NCC BUSINESS KORAT Vol.13

Page 1

ขอบคุณภาพจากกลุ่มฟรีไฟล์ภาพพระบรมฉายาลักษณ์

ISSUE 13 NOVEMBER 2016




“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นวันที่พสกนิกรชาวไทย มี ค วามโศกเศร้ า เสี ย ใจเป็ น อย่ า งมาก หลั ง ทราบข่ า วจาก แถลงการณ์สำ� นักพระราชวัง เรื่อง พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตเมื่อเวลา 15.52 น. ณ โรง พยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึน้ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรม ราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 และเข้าพิธีบรม ราชาภิเษก เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงเป็นพระมหา กษัตริย์ไทยผู้เสวยราชย์ยาวนานที่สุด เป็นเวลา 70 ปี 126 วัน ทรงขึ้ นครองราชสมบั ติ ในขณะยั ง ทรงพระเยาว์ โดยทรงมี พระชนมพรรษา 19 พรรษา สภาพเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศไทยในขณะนั้นยังคงบอบช�้ำจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ประชาชนยังคงเดือดร้อนอยู่หลายพื้นที่ ดังนัน้ เมื่อเสด็จฯ กลับ จากการไปศึกษาที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2493 จึง ทรงมีพระราชปณิธานอย่างแน่วแน่ที่จะช่วยเหลือประชาชนของ พระองค์ ดังจะเห็นได้จากกระแสพระราชด�ำรัสอันเป็นพระปฐม บรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม” หลังจากนัน้ ทรงได้พระราชทานพระราชด�ำริ ในการช่วย เหลื อ พสกนิก รให้ มี ส ภาพความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น ซึ่ ง โครงการ พระราชด�ำริในการพัฒนาชนบทโครงการแรก คือ การสร้างถนน เข้าไปยังบ้านห้วยมงคล อ�ำเภอหัวหิน ในปี พ.ศ. 2495 หลังจาก นั้นได้เกิดโครงการพระราชด�ำริมากมาย ที่สร้างประโยชน์ต่อ ประชาชนชาวไทย พสกนิกรต่างซาบซึ้งในพระราชหฤทัยและ พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ทา่ นอย่างหาทีส่ ดุ มิได้ จนถึงวัน นี้เราชาวไทยตระหนักแล้วว่าพระองค์ทรงเป็นยิ่งกว่าพระมหา กษัตริย์ ด้วยทศพิธราชธรรมอันเปี่ยมล้น ด้วยพระเมตตาที่ทรงมี ต่ออาณาประชาราษฎร์ โดยไม่เลือกชั้นวรรณะ ด้วยพระปรีชา สามารถ และด้วยพระวิรยิ ะอุตสาหะต่อพระราชกรณียกิจทัง้ ปวง เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ยังยากจนในทุกภูมิภาคของประเทศ ทรง เน้นการช่วยเหลือพสกนิกรด้วยการพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น โดยมีหลักส�ำคัญเบื้องต้นคือ ให้ราษฎรพออยู่พอกินและสามารถพึ่งตนเองได้ ตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี ทรงตรากตร�ำพระวรกาย อย่างมาก เพื่อทรงงานในโครงการพระราชด�ำริต่างๆ แต่ก็มิได้ ทรงย่ อ ท้ อ ต่ อ ความยากล� ำ บากและความเหน็ดเหนื่อย ทรง ติดตามผลงานอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้งานทุกโครงการเกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชนโดยส่วนรวม ทรงแปรพระราชฐานเสด็จ พระราชด�ำเนินเยีย่ มราษฎรในท้องถิน่ ทุรกันดารทัว่ ทุกภูมภิ าคของ ประเทศ ซึ่งพระราชกรณียกิจส่วนใหญ่ของพระองค์ คือการ

วางแผนพัฒนาเพือ่ ความเจริญก้าวหน้า และความมัน่ คงในพืน้ ที่ ทุกด้านอย่างสอดคล้องต้องกัน ทั้งนี้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มี ประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน ผู้แทน แต่ละภูมิภาคของโลกต่างสดุดีพระองค์ ว่าทรงเป็นกษัตริย์นกั พัฒนา และเป็นพระมหากษัตริยท์ เี่ ป็นทีร่ กั ยิง่ ของปวงชนชาวไทย ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ หอการค้าจังหวัด นครราชสีมา ขอน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และขอด�ำเนินตามรอย เบื้องพระยุคลบาทตลอดไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ

Leader’s Talk - 04 -

( หัสดิน สุวัฒนะพงศ์เชฏ )

ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา


ดั่งฟ้าก�ำสรวลไห้ ดวงประทีปดับสูญสิ้น หทัยราษฎร์จากลาแล้ว ข้าบาทขอน้อมใจ

น�้ำตาไหลนองแผ่นดิน แสนอาดูรด้วยอาลัย โอ้ดวงแก้วของปวงไทย ส่งสู่ฟ้าแดนอมร

ปวงข้าพระพุทธเจ้า

ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า บริษัท นครราชสีมา ฮอนด้าออโตโมบิล จ�ำกัด (มหาชน)


inside this

Content

24 26 30 32

ได้เข้าเฝ้าในหลวง

ที่วัดถ�้ำกลองเพล เมื่อ 33 ปีก่อน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เนติบัณฑิตกิตติมศักดิ์

กฏหมายธุรกิจ - วีระศักดิ์ บุญเพลิง -

"เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง"

ศาสตร์พระราชา พัฒนาเมืองให้ยั่งยืน

พระมหากษัตริย์ นักพัฒนาผู้ยิ่งใหญ่ สู่...พระบิดาแห่งฝนหลวง

34 40

เห็นผู้คนก้มกราบพระบรมศพ เห็นความเคารพจากหัวใจไทยทั้งหลาย เห็นน�ำ้ ตาไหลอาบแก้มทั้งหญิงชาย เห็นเป็นสายมวลมหาประชาชน

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ( Sufficiency Economy ) จะน�ำมาใช้กับ SMEs ได้อย่างไร ?

อัครศิลปินแห่งแผ่นดินสยาม การค้ า พาณิ ช ย์ - อมร วงศ์สุรวัฒน์ -

46

เห็นหมู่คนเข้าแถวไม่มีหยุด เห็นแล้วสุดซาบซึ้งใจในทุกหน มหาราชผู้ยิ่งใหญ่ในสากล สอนผู้คนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของไทย เชื่อมโยงไปถึงเพื่อนบ้าน

ในหลวง ร.9

56

กับการเกษตรไทย

52

ประพันธ์โดย นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ประธานกิตติมศักดิ์หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

