1
2
ค�ำน�ำ คู่มือดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยเล่มนี้ จัดท�ำ ขึน้ เพือ่ ใช้ในการอบรมความรูใ้ ห้กบั ผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในเขตความ รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านพรุกระแชง โดยได้รวบรวมความรู้ เรื่องเบาหวาน การใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการรักษา ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย รัฐบาลทีม่ งุ่ เน้นการสร้างสุขภาพภาคประชาชน โดยใช้กระบวนการเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วม เพือ่ พัฒนาศักยภาพและทักษะในการดูแลตนเอง เพือ่ การบ�ำบัดรักษาอาการเจ็บป่วยเบือ้ ง ต้นให้กบั ผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน ช่วยให้ผปู้ ว่ ยในชุมชนมีแนวทางปฏิบตั อิ นั ส่งผลให้เกิดการมี สุขสุขภาพที่ดี
คณะผู้จัดท�ำ กุมภาพันธ์ 2559
3
สารบัญ บทที่ 1 เบาหวาน 2 ประเภทของเบาหวาน 3 อาการเบื้องต้นของโรคเบาหวาน 4 การป้องกันการเป็นเบาหวาน 5 การรักษาโรคเบาหวาน 6 การดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 7 ยอดยาสมุนไพร พิชิตเบาหวาน 8 การนวดกดจุดฝ่าเท้า 9 การแช่เท้าสมุนไพร 10 อ้างอิง
4
หน้า 5 6 8 9 10 12 12 17 24 28
เบาหวาน Diabetes เบาหวาน เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลิน ไม่เพียงพอ อันส่งผลท�ำให้ระดับน�้ำตาลในกระแสเลือดสูงเกิน โรคเบาหวานจะมี อาการเกิดขึ้นเนื่องมาจากการที่ร่างกายไม่สามารถใช้น�้ำตาลได้อย่างเหมาะสม ซึ่ง โดยปกติน�้ำตาลจะเข้าสู่เซลล์ร่างกายเพื่อใช้เป็นพลังงานานภายใต้การควบคุมของ ฮอร์โมนอินซูลิน ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานร่างกายจะไม่สามารถน�ำน�้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นท�ำให้ระดับน�้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลใน การท�ำลายหลอดเลือด ถ้าหากไม่ได้รบั การรักษาอย่างเหมาะสม อาจน�ำไปสูส่ ภาวะ แทรกซ้อนที่รุนแรงได้
อินซูลินกับเบาหวาน อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่สร้างขึ้นโดยกลุ่มเซลล์ภายในตับอ่อน มีหน้าที่ใน การน�ำน�้ำตาลในเลือดไปสู่เนื้อเยื่อต่างๆทั่วร่างกายเพื่อใช้ในการสร้างพลังงานและ สร้างเซลล์ต่างๆ
5
โดยปรกติแล้วเมื่อมีน�้ำตาลเข้าสู่กระแสเลือดตับอ่อนก็จะถูกกระตุ้นให้หลั่งอินซูลิน แล้วอินซูลินก็จะเข้าจับน�้ำตาลเพื่อน�ำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย แต่ในผู้ป่วยที่ เป็นโรคเบาหวาน ซึง่ ร่างกายมี อินซูลนิ ไม่เพียงพอก็จะท�ำให้มนี ำ�้ ตาลในเลือดสูงขึน้
ประเภทของเบาหวาน เบาหวาน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายท�ำลายเซลล์ ซึ่งสร้างอินซูลินในส่วนของ ตั บ อ่ อ นท� ำ ให้ ร ่ า งกายหยุ ด สร้ า งอิ น ซู ลิ น หรื อ สร้ า งได้ น ้ อ ยมาก ดั ง ที่ เรี ย กว่ า 6
