ฉบับที่ 342

Page 1

ตะวันเคียงคู่ฟ้า หอการค้าเคียงคู่คุณ

ติดตามอ่านข่าวหอการค้าได้ที่ www.ncc.or.th

The newspaper of Nakhonratchasima Chamber of commerce

น ค ร ร า ช สี ม า

สายตรงสมาชิก 0-4429-6111

ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม พ.ศ. 2554

‘จักริน’นัง่ ปธ.หอโคราช

เผยวิ ส ย ั ทั ศ น์ ส ร้ า งสามั ค คี เอกชนร่วมถกเตรียมรับมือ กฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์ หอการค้าโคราชจัดสัมมนา “ปัญหากฎหมาย เกีย่ วกับการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์” ระดม ความคิดเห็นเตรียมรับมือถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง โดยมีผปู้ ระกอบการร้านอาหาร สถานบันเทิง และสือ่ มวลชนให้ความสนใจเข้าร่วม จ�ำนวนมาก เมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรม ต่อหน้า 9 ดุสติ ปริน๊ เซส โคราช

บ.โนนประดู่อาสาน�ำร่อง

ขุดสระเก็บน�้ำต้านแล้ง

‘หมอโจ้-จักริน เชิดฉาย’ คว้าต�ำแหน่ง ปธ.หอการค้าจังหวัดนครราชสีมาเป็นสมัย แรก ประจ�ำปีบริหาร 2554-2555 เผยวิสัย ทัศน์การท�ำงานเน้นสร้างความสามัคคี ให้ เกียรติและรับฟังผู้อื่น ระบุหอการค้าฯ ยังขาดนักวิชาการเข้ามาร่วมงาน เสนอ จัดตั้งศูนย์ประชุมขนาดใหญ่ และเร่ง แก้ไขการบริหารจัดการน�้ำ ต่อหน้า 7

ฟาร์มบัวขาวต้นแบบ1ไร่1แสน

ชี้รายได้เพิ่มขึ้น2เท่า

องคมนตรีให้เกียรติเป็นประธานในพิธี เปิดสระเก็บน�ำ ้ “รวมใจต้านภัยแล้ง” อย่าง เป็นทางการ ณ บ้านโนนประดู่ ต.พะงาด อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา เมือ่ วันศุกร์ ที่ 24 ธันวาคม 2553 ทีผ่ า่ นมา ต่อหน้า 4 ร่วมยินดี ปธ.หอฯคนใหม่ อดีตประธานหอการค้า จังหวัดนครราชสีมา น�ำโดยนาย ประพัฒน์ อินทนากรวิวัฒน์, นายค�ำรณ ครบนพรัตน์, นาย โกศล สมจินดา และนางสุ บงกช วงศ์วชิ ยาภรณ์ มอบช่อ ดอกไม้ร่วมแสดงความยินดีกับ นายจักริน เชิดฉาย ประธาน หอการค้าจังหวัดนครราชสีมาคน ใหม่ ปีบริหาร 2554-2555 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ หอการค้า จังหวัดนครราชสีมา.

‘ฟาร์มบัวขาว’ น�ำร่องเปิดต้นแบบโครงการ 1 ไร่ 1 แสน หลัง จากเริม่ ด�ำเนินโครงการฯ มีเกษตรกรสนใจเข้าร่วมแล้ว 10 ราย ยืนยัน ช่วยเพิม่ รายได้ให้เกษตรกรได้จริง ผลผลิตต่อไร่เพิม่ ขึน้ ถึง 30% ราย ได้เพิม่ ขึน้ กว่า 40% และสามารถลดต้นทุนลงได้ 50% พร้อมน�ำร่อง ต่อหน้า 4 เปิดร้านค้าชุมชนรองรับผลผลิตจากโครงการฯ

รัฐ-เอกชนแนะผังเมืองใหม่

ควรชี้น�ำการพัฒนา สนง.โยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ ง จังหวัดนครราชสีมา จัดประชุมคณะที่ ปรึ ก ษาผั ง เมื อ งรวมเมื อ งนครราชสี ม า เพื่อร่วมพิจารณาถึงความเหมาะสมร่าง

ผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา (ปรับปรุง ครัง้ ที่ 3) โครงการประเมินผลและปรับปรุง ผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา โดยมีนาย วิทยา กามนต์ รองผูว้ า่ ราชการ ต่อหน้า 9

คาซ่ า เปิ ด บ้ า นเดอะเวนิ ส พาร์ ค -นี โ อพาร์ ค

ต้อนรับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สถาบันการเงิน หน้า... 11

เด่นในฉบับ ธุรกิจน่าสนใจปีกระต่ายทอง

หน้า....8

บีโอไออีสานไฟเขียวอุตฯลงทุน

หน้า....2

สัมภาษณ์พเิ ศษ ‘เจ๊หวา-สุบงกช’

หน้า...6


2

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

ลงทุน

อีสานอนุมัติลงทุน 68,127ล.

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์-เกษตรแปรรูป ระเบียบกับกิจกรรมทางธุรกิจ การแข่งขันทางธุรกิจ หรือการดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดในการ ด�ำเนินธุรกิจ นับวันจะเพิ่มปริมาณมากขึ้นในทุกหัวเมืองขนาดใหญ่ อัน เห็นได้จากการเข้ามาขยายสาขา เพิ่มจุดจ�ำหน่ายของห้างฯ ขนาดใหญ่ ได้แพร่กระจายออกเป็นสาขาย่อย สาขาขนาดกลาง รายล้อมตัวเมือง และอ�ำเภอขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ�ำหน่ายที่สามารถสกัด กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของคู่แข่งได้ ในขณะที่ผู้ค้าขายรายย่อย รายขนาดกลาง ประเภทเปิดกิจการ ในห้องแถวในย่านชุมชน ต่างใช้กลยุทธ์สารพัดในการดึงลูกค้าเข้ามาสู่ ห้าง ทั้งรถแห่แบบเป็นขบวนยาว มีสาวๆ พริตตี้หรือโคโยตี้ด้วยซ�้ำเข้าไป ร่วมขบวน เพื่อดึงดูดความสนใจให้ลูกค้าเข้ามาร่วมกิจกรรมในบริเวณ หน้าร้านที่ตั้งอยู่บนฟุตบาท หรือบางครั้งทะลักลงสู่ผิวจราจร โดยมีเจ้า หน้าที่ของรัฐคอยอ�ำนวยความสะดวกให้รถและยานพาหนะที่ติดกันยาว ในเวลาเร่งด่วน จึงติดหนึบกันยาวเหยียดกว่าเดิม ได้รับการสาปแช่งกัน อย่างทั่วหน้า ประหนึ่งว่า ใครท�ำธุรกิจมีทุนมีรอนมากๆ ที่กล้าลงทุน โปรโมทลักษณะนี้ ถ้าเงินถึงใจถึงก็ย่อมท�ำได้ จะถูกก่นด่าจากชาวบ้าน บ้างก็ต้องยอมเพราะต้องการผลประโยชน์ทางธุรกิจ ส่วนบริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัด ใครมีพาวเว่อร์สามารถ ไปคุยกับผู้มีอ�ำนาจให้ใช้สนามจัดกิจกรรม งานแสดงสินค้า ซังกะบ๊วย ได้ แม้ชาวบ้านจะเดือดร้อนก็ไม่เห็นจะเป็นไร ไม่รู้ปีละกี่ครั้ง ค�ำถามจึงมีอยู่ว่า ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดฯ คนใหม่ ประธาน หอการค้าจังหวัดฯ คนใหม่ รวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งปวง ทั้งต�ำรวจ เทศบาลนครฯ อบจ. พาณิชย์จังหวัดฯ น่าจะจัดเวลามานั่งหารือกันเพื่อ จัดระเบียบกันครั้งใหม่เสียที เพื่อสร้างระเบียบของเมืองให้ดูสดใส ไร้ ความหงุดหงิดของประชาชนเดินดินกันเสียที โดยเฉพาะอย่างยิง่ บริเวณถนนมิตรภาพตัง้ แต่สามแยกปักธงชัย จนถึงบริเวณหัวทะเล ควรจะห้ามรถบรรทุกสินค้าประเภทรถพ่วง 18 ล้อ เข้ามาวิ่งผ่านตัวเมืองในช่วงกลางวันได้แล้ว การจัดกิจกรรมต่างๆ ก็น่าจะมีมาตรการหรือวิธีการที่สามารถ สร้างความเดือดร้อน หรือส่งผลกระทบกับประชาชนทั่วไปให้น้อยที่สุด เช่นกรณีรถโฆษณาสินค้า การใช้เครื่องขยายเสียงที่ดังจนแสบแก้วหู เป็นสิบๆ คันวิ่งอ้อมเขตเมือง เคยส�ำรวจหรือไม่ว่าประชาชนเขาชอบ หรือเขาด่าธุรกิจที่โฆษณา การติดป้ายโฆษณาสินค้าที่เลอะเทอะไปทั่วเมือง ใครเป็นคนจัด ระเบียบหรือรับผิดชอบ? การตั้งสินค้าล�้ำเข้าไปบนทางเดินเท้า หรือเอา เก้าอี้ จักรยานเก่า ไปตั้งบนผิวจราจรไม่ให้รถยนต์ทั่วไปเข้าไปจอด ใคร อนุญาต? ใครเป็นคนดูแล? ลองออกแรงท�ำกันจริง แก้ไขกันจริงๆ ซักครั้ง เมืองโคราชบ้าน เรา อาจจะน่าอยู่ขึ้นกว่าเดิมก็ได้.

แสดงความยินดี นายสม ชั ย ฉัต รพั ฒ นศิ ริ ประธานหอการค้ า ฯ พร้อมด้วยคณะกรรมการ มอบเกียรติบัตร แสดงความยินดีแก่ นายกงกฤช หิรัญกิจ ประธานกรรมการบริหารโรงแรมสีมาธานี ใน โอกาสได้รับรองมาตรฐานสากล ISO 9002 ในงานประชุมประจ�ำเดือนหอการค้าจังหวัด นครราชสีมา.

พลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล ลงทุนสูง

ภาวะการลงทุนในภาคตะวันออก เฉียงเหนือปี 2553 ทีผ่ า่ นมามีการปรับตัวเพิม่ ขึ้นมาก โดยเฉพาะในส่วนของโครงการยื่นขอ และได้อนุมัติส่งเสริมการลงทุน ทั้งนี้เพราะ เหตุ นั ก ลงทุ น ไทยยั ง คงให้ ค วามเชื่ อ มั่ น ใน เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศว่ายังมีทศิ ทางที่ สดใสและนักลงทุนต่างชาติยังคงมีความเชื่อ มั่นว่าประเทศไทยเป็นประเทศอันดับต้นๆ ที่ น่าลงทุน รวมทั้งรัฐบาลได้ออกนโยบายและ มาตรการหลายๆ อย่าง เพื่อกระตุ้นการลงทุน ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศให้ เ กิ ด การ ลงทุน ทั้งหมดนี้ล้วนมีผลต่อการขยายตัวการ ลงทุนในภูมิภาคนี้ แม้ว่าจะมีปัจจัยภายนอก มากระทบหลายด้าน เช่น ราคาน�้ำมันแพง ปัญหาการเมือง อุทกภัย จากน�้ ำ ท่ ว ม ก็ ไ ม่ ไ ด้ ท�ำให้ปริมาณโครงการที่ ยื่ น การขอรั บ การส่ ง เสริมการลงทุนลกลงแต่ อย่างใด ส� ำ ห รั บ โครงการที่ ได้รับอนุมัติ ส่งเสริมการลงทุนเดือน ธั น วาคมปี 2553 มี โครงการที่ ได้รับอนุมัติ การลงทุนทัง้ สิน้ จ�ำนวน 11 โครงการ เงินลงทุน 2,567 ล้านบาท การ จ้ า งงาน 2,109 คน ได้ แ ก่ กิ จ การเลี้ ย ง สัตว์( ไก่เนื้อ) กิจการ ผลิตก๊าซชีวภาพ กิจการผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง กิจการผลิตเสือ้ ผ้าแปรรูป กิจการผลิต Drawing Die และซ่อม Drawing Die ที่ผลิตเอง กิจการผลิตชิ้นส่วนโลหะ และอุปกรณ์ขนส่ง กิจการผลิตกระสอบพลาสติก กิจการผลิต พลังงานจากก๊าซชีวมวล โดยตั้งอยู่ ในจังหวัด นครราชสีมา 5 โครงการ จังหวัดกาฬสินธุ์ 3 โครงการ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดข่อนแก่น จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดละ 1 โครงการ นักลงทุนยังเดินหน้าขอรับการส่ง เสริมการลงทุนท�ำให้เกิดการจ้างแรงงานสูง ขึ้ น ในภู มิ ภ าค โดยแนวโน้ ม อุ ต สาหกรรม พลังงานทดแทน กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ชีวมวล ตลอดจนการน� ำ มาผลิ ต ใช้ ใ นการผลิ ต พลังงานทดแทน ปั๊ม NGV การเติบโตของ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของอีสาน มีการเติบโตเป็นอย่างสูง รวมถึงนโยบายของ ประเทศให้ ค วามส� ำ คั ญ และสนั บ สนุ น ด้ า น พลังงานทดแทนต่างๆ มีความชัดเจนในทุก ด้าน ไม่ว่าจะเป็นมาตรการด้านส่งเสริมการ ลงทุนของบี โอไอ หรือมาตรการสนับสนุน ด้านราคาของกระทรวงพลังงาน และร่วม ผลั ก ดั น อย่ า งจริ ง จั ง ผ่ า นหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนที่เกี่ยวของต่างๆ นับเป็นการแสดงให้เห็นถึงการร่วม สร้างความเข้มแข็งด้านพลังงานทดแทนใน ประเทศไทย ซึ่งมีส่วนช่วยผลักดันนโยบาย พลั ง งานของประเทศให้ ด� ำ เนิ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ เป็นผลให้นักลงทุนเดินหน้า ขอรับการลงทุนการส่งเสริมมาโดยตลอด อีก ทั้ ง ศั ก ยภาพในอี ส านมี ป ริ ม าณแสงอาทิ ต ย์ และพลั ง งานลมสู ง ตลอดปี อุ ต สาหกรรม เกษตรและผลิตผลจากการเกษตรยังคงขยาย ตั ว ได้ ดี มี ก ารสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม จากวั ต ถุ ดิ บ และอีกอุตสาหกรรมที่คาดว่ายังขยายตัวอย่าง ต่อเนื่อง ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนยานยนต์ มีการขยายการผลิต อย่างต่อเนื่อง และมีการขยายฐานการผลิต มาสู่ภูมิภาคนี้มากขึ้น ปัจจุบันบริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้รับอนุมัติส่งเสริมการ ลงทุนผลิต Hard Disk Drive เงินลงทุน 15,000 ล้านบาท รวมทั้งบริษัท แคนนอน ไฮ-เทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้รับอนุมัติส่ง

เสริ ม ลงทุ น ที่ เ ขตอุ ต สาหกรรมนวนคร อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ท�ำให้เกิดแหล่งการ จ้างงานแห่งใหม่และเกิดการจ้างงานสูงขึน้ กว่า 10,000 คน สร้างความมัง่ คัง่ ของประชากรอัน ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจมหภาค รวมถึงเกิดชุมชนแห่งใหม่ ใน อ.สูงเนิน ที่มี การพัฒนาในทุกๆ ด้านและเจริญเติบโตใน อนาคตอันใกล้นี้ ส�ำหรับการลงทุนในภูมิภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือจะต้องมีการปรับยุทธศาสตร์ใน ด้านการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และต้องมีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิต ที่เหมาะสมและประหยัดพลังงาน ตลอดการ ปรับปรุงด้านโลจิสติกส์ หากภาครัฐได้มกี ารส่ง เสริมการขนส่งทางด้าน รถไฟหรื อ ระบบรางคู ่ จ ะ ท� ำ ใ ห ้ เ กิ ด ก า ร ประหยัดน�้ำมันและลด ต้นทุนการผลิตได้มาก ขึ้ น และจะส่ ง ผลให้ ตัวเลขการขอรับการส่ง เสริ ม การลงทุ น ขึ้ น อี ก ด้วย นักลงทุนไทย และต่างชาติเดินหน้า ลงทุนต่อเนื่อง โครงการที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ ก ารส่ ง เสริ ม การลงทุ น ปี 2553 ลงทุ น โดยคน ไทยทั้งสิ้น จ�ำนวน 96 โครงการ เงินลงทุน รวม 45,939 ล้านบาท ร่วมหุ้นระหว่างไทย กับต่างชาติจ�ำนวน 33 โครงการ เงินลงทุน 20,292 ล้านบาท ได้แก่ ประเทศอเมริกา นอร์เวย์ ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ ลงทุนโดยต่างชาติทั้งสิน รวม 8 โครงการ เงินลงทุน 1,896 ล้านบาท ได้แก่ ประเทศอเมริ ก า และอั ง กฤษ สวิ ต เซอร์ แลนด์ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น จีน อินเดีย ได้แก่ กิจการผลิตสีผสมอาหาร กิจการผลิตยางแท่ง ยางผสม กิจการผลิตซอฟต์แวร์ กิจการผลิต ผ้ า พิ ม พ์ แ ละแต่ ง ส� ำ เร็ จ กิ จ การผลิ ต เฟอร์นิเจอร์ สรุปภาวการณ์สง่ เสริมการลงทุนภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือเดือนธันวาคม 2553 ส�ำหรับที่ ได้รับอนุมัติส่งเสริมการ ล ง ทุ น เ ดื อ น ธันวาคมปี 2553 จ� ำ น ว น 1 1 โครงการ เงิ น ลงทุ น 2,567 ล้านบาท การจ้าง งาน 2,109 คน กิ จ ก า ร สั ต ว ์ เลี้ ย ง(ไก่ เ นื้ อ ) กิจการผลิตก๊าซ ชีวภาพ กิจการ ผ ลิ ต แ ป ้ ง มั น ส�ำปะหลัง กิจการผลิตเสื้อผ้าแปรรูป กิจการ ผลิต Drawing Die และซ่อม Drawing Die ที่ผลิตเอง กิจการผลิตชิ้นส่วนโลหะ และ อุปกรณ์ขนส่ง กิจการผลิตกระสอบพลาสติก กิจการผลิตพลังงานจากก๊าซชีวมวล รายละเอียดโครงการที่ ได้รับอนุมัติ การส่งเสริมการลงทุนมีดังนี้ ศู น ย์ เ ศรษฐกิ จ การลงทุ น ภาคที่ 2 (จ.นครราชสีมา) อุตสาหกรรมเกษตรและผลิตผล ทางการเกษตร กิจการเลีย้ งไก่เนือ้ ในนามบริษทั ศิริ เอีย่ มแสง ฟาร์ม จ�ำกัด มีกำ� ลังการเลีย้ งไก่เนือ้ ปีละประมาณ 3,600,000 ตัว เงินลงทุน 85 ล้านบาท หุ้นไทยทั้งสิ้น การจ้างงาน 15 คน

ที่ตั้ง จังหวัดบุรีรัมย์ สถานที่ติดต่อ บริษัท ศิริเอี่ยมแสง ฟาร์ม จ�ำกัด เลขที่ 65 ม.12 ต.หนองคู อ.ล� ำ ปลายมาศ จ.บุ รี รั ม ย์ 31130 โทรศั พ ท์ 044 – 605263 โทรสาร 044 – 661204 กิ จ การผลิ ต แป้ ง มั น ส�ำปะหลัง ในนามบริษัท พี.วี.ดี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด มีกำ� ลัง การผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง ปีละ ประมาณ 168,000 ตัน เงินลงทุน 433 ล้าน บาท หุ้นไทยทั้งสิ้น การจ้างงาน 433 คน ที่ ตั้ง จังหวัดนครราชสีมา สถานที่ ติ ด ต่ อ บริ ษั ท พี . วี . ดี . อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เลขที่ 99,289 ม.4 ถ.หมายเลข 24 – หนองยายเทียม ต.หัวแรด อ.หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา 30410 กิจการผลิตก๊าซชีวภาพ (Bio-gas) ในนามบริษทั พลังงานคาร์บอน จ�ำกัด มีกำ� ลัง การผลิตก๊าซชีวภาพปีละประมาณ 11,113,200 ลูกบาศก์เมตร เงินลงทุน 41.6 ล้านบาท ร่วม หุน้ ระหว่างไทยและเยอรมัน การจ้างงาน 7 คน ที่ตั้ง จังหวัดนครราชสีมา สถานที่ ติ ด ต่ อ บริ ษั ท พลั ง งาน คาร์บอน จ�ำกัด เลขที่ 99.289 ม.4 ถ. ทางหลวงหมายเลข 24 –หนองยายเทียม ต . ห น อ ง หั ว แ ร ต อ . ห น อ ง บุ ญ ม า ก จ.นครราชสีมา โทรศัพท์ 044-330343-4