เปิดประวัติ คุณทองแดง

สุนัขทรงเลี้ยง

บรรณาธิการอ�ำนวยการ : หัสดิน สุวฒ ั นะพงศ์เชฏ บรรณาธิการบริหาร : กฤช หิรญ ั กิจ บรรณาธิการ : สุภาวดี วงศ์สารสิน คณะทีป่ รึกษา : อมร วงศ์สรุ วัฒน์, ทวิสนั ต์ โลณานุรกั ษ์, จีรวัฒน์ ศิริวิกุล, ฐานพัทธ์ ชาติปฏิมาพงษ์, ศักดิ์ชาย ผลพานิชย์, ทรงธรรม สุวรรณโชติ, วิทยา เรืองฤทธิ์, ดร.ธีรพงษ์ คณาศักดิ์, วีระศักดิ์ บุญเพลิง, ลัญชนา เนียมสาคร, ณริศ ร์ สิท ธิภู ่ ป ระเสริฐ กองบรรณาธิ ก าร : สุ ภ าวดี วงศ์ ส ารสิ น , สุ จิ ต รา บรรณจิ ต ร อาร์ ต ดี ไซน์ : ก้ า วหน้ า ดี 081-8769416 พิ ม พ์ ที่ : บริ ษั ท ยื น หยั ด ชั ด เจน จ�ำ กั ด ฝ่ายโฆษณาและการตลาด : สุภาวดี วงศ์สารสิน, สุจติ รา บรรณจิตร, หนึง่ นภา สิรวิ ฒ ั นากุล, กัญญาวีร์ เพียรงาน ติดต่อโฆษณา : 044-296121-3, 086-4617729, 088-5955635, 086-4617730, 091-0126787 เจ้าของ : หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา Website : ncc.or.th Email : Infonccor@gmail.com

- 06 -



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทานพระราชด�ำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้พสกนิกรชาวไทยและสังคมไทยน�ำเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในทุกระดับ ตั้งแต่การด�ำรงตน จนถึงการพัฒนาประเทศ รวมถึงผลที่เกิดขึ้นจากการน�ำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้

“...การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำ ตามล�ำดับขัน้ ต้องสร้างพืน้ ฐาน คือ ความ พอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ เป็ น เบื้ อ งต้ น ก่ อ น โดยใช้ วิ ธี ก ารและ อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลัก วิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควร และปฏิบตั ไิ ด้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริม ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขัน้ ทีส่ งู ขึน้ โดยล�ำดับต่อไป...” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 18 กรกฎาคม 2517



ชาวโคราช ร้อยดวงใจ ถวายความอาลัยในหลวง

- 010 - 010 -


ประชาชนชาวโคราชร่วมสร้าง ประวัติศาสตร์กว่า 210,000 คน ร้อยดวงใจร่วมกันจุดเทียน ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี แสดงความอาลั ย ในหลวง รัชกาลที่ 9 ท่ามกลางสายฝน ที่ตกลงมาตลอดเวลา บริเวณ ลานอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี เมื่อ วันที่ 27 ตุลาคม 2559

- 011 -


NCC Business Magazine

- 012 -


NCC Business Magazine

- 013 Cr. ภาพประวัติศ าสตร์ ในงาน“ชาวโคราช ร้ อ ยดวงใจ ถวายความอาลัย ในหลวง” 27 ตุล าคม 2559 โดยทีม ช่ า งภาพงานจิต อาสา,จากเพจ:#ชมรม คนรักการถ่ายภาพโคราช #ชาวโคราชร้ อ ยดวงใจถวายความอาลัย ในหลวง #koratforking #koratdroneforking


ทรงแผ่พระบารมี เป็นศรีจังหวัดนครราชสีมา

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีนำ�้ พระราชหฤทัยใสสะอาดบริสทุ ธิ์ เปีย่ มด้วยพระเมตตากรุณา เสด็จพระราชด�ำเนิน เยีย่ มราษฎรเพือ่ ทรงทราบทุกข์สขุ จากปากค�ำของราษฎรเองเสมอมา ซึง่ นับเป็นพระ มหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาทีส่ ดุ มิได้ ทีพ่ ระองค์ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมานับแต่พทุ ธศักราช 2498 จนถึงปัจจุบนั นับกว่า 10 ครัง้ ดังนี้

วันที่ 2-4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เสด็จ พระราชด� ำ เนิน พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถไป ท ร ง เ ยี่ ย ม ร า ษ ฎ ร ที่ จั ง ห วั ด นครราชสีมา โอกาสนีย้ งั ทรงวางพวง มาลา ณ อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี

ทรงวางพวงมาลา อนุสาวรีย์ ท้าวสุรนารี (ย่าโม) ครัง้ ที่ 2 ปี 2507 เมือ่ 52 ปีกอ่ น

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด� ำเนินเยี่ยมราษฎร จ.นครราชสีมา ครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ.2498

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินนี าถ เสด็จศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา - 014 -


พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ นทร มหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จมาที่ อ�ำเภอบัวใหญ่ เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2498 โดยประชาชนมาเข้าแถวรับเสด็จฯ ที่สี่แยกสถานีรถไฟบัวใหญ่ ซึ่งเป็นจุดที่ พระองค์ เ สด็ จ ลงจากรถยนต์ พ ระที่ นั่ง เสด็จพระราชด�ำเนินไปตามถนนนิเวศรัตน์ ไปยั ง พลั บ พลาที่ ป ระทั บ บริ เวณสถานี รถไฟบัวใหญ่

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนาง เจ้าพระบรมราชินนี าถ เสด็จปราสาทหินพิมาย ในเดือนพฤศจิกายน 2498 - 015 -


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนินวัดสุทธจินดา รวม 2 ครัง้ ครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2498 และครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2517 (คราวเสด็จทอดพระกฐินต้น วัดสุทธจินดาวรวิหาร)

วันเสาร์ที่ 10 มิถนุ ายน 2515 ชาวไร่อำ� เภอปากช่อง น้อมเกล้าฯ ถวายโคนม จ�ำนวน 2 ตัว และผลิตผลต่างๆ ในการเสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตร กิจกรรมของไร่สวนจิตร จังหวัดนครราชสีมา

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนิน เยี่ยมชมโรงงานการฝึกปฏิบัติงาน การจัดการเรียนการสอนของ วิทยาลัยเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ปัจจุบนั คือมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507

- 016 -

ในวันเดียวกัน 20 กุมภาพันธ์ 2507 จากนั้นได้เสด็จ พระราชด�ำเนินเยี่ยมชมกิจการและผลงานทางวิชาการของวิทยาลัย ครูนครราชสีมา (ปัจจุบนั คือมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ เสด็จพระราชด�ำเนินไป ทรงเปิดโรงเรียนบุญวัฒนา เมือ่ วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช และสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พ ระบรม ราชินีนาถ เสด็จทอดพระเนตร กิจการของโรงเรียนสุรนารีวิทยา เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507 โดยทรงทอดพระเนตรการ ปฏิ บั ติ ท างด้ า นวิ ช าการของ นัก เรี ย นด้ ว ยความสนพระราช หฤทัยยิง่

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน มาที่ วัดบ้านไร่ เมือ่ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2538 เพือ่ ทรงประกอบพิธบี รรจุ พระบรมสารีริกธาตุที่บุษบกเหนือพระอุโบสถวัดบ้านไร่ ในครั้งนัน้ หลวงพ่อคูณ ปริสทุ โฺ ธ เจ้าอาวาสวัดบ้านไร่ ได้ทลู เกล้าฯ ถวายเงิน ปัจจัย 72 ล้านบาท โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย - 017 -