โรคภูมติ า้ นทานตัวเองหรือออโตอิมมูน(autoimmune) ผูป้ ว่ ยเบาหวานชนิดนีจ้ า� เป็น ต้องฉีดอินซูลิน เพื่อควบคุมน�้าตาลในเลือดระยะยาว และถ้าเป็นรุนแรงจะมีการคั่ง ของสารคีโตน (ketones) สารนีจ้ ะเป็นพิษต่อระบบประสาทท�าให้หมดสติถงึ ตายได้
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นเบาหวาน ที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ สาเหตุที่แท้จริงนั้นยังไม่ทราบ ชัดเจน แต่มสี ว่ นเกีย่ วกับ พันธุกรรม นอกจากนี ้ ยังมีความสัมพันธ์กบั ภาวะ น�า้ หนัก ตัวมาก และขาดการออกก�าลังกาย มีลกู ดก อีกทัง้ วัยทีเ่ พิม่ ขึน้ เซลล์ของผูป้ ว่ ยยังคง มีการสร้างอินซูลนิ แต่ทา� งานไม่เป็นปกติ เนือ่ งจากมีภาวะดือ้ ต่ออินซูลนิ ท�าให้เซลล์ ที่สร้างอินซูลินค่อยๆถูกท�าลายไป บางคนเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนโดยไม่รู้ตัว
7
อาการเบื ้องต้นของโรคเบาหวาน ผู้เป็นโรคเบาหวานจะมีอาการเบื้องต้นคือ 1. ปวดปัสสาวะบ่อยครั้งขึ้น เนื่องจากในกระแสเลือดและอวัยวะต่างๆมีน�้ำตาลค้าง อยู่มาก ไตจึงท�ำการกรองออกมาในปัสสาวะ ปัสสาวะจึงหวาน สังเกตจากการที่มี มดมาตอมปัสสาวะ จึงเป็นที่มาของการเรียก เบาหวาน 2. ปัสสาวะกลางคืนบ่อยขึ้น 3. กระหายน�้ำ และดื่มน�้ำในปริมาณมากๆต่อครั้ง 4. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง 5. เบื่ออาหาร 6. น�้ำหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะถ้าหากน�้ำหนักเคยมากมาก่อน อัน เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถน�ำน�้ำตาลไปสร้างพลังงานได้เต็มที่จึงต้องน�ำไขมัน และโปรตีนจากกล้ามเนื้อมาใช้ทดแทน 7. ติดเชื้อบ่อยกว่าปรกติ เช่นติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร สังเกตได้จาก เมื่อเป็นแผลแล้วแผลจะหายยาก 8. สายตาพร่ามองไม่ชัดเจน 9. อาการชาไม่คอ่ ยมีความรูส้ กึ เนือ่ งมาจากเบาหวานจะท�ำลายเส้นประสาทให้เสือ่ ม สมรรถภาพลงความสามารถในการรับรู้ความรู้สึกจึงถดถอยลง 10. อาจจะมีอาการของโรคหัวใจ และโรคไต โดย เบาหวานชนิดที่ 2 อาจจะมีอาการเหล่านี้บางอย่าง หรืออาจไม่มี อาการเหล่านี้เลย
8
การป้องกันการเป็นเบาหวาน 1. ควบคุมน�้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. ควบคุมโภชนาการ ให้มคี วามสมดุลทัง้ ในด้านโภชนาการ การออกก�ำลังกาย รวม ไปจนถึงการใช้ยารักษาโรค 3. ควรตรวจเช็คระดับน�้ำตาลในเลือดสม�่ำเสมอ โดยปรึกษาแพทย์ว่าควรตรวจเช็ค เมื่อใด และ ระยะเวลาห่างในการตรวจที่เหมาะสม 4. ยาบางชนิดหรือยาสมุนไพร อาจมีผลต่อการควบคุมน�ำ้ ตาลในเลือด จะต้องปรึกษา แพทย์และเภสัชกรก่อนใช้ยา หรือ สมุนไพร เหล่านี้
9
สิ่งที่ตรวจพบเมื่อเป็นเบาหวาน ชนิดที่ 1 มักพบในคนที่ มีรูปร่างซูบผอม ไม่มีไขมัน กล้ามเนื้อลีบฝ่อ ชนิดที่ 2 อาจมีรูปร่างอ้วน บางรายตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติตามร่างกาย การตรวจ ปัสสาวะมักจะพบน�้ำตาลในปัสสาวะขนาดมากกว่าหนึ่งบวกขึ้นไป การตรวจน�ำ้ ตาลในเลือดหลังอดอาหาร 6 ชัว่ โมง (fasting plasma glucose/FPG) มักพบว่ามีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 126 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 มิลลิลิตร