อุ ต สาหกรรมเกษตรและ ผลผลิตทางการเกษตร กิจการผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง ใน นามบริษัท แป้งมันกาฬสินธุ์ จ�ำกัด มีก�ำลัง การผลิตแป้งมันส�ำปะหลังปีละประมาณ 168,000 ตัน เงินลงทุน 433 ล้านบาท หุ้น ไทยทั้งสิ้น การจ้างงาน 433 คน ที่ตั้ง จังหวัดกาฬสินธุ์ สถานที่ติดต่อ 188 หมู่ที่ 1 ถนน สมเด็จกุฉินารายณ์ ต.ค�ำบง อ.ห้วยผึ้ง จ.กาฬสินธุ์ 46240 กิจการแป้งมันส�ำปะหลัง ในนาม บริษัท แป้งมันร้อยเอ็ด จ�ำกัด มีก�ำลังการ ผลิ ต แป้ ง มั น ส� ำ ปะหลั ง ปี ล ะประมาณ 168,000 ตัน เงินลงทุน 433 ล้านบาท หุ้น ไทยทั้งสิ้น การจ้างงาน 433 คน ที่ตั้ง จังหวัดร้อยเอ็ด สถานที่ติดต่อ 227 หมู่ที่ 12 ถ.นิคมด�ำริห์ ต.หนองใหญ่ อ.โพนทอง อุตสาหกรรมโลหะ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ จ.ร้อยเอ็ด 45110 ขนส่ง กิจการผลิตชิ้นส่วนและโลหะ และ อุตสาหกรรมเบา กิจการเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ในนาม อุปกรณ์ขนส่ง ในนามบริษัท สายทิพย์ สแป พาร์ท จ�ำกัด มีก�ำลังการผลิตชิ้นส่วนโลหะ บริษัท บุษบงการ์เมนท์ จ�ำกัด มีก�ำลังการ และอุปกรณ์ขนส่ง ปีละประมาณ 9,000,000 ผลิตเสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูปปีละประมาณ 260,000 ชิน้ เงินลงทุน 20 ล้านบาท หุน้ ไทยทัง้ สิน้ การ ชิ้น เงินลงทุน 2 ล้านบาท หุ้นไทยทั้งสิ้น การจ้างงาน 32 คน ที่ตั้ง จังหวัดขอนแก่น จ้างงาน 66 คน ที่ตั้ง จังหวัดนครราชสีมา สถานทีต่ ดิ ต่อ 58/98 ถ.ชาตะผดุง สถานที่ติดต่อ เลขที่ 195 ม.2 ต.สุร นารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ ต.ในเมือง จ.ขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 043-239598 044-299634-5 โทรสาร 044-299636 กิจการผลิต Drawing Die และ ซ่อม Drawing Die ในนามบริษัท เอ.แอล. อุ ต สาหกรรมโลหะเครื่ อ งจั ก ร และ เอ็ม.ที(ประเทศไทย) จ�ำกัด มีก�ำลังการผลิต อุปกรณ์ขนส่ง กิจการผลิตเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ใน Drawing Die และซ่อม Drawing Die ปีละ ประมาณ 290,400 ชิ้น เงินลงทุน 277 ล้าน นามบริษทั บัวขาวเม็ททองชีท จ�ำกัด มีกำ� ลัง บาท ร่วมหุ้นไทยและต่างชาติ(ญี่ปุ่น) การจ้าง การผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักร ปีละประมาณ 315,000 เมตร เงินลงทุน 7.9 ล้านบาท งาน 344 คน ที่ตั้ง จังหวัดนครราชสีมา

สถานทีต่ ดิ ต่อ เลขที่ ถ.มิตรภาพ เขต หุ้นไทยทั้งสิ้น การจ้างงาน 33 คน ที่ตั้ง อุตสาหกรรมของบริษทั นวนคร จ�ำกัด(มหาชน) จังหวัดกาฬสินธุ์ สถานทีต่ ดิ ต่อ 205 ม.15 ต.บัวขาว ต.นากลาง อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา อ.กุฉนิ ารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ 46110 โทรศัพท์ อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ กระดาษ พลาสติก 043-851577 กิจการผลิตกระสอบพลาสติก ใน นามบริษัท วาวา แพค จ�ำกัด มีก�ำลังการผลิต อุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภค กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากชีว กระสอบพลาสติกปีละประมาณ 10,000 ตัน เงินลงทุน 219 ล้านบาท หุ้นไทยทั้งสิ้น การ มวล ในนามบริษัท กมลาไสย ไบโอ เพา จ้างงาน 283 คน ที่ตั้ง จังหวัดนครราชสีมา เวอร์ จ�ำกัด มีก�ำลังการผลิตพลังงานไฟฟ้า สถานที่ติดต่อ เลขที่ 104/6 ม.6 จากชีวมวล ปีละประมาณ 9,500 กิโลวัตต์ ต.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา 30140 โทรศัพท์ 044- เงินลงทุน 615 ล้านบาท หุน้ ไทยทัง้ สิน้ การ จ้างงาน 30 คน ทีต่ งั้ จังหวัดกาฬสินธุ์ 412747 สถานทีต่ ดิ ต่อ 77 ม. 5 ถ.สัญจร ศู น ย์ เ ศรษฐกิ จ การลงทุ น ภาคที่ 3 ราชกิจ ต.กมลาไสย อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ โทรศัพท์ 043-899225. (จ.ขอนแก่น)


โซไซตี้/วาไรตี้

3

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

ม ก ร า ค ม ส่งมอบหน้าที... ่ นางสุบงกช วงศ์วิชยาภรณ์ ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2552-2553 ส่งมอบหน้าที่

ให้กบั นายจักริน เชิดฉาย ในโอกาสได้รบั เลือกให้ดำ� รงต�ำแหน่งประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2554-2555 ณ ห้องประชุมอินทนากรวิวัฒน์ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2554 ที่ผ่านมา.

วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่

1 คุณเกรียงศักดิ์ คุณจิรัฐิติกาล คุณประยงค์ คุณพิณพิชญา คุณเพ็ญศรี คุณสมศักดิ์ คุณสุวิทย์ 2 คุณสุรสีห์ คุณสุรสิทธิ์ คุณวินัย 3 คุณเจิ้ง อี้ หลิว คุณวันเพ็ญ 5 คุณเฉลิมชัย คุณวีรพล 6 คุณพัฒนา 8 คุณโสภณ คุณอุไรวรรณ

ก้องกิตติคุณ เตียงพลกรัง ช�ำนาญกิจโกศล เนาว์ประเสริฐ จารุก�ำเนิดกนก ศรีเรืองมนต์ ฉัตรไชยเดช แห่งศรีสุวรรณ ศรีสถาพร สายต่างใจ

วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่

แก้ววิลัย โชติสรยุทธ์ ฉายาบรรณ์ สุภาวงศ์วณิช ศุภสีห์ โอฮาชิ

10 16 17 18

คุณส�ำรวญ คุณบรรจง คุณอัฐพล คุณอภิวัฒน์ คุณอรนุช 19 คุณคมกฤช 20 คุณธันยธรณ์ คุณบรรเจิด คุณรังสรรค์ คุณสุวัฒน์ 23 คุณประชา คุณปารมี คุณพัชรี 27 คุณไอวริน 29 คุณนิธิมา 30 คุณสุรวุฒิ

เตารัตน์ ดีเหลือ สัมพันธ์วงศ์ จารุก�ำเนิดกนก สุขสว่าง เสริฐนวลแสง เลิศวัฒน์ภิญโญ พงศ์ไพสิทธิ์ ตันติวงษ์ จึงวิวัฒนาภรณ์ ลิ้มพงษา ขุนสูงเนิน ชนะชัย พิงขุนทด ไชยสิทธิ์ เชิดชัย

ภาพกิจกรรมหอการค้า ร่วมลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2553

ร่วมพิธีเปิดสระเก็บน�้ำ “รวมใจต้านภัยแล้ง” ณ บ้านโนนประดู่ อ.ขามสะแกแสง

คณะกรรมการฯ มอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ แด่ พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร แม่ทัพภาคที่ 2

คณะกรรมการฯ มอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ แด่ พล.ต.ท.เดชาวัต รามสมภพ ผู้บัญชาการต�ำรวจภูธรภาค 3

คณะกรรมการฯ มอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ แด่ พ.ต.อ.ผดุงเกียรติ ศิริพรวิวัฒน์ ผกก.สภ.เมืองนครราชสีมา

คณะกรรมการฯ มอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ แด่ นายแพทย์ส�ำเริง แหยงกระโทก นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา

คณะกรรมการฯ มอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ แด่ นายสุรวุฒิ เชิดชัย นายกเทศมนตรีนครนครราชสีมา

นางสุบงกช วงศ์วิชยาภรณ์ ร่วมการฝึกวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม

ร่วมพิธีเปิดโครงการ 1 ไร่ 1 แสน และเปิดร้านค้าชุมชน ณ บ้านใหม่ส�ำโรง ต.ลาดบัวขาว อ.สีคิ้ว

ร่วมกับสมาคมผู้ประกอบการร้านอาหารจังหวัด นม. จัดประชุมเสวนาเรื่อง “ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับ การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์”

จัดการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2553 ครัง้ ที่ 30 ประจ�ำปี 2552-2553 เมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมสีมาธานี

ผู้บริหารโรงแรมจุลดิศ เขาใหญ่ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ เข้ามอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ โดยมีผู้อ�ำนวยการหอการค้าฯ รับมอบ

ศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติ ภาค 3 เข้าเยี่ยมชมและรับฟังการบรรยายสรุป ด้านสังคม เศรษฐกิจ ของภาคอีสาน

เจ้าหน้าที่วิทยาลัยนครราชสีมา เข้าสวัสดีปีใหม่คณะกรรมการหอการค้าฯ

ร่วมบริจาคพัดลมแก่เด็กด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ ในงาน “เฮฮาปาร์ตี้” ของสถานีโทรทัศน์ KCTV เนื่องในเทศกาลขึ้นปีใหม่

บริษัท อุบลวัสดุ จ�ำกัด เข้ามอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่ โดยมีเจ้าหน้าที่หอการค้าฯ รับมอบ

ร่วมกับคณะกรรมการร่วมเอกชน 3 สถาบัน (กก.) มอบวัสดุก่อสร้างเพื่อชวยเหลิือผู้ประสบอุทกภัย ณ ต.ล�ำมูล อ.โนนสูง

ร่วมปลูกต้นไม้ “ลดโลกร้อน ถวายพ่อ” เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ ณ สวนป่าสูงเนิน

แมงซอนซอกแซก

...ปีนี้ความ หนาวมา เ ยื อ น ‘ ศ . ดร.ประสาท สื บ ค ้ า ’ อธิการบดี มทส. เลยปิง๊ ไอเดีย จัดโครงการเปิดบ้าน ฟาร์มยามลมหนาวให้คนเข้าชม...

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เศาวนิต เศาณานนท์ อธิการบดี ม.ราชภัฏ นครราชสีมา ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากศูนย์ให้การศึกษาจังหวัดพัทลุง และศูนย์ให้การศึกษาจังหวัดสตูล ม.ราชภัฏสงขลา เพือ่ ศึกษาด้านการ บริหารจัดการเรียนการสอนศูนย์ให้การศึกษานอกสถานที.่

คุณจิระศักดิ์ พันธ์สายเชือ้ ประธานคาซ่าเอสเตทกรุป๊ เป็นประธาน และร่วมกิจกรรมภายในงาน “Merry X’mas with The Venice Park” มีกจิ กรรมต่างๆ อาทิ ถ่ายภาพในชุดซานตาครอส พร้อมรับประทาน อาหาร Cockteil สไตล์อติ าเลีย่ น และจิบกาแฟ Venezia caff’e.

...ส่วนอีกคน คงจะได้ เ ป็ น ขวั ญ ใจเด็ ก ๆ ในไม่ช้า ‘ปรีชา ลิม้ อัว่ ’ ผู้จัดการทั่วไป เดอะมอลล์ เพราะขยันจัดวันเด็ก อย่างยิ่งใหญ่ทุกปี...

คุณจิรายุส วัยวุฒิ ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด บจก.คลังพลาซ่า ร่วมกับ บมจ.บูตคิ นิวซิตี้ ได้สนับสนุนผ้าห่มจ�ำนวน 50 ผืน เพือ่ น�ำไปมอบให้ แก่เด็กด้อยโอกาสและคนชรา ในกิจกรรม “เฮฮาปาร์ตี้ 2554” เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมราชพฤกษ์ แกรนด์ โฮเทล.

... เ ห็ น ลี ล า กรรมการใหม่ หน้า เก่า ‘เพ็ญศรี จารุ ก� ำ เนิ ด กนก’ ออกสเต็ปโชว์ใน งานเลีย้ งวันปีใหม่ ของหอการค้าฯ ทีป่ ญั จดาราแล้ว บอก ได้คำ� เดียว นีแ่ หล่ะเจ้าแม่เท้าไฟ...

คุณศราวุธ แก้วกันเนตร ผูจ้ ดั การแผนกชุมชนสัมพันธ์ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จัดกิจกรรม “เอไอเอส ปัน น�ำ้ ใจ ห่วงใยสังคม” ร่วมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา.

คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนสถานสอนภาษาสมาคมนักเรียนเก่า คุณสมศักดิ์ สหรัฐอเมริกา (เอ.ยู.เอ.) สาขานครราชสีมา มอบช่อดอกไม้แสดงความ ยินดีกบั คุณจักริน เชิดฉาย เนือ่ งในโอกาสรับต�ำแหน่งประธาน หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ประจ�ำปีบริหาร 2554-2555.

...ยังอยู่ที่เรื่อง หนาวๆ ปี นี้ ‘อรรถพล ว ร ร ณ กิ จ ’ ผอ.ททท.โคราช คงปลืม้ ที่โคราช การท่องเทีย่ วคึกคักไม่แพ้ทอี่ นื่ เพราะ วังน�ำ้ เขียวบ้านเราก็หนาวใช่ยอ่ ย...

สุทธิสุนทรินทร์ บริษัท คาวาซูมิ ลาบอราทอรี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ เข้ามอบกระเช้าสวัสดี ปี ใหม่ คุณจักริน เชิดฉาย ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2554-2555 ณ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา.

...ชาวบ้านบอก ติ ด ใจเสี ย งร้ อ ง เพลงของ ‘พ.ต.อ.ผดุ ง เกี ย รติ ศิ ริ พ ร วิ วั ฒ น์ ’ ผกก.สภ.เมื อ ง นม. แหม...นี่แหล่ะที่เค้าเรียกว่าคน หน้าตาดี ท�ำอะไรก็ดีไปหมด...

..ขอร่วมโมทนา บุญด้วย เพราะ วั น ที่ 15-16 ม.ค.ที่ ผ ่ า นมา ‘พิสิษฐ์ นาค�ำ’ เจ้าของไร่สุขนิรันดร เปิดบ้าน ต้อนรับผู้สูงอายุและผู้สนใจทั่วไป ร่วมโครงการค่ายปฏิบัติธรรมฯ...

คุณดวงตะวัน ไตรบัญญัตกิ ลุ กรรมการผูจ้ ดั การ บจก.โตโยต้าไทย

เย็น ส�ำนักงานใหญ่ มอบอุปกรณ์เครือ่ งเขียนแก่ผแู้ ทนจากส�ำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 ในกิจกรรม “โตโย ต้าพาน้องดูหนัง Toyota Movie for Kids” ณ เดอะมอลล์ นครราชสีมา.

บริษทั เบทาโกรเกษตร อุตสาหกรรม จ�ำกัด เข้าสวัสดีปีใหม่คณะ กรรมการหอการค้าฯ พร้อมร่วมแสดงความยินดีกบั คุณจักริน เชิด ฉาย ในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่ง ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2554-2555 ณ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา.

...ชาวบ้านแถบ อ.แก้งสนามนาง ฝ า ก ข อ บ คุ ณ ปธ.มู ล นิ ธิ ส ภา เตื อ นภั ย พิ บั ติ ฯ ‘ดร.สมิ ท ธ ธรรมสโรจน์’ ที่ ออกความคิดดีๆ สร้างสระเก็บน�ำ้ ให้ จนตอนนีส้ ำ� เร็จเป็นรูปเป็นร่าง...

นายแพทย์สำ� เริง แหยงกระโทก นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นครราชสีมา เป็นประธานเปิดป้ายศูนย์ความร่วมมือองค์การบริหารจัดการ ขยะจังหวัดนครราชสีมา ณ ศูนย์สาธิตการจัดการขยะรีไซเคิล ต�ำบลโคก กรวด จังหวัดนครราชสีมา เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2553.

เมือ่ วันที่ 4 มกราคม 2554 ได้มกี ารจัดพิธสี ถาปนาแต่งตัง้ นายกสมา คมโผวเล้ง นครราชสีมา สมัยที่ 14 โดย คุณชวน ชัยปัทมานนท์ ประธาน บริษทั นครราชสีมา ฮอนด้าออโตบิล จ�ำกัด (ฮอนด้าจอหอ) ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นนายกสมาคมโผวเล้งคนใหม่.


4

รายงานพิเศษ

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

บ้านโนนประดู่อาสาน�ำร่องของประเทศ

สร้างสระเก็บน�ำ ้ “รวมใจต้านภัยแล้ง” ฯพณฯ นายสวัสดิ์ วัฒนายากร องคมนตรี เดินทางมาเป็นประธานในพิธเี ปิดสระเก็บน�ำ้ “รวมใจ ต้ า นภั ย แล้ ง ” ณ บ้ า นโนนประดู ่ ต.พะงาด อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา โดยมี ดร.สมิทธ ธรรมสโรส ประธานมูลนิธสิ ภาเตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติ และ อ.ปราโมทย์ ไม้กลัด รองประธานมูลนิธสิ ภาเตือน ภัยพิบัติแห่งชาติ ให้การต้อนรับ เมื่อวันศุกร์ที่ 24 ธันวาคม 2553 ทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับความเป็นมาของโครงการ เริม่ จากการที่ มูลนิธิสภาเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ได้ไปเป็นวิทยากร บรรยายเรือ่ ง “วิกฤตการณ์นำ�้ และแนวทางแก้ไขปัญหา” ที่โรงแรมดุสติ ปริน๊ เซส โคราช จังหวัดนครราชสีมา ในการ สัมมนาซึง่ จัดโดยหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เมือ่ วันที่

27 เมษายน 2553 ซึ่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล พะงาด (อบต.พะงาด) ได้ขอความอนุเคราะห์มลู นิธสิ ภา เตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติไปช่วยพิจารณาสภาพพืน้ ที่ ให้คำ� แนะน�ำและช่วยหาทางสนับสนุนเรือ่ งงบประมาณขุดสระ เก็บน�้ำที่ ต.พะงาด อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา เนือ่ งจากหมูบ่ า้ นต่างๆ ประสบความเดือดร้อนขาดแคลน น�ำ้ อุปโภคในฤดูแล้งทุกปี

มูลนิธสิ ภาเตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติพจิ ารณาแล้ว เห็นสมควรสนับสนุน เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2553 จึง เดินทางไปพิจารณาสถานทีซ่ งึ่ เป็นสระเก็บน�ำ้ ขนาดเล็กที่ สร้างไว้แล้ว 2 แห่ง ณ บริเวณบ้านโนนประดู่ แต่สภาพ ขณะนั้นมีน�้ำขังเล็กน้อยที่บริเวณก้นสระ หากท�ำการ พัฒนาขุดลอกให้ลกึ และขยายพืน้ ทีส่ ระเพิม่ อีก ก็จะท�ำให้ กักเก็บน�ำ้ เพิม่ มากขึน้ เพียงพอกับความต้องการส�ำหรับ ชุมชนหลายหมูบ่ า้ นของต�ำบลพะงาดตลอดฤดูแล้ง อันเป็น ทีม่ าของการเริม่ ต้นโครงการสระเก็บน�ำ้ “รวมใจต้านภัย แล้ง” บ้านโนนประดู่ ทีม่ ลู นิสภาเตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติ และทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องมีความภาคภูมิใจ สระเก็บน�้ำ “รวมใจต้านภัยแล้ง” ตั้งอยู่ที่บ้าน โนนประดู่ หมู่ 1 ต.พะงาด อ.ขามสะแกแสง จ. นครราชสี ม า การเดิ น ทางโดยรถยนต์ จ ากจั ง หวั ด นครราชสี ม าไปยั ง ที่ ตั้ ง โครงการไปตามทางหลวง หมายเลข 205 นครราชสีมา-ชัยภูมิ เมื่อถึง อ.โนนไทย เลี้ ย วขวาเข้ า สู ่ ท างหลวงหมายเลข 2150 ไป อ. ขามสะแกแสง ถึงทีต่ งั้ โครงการซึง่ อยู่ไม่ไกลจากทีว่ า่ การ อ�ำเภอ รวมระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร ส�ำหรับ อ.ขามสะแกแสง เป็นอ�ำเภอขนาดเล็ก อยูท่ างทิศเหนือของจังหวัดนครราชสีมา สภาพภูมปิ ระเทศ โดยทัว่ ไปเป็นทีร่ าบ ไม่มลี ำ� น�ำ้ ขนาดใหญ่ไหลผ่าน แต่มี ล�ำห้วยธรรมชาติซงึ่ มีนำ�้ ไหลเฉพาะหน้าฝนกระจายอยู่ใน บริเวณพืน้ ทีร่ าบลุม่ ทัว่ ไป สภาพภูมปิ ระเทศโดยรอบสระ เก็บน�้ำและบริเวณหมู่บ้านสภาพค่อนข้างราบ มีล�ำห้วย ขนาดเล็กไหลผ่านบริเวณทีข่ ดุ สระ น�ำ้ จากห้วยสายนี้ไหล ลงสูส่ ระในฤดูฝนจึงมีนำ�้ เต็มทุกปี ในหน้าแล้งล�ำห้วยไม่มี น�ำ้ ไหลจึงต้องอาศัยน�ำ้ จากสระแห่งนีต้ ลอดฤดูแล้ง ส่วนขนาดและรูปแบบของสระเก็บน�ำ้ “รวมใจ ต้านภัยแล้ง” บ้านโนนประดู่ ได้มกี ารคิดค�ำนวณก�ำหนด ความจุสระโดยยึดหลักการมีนำ�้ เพียงพอใช้สำ� หรับคน สัตว์

เลีย้ ง ตลอดจนการปลูกพืชผักสวนครัวของหมูบ่ า้ นในฤดู แล้งนาน 6 เดือน ทัง้ นีก้ ารใช้นำ�้ ของราษฎรทุกครัวเรือน ต้องประหยัดและใช้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย กล่าวคือ ความจุสระเก็บน�้ำที่ต้องการเท่ากับจ�ำนวนน�้ำที่ราษฎร ต้องการใช้ในฤดูแล้ง รวมกับจ�ำนวนน�ำ้ ทีค่ าดว่าจะสูญเสีย เนือ่ งจากการระเหยและการรัว่ ซึมตลอดฤดูแล้ง น�้ำส�ำหรับราษฎรทั้งหมดรวม 350 ครัว เรือน เมื่อรวมกับน�้ำที่คาดว่าจะสูญเสียตลอดฤดู แล้งนาน 6 เดือน สระเก็บน�้ำที่สร้างแห่งนี้จึง ก�ำหนดขนาดความจุสระให้สามารถเก็บน�ำ้ ประมาณ 56,000 ม.3 ทัง้ นี้ ได้วเิ คราะห์ดนิ จากสระทีข่ ดุ แล้ว เป็นดินที่มีความเหนียวผสม จัดเป็นดินทึบน�้ำซึ่ง น�ำ้ ซึมผ่านได้ยาก จึงไม่กงั วลว่าน�ำ้ จะสูญเสียไปจาก สระเนื่องจากการรั่วซึม ดังนั้น สระเก็บน�้ำความจุไม่น้อยกว่า 56,000 ม.3 แห่งนี้ จึงพัฒนาขุดลอกสระเก็บน�้ำ

ขนาดเล็ก 2 ลูก รวมกันเป็น สระเก็ บ น�้ ำ ขนาดใหญ่ ที่ มี ความลึกไม่น้อยกว่า 4.0 ม. ขุดแต่งให้ลาดด้านข้าง สระ ทุกด้านเอียงตั้ง : ราบ = 1:2 โ ด ย มี พื้ น ที่ ข อ บ ส ร ะ ทรวดทรงคล้ า ยตั ว แอลไป ตามแนวสระเดิมที่ขุดไว้ คือ ประกอบด้วยพื้นที่สระขนาด 50.0 x 50.0 ม.2 สร้างเชื่อม ต่ อ กั บ สระลั ก ษณะยาวที่ มี พื้นที่ขอบสระขนาด 30.0 x 50.0 ม.2 ตามแบบมาตรฐาน โครงการสระเก็ บ น�้ ำ “รวมใจต้านภัยแล้ง” บ้านโนน ประดู่ ยึดหลักการท�ำงานแบบมีสว่ นร่วม หลังจากท�ำงาน เบือ้ งต้นพร้อมแล้วผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายได้มกี ารประชุมหารือ ร่วมกันหลายครัง้ หลายฝ่ายทีม่ สี ว่ นร่วมในการปฏิบตั งิ าน ขุดสระ ได้แก่ 1.นายก อบต.พะงาด เป็นผูค้ วบคุมการขุด สระและประสานงานตั้ ง แต่ เ ริ่ ม จนเสร็ จ งาน

2.นายอ�ำเภอขามสะแกแสง ประสานขอความสนับสนุน ไปยังก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน พ่อค้า ประชาชน และบุคคล ต่างๆ ในอ�ำเภอขามสะแกแสงเพื่อระดมหาทุนมาช่วย สนับสนุนและช่วยติดตามการปฏิบัติงานจนแล้วเสร็จ 3.องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมาสนับสนุนเครื่ องจักร ได้แก่ รถแบคโฮ จ�ำนวน 1 คัน รถบรรทุก 10 ล้อ จ�ำนวน 3 คัน รถแทรคเตอร์ จ�ำนวน 1 คัน พร้อม บุคลากรประจ�ำรถ 4.หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ประชาสัมพันธ์และประสานไปยังเครือข่ายธุรกิจภาค เ อ ก ช น เ พื่ อ ร ะ ด ม ทุ น อี ก ท า ง ห นึ่ ง แ ล ะ 5.สมาชิกสภาจังหวัดนครราชสีมา (อ.ขามสะแกแสง) รับ ท�ำงานขุดและขนดินจากสระเก็บน�้ำ รวมระยะเวลา ท�ำงานในพืน้ ทีต่ งั้ แต่เริม่ ต้นจนเสร็จงานประมาณ 30 วัน นอกจากนี้ ยังมีผรู้ ว่ มสนับสนุนกิจกรรมด้วยการ บริจาคเงินทัง้ รายใหญ่และรายย่อยรวมทัง้ สิน้ 116 ราย รวมเป็นเงิน 583,282 บาท โดยมีค่าใช้จ่ายด้านต่างๆ ตัง้ แต่เริม่ ท�ำงานจนเสร็จโครงการเป็นเงิน 531,000 ส่วน เงินทีเ่ หลือจ�ำนวน 52,282 บาทนี้ มูลนิธสิ ภาเตือนภัยพิบตั ิ แห่งชาติจะมอบให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลพะงาดตั้ง เป็นกองทุนส�ำหรับดูแลและบริหารสระเก็บน�ำ้ แห่งนีต้ อ่ ไป.

ฟาร์มบัวขาวแห่งแรกในโคราช ต้นแบบ1ไร่1แสน-ร้านค้าชุมชน

‘ฟาร์มบัวขาว’ น�ำร่องเปิดต้นแบบ โครงการ 1 ไร่ 1 แสน อย่างเป็นทางการใน โคราช หลังจากเริ่มด�ำเนินโครงการฯ มี เกษตรกรสนใจเข้าร่วมแล้ว 10 ราย ยืนยัน ช่วยเพิม่ รายได้ให้เกษตรกรได้จริง ผลผลิต ต่อไร่เพิ่มขึ้นถึง 30% รายได้เพิ่มขึ้นกว่า 40% และสามารถลดต้นทุนลงได้ 50% พร้อมน�ำร่องเปิดร้านค้าชุมชนรองรับผลผลิต จากโครงการ ห ลั ง จ า ก ห อ ก า ร ค ้ า จั ง ห วั ด นครราชสีมา ได้เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ของหอการค้าไทย โดยได้ด�ำเนินโครงการ น�ำร่องแห่งแรกของจังหวัดนครราชสีมาขึ้นที่ ฟาร์มลาดบัวขาว บ้านใหม่สำ� โรง ต.ลาดบัวขาว อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมานั้น ขณะนี้ เกษตรกรผู้ เข้าร่วมโครงการทั้ง 10 รายได้ ได้เก็บเกี่ยว ผลผลิตครั้งแรกเสร็จสิ้นแล้ว โดยพบว่าการ ท�ำการเกษตรตามโครงการ 1 ไร่ 1 แสน

“ขณะนี้ มีเกษตรทีส่ มัครใจเข้าร่วม โครงการแล้ว 10 ราย ส่วนรายอืน่ ๆ ก�ำลังอยู่ ระหว่างการศึกษาข้อมูล โดยเราจะไม่บงั คับหรือ เร่งรัดให้เข้าร่วมโครงการฯ แต่จะค่อยๆ ปรับ สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตต่อไร่ถึง 30% เพิ่ม เปลีย่ นวิธคี ดิ ให้กบั เกษตรกร ใครทีเ่ ห็นว่าได้เงิน รายได้ให้เกษตรกรขึ้นอีก 40% ทั้งยังสามารถ คืนแน่ๆ ก็ทำ� ใครทีย่ งั ไม่พร้อมก็ไม่เป็นไร แต่ คิดว่าโครงการนี้น่าจะเต็มรูปแบบในรอบการ ช่วยลดต้นทุนลงได้ถึง 50% นายวรพจน์ สัจจาวัฒนา เจ้าของ ฟาร์มบัวขาว ให้สมั ภาษณ์วา ่ จากการเข้าร่วม โครงการ 1 ไร่ 1 แสน โดยภาพรวมแล้วถือว่าดี เนือ่ งจากเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ ได้มกี าร เปลีย่ นวิธคี ดิ ใหม่ในการท�ำการเกษตรแบบผสม ผสาน โดยมุง่ เน้นถึงพืชทีป่ ลูก สัตว์ทเี่ ลีย้ ง หรือ แหล่ ง น�้ ำ ภายในพื้ น ที่ โดยมี ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีสุรนารี ได้น�ำดินไปวิเคราะห์เพื่อ ท�ำการปรับปรุงดิน ส�ำหรับพืชหลักๆ ทีป่ ลูกใน โครงการฯ คือข้าว และผักผลไม้ทสี่ ามารถใช้รบั ประทานและขายได้ เช่น พริก มะเขือ ถัว่ ฝักยาว แตงกวา เป็นต้น และจะต้องไม่มกี ารใช้สารเคมี โดยจะใช้ปยุ๋ อินทรียจ์ ากมูลสุกรและมูลวัวแทน ผลิตของฤดูการท�ำนาครัง้ ใหม่ ซึง่ ครัง้ แรกทีเ่ ก็บ ส่วนการเลีย้ งสัตว์จะเน้นการเลีย้ งปลาในนาข้าว เกีย่ วผลผลิตไปแล้วบางรายยังไม่ได้มกี ารเลีย้ ง ปลาในนาข้าว หรือบางรายยังไม่มกี ารปลูกผัก การเลีย้ งเป็ดไข่เพือ่ สร้างรายได้

โครงการฯ ค่อนข้างทีจ่ ะมีความหลากหลาย แต่ ของกลุ่มคลัสเตอร์แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร จากสุกร และเชื่อมโยงลูกค้ากับตลาดเข้า มีจำ� นวนไม่มากพอทีต่ ลาดภายนอก ด้วยกัน เป็นสถานที่ในการกระ จะรับซือ้ และไม่คมุ้ ค่า จายสินค้าของสมาชิก ที่มี กับค่าใช้จ่ายใน ความหลากหลายและ การขนส่ง จึง ครอบคลุ ม สร้ า ง ได้ มี ก าร ความเชื่ อ มั่ น และ ร่ ว มกั น สร้ า งแรงจู ง ใจให้ ลู ก ค้ า เป้ า หมาย เกิ ด พฤติ ก รรมใน การบริ โ ภคสิ น ค้า เพิ่ ม มากขึ้น “นอกเหนือจากเกษตรกรทัง้ 10 ราย เปิดเป็นร้านค้าชุมชน ทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ แล้ว ตอนนีก้ เ็ ริม่ มีรายอืน่ ขึ้ น มารองรั บ ซึ่ ง ทีส่ นใจเข้ามาศึกษา และเราจะท�ำโครงการ 1 ไร่ ภายในร้านค้าชุมชนนี้ 1 แสน แบบเต็มรูปแบบอีกครัง้ ที่โรงเรียนบ้าน จ ะ จั ด จ� ำ ห น ่ า ย ใหม่สำ� โรง เพือ่ ทีจ่ ะได้ใช้เป็นโครงการต้นแบบ ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ก า ร ส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการศึกษาดูงาน และช่วยให้เด็ก เกษตรในราคาที่เป็น นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน ซึ่งอยู่ระหว่าง ตั้งร้านค้าชุมชุนขึ้นน�ำร่องเป็นแห่งแรก เพื่อ ธรรม ไม่แพงเท่ากับท้องตลาด นอกจากนี้ ร้าน ด�ำเนินการปรับพื้นที่ ส่วนเกษตรกรที่สนใจ รองรับผลผลิตจากโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ของ ค้าชุมชนแห่งนี้ ยังได้จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ อยากเข้าร่วมโครงการฯ ก็ตดิ ต่อมาได้ทหี่ อการ เกษตรกรในพื้นที่ เนื่องจากผลผลิตที่ได้จาก แปรรูปอาหารจากสุกร เพือ่ เป็นศูนย์แสดงสินค้า ค้าฯ” นายวรพจน์ กล่าวทิง้ ท้าย. ผลไม้ทตี่ ลาดต้องการ หรือมีการเลีย้ งอยูแ่ ล้วแต่ เลีย้ งในสระ หรือพืชบางตัวก็ปลูกอยูก่ อ่ นแล้ว ซึง่ หลักการของการท�ำโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ไม่ ใช่การท�ำเกษตรในพื้นที่จ�ำนวนมาก แต่ เป็นการเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด และการใช้พนื้ ทีท่ มี่ อี ยูอ่ ย่างคุม้ ค่า” ทัง้ นี้ ทีฟ่ าร์มบัวขาวแห่งนี้ ยังได้จดั


รายงานพิเศษ

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

5

กิจกรรมเด่น ปีบริหาร 2552-2553 รับรางวัลหอการค้ายอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2552

ร่วมมอบวุฒิบัตรผู้ผ่านการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

จ�ำหน่ายล�ำไยช่วยชาติ ช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ลูกล�ำไยทผี่ ลผลิตล้นตลาด

รับรางวัลอันดับ 1 โครงการรณรงค์ เพิ่มสมาชิกหอการค้าจังหวัดทั่วประเทศ

จัดการสัมมนา ” “กลยุทธ์การตลาดและการเงิน

จัดงานหอการค้าโคราชแฟร์ 2010 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัดนครราช สีม

ร่วมส่งเสริม สนับสนุนให้เปิดสายการ บิน และร่วมเปิดเที่ยวบินปฐมฤกษ์

จัดงานเกษตรแฟร์โคราช นครราชสีมา เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัด

จ�ำหน่ายลิ้นจี่ช่วยชาติ ช่วยเหลือเกษตรกรที่ผลผลิตล้นตลาด

ษาดูงาน น�ำคณะกรรมการฯ เดินทางศึกนะเขต หอการค้ามุกดาหาร-สะหวัน

ร่วมจับเข่าคุย “โสเหร่ เมืองโคราช” ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรมเมืองยา่ โม

จัดตั้งศูนย์ SMEs Clinic เพื่อให้ค�ำแนะน�ำ ช่วยเหลือผู้ประกอบก าร SMEs

จัดโครงการติวเข้มให้กับนักเรียนชั้น ม. ก่อนสอบเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัย 6

การคา้ ทัว่ ประเทศ หอ าร ห ริ ้ บ ผู ษา ึ ก นศ ศ ทั ละ าแ ร่วมสมั มน เลเซีย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมา

น�ำสมาชิกและนักธุรกิจศึกษาดูงาน Expo 2010 Shanghai China

รับรางวัลสตรีจิตอาสา ัน องค์ราชินี งานราตรีร้อยใจ เทิดไท้องค์ราช

จัดตั้งศูนย์กู้ภัยเศรษฐกิจ ให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้ที่มีปัญหาด้านธุรกิจ

จัดงานกระตุ้นเศรษฐกิจ ที่ 5 เทศกาลอาหารย่างโคราช ครั้ง

จัดมหกรรมการออม การลงทุนครบวงจร SET in the city

จัดการสัมมนา “รถไฟรางคู่สู่อีสาน ครั้งที่ 1”

จัดงานสตรีไทยตัวอย่าง เนอ่ื งในวันแม่แห่งชาติ ประจ�ำปี 2552

จัดโครงการฝึกอาชีพ ให้กับผู้ว่างงานและตกงาน

จัดโครงการเยี่ยมเยือนสมาชิก ตามยุทธศาสตร์การเพิม่ รายได้และการเพิม่ สมาชิ ก

จัดการแข่งขันกอล์ฟ 30 ปี หอการค้า ฯ ในโอกาสครบรอบ 30 ปี หอการค้าจัง หวัดนครราชสีมา

จัดงานท�ำบุญครบรอบ 30 ปี หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

งหลวงพิเศษ ร่วมเสวนาประชาคมโครงการทาครราชสีมา หมายเลข 6 สายบางปะอิน-น

น�ำคณะผู้ประกอบการและสมาชิกฯ ร่วมงาน THAIFEX - World of food AS IA 2010

รับรางวัลหอการค้ายอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2553

ต้อนรับคณะอาจารย์จากออสเตรเลีย ที่ขอรับฟังข้อมูลด้านเศรษฐกิจในจังหว ัดฯ

จัดการเสวนา “การลดต้นทุน ง่ ขัน” งการแข และการเพมิ่ ขีดความสามารถทา


6

พิเศษ

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

‘สุบงกช’อดีตปธ.หอโคราชเผย

ภูมิใจที่ได้คืนก�ำไรให้สังคม

“หากมีความสามัคคี งานทุกอย่างก็จะส�ำเร็จ” กฎหมายควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ การสัมมนาเกีย่ วกับการปรับตัว รับประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน การสัมมนาเกี่ยวกับมหกรรมทางการ เงิน การสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจ การจัดโครงการ อบรมผู้ประกอบการคนรุ่นใหม่ การเปิดอบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้อง ต้น การจัดสอนการท�ำขนม อาหาร ให้กับผู้ที่ว่างงานหรือผู้ที่ต้องการมี รายได้เสริม รวมถึงการส่งเสริมผลักดันผู้ประกอบการ SMEs ให้ สามารถขยายตลาดไปยังต่างประเทศ เป็นต้น

ฉบับนี้รายงานพิเศษจะน�ำคุณผู้อ่านทุกท่านไปล้วงลึกถึง ความในใจ ของอดีตประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมาคน ล่าสุด ‘เจ๊หวา’ สุบงกช วงศ์วิชยาภรณ์ ประธานหอการค้าจังหวัด นครราชสีมา ปีบริหาร 2552-2553 ส่วนจะเป็นเรื่องอะไร เรามา ติดตามไปพร้อมๆ กันเลยค่ะ การท�ำงานที่แสนภูมิใจในฐานะประธานหอการค้าฯ จากระยะเวลาตลอด 2 ปี ทีผ่ า่ นมา ในฐานะประธานหอการค้า จังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2552-2553 ก่อนอืน่ ต้องขอขอบคุณคณะ กรรมการทุกท่านที่ได้เสียสละเวลาเข้ามาท�ำงานเพือ่ ส่วนรวม เพือ่ สังคม และทุ่มเททั้งก�ำลังกายและก�ำลังใจท�ำงานอย่างเต็มที่ ซึ่งจากความร่วม มือร่วมใจนี้ท�ำให้มีกิจกรรมดีๆ หลายอย่างเกิดขึ้น และในปี 2553 นี้ หอการค้าโคราชก็ครบรอบ 30 ปี จึงได้จัดโครงการครบรอบ 30 ปีหอ การค้าฯ ขึ้น โดยมีคุณสุวัฒน์ จึงวิวัฒนาภรณ์ ให้เกียรติเป็นประธาน โครงการฯ ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การน�ำสมาชิกทัศนศึกษาดูงาน Shanghai China World Expo 2010 ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน, การจัดท�ำหนังสืออนุสรณ์ครบรอบ 30 ปีหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา, งานท�ำบุญครบรอบรอบ 30 ปี, การจัดงานเทศกาลอาหารย่างโคราช ครั้งที่ 5, การจัดงานหอการค้าโคราชแฟร์ 2010, การแข่งขันกอล์ฟ 30 ปีหอกาค้าฯ และการจัดงานเกษตรแฟร์โคราช

การันตีด้วยรางวัลหอการค้ายอดเยี่ยม 2 ปีซ้อน ส�ำหรับรางวัลที่เราได้รับล่าสุดคือรางวัลหอการค้ายอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2553 ซึง่ หอการค้าโคราชได้รบั รางวัลนีถ้ งึ 2 ปีซอ้ น แม้ในช่วง ปลายสมัยทีอ่ ยูร่ ะหว่างรักษาการ ดิฉนั ติดภารกิจในเข้าร่วมการฝึกอบรม กับวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ท�ำให้ไม่สามารถอยูป่ ฏิบตั งิ านได้อย่าง เต็มที่ ก็ได้รบั เกียรติจากคณะกรรมการทุกท่านเข้ามาช่วยด�ำเนินงานการ จัดกิจกรรมครบรอบ 30 ปีหอการค้าฯ อย่างเต็มความสามารถ ท�ำให้ ทุกงานผ่านประสบความส�ำเร็จและผ่านพ้นไปด้วยดี ซึง่ รางวัลหอการค้า ยอดเยี่ยม ถือเป็นรางวัลที่เราภาคภูมิใจและท�ำให้หายเหนื่อยจากการ ท�ำงานที่ผ่านมา ที่ส�ำคัญทั้ง 2 รางวัลนี้ ได้มาจากความร่วมมือร่วมใจ กันท�ำงานของคณะกรรมการโดยแท้จริง กิจกรรมเด่นตลอด 2 ปี ตลอด 2 ปีที่ผ่านมา มีหลายกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมเด่นๆ อาทิ การผลักดันเรือ่ งรถไฟรางคู่ การผลักดันให้มกี ารฟืน้ สนามบินหนอง เต็ง การต่อต้านการขยายตัวของห้างค้าปลีกข้ามชาติ การมีส่วนร่วมใน การจัดท�ำผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา เป็นต้น ส่วนกิจกรรมที่จัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ อาทิ การจัดงานเทศกาลอาหารย่างโคราช หอการค้าโคราชแฟร์ เกษตรแฟร์โคราช เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการ จัดงานสัมมนาที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิก อาทิ การสัมมนาการบังคับใช้

มามีบทบาท เป็นการสร้างศักยภาพให้กับคนรุ่นใหม่ ให้เดินไปใน อนาคตอย่างแข็งแกร่ง สิ่งตอบแทนที่มีค่ามากกว่าเงิน การท�ำงานในองค์กรหอการค้าฯ แม้ว่าจะไม่มีสิ่งตอบแทน ในรูปแบบของข้าวของเงินทอง แต่หากถามว่าแล้วท�ำไมทุกท่านจึง อยากที่จะเข้ามาร่วมท�ำงานตรงนี้ ดิฉันคิดว่าหลายๆ คนคงคิดเหมือน กันว่า เป็นเพราะความภาคภูมิ ใจที่ ได้ท�ำเพื่อสังคม แม้จะไม่ ได้สิ่ง ตอบแทนที่เป็นในรูปของเงิน แต่สิ่งที่ ได้รับกลับมีค่ามากกว่านั้น นั่น คือความอิ่มเอิบใจ ความภาคภูมิ ใจที่ ได้รับกลับมา และได้เห็นบ้าน เมืองพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นจากการท�ำงานและความเสียสละของเรา เพียงแค่นี้ก็เพียงพอแล้ว และคิดว่าจังหวัดนครราชสีมาของเรายังมี คนที่มีความสามารถและรู้สึกเช่นเดียวกันนี้อีกมาก ก็ขอเชิญชวนให้ ออกมาช่วยกันพัฒนาบ้านเมืองของเรา เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม เมื่อเศรษฐกิจดี บ้านเมืองดี ก็จะเป็นลูกโซ่ย้อนกลับมาที่ตัวเรา ลูก หลานเรา วันนี้คนรุ่นใหม่เองก็รู้สึกถึงความส�ำคัญของความร่วมมือ จึงมีหลายคนอาสาเข้ามาท�ำงานตรงนี้

ตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ประกอบการ นอกจากนี้ ภายใต้องค์กรหอการค้าจังหวัดนครราชสีมาแห่ง นี้ ยังได้เปิดศูนย์ SMEs คลินิก เพื่อคอยให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ การ ประกอบธุรกิจต่างๆ การจัดตั้งกลุ่มประสานงานหอการค้าจังหวัด นครราชสีมาประจ�ำอ�ำเภอ เพื่อคอยให้ความช่วยเหลือ ประสานงาน แจ้งข่าวสารไปยังสมาชิกที่อยู่ยังต่างอ�ำเภอ การเปิดศูนย์คลินิกภาษี เปิดสอนให้ความรู้กับผู้ที่ต้องการรู้เรื่องภาษี โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การ จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมืองนครราชสีมา การด�ำเนินโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ซึ่งเป็นโครงการที่หอการค้าไทยได้จัดท�ำขึ้นเพื่อน�ำร่องให้ กับหอการค้าจังหวัดฯ ได้น�ำมาด�ำเนินต่อในแต่ละจังหวัด เพื่อช่วยลด ปัญหาการเหลื่อมล�้ำทางรายได้ในสังคม การด�ำเนินโครงการ 1 ชุมชน ความสามัคคีช่วยให้เกิดความส�ำเร็จ ดิฉันเองอยากเห็นความร่วมมือร่วมใจกันของคนในจังหวัดฯ 1 บริษัท โครงการของดีจังหวัดฯ และโครงการบัตรสิทธิประโยชน์ เป็นอย่างแรก เพราะความสามัคคีช่วยให้เกิดความส�ำเร็จหลายๆ อย่าง สมาชิกฯ เป็นต้น ปัจจุบนั หอการค้าจังหวัดทัว่ ประเทศ ก็ได้รบั ความส�ำคัญจากทางรัฐบาล มากขึน้ เห็นได้จากปัญหาหลายอย่างทีเ่ รารวมตัวกันสะท้อนไปยังรัฐบาล แม้หมดวาระแต่ ไม่ทอดทิ้งหอการค้าฯ ซึ่งหลังจากหมดวาระแล้ว ดิฉันเองก็ ไม่ ได้ทอดทิ้งองค์กร ได้รับการช่วยเหลือแก้ไข หอการค้าไทยซึ่งเป็นหอแม่ของเราก็ได้วาง หอการค้าฯ ไปไหน แต่จะคอยอยู่ช่วยเหลือให้ค�ำปรึกษา ไปเรื่อยๆ ยุทธศาสตร์ ไว้มากมาย เพื่อให้ทุกจังหวัดมีการแก้ไขปัญหาและพัฒนา เพื่อร่วมมือกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ของบ้านเมืองที่ยังค้างคา ไม่ว่าจะ อย่างเป็นระบบ ฉะนั้นจะเห็นได้ว่าปัญหาทุกอย่างที่สามารถแก้ไขได้ เป็นปัญหาเรื่องแรงงาน ปัญหาความเหลื่อมล�้ำทางสังคม ปัญหาด้าน หรืองานทุกอย่างทีส่ ำ� เร็จได้ ล้วนเกิดจากความร่วมมือร่วมใจ และความ เศรษฐกิจ หรือแม้กระทั่งปัญหาด้านการศึกษาที่เป็นปัญหาใหญ่ของ สามัคคีของคนในจังหวัดทั้งสิ้น บ้านเมือง ขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ ต้องขอขอบคุณสมาชิกทุกท่านที่ ให้ความร่วมมือในการจัด ภูมิใจที่ ได้คืนก�ำไรให้สังคม การท�ำงานในฐานะประธานหอการค้าฯ ดิฉันมีความภูมิ ใจ งานต่างๆ ท�ำให้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมถึงหน่วยงานของรัฐและ เป็นอย่างมากที่ ได้มี โอกาสคืนก�ำไรให้สังคม ได้ท�ำงานเพื่อส่วนรวม เอกชนที่ ให้ความช่วยเหลือหอการค้าฯ มาโดยตลอด เนื่องจากการ อย่างจริงจังและจริงใจ ที่ส�ำคัญต้องขอบคุณครอบครัวที่ให้โอกาสดิฉัน ด�ำเนินงานบางอย่างของหอการค้าฯ ต้องติดต่อประสานงานกับหน่วย ออกมาท�ำงานเพื่อสังคม เพราะคิดว่าภาคเอกชนต้องร่วมมือกัน จึง งานภายนอก และเราได้รับความอนุเคราะห์ด้วยดีจากหน่วยงานต่างๆ จะท�ำให้เกิดความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ เราจะรอแต่ความช่วยเหลือ อาทิ จังหวัดนครราชสีมา, บสย., เอสเอ็มอีแบงก์, พัฒนาธุรกิจการ จากภาครัฐเพียงอย่างเดียวไม่ ได้ เราต้องรวมกลุ่มกันช่วยเหลือกันเอง ค้าฯ, พาณิชย์จังหวัดฯ, สภาอุตสาหกรรมฯ, อุตสาหกรรมจังหวัดฯ, เพื่ อ สะท้ อ นปั ญ หาเหล่ า นี้ ต ่ อ ไปยั ง ภาครั ฐ หรื อ หน่ ว ยงานที่ มี ส ่ ว น การท่องเที่ยวฯ, ต�ำรวจ, ทหาร อื่นๆ อีกมากมาย และที่ขาดไม่ ได้ เกี่ยวข้องต่อไป การเลือกตั้งครั้งใหม่นี้ก็เห็นว่าเป็นสิ่งดีที่ ได้เปิด คือสื่อมวลชนทุกแขนงที่ช่วยให้งานต่างๆ ของหอการค้าจังหวัด โอกาสให้คนรุ่นใหม่ๆ ได้เข้ามามีส่วนในการร่วมคิด ร่วมท�ำ เพื่อ นครราชสีมาประสบความส�ำเร็จ จากการช่วยประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ พัฒนาบ้านเมืองที่พวกเค้าเหล่านี้จะต้องอยู่อาศัยไปอีกนาน คิดว่าหอ งานของหอการค้าฯ ตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ก็ต้องขอขอบคุณ การค้าฯ ก็เป็นอีกเวทีหนึ่งที่ช่วยให้คนรุ่นใหม่ ได้ลงมือท�ำจริง ได้เข้า อีกครั้งค่ะ.


สัมภาษณ์พิเศษ

7

‘เภสัชกร จักริน เชิดฉาย’ หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

ปธ.ใหม่ปา้ ยแดงหอโคราช หลังจากการเลือกตัง้ คณะกรรมการหอการค้าจังหวัด นครราชสีมา ปีบริหาร 2554-2555 ส�ำเร็จเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อย เนื่องจากคณะ กรรมการชุดเดิมหมดวาระลง โดยได้เห็นโฉมหน้าคณะกรรมการชุดใหม่ทั้ง 35 ท่านไปแล้ว และ เป็นที่แน่นอนว่า ‘จักริน เชิดฉาย’ ได้รับความไว้วางใจด้วยคะแนนเสียงข้างมาก ในการด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2554-2555 เป็นสมัยแรก วันนี้เราจึงขอน�ำคุณผู้อ่าน มารูจ้ กั กับประธานใหม่ปา้ ยแดงท่านนี้ ว่ามีความรูส้ กึ และมีวสิ ยั ทัศน์อย่างไรในการท�ำหน้าที่ใน ฐานะผู้น�ำองค์กรภาคเอกชนค่ะ

ประวัติ

ภก.จักริน เชิดฉาย อายุ 50 ปี จบการศึกษาจาก คณะ เภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งประธาน หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2554-2555 ในอดีตเคยเป็น เลขาธิการหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ปีบริหาร 2552-2553, นายก ไลออนส์โคราช, ประธานกลุ่มเภสัชกรนครราชสีมา, กรรมการสมาคม นิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์ฯ, สมาชิกสภาเทศบาลนครนครราชสีมา ด้านธุรกิจ ของครอบครัวด�ำเนินกิจการ หจก.หมอยาพลาซ่า ซึง่ ปัจจุบนั มีอยูท่ งั้ หมด 7 สาขาในจังหวัดนครราชสีมา และศูนย์ประกันภัยหมอยาพลาซ่าด้วย

มุมมองต่อหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

ปัจจุบนั ต้องบอกว่าหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานราชการและ หน่วยงานภายนอกในระดับหนึง่ เป็นองค์กรทีท่ �ำประโยชน์ เพื่อเหล่านักธุรกิจและชาวบ้านที่ประกอบธุรกิจ อาสาเป็น ตัวแทนเข้ามาท�ำงานเพื่อสังคมส่วนรวมโดยไม่หวังผล ตอบแทนและไม่มีผลตอบแทน แม้บ่อยครั้งที่องค์กรหอ การค้าฯ ของเราท�ำให้รัฐบาลหันมารับฟังข้อเสนอแนะและ แนวคิดในการส่งเสริมให้เศรษฐกิจของคนโคราชดีขึ้น เกิด ความก้าวหน้ามัน่ คงและยัง่ ยืน แต่ผมคิดว่ารัฐบาลน่าจะให้ ความสนใจมากขึ้นกว่านี้

ความรู้สึกในในฐานะประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

ผมเองรูส้ กึ ภูมิใจและเป็นเกียรติมากที่ได้เข้ามารับต�ำแหน่งนี้ ซึง่ ก่อนหน้านีก้ ็ได้ ช่วยงานของหอการค้าจังหวัดนครราชสีมามาก่อนแล้ว 2 ปีในฐานะกรรมการเลขาธิการฯ ก็พอจะมีความเข้าใจบทบาทขององค์กรแห่งนี้พอสมควรว่ามีหน้าที่อะไร คิดว่าคงจะเป็น ภารกิจที่ท้าทาย เนื่องจากเคยท�ำงานเพื่อสังคมมาตลอด เป็นงานที่ไม่ ได้หวังสิ่งตอบแทน ในเรือ่ งผลประโยชน์สว่ นตัว แต่ก็ได้ทำ� เพือ่ สังคม และคิดว่าตัวเองน่าจะเป็นผูป้ ระสานงาน ที่ดีได้ แต่ก็ต้องขอค�ำแนะน�ำหรือแนวคิดจากกรรมการทั้ง 35 ท่าน ว่าโคราชยังมีปัญหา อะไร เพื่อเสนอให้ตัวแทนภาครัฐน�ำไปแก้ไขปรับปรุง ซึ่งผมคิดว่าน่าจะท�ำสิ่งนั้นได้ เพราะ กรรมการทั้ง 35 ท่าน ล้วนแต่เป็นผู้ที่มีความสามารถ

บทบาทของหอการค้าฯ ต่อสังคม

ผมคิดว่าคณะกรรมการหอการค้าจังหวัดนครราชสีมาต้องให้ความส�ำคัญแก่สังคม เพราะโลกสมัยนี้การ ท�ำธุรกิจเพื่อหวังผลก�ำไรเพียงอย่างเดียวไม่ ได้ ส�ำคัญที่ว่าธุรกิจต้องมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมด้วย ซึ่ง คณะกรรมการหอการค้าฯ ชุดใหม่นี้ ก็มีคนรุ่นใหม่อาสาเข้ามาท�ำงานกันมากขึ้น ซึ่งบางท่านก็เป็นผู้ที่เคยท�ำงาน เพือ่ สังคมมาโดยตลอด ผมว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทีส่ �ำคัญทีท่ กุ ธุรกิจต้องมองดูตรงนี้ ไม่ใช่แสวงหาผลก�ำไรอย่างเพียง เดียว และหอการค้าก็เช่นเดียวกันทีค่ วรให้ความส�ำคัญกับกิจกรรมเพือ่ สังคม มีความจ�ำเป็นทีเ่ ราจะต้องเป็นตัวแทน และประสานนักธุรกิจในโคราชให้ตระหนักสิ่งเหล่านี้ โดยคิดว่าเป็นการท�ำเพื่อสังคมเช่นเดียวกัน โดยส่วนตัวมองว่าการเพิ่มศักยภาพให้กับจังหวัดนครราชสีมา ด้วยการสร้างศูนย์ประชุมสัมมนาขนาด ใหญ่ ที่มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 1 หมื่นตารางเมตร การแก้ไขปัญหาเรื่องการจราจรที่ติดขัด รวมถึงการพัฒนาระบบโล จิสติกส์ การดึงรถไฟความเร็วสูง รถไฟรางคู่มาสู่จังหวัดนครราชสีมา ก็จะช่วยเพิ่มศักยภาพให้จังหวัดฯ ได้.

แต่งตั้งคณะกรรมการหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ประจ�ำปี 2554-2555 1.นายจักริน เชิดฉาย ประธานกรรมการหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา 2.นายอรชัย ปุณณะนิธิ กรรมการที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา 3.นายวิทูร ชาติปฏิมาพงษ์ กรรมการที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา 4.นางเพ็ญศรี จารุก�ำเนิดกนก กรรมการที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา 5.นายรังสรรค์ อินทรชาธร รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายบริหารและพัฒนาเศรษฐกิจการค้า 6.นายอนันต์ สินมานนท์ รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายกิจกรรมเพื่อสังคม และประสานงานภาครัฐ 7.นายวีระศักดิ์ บุญเพลิง รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายกฎหมายและธรรมาภิบาล 8.นายวรพจน์ สัจจาวัฒนา รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายธุรกิจเกษตร 9.นายศักดิ์ชาย ผลพานิชย์ รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์ และต่างประเทศ 10.นายจีระศักดิ์ คาระวิวัฒนา รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 11.นายพงษ์ยุทธ สุภัทรวณิชย์ รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายการเงินและโลจิสติกส์ 12.นายชัชวาลย์ สุวิชาเชิดชู รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายพัฒนาเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม 13.นายร�ำพึงศักดิ์ งามโรจนวณิชย์ รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายทะเบียน ไอที และสารสนเทศ 14.นางพรวิ ไล ลิ้มเลิศเจริญวนิช รองประธานหอการค้าฯ ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ และหารายได้ 15.นายไพบูลย์ พฤกษ์พนาเวศ กรรมการเลขาธิการ 16.นายพิเชษฐ์ สุวรรณโชติ กรรมการรองเลขาธิการ 17.นายสุทธิสินธุ์ อัครพลโชติ กรรมการรองเลขาธิการ 18.นายฉัตรชัย อินทนากรวิวัฒน์ กรรมการเหรัญญิก 19.นายณัฐปคัลภ์ กล้าหาญ กรรมการปฏิคม และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 20.นายบ�ำรุง วสันตกรณ์ กรรมการประชาสัมพันธ์ 21.นายธีรพงศ์ คณาศักดิ์ กรรมการวิชาการ และยุทธศาสตร์หอการค้าฯ 22.น.ส.เจนจิรา กงทอง กรรมการ CSR (กิจกรรมเพื่อสังคม) และโลจิสติกส์ 23.นายไพจิตร มานะศิลป์ กรรมการพัฒนาการค้าและพาณิชยกรรมคนรุ่นใหม่ 24.นายสุดที่รัก พันธ์สายเชื้อ กรรมการนวัตกรรมและพัฒนาเมือง

สิ่งแรกที่คิดจะท�ำในฐานะประธานหอการค้าฯ

สิ่งแรกที่ผมอยากจะท�ำหรืออยากจะเข้าไปมีส่วน ร่ ว มมากที่ สุ ด คื อ การแก้ ไ ขปั ญ หาต่ า งๆ ของจั ง หวั ด นครราชสีมาทัง้ ทางด้านการจราจร ซึง่ ต้องประสานงานไปยัง ท้องถิน่ ของจังหวัดและทางเทศบาลนครฯ แต่อกี หนึง่ ปัญหา ที่ เ กิ ด ขึ้ น เกื อ บทุ ก ปี นั่ น ก็ คื อ การบริ ห ารน�้ ำ เพราะเมื่ อ ประมาณช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน นัน้ เกิดสภาพอากาศ แล้ง เดือนตุลาคมเกิดน�้ำท่วม วันนี้จึงได้น�ำเสนอเรื่องการ จัดตั้งเพื่อการบริหารน�้ำซึ่งท่านผู้ว่าเองก็น่าจะเรียกประชุม เรื่องนี้แต่ที่อยากให้มีทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วน ร่วมด้านการบริหารนโยบายบริหารน�ำ้ เพราะเป็นเรือ่ งเร่งด่วน ถ้าหากไม่รีบด�ำเนินการอาจมีปัญหาอื่นๆ ตามมา

25.นายสหพล กาญจนเวนิช กรรมการส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 26.นายปิยะ กุศลานุคุณ กรรมการทะเบียนไอที สารสนเทศ และหารายได้ 27.นายบรรจง ดีเหลือ กรรมการเศรษฐกิจ SMEs 28.นายหัสดิน สุวัฒนะพงศ์เชฎ กรรมการฝ่ายต่างประเทศ 29.นางน�ำโชค เยื้องกระโทก กรรมการธุรกิจเกษตร 30.นางปราณี ฝอดสูงเนิน กรรมการธุรกิจเกษตร 31.นายพิสิษฐ์ นาค�ำ กรรมการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง 32.นายจรูญ ตันตมณีรัตน์ กรรมการส่งเสริมสมาชิกภาพต่างอ�ำเภอ 33.นายสุวรรณ งามสะพรั่ง กรรมการส่งเสริมสมาชิกภาพต่างอ�ำเภอ 34.นายฉัตรชัย ชัยประสิทธิกุล กรรมการส่งเสริมสมาชิกภาพต่างอ�ำเภอ 35.นายพลาวัสถ์ จารุก�ำเนิดกนก กรรมการกิจกรรมพิเศษ