NCC Business Magazine

โดยส่วนตัวมีความประทับใจในพระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สิง่ ทีท่ า่ นทรงพระราชทานให้คนไทย นัน้ ไม่เฉพาะพระองค์ท่านตรากตร�ำท�ำงานหนัก ทรงออกไปเยี่ยม ราษฎรตามพื้นที่ต่างๆ เท่านัน้ แต่สิ่งที่พระองค์ท่านท�ำมาตลอด คือการพยายามให้แนวความคิดในการพัฒนาตัวเอง พัฒนาชีวิต การด� ำ รงชี วิ ต แบบเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ทุ ก วั นนี้ ไม่ ใช่ เฉพาะที่ ประเทศไทยเท่านัน้ สหประชาชาติหรือประชาคมโลก เริม่ เอาหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ เพราะใช้ได้ทั้งในช่วง เศรษฐกิจตกต�่ำหรือเศรษฐกิจรุ่งเรือง ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีที่คนไทยควร น้อมน�ำและยึดถือปฏิบัติ การมารวมพลังของชาวโคราชในวันที่ 27 ตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา เป็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นการรวมพลังทั้งภาครัฐ และเอกชน ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด เป็นประวัติศาสตร์ของชาวจังหวัด นครราชสีมา ทัง้ ทีม่ รี ะยะเวลาในการเตรียมงานค่อนข้างจ�ำกัด แต่ เรากลับเห็นพลังแห่งความจงรักภักดีของชาวโคราชกว่า 2 แสนคน ซึ่ ง เป็ นการแสดงพลั ง ความรั ก ความสามั ค คี ข องชาวจั ง หวั ด นครราชสีมาที่จะมีต่อพระองค์ท่าน

พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ นทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระองค์ ท ่ า นเป็ น กษั ต ริ ย ์ ข องปวงชนชาวไทย ที่ มี พ ระราช กรณียกิจมากมาย ด้วยทรงมีพระปรีช าสามารถทั้ง ทางด้ า น ดนตรี กีฬา วิทยาศาสตร์ ทั้งทรงมีพระเมตตาต่อชาวไทยอย่าง หาที่สุดมิได้ ซึ่งพระองค์ทรงเดินทางไปที่ต่างๆทั่วทุกพื้นที่ของ ประเทศไทยเพื่อช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น ทรงมีพระราชด�ำริในโครงการต่างๆ ท� ำให้คนไทยรักพระองค์ ท่านมาก ซึ่งที่ผ่านมาตนมีโอกาส ผ่านวิกฤติ ปีพ.ศ. 2540 เพราะยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านมาใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน และในการด�ำเนินธุรกิจด้วย

นายหัสดิน สุวัฒนะพงศ์เชฏ ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา นายวิเชียร จันทรโณทัย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา

- 018 -


NCC Business Magazine

ในฐานะที่เราเป็นลูกหลานชาวไทย เราเห็นความเหนื่อย ยากของท่าน ทุกโครงการทีท่ า่ นท�ำเพือ่ ปวงชนชาวไทย ก็อยากท�ำ ดีที่สุดเพื่อถวายความอาลัยต่อพระองค์ท่าน อยากตั้งมั่นตาม เศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ท่านสอนเอาไว้ ซึ่งในวันนี้พี่น้องชาว โคราชทุกคนล้วนแล้วแต่ต้องการมาแสดงออกถึงความอาลัยต่อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในฐานะที่เป็น ลูกหลานชาวโคราชคนหนึง่ รูส้ กึ ว่าพลังทีแ่ สดงออกครัง้ นีเ้ ป็นพลัง ทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ เกิดมาในชีวติ นีไ้ ม่เคยเห็น รูส้ กึ ตืน้ ตันกับพลังของพี่น้องชาวโคราชในครั้งนี้ ต้องขอขอบคุณทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมให้งานเกิดขึ้นได้อย่างยิ่งใหญ่

ในส่วนตัวมีความผูกพันกับจังหวัดนครราชสีมามากพอ สมควร ดีใจมากที่ได้มาเป็นส่วนหนึง่ ของงานประวัติศาสตร์ใน ครั้งนี้ หลังจากที่จัดกิจกรรมร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2559 ณ สนามหลวงแล้วได้สัมผัสถึงความ เป็นน�้ำหนึง่ ใจเดียวกันของคนไทยทั้งประเทศ สัมผัสได้ถึงความ อบอุ่นเหมือนครอบครัวเดียวกัน มีพ่อคนเดียวกัน ในปีที่ผ่านมา มี ค วามขั ด แย้ ง ในสั ง คมเยอะมาก แต่ พ ่ อ หลวงพระองค์ เป็ น ศูนย์กลางของเราทุกคน ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ซึ่ง เป็นเสมือนตัวเชื่อมต่อเราทุกคน ให้มีความรักความสามัคคีกัน รักใคร่กลมเกลียวกัน ตนตั้งใจที่จะมาท�ำกิจกรรมร่วมร้องเพลง สรรเสริญพระบารมีที่โคราชเป็นที่แรกในต่างจังหวัด หลังจากที่ ได้รับเชิญตนจึงตอบตกลงมาทันที และตั้งเป้าว่าจะเดินสายท�ำ กิจกรรมนี้เพื่อในหลวงในทุกๆ จังหวัดทั่วประเทศ โคราชเป็นเมือง ใหญ่ชาวโคราชน่ารัก ไม่เชื่อว่าจะเห็นคนโคราชร่วมงานได้เป็น จ�ำนวนมากขนาดนี้ ตนเกิดความซึ้งใจเป็นอย่างยิ่ง

นายสุรวุฒิ เชิดชัย นายกเทศมนตรีนครนครราสีมา อ.สมเถา สุจริตกุล ผู้ควบคุมการบรรเลง วงดนตรี Siam Phiharmonic Orchestra

- 019 -


NCC Business Magazine

ประเทศไทยตอนนี้ เ สี ย ความยิ่ ง ใหญ่ ในหลวงของเราท�ำ เพื่ อ ประชาชนมา 70 ปีเต็ม ถือว่าครั้งนี้ประเทศไทยเสียความยิ่งใหญ่ เสียคนที่ ท�ำให้ประเทศเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่อดีตจนถึงทุกวันนี้ เมืองไทยเราไม่เคยเป็น เมืองขึ้นให้ประเทศใดในโลก รัชกาลทุกพระองค์ตลอดจนกระทั่งในหลวง รัชกาลที่ 9 สามารถปกครองได้ตลอด ไม่ได้เป็นเมืองขึ้นของชาติใด ถือว่า ประชาชนคนไทยทั้งประเทศได้รับพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ และ เรารักในหลวง

นายทรงศักดิ์ อุไรธรากุล ประธานบริหารบริษัทในเครือปฐพีทอง จ�ำกัด

วันนี้เป็นวันที่ดีมากที่สุดที่ชาวโคราชได้มารวมตัวกันอย่างมากมาย เป็นจ�ำนวนกว่าแสนคนเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อในหลวงของเรา พร้อม กันร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และจุดเทียนน้อมเสด็จสู่สวรรคาลัย ท่าน เป็นพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่มีพระปรีชาสามารถในหลายๆ ด้านทั้งเกษตรกรรม ด้านน�้ำ ด้านดนตรี ด้านกีฬา เป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั่วประเทศ และทั่วโลกที่เกิดเป็นลูกของพ่อหลวง เรารักในหลวง และจะเป็นข้ารองบาท ทุกชาติไป