การรักษาโรคเบาหวาน เป้าหมายของการรักษาก็เพื่อรักษาระดับน�้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับ ระดับปกติอยูต่ ลอดเวลา การฝึกให้จดั การและดูแลตนเองเป็นส่วนส�ำคัญในการรักษา โรคเบาหวาน รูปแบบการรักษาจะขึ้นอยู่กับผู้ป่วยแต่ละราย และต้องน�ำประเด็น ด้าน การแพทย์ จิตสังคม (psychosocial) และวิถีการด�ำเนินชีวิตของผู้ป่วยมาร่วม ใช้ในการรักษาด้วย เบาหวานชนิดที่ 1 เนือ่ งจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลนิ ได้จงึ อาจท�ำให้ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 นีย้ ากต่อการควบคุม การรักษาจึงต้องมีหลักเกณฑ์ตา่ งๆ ได้แก่ 10
การควบคุมอาหารอย่างระมัดระวัง วางแผนเรือ่ งการออกก�ำลังกาย การตรวจระดับ น�้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง และการฉีดอินซูลินแบบหลายครั้งในหนึ่งวัน (MDI) เบาหวานชนิดที่ 2 วิธีการรักษาได้แก่การควบคุมอาหาร การออกก�ำลัง กาย การตรวจระดับน�ำ้ ตาลด้วยตนเอง และในบางกรณีอาจต้องมีการการรักษาด้วย ยารับประทานและ/หรือฉีดอินซูลินร่วมด้วย ซึ่งมีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ประมาณ 40% ที่ต้องฉีดอินซูลิน ร่วมด้วย
11
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ยอดยาสมุนไพร พิชิตเบาหวาน นวดกดจุดฝ่าเท้า การแช่เท้าสมุนไพร
ยอดยาสมุนไพร พิชิตเบาหวาน ตามภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทยได้มีการบันทึกไว้เกี่ยวกับการดูแลรักษา โรคเบาหวาน โดยเน้นพืชผักสมุนไพรพื้นบ้านที่หาง่ายในท้องถิ่น และส่วนใหญ่มัก ใช้มาประกอบเป็นอาหารกินเป็นประจ�ำ ดังค�ำที่ว่า “กินปลาเป็นหลัก กินผักเป็น พื้น” ท�ำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง แต่ปัจจุบันพฤติกรรมรับประทานอาหาร เปลี่ยนแปลงไป มีค่านิยมเลียนแบบสังคมตะวันตก เน้นการรับประทานอาหารที่มี ในระดับจากเนือ้ สัตว์ซงึ่ มีไขมันสูง กินผักน้อยลง สมุนไพรทีส่ ามารถลดระดับน�ำ้ ตาล ในเลือด ทีใ่ ช้กนิ ได้แก่มะระขีน้ ก กระเจีย๊ บเขียว ต�ำลึง ช้าพลู ย่านาง ว่านหางจระเข้
ต�ำลึง
12
ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis (L.) Voigt ชื่อวงศ์ Cucurbitaceae สรรพคุณในต�ำรายาไทย ราก แก้โรคตา ทาภายนอกแก้พิษอักเสบ แก้ฝี ปวดบวม ใบ พอก รักษาโรคผิวหนัง แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้หืด แก้ไข้ ผล แก้ฝีแดง นอกจากนี้สรรพคุณส�ำคัญของต�ำลึง คือ ช่วยลดระดับน�้ำตาลในเลือด โดยพบว่าใบ แก่ออกฤทธิ์ดีกว่าใบอ่อน วิธีรับประทาน 1. น�ำใบแก่มา 1 ถ้วย ปั่นกับน�้ำเย็น 2 ถ้วย กรองเอาแต่น�้ำดื่ม 2. วิธีนึ่ง โดยน�ำยอดต�ำลึงประมาณ 1 ก�ำมือ โรยเกลือหรือใส่น�้ำปลาเล็กน้อย ห่อ ด้ ว ยใบตองน� ำ ไปผิ ง ไฟให้ สุ ก และรั บ ประทานให้ ห มดก่ อ นนอนติ ด ต่ อ กั น เป็ น เวลา 3 เดือน 3. น�ำใบมาปรุงอาหาร เช่น แกงจืด ลวกจิ้มน�้ำพริก เป็นต้น
มะระขี้นก
ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantia (L.) ชื่อวงศ์ Cucurbitaceae สรรพคุณในต�ำรายาไทย เนื้อผลเป็นยาขม ช่วยเจริญอาหาร ขับพยาธิ น�้ำ คัน้ จากผลเป็นยาระบายอ่อนๆ แก้รอ้ นใน กระหายน�ำ ้ ท�ำให้ตาสว่าง แก้ตาบวมแดง มะระขี้นกเป็นพืชสมุนไพรที่นิยมใช้รักษาโรคเบาหวานในประเทศอินเดีย 13
วิธีรับประทาน 1. ผิงไฟให้แห้งแล้วบดเป็นผงรับประทานหรือชงเป็นน�้ำชาดื่มต่างน�้ำ 2. ลวกผลอ่อนรับประทานคู่กับน�้ำพริก ครั้งละ ๒-๓ ผล 3. คั้นเอาน�้ำมาดื่มให้ผสมน�้ำสุกเล็กน้อยครั้งละ ๑ ถ้วยตะไล (ถ้วยชา) 4. น�ำยอดอ่อนหรือผลมาปรุงอาหาร เช่น แกงป่า แกงเผ็ด ข้อควรระวัง ผลสุก ไม่ควรรับประทาน เพราะจะท�ำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
กระเจี๊ยบเขียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Abelmoschus esculentus (L.) Moench ชื่อวงศ์ Malvaceae สรรพคุณ ช่วยเคลือบแผลในกระเพาะอาหารและล�ำไส้ไม่ให้ลุกลาม รักษา ความดันให้เป็นปกติ เป็นยาบ�ำรุงสมอง มีสรรพคุณเป็นยาระบาย วิธีรับประทาน ปรุงเป็นอาหารได้ โดยการต้มแล้วจิ้มกับน�้ำพริก
14
ช้าพลู
ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper sarmentosum Roxb.ex Hunter ชื่อวงศ์ PIPERACEAE สรรพคุณในต�ำรายาไทย ทั้งต้น รสเผ็ดร้อน ขับเสมหะ แก้ท้องอืดเฟ้อ ช่วย เจริญอาหาร แก้ไอ แก้หวัด ใบ รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลม ช่วยเจริญอาหาร ท�ำให้ เลือดลมซ่าน ขับเสมหะ แก้เบาหวาน ช้าพลูจดั เป็นสมุนไพรทีเ่ หมาะส�ำหรับการแนะน�ำผูป้ ว่ ยเบาหวานเนือ่ งจาก มีฤทธิ์แอนตี้อ๊อกซิแด็นท์สูงมาก ทั้งยังมีปริมาณแคลเซียม วิตามินเอ วิตามินซี สูง มากชนิดหนึ่ง วิธีรับประทาน น�ำช้าพลูทั้งห้า(ทั้งต้นจนถึงราก) 1 ก�ำมือ ต้มกับน�้ำ 3 ขัน เคี้ยวให้ เหลือ 1 ขัน รับประทานครั้งละ ครึ่งแก้วกาแฟก่อนอาหาร 3 มื้อ สรรพคุณ ช่วยลด
ย่านาง
15
ชื่อวิทยาศาสตร์ Limacia triandra Miers ชื่อวงศ์ MENISPERMACEAE สรรพคุณในต�ำรายาไทย ใบ ใช้ถอนพิษ แก้ไข้ แก้ไข้รากสาด ไข้พิษ เถา ใช้ ถอนพิษผิดส�ำแดง แก้ไข้ตัวร้อนราก แก้พิษเบื่อเมา วิธีรับประทาน 1. ใช้ใบย่านางสดโขลกให้ละเอียดแล้วเติมน�ำ้ หรือขยีใ้ บย่านางกับน�ำ้ หรือปัน่ ในเครือ่ ง ปั่น แล้วกรองผ่านกระชอนเอาแต่น�้ำดื่มครั้งละ 1/2 – 1 แก้ว วันละ 2-3 เวลา ก่อน อาหาร หรือตอนท้องว่างหรือผสมเจือจางดื่มแทนน�้ำ 2. น�ำน�้ำคั้นจากใบย่านางมาประกอบอาหาร เช่น แกงเห็ด แกงขี้เหล็ก ต้มใส่หน่อ ไม้ เป็นต้น
งานวิจัย ตรีผลาเป็นชือ่ พิกดั ยาซึง่ ประกอบด้วยสมอไทย สมอพิเภกและมะขามป้อม รวมทัง้ 3 สิง่ ในปริมาณเท่ากันโดยน�ำ้ หนัก ต�ำราสรรพคุณยาไทยว่าตรีผลามีรสสุขมุ มีสรรพคุณแก้โรคอันเกิดจากปิตตะ เสมหะ และวาตะ ในกองธาตุ กองฤดู กองอายุ และกองสมุฏฐาน ข้อมูลจากการศึกษาวิจยั พรีคลินกิ พบว่าสารสกัดตรีผลามีฤทธิต์ า้ น ออกซิเดชัน ลดระดับน�ำ้ ตาลในเลือดในหนูทดลองทีเ่ หนีย่ วน�ำให้เกิดเบาหวาน มีฤทธิ์ ป้องกันอันตรายจากรังสีและลดความรุนแรงของอาการป่วยจากการตอบสนองต่อ รังสีในหนูเพศผูท้ ไี่ ด้รบั รังสีแกรมมาทัง้ ตัว นอกจากนัน้ สมุนไพรอันเป็นองค์ประกอบ ของผลทั้ง 3 ชนิดและสารสกัดตรีผลามีฤทธิ์ลดระดับคอเลสเตอรอลในหนูทดลอง จะเห็นได้ว่าพืชและสมุนไพรในประเทศไทยสามารถน�ำมาใช้ในการดูแล สุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานได้มีหลากหลายชนิด การเลือกใช้สมุนไพรชนิดไหนควร ค�ำนึงถึง เป็นพืชสมุนไพรทีห่ าง่ายในท้องถิน่ มีความปลอดภัยสูงและมีผลการศึกษา ว่าสามารถลดน�้ำตาลในเลือดหรือมีส่วนช่วยคุมน�้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานแต่ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดผลดีควรจะต้องมีการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจควบคู่ไปด้วยกัน
16
การนวดกดจุดฝ่าเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน การนวดเท้าได้ค้นพบโดยแพทย์จีนโบราณ ซึ่งชาวจีนมีความเชื่อว่าใน ร่างกายของคนเรา มีเส้นลมปราณกระจายอยูท่ วั่ ไป ท�ำหน้าทีเ่ ป็นทางเดินของเลือด ลม ส่งอาหารและพลังงานไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ถ้าการไหลเวียนเลือดลมเกิดการ ติดขัด จะท�ำให้เกิดความเจ็บปวดขึ้นได้ การนวดกดจุด บริเวณฝ่าเท้า ตามต�ำแหน่ง พื้นที่สะท้อนอวัยวะต่างๆ เพื่อรับการท�ำงานของอวัยวะนั้นๆ ให้กลับสู่สภาพสมดุล
นวดฝ่าเท้าดีอย่างไรในผู้ป่วยเบาหวาน
- ช่วยกระตุ้นให้เลือดไหลเวียนดี - กระตุ้นการท�ำงานของระบบประสาท - มีผลต่อข้อและเอ็นต่างๆ ท�ำให้เคลื่อนไหวได้ดี ยืดหยุ่นได้ดี - ช่วยกระตุ้นให้เกิดการขับของเสียออกทางผิวหนัง - ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย คลายความเครียด ลดความกังวล - เพิ่มพลังงานและสมรรถภาพทางการท�ำงานภายในอวัยวะต่างๆ
การเตรียมตัวก่อนการนวด
- ร่างกายต้องอยู่ในสภาพผ่อนคลายมากที่สุด - ไม่มีความตึงเครียด - ไม่ใส่เข็มขัด แหวน เครื่องประดับ - ก่อนนวดล้างมือ ล้างเท้าให้สะอาด - ตัดเล็บให้สั้น - สถานที่นวด อากาศต้องถ่ายเทสะดวก ไม่ร้อนหรือเย็นจนเกินไป
17
ขั้นตอนในกำรนวด 1. มะเหงกกดครูด เนินอุ้งฝ่าเท้าจนถึงส้นเท้า ท�า 5 ครั้ง
2. มะเหงกกดครูด เนินฝ่าเท้า เริ่มที่นิ้วก้อยไปยังนิ้วโป้ง ท�า 5 ครั้ง
18
3. มะเหงกกดครูด จากคอนิ้วเท้านิ้วก้อยไปคอนิ้วโป้ง ท�า 5 ครั้ง
4. มะเหงกกดครูด ตรงขอบฝ่าเท้าด้านในจากนิ้วโป้งไปจนถึงส้นเท้า ท�า 5 ครั้ง
19
5. กดจุดบริเวณฝ่าเท้า ใช้นวิ้ หัวแม่มอื กดค้างไว้นบั 1-10 แล้วเปลีย่ น มีทงั้ หมด 7 จุด 1. นิ้วโป้งเท้า
2. นิ้วชี้เท้า
20
3. นิ้วกลางเท้า
4. นิ้วนาง
21
5. นิ้วก้อย
6. ใต้เนินฝ่าเท้า
22
7. กึ่งกลางฝ่าเท้า ตรงกับแนวนิ้วก้อย
ข้อห้ามในการนวดฝาเท้า - ความดันดลหิตสูง มากว่า 160/100 มิลลิเมตรปรอท - เบาหวาน (ระดับน�้าตาลมากว่า 180 มิลลิกรัม/เดซิลิตร) - มีบาดแผลที่เท้า หรือโรคผิหนังอักเสบติดเชื้อ เช่น ตุ่ม หิด หนอง - กระดูกเท้าหัก หรือผิดรูป - หลอดน�้าเหลืองอักเสบ หรืออุดตัน - มีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส - หลังการดื่มสุรา - กินอาหารอิ่มใหม่ๆ - หญิงตั้งครรภ์ - ระหว่างการมีประจ�าเดือน - หลังการอาบน�้าเสร็จทันที