มุ ม มองด้ า นเศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีพื้นที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย และมีประชากรมากถึง 2.6 ล้านคน เป็นที่ 2 รองจากกรุงเทพฯ ในปีทผี่ า่ นมาถือได้วา่ ทุก ภาคธุรกิจขงโคราชดีทุกอย่าง ราคาพืชผลทางการ เกษตรดีทุกตัว โรงงานอุตสาหกรรมก็มีออเดอร์เข้า มามาก จนเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงาน ภาคพาณิช ยกรรม การค้าขายก็ถือว่าดีขึ้นมาก แต่ช่วงเดือน ตุ ล าคมเกิ ด ปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิจของโคราชพอสมควร ถ้าไม่มีปัจจัยลบ ทางการเมือง คาดว่าปีนี้เศรษฐกิจโคราชน่าจะดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง

วิสัยทัศน์ในการท�ำงาน

ผมอยากเห็นหอการค้าฯ เป็นศูนย์รวมของ ความสามัคคีภาคเอกชน เพือ่ ร่วมกันรวบรวมปัญหาและ เสนอให้ภาครัฐถึงปัจจัยที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง โคราช ซึง่ ก่อนอืน่ คณะกรรมการหอการค้าฯ ก็ตอ้ งมีความ สามัคคีกันในคณะกรรมการเองด้วย เพื่อให้องค์กรเกิด พลัง เกิดความเข้มแข็ง เป็นศูนย์รวมของภาคเอกชน อย่างแท้จริง ช่วยให้เศรษฐกิจของโคราชมีความก้าวหน้า มีความมั่นคงและยั่งยืน และการที่จะท�ำให้เกิดความ สามัคคี ผมคิดว่าทุกคนควรจะต้องให้เกียรติซึ่งกันและ กัน แต่อย่างไรการให้ความเคารพกันและรับฟังทุกปัญหา อย่างไม่มีข้อโต้แย้งก็เป็นทางออกที่ดีที่สุด เพราะทุกคน เป็ น เจ้ า ของธุ ร กิ จ หมด ไม่ ว ่ า จะเป็ น ประธานหรื อ กรรมการ ความเห็นที่แตกต่างนั้นเป็นเรื่องปกติอยู่แล้ว แต่ก็ต้องรับฟังคนอื่นด้วย


8

นิวบิสซิ​ิเนส/สุขภาพ

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

จับทิศอุตสาหกรรมที่น่าสนใจในปี กระต่ายทอง

ศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยในปี 2554 ยังคงสามารถขยายตัวต่อเนื่อง แต่คาดว่า อัตราการเติบโตมีแนวโน้มที่จะชะลอตัว ลงเมื่อเทียบกับปี 2553 เนื่องจากเศรษฐกิจโลก ยัง คงมี ป ั จ จั ย เสี่ ย งจากการฟื ้ น ตั ว ที่ เ ปราะบางของ เศรษฐกิ จ สหรั ฐ ฯและเศรษฐกิ จ ยุ โ รป ซึ่ ง เป็ น ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ ส�ำหรับเศรษฐกิจไทยเองนัน้ ก็มปี จั จัยเสีย่ งทัง้ จากเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนส่งผลกระทบ ต่อศักยภาพด้านการส่งออกสินค้าเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ในขณะเดียวกัน ยังต้องประสบกับปัญหาอุทกภัยที่ รุนแรง ครอบคลุมพื้นที่หลายสิบจังหวัดทั่วประเทศ โดยนอกเหนือจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคเหนือแล้ว ยังขยายผลกระทบครอบคลุมไปถึง พื้นที่ภาคใต้ ซึ่งได้สร้างความสูญเสียอย่างมากต่อภาค เศรษฐกิจต่างๆ ที่ ได้รับผลกระทบในระหว่างที่เกิดน�้ำ ท่วม ทั้งภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การบริการ และ ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ แต่กระนั้นก็ตาม ก็ยังคงมี อีกหลายๆ ธุรกิจ ที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างโดดเด่นใน ปี 2554 ซึ่งอยู่ ในธุรกิจทั้งภาคเกษตรกรรม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ตลอดจนถึ ง ธุ ร กิ จ ใ น ภ า ค บ ริ ก า ร ซึ่ ง ผู ้ ประกอบ การสามารถน�ำ ไปใช้ เป็ น แนวทางศึ ก ษา ประกอบการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจส�ำหรับปี 2554 ได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ประเภทอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ 1.ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ประเภทอุตสาหกรรม หรื อ ธุ ร กิ จ ย่ อ ยและเหตุ ผ ลสนั บ สนุ น ได้ แ ก่ ร้ า น จ�ำหน่ายเมล็ดพันธุ์พืช, เคมีภัณฑ์ทางการเกษตร (ปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืช), เครื่องจักรกลการเกษตรใน ระดับไร่นา (เครื่องไถ เครื่องหว่านและเก็บเกี่ยว เครื่อง

สูบน�้ำ เครื่องพ่นยาฆ่าแมลง) อาจได้รับปัจจัยบวกจาก การที่เกษตรกรยังคงเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกใหม่และปลูก ซ่อมแซมพื้นที่เดิม จากราคาเกษตรที่ยังน่าจะอยู่ ใน เกณฑ์ดี ขณะที่ พื้นที่เพาะปลูกบางส่วนได้รับผลกระ ทบจากปัญหาสภาพอากาศแปรปรวนและมีการระบาด ของแมลงศัตรูพืชในปี 53 ที่ผ่านมา 2.ธุ ร กิ จ ในภาคบริ ก าร ประเภท อุ ต สาหกรรมหรื อ ธุ ร กิ จ ย่ อ ยและเหตุ ผ ล สนั บ สนุ น ได้ แ ก่ 2.1 ธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วต่ า ง ประเทศ ได้แก่ ธุรกิจ Outbound หรือทัวร์น�ำ คนไทยไปเที่ยวต่างประเทศ ที่ ได้รับผลดีจาก เงินบาทแข็งค่าที่ท�ำให้ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ท่องเที่ยวต่างประเทศที่ถูกลง ขณะเดียวกัน ก็ มี แ รงหนุ น กระแสความนิ ย มในละครชุ ด จาก ต่ า งประเทศ ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย บวกต่ อ การท่ อ ง เที่ยวบางประเทศ อาทิ เกาหลีและญี่ปุ่น ทั้งนี้ ผู้ประกอบการในภาคการท่องเที่ยวได้ประเมิน ว่า ในปี 2554 ยอดการใช้จ่ายของคนไทยในการเดิน ทางไปเที่ ย วต่ า งประเทศ คาดว่ า จะอยู ่ ที่ ป ระมาณ 2.6-2.7 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นประมาณ 10-15% เมื่อเทียบกับปี 53 ที่มีมูลค่าการใช้จ่ายประมาณ 2.32.4 แสนล้านบาท 2.2 ธุรกิจโฆษณา ได้แก่ ตามแรงหนุนจาก ความต้องการของผู้ประกอบการเพื่อกระตุ้นยอดขาย โดยเฉพาะในสื่อสมัยใหม่ที่เข้าถึงและมีอิทธิพลต่อผู้ บริ โภคมากขึ้น อาทิ เคเบิ้ลทีวี และอินเทอร์เน็ตที่ สามารถใช้ผ่านคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ เพื่อ

เข้าสู่สังคมออนไลน์ หรือ Social Network ที่สื่อสาร ถึงผู้บริ โภคในวงกว้าง ตลอดจนแนวโน้มการปรับขึ้น อัตราค่าโฆษณาในหลายช่องทางสื่อตามความต้องการ ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งนับเป็นส่วนส�ำคัญที่ผลักดันให้เม็ดเงินใน อุตสาหกรรมโฆษณาเติบโตต่อเนื่องถึงปี 2554

2.3 โรงพยาบาลเอกชน โดยได้รับแรงหนุน จากคนไข้ชาวต่างชาติ (จากความได้เปรียบด้านค่า รักษาพยาบาลที่ถูกกว่าในอีกหลายประเทศ ความน่า เชื่อถือ และบริการเสริมอื่นๆ) และคนไข้ในประเทศ (จากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง เช่น การลดราคาค่าห้องพัก การจัดแพ็คเกจรักษาในราคา ประหยัด/เหมาจ่ายในราคาพิเศษ ประกอบกับ ใน ปัจจุบัน คนไข้หันมาเน้นกระแสการดูแลสุขภาพในรูป แบบเชิงป้องกันในสัดส่วนที่มากขึ้น จากเดิมที่จะเน้น การใช้ บ ริ ก ารเมื่ อ เจ็ บ ป่ ว ยเท่ า นั้ น ) ท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ โรง พยาบาลเอกชนในปี 2554 น่าจะมีแนวโน้มขยายตัว

เพิ่มขึ้นประมาณ 10-15% จากปีก่อนหน้า 2.4 ร้านอาหารญี่ปุ่น โดยหากเลือกเปิดเป็น ร้านอาหารเคลื่อนที่บนรถยนต์ หรือบูธเล็กๆ ในย่าน ชุมชน จะใช้เงินลงทุนไม่สูง อีกทั้ง อาหารญี่ปุ่นยังเป็น ที่นิยมของลูกค้าชาวไทย โดยปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ คงจะอยู่ที่การปรับรสชาดอาหารให้ตรงใจกลุ่มเป้าหมาย การเลือกท�ำเลที่เหมาะสม การประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้า กลุ่มเป้าหมายรับรู้ข้อมูลที่ถูกต้อง ควบคู่กับการรักษา ความสดใหม่ของอาหาร และคุณภาพบริการที่ดีเยี่ยม และ 2.5 ธุรกิจรักษาความปลอดภัย ได้แก่ การจัดหาพนักงานรักษาความปลอดภัย การจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์/อุปกรณ์รักษาความปลอดภัยต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เครื่องมือ ตรวจจับวัตถุระเบิดและอาวุธ เครื่องสแกนตรวจค้นตัว ระบบสัญญาณกันขโมย ระบบสัญญาณแจ้งภัยแบบไร้ สาย ฯลฯ ท่ามกลางปัญหาสังคมที่เพิ่มขึ้น และความ ปลอดภัยในชีวิต/ทรัพย์สินที่ลดลง ซึ่งหนุน ความต้องการทั้งจากภาครัฐ (หน่วยงาน/ สถานที่ ร าชการ) และภาคเอกชน (หลั ง จากที่ มี ก ารเปิ ด ตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของโครงการที่ อ ยู ่ อ าศั ย โครงการอาคารส� ำ นั ก งาน และ โรงงานอุ ต สาหกรรมที่ เ พิ่ ง จะสร้ า ง เสร็จ รวมถึงร้านสะดวกซื้อ ร้านทอง และห้างสรรพสินค้า) 3.ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ ประเภท อุ ต สาหกรรมหรื อ ธุ ร กิ จ ย่ อ ยและเหตุ ผ ลสนั บ สนุ น ได้แก่ 3.1 ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ อาจขยายตัว ต า ม ก า ร ผ ลิ ต รถยนต์และรถ จักรยานยนต์ที่เพิ่ม ขึ้น เพื่อสนองตอบ ต่ อ ความต้ อ งการ จ า ก ทั้ ง ต ล า ด ใ น ประเทศและตลาด ส่งออก รวมถึงการ เปิ ด ตั ว รถยนต์ รุ ่ น

ใหม่ และแผนการย้ายฐาน/ขยายก�ำลังการผลิตบางส่วน มายังไทย 3.2 ร้านซ่อมยานยนต์ จากปริมาณสะสม ของรถยนต์และรถจักรยานยนต์ที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งหนุน ให้มีความต้องการซ่อมแซมตามอายุการใช้งาน รวมถึง ยานยนต์ที่ ได้รับความเสียหายจากปัญหาอุทกภัย 4.ธุรกิจก่อสร้างและซ่อมแ ซมอาคารที่อยู่อาศัย เป็นผลจาก สถานการณ์ อุทกภัยครั้ง ใหญ่ ในช่วง ต.ค.-พ.ย. 53 โดย เฉพาะในบริเวณ พื้นที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาค เหนือ และภาคใต้ 5.ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พลั ง งานทดแทน ได้แก่ การผลิตไฟฟ้า (จากโซลาร์เซลล์ ลม น�้ำ ก๊าซ ชีวภาพ และชีวมวล) การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ (ไบโอ ดี เ ซลและเอทานอล) ตลอดจน ผลพลอยได้ จ าก กระบวนการผลิตอย่างคาร์บอนเครดิต ตามแรงหนุน จากนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ กระแสความนิยมใน พลังงานทดแทนที่เพิ่มขึ้น กอปรกับราคาน�้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น. ที่มา : บจก.ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

HEALTHY UPDATE...by

โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา

เบาหวานเกิดขึ้นได้อย่างไร ชื่อ ชื่อกิจการ รหัสสมาชิก ที่อยู่ โทร ประเภทกิจการ

นางส�ำรวย บุญรักษา 21-01-1-0853-52 2723 ถ.สืบศิริ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 081-9972204 -

ชื่อ ชื่อกิจการ รหัสสมาชิก ที่อยู่ โทร ประเภทกิจการ

นายศิวรา จ�ำปาทอง ร้านไก่ย่างวัดป่าสาลวัน 21-01-2-0853-55 17/17 ถ.สืบศิริ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 044-259592, 089-2788990 ร้านอาหาร

ชื่อ ชื่อกิจการ รหัสสมาชิก ที่อยู่ โทร ประเภทกิจการ

นางสาวธัญสุตา กุมารสิงห์ โรงงานพัฒนาสุขภัณฑ์ 21-01-2-08-53-56 23 ม.15 ถ.ท้าวสุรนารายณ์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 044-953065, 044-294045, 086-7764215 ผลิตและจ�ำหน่ายเสาปูน อิฐบล็อก

ชื่อ ชื่อกิจการ รหัสสมาชิก ที่อยู่ โทร ประเภทกิจการ

นางสาวสุขภทิณีย์ ประเสริฐนุสนธิ์ ร้านทิพย์อนงค์ เครื่องหนังและเครื่องประดับ 21-01-2-0863-57 1889/14 ซ.32 ถ.สืบศิริ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 044-354299, 086-2577429 จ�ำหน่ายเครื่องหนังและเครื่องประดับ

ชื่อ ชื่อกิจการ รหัสสมาชิก ที่อยู่ โทร ประเภทกิจการ

นายอัฐพล สัมพันธ์วงศ์ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เจโอมาร์เก็ตติ้ง 21-01-1-0853-58 หมู่บ้านราชธานี 347/17 ม.9 ต.หมื่นไวย อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 044-000488, 081-5484321 Organize Event

ชื่อ ชื่อกิจการ รหัสสมาชิก ที่อยู่ โทร ประเภทกิจการ

นางสาวปณิดา บ่อพิมาย 21-01-1-0853-59 บ้านช่องอู่ 187 ม.5 ซ.เลียบริมคลอง ถ.สุรนารายณ์ ต.จอหอ อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 086-3363220 -

(ต่อจากฉบับ 341)

• ไขมันร้าย (แอลดีแอล) น้อยกว่า 100 มก./ดล. ถ้ามีโรค หัวใจหรือโรคสมองเสื่อม ควรคุมให้น้อยกว่า 70 มก./ดล. • ไขมันดี (เอชดีแอล)ในผู้ชายสูงกว่า 40 มก./ดล. ในหญิง สูงกว่า 50 มก./ดล. • ความดันโลหิต ต�่ำกว่า 130/80 มม.ปรอท จะรู้ได้อย่างไรว่าเกิดโรคแทรกซ้อนแล้วหรือยัง? เนื่องจากโรคแทรกซ้อนทั้งหลายเกิดขึ้นอย่าช้าๆ จึงควร ท�ำการป้องกันตามตาราง • ภาวะความดันโลหิตต�ำ่ ลงในท่านัง่ หรือท่ายืน ท�ำให้มอี าการ เวียนศีรษะ หน้ามืดเป็นลม การรักษาคือการให้เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ พยาธิสภาพที่เกิดกับเนื้อเยื่อระบบประสาท มักจะเกิดขึ้นอย่างถาวร รักษาไม่หาย จึงควรป้องกันมิให้เกิดขึ้น หรือก�ำเริบช้าที่สุด 2.3 ภาวะไตเสื่อมจากโรคเบาหวาน ภาวะไตวายจากโรคเบาหวาน เป็นสาเหตุของไตวายเรื้อรัง ทีพ่ บบ่อยทีส่ ดุ ในระยะแรกจะไม่มอี าการอะไร แต่การตรวจปัสสาวะ จะเริ่มพบไข่ขาวหรือไมโครอัลบูมินเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการตรวจไข่ ขาวในปัสสาวะจึงมีความส�ำคัญมากที่จะค้นพบความผิดปกติของไต ในระยะแรกเริ่ม ในขณะที่ผลเลือดไตยังปกติ เมือ่ ไตเสือ่ มมากกว่า 70% มีการสะสมของสารพิษในเลือด มากขึน้ จะท�ำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย เลือดจาง คลืน่ ไส้ อาเจียน บวม ความดันโลหิตสูงและอาจซึม การรักษาระยะนี้ต้องใช้การล้างไตทาง หน้าท้อง หรือฟอกเลือด ต้องคุมเบาหวานแค่ ไหนจึงจะป้องกันโรคแทรกซ้อนได้? จากงานวิจัย พบว่าการจะป้องกันโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วย เบาหวานต้องควบคุมทั้งเรื่องน�้ำตาล ไขมัน และความดันโลหิต ดังนี้ • ระดับน�้ำตาลเฉลี่ยก่อนอาหาร 70-130 มก./ดล. • ระดับน�้ำตาลสูงสุด น้อยกว่า 180 มก./ดล. • ค่าเบาหวานสะสม (ฮีโมโกลบินเอวันซี) น้อยกว่า 7% หรือจะยิ่งดีถ้าน้อยกว่า 6.5%

ตารางการคัดกรองโรคแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน ถามตนเองว่าในปีนี้ท่านได้ไปตรวจคัดกรองโรคแทรกซ้อน ครบถ้วนหรือยัง นอกจากตรวจน�้ำตาล ชั่งน�้ำหนัก และวัดความดัน ทุกครั้งที่มาโรงพยาบาล ไม่ต้องรอให้มีอาการเพราะอาจสายเกินไป โรคแทรกซ้อน

วิธีตรวจ

ระยะเวลา

อถ่ายภาพจอ เมื่อวินิจฉัยและทุกปี เบาหวานขึ้นตา ตรวจหรื ประสาทตา เบาหวานลงไต

ตรวจปัสสาวะหา

-

ไมโครอัลบูมิน

เมื่อวินิจฉัยและทุกปี

-

เบาหวานลงปลาย ประสาท

ตรวจเท้า

เมื่อวินิจฉัยและทุกปี

หลอดเลือดหัวใจ

ตรวจไขมัน

เมื่อวินิจฉัยและทุกปี

การติดเชื้อ

ตรวจฟัน

ทุกปี

คุ ม เบาหวานได้ ตรวจเลื อ ดหาค่ า เบา ตลอดเวลาหรือไม่ หวานสะสม (HbA1c)

ทุก 3-4 เดือน (อ่านต่อฉบับหน้า)


ซีเอสอาร์

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

9

หอโคราชดึงผูป ้ ระกอบการสัมมนา รับมือกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์

หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา จัด สั ม มนา “ปั ญ หากฎหมายเกี่ ย วกั บ การ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์” ระดมความ คิดเห็นเตรียมรับมือถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิด ขึ้นกับธุรกิจที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้ประกอบ การร้านอาหาร สถานบันเทิง และสือ่ มวลชน ให้ความสนใจเข้าร่วมจ�ำนวนมาก เมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมดุสติ ปริน๊ เซส โคราช อ.เมือง จ.นครราชสีมา สืบเนือ่ งจากการจัดท�ำร่างอนุบญั ญัติ 4 ฉบับ ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 โดยร่างอนุบัญญัติ ทั้งหมดอยู่ระหว่างรอการพิจารณาของคณะ กรรมการเพื่อน�ำเข้าการประชุมคณะรัฐมนตรี ซึง่ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมาเล็งเห็นว่าร่าง ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจหลายภาค ส่วน จึงได้ร่วมกับสมาคมผู้ประกอบการร้าน อาหารจังหวัดนครราชสีมา จัดการประชุม สัมมนา“ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์” ขึน้ เพือ่ ระดมความคิด เห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ส�ำหรับสาระส�ำคัญของการประชุม สั ม มนาครั้ ง นี้ ได้ ก ล่ า วถึ ง เหตุ ผ ลในการ ประกาศใช้ พ.ร.บ. ควบคุ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ไว้คือ (1)ก�ำหนด มาตรการต่ า งๆ ในการควบคุ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ (2)การบ�ำบัดรักษาหรือฟื้นฟู สภาพผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อช่วยลก ปั ญ หาและผลกระทบทั้ ง ด้ า นสั ง คมและ เศรษฐกิ จ (3)ช่ ว ยสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพของ

ประชาชนโดยให้ ต ระหนั ก ถึ ง พิ ษ ภั ย ของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ (4)ช่วยป้องกัน เด็ ก และเยาวชนมิ ใ ห้ เ ข้ า ถึ ง เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ได้โดยง่าย ส่ ว นร่ า งประกาศคณะกรรมการ ควบคุ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ว ่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ ฉลาก พร้อมทัง้ ข้อความค�ำเตือนส�ำหรับเครือ่ ง ดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิตหรือน�ำเข้า พ.ศ. ... ข้อความเตือนถึงโทษและพิษภัยของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้ง ๖ แบบ เป็นไปตาม แบบท้ายประกาศดังต่อไปนี้ แบบที่ 1 “ดืม่ สุรา ท�ำให้เป็นโรคตับแข็ง”, แบบที่ 2 “ดื่มสุราแล้ว ขับขี่ ท�ำให้พิการและตายได้”, แบบที่ 3 “ดื่ม สุรา ท�ำให้ขาดสติและเสียชีวติ ”, แบบที่ 4 “ดืม่

สุรา ท�ำให้เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ”, แบบที่ 5 “ดื่มสุรา ท�ำร้ายตัวเอง ท�ำลายลูกและ ครอบครัว”, แบบที่ 6 “ดืม่ สุรา เป็นแบบอย่าง ที่ไม่ดีต่อเด็กและเยาวชน” ซึ่งร่างประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี ทั้ง 4 ฉบับ ได้แก่ (1)ก�ำหนดวิธีการหรือ ลักษณะในการห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ... คื อ ห้ า มมิ ใ ห้ ผู ้ ใ ดขายเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์โดยวิธกี ารหรือลักษณะของการน�ำ เอาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาผสมในน�้ำหวาน น�ำ้ ผลไม้ หรือน�ำ้ ทีม่ กี ลิน่ ของผลไม้ หรือสิง่ อืน่ ใด แล้วน�ำมาปั่นรวมกัน เช่น เหล้าปั่น หรือ เครือ่ งดืม่ อืน่ ที่ใช้วธิ กี ารหรือลักษณะในท�ำนอง เดียวกัน ยกเว้นการขายในสถานบริการ ตาม กฎหมายว่าด้วยสถานบริการ

(2)ก�ำหนดสถานที่หรือบริเวณห้าม ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ... คือ ข้อ 1 ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในสถานที่หรือ บริเวณทีอ่ ยูห่ า่ ง ไม่เกิน 500 เมตร จากรัว้ หรือ แนวเขตสถานศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยการ ศึกษาแห่งชาติ ซึ่งจัดให้มีการศึกษาระดับสูง กว่าประถมศึกษาขึน้ ไป (3)ก�ำหนดสถานทีห่ รือ บริเวณที่ห้ามบริ โภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ... คือ ให้สถานที่หรือดังต่อไปนี้ เป็น สถานที่ห้ามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อัน ได้แก่ สถานทีห่ รือบริเวณหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ยกเว้นบริเวณที่จัด ไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล หรือสโมสร หรือการ จัดเลี้ยงตามประเพณี, บริเวณภายในบนยาน พาหนะทางบกทีอ่ ยู่ในทีห่ รือทางสาธารณะตาม กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข(สถานที่หรือ ทางซึ่ ง มิ ไ ด้ เ ป็ น ของเอกชนและประชาชน

สามารถใช้ประโยชน์หรือสัญจรได้) ส่วนสถานที่ที่ได้รับการยกเว้นหรือ ผ่อนผันจากคณะกรรมการควบคุมเครื่อง ดื่ ม แอลกอฮอล์ ก รุ ง เทพมหานครหรื อ กรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จังหวัด โดยการพิจารณาร่วมกับสถาน ศึกษาที่อยู่ ในเขตโรงแรมที่ ได้รับอนุญาต ประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วย โรงแรม ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ 2 กรณีผู้ที่ ได้รับใบอนุญาตขาย สุราตามกฎหมายว่าด้วยสุราซึ่งอยู่ ในเขต ตาม ข้อ 1 ก่อนประกาศฉบับนี้ ใช้บังคับ ให้จ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ได้จนกว่า ใบอนุญาตจะหมดอายุ ข้อ 3 ประกาศฉบับนี้ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก�ำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบ วั น นั บ แต่ วั น ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา เป็นต้นไป โดยระวางโทษการกระท�ำความผิด มาตรา 39 ผู้ใดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดย ฝ่าฝืนมาตรา 27 (สถานทีห่ า้ มขาย) หรือมาตรา 28 (วัน เวลา ห้ามขาย) ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท

หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ มาตรา 40 ผู้ใดขายเครื่อง ดื่มแอลกอฮอล์โดยฝ่าฝืนมาตรฐาน 29 (ห้าม ขายคนอายุตำ�่ กว่า 20 หรือ คนเมา) หรือมาตรา 30 (1) (เครือ่ งขายอัตโนมัต)ิ ต้องระวางโทษจ�ำ คุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ส่วนการอวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูง ใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม การโฆษณา ดั ง ต่ อ ไปนี้ ถื อ ว่ า เป็ น เข้ า ข่ า ยเชิ ญ ชวนให้ ผู ้ บริโภคหรืออวดอ้างสรรพคุณของเครือ่ งดืม่ ทีม่ ี ส่วนผสมของแอลกอฮอล์โดยทางตรงทางอ้อม ได้แก่ (1)โฆษณาที่ท�ำให้เกิดทัศนะคติการดื่ม เครือ่ งดืม่ ทีม่ สี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์จะท�ำให้ ประสบความส�ำเร็จทางด้านสังคมและทางเพศ หรือท�ำให้สมรรถนะทางด้านร่างกายดีขึ้น (2) โฆษณาที่ให้ นักกีฬา ผูใ้ ช้แรงงาน เป็นผูแ้ สดง แบบโฆษณา (3)โฆษณาที่ใช้ ดารา นักร้อง นัก แสดง เป็นแสดงแบบโฆษณาโดยถือสถานภาพ เป็นดารา นักร้อง นักแสดง ณ วันทีอ่ อกอากาศ เป็นครั้งแรก (4)โฆษณาที่ใช้ ภาพการ์ตูน (5) โฆษณาที่จูงใจหรือโน้มน้าวให้ซื้อหรือบริโภค เพื่อน�ำรายได้ไปบริจาคเป็นสาธารณกุศล.

ข้อคิด/สุภาษิต/ค�ำพังเพย

โดย...เกียรติศักดิ์ สีหนันทวงศ์

รัฐ-เอกชนแนะท�ำผังเมืองใหม่

ควรชี้น�ำการพัฒนา ส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นครราชสีมา จัดประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม เมืองนครราชสีมา เพือ่ ร่วมพิจารณาถึงความเหมาะ สมร่างผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา (ปรับปรุงครัง้ ที่ 3) โครงการประเมิลผลและปรับปรุงผังเมืองรวม เมืองนครราชสีมา โดยมีนายวิทยา กามนต์ รองผู้ ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา เป็นประธานในการ ประชุม และตัวแทนจากภาครัฐและเอกชนเข้าร่วม จ�ำนวนมาก เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 ที่ผ่าน มา ณ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา โดย น.ส.กนกพร แก้วกังวาน ผู้แทนบริษัท ทีป่ รึกษาฯ ได้นำ� เสนอร่างผังเมืองรวมเมืองนครราชสีมา ต่อทีป่ ระชุมเพือ่ ร่วมกันพิจารณาถึงความเหมาะสม ซึง่ วิสยั ทัศน์ในการวางผังฯ ครัง้ นีค้ อื “ประตูสอู่ สี าน เมือง ศู น ย์ ก ลางธุ ร กิ จ การค้ า บริ ก าร การท่ อ งเที่ ย ว อุตสาหกรรม การแปรรูปเกษตรเชื่อมโยงเศรษฐกิจ

ร ะ ดั บ ภ า ค แ ล ะ ก า ร ค ้ า ชายแดน” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ วางและจั ด ท� ำ แผนผั ง นโยบาย มาตรการควบคุม และท้องถิ่นมีเครื่องมือและ กลไกในการจัดระเบียบการ ใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น จั ด ท� ำ แผนผังการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ และทรัพย์สิน ก�ำหนดเป้า หมายความส�ำเร็จเพื่อบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารผั ง เมื อ ง ที่ดิน อาคาร จัดท�ำแผนผัง ระบบคมนาคมและขนส่ ง ระบบกิจการสาธารณูป โภค สาธารณูปการ และที่โล่ง จัด

ท�ำแผนปฏิบตั กิ าร แผนการด�ำเนินงาน จัดล�ำดับความส�ำคัญแผนงานและงบ ประมาณโครงการ และกลไกการ ประสานและมี ส ่ ว นร่ ว มการบริ ห าร จัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินและการ บริหารโครงการ นายสมศักดิ์ ศรีบัวรอด ประธาน สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา กล่าวว่า “การท�ำ ผังเมืองควรเป็นการท�ำผังเพื่อชี้น�ำการพัฒนา ไม่ ใช่ เป็นการท�ำแผนที่เมืองตามที่เมืองขยายไปแล้ว จาก เดิมที่กันพื้นที่ ไว้ส�ำหรับอุตสาหกรรมหลายจุดถูกปรับ เปลี่ยนไปเป็นพื้นที่อื่นด้วย เหตุผลที่บอกว่าไม่ ได้ใช้ นั้น เห็นว่าไม่น่าจะเป็นเหตุผล เพราะว่าอุตสาหกรรม ยั ง โตไป ไม่ ถึ ง ก็ ค วรจะกั น พื้ น ที่ ไ ว้ ก ่ อ น เมื่ อ อุตสาหกรรมโตไปถึงแล้วก็จะสามารถใช้พื้นที่บริเวณ นั้นได้ และถ้าไม่มีคนใช้และเราไปปรับเปลี่ยนเป็นสี อื่น ผมว่าเราไม่ ได้ไปชี้น�ำการพัฒนาของเมือง เช่น ปัญหาเรื่องน�้ำท่วม นักวิชาการหลายท่านเห็นว่าเมือง ไม่ควรขยายไปทางทิศเหนือที่เป็นที่ลุ่ม แต่ผังเมืองเรา กลับไปชี้น�ำให้ขยายไปจึงท�ำให้เกิดปัญหา ท�ำไมเมือง ไม่ขยายมาทางด้านใต้ที่สูงกว่า ควรศึกษาการไหลของ น�้ำด้วย ในส่วนพื้นที่อุตสาหกรรมที่เคยกันไว้เดิม เสนอ ให้ ค งสี เ ดิ ม ไว้ ในอนาคตถ้ า มี ก ารขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมก็สามารถจะใช้ประโยชน์พื้นที่ ได้” ด้านนายแพทย์ชัชวาล สุวิชาเชิดชู กรรมการ

หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา กล่าวว่า เห็นด้วยว่าการ ปรับผังเมืองควรท�ำเพื่อชี้น�ำการพัฒนา และในการ ปรับควรค�ำนึงถึงด้านเศรษฐกิจ พร้อมฝากถึงกลุ่ม บริษัทที่ปรึกษาให้ทบทวนในเรื่องของการคมนาคม ขนส่งระบบราง เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มี ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจสูง การก�ำหนดพื้นที่จึงต้อง มีการระดมความคิดและการมีสว่ นร่วมของภาคเอกชน ค่อนข้างสูง จึงควรก�ำหนด Railway Line ให้มีความ ชัดเจนว่าน่าจะอยู่บริเวณใด ส่วนนายอากร บัวคล้าย ผู้แทนจากกรม โยธาธิการและผังเมือง กล่าวว่า “ผมเห็นด้วยที่ ผังเมืองต้องเป็นผังชี้นำ� การพัฒนา อาจเป็นเรื่องยาก ในบ้ า นเมื อ งของเราเรื่ อ งการเปลี่ ย นสี ก ารใช้ ประโยชน์ที่ดิน กลุ่มบริษัทเองคงมองตามสภาพจริง เพราะผ่านมา 7 ปีแล้วยังไม่มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน เลยถึ ง ได้ ป รั บ เปลี่ ย น โดยบทบาทของจั ง หวั ด นครราชสีมาเป็นศูนย์กลางธุรกิจและการบริหารใน ระดับอกนุภาคหลายจังหวัด ซึ่งเป็นไปตามวิสัยทัศน์ ที่ ได้ตั้งไว้ แต่ ในอนาคตถ้าเมืองโตขึ้น อุตสาหกรรม มีเพิ่มมากขึ้น ขอให้สภาอุตสาหกรรมฯ หรือร่วมกับ บริษัทที่ปรึกษาว่าจะกันไว้ส่วนใดถึงจะเหมาะสม ก็ ขอฝากบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาในเรื่ อ งของการชี้ แ จงการ ประชาสัมพันธ์ เรื่องข้อก�ำหนดใหม่ที่เพิ่มขึ้น หรือ การลดทอนข้อก�ำหนดจากเล่มเดิมให้ท้องถิ่นและ ประชาชนได้รับทราบทุกข้อ”.


10

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

มุมกฎหมาย

โดย...วีระศักดิ์ บุญเพลิง สภาทนายความจังหวัดนครราชสีมา

คู่ความ ตายก่อนศาลนัดฟังค�ำพิพากษา เมื่อมีการยื่นฟ้องคดีต่อศาลแล้วการด�ำเนินกระบวนพิจารณาในคดีสามัญ ก็จะเริ่มตั้งแต่การส่งหมาย เรียกและส�ำเนาค�ำฟ้องให้แก่จำ� เลยเพือ่ ให้จำ� เลยยืน่ ค�ำให้การต่อสูค้ ดี เมือ่ จ�ำเลยยืน่ ค�ำให้การต่อสูค้ ดีแล้วก็จะต้อง มีการสืบพยานของคูค่ วามทัง้ สองฝ่าย ส่วนคูค่ วามฝ่ายไหนจะมีภาระหน้าที่ในการพิสจู น์หรือฝ่ายไหนจะต้องน�ำสืบ ก่อนก็ต้องเป็นไปตามประเด็นข้อพิพาทแห่งคดีและตามที่ศาลได้ก�ำหนดไว้ ในการสืบพยานของคู่ความและการ พิจารณาคดีของศาลในแต่ละคดีนนั้ ก็คงจะมีระยะเวลาแตกต่างกันไปขึน้ อยูก่ บั ประเด็นข้อพิพาทแห่งคดีวา่ มีมาก น้อยแค่ไหนและมีความยุ่งยากซับซ้อนแค่ไหน และบางคดีก็อาจจะเสร็จสิ้นไปเพียงแค่ในศาลชั้นต้น บางคดีก็ เสร็จสิน้ ในชัน้ ศาลอุทธรณ์ และบางคดีก็ไปเสร็จกันในชัน้ ศาลฎีกาเลย ซึง่ ในคดีทมี่ กี ารสืบพยานและมีการพิจารณา คดีกันเป็นเวลานานนั้นอาจเกิดเหตุการณ์บางอย่างขึ้นในระหว่างพิจารณาคดีของศาลได้ เช่น คู่ความฝ่ายใดฝ่าย หนึ่งอาจถึงแก่กรรมไปเสียก่อนในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลไม่ว่าในศาลชั้นต้น ในชั้นอุทธรณ์หรือในชั้น ฎีกา ถ้าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวนี้ขึ้นไม่ว่าในชั้นของศาลใด การด�ำเนินกระบวนพิจารณาของในศาลนั้นจะต้องท�ำ อย่างไร เรื่องอย่างนี้เคยมีเกิดขึ้นมาแล้วและก็มีกฎหมายก�ำหนดถึงขั้นตอนที่จะต้องด�ำเนินกระบวนพิจารณาไว้ ให้แล้วดังนี้คือ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 42 บัญญัติไว้ว่า “ถ้าคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งใน คดีที่ค้างพิจารณาอยู่ ในศาลได้มรณะเสียก่อนศาลพิพากษาคดี ให้ศาลเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าทายาทของ ผู้มรณะหรือผู้จัดการทรัพย์มรดกของผู้มรณะหรือบุคคลอื่นใดที่ปกครองทรัพย์มรดกไว้ จะได้เข้ามาเป็นคู่ความ แทนที่ผู้มรณะ โดยมีค�ำขอเข้ามาเองหรือโดยที่ศาลหมายเรียกให้เข้ามาเนื่องจากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีค� ำขอ ฝ่ายเดียว ค�ำขอเช่นว่านี้จะต้องยื่นภายในก�ำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่คู่ความฝ่ายนั้นมรณะ ถ้าไม่มีค�ำขอของบุคคลดังกล่าวมาแล้วหรือไม่มีค�ำขอของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งภายในเวลาที่ก�ำหนด ไว้ให้ศาลมีค�ำสั่งจ�ำหน่ายคดีเรื่องนั้นเสียจากสารบบความ” จากบทบัญญัตขิ องมาตรา 42 ดังกล่าวก็จะเห็นได้วา่ หากในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลมีคคู่ วาม ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ มรณะไปเสียก่อนทีศ่ าลจะพิพากษาคดี ศาลก็จะต้องเลือ่ นการพิจารณาคดีไปเพือ่ รอให้ทายาท หรือ ผูจ้ ดั การมรดกของคูค่ วามฝ่ายทีม่ รณะได้รอ้ งเข้ามาเป็นคูค่ วามแทนทีค่ คู่ วามฝ่ายทีม่ รณะนัน้ ก่อนศาลจึงจะด�ำเนิน คดีตอ่ ไปได้ ถ้าเกิดเหตุการณ์ทคี่ คู่ วามมรณะในระหว่างการสืบพยานในศาลชัน้ ต้น แน่นอนว่าศาลต้องเลือ่ นคดีไป เพือ่ รอให้ทายาทหรือผูจ้ ดั การมรดกของผูม้ รณะเข้ามาเป็นคูค่ วามแทนทีก่ อ่ น แต่ถา้ หากว่าคูค่ วามฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ มรณะหลังจากสืบพยานเสร็จหมดแล้วและศาลนัดฟังค�ำพิพากษาแล้ว หรือหากเป็นกรณีในชัน้ พิจารณาของศาล อุทธรณ์หรือศาลฎีกาโดยศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาได้พจิ ารณาเสร็จแล้วและนัดให้คคู่ วามมาฟังค�ำพิพากษาแล้ว ถ้า คูค่ วามฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ได้มรณะเสียก่อน ศาลจะต้องเลือ่ นการอ่านค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์หรือศาลฏีกาหรือไม่ เรือ่ ง อย่างนีเ้ กิดขึน้ มาแล้วและเป็นปัญหาทีเ่ คยขึน้ ไปสูก่ ารพิจารณาของศาลฎีกามาหลายคดีดงั เช่นคดีตอ่ ไปนีด้ ว้ ย ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 969/2552 ข้อเท็จจริงตามรายงานเจ้าหน้าทีป่ รากฏว่า ส่งหมายนัดฟังค�ำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ให้แก่ตวั โจทก์ ไม่ได้ เพราะโจทก์เสียชีวติ หากโจทก์ถงึ แก่ความตายจริงก็ตอ้ งถือว่าโจทก์ถงึ แก่ความ ตายในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์ คดีจะด�ำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้ก็ต่อเมื่อมีบุคคลเข้ามา เป็นคู่ความแทนที่โจทก์ผู้มรณะ และศาลจะต้องมีค�ำสั่งในการที่จะเข้ามาเป็นคู่ความแทนตามนัยมาตรา 42 และ 44 แห่ง ป.วิ.พ.ก่อน การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีไปโดยที่ยังมิได้ด�ำเนินการดังกล่าวนั้น เป็นการมิได้ปฏิบัติ ตาม ป.วิ.พ. ว่าด้วยการพิจารณาตามมาตรา 243 (2) ประกอบมาตรา 247 เป็นการไม่ชอบ และการที่โจทก์ถงึ แก่ ความตายขณะคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ ย่อมเป็นอ�ำนาจของศาลอุทธรณ์ที่จะมีค�ำสั่งเกี่ยวกับ การเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่โจทก์ ก็เป็นอันว่าศาลฎีกาท่านวินิจฉัยว่าเมื่อโจทก์เสียชีวิตแล้ว แม้จะเป็นเพียงนัดอ่านค�ำพิพากษาก็ต้องให้ มีบคุ คลเข้ามาเป็นคูค่ วามแทนโจทก์กอ่ น เมือ่ ศาลอ่านค�ำพิพากษาไปโดยยังไม่มบี คุ คลเข้ามาเป็นคูค่ วามแทนโจทก์ ถือว่าเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย. WWW.tanai-korat.com

บทความ

ศูนย์ส่งเสริมอุตฯภาค6จัดโครงการ...

รวมกลุ่มและเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์หมูแปรรูป สื บ เนื่ อ งจากรั ฐ บาลได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความ ส�ำคัญของกลยุทธ์การพัฒนาคลัสเตอร์ และก�ำหนด ไว้อย่างชัดเจนในนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ด้าน “การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและ แข่งขันได้” ให้หน่วยราชการต่างๆ กระตุน้ การพัฒนา คลัสเตอร์หรือทีเ่ รียกเป็นทางการว่า “การพัฒนาเครือ ข่ า ยวิ ส าหกิ จ ” เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ แข่งขันของภาคอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงาน ที่มีหน้าที่สานต่อนโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติจริง ได้ริเริ่มการพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมน�ำร่องตั้งแต่ปี 2546 ผ่านหน่วยงานทั้งจากส่วนกลางและศูนย์ส่งเสริม อุตสาหกรรมตามภาคต่างๆ จนปัจจุบันมีคลัสเตอร์ที่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมพัฒนาและให้การสนับสนุน จ�ำนวนกว่า 30 คลัสเตอร์ โดยมุ่งหวังที่จะทโลอง ค้นหา แนวทางและวิ ธี ก ารพั ฒ นาคลั ส เตอร์ ที่ เ หมาะสมกั บ ประเภทของอุตสาหกรรมและท้องถิ่นในลักษณะต่างๆ ค้นหาวิธีการประเมินผลการพัฒนาคลัสเตอร์ รวมทั้ง เพื่อสั่งสมประสบการณ์และเฟ้นหาแนวทางการพัฒนา คลัสเตอร์ที่ประสบความส�ำเร็จ ซึ่งจะเป็นต้นแบบให้ หน่ ว ยงานและผู ้ ส นใจทั่ ว ไปได้ ม องเห็ น ภาพและน� ำ แนวทางไปปฏิบัติเพื่อขยายผลเพิ่มได้ ในปี 2553 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้ด�ำเนิน การพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรม จ�ำนวน 29 กลุ่ม โดย การพัฒนาคลัสเตอร์ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมมุ่ง เน้นที่การรวมตัวทางธุรกิจแบบบูรณาการ ที่ดึงเอาความ ร่วมมือทุกส่วนมาผนวกไว้รวมกัน ให้ภาคเอกชนเป็นตัว ขั บ เคลื่ อ นหลั ก มี ก ารจั ด ท� ำ ทิ ศ ทางของกลุ ่ ม มี แ ผน กลยุทธ์และแผนปฏิบัติชัดเจน ส่วนหน่วยงานภาครัฐ สถาบั น การเงิ น สถาบั น การศึ ก ษา และหน่ ว ยงาน สนับสนุนต่างๆ ก็ท�ำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุน โดย ยึดหลักส�ำคัญคือการสร้างความร่วมมือเพื่อเสริมจุดแข็ง และอุดจุดอ่อนของกลุ่ม ส� ำ หรั บ แนวทางแก้ ป ั ญ หาหนึ่ ง ในภาค

โดย...ฝ่ายเกษตรหอการค้าฯ

สวัสดีปีใหม่ครับ ขอให้สมาชิกหอการค้าฯ และผูอ้ า่ นทุกท่านมีความสุขมากๆ ตลอดปี 2554 ประสบความ ส�ำเร็จในหน้าทีก่ ารงาน และมีสขุ ภาพทีแ่ ข็งแรง ส่วนสุขภาพของเศรษฐกิจไทยคงจะหวังพึง่ หน่วยงานของรัฐมากนัก ไม่คอ่ ยได้ แต่ละท่านคงต้องพึง่ และดูแลกิจการของตนเองให้อยูร่ อดปลอดภัย มีกำ� ไรตามสมควร ปีใหม่นดี้ สู นิ ค้าพืชเกษตร มีแนวโน้มสูงขึน้ ไม่วา่ จะเป็น ข้าวโพด, ข้าวสาลี, ถัว่ เหลือง, น�้ำมันปาล์ม, กาแฟ, ยางพารา, ส่วนข้าวยังคงขึน้ ๆ ลงๆ ราคาไม่เคลือ่ นไหวมากนัก เนือ่ งจากนโยบายของรัฐบาลที่ใช้เครือ่ งมือการประกัน รายได้เกษตรกรอย่างเดียว โดยไม่ได้นำ� Supply ส่วนเกินออกจากตลาดท�ำให้ ข้าวในช่วงต้นฤดู ซึง่ มีผลผลิตจ�ำนวน มากออกสูต่ ลาด ราคายังคงนิง่ หรือถดถอยบ้างในบางช่วง แต่ในระยะต่อไปราคาข้าวก็นา่ จะดีขนึ้ ตามพืชเกษตรตัว อืน่ อย่างไรก็ตามมีขา่ วหนึง่ ซึง่ น่าสนใจ ก็คอื ประเทศเวียดนาม ได้ประกาศตัวเลขการส่งออกข้าวตลอดปี 2553 ที่ 6.6 ล้านตัน แม้จะมีคำ� ถามกับตัวเลขนีบ้ า้ งว่ารวมตัวเลขการค้าผ่านชายแดนจีนทัง้ หมดหรือยัง เพราะบางการศึกษา คิดว่าตัวเลขมากกว่านีเ้ ล็กน้อย แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศเวียดนาม ก็สง่ ออกข้าวมากขึน้ เรือ่ ยๆ โดยปี 2550 เวียดนาม ส่งออกข้าว 4.5 ล้านตัน, ปี 2551 ส่งออก 4.6 ล้านตัน, ปี 2552 ส่งออก 5.9 ล้านตัน, ปี 2553 ส่งออก 6.6 ล้าน ตัน จะเห็นว่าตัวเลขส่งออกของเวียดนามมีแนวโน้มสูงขึน้ เรือ่ ยๆ เข้าใจว่าปริมาณการส่งออกทีส่ งู ขึน้ นอกจากผลผลิต ภายในประเทศจะสูงขึน้ แล้ว ประเทศเวียดนาม ยังได้อานิสงค์จากการทีป่ ระเทศกัมพูชามีการส่งเสริมการปลูกข้าว ในช่วง 3-4 ปี มานี้ ท�ำให้ผลผลิตของประเทศกัมพูชา ทะลักเข้าไปยังประเทศเวียดนาม ตัวเลขการส่งออกของ เวียดนามจึงสูงขึน้ อย่างรวดเร็ว อีกเหตุผลหนึง่ ทีท่ �ำให้เวียดนาม ส่งออกสินค้าทางการเกษตรได้สงู ขึน้ ก็คอื ค่าเงินของ เวียดนามซึง่ ก็คอื เงินด่อง อ่อนตัวลงไปมาก โดยนับตัง้ แต่กลางปี 2551 เป็นต้นมา ค่าเงินด่องลดลงไปแล้วประมาณ 20% เทียบกับดอลล่าร์สหรัฐ นอกจากนีอ้ ตั ราแลกเปลีย่ นเงินด่องในตลาดมืดขณะนีก้ ส็ งู กว่าอัตราของทางการราว 10% นัน้ หมายความว่าการส่งออกพืชเกษตรของเวียดนามในรูปเงิน US ดอลล่าร์ แม้วา่ จะราคาเดิมแต่เมือ่ เปลีย่ น เป็นเงินด่องได้ตวั เงินมากขึน้ ทางการเวียดนามมีการคาดการณ์วา่ ในปี 2554 จะมีผลผลิต 40 ล้านตันข้าวเปลือก หรือประมาณ 25-27 ล้านตันข้าวสาร และคาดการณ์วา่ จะส่งออก 6 ล้านตันข้าวสาร ตัวเลข 6 ล้านตันข้าวสารนีแ่ หละทีผ่ มคิดว่าไม่นา่ จะ เป็นตัวเลขที่ใกล้เคียงความเป็นจริง 1.ประเทศเวียดนามมักจะคาดการณ์ตวั เลข การส่งออกให้นอ้ ยไว้กอ่ น เห็นได้จากปี 2553 เวียดนามคาด การณ์วา่ จะส่งออก 5.5-5.8 ล้านตันข้าวสาร แต่งส่งจริงมากกว่า 6.6 ล้านตัน 2.ผมพึง่ กลับมาจาก กัมพูชา ผมคุยกับพ่อค้าข้าวทีศ่ รีโสภณ, เสียมเรียบ, กัมปงธม, กัมปงจาม, พนมเปญ, โพธิสตั ว์, พระตะบอง, พูดเป็นเสียงเดียวกันว่าผลผลิตของกัมพูชาปีนมี้ ากทีส่ ดุ และผลผลิตจ�ำนวนมาก ก�ำลังส่ง ไปยังประเทศเวียดนาม โดยเวียดนามซือ้ ไม่อนั้ 3.อัตราเงินเฟ้อ ล่าสุดเดือนธันวาคม 2553 สูง 11.75% สูงทีส่ ดุ ในรอบ 22 เดือน เวียดนามขาดดุลการค้า 12,000 ล้าน US ดอลล่าร์ ในปี 2553 ซึง่ ประมาณ 12% ของ GDP ทุนส�ำรองระหว่างประเทศลดน้อยจนน่าเป็น ห่วง และรัฐวิสาหกิจต่อเรือเวียดนามชิปบิลดัง อินดัสเทรียล กรุป๊ เข้าขัน้ ล้มละลาย ส่งผลให้เวียดนามถูกลดอันดับ เครดิตลง ประเทศเวียดนามคงต้องลดค่าเงินด่องอีกท�ำให้สนิ ค้าของเวียดนามจะดูถกู ลงอีกในสายตาของผูซ้ อื้ ต่าง ประเทศโดยเฉพาะผูซ้ อื้ ซึง่ เป็นลูกค้าของไทย 4.ประเทศเวียดนามประกาศราคาต�ำ่ สุดในการส่งออกโดย 4.1 ข้าว 5% ราคา $ 540 แต่ราคาปัจจุบนั % 490 - 500 ต่อตัน F.O.B. 4.2 ข้าว 25% ราคา $ 490 แต่ราคาปัจจุบนั % 455 ต่อตัน F.O.B. จากเหตุผลทัง้ 4 ข้อ ท�ำให้ขา้ วของเวียดนาม น่าสนใจ โดยเฉพาะสมมุตคิ า่ เงินด่องอ่อนลง 10% ขณะที่ ไทยมีแนวโน้มแข็งค่า 2.3% จะท�ำให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยลดลง โอกาสทีป่ ระเทศเวียดนามจะส่งออก มากกว่า 6 ล้านตันข้าวสารจึงมีอยูส่ งู มาก และผมจะไม่แปลกใจเลยหากปลายปี 2554 เวียดนามจะประกาศตัวเลข การส่งออกข้าว 7 ล้านตันข้าวสารครับ.

หมูหยอง และหมูยอ ซึ่งจังหวัดนครราชสีมานับได้ว่า เป็นจังหวัดที่มีจ�ำนวนผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหารจากสุกรมากที่สุดของประเทศ โดยมีผู้ประกอบ การกระจายตั ว อยู ่ ใ นเขตอ� ำ เภอเมื อ งและอ� ำ เภอ ปากช่ อ ง เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม และสร้ า งขี ด ความ สามารถให้การแข่งขันของธุรกิจประเภทนี้ จึงควร กระตุ้นให้ผู้ประกอบการเห็นถึงความส�ำคัญในการรวม ตัวกันเป็นเครือข่ายวิสาหกิจ รวมทั้งความสนใจในการ วิจัยและพัฒนากระบวนการผลิต และสร้างมาตรฐาน ความปลอดภัยให้กับผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ธุรกิจด�ำเนิน อยู่ ได้อย่างยั่งยืน คลัสเตอร์แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากสุกร จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยธุรกิจหลัก ได้แก่ ผู้ประกอบการต้นน�้ำ คือ ผู้ประกอบการฟาร์มสุกร ผู้ ขายอาหารสัตว์ ผู้ขายวัตถุดิบในการแปรรูป มีจ�ำนวน ประมาณ 20 ราย ผู ้ ป ระกอบการกลางน�้ ำ คื อ ผู ้ ประกอบการการที่นำ� เนื้อสุกรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อจ�ำหน่ายในรูปแบบต่างๆ ปัจจุบันมีผู้ประกอบการ ที่จดทะเบียนโรงงานกับอุตสาหกรรมจังหวัดและยัง ด�ำเนินการมีอยู่จ�ำนวนประมาณ 30 ราย ส่วนใหญ่อยู่ ในเขตอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอปากช่องและอ�ำเภอโนนสูง กั บ ผู ้ ป ระกอบการปลายน�้ ำ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ จ� ำ หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่จะกลุ่มเดียวกันกับกลุ่มกลางน�้ำ มีการจ้างงานรวมประมาณ 250 คน มียอดขายและ ยอดส่งออกรวมของคลัสเตอร์ ในปี 2551 ประมาณ 545 ล้านบาท และปี 2552 (มกราคม – สิงหาคม) 641 ล้านบาทตามล�ำดับ วัตถุประสงค์ของการรวมกลุ่มคือ (1)เกิด ความร่วมมือด้านกระบวนการผลิต การลดต้นทุนการ ผลิต (2)เกิดความร่วมมือด้านการตลาดที่เข้มแข็งและ ยั่งยืน (3)เกิดความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา ด้านการผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการผลิตทุนการผลิต (4)เกิดการพัฒนาด้านบุคลากร การบริหารจัดการ และ (5)เกิดการลงทุนร่วมกัน.

ลูกค้customers าคือพระเจ้ า as the king

คุ ย เฟื ่ อ งเรื่ อ งเกษตร หัสดิน สุวัฒนะพงศ์เชฎ

อุตสาหกรรม คือการรวมกลุ่มสร้างความเข้มแข็งของ อุตสาหกรรมที่มีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายกันที่เรียก ว่า “เครือข่ายวิสาหกิจ หรือคลัสเตอร์” (Cluster) ซึ่ง คลัสเตอร์ ในประเทศไทย ถือว่าเป็นสิ่งใหม่ที่อุตสาหกรรม ไทยได้ให้ความสนใจและก�ำลังตื่นตัว จนมีการรวมกลุ่ม กันอย่างมาก มีทั้งระดับต�ำบล จังหวัด หรือระดับประเทศ ไม่ว่าจะเป็นคลัสเตอร์อาหาร คลัสเตอร์โรงแรม คลัสเตอร์ สปา คลัสเตอร์ผลไม้ เป็นต้น ซึ่งคลัสเตอร์เป็นการรวมกลุ่มกันตามลักษณะ ของห่วงโซ่อุปทาน (Supply chin) ซึ่งเป็นระบบที่มี ความเกี่ยวข้องและต่อเนื่องกันของธุรกิจ ปัจจัยการ ผลิต ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจส่งออก ธุรกิจ ขนส่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถในการแข่ ง ขั น ของกลุ ่ ม อย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง การ พัฒนาอย่างยั่งยืนนั้นจะต้องมีการพัฒนาด้านงานวิจัย และพัฒนา (Research and Development; R&D) เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งความรู้ใหม่ที่ ได้นี้จะไม่ก่อ เกิดประโยชน์อันใดเลย หากไม่มีกระบวนการบริหาร จัดการความรู้ (Knowledge managemen; KM) เพื่อ สร้างเป็น “นวัตกรรม” (Innovation) ที่สามารถจับ ต้องใช้ได้และเป็นรูปธรรมจริง การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากสุกร เป็นธุรกิจ หนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อเศรษฐกิจและการสร้างรายได้ให้กบั จังหวัดนครราชสีมามาเป็นเวลาช้านาน เป็นธุรกิจที่มีการ ก่อตั้งด�ำเนินงานมานานกว่า 40 ปี และมีอัตราการเติบโต ที่ดีอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจประเภทนี้ยังส่งผลต่อการเติบโต ของธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ฟาร์มเลี้ยงสุกร โรงฆ่าสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์ โรงงานบรรจุภณั ฑ์ ผูจ้ ำ� หน่ายสินค้าราย ย่อยและธุรกิจท่องเที่ยว เป็นต้น ในปัจจุบันการผลิตสุกรมีมากมายหลายชนิด เนื่องจากผู้ประกอบการได้คิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากสุกรให้มีความหลากหลายและสร้างจุดเด่นให้กับ ผลิตภัณฑ์ของตนเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาด ผลิตภัณฑ์จาก สุกรที่ ได้รับความนิยมมาก 3 อันดับได้แก่ กุนเชียง

(ต่อจากฉบับ 341) อันดับสามก็คือตัวแรงงานเอง ก็เป็นปัญหาใน ตัวเอง ส่วนใหญ่แรงงานจะไม่ค่อยมีประสบการณ์ ใน ด้านการท�ำงาน เพราะของเราไม่มีการท� ำข้อมูลของ พนักงานไว้ ถ้าพนักงานออกงานจากที่หนึ่ง แล้วไป ท�ำงานอีกที่หนึ่งก็จะไม่ค่อยบอกประสบการณ์ที่ผ่านงาน

มา (เพราะอาจจะมีปัญหากับที่ท�ำงานเก่า) เพราะนิสัย คนเอเชียไม่ค่อยพูดออกมา จะเก็บเอาไว้ในใจ และเมื่อ ไม่พอใจก็ออก ไม่ ได้ดั่งใจก็ออก เพราะเราไม่เคยมีการ สอนในเรื่องของการท�ำงาน หรือการท�ำงานร่วมกับคน อื่น (เราสอนให้เรียนจบอย่างเดียว) อันนี้ต้องมีปัญหา แน่นนอน ผู้เขียนก็เคยบอกพนักงานของตนเองเหมือน กันว่า ถ้าอยากท�ำงานอย่างที่ตนชอบ “ก็ต้องไปเปิดร้าน หรือบริษัทตนเอง” แล้วจะได้ท�ำอย่างที่ชอบ ตราบใด ท�ำงานให้คนอื่น ก็ต้องท�ำอย่างที่เจ้าของเขาต้องการ เหตุผลอีกอย่างหนึ่งที่แรงงานเราท�ำงานไม่ค่อยมีความ อดทน หรือท�ำงานอยู่กับที่ได้ไม่นาน ก็อาจจะเป็นเพราะ ญาติพี่น้อง หรือไม่ก็พ่อแม่ ไม่ค่อยได้ให้ความคิดกับลูก ว่า การท�ำงานก็ต้องล�ำบาก มีแต่บอกว่าถ้าล�ำบากนักก็ ไม่ต้องไปท�ำ บ้านเรามีข้าวพอที่จะลี้ยงลูกได้ ท�ำให้ลูกๆ ที่พึ่งจะได้งานท�ำไม่ค่อยมีความอดทน แล้วเด็กเหล่านี้ หรือแรงงานเหล่านี้จะมีประสบการณ์ ได้อย่างไร และ เมื่อแก่ตัวมาท�ำอะไรไม่ค่อยเป็น จะไปเริ่มงานใหม่ๆ ได้ อย่างไรถ้าหากแรงงานไม่มีประสบการณ์ ก็จะเริ่มได้แค่

แล้วพนักงานเป็นใคร?

แรงงานหรือลูกน้องเขา คงจะไม่สามารถเป็นหัวหน้างาน ได้ เพราะไม่มีประสบการณ์ อีกตัวอย่างหนึ่งก็คือการไม่มี ความอดทน หยิ่ ง ในตั ว เอง เพราะผู ้ เ ขี ย นเคยเห็ น พนักงานส่วนใหญ่ที่จบมาใหม่มาท�ำงาน แรกๆ ก็ท�ำไม่ ค่อยเป็นก็ต้องสอนงานสักพัก แต่เมื่อท�ำงานเป็นแล้วก็ จะเรียกร้องมากขึ้น ท�ำงานแค่สามสี่เดือน คิดว่าสามารถท�ำงานได้ทั้งหมด บางครั้งก็ ไม่อยากรอให้เงินเดือนขึ้น (นายจ้างคงจะ ไม่สามารถขึ้นเงินเดือนให้ทุกเดือน) ออก ไปท�ำงานที่อื่นเพียงแค่ที่อื่นได้เงินเดือน มากกว่าไม่กี่บาท ท�ำงานถ้าหากจะได้งาน จริงๆ หรือประสบการณ์จริงๆ ต้องอย่าง น้อยไม่ต�่ำกว่าสองสามปี เพราะถ้าแค่สอง สามเดื อ นก็ เ พี ย งแค่ เ ริ่ ม งานเท่ า นั้ น มี นายจ้างที่ ไหนจะสอนความรู้ให้ หรือไว้ใจ ได้มากพอที่จะสอนอะไรมากกว่านั้น อย่ า งที่ ก ล่ า วมาแล้ ว นั้ น ของมั น เป็ น คู ่ กั น คราวนี้ ม าพู ด ถึ ง คู ่ ที่ มี ความต่างกัน ก็คือเจ้านายกับลูกจ้าง หรือจะเรียกว่า นายจ้างกับพนักงานก็แล้วแต่ แต่คู่นี้ ในปัจจุบันแยกกัน ไม่ออกอยู่แล้วในวงการธุรกิจ ถ้ามีเจ้าของธุรกิจ ก็ย่อม มีพนักงานที่ท�ำงานให้ ยกเว้นที่ท�ำงานขายของคนเดียว แต่ก็นั่นแหละครับการท�ำธุรกิจส่วนใหญ่อย่างน้อยก็ต้อง มีพนักงาน ดังนั้นจึงเป็นของคู่กันแบบแยกกันไม่ออก แต่ ที่ ว ่ า คู ่ เ หมื อ นที่ ต่ า งกั น คื อ ความ ต้องการของแต่ละ ฝ่ า ยอาจจะต่ า งกั น อย่ า งแรกเจ้ า ของ ธุ ร กิ จ ท� ำ ธุ ร กิ จ ก็ ต้องการก�ำไร แล้ว ก�ำไรมาจากอะไร ก็ มาจากการท� ำ ให้ ต้นทุนถูกที่สุด รวม ถึ ง ต ้ น ทุ น ด ้ า น แรงงานด้วย ก็ต้อง

จ่ายแรงงานให้ถูกเข้าไว้ เพื่อจะได้เป็นส่วนที่ท�ำให้มี ก�ำไร ส่วนลูกจ้างหรือพนักงาน ท�ำงานก็ต้องได้เงิน เยอะพอที่จะเหลือกินเหลือใช้ ไม่ต้องไปหยิบยืมคน อื่น มีเงินเหลือใช้จะซื้ออะไรก็ ได้ สองความคิดนี้ก็ ต่ า งกั น แน่ น อน เจ้ า ของธุ ร กิ จ อยากจะจ่ า ยน้ อ ย พนักงานที่ท�ำงานให้เราอยากจะได้เงินเยอะ ตรงไหน หล่ะที่ลงตัว ตรงนี้แหละครับมันยาก ต้องขึ้นอยู่กับ ศิลปะของผู้บริหาร ถ้าเราไม่ ให้ พนักงานก็ลาออก บริษัทก็ต้องเปลี่ยนพนักงานมากหรือบ่อย มันย่อม กระทบต่อการด�ำเนินงานของบริษัทแน่นอน เหตุหลายอย่างที่จะท�ำให้พนักงานท�ำงาน อยู่กับเรานานๆ แต่สิ่งส�ำคัญเราให้ความส�ำคัญกับ ลูกค้าเราเหมือนพระเจ้า ลูกค้าท� ำอะไรก็ถูก ห้าม เถี ย ง แต่ เ มื่ อ พนั ก งานที่ ท�ำ เงิ น ให้ เ รา เรากลั บ ให้ ความส� ำ คั ญ น้ อ ยมาก บางครั้ ง แทบจะไม่ ค ่ อ ยให้ ความส�ำคัญเลย “จะออกก็ออกไป เดี๋ยวรับสมัคร ใหม่” อย่างนี้ก็รับสมัครกันทั้งปีละครับ แล้วก็สอน กันใหม่ อย่าลืมว่ารถเราที่ขับอยู่ หรือบ้านที่เราอยู่ พนักงานก็มีส่วนในการท� ำก�ำไร แล้วเราเอาเงินไป ซื้ อ สิ่ ง เหล่ า นี้ ม า ถามว่ า ถ้ า หากเราไม่ มี พ นั ก งาน ท�ำงานให้เรา นายจ้างท�ำเองได้ไหม ท�ำก�ำไรได้เท่า นี้หรือเปล่า แต่ส่วนใหญ่เห็นเถ้าแก่หรือเจ้าของที่ ไม่มีพนักงาน ก็คงจะเป็นแต่เถ้าแก่ที่ ไสรถเข็นหรือ ไม่ก็ขายของในสามล้อถีบเท่านั้น.


พื้นที่โฆษณา/ประชาสัมพันธ์

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

11

คาซ่าเปิดบ้านเดอะเวนิสพาร์ค-นีโอพาร์ค นักศึกษา ม.ราชภัฏโคราชสร้างชื่อ ต้อนรับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สถาบันการเงิน เมือ่ วันที่ 13-20 ธันวาคมทีผ่ า่ นมา ผูบ้ ริหารโครงการน�ำโดย นายจิระศักดิ์ พันธ์ สายเชือ้ นายไพจิตร มานะศิลป์ นายสุดทีร่ กั พันธ์สายเชือ้ และนายวีระพล จงเจริญใจ ได้ เปิดบ้านคาซ่า เดอะเวนิสพาร์คและนีโอพาร์ค ต้อนรับคณะผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าทีส่ ถาบันการ เงิน ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกร ธนาคาร กรุงไทย และธนาคารอาคารสงเคราะห์ ที่ให้ เกียรติเข้าเยีย่ มชมโครงการฯ โดยคณะผูบ้ ริหารโครงการได้พาชม โครงการเดอะเวนิสพาร์ค Present ถึงโปร เจกต์เมืองใหม่คลังคาซ่า 3,800 ล้าน อาทิ บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม โรงเรียนนานาชาติ ศูนย์ประชุม ศูนย์การค้า สถานทีพ่ กั ผ่อน ฯลฯ พร้อมจิบกาแฟชือ่ ดังVenezia caff ’e หลัง

จากนัน้ ได้พาไปชม โครงการนีโอ พาร์ค อีกหนึง่ โครงการในเครือคา ซ่า ซึ่งขณะนี้ ย อดขายดี ที่ สุ ด โครงการหนึ่ ง ณ ปั จ จุ บั น โครงการมียอดขายไปกว่า 50 % ลูกค้าเข้าอยูแ่ ล้ว 25 % และอยู่ ระหว่างท�ำการก่อสร้างคลับเฮาส์ หน้าโครงการ ซึ่งจะแล้วเสร็จ ประมาณเดือนมีนาคม 2554.

อบจ.โคราช เผย 10 อ�ำเภอ นำร่องอบรม อกม.-เกษตรคุ้ม

หวังสร้างแกนน�ำเครือข่ายภาคปชช.ด้านเกษตร

คว้ารางวัลดีเด่นศิลปะเพื่อเยาวชนไทย

ปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้ ส่งนายศุภรัตน์ เลยไธสง นักศึกษาชัน้ ปีที่ 5 เข้าร่วมการประกวด รางวัลศิลปะเพื่อเยาวชนไทย 2553 (Young Thai Artist Award 2010) ซึง่ จัดขึน้ โดยมูลนิธิ ซีเมนต์ ไทย ร่วมกับสถาบัน การศึกษาด้านศิลปะชัน้ น�ำของประเทศ เพือ่ พัฒนาศักยภาพของ เยาวชนไทยในด้านศิลปะและต้องการส่งเสริมเยาวชนรุน่ ใหม่ที่ มีความสามารถ ให้มเี วทีในการแสดงออกถึงความสามารถอย่าง กว้างขวาง อันจะเป็นการสนับสนุนและผลักดันเยาวชนให้ กระตือรือร้นในการสร้างผลงานและกระตุ้นให้สังคมมีความตื่น ตัวเห็นคุณค่าของงานศิลปะ รวมทั้งช่วยส่งเสริมให้เยาชนไทย มีโอกาสก้าวไปสู่เวทีระดับสากล โดยสาขาศิลปะที่จัดให้มีการ

ประกวดมี 6 ประเภท คือ ศิลปะ 2 มิติ ศิลปะ 3 มิติ ภาพถ่าย ภาพยนตร์ วรรณกรรม และการประพันธ์ดนตรี ซึ่งผลงานที่นายศุภรัตน์ เลยไธสง ส่งเข้าประกวดคือ ศิลปะ 3 มิติ โดยมีชอื่ ผลงานว่า "จิตวิญญาณแม่1" ซึ่งใช้เทคนิค ไฟเบอร์กลาส Technique Fiberglass ขนาด 100x100x220 เซนติเมตร ในแนวความคิดที่ว่า "ความ รัก ความอบอุ่น ความเอื้ออาทรที่ได้ รับจาก ผู้ที่เป็นมารดาเป็นผลงาน ประติมากรรม เพื่อน้อมร�ำลึกถึง พระคุณแห่งความเมตตา โดยน�ำสัตว์ เลี้ยงที่รู้จักและคุ้นเคยมาสร้างรูป ทรงและดัดแปลง เพื่อสะท้อนความ รู้สึกและจินตนาการอันแสดงปฐม บทแห่งจิตวิญญาณ" ด้วยผล งานที่สื่อออกมาในแนวสะท้อน สังคมและชีวติ นีเ่ อง ท�ำให้เอาชนะ ผลงานที่ ส ่ ง เข้ า ประกวดจากทั่ ว ประเทศกว่า 1,000 ผลงาน จน ท�ำให้ผลงานของนายศุภรัตน์ เลย ไธสง สามารถคว้ า รางวั ล ดี เ ด่ น พร้อมเงินรางวัล 50,000 บาท และได้เดินทางไปรับรางวัลเมื่อวัน ที่ 14 ธั น วาคม 2553 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลปะ ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพมหานคร.

สีมาธานีจัดกิจกรรมวันแห่งความรัก ชวนฟังบทเพลงส�ำหรับทุกความรัก สวัสดิ์ มังกรวัฒน์ ผู้จัดการทั่วไปโรงแรมสีมาธานี จัดกิจกรรมวันแห่งความรัก ส�ำหรับทุก ความรัก โดยได้เชิญศิลปินมาร่วมแบ่งปันความรัก ‘ปราโมทย์ วิเลปะนะ’ เจ้าของบทเพลง “คืนที่ ดาวเต็มฟ้า” และ ‘แอนท์ วงอีโมชั่นทาวน์’ เจ้าของบทเพลง “เหตุเกิดจากความเหงา” ที่ฮิตติด ชาร์ทมาแล้วในอดีต และทั้งสองหนุ่มอารมณ์โรแมนติก จะมาร่วมสร้างบรรยากาศในค�่ำคืนของวันแห่ง ความรักส�ำหรับทุกความรัก ในคืนวันทร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 พร้อมอิ่มอร่อยกับอาหารบุฟเฟ่ต์มื้อ ค�่ำ ตั้งแต่เวลา 18.00-22.00 น. ณ ห้องอาหารในเรือนโรงแรมสีมาธานี บัตรราคาที่นั่ง 370 บาท ส�ำรองที่นั่งได้ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์โทร.044213100. เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ที่ผ่านมา ณ หอประชุมโรงเรียนประทาย อ�ำเภอประทาย จังหวัด นครราชสีมา นายแพทย์ส�ำเริง แหยงกระโทก นายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา เป็นประธาน เปิดโครงการฝึกอบรมส่งเสริมการพัฒนาเครือข่าย อาสาสมัครเกษตรประจ�ำหมู่บ้าน (อกม.) / เกษตร คุม้ โดยมี นายอ�ำเภอประทาย เกษตรอ�ำเภอประทาย ส่วนราชการ และประชาชนให้การต้อนรับ โครงการฝึกอบรมส่งเสริมการพัฒนาเครือข่าย อาสาสมัครเกษตรประจ�ำหมูบ่ า้ น (อกม.) / เกษตรคุม้ จัด โดยกองส่งเสริมคุณภาพชีวติ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) นครราชสีมา โดยร่วมกับส�ำนักงานเกษตรจังหวัด ซึง่ ก่อนหน้านี้ได้ดำ� เนินการจัดฝึกอบรมเพิม่ ศักยภาพให้ กับ อกม. จ�ำนวน 3,746 คน ฝึกอบรม อกม. ระดับ ต�ำบล จ�ำนวน 289 คน และจัดสัมมนาวิชาการเพื่อการ

พัฒนางานด้านเกษตรกรรม ให้กับ อกม. ระดับอ�ำเภอ ไปแล้วนัน้ จากการด�ำเนินงานดังกล่าว ท�ำให้เกิดการรวม กลุม่ องค์กรเครือข่ายภาคประชาชนด้านเกษตรกรรม โดย ใช้ชื่อว่า “ชมรมอาสาสมัครเครือข่ายเกษตรประจ�ำ หมู่บ้านจังหวัดนครราชสีมา” เรียกย่อว่า “อกม.” และสืบเนือ่ งจากงานดังกล่าวข้างต้น อบจ. ได้ ร่วมกับ สนง.เกษตรจังหวัด จัดท�ำโครงการฝึกอบรม การ พัฒนาเครือข่าย อกม. เพือ่ อบรมและพัฒนาทักษะความ รู้ให้กับผู้น�ำด้านเกษตรในระดับหมู่บ้าน ให้สามารถเป็น แกนน�ำการพัฒนางานด้านเกษตรและสร้างแกนน�ำเครือ ข่ายภาคประชาชนด้านเกษตรในการพัฒนาชุมชน กลุ่ม เป้าหมายที่เข้ารับการฝึกอบรม จ�ำนวน 10 – 15 คน ต่อหมู่บ้าน ซึ่งการด�ำเนินงานในระยะที่ 1 ใช้จ่ายเงินงบ ประมาณของ อบจ.นครราชสีมา ประจ�ำปี 2553 ด�ำเนิน งานในพื้นที่ 10 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.ประทาย อ.ครบุรี อ.

หนองบุญมาก อ.เสิงสาง อ.ด่านขุนทด อ.โนนสูง อ.คง อ.สีคิ้ว อ.ปากช่อง และ อ.ชุมพวง ระยะเวลาการฝึก อบรมรุ่นละ 1 วัน ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2553 ถึง เดือน กุมภาพันธ์ 2554 รวมทั้งสิ้น 51 รุ่น นพ.ส�ำเริงฯ นายก อบจ.นครราชสีมา เผยว่า อาสาสมัครเกษตรประจ�ำหมูบ่ า้ น หรือ อกม. ถือเป็นหัวใจ หลักในการส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายด้านเกษตรกรรม ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซึ่ง อบจ.มีหน้าที่ให้การ สนับสนุนในการพัฒนาทักษะ ความรู้ ผูน้ ำ� หมูบ่ า้ น ผูน้ ำ� ชุมชน ผูน้ ำ� องค์กรภาคประชาชนในระดับหมูบ่ า้ น ต�ำบล ให้สามารถเป็นแกนน�ำในการพัฒนาหมูบ่ า้ น ชุมชน และ ท้องถิน่ ได้อย่างเข้มแข็ง สามารถสร้างและเชือ่ มโยงผูน้ ำ� หมูบ่ า้ น ผูน้ ำ� ชุมชน องค์กรชุมชน ให้เป็นเครือข่ายความ ร่วมมือการพัฒนาในระดับจังหวัด สามารถเชือ่ มโยงทิศทาง การพัฒนางานของ อบจ.ได้เป็นอย่างดี.

มทส.โชว์นิทรรศการมีชีวิต ในงาน‘เปิดบ้านฟาร์มยามลมหนาว’

มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) จัดงาน “เปิดบ้านฟาร์มยามลมหนาว ฟาร์มมหาวิทยาลัย 2554” เปิดบ้านให้ชมประวัติความ เป็นมา นิทรรศการมีชวี ติ เน้น สัตวศาสตร์และพืชศาสตร์ โชว์ ผลผลิ ต และผลิ ต ภั ณ ฑ์ คุณภาพจากฟาร์ม มทส. การ ออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าและ อาหารนานาชนิ ด พร้ อ ม สนุกสนานไปกับกิจกรรมล้ม โค การแสดงและประกวดดนตรี ฯลฯ ระหว่าง วันที่ 12-14 มกราคม 2554 เวลา 13.0022.00 น. ณ ฟาร์มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ฟาร์มมหาวิทยาลัย 2554 จัดขึ้นเพื่อเผยแพร่ สู่ปีที่ 18 ในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งภายในงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารักษ์ ธีร ประวั ติ ค วามเป็ น มาและภารกิ จ ของฟาร์ ม ประกอบด้วย นิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจ อาทิ นิทรรศการมีชีวิตด้านสัตว ศาสตร์และพืชศาสตร์ เช่น การเลี้ยงโคนม แพะ ม้า ไก่ สุกร สัตว์น�้ำ การปลูกพืชโดย ไม่ ใช้ดิน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปลูก เลี้ยงกล้วยไม้ แปลงสาธิตพืชผักสวนครัว ซุ้ม ผั ก เลื้ อ ยค้ า งนานาชนิ ด แปลงทานตะวั น อุ ท ยานผี เ สื้ อ การแสดงเครื่ อ งจั ก รกล การเกษตร นิ ท รรศการพลั ง งานชี ว มวล นิ ท รรศการสั ต ว์ ท ะเลทรายจากสวนสั ต ว์ อ�ำพน รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป และ มหาวิทยาลัย ด้านการเรียนการสอน การวิจัย นครราชสี ม า การจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก ผู้จัดการฟาร์มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การให้บริการวิชาการ และด�ำเนินงานด้าน ฟาร์ม มทส. ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ และ เปิดเผยว่า งานเปิดบ้านฟาร์มยามลมหนาว วิสาหกิจ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 จนก้าวย่างเข้า สินค้าโอทอป เป็นต้น

นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมสันทนาการ สาธิตการล้มโค ร่วมคล้องโค เกมส์ต้อนหมู เข้ารู การแสดงและประกวดดนตรี อิ่มอร่อย กับอาหารปิ้งย่างและอาหารว่างหลากหลาย ถ่ายรูปที่ระลึกกับป้ายฟาร์ม ทุ่งทานตะวัน สวนไม้ดอกไม้ประดับ พร้อมพักผ่อนหย่อน ใจในบรรยากาศรับลมหนาวในช่วงนี้ “การจัดงานในครั้งนี้ นอกจากผู้เข้า ร่วมชมงานจะได้รับทราบ ประวัติความเป็น มา ภารกิ จ และศั ก ยภาพของฟาร์ ม

มหาวิทยาลัยในรูปแบบนิทรรศการมีชีวิต ด้านต่างๆ แล้ว ยังเป็นการประชาสัมพันธ์ ให้ บุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย และบุ ค คล ทั่ ว ไปโดยเฉพาะเกษตรกรหรื อ ผู ้ ที่ ส นใจ ประกอบอาชีพทางการเกษตร ได้รับทราบ และเข้ามาใช้บริการจากฟาร์มมหาวิทยาลัย เพิ่มขึ้นด้วย อีกทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้นอก ห้องเรียนให้กับเด็กๆ และเยาวชนได้เป็น อย่างดี” อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี กล่าว.


12

พื้นที่โฆษณา

หอการค้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 342 วันที่ 1-31 มกราคม 2554

สถานทูตสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทย ร่วมกับ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เรียนเชิญท่านร่วมรับประทานอาหารกลางวันและสัมมนา ในหัวข้อ “เปิดโลกธุรกิจการค้ากับอเมริกา” ในวันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 10.30 -14.00 น. ณ โรงแรมสีมาธานี นครราชสีมา

การสั ม นาในครั้ ง นี้ มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ การ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมและบริการที่เป็นประโยชน์ โดยตรงต่อ กิจการที่ต้องการเทคโนโลยีอุปกรณ์ ผลิตผลทางการเกษตร อาหาร เครือ่ งดืม่ รวมทัง้ วัตถุดบิ เพือ่ การผลิต ตลอดจนธุรกิจน�ำ เข้าสินค้าเพื่อการจ�ำหน่ายจากประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้เข้า สัมมนาจะได้รับข้อมูลในการเสาะหาแหล่งผลิตและผู้ ให้บริการ ในอเมริกา รวมถึงรายละเอียดงานแสดงสินค้าและบริการทีท่ าง ฝ่ายพาณิชย์มี ไว้เพื่ออ� ำนวยความสะดวกต่อการเดินทางไป อเมริกาและระหว่างการเข้าชมงาน

วิทยากรผู้บรรยายในงานนี้เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านการพาณิชย์และผู้เชี่ยวชาญด้าน การเกษตรประจ�ำสถานทูตสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย นอกจากนีท้ า่ นทีป่ รึกษาฝ่ายการพาณิชย์ และท่านที่ปรึกษาฝ่ายการเกษตรประจ�ำสถานทูตสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย ได้ให้เกียรติมาให้ ค�ำปรึกษาและตอบข้อซักถามในการสัมมนาครั้งนี้ด้วย

ลงทะเบียนฟรีได้ทันทีก่อนวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2554

โดยกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มที่แนบมาแล้วแฟกซ์กลับมาที่ 02-255-2915

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ สถานทูตอเมริกาฝ่ายพาณิชย์ 02-205-5090 ติดต่อคุณกรลักษณ์ โทร.02-205-5242 หรือ คุณวรรณวิมล โทร.02- 205-5272

หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เจ้าของ/จักริน เชิดฉาย ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์/วีระศักดิ์ บุญเพลิง ที่ปรึกษากฎหมาย/ชวลิต คัยนันทน์ ที่ปรึกษาวิเทศสัมพันธ์/สุภาวดี รัตนโสภา บรรณาธิการ/มุทิตา ใจเย็น ผู้สื่อข่าว/นิธิพน พันธุสีมานนท์ ฝ่ายพิสูจน์อักษร/ พงษ์ยุทธ สุภัทรวณิชย์, จีระศักดิ์ คาระวิวัฒนา, สุดที่รัก พันธ์สายเชื้อ, ธมกร ธุระธรรมะกุล กองบรรณาธิการ/สำ�นักงานเลขที่ 1818 ถ.สุรนารายณ์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทร.0-4429-6121-3 โทรสาร.0-4429-6124/พิมพ์ท่ี สมบูรณ์การพิมพ์ โทร.0-4495-4222-6.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.