โรคข้อเข่าเสื่อม
Osteoarthritis of the knee คลินิกเวชกรรมไทย รพ.สต.บ้านเขาดิน อ�ำเภอเขาพนม จ.กระบี่
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหน้าเขา 1
2
ค�ำน�ำ ภาวะข้อเข่าเสือ่ มเป็นภาวะทีพ่ บได้บอ่ ยในผูส้ งู อายุ และมีแนวโน้มจะสูงขึน้ เรือ่ ยๆ จากการทีป่ ระชากรสูงอายุเพิม่ ขึน้ อย่างมากในปัจจุบนั ประเทศไทยพบผูป้ ว่ ย มากกว่า 6 ล้านคน ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไปพบได้ถึงร้อยละ 50 สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากน�้ำหนักตัวที่มากใช้เข่ามาก อาจใช้นานกว่าปกติ หรือผิดท่า ผู้ที่มี ภาวะข้อเข่าเสื่อมมากๆ จะมีอาการเจ็บหรือปวด ข้อเข่าผิดรูป ข้อฝืด หรือข้อติด เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติภารกิจประจ�ำวันต่างๆ ท�ำได้ไม่สะดวก ส่งผลให้เกิดความ ทุกข์ทรมานทัง้ ด้านร่างกายและจิตใจ คูม่ อื นีจ้ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ เป็นแนวทางให้เกิดความ รู้ ความเข้าใจถึงภาวะและการด�ำเนินของโรค การดูแลตนเองเพื่อให้เกิดภาวะนี้ช้า ลง แนวปฏิบตั เิ มือ่ เกิดภาวะของโรคนีแ้ ล้ว ตลอดจนถึงแนวทางการรักษาด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย โดยการใช้ยาสมุนไพรในการพอกเข่าและการบริหารเพื่อลด อาการปวด ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือคู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านและ ผู้ที่มีความสนใจ
พท.วัชราภรณ์ หมัดเหย่ ผู้จัดท�ำ
3
สารบัญ บทที่ 1 ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม 2 อาการส�ำคัญของโรคข้อเข่าเสื่อม 3 สาเหตุของโรคข้อเข่าเสื่อม 4 ปัจจัยของการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม 5 แนวทางการดูแลผูป้ ว่ ยโรคข้อเข่าเสือ่ มด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย โรคลมจับโปงเข่า การคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมทางคลินิก สูตรยาพอกเข่า ลดอาการปวด อักเสบ สูตรยาเย็นรักษาอาการโรคจับโปงแห้งเข่า ท่าบริหารร่างกายในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม
4
หน้า 5 6 6 7 11 11 14 14 16 17
โรคข้อเข่าเสื่อม โรคข้อเข่าเสื่อม คือ ภาวะที่กระดูก โครงสร้างของข้อเข่า อ่อนผิวข้อเข่ามีการสึกหรอและเสื่อม อย่างช้าๆ จะเป็นมากขึน้ ตามเวลาทีผ่ า่ น ไป พบได้ บ ่ อยในผู ้ สูงอายุ ท�ำให้เ กิด อาการปวดเข่า เข่าบวม ข้อยึดติด มีเสียง ดังในเข่า เข่าผิดรูปไม่สามารถประกอบ กิจวัตรประจ�ำวันได้ตามปกติ โรคข้อเข่าเสื่อมนี้เกิดจากการเสื่อมตาม อายุขัยส่วนใหญ่ เกิดกับข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อสะโพก ข้อเข่าและข้อกระดูกสันหลัง พบมากในผู ้ สู ง อายุ ห ญิ ง มากกว่ า ชาย เนือ่ งจากการหมุนเวียนของเลือดไปเลีย้ ง เข่าไม่ได้ดี และเมือ่ เข้าสูว่ ยั สูงอายุไม่คอ่ ย ชอบออกก�ำลังกาย อีกทั้งต้องท�ำงาน หนักไม่มกี ารพัก ประกอบกับน�ำ้ หนักตัว เพิ่มขึ้น ท�ำให้เข่าต้องแบกน�้ำหนักส่วน เกินนั้น กล้ามเนื้อจึงหย่อนสมรรถภาพ ลง จึงท�ำให้เป็นโรคเข่าเสื่อมได้ง่าย
ข้อเข่าของคนเราประกอบไปด้วยกระดูก 3 ส่วนคือ - กระดูกต้นขา Femur ซึ่งเป็นกระดูก ส่วนบนของเข่า - กระดูกหน้าแข้ง Tibia ซึ่งเป็นกระดูก ส่วนล่างของเข่า - กระดูกสะบ้า Patella ซึ่งอยู่ส่วนหน้า ของเข่า ผิวของข้อเข่าจะมีกระดูกอ่อน cartilage รูปครึ่งวงกลมหุ้ม ท�ำหน้าที่กระจายน�้ำ หนัก ในข้อเข่าจะมีน�้ำเลี้ยง synovial fluid เปรียบเสมือนน�้ำหล่อลื่น เป็นการ ป้องกันการสึกของข่อเข่า เมื่อเราเดิน หรือวิง่ ข้อของเรา จะต้องรับน�ำ้ หนักเพิม่ ดังนัน้ ยิง่ น�ำ้ หนักตัวมากเท่าใดข้อต้องรับ น�ำ้ หนักมากเท่านัน้ นอกจากนัน้ ยังมีเอ็น และ กล้ามเนื้อที่ท�ำให้ข้อเข่าแข็งแรง 5
อาการที่ส�ำคัญของข้อเข่าเสื่อม - อาการปวดเข่า เป็นอาการทีส่ �ำคัญ เริ่มแรกจะปวดเมื่อยตึงด้านหน้า และ ด้านหลังของเข่าหรือบริเวณน่อง เมือ่ เป็นมากจะปวดเข่า เมือ่ เคลือ่ นไหว ลุกนัง่ หรือ เดินขึ้นบันไดไม่คล่องเหมือนเดิม - มีเสียงในข้อ เมื่อเคลื่อนไหวผู้ป่วยจะรู้สึกมีเสียงในข้อและปวดเข่า - อาการบวม ถ้าข้อมีการอักเสบก็จะเกิดข้อบวม - ข้อเข่าโก่งงอ อาจจะโก่งด้านนอกหรือโก่งด้านใน ท�ำให้ขาสัน้ ลงเดินล�ำบาก และมีอาการปวดเวลาเดิน - ข้อเข่ายึดติด ผู้ป่วยจะไม่สามารถเหยียดหรืองอขาได้สุดเหมือนเดิม เนื่องจากมีการยึดติดภายในข้อ
สาเหตุของโรคข้อเข่าเสื่อม - พันธุกรรมและความผิดปกติแต่ก�ำเนิดบางชนิด เช่น ขาหรือเข่าผิดรูป - อายุและเพศ โดยเมื่ออายุมากขึ้น ความสามารถในการซ่อมแซมตัวเอง ของกระดูกอ่อนก็ลดลง นอกจากนี้ ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไปจะมีแนวโน้ม ของการเกิดข้อเข่าเสื่อมได้มากกว่าผู้ชายที่อายุเท่ากัน - น�้ำหนักตัวมาก (BMI มากกว่า 23 กก./ม.2) - การได้รับบาดเจ็บที่ข้อเข่า ซึ่งส่งผลให้มีโอกาสเกิดข้อเข่าเสื่อมได้สูง - การใช้ขอ้ เข่าหักโหมซ�ำ้ ๆ หรือท่าทางบางอย่างทีต่ อ้ งงอเข่ามากเกินไป เช่น 6
การคุกเข่า นั่งยองๆ - โรคไขข้ออักเสบ เช่น รูมาตอยด์ เกาต์ ส่งผลให้กระดูกอ่อนถูกท�ำลายจน กระทั่งหมดไป ท�ำให้เกิดอาการปวดและข้อติดแข็งตามมา
ปัจจัยของการเกิดข้อเข่าเสื่อม
– อายุ เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสในการเกิดข้อเข่าเสื่อมย่อมมีมากตาม ทั้งนี้ก็เนื่องจาก ช่วงวัยของเราที่ผ่านการใช้งานมาอย่างยาวนาน จึงส่งผลให้ กระดูกมีความแข็งแรงน้อยลง – เพศหญิง โดยปกติแล้ว โรคข้อเข่าเสื่อม สามารถเกิดในผู้หญิงมากกว่า ผู้ชายถึง 2 เท่า เพราะฉะนั้น ผู้หญิงจึงมีโอกาสเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้ค่อนข้างสูง – ความอ้วน การปล่อยตัวให้อว้ นหรือมีนำ�้ หนักตัวมาก ก็เป็นอีกหนึง่ สาเหตุ ที่ท�ำให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วได้เช่นเดียวกันเพราะข้อเข่าจะต้องรองรับน�้ำหนักตัวไว้มาก และหากต้องรองรับน�้ำหนักเป็นเวลานาน ข้อเข่าก็ย่อมเสื่อมสภาพลงเร็วตามปัจจัย ดังกล่าว – การใช้งานข้อเข่าบ่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นการนั่งยองๆ นั่งขัดสมาธิ หรือการ นั่งพับเพียบเป็นเวลานานก็เป็นปัจจัยที่ท�ำให้เกิดข้อเข่าเสื่อมขึ้นเร็วได้ – ได้รับบาดเจ็บในบริเวณข้อเข่า ส�ำหรับผู้ที่เคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อ เข่า เช่น กระดูกข้อเข่าแตกหรือเอ็นฉีกขาดก็ยอ่ มท�ำให้เกิดโรคข้อเข่าเสือ่ มขึน้ ได้เช่น กัน – ขาดการดูแลสุขภาพ ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกก�ำลังกาย และยังขาดการรับ ประทานอาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ย่อมส่งผลให้ความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนือ้ ลดลง จนท�ำให้มโี อกาสเป็นโรค ข้อเข่าเสื่อมขึ้นง่าย ตรงกันข้าม หากหมั่นออกก�ำลังกาย และทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงใน ปริมาณที่เพียงพอต่อร่างกายจ�ำเป็นได้รับ ก็ย่อมสามารถชะลอการเสื่อมสภาพของ ข้อเข่าได้เช่นกัน
การวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม
ผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการปวดเข่าชนิดเรือ้ รัง หากคุณไปพบแพทย์และเกิดความสงสัย ว่าอาจเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมทางแพทย์ก็จะให้การวินิจฉัยโรคดังกล่าว โดยมีขั้นตอน 7
การวินิจฉัยดังนี้ 1. ซักประวัตแิ ละตรวจร่างกายผูป้ ว่ ย โดยแพทย์จะเน้นตรวจทีข่ อ้ เข่า และ อาจพบลักษณะส�ำคัญคือ มีขอ้ บวม หรือขนาดข้อใหญ่ และอาจพบการงอของข้อเข่า ร่วมด้วย 2. ถ่ายภาพรังสี การวินิจฉัยโดยการถ่ายภาพรังสีจะท�ำให้สามารถค้นพบ ช่องว่างระหว่างกระดูกเข่าทีม่ แี คบลงซึง่ นัน่ หมายถึงกระดูกอ่อนเกิดการสึกหรอ และ หากสึกหรอไปมากก็จะไม่สามารถพบช่องว่างดังกล่าวได้ 3. เจาะเลือด เป็นการเจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยแยกโรค เพราะอาจน�ำมาสู่ สาเหตุของการเกิดโรคปวดเข่าเรื้อรังอย่างเช่น โรครูมาตอยด์หรือโรคเกาต์ 4. ตรวจน�้ำหล่อเลี้ยงเข่า หากผู้ป่วยมีอาการเข่าบวม แพทย์ก็จะเจาะน�้ำ หล่อเลี้ยงเข่าออกมาส่องตรวจผ่ษนกล้องจุลทรรศน์ 5. ตรวจความหนาแน่นของมวลกระดูก การวินจิ ฉัยดังกล่าวเป็นการตรวจ หาโรคกระดูกพรุน
เป้าหมายของการดูแล ชะลออาการ
ระยะของโรคข้อเข่าเสื่อม ระยะที่ 1 ท�ำงานทุกอย่างได้ตามปกติ ระยะที่ 2 ท�ำงานหนักไม่ได้ ระยะที่ 3 ท�ำกิจวัตรประจ�ำวันได้ ระยะที่ 4 เดินไม่ไหว
- ลดอาการปวด ลดการอักเสบของข้อ - ส่งเสริมให้ข้อสามารถท�ำงานได้อย่างเต็มที่ ป้องกันข้อไม่ให้ถูกท�ำลาย มากยิ่งขึ้น - สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และด�ำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคของผู้สูงอายุ หากเป็นแล้วจะไม่สามารถรักษาให้ 8
เหมือนเดิมได้ ดังนัน้ การรักษาข้อเข่าเสือ่ มจึงมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ บรรเทาอาการเจ็บ ปวด ป้องกันข้อติด ข้อโก่งงอ เป็นต้น การรักษาแบ่งออกเป็น 3 วิธี การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วย และวิธีอื่นๆ ในรายที่ปวดมาก ควรพักข้อ ไม่เดินหรือเคลื่อนไหวข้อมากนัก 1. การรักษาทั่วไป โดยการประคับประคอง ด้วยการลดแรงกดทีข่ อ้ เข่า ร่วมกับการท�ำให้ กล้ามเนื้อต้นขาแข็งแรงขึ้น เช่น การลดน�้ำ หนัก การบริหารกล้ามเนือ้ การออก�ำลังกาย
2. การรักษาโดยการให้ยารับประทาน
3. การรักษาโดยการผ่าตัด
9
การใช้อุปกรณ์พยุงข้อ หรือสนับเข่า อาจเลือกใช้ในผู้ที่มีปัญหาข้อเสื่อมที่ เป็นมากแล้ว ซึ่งความ มั่นคงของข้อลดลง เนื่องจากกล้ามเนื้อรอบข้อลีบลง รวมถึงเอ็นรอบข้อก็มีการ เปลี่ยนแปลงด้วย อย่างไรก็ตาม สนับเข่าอาจใส่พยุงข้อในระยะที่มีการเคลื่อนไหว หรือเดิน แต่หากใช้ตอ่ เนือ่ งยาวนาน กล้ามเนือ้ โดยรอบข้อจะยิง่ ลีบลงได้ ดังนัน้ จ�ำเป็น ต้องมีการบริหารกล้ามเนื้อรอบข้ออย่างสม�่ำเสมอ ใช้อุปกรณ์ช่วยเดินหากเดินได้ไม่สะดวก เช่น ไม้เท้าหรือร่มที่มีความแข็ง แรงโดยมีจุกยางอุดส่วน ปลายร่มเพือ่ กันลืน่ จะช่วยในการพยุงตัวได้ดี ทีส่ ำ� คัญช่วยลดแรงกดทีข่ อ้ เข่าได้ โดย ถือไม้เท้าด้านตรงข้ามกับเข่าที่ปวด หากปวดเข่าทั้ง 2 ข้างให้ถือข้างที่ถนัด ประคบความเย็น หรือความร้อน เพื่อลดความปวด อักเสบ บวม ถ้าเข่า อักเสบ ร้อน แดง ช�้ำ หรือบวมใน 24 ชั่วโมงแรก ควรใช้ความเย็นประคบ อาจใช้แผ่นเจลเย็น หรือน�้ำแข็ง ใส่ถุงพลาสติก ห่อผ้าบางๆ ประคบบริเวณนั้นนาน 15-20 นาที ท�ำซ�้ำ วันละ 2-3 ครั้ง หรือเข่าบวมเกิน 24 ชั่วโมง ให้ประคบด้วยความร้อน เช่น ลูกประคบ กระเป๋า น�้ำร้อนขวดใส่น�้ำร้อนซึ่งเป็นความร้อนชื้นจะให้ผลในการคลายกล้ามเนื้อ
10
แนวทางการดูแลโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย 1. การนวดรักษาอาการ
2. การประคบสมุนไพร 3. การพอกเข่า 4. การฝึกท่าบริหารร่างกาย 5. การกักน�้ำมัน 6. การรับประทานยาสมุนไพร
โรคข้อเข่าเสื่อม(ลมจับโปงเข่า) เป็นโรคในตระกูลลมชนิดหนึ่ง เรียกว่า จับโปงหรือจะโปง ท�ำให้ลมเดินไม่สะดวกใน เส้นอิทา ปิงคลา เกิดภาวะเลือดตกตะกอนในข้อเข่าหรือข้อเท้า สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ลมจับโปงน�้ำ และลมจับโปงแห้ง
ข้อเข่าปกติ
พื้นที่ผิวภายใน ข้อต่อแคบลง ข้อเข่าไม่ปกติ 11
อาการ โรคนีเ้ กิดจากลมจับโปง หรือลมจะโปง มีลกั ษณะการอักเสบปวดมาก บวม แดง ร้อน ส่วนมากจะปวดกล้ามเนือ้ น่อง ปวดรอบลูกสะบ้า ใต้สะบ้า และมีนำ�้ ในข้อ ชนิดใส หากเกิดการอักเสบมากจะเป็นไข้เส้น เรียกว่า “ไข้จบั โปง/ไข้จะโปง” ถ้าเป็น เรือ้ รังมักมีอาการสลับกันระหว่างจับโปงน�ำ้ เข่า และจับโปงเข่าแห้ง อาจเป็นข้างเดียว หรือทัง้ สองข้างก็ได้ โรคจับโปงนี้ แบ่งได้ 2 ชนิด คือจับโปงน�ำ้ และ จับโปงแห้ง โรคลมจับโปงน�้ำเข่า
โรคลมจับโปงแห้งเข่า
12
สาเหตุ เกิ ด จากอาหาร อากาศ (เย็ น ชื้ น ) อิ ริ ย าบถ น�้ ำ (ของมึ น เมา) อาการ อั ก เสบของข้ อ เข่ า จาก อุบตั เิ หตุ น�ำ้ หนักตัว ความ เสื่ อ มของร่ า งกายตาม อายุขัย การท�ำงานหนัก เกินก�ำลัง เกิ ด จากการอั ก เสบของ ข้ อ เข่ า เรื้ อ รั ง การเสื่ อ ม ของข้อเข่า น�ำ้ หนักตัวมาก และจากการเป็ น โรค ลมจับโปงน�้ำ
อาการ ปวดบวมแดง ร้อนที่เข่า มากเป็นทัง้ ข้อเข่า มีนำ�้ ใน ข้อเข่าชนิดใสขณะที่บวม และอั ก เสบ จะมี ค วาม ร้ อ นขึ้ น เสมอ สามารถ ท�ำให้เป็นไข้เส้นได้ มีอาการปวด บวม แดง และร้ อ นที่ เข่ า เล็ ก น้ อ ย และมีสภาวะข้อเข่าผิดรูป ขัดข้อเข่า หัวเข่าติด ขา โก่ง ขณะเดินในเข่ามีเสียง ดังกร๊อบแกร๊บเวลาขยับ
หมายเหตุ : 1. โรคจับโปงน�ำ้ เข่าและโรคจับโปงแห้งเข่าต่างกันตรงการอักเสบ โดยเฉพาะ ความร้อนในข้อเข่า (คล�ำความร้อนในข้อเข่า โดยใช้หลังมือสัมผัสถ้าร้อนมาก เรียก โรคจับโปงน�้ำเข่า ถ้าสัมผัสแล้วความร้อนไม่มาก โดยความร้อนจะค่อยๆ ร้อนลึกๆ ขึ้นมาจากภายในข้อเข่า เรียก โรคจับโปงเข่าแห้ง) 2. ผูป้ ว่ ยส่วนใหญ่จะมีอาการค่อยเป็นค่อยไป และอาการเจ็บปวดขึน้ อยูก่ บั การใช้งานของเข่า 3. หากมีอาการไข้ อ่อนเพลีย น�ำ้ หนักลด เบือ่ อาหาร และอาการอักเสบอืน่ ๆ ให้คิดถึงโรคระบบ(Systemic) หรือมะเร็งที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย การติดเชื้อ วัณโรค ความผิดปกติของระบบโลหิต ข้ออักเสบรูมาตอยด์ และข้ออักเสบเรื้อรังใน กลุ่ม Spondyloarthrophathies 4. ควรหาต�ำแหน่งบริเวณที่มีอาการปวดและอาการอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ตึง ฝืด บวม มีน�้ำในข้อเข่าอาการข้อเข่าติด หรืออาการข้อหลวมคลอนด้วย (อ้างอิง: การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุปวดเข่า ไหล่ติด นิ้วล็อค ด้วยการนวดไทยส�ำหรับ ประชาชน,สถาบัน การแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก)
13
การคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมทางคลินิก ข้อแนะน�ำ แบบคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมทางคลินิกใช้ประเมินผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ที่ มีอาการปวดเข่าเพื่อค้นหา โอกาสที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม และส่งต่อแพทย์แผนไทยเพื่อตรวจวินิจฉัยและ ท�ำการรักษา ข้อ ค�ำถาม ไม่ใช่ 1 ข้อเข่าฝืดตึงหลังตืน่ นอนตอนเช้านาน < 30 นาที (stiffness)
ใช่
2 เสียงดังกรอบแกร๊บในข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว (crepitus) 3 กดเจ็บที่กระดูกข้อเข่า (body tenderness) 4 ข้อใหญ่ผิดรูป (body enlargement) 5 มีอาการปวด บวม แดง ร้อนที่เข่ามากและเป็นทั้งเข่า
การพิจารณา
ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป มีอาการ “ปวดเข่า” และตอบว่า “ใช่” 2 ข้อ แสดง ว่า มี โอกาสที่จะเป็น โรคข้อเข่าเสื่อม ส่งต่อแพทย์แผนไทยเพื่อตรวจวินิจฉัยและท�ำการรักษา
สูตรยาพอกเข่า ลดอาการปวด การอักเสบ “อาการปวดเข่า” มักจะมาควบคู่กับภาวะบวม แดง และร้อน ทั้งหมดนี้ เป็นผลมาจากการอักเสบภายในข้อเข่า และมักก่อให้เกิดความร�ำคาญ สูตรยาพอกเย็นรักษาอาการโรคจับโปงน�้ำเข่า 14
ส่วนประกอบ 1. ใบต�ำลึง 10 ใบ 2. ใบย่านาง 10 ใบ 3. ใบรางจืด 10 ใบ 4. ฟ้าทะลายโจร 10 ใบ 5. ดินสอพอง 2 ขีด วิธีการท�ำ น�ำสมุนไพรทั้ง 4 ล้างให้สะอาด น�ำมาต�ำผสมกับดินสอพอง ให้ละเอียดพอ หยาบๆ ผสมน�้ำเปล่า 1/4 แก้ว แล้วน�ำไปแช่ตู้เย็นไว้สักพัก จากนั้นน�ำสมุนไพรมา พอกบริเวณเข่าเพื่อดูดพิษร้อนออก วิธีการพอก นวดบริเวณเหนือเข่า เพื่อให้กล้ามเนื้อคลาย แล้วน�ำสมุนไพรที่เตรียมไว้มา พอกบริเวณเข่าทีม่ อี าการปวด บวม แดง ร้อน อักเสบ ทิง้ ไว้ 15-30 นาที พอสมุนไพร ที่พอกแห้งก็เปลี่ยนพอกใหม่จนกว่าอาการจะทุเลาพอกวันละ 1-2 ครั้ง (เช้า – เย็น) อาการปวดเข่า เข่าบวมก็จะลดลง ควรหลีกเลีย่ ง ของแสลงประเภทหน่อไม้ทกุ ชนิดและข้าวเหนียว เนือ่ งจาก เป็นของย่อยยาก ท�ำให้ร่างกายมีกรดยูริกเพิ่ม ท�ำให้อาการปวดมากขึ้น ควรรับ ประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน�้ำมากๆ เพื่อให้ขับปัสสาวะ หรือดื่มน�้ำตะไคร้ใบเตย ที่มีสรรพคุณเป็นยาบ�ำรุงไต ใช้ลดอาการบวมจากโรคไต โรคเบาหวาน หรือบวมไม่ ทราบสาเหตุได้
15
สูตรยาพอกเย็นรักษาอาการโรคจับโปงเข่าแห้ง ส่วนประกอบ 1. เหง้าขิงสด 2 ขีด 2. เหง้าไพลสด 2 ขีด 3. น�้ำมันมะกอก 100 มล. วิธีการท�ำ 1. เลือกเหง้าขิงสด เหง้าไพลสด ที่มีความหนาประมาณ 3 นิ้ว 2. น�ำสมุนไพรปอกเปลือกล้างให้สะอาด แล้วน�ำสมุนไพรไปบดให้ละเอียด 3. น�ำสมุนไพรขิงและไพลที่บดละเอียดดีแล้วไปผสมกับน�้ำมันมะกอก คนให้เป็นเนื้อเดียวกันไม่ต้องเหลวมาก 4. จากนัน้ น�ำไปพอกบริเวณเข่าทีร่ สู้ กึ ปวด ห่อด้วยผ้าทีร่ ะบายความร้อนได้ ยากทิ้งไว้ วิธีการพอก นวดบริเวณเหนือเข่า 3 จุด เพือ่ ให้กล้ามเนือ้ คลาย แล้วน�ำสมุนไพรทีเ่ ตรียม ไว้มาพอกบริเวณเข่าทีม่ อี าการปวด บวม แดง ร้อน หัวเข่าติดทิง้ ไว้ 15-30 นาที หรือ จนกว่าอาการปวดจะทุเลาลง
16
ท่าบริหารร่างกายในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ท่าที่ 1 นอนหงาย ชันเข่าข้างหนึ่งขึ้น ขาอีกข้างหนึ่งเหยียดตรง ค่อยๆ ยกขาข้างที่เหยียด ให้สูงประมาณ 1 ฟุต เกร็งค้างไว้ นับ 1-10 แล้วค่อยๆ วางขาลง ท�ำ 10-20 ครั้ง สลับข้างซ้าย ขวา วันละ 2-3 รอบ
ท่าที่ 2 นั่งบนเก้าอี้โดยนั่งให้เต็มก้น งอเข่าทั้ง 2 ข้าง เท้าวางราบกับพื้น ค่อยๆ ยก ขาข้างหนึ่งขึ้นจนเข่าเหยียดตรง เกร็งค้างไว้ นับ 1-10 แล้ววางขากับพื้นเช่นเดิม สลับขาซ้าย ขวา ท�ำ 10-20 ครั้ง วันละ 2-3 รอบ (กรณีที่บริหารแล้วปวดเข่ามาก ขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่มีเข่าอักเสบหรือเสื่อมมาก ให้งดท่านี้ไว้ก่อน)
17
บรรณานุกรม แผนกการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลปากคาด ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ. การดูแลสุขภาพ ผูส้ งู อายุปวดเข่า ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://bkpho.moph.go.th/.pdf. (วันทีค่ น้ ข้อมูล: 20 กรกฎาคม 2560). วิโรจน์ กวินวงศ์โกวิท และคณะ. การดูแลผูป้ ว่ ยข้อเข่าเสือ่ ม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://med.mahidol.ac.th/ortho/sites/default/files/public/file/pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 20 กรกฎาคม 2560).
18
19
20