23
การแช่เท้าสมุนไพร สมุนไพรที่ใช้ 1. ตะไคร้ แก้ปวดข้อ ปวดเมื่อย ฟกช�้ำจากหกล้มขาบวมน�้ำ
2. ผิวมะกรูด ช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล ช่วยยับยั้งการหดเกร็ง ของกล้ามเนื้อได
24
3. เถาวัลย์เปรียง รักษาอาการปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเอว
4. ไพล รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม ฟกช�้ำ ข้อเท้าแพลง แก้ไข้ แก้ครั่นเนื้อ ครั่นตัว ช่วยลดอาการอักเสบ แก้ปวด บวม เส้นตึง เมื่อยขบ แก้อาการปวดเมื่อย กล้ามเนื้อ ปวดตามร่างกาย
25
5. ขมิน้ ชัน ช่วยเสริมสร้างภูมคิ มุ้ กันให้ผิวหนังมีสขุ ภาพดีแข็งแรง ช่วยแก้ผื่นคันตาม ร่างกาย ช่วยรักษาโรคผิวหนัง ผดผื่นคัน
6. เกลือ
26
วิธีท�ำ 1. น�ำสมุนไพร สิ่งละประมาณหนึ่งก�ำมือ ล้างน�้ำให้สะอาด 2. น�ำสมุนไพรผสมกับเกลือเล็กน้อย แล้วน�ำมาห่อคล้ายลูกประคบ แต่มัดแบบ หลวมๆ 3. น�ำห่อผ้าสมุนไพรส�ำหรับแช่เท้า ใส่หม้อต้มน�้ำให้เดือด
วิธีแช่เท้าสมุนไพร ให้น�้ำอยู่ที่อุณหภูมิ ๔๐ - ๕๐ C ปริมาณพอท่วมนิ้วเท้า แช่ไว้สักครู่จึงค่อย ๆ เติมน�ำ้ เพิม่ จนสูงถึงกระดูกข้อเท้า ขณะทีเ่ ท้าแช่อยูใ่ นน�ำ ้ ให้สองเท้าเคลือ่ นไหวไม่ หยุดนิ่ง หรือเอาสองเท้าถูกันไปมาเพื่อให้เลือดหมุนเวียน ครั้งละ 10 – 15 นาที ไม่ เกิน 20 นาที
ประโยชน์
1. ช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิต 2. ช่วยลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 3. ช่วยลดอาการบวมทีข่ าและเท้าในรายทีม่ สี าเหตุจากระบบการ ไหลเวียน 4. ช่วยคลายกล้ามเนื้อลดอาการปวดเมื่อย
ข้อห้าม/ ข้อควรระวัง
1. ผู้ที่มีบาดแผลหรือแผลเปิดบริเวณเท้า 2. ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บหรือถูกกระแทกที่เท้าหรือข้อเท้าภายใน 48 ชม. แรก ซึ่งต้องประคบเย็นก่อนเพื่อลดอาการปวด อักเสบ 3.ระวังเรื่องอุณหภูมิของน�้ำสมุนไพรในผู้ป่วยที่มีอาการชา
27
อ้างอิง กิตติ ลี้สยาม. 2553. นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ (ออนไลน์). เข้าถึงจาก http://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book552/thai153. html วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์. 2554. เบาหวาน (ออนไลน์). เข้าถึงจาก https://www.bumrungrad.com/mens-health-center/th/diabetes.aspx วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 สีไพร พลอยทรัพย์, ทัศนีเวศ ยะโส, ฐิตินันท์ อินทอง . 2558. แนวทางการดูแลผู้ ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์ผสมผสาน . กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักการแพทย์แผน ไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.
28
29
มัสตูรา ดือรามะ วัชราภรณ์ หมัดเหย่ 30
หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต ปีที่ 4 รุ่นที่ 5 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา