ.ศ.๒๕๒๓ จากการสมัครในครั้งแรก ในอินเดียคุณหาโอกาส ยากมากที่จะได้เป็นผู้ว่าการภาคในครั้งแรกที่คุณสมัคร ยิ่งกว่า นั้นส�ำหรับคนที่อายุเพียง ๓๘ ปีเท่านั้นด้วย และผมก็ได้เป็น ผม เกิดทีเ่ บงกอลซึง่ อยูท่ างด้านตะวันออกของอินเดีย เติบโตทีแ่ คว้น คุชราต แคว้นของท่านมหาตมะ คานธี ผมขออนุญาตเรียกอย่าง นั้น ซึ่งเป็นแคว้นที่อยู่ไกลออกไปทางด้านตะวันตก แคว้นที่แตก ต่างกัน ภาษาต่างกัน วัฒนธรรมก็ตา่ งกัน นีเ่ ป็นความท้าทายทีย่ งิ่ ใหญ่และเป็นโอกาสทีย่ งิ่ ใหญ่เช่นกัน ผมชอบการเป็นผูว้ า่ การภาค เป็นอย่างมาก ผมถือว่าเป็นงานทีผ่ มท�ำแล้วสนุก จากนัน้ ผมได้รบั มอบหมายให้เป็นผูน้ ำ� การอบรมในการอบรมผูว้ า่ การภาค ผมเดา ว่าคงท�ำได้ดีพอสมควร ในทีมของผมมีหลายท่านที่ต่อมาได้รับ ต�ำแหน่งส�ำคัญในโรตารีสากลเช่น คลิฟฟ์ ดอคเตอร์แมน รอยซ์ แอบบี โจนาธาน มาจิยักเบ บ๊อบ บาธ ลูอีส จิอาย ทั้งหมดนี้ได้ เป็นผูน้ ำ� องค์กรโรตารี บางท่านได้เป็นประธานโรตารีสากลไปแล้ว อย่างรวดเร็ว เพราะฉะนั้นผมได้พบผู้นำ� โรตารีที่แท้จริงเป็นครั้ง แรก ได้ท�ำงานร่วมกับท่านเหล่านั้นและเป็นมิตรกันตั้งแต่บัดนั้น เป็นต้นมา การเป็นกรรมการบริหารก็วิเศษมาก ในอินเดียถือเป็น เกียรติมาก ผมมีโอกาสท�ำงานกับสองประธานโรตารีสากลที่ยิ่ง ใหญ่ เฮอร์บ บราวน์ และลูอีส จิอาย และยังมีโอกาสท�ำงานใน
คณะกรรมการทรัสตีดว้ ยถึงสีป่ ี วาระการท�ำงานของผมจบลงในปี ทีโ่ รตารีอายุครบหนึง่ ร้อยปี และผมก็ได้รบั ประสบการณ์ทดี่ เี ยีย่ ม ในการร่วมประชุมโรตารีสากลทีช่ คิ าโกในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ตอนนัน้ ผมและเพื่อนจากสโมสรวาปีก็ร่วมอยู่ด้วย ประสบการณ์เหล่านี้เป็นสิ่งวิเศษที่สุด แต่ที่จริงแล้วผม ก็รอคอยโอกาสการท�ำงานในปีหน้านี้มากที่สุด เพราะนี่จะเป็น ภารกิจทีด่ ที สี่ ดุ ทีค่ นๆ หนึง่ จะได้รบั จากโรตารี นีเ่ ป็นเกียรติยศและ โอกาส ที่น�ำพาองค์กรแห่งนี้เคลื่อนไปข้างหน้าในขณะเดียวกันก็ ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามประเพณีที่มีมานาน นับเป็นโอกาสอันยิง่ ใหญ่ โดยเฉพาะในช่วงเวลาปัจจุบนั ที่โลกเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมาก วิธีที่ผู้คนรับฟัง วิธีที่พวกเขา สือ่ สารกัน วิธที แี่ ต่ละคนแสดงความเห็นกัน ทุกอย่างเปลีย่ นแปลง ไปจากปีแรกที่ผมเป็นวิศวกรจนถึงเดี๋ยวนี้ คนรุ่นใหม่มีวิธีสื่อสาร และวิธีเข้ากลุ่มสังคมแบบใหม่ ๆ ตอนผมยังอายุน้อย ๆ การเข้า กลุ่มเครือข่ายสังคมไม่ใช่เรื่องที่จะเป็นไปได้ง่าย ๆ เหมือนเดี๋ยวนี้ เพราะฉะนัน้ ผมจึงปรารถนาจะน�ำความเปลีย่ นแปลงมาสูอ่ งค์กร นี้ เดอะโรแทเรียน : อะไรคือสามสิ่งแรกที่อยู่ในแผนงานที่ท่าน ต้องการประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างสูง บาเนอร์จี : เพ่งความสนใจกลับไปที่สมาชิกโรแทเรียน แต่ละท่าน โรตารีเริ่มที่ชุมชน และเราสร้างสรรค์ชุมชนไม่ใช่แค่ ด้วยฝีมือของคนดี แต่ด้วยทุกคนในครอบครัว อะไรบางอย่างเกิด ขึน้ ในโลกปัจจุบนั ท�ำให้แนวความคิดเรือ่ งครอบครัวเปลีย่ นแปลง ไปโดยสิ้นเชิง พ่อแม่ไม่มีเวลาให้ลูก ๆ ลูกก็ไม่มีเวลาให้พ่อแม่เช่น กัน พ่อแม่เองก็ไม่มีเวลาให้แก่กันและกัน นี่เป็นเหตุให้ผมอยาก กลับมาเพ่งความสนใจครอบครัวอีกครั้งหนึ่ง ทีพ่ ดู อย่างนี้ ผมยังคิดว่าเราต้องไล่ตามศตวรรษที่ ๒๑ ให้ ทัน ผมอยากให้คนหนุ่มสาวเข้ามาอยู่ในโรตารี เฟซบุ๊ค ยูทูบ คน สมัยนี้มีเครือข่ายของตัวเอง และนั่นคือสิ่งที่ผมก�ำลังจับตามอง อย่างระมัดระวัง ถ้าเราสื่อสารกับพวกเขาดี ๆ บางทีคนหนุ่มสาว อาจเห็นองค์กรของเราเหมาะสมกับพวกเขาก็ได้ เราต้องได้พวกเขามาร่วมองค์กรด้วยอย่างรวดเร็ว พวก เขาชอบเครือข่าย แต่พวกเขาจะเข้าร่วมกับเครือข่ายอื่น กับ องค์กรอื่น ในหนทางอื่น ๆ หากเขายังไม่พบเรา เราอาจจะต้อง เพิ่มความแข็งแกร่ง ให้กับโรตาแรกต์และโครงการเยาวชนแลก เปลี่ยน ส่วนที่สามที่ผมอยากพูดถึงคือ ภาพลักษณ์ของโรตารี เมือ่ ก่อนคนมองโรตารีวา่ เป็นองค์กรท้องถิน่ สมาชิกรวมตัวกันเพือ่ ท�ำประโยชน์ให้ตวั เอง สนองความต้องการของตนเอง สนุกสนาน กันเฉพาะภายใน และท�ำประโยชน์แก่ชมุ ชนทีน่ ที่ นี่ นั่ บ้างเล็กน้อย นี่เคยเป็นเรื่องจริง เดี๋ยวนี้คนมองโรตารีแตกต่างกันออกไป เคยมี คนพูดว่า “โรตารีมีจุดแข็งเสมือนดั่งรัฐบาล และมีความอ่อนโยน ประหนึ่งบิดรมารดา” สัจธรรมนี้นิยามโรตารีได้ตรงที่สุด เดอะโรแทเรียน : อะไรคือสิง่ ทีท่ า้ ทายทีส่ ดุ ส�ำหรับท่านในปีทเี่ ป็น
โรตารี คือ องค์กรที่ยิ่งใหญ่ ในโลกปัจจุบัน เราคือ ผลรวม ของมิตรภาพ พลวัตรแห่งการ เปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้า การ บำ�เพ็ญประโยชน์ เพื่อมนุษยชาติ ให้ความเอาใจใส่ผู้อื่น และ เราทำ�งาน เพื่อสันติภาพ ประธานโรตารีสากล และหนึ่งปีเป็นเวลาที่สั้นไปหรือเปล่า บาเนอร์จี : มองในแง่หนึง่ ก็ดอู อกจะสัน้ ไปส�ำหรับเวลาหนึง่ ปี แต่โรตารีให้โอกาสคุณในการวางแผน ท่านประธานเรย์ (คลิงกิน สมิท) กับผมคุยกันตลอด ตัวท่านเองได้สร้างความเปลี่ยนแปลง หลายประการ คงขึ้นอยู่กับความสามารถของผมที่จะท�ำความ เข้าใจความเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นก่อน แล้วดูว่าเรื่องไหนใช้ได้ แน่นอนคงไม่ใช่ทุกเรื่องที่ท�ำไปแล้ว จะประสพความส�ำเร็จอย่าง สมบูรณ์ ผมจะคอยดูผลของความเปลี่ยนแปลงนั้นว่าเรื่องไหนที่ ยังได้ผลไม่ดนี กั แล้วค่อยปรับปรุงเปลีย่ นแปลงความเปลีย่ นแปลง นัน้ หากมีขอ้ มูลเพียงพอ และด้วยค�ำแนะน�ำจากท่านประธานเรย์ และเราค่อยเดินหน้าท�ำต่อไป ในโลกปัจจุบันองค์กรอื่น ๆ ไม่ว่า จะเป็นมูลนิธิบิลและเมลินดา เกตส์หรือองค์การอนามัยโลกต่าง ต้องการความต่อเนือ่ งในการท�ำงาน พวกเขาไม่ตอ้ งการคุยกับผูร้ บั ผิดชอบที่เปลี่ยนหน้าไปเรื่อย ๆ ดังนั้นเราจะต้องหาจุดสมดุลตรง นีท้ จี่ ะท�ำให้ความต่อเนือ่ งด�ำรงอยูไ่ ด้ ท่ามกลางการเปลีย่ นแปลง.
22
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ขอยกตัวอย่างให้เห็น คณะกรรมการบริหารฯ ได้หารือกันเกี่ยว กับเรื่องค�ำขวัญประจ�ำปีว่าเราจ�ำเป็นต้องมีทุกปีหรือไม่ ค�ำขวัญ ดีๆ กับโลโก้สวยๆ และค�ำอธิบายทีน่ า่ ดึงดูดใจเป็นสิง่ ทีโ่ รแทเรียน ทั่วไปต้องการหรือเปล่า โรตารีจะต้องเปลี่ยนแปลงไปเพื่อให้ สอดคล้องกับความคาดหมายของพวกเรา ทีต่ อ้ งการให้เป็นองค์กร โรตารีอย่างที่เราต้องการ การเปลี่ยนแปลงจากองค์กรขนาดเล็ก ในชุมชน มาเป็นองค์กรขนาดใหญ่ระหว่างประเทศก�ำลังเกิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงจะเกิดเป็นปกติทุกวันในอนาคต เดอะโรแทเรียน : ค�ำขวัญของท่านที่ว่า “มีน�้ำใจห่วงใยเพื่อน มนุษย์ (Reach Within to Embrace Humanity)” เกิดขึ้นมา ได้อย่างไร บาเนอร์จี : ผมคิดว่ามันเกีย่ วพันกับวิถชี วี ติ ชาวอินเดียหรือ คนทางตะวันออกสักเล็กน้อย ซึ่งเป็นปรัชญาจิตวิญญาณ กล่าว คือเราเริม่ ต้นจากการมองเข้าสูภ่ ายในตัวเราเองก่อน ถ้าตัวเราเอง เปลี่ยน โลกก็จะเปลี่ยนด้วย นี่คือสิ่งที่เราเชื่อกัน คงจะง่ายเกินไป
ที่จะกล่าวว่า “ตัวฉันสมบูรณ์แบบ แต่เพื่อนบ้านขาดแคลน” ผม คิดว่าการคิดอย่างนีอ้ าจจะไม่ถกู ต้องนัก เพราะฉะนัน้ เราต้องเริม่ จากการมองทีต่ วั เอง เมือ่ ได้ดแู ล้วและเข้าใจจุดแข็งของตัวเองแล้ว เราจึงจะเข้าใจศักยภาพที่มีอยู่ คุณมีชีวิตประจ�ำวันเป็นอย่างนี้ หรือเปล่า ถ้าคุณรูจ้ กั ตัวเองดีขนึ้ ก็จะสามารถประสบความส�ำเร็จ ที่ยิ่งใหญ่ขึ้น แต่คุณต้องค้นหาความสงบภายในตัวเองก่อนที่จะ แสวงหาสันติภาพในโลก เดอะโรแทเรียน : ถ้าท่านสามารถเปลีย่ นแปลงบางสิง่ ได้ในทันที ท่านจะเปลี่ยนแปลงอะไรในโรตารี บาเนอร์จี : ผมจะจับจ้องทีป่ ระเด็นสมาชิกภาพด้วยความ ระมัดระวัง วิธีการท�ำให้เกิดความเติบโตในสมาชิกภาพจะต้อง แตกต่างออกไป และนี่คือสิ่งที่เราต้องวิเคราะห์เยาวชนรุ่นใหม่ๆ ว่าเขาต้องการอะไร เขาคาดหมายอะไร เขามีวิธีท�ำสิ่งต่างๆ ได้ อย่างไร และเราสามารถตั้งเป้าหมายอย่างไรได้บ้างกับชนรุ่น ใหม่เหล่านี้ แล้วเราก็มาดูว่าปัจจุบันโรตารีใช้วิธีไหนบ้างในการ ดึงดูดสมาชิกใหม่ กลุ่มสมาชิกใหม่คาดหวังอะไรบ้าง อะไรบ้างที่ คนกลุ่มนี้ยังไม่พบตามความคาดหมายของเขา เป็นไปได้หรือไม่ ว่าเขาอาจต้องการเพียงสโมสรเพื่อการสังคม แต่สโมสรโรตารีมี อะไรมากกว่านัน้ เกินไป ผมคิดว่าพวกเขาควรต้องทราบว่าเราท�ำ อะไรกันบ้างก่อนทีจ่ ะรับเขามาเป็นสมาชิก ทีผ่ า่ นมาเราอาจไม่ได้ ให้ค�ำอธิบายเพียงพอแก่พวกเขาหรือเปล่า เดอะโรแทเรียน : อะไรท�ำให้โรตารีแตกต่างจากองค์กรบ�ำเพ็ญ ประโยชน์อนื่ และท่านต้องการทีจ่ ะให้มกี ารตีความแตกต่างเหล่า นั้นให้ชัดเจนและแปรเปลี่ยนเป็นจุดแข็งยิ่งขึ้นหรือไม่ บาเนอร์จี : ผมคิดว่าความโดดเด่นของเราคือหลักการใน การจัดประเภทอาชีพและบริการอาชีพ การดึงดูดคนจากต่าง อาชีพกันเข้ามาอยู่ในสโมสรร่วมกันตั้งแต่แรก เป็นความเข้มแข็ง ขององค์กรเป็นอย่างยิ่ง ลองจินตนาการดูว่าจะดีเพียงใดที่เราได้ บุคคลที่เป็นผู้น�ำในแต่ละแขนงของธุรกิจและวิชาชีพ ที่มีอยู่ใน
ชุมชนของเรามาร่วมกิจกรรมกันในสโมสร เมื่อท�ำกิจกรรมใดก็ คงมีผลสัมฤทธิ์อย่างมหาศาลทีเดียว เดอะโรแทเรียน : ท่านมีอะไรจะสือ่ สารไปยังโรแทเรียนแต่ละคน หรือไม่ บาเนอร์จี : โรตารีคือองค์กรที่ยิ่งใหญ่ในโลกปัจจุบัน เรา คือผลรวมของมิตรภาพ พลวัตรแห่งการเปลี่ยนแปลง ความ ก้าวหน้า การบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อมนุษยชาติ ให้ความเอาใจใส่ ผู้อื่น และเราท�ำงานเพื่อสันติภาพ เราท�ำชีวิตของเราถึงจุดที่เรา มีศักยภาพสูงสุดหรือยัง หากยังท่านยังต้องการท�ำอะไรอีก เดอะโรแทเรียน : มีผู้นิยามท่านว่าเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน ใน ความคิดของท่านเอง ค�ำนิยามเหล่านั้นตรงกับที่ท่านเห็นในตัว เองหรือไม่ บาเนอร์จี : ผมคิดว่าคุณควรถามภรรยาผม เธอคงจะ เป็นผู้ที่ให้ค�ำตอบนี้แก่คุณได้ดีที่สุด ผมคิดว่าในบางครั้งผมยังไม่ อ่อนน้อมเท่าที่ควร ผมคิดว่าการมีสัมมาคารวะคือสาระส�ำคัญ ของความเข้มแข็ง และคงเป็นเฉพาะผู้ที่เข้มแข็งเท่านั้นที่จะมี ความอ่อนน้อมได้ ท่านมหาตมะคานธีเป็นตัวอย่างที่ดี สาธุคุณ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่ง ทั้งสองท่านคือ ผู้ที่ผมยึดถือเป็นแบบอย่าง ไม่มีตัวอย่างของบุคคลผู้ใดที่ดีไป กว่านี้อีกแล้ว คานธีคือผู้ที่เผชิญหน้ากับประเทศในเครือจักรภพ อังกฤษทั้งหมดด้วยความอ่อนน้อมของท่าน แต่ท่านไม่เคยแสดง ให้เห็นว่าเป็นคนอ่อนแอเลย ดังนั้นส�ำหรับผมแล้วคิดว่าความ อ่อนน้อมถ่อมตน ต้องเริ่มต้นที่ความเข้มแข็งภายในตัวเองเสีย ก่อน ขอแค่เพียงความอ่อนน้อมเท่านั้น คุณไม่จ�ำเป็นต้องอวด ตัวเองเลย เพราะเมื่อคุณพูดอวดตัว นั่นหมายความว่าคุณยังไป ไม่ถึงศักยภาพที่คุณมีอยู่ทั้งหมดจริง ๆ คุณจึงต้องเสริมด้วยการ พูดอวดตัวเอง ดังนั้นผมจึงไม่ทราบว่าตัวเองอ่อนน้อมหรืออ่อน โยน แต่ผมหวังว่าตัวเองจะเป็นทั้งสองอย่าง
Kalyan Banerjee
Kalyan Banerjee joined the Rotary Club of Vapi, India, in 1972. A graduate of the Indian Institute of Technology, Kharagpur, with a degree in chemical engineering, he is director of United Phosphorus Limited, one of the largest manufacturers of agrochemicals in India. In 1980, Banerjee became governor of what was then RI District 306. He served as RI director in 1995-97 and as Rotary Foundation trustee in 2001-05. He will serve as RI president in 2011-12. He is married to Binota, who is a social worker and an Inner Wheel club member. They have two children and four grandchildren. Editor in Chief John Rezek talked with Banerjee in his office in Evanston, Ill., USA. Rezek reports: “There are many things you notice about President-elect Banerjee all at once. First, he is the calmest person in
24
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
any room. Also, he is soft-spoken but direct and has a firm grasp of his mission, which he describes in a gentle manner. When I asked about the complicated challenges he will face in his presidential year, he reminded me, ‘Life is simple. It’s people who make it difficult.’” The Rotarian: How does one become RI president? Banerjee: I wish I knew. I think you just go on doing whatever you do and sparing time for Rotary, of course – working for Rotary. One thing could lead to another. It will not do in every case, and I don’t know how it did in mine – to become a president from India after a gap of almost 20 years since the last president from India. But I was doing what I would do as a good person who believes in the work of Rotary and what it stands for, and I guess one thing led to another. So it wasn’t that I was trying to be a Rotary president; I was trying to be a good Rotarian. TR: When you were informed that you were the president-nominee, was your reaction one of unalloyed positivism? Banerjee: Well, I remember when John Germ, the chair of the nominating committee, called me and said, “You are the committee’s choice. Do you agree? Do you accept?” And I said, “Oh my God!” Maybe twice. And John said, “Will you stop saying, ‘Oh my God,’ and say yes or no?” He has since reminded me of that conversation, and we have joked about it a couple of times. Now that I have been living with the idea for quite some time, I’m looking forward to the huge opportunity and challenge. TR: Is the presidency the best job in the organization? Banerjee: I really haven’t thought about it. I must say I enjoyed being a club president many years ago. It was 1975, three years after I joined Rotary. I then became district governor in 1980 on my first attempt. In India, it is not always the case that you get to be a governor the first time you try – and at age 38. And so here I was, born in Bengal, to the east of India, and living in the state of Gujarat – Gandhi’s state, if I may call it that – far away to the west. Different state, different language, different cultures. It was a huge challenge and a huge opportunity. I enjoyed being a district governor very much. That was one of my most enjoyable jobs. Then I was a training leader at the International Assembly. I guess I did fairly well. There were some other great Rotarians with me who later on got to be better known
– Cliff Dochterman, Royce Abbey, Jonathan Majiyagbe, Bob Barth, Luis Giay – an amazing array of people who became leaders, even presidents, of Rotary in a very quick time. So I met the true leadership of Rotary for the first time, and I stayed close with them, as friends, since then. My becoming a director was wonderful. It was very well received in India. I had a great time working with two great presidents – Herb Brown and Luis Giay – and then an opportunity to be a trustee for four years, my term ending with Rotary’s centennial year and the wonderful experience of the 2005 convention in Chicago. There was a lot of India and my Vapi club in it. All these experiences have been wonderful. But naturally, I’m looking forward to the next year. It’s the best assignment one can possibly have in Rotary, if only because of the honor of it and the opportunity to take the organization further forward while keeping up with the traditions at the same time. It’s a tremendous opportunity, especially now that so much in the world is changing. The way people listen, the way people communicate, the way people convey their ideas – everything has changed from when I was a first-year engineer to this stage in my life. Younger people have different ways of communicating, of networking. In my younger days, a network was not necessarily something positive. Today it is. So, I’m looking forward to making a difference in the organization. TR: What are the top three things on your list to accomplish during your first year? Banerjee: Get the focus back on the individual Rotarian. Rotary started in communities, and communities are built not only by good people but also by families. Somehow in today’s world, the concept of family has totally changed. Parents don’t have time for their children. Children don’t have time for their parents. Parents don’t have time for one another. And so I’d like to focus on family again. Having said that, I would still say that we should be as “21st century” as we can be. I’d like to bring younger people into Rotary. Facebook, YouTube – today’s generation has its own network, and that’s what I’ve been looking at very carefully. If we communicate well with younger people, they might think this is the organization to be in. We need to get them in quickly. They love to network, but they’ll network somewhere else with somebody else in another way if we don’t meet with them. We also
need to strengthen Rotaract and Rotary Youth Exchange. The third area that I would like to address is the image of Rotary. We used to be viewed as a small communitybased organization, getting together mainly for our own benefit, concerns, and enjoyment, and doing a little bit for the community here and there. And that used to be true. Today, Rotary is perceived differently. It has been said that “Rotary has the strength of a government and the tenderness of a parent.” This notion is something unique for describing Rotary. TR: What is going to be your greatest personal challenge during your year as president? And is a year too short a time? Banerjee: In a way, a year is too short a time. But Rotary lets you plan for your year. President Ray [Klinginsmith] and I have been in touch constantly, and he has brought in a lot of changes. It is up to me to understand those changes first and to see what is helping. Obviously, all
26
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
aspects of all changes cannot necessarily be working perfectly. I’ll look at those which are perhaps not working well; change them if that is the feedback, in consultation with President Ray; and then carry them forward. In today’s world, other organizations – whether they be the Bill & Melinda Gates Foundation or WHO [the World Health Organization] – are looking for continuity. They don’t want to talk to different people every time. So, we have to strike a balance that ensures continuity in the midst of our change. For example, the Board was discussing whether we needed to have a theme every year. It might be a very good theme with a lovely logo and attractive literature to support it, but what does the average Rotarian think? Rotary has to change to meet today’s expectations for the kind of organization that we really want it to be. Change from a small community-based organization to a large international organization is in the offing. Change
will be the order of the day in the future. TR: How did you come up with the theme for your year, Reach Within to Embrace Humanity? Banerjee: I guess it’s a little bit of the Indian – or Oriental – spiritual philosophy. We start by looking at ourselves first, and if we change, then the world changes. That’s what we like to believe. It’s too easy to say, “I’m perfect, but my neighbor isn’t.” I don’t think that’s really true. We need to take a longer look at ourselves before we start setting the world straight. So, first look at yourself. And when you do that, when you understand yourself, your strengths, you realize you have immense potential. Are you living up to that? If you know yourself better, you can achieve much bigger things. But seek your inner peace before you seek peace in the world. TR: If you could change something immediately about Rotary, what would it be?
Banerjee: I would look at membership very carefully. Our approach to growth needs to be different. And that’s why we need to look at today’s generation, its needs, its expectations, its way of doing things, and how we can engage it with our goals. What is it about Rotary that attracts new Rotarians? What expectations do they have? What is it that they find not up to their expectations? It could be that they are looking only for a social club, and we are much more than that. I think they need to be made aware of all we do before they come in, and perhaps we are not explaining that well enough. TR: What distinguishes Rotary from other service organizations, and how would you like those distinctions to be more clearly defined or enhanced? Banerjee: I think what distinguishes us is our classification principle and our vocational service. Attracting different professions got us together in the first place, and that is one of our greatest strengths. Imagine having the most accomplished business and professional people in your community as members of your club. What a huge impact you could have. TR: What is your personal message to each Rotarian? Banerjee: Rotary is the greatest organization in the world today. It encompasses both friendship and the dynamism of change, of progress, of serving other people, taking care of other people, and working for peace. Are we living up to our full potential? If not, what would you like to do about it? TR: You’ve been described as humble and modest. As you think about yourself, are those the words that you might summon? Banerjee: I think you need to ask my wife first. She would be the one who would be best able to tell you. I don’t think I’m humble enough sometimes. Humility is, to me, a matter of great strength. And only a strong man can be humble. I believe the stronger a man is, the more humble he is, and Gandhi is the best example. Martin Luther King Jr. is another example. They have been my role models, and what better models can you have? Gandhi was a man who confronted the entire British Empire at its mightiest with his humility. But he was not weak in any way. So, to me, humility begins with your inner strength. Modesty, what else is there? You don’t have to show off what you have. If you do, you haven’t reached your potential, and that’s the reason you want to show it off. So, I don’t really know if I am humble or modest, but I hope I will be.
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในภูมิภาคโทโฮะกุ พ
28
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
พ.ศ. 2554 東北地方太平洋沖地震 Tōhoku Chihō Taiheiyō-oki Jishin
เป็นแผ่นดินไหวเมกะทรัสต์ขนาด 9.0 แมกนิจูด นอก ชายฝั่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ เวลา 14.46 น. ตามเวลามาตรฐานญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 จุดเหนือศูนย์การเกิดแผ่นดินไหวได้รับรายงานว่าอยู่นอก ชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรโอชิกะ โทโฮะกุ โดยมีจุดเกิดแผ่น ดินไหวอยู่ลึกลงไปใต้พื้นดิน 32 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งดังกล่าวก่อให้เกิดคลื่นสึนามิซึ่งมีความ สูงถึง 10 เมตร พัดเข้าถล่มประเทศญี่ปุ่นไม่กี่นาทีหลังจากเกิด แผ่นดินไหว ในบางพื้นที่พบว่าคลื่นได้พัดเข้าไปในแผ่นดินลึกถึง 10 กิโลเมตร และมีคลื่นที่เล็กกว่าพัดไปยังอีกหลายประเทศหลาย ชัว่ โมงหลังจากนัน้ ได้มกี ารประกาศเตือนภัยสึนามิและค�ำสัง่ อพยพ ตามชายฝัง่ ด้านแปซิฟกิ ของญีป่ นุ่ และอีกอย่างน้อย 20 ประเทศ รวม ทัง้ ชายฝัง่ แปซิฟกิ ทัง้ หมดของประเทศอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติของญีป่ นุ่ ระบุวา่ ขณะนีม้ ผี เู้ สีย ชีวิตที่ได้รับการยืนยันแล้ว 10,035 คน ผู้ได้รับบาดเจ็บ 2,777 คน และอีก 17,443 คนยังคงหายสาบสูญ ใน 18 จังหวัด เช่นเดียวกับ อาคารทีถ่ กู ท�ำลายหรือได้รบั ความเสียหายกว่า 125,000 หลัง แผ่น ดินไหวครั้งนี้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง ต่อประเทศญี่ปุ่น รวมทั้งความเสียหายอย่างหนักต่อถนนและรางรถไฟ เช่นเดียวกับ เหตุเพลิงไหม้ในหลายพื้นที่ และเขื่อนแตก บ้านเรือนราว 4.4 ล้าน หลังคาเรือนทางตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น ไม่มีกระแสไฟฟ้า ใช้ และอีก 1.5 ล้านคนไม่มีน�้ำใช้ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าหลายเครื่อง ไม่สามารถใช้การได้ และเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์อย่างน้อยสามเตา ได้รบั ความเสียหาย เนือ่ งจากแก๊สไฮโดรเจนทีเ่ กิดขึน้ ในอาคารคลุม เตาปฏิกรณ์ชนั้ นอก และยังได้มกี ารประกาศสถานการณ์ฉกุ เฉิน โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ฟกุ ชุ มิ ะไดอิชเิ กิดระเบิดขึน้ เกือบ 24 ชัว่ โมงภายหลัง เหตุแผ่นดินไหวครั้งแรก อย่างไรก็ตาม แรงระเบิดในพื้นที่ ไม่รวม สารกัมมันตรังสีอยู่ด้วย ประชาชนซึ่งอยู่อาศัยในรัศมี 20 กิโลเมตร รอบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและรัศมี 10 กิโลเมตรรอบโรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดนิถูกสั่งอพยพ จากแรงสั่นสะเทือนที่วัดได้ จึงนับได้ว่าเป็นเหตุการณ์ แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น และเป็นเป็น เหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงเป็นอันดับสีข่ องโลก เท่าทีม่ กี ารบันทึก สมัยใหม่มาตั้งแต่ พ.ศ. 2443 นายกรัฐมนตรีญปี่ นุ่ นะโอะโตะ คัง กล่าวว่า “ในช่วงเวลา หกสิบห้าปีนบั ตัง้ แต่สนิ้ สุดสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง วิกฤตการณ์ครัง้ นี้ นับว่าร้ายแรงและยากล�ำบากทีส่ ดุ ส�ำหรับญีป่ นุ่ ” เหตุแผ่นดินไหวดัง กล่าวได้เคลื่อนเกาะฮอนชูไปทางตะวันออก 2.4 เมตร และเคลื่อน แกนหมุนของโลกไปเกือบ 10 เซนติเมตร ประมาณการความเสีย หายเบื้องต้นอยู่ระหว่าง 14,500 ถึง 34,600 ล้านดอลล่าร์ สหรัฐ ธนาคารกลางญีป่ นุ่ อัดฉีดเงินเข้าสูร่ ะบบอย่างน้อย 15 ล้านล้านเยน เมือ่ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2554 เพือ่ พยายามฟืน้ ฟูสภาพการตลาด ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ธนาคารโลกประมาณ การความเสียหายระหว่าง 122,000 ถึง 235,000 ล้าน ดอลล่าร์ สหรัฐ รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศว่า มูลค่าความเสียหายจากภัยพิบัติ แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ อาจมีมูลค่าสูงถึง 309,000 ล้าน ดอล ล่าร์ สหรัฐ ซึ่งท�ำให้มันเป็นภัยธรรมชาติที่สร้างความเสียหายมาก ที่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา (จาก วิกิพิเดีย)
ร่วมแบ่งปัน ความห่วงใย ความช่วยเหลือ ต่อผู้ประสพภัยชาวญี่ปุ่น ได้ ที่ทุกภาคของ โรตารี ในประเทศไทย
30
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ผู้ประสานงานโรตารี (Rotary Coordinators) (จากมติคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล เดือนมกราคม 2554) *ที่ขีดเส้นใต้คือมติที่เพิ่มเติมจากเดิม ข้อที่ 26.060
ผู้ประสานงานโรตารี (Rotary Coordinators)
ข้อที่ 26.060.1 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของผูป้ ระสานงานโรตารี คือ การให้ขอ้ มูลและความช่วยเหลือจากโรตารีสากลทีจ่ ะส่งเสริมสโมสรและภาค ผู้ประสานงานโรตารีเป็นบุคคลส�ำคัญที่จะท�ำให้เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนกลยุทธ์ของโรตารีสากล ส�ำหรับ ปี 2553-2556 ประสบความส�ำเร็จ ท่านทั้งหลายเหล่านั้นต้องให้บริการในฐานะเป็นผู้อบรม ให้แรงจูงใจ ให้การชี้แนะ พิเศษ ให้ค�ำปรึกษา และเป็นทรัพยากรบุคคลส�ำหรับผู้น�ำสโมสรและผู้น�ำภาคในเขตภูมิภาคที่ได้รับมอบหมาย ท่านทั้ง หลายเหล่านั้นจะต้องให้ความช่วยเหลือในการประชุมสัมมนาเจ้าหน้าที่ โรตารีสากลในเขตภูมิภาค (Rotary Institute) การอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก (GETS) และการประชุมระดับโซนอื่นๆ ข้อที่ 26.060.2 หน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้ประสานงานโรตารีต้องได้รับการฝึกอบรมและมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ของโรตารีทุกด้าน รวมทั้งต้องปฏิบัติหน้าที่ตาม แผนงานของโรตารีสากล โดยการวางแผนและการจัดสัมมนารวมทัง้ การประชุมปฏิบตั กิ ารในระดับภาคและระดับภูมภิ าค ด้วยการช่วยเหลือและสนับสนุนของผู้น�ำภาคต่างๆ ดังนี้ 1. ให้ข้อมูลและสนับสนุนส่งเสริมโรแทเรียนทั้งหลายเกี่ยวกับโปรแกรมของโรตารีสากล 2. ส่งเสริมให้สโมสรและภาคพัฒนาขึ้น โดยการให้แนวปฏิบัติที่ดีที่สุดและข้อมูลอื่นๆ ที่น�ำไปปฏิบัติได้ รวมทั้งสนับสนุน ส่งเสริมความเป็นผู้น�ำของสโมสรและภาค 3. สร้างสรรค์การเพิ่มสมาชิกโดยส่งเสริมให้สโมสรมีประสิทธิภาพและเข้มแข็งมากขึ้น 4. ส่งเสริมแผนกลยุทธ์ของโรตารีสากล 5. ส่งเสริมการประชุมใหญ่ของโรตารีสากล 6. ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูใ้ ห้การอบรมในทีมการอบรมผูว้ า่ การภาครับเลือก เมือ่ ได้รบั เชิญจากประธานการประชุม (Convener) ผู้ประสานงานโรตารีจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญส�ำหรับสโมสรและภาค และในฐานะเป็นผู้ประสาน งานระหว่างส�ำนักงานเลขาธิการของโรตารีสากล และโรแทเรียนในเขตภูมิภาคที่ได้รับมอบหมาย นอกจากนี้ ผู้ประสานงานโรตารีจะปรึกษาหารือและสื่อสารกับผู้น�ำภาคในเรื่องทั่วไปของโรตารีสากล และประสานการ ให้ขอ้ มูลจากกลุม่ ของโรตารีตา่ งๆ (Rotary Groups) แก่ภาคและสโมสร ซึง่ ไม่อยูใ่ นสายงานปกติของการสือ่ สารระหว่าง โรตารีสากล ภาค และสโมสร ผูป้ ระสานงานโรตารีเป็นทรัพยากรบุคคลส�ำหรับผูว้ า่ การภาค และควรได้รบั การอนุมตั จิ าก ผู้ว่าการภาคก่อนท�ำหน้าที่กับสโมสรในภาคต่างๆ ด้วย ผู้ประสานงานโรตารีจะปรึกษาหารือและประสานความร่วมมือกับกรรมการบริหารโรตารีสากล (RI Director) และผู้ ประสานงานมูลนิธิโรตารีสากลเขตภูมิภาค (RRFC) ที่ได้รับมอบหมาย เพื่อส่งเสริมเป้าหมายทั้งของ โรตารีสากลและมูลนิธโิ รตารี โดยการท�ำให้สโมสรและภาคต่างๆ เข้มแข็ง ผูป้ ระสานงานโรตารีมรี ะดับและสถานภาพเท่า เทียมกันกับผู้ประสานงานมูลนิธิโรตารีเขตภูมิภาค (RRFCs) และควรร่วมมือในการท�ำงานโดยเสมอภาคกัน ผู้ประสาน งานโรตารีและผู้ประสานงานมูลนิธิโรตารีเขตภูมิภาคควรปรึกษาหารือกับกรรมการบริหารโรตารีสากลในเขตภูมิภาค ที่ได้รับมอบหมาย ในฐานะเป็นทีมวางแผนงานที่เป็นกุญแจส�ำคัญโดยมีกรรมการบริหารโรตารีสากลเป็นหัวหน้าและ ประธานของทีมงาน ข้อที่ 26.060.3 จ�ำนวนและเขตภูมิภาคต่างๆ ผูป้ ระสานงานโรตารี คือ โรแทเรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษในระดับสูงจ�ำนวน 41 คน ซึง่ ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะเป็นผูแ้ ทน ของโรตารีสากลในภาคต่างๆ ในเขตภูมภิ าคของแต่ละคน อย่างน้อย 1 คนใน 34 เขตภูมภิ าคของโรตารีสากล เขตภูมภิ าค ต่างๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจะได้รบั การจัดและก�ำหนดให้มจี ำ� นวนเท่ากับผูป้ ระสานงานของมูลนิธโิ รตารีเขตภูมภิ าค 41 คน ซึ่งแต่งตั้งโดยประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรตารีของโรตารีสากล (Chair of Trustees)
32
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ศูนย์โรตารีประเทศไทย เรียน มิตรโรแทเรียนที่รักทุกทาน
หรือภาค หรือโรตารีสากล เชน การจัดเตรียมประชุมสัมมนาเจาหนาที่โรตารี ในนามของประธานศูนยโรตารีในประเทศไทย ศูนยฯ มี สากลในเขตภูมิภาค (Zone Institute) และการประชุมใหญประจําปของโรตารี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ บริ ก ารแก ภ าคและสโมสรต า งๆ ใน สากล (RI Convention) ที่จะเกิดขึ้นในป พ.ศ.2555 กิจการของโรตารี เพื่อใหการบําเพ็ญประโยชนของภาค ศูนยฯ ยังลดคาใชจายคาจอดรถโดยขอที่จอดรถเพิ่มในบริเวณโรงเรียนวัฒนา และสโมสรเปนไปดวยความราบรื่นและมีประสิทธิภาพ และไดปรับปรุงเว็บไซตใหดียิ่งขึ้น ประสานการติดตอกับสํานักงานเลขาธิการโรตารีสากล ผมขอขอบคุณที่มิตรโรแทเรียนไดใชบริการของศูนยฯ หากมิตรโรแทเรียนมี ผลิ ต และเผยแพร เอกสารต า งๆ เช น แปลเอกสารของ ขอเสนอแนะสิ่งใดเพิ่มเติม ขอไดโปรดชี้นําเพื่อจะไดไปปรับปรุงแกไขตอไปให โรตารีสากลที่สําคั ญเพื่อใหการบริหารภาคหรือสโมสร ดียิ่งขึ้น ผมและเจาหนาที่ศูนยฯ 6 คนพรอมที่จะใหบริการแก 292 สโมสรและ ดําเนินกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนมีความเขาใจที่ถูกตอง 7,112 โรแทเรียนในประเทศไทย กัมพูชา รวมทั้ง สปป.ลาว ดวย หากมีความ ในระเบี ย บวิ ธี ป ฏิ บั ติ แ ละนโยบายต า งๆ ที่ กํา หนดโดย บกพรองไปบางตองขออภัยมา ณ ที่นี้ โรตารี ส ากล นอกจากนั้ น แล ว ยั ง ผลิ ต และเผยแพร ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี นิ ต ยสารโรตารี ป ระเทศไทย ศู น ย ฯ ยั ง เป น ที่ จั ด เก็ บ ประมวลขอมูลหรือสถิติตางๆ เกี่ยวกับโรตารีและสโมสร โรตารีในประเทศไทย และยังอํานวยความสะดวกในการ อผภ.ชาญชัย วิศิษฏกุล ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ ป 2553-55 เปนสถานที่จัดประชุมคณะกรรมการของสโมสรโรตารี
สารจากศูนยฯ
เมษายน 2554
ตัวเลขโรตารีไทย 3330 3340 3350 3360
81 สโมสร 58 สโมสร
2,227 คน 1,255 คน
90 สโมสร 63 สโมสร
2,333 คน 1,297 คน
ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ (ม.ค. 54)
อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล เดือนเมษายน 2554 30 บาท ตอ US$1
ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ชั้น 32 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2661 6720-1 โทรสาร 0 2661 6719 e-mail: rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org
อผภ.ชาญชัย วิศษิ ฏกุล ประธาน คณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ ขณะนําเสนอ ณ การประชุมใหญ ประจําปของภาค 3350 โรตารีสากล วันที่ 12 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม ดุสิตธานี เมืองพัทยา โดยในปนี้ เจาหนาที่ศูนยโรตารีฯ ก็ไดไปรวม ในการประชุมฯ เพื่อจัดแสดง เอกสารตางๆ ของโรตารี และรับลงทะเบียน (ลวงหนา) ของการประชุมใหญประจําปโรตารี สากล ป 2555 ของทุกภาคดวย
ทานสามารถดาวนโหลดเอกสารโรตารีสากลป 2554-55 ฉบับแปลเปนภาษาไทย (แปลโดย คณะกรรมการแปลเอกสารของศู นย โ รตารี ฯ ) ได แ ล วที่ http://www.rotarythailand.org/ download/download.html
ความรู้...คู่โรตารี โดย อน.บุญเทียม แสงศิริ
การทดสอบ 4 แนวทาง (The 4 – Way Test) แปลและเรียบเรียง จาก Story of The 4-Way Test : By Herbert J.Taylor
ก่อนที่จะคิด พูด หรือท�ำสิ่งใดก็ตาม ชาวโรแทเรียนจะเตือนตนด้วยการคิดถึงการ ทดสอบ 4 แนวทางเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้ บุคคลส�ำคัญที่เป็นผู้คิดและริเริ่มน�ำหลักการทดสอบ 4 แนวทางมาใช้ในกิจการของ สโมสรโรตารีเป็นคนแรกคือ Mr.Herbert J.Taylor ซึ่งเป็นโรแทเรียนชาวชิคาโก และได้รับเลือก เป็นประธานโรตารีสากลในปี ค.ศ. 1954-1955 ที่มาของหลักการการทดสอบ 4 แนวทางนั้นเริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1932 เมื่อเขาได้รับมอบ หมายให้เป็นผูก้ สู้ ถานะทางเศรษฐกิจของบริษทั The Club Aluminum Product Company ซึง่ เป็นบริษทั ทีผ่ ลิตเครือ่ งใช้ในครัวเรือนทีป่ ระสบวิกฤตทางเศรษฐกิจจวนล้มละลาย เพราะมีหนีส้ นิ ถึง 400,000 ดอลลาร์สหรัฐ โดยทีม่ ที นุ ส�ำรองขอยืมได้จากธนาคารชิคาโกได้เพียง 6,100 ดอลลาร์ เท่านั้น เฮอร์เบิรท์ เริม่ แก้ไขปัญหาด้วยการน�ำข้อมูลของบริษทั คูแ่ ข่ง มาเปรียบเทียบกับบริษทั ที่ ตนได้รับมอบหมาย ซึ่งก็พบด้วยความหนักใจว่า ไม่ว่าจะเปรียบเทียบทางด้านใดบริษัทคู่แข่งมิได้ ด้อยกว่าบริษทั ของตนเลย เช่นทางด้านคุณภาพก็ใกล้เคียงกัน แถมบริษทั คูแ่ ข่งยังดีกว่าทีเ่ ป็นยีห่ อ้ ที่ติดตลาดกว่า และที่น่ากลัวที่สุดคือ ฐานะทางการเงินยังมั่นคงกว่าเสียอีก แล้วเฮอร์เบิร์ท ควรจะคิดแก้ไขประการใด เฮอร์เบิรท์ จ�ำเป็นต้องแสวงหา หรือต้องสร้างจุดแข็งเหนือกว่าคูแ่ ข่งขันให้ได้และคิดออก ในที่สุดว่า สิ่งที่น่าจะท�ำได้เหนือกว่าคู่ต่อสู้คือคุณภาพและสมรรถภาพของพนักงานแต่ละคน อัน ได้แก่ บุคลิกภาพเฉพาะตน ความน่าเชื่อถือไว้วางใจ และความมีจิตส�ำนึกในการให้บริการ จากนัน้ เฮอร์เบิรท์ ก็เริม่ ด้วยการคัดเลือกผูร้ ว่ มงานอย่างพิถพี ถิ นั แล้วหาทางทีจ่ ะพัฒนา บุคลากรเหล่านั้นไปพร้อมๆกับการพัฒนาบริษัท เฮอร์เบิรท์ เชือ่ มัน่ อย่างเต็มเปีย่ มว่า ใน “ In Right There Is Might” คือเชือ่ ว่าในความ ถูกต้องนัน้ มีพลังอันยิง่ ใหญ่แฝงอยู่ ดังนัน้ จึงตัดสินใจว่าจะพยายามด�ำเนินการให้ดที สี่ ดุ โดยยึดเอา ความถูกต้องเป็นจุดยืน ปัญหาคือจะสร้างพลังขึ้นมาได้อย่างไร ? เฮอร์เบิร์ทคิดว่า วิธีที่จะให้บุคลากรทั้งบริษัทหันมารวมกันเป็นหนึ่งเดียวนั้นอาจท�ำได้ ถ้ามีความเชื่อมั่นและศรัทธาในสิ่งเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ นโยบายและค�ำขวัญของบริษัทจึงเป็นสิ่ง ส�ำคัญที่สุด เมื่อหันมาพิจารณาถึงค�ำขวัญของบริษัท ซึ่งที่จริงก็มีอยู่ก่อนแล้ว แต่ก็ยืดยาวยากแก่ การจดจ�ำ และใช้ไม่ค่อยได้ผล จึงคิดหาค�ำขวัญสั้นๆ ที่พนักงานทุกคนสามารถจดจ�ำได้ง่ายๆ เขา ใช้เวลาคิดอยู่นานก็คิดได้ไม่เป็นที่พอใจ จนกระทั่งวันหนึ่ง วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1932 เช้าวัน นั้นเฮอร์เบิร์ทรู้สึกหมดท่า ถึงกับอธิฐานขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าให้ประทานแนวทาง ในการคิด การพูด หรือการกระท�ำที่ถูกต้องให้ ทันใดนั้นก็เกิดความคิดเรื่อง 4 แนวทางผุดขึ้นในสมอง เขา รีบหยิบการ์ดมาบันทึกแนวทางทดสอบ 4 ประการ ซึ่งประกอบด้วยข้อความสั้นๆเพียง 24 ตัว อักษร แม้กระนั้นก็ยังไม่แน่ใจว่าจะได้ผลจริงหรือไม่ จะโยนทิ้งไปหรือทดลองใช้ก่อนดี ในที่สุดก็
34
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ตัดสินใจทดลองน�ำไปใช้กับงานที่ผ่านเข้ามาในสายงานก่อน โดยเริ่มถามตนเองว่า ถ้อยค�ำที่บริษัท น�ำไปโฆษณาสินค้านั้นถูกต้องตามความเป็นจริงหรือไม่ ซึ่งก็พบด้วยความตกใจว่างานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ที่บริษัทน�ำไปใช้นั้น อยู่ห่างไกลจากความเป็นจริงอย่างยิ่ง เฮอร์เบิรท์ ส�ำรวจงานด้วยข้อทดสอบ 4 แนวทาง ทีค่ ดิ ได้ดว้ ยจิตใจเป็นกลางและเทีย่ งตรง อยู่ 40 วัน ก็เกิดความมั่นใจและด�ำเนินการขายความคิดนี้ออกไปสู่เพื่อนร่วมงานเริ่มด้วยหัวหน้า แผนก 4 แผนก ซึ่งพบด้วยความแปลกใจว่าล้วนมาจากลัทธิความเชื่อถือที่แตกต่างกันคือ เป็นโรมัน แคทอลิก คริสเตียนไซแอนทิสต์ ออรร์โธดอกซียวิ และเพรสไบทีเรียน เมือ่ ถามว่ามีอะไรในข้อทดสอบ 4 แนวทางขัดกับลัทธิความเชือ่ ทีต่ นศรัทธาอยูห่ รือไม่ ก็ได้รบั ค�ำตอบว่าไม่มี และเห็นพ้องต้องกันว่า ความจริง ความยุตธิ รรม ไมตรีจติ มิตรภาพและความช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ล้วนเป็นหลักธรรมค�ำสอน ทีม่ อี ยูใ่ นศาสนาของตนทัง้ สิน้ และเชือ่ ว่าถ้าน�ำเอาไปใช้ในเชิงธุรกิจใด ธุรกิจนัน้ จะต้องประสบความ ส�ำเร็จและรุ่งเรืองต่อไปแน่ๆ ในที่สุดก็ตกลงกันว่าจะน�ำข้อทดสอบ 4 แนวทางนี้กับวัตถุประสงค์ โครงการ นโยบาย ถ้อยแถลง และงานโฆษณาของบริษัท ซึ่งต่อมาพนักงานทุกคนก็ได้รับการร้องขอให้ใช้ข้อทดสอบ 4 แนวทางนี้กับทุกงานและทุกเรื่อง ทั้งที่เป็นงานโดยตรง และงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น จากการส�ำรวจพอเริม่ ใช้งานก็พบว่า บริษทั จ�ำเป็นต้องเลิกใช้บางถ้อยค�ำทีใ่ ช้ในการโฆษณา เช่นค�ำว่า ดีกว่า ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด วิเศษที่สุด ซึ่งปรากฏผลเป็นที่น่ายินดีว่าประชาชนกลับให้ความ เชื่อถือ ในสินค้าเพิ่มขึ้น ยอดใบสั่งซื้อก็มีเข้ามามากขึ้น จากนัน้ บริษทั ก็เปลีย่ นนโยบายความสัมพันธ์กบั บริษทั คูแ่ ข่ง เลิกใช้ถอ้ ยค�ำวิพากษ์วจิ ารณ์ เปรียบเทียบ ทับถม บริษทั คูแ่ ข่งในธุรกิจโฆษณา พยายามท�ำดีดว้ ย พูดดีดว้ ย จนในทีส่ ดุ ก็หนั มาเป็น พันธมิตร กว่า 10 ปี ที่เฮอร์เบิร์ทได้น�ำข้อทดสอบ 4 แนวทางนี้ไปประยุกต์ใช้ เขาได้รับผลส�ำเร็จ อย่างงดงาม ไม่ว่าจะเป็นงานขาย งานเพิ่มพูนผลผลิต และรายได้ของพนักงาน จากสภาพบริษัทที่ เกือบล้มละลายในปี ค.ศ. 1932 บริษัทได้ใช้หนี้สินคืนได้ทั้งหมด ทั้งยังมีปันผล ให้แก่ผู้ถือหุ้นไปกว่า ล้านดอลลาร์สหรัฐ และบริษัทมีค่าหุ้นมากกว่า 2 ล้านดอลลาร์ ความส�ำเร็จนีไ้ ด้มาจากเงินทุนทีข่ อยืมมา 6,100 ดอลลาร์ การด�ำเนินงานตามแนวทางข้อ ทดสอบ 4 แนวทาง และการท�ำงานอย่างหนักของพนักงาน ที่ยึดมั่นในอุดมการณ์เดียวกัน เฮอร์เบิร์ทกล่าวว่า นอกเหนือจากความสามารถในการกอบกู้ สถานะทางเศรษฐกิจของ บริษัทแล้ว สิ่งที่เขาภาคภูมิใจก็คือ การได้รับความปรารถนาดี ไมตรีจิตมิตรภาพ และการยอมรับ นับถือทั้งจากพนักงาน ลูกค้า บริษัทคู่แข่งและมหาชน และยิ่งไปกว่านั้นก็คือการพัฒนาทางด้าน จริยธรรมของพนักงานบริษัท อย่างไรก็ดีเฮอร์เบิร์ทเตือนว่า เราจะไม่สามารถน�ำหลักการนี้ไปใช้กับบุคคลอื่นอย่าง สม�่ำเสมอได้ ถ้าเราไม่เริ่มด้วยการเป็นพ่อแม่ที่ดี เพื่อนที่ดี และพลเมืองที่ดีเสียก่อน เฮอร์เบิรท์ ได้เริม่ น�ำบททดสอบ 4 แนวทางมาใช้ในกิจการโรตารีสากล โดยเริม่ ทดลองใช้ใน งานด้านบริการอาชีวะก่อนในเดือนมกราคม ค.ศ.1943 จากนั้นก็ได้รับความนิยมน�ำไปใช้ในบริการ ด้านอื่นๆ และขยายออกไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ นอกเหนือจากกิจกรรมของโรตารีสากลอีกด้วย บททดสอบ 4 แนวทางนั้นมีอะไรบ้าง ? ส�ำหรับชาวโรแทเรียน ทุกสิ่งที่เรา คิด พูด หรือท�ำ ควรยึดข้อทดสอบ 4 แนวทางนี้เป็น หลัก 1. Is it the TRUTH เป็นความจริงหรือไม่ ? 2. Is it FAIR to all concerned ? เป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องหรือไม่ ? 3. Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS ? จะก่อให้เกิดไมตรีจิต มิตรภาพระหว่างกันหรือไม่ ? 4. Will it be BENEFICIAL to all concerned จะเป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง หรือไม่ ? จะเห็นได้ว่าประกอบด้วยตัวอักษร 24 ตัว คือ TRUTH FAIR GOODWILL BENEFIT
นับถอยหลังการประชุมใหญ่ โดย รทร.อรุณวดี สมานมิตร พอล สร.เชียงใหม่เหนือ
การประชุมใหญ่โรตารีสากลประจ�ำปี 2011ซึง่ จะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 21-25 พฤษภาคม ได้คืบคลานมาใกล้เราทุกที สมาชิกโรแทเรียนบางท่านคงจะเดินทางมา นิวออร์ลีนส์ ด้วยขบวน รถไฟ ชื่อ เดอะ ซิตี้ ออฟ นิวออร์ลีนส์ ชื่อเสียงของรถไฟโดยสารขบวนนี้ได้รับมาจากเพลงที่มีชื่อ เดียวกัน คือ เดอะ ซิตี้ ออฟ นิวออร์ลีนส์ ซึ่งประพันธ์โดย สตีฟ กู๊ดแมน นักร้องและนักประพันธ์ เพลงแห่งกรุงชิคาโก้ และได้รบั ความนิยมอย่างมากในปี 2515 ด้วยเสียงร้องของ อาโล กัธ๊ รี (Arlo Guthrie) เนื้อเพลงบรรยายบรรยากาศของการเดินทางด้วยรถไฟในอดีต ที่มีระยะทาง 930 ไมล์ โดยใช้เวลาเดินทาง 19 ชั่วโมง จาก ชิคาโก้ “ขบวนรถไฟเคลื่อนผ่านบ้านเรือน และไร่นา” ผ่าน รัฐอิลลินอยส์ เคนตั๊กกี้ เทนเนสซี มิสซิสซิปปี้และหลุยส์เซียนา
สวัสดีตอนเช้าครับ อเมริกา ท่านสบายดีหรือครับ?
ท่านไม่รู้จักผมหรือครับ? ผมเป็นบุตรชายแห่งชาติของท่านเองครับ
ผมเป็นขบวนรถไฟ ที่พวกเขาตั้งชื่อว่า เดอะ ซิตี้ ออฟ นิวออร์ลีนส์
ก่อนตะวันตกดิน ผมคงจะเดินทางไปได้ถึง 500 ไมล์แล้วครับ
ระยะทาง 500 ไมล์แรก ขบวนรถไฟดังกล่าวจะน�ำท่านเดินทางไปถึงกรุงเมมฟิส ในรัฐ เทนเนสซี ซึง่ มีชอื่ เสียงโด่งดังเทียบเท่ากรุงชิคาโก้ และกรุงนิวออร์ลนี ส์ในฐานะทีเ่ ป็นหนึง่ ในสถาน ทีซ่ งึ่ เพลงบลูอฟั ริกนั -อเมริกนั ได้ถอื ก�ำเนิดเกิดมา จากเมมฟิส ขบวนรถไฟจะเดินทางลงใต้ ซึง่ จาก ขบวนรถไฟผูโ้ ดยสารสามารถมองเห็นดินดอนสามเหลีย่ มปากแม่นำ�้ มิสซิสซิปปี ซึง่ เป็นทีร่ าบลุม่ อัน กว้างใหญ่ไพศาล ประกอบด้วยเมืองเล็กๆและไร่นา โผล่ขึ้นมาเป็นเหมือนเกาะแก่งกลางน�้ำ และ ในขณะที่ขบวนรถไฟแล่นผ่านบริเวณที่ราบลุ่ม อันเต็มไปด้วยหนองบึงและแม่น�้ำ อันอุดมด้วยป่า ไซเปรส ก่อนเข้าสู่กรุงนิวออร์ลีนส์นั้น ขบวนรถไฟซึ่งแล่นอย่างช้าๆ ท�ำให้ผู้โดยสารสามารถมอง เห็นฝูงนกกระทุง นกกระยาง ตัวมัสกรัส ตัวทูเทรีย และ จระเข้ สถานที่ น ่ า ประทั บ ใจแห่ ง สุ ด ท้ า ย น่ า จะเป็ น ทะเลสาบพอนท์ ช าร์ เ ทรน (Lake Pontchartrain) ซึ่งเป็นทะเลสาบน�้ำเค็มที่ใหญ่เป็นล�ำดับสองของประเทศอเมริกา จากข้อมูล ของแอมแทรก ทางรถไฟที่เป็นเส้นโค้งยาว 9 ไมล์เลาะข้างทะเลสาบพอนท์ชาร์เทรนนี้ นับเป็น ทางรถไฟที่โค้งติดต่อกันที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา ส�ำหรับการประชุมใหญ่โรตารีสากล แอมแทรก ได้เสนอลดค่าโดยสาร 10 เปอร์เซ็นต์ ส�ำหรับการโดยสารขบวนรถไฟทีด่ ที สี่ ดุ สายนิวออร์ลนี ส์ ให้แก่โรแทเรียนและคูค่ รองทุกท่าน ตัง้ แต่ วันที่ 15 ถึง 31 พฤษภาคม โปรดเข้าไปเยี่ยมชม www.rotary.org/convention แล้วคลิกไปที่ “Travel Information” เพือ่ หาข้อมูลเพิม่ เติม และท่านสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมโรตารี สากลได้ที่ www.rotary.org/convention
36
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
Mardi@ Gras New Orleans
อดีตผู้ว่าการภาคคือ ทรัพยากรส่วนมากที่ถูกหลงลืม Rotary Most Neglected Resource-Past District Governors !! แปลโดย อผภ. สม อินทร์พยุง
การที่สโมสรและภาคของโรตารี ก�ำลังเผชิญหน้ากับปัญหาท้าทายอย่างหลากหลายและ น่า ตืน่ เต้น อยูใ่ นขณะนี้ นัน้ บัดนีก้ ถ็ งึ เวลาแล้วทีเ่ ราจะต้องตรวจนับทรัพยากรทัง้ ปวงทีม่ อี ยูใ่ นโรตารีของเรา
ขอถามว่าทรัพยากรอะไรของเราที่สูญเปล่าไปมากที่สุด ? ค�ำตอบก็คือ อดีตผู้ว่าการภาคนั่นเอง !
ในเกือบทุกภาคของโรตารี เรือ่ งในอดีตทีช่ นื่ ชอบกันมากทีส่ ดุ ประการหนึง่ คือ การเล่าขานอย่าง ขบขันถึงผลงานที่ไม่เอาไหนของอดีตผู้ว่าการภาคบางท่าน อดีตผู้ว่าการภาคทุกท่าน ต่างอึดอัดใจว่าจะได้งานอะไรมาช่วยท�ำตามที่ตนสามารถ ภายหลังจากสิน้ ปีดว้ ยผลงานดีมไี ว้เป็นประวัตแิ ล้ว อดีตผูว้ า่ การภาคทัง้ หลายต่างก็มกั จะกลาย เป็นพหูสตู ในเรือ่ งราวของโรตารี หลายท่านประสงค์จะมีสว่ นเกีย่ วข้องกับงานทีท่ า้ ทายต่อไป แต่ทา่ นเหล่า นั้นก็ทราบดีว่าจ�ำเป็นจะต้องระวังไม่เข้าไปยุ่มย่ามล�้ำอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ที่สืบทอดต่อจากตน ! บัดนี้มีข่าวดีมากหลายส�ำหรับท่านอดีตผู้ว่าการภาค ผู้ซึ่งก�ำลังนั่งอย่าง “อ่อนใจอยู่ท้ายรถ โดยสาร” (tired of sitting at the back of the bus) เพื่อรองานที่ควรจะได้ท�ำตามที่ตนประสงค์ ด้วยการยอมรับปรัชญาว่าด้วยการท�ำให้ “ใหญ่ขึ้น เข้มแข็งขึ้น และดีขึ้น” ของท่านประธาน เรย์ คลิงกินสมิท เราก�ำลังรอคอยความเปลี่ยนแปลงอย่างยิ่งใหญ่ที่เป็นไปได้ในการบริหารจัดการโรตารี ภายในสิบปีข้างหน้า คณะกรรมการบริหารของโรตารีสากลชุดปัจจุบนั ก�ำลังจะได้เห็นผลของการรวมภาคเล็กๆ ทัว่ โลกเข้าด้วยกัน สิง่ ทีจ่ ะเกิดจากการมีภาคใหญ่ๆ ก็คอื มีผวู้ า่ การภาคน้อยลง และมีพนื้ ทีบ่ ริหารงานในภาค ใหญ่มากขึ้น การมีเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้น จะช่วยในการบริหารงานของภาค ในขณะนี้ โรตารีสากลได้ เริ่มใช้วิธีการฝึกอบรมผู้น�ำอาวุโสโดยใช้คอมพิวเตอร์ระบบ Webinars ผู้ว่าการภาคทั้งหลายก�ำลังชื่นชมในการที่จะได้ท�ำงานอย่าง “ฉลาดมากขึ้น” (smarter), นอกจากทักษะในการขอความช่วยเหลือจากผู้ช่วยผู้ว่าการภาคแล้ว ผู้ว่าการภาคยังจะได้รับความรู้และ ความเชีย่ วชาญของอดีตผูว้ า่ การภาคด้วย ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญดังกล่าวนี้ ย่อมจะมีคณ ุ ค่าต่อความ พยายามของทุกภาคทีจ่ ะ “เพิม่ คุณค่า” ในบริการเหนือตนและเป็นการยกระดับภาพลักษณ์ของโรตารีใน
38
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
ท้องถิ่นของแต่ละภาคให้สูงขึ้นด้วย ในท�ำนองเดียวกัน อดีตผู้ว่าการภาคทั้งหลายก็จะต้องค�ำนึงถึงอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ว่าการภาค อยูเ่ สมอ การทีท่ า่ นเสนอให้ความช่วยเหลือแก่ผวู้ า่ การภาค ท่านก็ตอ้ งระวังและรับทราบไว้ดว้ ยว่าบรรดา ผู้ว่าการภาคต้องการท�ำหน้าที่การงานตามรูปแบบของตนเอง การให้ความนับถือ ให้ความร่วมมือ และ การมีส่วนร่วมในกิจการงานจากอดีตผู้ว่าการภาค ย่อมก่อให้เกิดผลดีอย่างมากในการเสริมสร้างสโมสร และภาคของโรตารีให้ “ใหญ่ขึ้น ดีขึ้น และเข้มแข็งขึ้น”
อดีตผู้ว่าการภาคจะต้องเป็นคนดี, มีฝีมือ และยึดถือเป็นที่พึ่งได้
ขอให้ยอมรับความจริงว่า หลังจากการเป็นผู้ว่าการภาคเสร็จสิ้นไปอย่างดีเยี่ยมในหนึ่งปีแล้ว ไม่มีผู้ใดที่จะได้รับการเลื่อนขั้นโดยตรงไปเป็นกรรมการบริหารของโรตารีสากล โดยแท้จริงแล้ว มีตำ� แหน่งการงานในโรตารีสากลอยูจ่ �ำกัด ไม่วา่ จะเป็นคณะกรรมการในระดับ ประเทศหรือระดับภูมภิ าค สถานทีท่ เี่ หมาะสมในการมีตำ� แหน่งการงานควรเริม่ ต้นในภาคของแต่ละท่าน ผูว้ า่ การภาคทีฉ่ ลาด จะมุง่ พิจารณาไปทีส่ มาชิกทุกท่านของสภาอดีตผูว้ า่ การภาคและพยายาม แต่งตั้งสมาชิกในสภาให้ด�ำรงต�ำแหน่งที่เหมาะสมแก่ความสามารถของแต่ละท่าน ต่อไปนี้คือหน้าที่การ งานที่ขอแนะน�ำเพื่อพิจารณา :• การจัดประชุมอบรมการเป็นผู้น�ำของภาคและการสัมมนา • คณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการภาค/คณะกรรมการฝึกอบรม • ประธานหรือคณะกรรมการอุปถัมภ์ (chair or mentor committee) ระดับภาคและโซน • ชมรม พอล แฮริส โซไซเอ็ดตี้, คณะกรรมการหาทุน (ชมรมผู้บริจาคมรดก ผู้บริจาคเมเจอร์ โดนเนอร์ และอื่นๆ) • ทีป่ รึกษา, ผูน้ ำ� ในคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ท�ำงานร่วมกับคณะกรรมการขยายสโมสรและคณะกรรมการ ช่วยสโมสรที่ก�ำลังอ่อนง่อนแง่น • ประธานฝ่ายข้อมูลข่าวสารในสโมสรของแต่ละท่าน รับผิดชอบในการวางแผนสนเทศ โรตารีประจ�ำ สัปดาห์ของสโมสร • ประธานประชาสัมพันธ์ระดับภาคและระดับสโมสร • เป็นที่เห็นได้อย่างง่ายๆ ว่ามีหน้าที่การงานที่จะเลือกสรรได้มากมาย ตามแต่อดีตผู้ว่าการภาคทั้งหลาย จะเลือกงานที่ตนสนใจ โดยถกแขนเสื้อให้กระชับแล้วเข้ารับงานอย่างเข้มแข็ง เพือ่ เป็นการตอบแทน, ภาคต่างๆควรจะต้องยกย่องประวัตแิ ละผลงานต่างๆ ของอดีตผูว้ า่ การ ภาคให้ปรากฏ โดยในแต่ละปีอาจมอบรางวัล “อผภ.ดีเด่น” (Outstanding PDG Award) ในการประชุม ใหญ่ประจ�ำปีหรือในพิธีส่งมอบงานของผู้ว่าการภาคแก่ผู้ว่าการภาครับเลือก (District Changeover) ก็ จักเป็นการดี • ทุกๆ ภาคสามารถเพิม่ ความแข็งแกร่งได้ดว้ ยการจัดประชุมสภาอดีตผูว้ า่ การภาคหลายๆ ครัง้ ถ้าประชุม ได้สักสามถึงหกครั้งในหนึ่งปี ก็จะเป็นการประกันให้เกิดความสุขและเพิ่มพูนข้อมูลข่าวสารที่ดีในภาค สโมสรและภาคที่ใหญ่ขึ้น ดีขึ้นและเข้มแข็งขึ้น คงจะเป็นความจริงเกิดขึ้นแก่ชีวิตชีวาของ โรตารี ภายในเวลาอีกไม่นานนัก ขอทุกท่านจงอย่าพลาดโอกาสทีจ่ ะท�ำให้เกิดสิง่ ส�ำคัญสามอย่างดังกล่าว นี้ (Don’t miss the bus) (โดย Bob Aitken, บรรณาธิการใหญ่ของนิตยสาร Rotary Down Under และเป็นสมาชิกของสโมสร โรตารี Lower Blue Mountains, NSW, Australia ท่านผู้นี้เป็นอดีตผู้ว่าการภาค, ภาค 9690
สิ่งละอันพันละน้อย
อผภ.เกษมชัย นิธิวรรณากุล ผู้ว่าการภาคปี น�ำทาง สร้างผลงาน
โครงการนำ�ร่องของโรตารี เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมด้านวิชาชีพ โครงสร้างครอบครัว ความ รับผิดชอบส่วนตัว คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลจะทดลองความคิด วิธีการ โครงร่างสโมสร ใหม่ ๆ โดยริเริ่มโครงการน�ำร่อง 4 โปรแกรมเป็นระยะเวลา 3 ปีเพื่อให้โรตารีคงฐานะเป็นองค์กร บ�ำเพ็ญประโยชน์อันดับหนึ่งของโลก สโมสรที่สนใจเข้าร่วมโครงการให้ยื่นความจ�ำนงถึงโรตารี สากลภายในวันที่ 1 เมษายน 2554 1.
โปรแกรมสโมสรบริวารต้นแบบ (Satellite Club Pilot Program)
โปรแกรมสโมสรบริวารต้นแบบเป็นหนึ่งในสี่โปรแกรมในโครงการน�ำร่องของโรตารี เพื่อประเมินเรียนรู้ผลดีผลเสีย จากการอนุญาตให้สโมสรฉีกแนวจากข้อบังคับบางข้อในธรรมนูญ มาตรฐานสโมสรโรตารี ซึง่ เล็งผลในการเพิม่ สมาชิก สนับสนุนมูลนิธโิ รตารี ด�ำเนินโครงการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ ส่งเสริมให้สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมสโมสร และลดอายุโดยเฉลี่ยของสมาชิกภาพ สาระส�ำคัญคือ สโมสรบริวารต้นแบบสามารถมีความยืดหยุน่ ในการจัดประชุมมากกว่า หนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ แต่ละครั้งจัดในสถานที่แตกต่างกัน ในวันและ/หรือเวลาที่ต่างกัน โดยมีระยะ เวลาทดลอง 3 ปีตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 เงื่อนไขหลักมีว่า สโมสรบริวารต้นแบบที่เข้าร่วมต้องเป็นสโมสรก่อตั้งในวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 (12 เดือนให้หลังจากวันเริม่ โครงการน�ำร่องเพือ่ ให้มเี วลาเพียงพอในการประเมิน ประสิทธิผล และความอยู่รอดได้) มีสโมสรอุปถัมภ์/เจ้าภาพที่ก่อตั้งก่อนวันที่ 30 มิถุนายน 2552 วัตถุประสงค์ เพือ่ ใช้วดั ผลว่าสโมสรบริวารต้นแบบสามารถดึงดูดกลุม่ มือวิชาชีพทีห่ ลาก หลายภายในเขตพืน้ ทีข่ องสโมสร รักษาฐานของประเภทวิชาชีพทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบและหลากหลาย ปรับปรุงการปฏิบัติการของสโมสร และมอบโอกาสการพัฒนาภาวะผู้น�ำเพิ่มขึ้นแก่สมาชิกสโมสร ได้มากน้อยเพียงใด สโมสรบริวารให้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง • ช่วยเหลืออ�ำนวยความสะดวกในการก่อตั้งสโมสรใหม่ • รองรับชุมชนในชนบทที่ห่างไกล หรือมีจ�ำนวนประชากรน้อย
40
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
• รองรับเขตเมืองใหญ่โดยอาศัยการประชุมที่มีความหลากหลายใน ด้านสถานที่ วันและเวลา • ให้โอกาสแก่สโมสรขนาดเล็ก อ่อนแอ ในการเชื่อมโยงติดต่อกับ สโมสรขนาดใหญ่เพือ่ ขอแรงสนับสนุน รับอาสาเป็นพีเ่ ลีย้ ง และความ ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง • สนองต่อความต้องการของกลุ่มประชากรที่หลากหลาย เช่นคน หนุ่มสาวในเมืองหลวง ในหัวเมืองใหญ่ เพราะสโมสรที่มีอยู่แล้วอาจ ไม่เหมาะสมหรือจูงใจต่อพวกเขาเพียงพอ
โปรแกรมน�ำร่องนี้ เป็นผลจากการส�ำรวจสมาชิกมุง่ หวังที่ มีคณ ุ สมบัตสิ มบูรณ์และโรแทเรียนวัยหนุม่ สาว พบว่าพวกเขาต้องการ ความยืดหยุ่นในการคงสมาชิกภาพและความเกี่ยวพันกับสโมสร โรตารี
สโมสรบริวารต้นแบบ สามารถฉีกแนวเบี่ยงเบนจาก ธรรมนูญมาตรฐานสโมสรโรตารีได้มากน้อยเพียงใด • ทุกนัดของการประชุมสโมสรต้องเข้าเกณฑ์การประชุมประจ� ำ สัปดาห์ • สโมสรอุปถัมภ์และสโมสรบริวารต้องประชุมพร้อมหน้ากันอย่าง น้อยไตรมาสละครั้ง • สโมสรโรตารีแต่ละสโมสรสามารถอุปถัมภ์สโมสรบริวารได้ไม่เกิน 3 สโมสรในเวลาใดเวลาหนึ่งพร้อมกัน • สมาชิกต้องก�ำหนดการประชุมนัดไหนเป็นการประชุมประจ�ำ สัปดาห์ และนัดไหนยึดถือเป็นการประชุมเพิ่มเติม • ข้อก�ำหนดสมาชิกภาพไม่เปลีย่ นแปลงทัง้ ในกรณีของสโมสรอุปถัมภ์ และสโมสรบริวาร • สโมสรขนาดเล็ก อ่อนแอ จะระงับสารตราตัง้ ชัว่ คราว จนกว่าสโมสร นั้น สามารถประคองบริหารตนเองให้อยู่รอดได้ในฐานะเป็นสโมสร อิสระพึ่งพาตนเองได้
• วันเวลาสถานทีป่ ระชุมทีแ่ ตกต่าง รวมถึงการประชุมออนไลน์ทางสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ การใช้เครือข่ายสือ่ สังคมประเภท facebook, twitter กิจกรรมสโมสร/สังคม เป็นต้น • ปรับปรุงภาวะผู้น�ำและหน้าที่ก�ำกับดูแลสโมสร • ร่างคุณสมบัติและหน้าที่ของสมาชิกในเชิงสร้างสรรค์ • ปรับระบบศัพท์ของโรตารีให้ทันสมัย • ใส่ใจกับการผูกใจสมาชิกแทนมุ่งเน้นคะแนนการเข้าประชุม
2. โปรแกรมสโมสรนวั ต กรรม และยื ด หยุ ่ น ต้ น แบบ (Innovative & Flexible Rotary Club Pilot Program) โปรแกรมสโมสรนวัตกรรม และยืดหยุ่นต้นแบบมุ่งให้ ความส�ำคัญแก่สโมสรในการก�ำหนดโดยตนเอง ซึง่ วิธปี ฏิบตั กิ ารของ สโมสรให้เหมาะกับความต้องการของสมาชิกและชุมชน เช่นเดียว กับโปรแกรมสโมสรบริวารต้นแบบ โปรแกรมนี้มีก�ำหนดระยะเวลา น�ำร่อง 3 ปีตงั้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 30 มิถนุ ายน 2557 สโมสรนวัตกรรมและยืดหยุน่ ต้นแบบเน้นความสนุกสนาน ความมีพลัง ความหลากหลาย ความยืดหยุ่น ความกล้าลองในสิ่ง ใหม่ ๆ การคาดหวังผล ความมีไหวพริบ มีความคิดริเริ่ม สมาชิก เป็นศูนย์กลาง และอุดมด้วยความสัมพันธ์ รวมถึงการสนับสนุนสร้าง เสริมสมาชิกภาพให้แข็งแกร่ง ขยายกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และ ยกระดับภาพลักษณ์ของโรตารี
สโมสรภายใต้โปรแกรมนี้ มีสิทธิ์แก้ไขธรรมนูญมาตรฐาน สโมสรโรตารีและข้อบังคับสโมสรในทุกบริบท เว้นแต่เรื่องอัตราและ การช�ำระค่าบ�ำรุงสมาชิก นอกจากนี้ยังสามารถทดลอง
ผลลัพธ์ที่ต้องการ • การเพิม่ วิสยั ทัศน์ของสโมสร การระดมสมองความคิด การวิเคราะห์ ช่องว่าง การเสาะหาข้อแก้ไข และการปฏิบัติการขั้นถัดไป • สมาชิกมีความต้องการรับบทบาทผู้น�ำเพิ่มมากขึ้น • มีความคิดริเริ่มเกี่ยวกับโปรแกรมโรตารี กิจกรรมสังคม การระดม หาทุน • สร้างโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ประจ�ำสโมสรที่คงความยั่งยืน • สร้างความพึงพอใจแก่สมาชิก • จ�ำนวนสมาชิกเพิม่ ขึน้ การสรรหาและรักษาสมาชิกทัง้ ใหม่และเดิม • มีความหลากหลายของสมาชิกภาพว่าด้วยเพศ อายุ เชื้อชาติ ประเภทอาชีพ • คู่ครองและครอบครัวมีส่วนร่วมในกิจกรรมสโมสร • ใช้สื่อสังคมผูกพันเชื่อมสัมพันธไมตรีกับสมาชิก • ส่งเสริมภาพลักษณ์สโมสรให้ชุมชนท้องถิ่นรับรู้ • สนับสนุนมูลนิธิโรตารี (มีส่วนร่วมในโปรแกรมและระดมหาทุน) • มีความสมดุลในการท�ำโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์และกิจกรรม สังคม • ลดอายุโดยเฉลี่ยของสมาชิก • ลดแนวความคิดในเชิงลบเกี่ยวกับค่าปรับระหว่างการประชุม การ ร้องเพลง และการขาดประชุมเนื่องด้วยเหตุผลทางครอบครัว ส่วน ตัว และด้านอาชีพ • ปรับปรุงเว็บไซต์ของสโมสร และแผ่นพับประชาสัมพันธ์สโมสร • ส่งเสริมค่านิยมแก่นสารของโรตารี
Rotary in Action District 3330 R.I. สโมสรโรตารีนครชัยศรี Dear President Satoru Kawana and members Rotarian Utsunomiya 90 Rotary Club. According to The WCS Project# W05750, The Rotary Club of Utsunomiya 90 District 2550 inJapan ,donated 110,000 baht to the Rotary club of Nakornchaisri District 3330 Thailand. for providing water filter for students in Srisathong and Thatalad schools. Recently we have already done the project which could give water filter for Srisathong and Thatalad school. We enclosed some photos with this letter too. On behalf of the Rotary Club of Nakornchaisri and students. Thank you very much for your club’s generosity. Your in Rotary, Sumon Sungkitboon. Chair, Club Rotary Foundation. Rotary Club of Nakornchaisri D.3330 Thailand
42
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
District 3340 R.I.
“น�้ำสะอาดเพื่อชีวิต เป็นราชพลี ถวายองค์จักรี ภูมิพล”
สโมสรโรตารี กั น ทรลั ก ษ์ ร่ ว มกั บ สโมสรโรตารีสีลม, กรุงเทพบางนา, กรุงเทพ พัฒนาการ, สิงห์บุรีวีระชน, รวมทั้งโรตารีใน ประเทศไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮาวาย และ อินเีดย ท�ำ โครงการแมทชิ่งแกรนท์ เพื่อ มอบเครื่องกรอง น�้ำให้แก่โรงเรียน 38 โรง ใน อ.กันทรลักษณ์ อ.ขุนหาญ และ อ.ขุขันธ์ มูลค่า 1,500,000 บาท โดยมี รองผวจ.ศรีสะเกษ เป็นผู้รับมอบ ตามค�ำ กล่าวรายงานของ ผวล.ธาตรี ลีธีระประเสริฐ ในโอกาสนี้ ได้มอบเครือ่ งฟอกไตเทียม 1 เครื่อง ให้โรงพยาบาลศรีสะเกษ โดยเป็นความ ร่วมมือของ สโมสรฯกันทรลักษณ์, ศรีสะเกษ และ กรุงเทพพัฒนาการ นอกจากนี้ ยั งได้ ม อบหนั ง สือ พร้ อม อุ ป กรณ์ กี ฬ าและเครื่ อ งเขี ย น แบบเรี ย นให้ โรงเรียน 10 โรง มูลค่ารวม 300,000 บาท
สโมสรโรตารีบัวใหญ่ ร่วมกับสโมสร สีลมและ กรุงเทพพัฒนาการ ภาค 3350, สโมสร จากภาค 2420 ตุรกี, ภาค 5170-5240-5450 สหรัฐอเมริกา โดยการประสานงานของ อผภ. เกษมชัย นิธิวรรณากุล และ อผภ.ศิริ เอี่ยม จ� ำ รู ญ ลาภ จั ด ท� ำ โตรงการแมทชิ่งแกร้น ท์ # 74221 มอบเครื่องฟอกไตเทียม (Hemodialyis
Machine) มูลค่ากว่า 600,000 บาท ให้แก่ โรง พยาบาลบัวใหญ๋ นครราชสีมา เนื่องใน “วาระ ครบรอบ ๘๐ ปี แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ของ โรตารี ในประเทศไทย”
District 3350 R.I.
District Conference 2010-2011 Pattaya Chonburi
44
นิตยสารโรตารีประเทศไทย มีนาคม-เมษายน 2554
District 3360 R.I.
District Conference 2010-2011 Lampang
“พบกันที่ นครลำ�ปาง”
“ปะกั๋นแหม” พบกันที่แม่สายปลายปีนี้
งานประชุมใหญ่ร่วมสองภาค ๓๓๔๐ ,๓๓๖๐
ช่วยเหลือผู้ ประสพภัยพิบัติ
กับ“โครงการทุนสมทบ ของ มูลนิธิโรตารี” สภาพที่พักชั่วคราว ของชาว บ้าน และ ซากปรักหักพังของ บ้านเรือน จากเหตุการณ์ แผ่นดินไหวล่าสุด ที่เมืองท่า เดื่อ จ.ท่าขี้เหล็ก สหภาพพม่า (ระยะห่างจากชายแดน อ.แม่สาย 50 กม.)