นางเข็มทอง เรืองกฤตยา ประธานชมรมผู้ค้ารถยนต์ใหม่ จังหวัดนครราชสีมา

วันนีท้ างกลุม่ YEC หอการโคราชได้เข้ามาช่วยดูแลการจัดการงานใน หลายๆ ส่วน ทั้งส่วนกลาง ส่วนต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ แขก VIP ดูแลเรื่องจุด โรงทาน จุดกระจายน�้ำ แล้วก็ภาพถ่ายทั้งงานโดยได้จัดท�ำแฟนเพจ “ชาว โคราช ร้อยดวงใจ ถวายความอาลัยในหลวง” ขึ้นมาเพื่อให้ชาวโคราชได้กด ติดตามความเคลือ่ นไหว พร้อมทัง้ เป็นทีร่ วบรวมภาพถ่ายของงานทัง้ หมดด้วย ซึง่ กลุม่ YEC หอการโคราช มาท�ำงานนีด้ ว้ ยหัวใจทีร่ กั ในหลวงเหมือนๆ กัน ทุก คนทุม่ เท และตัง้ ใจท�ำงานนีม้ าก ไม่กลัวว่าจะเหน็ดเหนือ่ ยหรือไม่ อยากท�ำงาน นี้ออกมาให้ดีที่สุด เพื่อพ่อหลวงของเราทุกคน. นายกรพฤฒ ศรีมิ่งมงคลกุล ประธาน YEC หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

- 020 -


ผมเป็นผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง และได้พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระองค์ทา่ น เมื่อปี 2553 ครั้งนัน้ เกิดเหตุการณ์น�้ำท่วมใหญ่ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา หลายจุด รวมทั้งโรงพยาบาลมหาราช ท�ำให้โรงพยาบาลไม่สามารถท�ำการ รักษาต่อเนื่องได้ในขณะนัน้ ผมต้องหยุดฉายรังสี เพราะเหตุการณ์น�้ำท่วม ขณะนัน้ พระองค์ท่านทรงประทับอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราช ทั้งๆ ที่พระองค์ยัง ทรงพระประชวรอยู่ ท่านยังมีพระเนตรพระกันถึงพสกนิกรของพระองค์ มีพระ ราชด�ำรัสผ่านส�ำนักราชวัง ว่าให้เร่งกู้โรงพยาบาลมหาราชให้ได้ เพราะ ประชาชนเดือดร้อนมาก ช่วงนัน้ ผมหยุดฉายรังสีไปประมาณ 4 - 5 วัน หลัง จากนัน้ ผมเห็นทหารไปท�ำเขื่อนกั้นน�้ำ แล้วสูบน�้ำออกจากโรงพยาบาล หมอ และพยาบาลดีใจมาก โทรตามผมว่าสามารถมาท�ำการรักษาได้แล้ว ผมเห็น มีเครื่องสูบน�้ำโครงการพระราชด�ำริ สูบน�้ำออก ผมน�้ำตาไหลไม่รู้ตัวเลย เป็น ความซาบซึ้งและตื้นตันใจมากที่ได้รับพระเมตตาจากพระองค์ในเวลานัน้ นายเดชศักดิ์ เกตุแก้ว ประชาชนชาวโคราช

คณะลิเกทุกคนรูส้ กึ ดีใจทีไ่ ด้มาเป็นส่วนหนึง่ ของงานวันนี้ เราเป็นเพียง ลิเกกลุ่มเล็กๆ ของโคราช แต่ก็มาช่วยกันแสดงพลังแห่งความความจงรักภักดี ซึ่งเปรียบไม่ได้เลยจริงๆ ในสิ่งที่พ่อหลวงท�ำให้ประชาชนชาวไทยมากว่า 70 ปี ท่านทรงงานหนักมาโดยตลอด เราเป็นเพียงเศษเสี้ยวส่วนหนึง่ เปรียบเป็นแค่ ดินก้อนเล็กๆ แต่ท่านก็พยายามท�ำทุกอย่างให้เราคนไทยทุกคนมีค่า มีอาชีพ มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ มีความรูส้ กึ เสียใจมากๆ กับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ แต่กย็ งั ยึดถือค�ำ สอนของท่าน ท�ำตามอย่างที่พระองค์สอนพวกเราชาวไทย

ตัวแทนคณะลิเกจังหวัดนครราชสีมา

ชมรมคนพิการโคราชมีความดีใจมากที่ได้มาร่วมงานในวันนี้ เป็น ความรักที่มีต่อพ่อหลวงของปวงชนชาวไทยอย่างหาที่สุดมิได้ ในวันนี้แม้ว่า ความพิการทางร่างกายจะเป็นอุปสรรคในการเดินทางบ้าง แต่ก็ไม่เคยย่อท้อ เพราะว่าโอกาสทีจ่ ะเดินทางไปกราบสักการะท่านทีก่ รุงเทพมหานครนัน้ คงไม่มี การได้มาเป็นส่วนหนึง่ ของงานวันนี้ ก็ถอื ว่าเป็นสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ แล้วในชีวติ ของคนๆ หนึง่ เกิดชาติหน้าฉันใดให้เป็นรองพระบาทของพระองค์ท่านครับ

- 021 -

ตัวแทนชมรมคนผู้พิการจังหวัดนครราชสีมา


NCC Business Magazine World Business Forum : ธุ ร กิ จ ระหว่ า งประเทศ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการด�ำเนินธุรกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ท่านได้พระราชทานแนวคิดเรื่องของ เศรษฐกิจพอเพียงไว้เมือ่ ปี พ.ศ. 2517 มีคนพยายามจะท�ำความเข้าใจแต่กย็ งั ไม่คอ่ ยเข้าใจ เพราะประเทศไทยของเราด�ำเนินแนวเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือการค้าเสรีมานาน ระบบ การค้าเสรีมีการแข่งขันสูงใครที่มีศักยภาพมากกว่าก็สามารถเป็นผู้ครอบครองระบบ เศรษฐกิจได้ ป รั ช ญ า เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง Sufficiency Economy Initiative ได้จุด ประกายที่ชัดเจนที่สุดใน พ.ศ. 2540 เพราะ ในปีนนั้ เศรษฐกิจตกต�่ำ มีบริษัทขนาดใหญ่ และสถาบันการเงินล้มกันเป็นลูกโซ่ ท�ำให้มี คนตกงานเป็นจ�ำนวนมากโดยเฉพาะคนทีม่ ี เงินเดือนสูงๆ ปรากฏการณ์ครัง้ นัน้ มีคนเริม่ หันมาให้ความสนใจกับปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งมากขึ้ น เพราะหลั ก การของ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถอภิปรายเรือ่ งราว ของการด�ำเนินธุรกิจแบบลุยไปข้างหน้าจน ลืมหันมาดูข้างหลัง ขาดการคิดแบบพอ ประมาณ มีการใช้จ่ายที่เกินตัว เมื่อระบบ เศรษฐกิจมีปัญหาจึงไม่อาจด�ำรงอยู่ได้ หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระองค์ ท่านได้พูดถึงความส�ำคัญไว้ 3 ประการ 1. ความพอประมาณ การท�ำ ธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามพอดี กั บ เงิ นทุ น และความ สามารถที่ผู้ประกอบการมีอยู่นั้นเป็นเรื่อง ส�ำคัญมาก การท�ำอะไรที่ใหญ่เกินไป อาจ ควบคุมไม่ได้ เพราะความสามารถอาจยัง ไม่เพียงพอ ตัวอย่างนี้เราจะเห็นได้จากร้าน ค้าที่ก่อร่างสร้างตัวเองจากธุรกิจเล็กๆและ ค่อยๆขยายกิจการแบบค่อยเป็นค่อยไปจะ มีความมั่นคงจะดีกว่าการเร่งขยายจนไม่ สามารถควบคุมและบริหารได้ ความพอประมาณนีพ้ ระองค์ทา่ น ทรงชีแ้ นะว่าธุรกิจต้องท�ำก�ำไรเป็นเรือ่ งทีถ่ กู ต้อง เพราะเมื่อลงทุนแล้วย่อมต้องการผล ตอบแทนเป็นธรรมดาแต่ก�ำไรทางธุรกิจมัก เป็นการท�ำก�ำไรที่ขาดเหตุผลและบางครั้งดู คล้ายกับการเอาเปรียบผูบ้ ริโภค Business Profit หรือก�ำไรจากธุรกิจจึงมีผลกระทบต่อ สังคมอยูบ่ อ่ ยๆ ดังนัน้ การท�ำธุรกิจในยุคใหม่ จะเอาก�ำไรทางธุรกิจอย่างเดียวคงไม่พอ

พระองค์ทรงแนะถึง Economic Profit หรือก�ำไรทีร่ ะบบเศรษฐกิจโดยรวมที่ ทุกคนได้รบั ร่วมกัน ทัง้ ผูป้ ระกอบการก็ได้ ผู้ บริโภคก็ได้ ประเทศชาติกไ็ ด้ เรียกว่า Win Win ทุกฝ่าย ตัวอย่างเช่นการผลิตสินค้าเกีย่ วกับ อุปโภคบริโภค ถ้าสินค้าดีมคี ณ ุ ภาพผูป้ ระโภค ก็ได้ประโยชน์ในทางกลับกัน ถ้าสินค้าขาด คุณภาพจะมีผลต่อผู้บริโภคโดยเฉพาะด้าน สุขภาพ นีค่ อื ตัวอย่างเล็กๆทีท่ ำ� ให้เราได้สติ จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. การมีเหตุผล ทุกอย่างต้อง ด�ำเนินไปอย่างมีเหตุและผลการท�ำธุรกิจ ต้องมีเหตุผลที่อธิบายได้ว่าท�ำไมต้องตั้ง ราคาอย่ า งนี้ ท� ำ ไมต้ อ งมี เงื่ อ นไขเช่ นนี้ เหตุผลเป็นหลักการของหลักธรรมาภิบาล ถ้าใครสามารถอธิบายถึงเหตุผลได้ ย่อมเกิด ความเชื่อถือเชื่อมั่นและเกิดการยอมรับใน สินค้านัน้ ๆ การมีเหตุผลยังรวมไปถึงการจ้าง แรงงาน ถ้าผลิตสินค้าราคาสูงมีคุณภาพ สูงๆค่าแรงงานก็ควรสูงกว่างานธรรมดา ไม่ใช่ผู้จ้างได้มากแต่แรงงานได้น้อย ก็ไม่มี เหตุผลในการอยู่ร่วมกันในทางธุรกิจ หลักการมีเหตุผล จะไม่สร้างผล กระทบให้ใคร เพราะทุกอย่างจะมีคำ� ชี้แจง ได้ ว ่ า ที่ ท� ำ ไปเพราะอะไร ดั ง นั้น ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความน่าเชื่อถือโดย ใช้หลักธรรมชาติเข้ามาอธิบาย - 022 -

World Business Forum

3.การมีภูมิคุ้มกันทางธุรกิจ ใน ปี พ.ศ. 2540 มีบริษัทขนาดใหญ่ต้องปิด กิจการลง พนักงานนับแสนคนทั่วประเทศ ต้องตกงาน สาเหตุส�ำคัญคือบริษัทเหล่านี้ มีหนีท้ างการค้าสูงขึ้น จากอัตราการแลก เปลีย่ นเงิน คนทีเ่ คยเป็นหนีอ้ ยู่ 20 - 25 ล้าน บาท ก็กลายเป็นหนีถ้ ึง 35 - 50 ล้านบาท เนื่ อ งจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ เ ราเองไม่ สามารถควบคุมมันได้ บริษัทที่ใช้เงินลงทุน ทีก่ ยู้ มื จากต่างชาติมปี ญ ั หามากทีส่ ดุ เพราะ ไม่สามารถสร้างผลก�ำไรตามทันอัตราหนีท้ ี่ เพิม่ ขึน้ ก็คงคล้ายกับร่างกายของมนุษย์ถ้า ไม่มภี มู คิ มุ้ กันพอเมือ่ มีโรคภัยเล็กๆน้อยๆก็ จะป่วยง่าย และถ้าเป็นโรคภัยที่ร้ายแรงก็ อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้เลย ผลตอบแทนทางธุรกิจทีล่ ดน้อยลง Law Of Dimnishing Returns มีผลกระทบ ต่อธุรกิจขนาดใหญ่มากเพราะธุรกิจขนาด ใหญ่มีผลประกอบการมากมีพนักงานมาก เมื่อเกิดอะไรขึ้นจนไม่สามารถแก้ไขได้ทัน เวลาก็จะท�ำให้บริษัทเหล่านี้ล้มลงได้ทันที ในขณะนี้การท�ำธุรกิจได้เปลี่ยน แปลงไปตามยุคสมัย ถ้าธุรกิจใดไม่มภี มู คิ มุ้ กั น ที่ ดี พ อก็ อ าจจะพบกั บ ปั ญ หาและ อุ ป สรรค หลั ก ของปรัช ญาเศรษฐกิจ พอ เพี ย ง เป็ น หลั ก การที่ ทั น สมั ย เข้ า กั บ เหตุการณ์มาก นักธุรกิจที่กำ� ลังสนุกอยู่กับ การลงทุ นขนาดใหญ่ น ่ า จะหั น มาศึ ก ษา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยึดถือปฏิบตั ิ อย่างจริงจังเช่น กลุ่มธุรกิจในบริษัทที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หลายแห่งก็เริม่ ปฏิ บั ติ แ ล้ ว กลุ ่ ม SMEs ดู จ ะเป็ นกลุ ่ ม ที่ เหมาะสมที่สุดกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพราะสามารถท�ำได้ง่ายกว่าธุรกิจขนาด ใหญ่ ถ้าเราได้ศกึ ษาอย่างลึกซึง้ แล้วเราก็จะ รู้ว่าพระองค์ท่านทรงมีพระวิสยั ทัศน์ทกี่ ว้าง ไกลมากกว่าที่พวกเราคิด.

ทวิ สั น ต์ โลณานุ รั ก ษ์

ประธานกิตติมศักดิ์ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา



NCC Business Magazine

ได้เข้าเฝ้าในหลวง ที่วัดถ�้ำกลองเพล เมื่อ 33 ปีก่อน

ในหลวงท่านทรงมี ความใกล้ชิดกับพระอริยสงฆ์และเป็นที่ทราบกันดีว่า พระองค์ท่านสามารถหยั่งรู้ระหว่างกันได้ ในปี พ.ศ. 2526 หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ�้ำกลองเพล ปัจจุบันอยู่ในอ�ำเภอหนองบัวล�ำพู จังหวัดอุดรธานี ท่านอาพาธ มาก ไม่สามารถปฏิบตั กิ จิ ของสงฆ์ ได้ตามปกติ ต้องจ�ำวัดทีก่ ฏุ ิ ในครัง้ นัน้ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมมหาราชินีนาถ ทรงเสด็จ เยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปู่ขาว

เหรียญหลวงปู่ฝั้น สร้างในปี 2520 ได้นำ� มา มอบให้โดยมหาดเล็ก ผู้ติดตามพระองค์ พวกเราได้รับ มอบมาคนละ1 องค์ โดยไม่มีใครสักถามอะไร แต่ลึกๆ ก็เชือ่ ว่าเป็นพระทีพ่ ระราชทานให้พวกเราทีไ่ ปเข้าเฝ้า ใน คืนนัน้ ถือเป็นมงคลแก่ชีวิตอย่างยิ่ง พระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์มายาวนาน ถึง 70 ปี โดยมีพระราชกรณียกิจมากมาย จนพวกเราก็ จ�ำได้ไม่หมด แต่ทกุ ๆโครงการทีพ่ ระองค์ทา่ นทรงด�ำเนิน

หลวงปู่ขาว อนาลโย ท่านเป็น ช า ว อ� ำ เ ภ อ หั ว ต ะ พ า น จั ง ห วั ด อ�ำนาจเจริญ เป็นพระในนิกายธรรมยุตกิ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นหลัก พวก เรามักเรียกท่านว่าพระสายป่า ความ สันโดษและการเคร่งในหลักธรรมเป็นที่ ยอมรับศรัทธามาโดยตลอด ค�ำสอนที่ ส�ำคัญของหลวงปู่ขาวที่ผู้เขียนได้น�ำมา เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวติ 3 ประการ

มันถูก...... เราจึงพูด มันถูก...... เราจึงท�ำ มันถูก...... เราจึงนึกคิด พวกเราได้มีโอกาสเดินทางไป เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ ขณะเยีย่ มอาการอาพาธของหลวงปูข่ าว ที่ วั ด ถ�้ ำ กลองเพลคื น นั้ น ราว 4 ทุ ่ ม พระองค์ท่านเสด็จกลับจากการส�ำรวจ แหล่งน�้ำบริเวณใกล้วัดถ�้ำกลองเพลกับ ข้าราชการกรมชลประทาน เพื่อหาทาง ช่วยประชาชนที่ขาดน�้ำท�ำการเกษตร ภาพที่ผู้เขียนจ�ำได้แม่นย�ำคือพระหัตถ์ ของพระองค์มีเอกสารปึกใหญ่คงเป็น แผนที่เมื่อกลับถึงกุฏิหลวงปู่ขาวท่านขึ้น ไปกราบหลวงปู่ พวกเราก็เฝ้าพระองค์ ท่านทีใ่ ต้กฏุ ิ และทรงรับสัง่ เรือ่ งงานสร้าง โรงสีกับพวกเราเล็กน้อย

แม้ นจะเป็ น เวลาสั้ น ๆที่ ไ ด้ มี โอกาสเข้าเฝ้าพระองค์ท่าน พวกเราก็ได้ เห็นความจริงจังในการทรงงานเพื่อชาว บ้านได้อย่างชัดเจน สิ่งที่พวกเราที่เดิน ทางไปเข้าเฝ้าในคืนนัน้ เป็นเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ เมื่อ 33 ปีก่อน แต่มาถึงวันนี้มันยิ่งเพิ่ม ส�ำคัญในชีวิต ของผู้ได้รับโอกาสอย่าง พวกเราอย่างหาที่สุดมิได้

การและมี พ ระราชด� ำ ริ พ ระองค์ ท ่ า นทรงเห็ น แก่ ผ ล ประโยชน์ของปวงชนชาวไทยเป็นส�ำคัญ ไม่แปลกอะไร ที่ ค นไทยทั้ ง ประเทศต้ อ งร้ อ งไห้ เมื่ อ ทราบข่ า วการ สวรรคต และผู้น�ำทุกประเทศต่างแสดงความอาลัย พระองค์ แม้นแต่องค์กรขนาดใหญ่อย่างสหประเทศชาติ ก็ยังมีวาระสดุดีพระเกียรติคุณของพระองค์ท่านในที่ ประชุมใหญ่ด้วย เราคนไทยมีพ่อหลวงอย่างพระองค์ ท่านถือว่าตายก็ไม่เสียชาติเกิดครับ.

เล่าเรื่องโดย ... นายทวิสันต์ โลณานุรักษ์ ประธานกิตติมศักดิ์ หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

- 024 -



NCC Business Magazine กฏหมายธุ ร กิ จ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เนติบัณฑิตกิตติมศักดิ์

เมือ่ วันที่ 26 มกราคม 2495 นับเป็นวันมหามงคลทีพ ่ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 ได้ทรงรับเกียรติเป็นเนติบณ ั ฑิตกิตติมศักดิแ์ ห่ง เนติบณ ั ฑิตยสภา และนับแต่นนั้ มาเมือ่ มีผสู้ ำ� เร็จการอบรมศึกษากฎหมายจาก เนติบัณฑิตยสภาในแต่ละสมัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จะเสด็จไป พระราชทานประกาศนียบัตรเนติบณ ั ฑิตให้แก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา วันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม 2524 เป็นวันส�ำคัญวันหนึง่ ทีผ่ เู้ ขียนต้องจดจ�ำไป ตลอดชีวติ เนือ่ งจากวันดังกล่าวผูเ้ ขียนได้มโี อกาส เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ต่อหน้าพระพักตร์ โดยคุกเข่าเข้ารับพระราชทานประกาศนียบัตรเนติบณ ั ฑิตยสภา จาก พระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ผูเ้ ขียนมีความภาคภูมใิ จและรูส้ กึ ส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ นอกจากนัน้ ในวันดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้มพี ระบรมราโชวาท และพระราชด�ำรัสให้แก่ผ้เู ข้ารับพระราชทาน จ�ำนวน 548 คน ซึง่ เนือ้ หาของพระบรม ราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงสอนให้ผสู้ ำ� เร็จเนติบณ ั ฑิต เข้าใจถึงแก่นแท้ ของกฎหมาย คือ ความยุตธิ รรม ผูเ้ ขียนจึงขอน้อมน�ำพระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ มาน�ำเสนอให้ผอู้ า่ นได้รบั ทราบ เพือ่ เป็นการส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ดังนี้

พระบรมราโชวาท และพระราชด�ำรัส

“ข้าพเจ้ามีความยินดี ทีไ่ ด้มาท�ำพิธมี อบประกาศนียบัตรแก่ผสู้ อบไล่ได้ ตามหลักสูตรของส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา รุน่ ที่ 33 และ ขอแสดงความชื่นชมกับเนติบัณฑิตใหม่ทุกคน ที่ได้รับเกียรติและความส�ำเร็จ พร้อมทัง้ โอกาสอันงดงามทีจ่ ะได้ประกอบการงานด้านกฎหมาย ซึง่ เป็นงานส�ำคัญ ทีส่ ดุ ส่วนหนึง่ ของบ้านเมือง มีคำ� พูดทีพ ่ ดู ถึงนักกฎหมายอยูอ่ ย่างหนึง่ ว่า “คนที่ ท�ำงานกับกฎหมายมาก ๆ มักจะติดอยูก่ บั ตัวบทกฎหมาย” ค�ำพูดอย่างนีด้ จู ะไม่ใช่ ค�ำชม หากเป็นค�ำติตงิ นักกฎหมายบางคน ทีถ่ อื แต่ตวั กฎหมายเป็นหลักการในการ ธ�ำรงรักษาความยุตธิ รรม ซึง่ ดูจะเป็นการคับแคบเกินไป และอาจท�ำให้รกั ษาความ ยุตธิ รรมไว้ได้ไม่เต็มที่ ผูท้ ำ� หน้าทีพ ่ ทิ กั ษ์ความยุตธิ รรมหรือความเป็นธรรมจึงควร ระมัดระวังให้มาก คือควรจะได้ทำ� ความเข้าใจให้แน่ชดั ว่ากฎหมายนัน้ ไม่ใช่ตวั ความ ยุตธิ รรม เป็นแต่เพียงเครือ่ งมืออย่างหนึง่ ส�ำหรับใช้ในการรักษาและอ�ำนวยความ ยุตธิ รรมเท่านัน้ การใช้กฎหมายจึงต้องมุง่ หมายใช้เพือ่ รักษาความยุตธิ รรมไม่ใช่ เพือ่ รักษาตัวบทของกฎหมายเอง และการรักษาความยุตธิ รรมในแผ่นดินก็มไิ ด้มี วงแคบอยู ่ เพี ย งแค่ ข อบเขตของกฎหมาย หากต้ อ งขยายออกไปให้ ถึ ง ศี ล ธรรมจรรยา ตลอดจนเหตุและผลตามเป็นจริงด้วย ท่านทัง้ หลายชอบทีจ่ ะตัง้ ความ คิด จิตใจไว้ให้ถูกต้องเป็นอิสระ ทั้งเพียงพยายามที่จะฝึกหัดตนให้เป็นคนกล้า หมายถึงกล้าทีจ่ ะท�ำตามความถูกต้องเป็นธรรม ไม่ยอมตัวให้ตดิ อยูก่ บั ความคิด และแบบวิธอี นั คับแคบเพือ่ ช่วยกันต่อสูป้ อ้ งกันมิให้สจุ ริตยุตธิ รรมต้องถูกข่มยีให้ เศร้าหมองและก�ำจัดสิง่ ทีเ่ รียกว่าช่องโหว่ในกฎหมาย ให้ลดน้อยหมดสิน้ ไป การ ใช้กฎหมายของเราก็จะบรรลุถงึ จุดหมายอันสูงส่งทีม่ งุ่ ประสงค์ได้ในทีส่ ดุ ขออวยพร ให้ทกุ คนประสบความสุข ความเจริญ ความส�ำเร็จในชีวติ และการงานพร้อมถ้วนทุกประการ”

พระบรมราโชวาท และพระราชด�ำรัสดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงสอนให้นกั กฎหมายมี ความเข้าใจถึงแก่นแท้ของกฎหมายอย่างลึกซึง้ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ไม่ตอ้ งการให้นกั กฎหมายยึดติดกับ ตัวกฎหมายมากเกินไป และทรงเน้นว่า กฎหมายนัน้ ไม่ใช่ ความยุตธิ รรม เป็นเพียงเครือ่ งมืออย่างหนึง่ ส�ำหรับใช้ในการ รักษาความยุตธิ รรมเท่านัน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ต้องการให้นกั กฎหมายเป็นคนกล้าทีจ่ ะท�ำตามความถูกต้อง เป็นธรรม ไม่ยอมตัวให้ตดิ กับความคิดวิธคี บั แคบ เพือ่ ช่วย ป้องกันมิให้ความสุจริต ยุตธิ รรม ต้องถูกย�ำ่ ยีให้เศร้าหมอง และก�ำจัดสิง่ ทีเ่ รียกว่าช่องโหว่ของกฎหมาย ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมน�ำพระบรมราโชวาทและ พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 ไปประพฤติปฏิบตั ิ และจักบ�ำเพ็ญตนเป็นพลเมืองดีตลอด จนกว่าชีวติ จะหาไม่ และขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมเสด็จ สูส่ วรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

วี ร ะศั ก ดิ์ บุ ญ เพลิ ง

- 026 -

รองประธานฝ่ายกฎหมายและธรรมาภิบาล หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา



NCC Business Magazine ของดี . ..เมื อ งโคราช

เราเชื่อว่าคนโคราชต่างก็รู้จัก ร้านบะหมีช่ อื่ ดัง “น้อย หลักเมือง” กันอยู่ แล้ว ซึง่ ร้านนีเ้ ขามีชอื่ เต็มว่า ก๋วยเตีย๋ วเสวย น้ อ ย หลั ก เมือง ซึ่งนามนี้ก็มีที่มาที่น่า ประทับใจ เราจึงไปพูดคุยกับร้านน้อย หลักเมืองกัน “เฮียน้อย” แห่งร้านน้อย หลักเมือง เล่าให้เราฟังว่าร้านน้อย หลักเมือง นัน้ ขาย มานานมาก ตั้งแต่ราว 80 ปีที่แล้ว สมัยนัน้ ยังเป็นรถเข็นบะหมี่ป๊อกๆของคุณลุงเฮีย น้อย อยูใ่ นซอยใกล้ๆ กับทีต่ งั้ ร้านปัจจุบนั มี การย้ายร้านสองครัง้ และมาอยูท่ ตี่ งั้ ปัจจุบนั ตั้งแต่ 40 ปีที่แล้ว บะหมี่ที่นี่ใส่ใจและลวกเส้นด้วย ฝีมอื ของ“เฮียน้อย”และภรรยา“เจ๊สมัย” ทุก ชาม ทุกขั้นตอน เป็นที่ถูกใจของบรรดา

ก๋วยเตี๋ยวเสวย น้อย หลักเมือง เล่าถึง 5 วันที่อิ่มใจที่สุดในชีวิต

Story : โดย ชายแสบ

“เฮียน้อย”บอกถึงความรู้สึกใน ตอนนัน้ ว่า เนือ่ งจากเป็นร้านอาหารไม่กแี่ ห่ง ที่ถูกเชิญเข้าไป ก็รู้สึกตื้นตันใจมาก 5 วันที่ ได้เข้าไปท�ำบะหมี่เกี๊ยวถวายในหลวง เป็น 5 วันที่อิ่มอกอิ่มใจอย่างที่สุด ข้าวปลาแทบ ไม่ได้ทานเพราะอิ่มใจจริงๆ เรื่องราวของเฮียน้อยที่ได้เข้าไป ปรุงบะหมีเ่ สวย เป็นเรือ่ งเล่ากันทัว่ โคราช แต่ เมื่อถามว่าร้านชื่ออะไรในตอนนัน้ ก็ยังไม่มี ชื่อร้าน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายก รัฐมนตรีในขณะนัน้ ซึ่งก็เป็นลูกค้าประจ�ำ ของร้านน้อยหลักเมืองด้วย เลยแนะน�ำให้ตงั้ ชื่อร้านตามที่ตั้ง ก็คือก๋วยเตี๋ยวเสวย น้อย หลักเมือง ในปัจจุบันนัน่ เอง.

ข้าราชการ ตลอดจนทหารแม่ทัพในค่าย สุรนารี จนเป็นที่มาของชื่อร้านในปัจจุบัน “เฮียน้อย”เล่าว่าระหว่างวันที่ 1-5 เมษายน ปีพุทธศักราช 2524 พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช พร้อม สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถและ พระบรมวงศานุวงศ์ ได้เสด็จฯ แปรพระราช ฐาน มาที่ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ร้านน้อย หลักเมือง ถูกเชิญไปท�ำเครือ่ งเสวย ถวายในหลวง โดยตอนนัน้ มีรา้ นอาหารจาก นอกเขตพระราชฐานได้เข้าไป 2 ร้าน (อีก ร้านหนึง่ ก็ยังมีอยู่ แต่เปลี่ยนเจ้าของแล้ว) เมื่ อ เราถามถึ ง ลั ก ษณะบะหมี่ ที่ ในหลวงโปรด เฮียน้อยบอกว่าพระองค์โปรด บะหมีเ่ กีย๊ วแห้ง ใส่ถวั่ งอกเด็ดราก ซึง่ ได้ปรุง ถวายทุกวัน - 028 -

ร้านก๋วยเตี๋ยวเสวย น้อย หลักเมือง อยู่ใกล้สี่แยกหลักเมือง ขายทุกวัน ตั้งแต่เวลา 6:00-14:00น. ดูข้อมูลร้านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์วงใน ข้อมูลจาก www.facebook.com/Wongnai



NCC Business Magazine เมื อ ง...เรื่ อ งของเรา

ศาสตร์ พ ระราชา

"เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง" พั ฒ นาเมื อ งให้ ยั่ ง ยื น

โดยทั่วไป "ความยั่งยืน" มีความหมายกว้างกว่า “ความพอเพียง” เพราะ ความยั่งยืนเป็น “การอยู่ไปได้อย่างมั่นคง” ในขณะที่ความพอเพียงเป็น “การกระท�ำที่ พอดีกบั ศักยภาพของตน” ซึง่ การใดก็ตามทีก่ อ่ ให้เกิดความพอเพียงมีแนวโน้มน�ำไปสู่ ความยั่งยืนได้ ในที่สุด ความพอเพียงจึงเป็นเสมือนประตูที่เปิดเข้าไปถึงความยั่งยืน ค�ำว่าการพัฒนาแบบยัง่ ยืนของฝรัง่ เริม่ มาจากเรือ่ งสิง่ แวดล้อม ขณะทีใ่ นบ้านเรามี ความลึกกว่าฝรัง่ เพราะความยัง่ ยืนของเรานัน้ หมายถึงยัง่ ยืนด้วยประการทัง้ ปวง สิง่ แวดล้อม ก็รวมด้วย เศรษฐกิจก็รวมด้วย คุณธรรมจริยธรรมก็รวมด้วย พัฒนาไปแล้วมีความดีเกิดขึน้ ถ้า พัฒนาไปแล้วมีความชัว่ มีความเลว ทุจริต แก่งแย่งแข่งขัน โลภโมโทสัน ไม่ถอื ว่ายัง่ ยืน ฉะนัน้ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนต้องมีความดี แล้วทัง้ หมดสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชพระราชทานทฤษฎีนใี้ ห้ เพราะ เศรษฐกิจพอเพียงก็คอื การท�ำอะไรทีพ่ อประมาณ ทีส่ มเหตุสมผล ทีม่ ภี มู คิ มุ้ กันป้องกันความ เสีย่ ง มีภมู คิ มุ้ กันหมายความว่าป้องกันความเสีย่ ง เกิดปัญหาอะไรขึน้ ก็รองรับได้ การออมทรัพย์ไว้ก็เป็นการป้องกันความเสี่ยงมีภูมิคุ้มกัน การรักษาคุณภาพดิน คุณภาพน�ำ้ ก็คอื ป้องกันความเสีย่ ง การปลูกพืชหลายๆ อย่างก็เป็นการป้องกันความเสีย่ ง ทีย่ งั ป้องกันได้ยากก็คอื ปัญหาภัยธรรมชาติ ก็มที างถ้าเกิดว่าเราสามารถจัดระบบการประกันภัยพืช ผล การประกันภัยพืชผลเป็นเรือ่ งยากแต่ทำ� ได้เป็นวิธปี อ้ งกันความเสีย่ ง ชุมชนเมืองสมัยใหม่ของไทยไม่ค่อยพร้อมรับความเสี่ยง เนื่องจากเป็นที่รวมของ ปัญหาจากการพัฒนาทีไ่ ม่พอเพียง มีการบริโภคทรัพยากรโดยไม่คำ� นึงถึงความพอดีและขีดจ�ำกัด ของธรรมชาติเพือ่ น�ำมาปรนเปรอความต้องการอันเกินพอดีของผูค้ นในเมือง จึงสามารถกล่าว ได้วา่ ชุมชนเมืองของไทยคือตัวแทนของความไม่พอเพียง หากไม่เร่งน�ำระบบความคิดเรือ่ ง “ความพอเพียง” เข้ามาใช้แก้ปญ ั หาในชุมชนเมือง ปัญหาทัง้ หลายจะสะสมกันมากจนกระทัง่ ถึงระดับทีเ่ กินก�ำลังของเมืองจะรับมือและแก้ไขได้อกี ต่อไป หลักการส�ำคัญทีส่ ดุ ของชุมชนเมืองทีพ่ อเพียง คือการเป็นชุมชนเมืองทีม่ กี ารสนอง ความต้องการของผูค้ นในระดับทีพ่ อเพียงตามล�ำดับขัน้ ซึง่ สอดคล้องกับคุณสมบัตขิ องความ พอเพียง ทีม่ งุ่ เน้นให้มกี ารพัฒนาตามล�ำดับขัน้ จากระดับทีจ่ ำ� เป็นขัน้ พืน้ ฐานสูร่ ะดับทีส่ งู ขึน้ ไป และจากภายในใกล้ตวั กระจายออกสูภ่ ายนอก ผูค้ นภายในชุมชนเมืองต้องมีความพอเพียงจาก การได้รบั ปัจจัยพืน้ ฐานในการด�ำรงชีวติ อย่างพอเพียงเป็นล�ำดับแรก มีความมัน่ คงในชีวติ มี สภาพแวดล้อมทีด่ ี มีทอี่ ยูอ่ าศัย ระบบบริการพืน้ ฐาน สุขอนามัย และแหล่งประกอบอาชีพ อย่างพอเพียงกับความต้องการ ขัน้ ต่อมาคือความพอเพียงจากการสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ ในสังคม มี

- 030 -

การพึง่ พาและเกือ้ กูล ระหว่างกัน อันจะน�ำมาสูค่ วามพอ เพียงจากการน�ำภูมปิ ญ ั ญาทีไ่ ด้จากการเรียนรูร้ ว่ มกันมา ใช้ในการพัฒนา และมีการสืบทอดภูมปิ ญ ั ญา น�ำมาสู่ ความพอเพียงในจิตใจในขัน้ สูงสุด หน่วยทางสังคมกลุม่ ย่อยทีส่ ร้างขึน้ ยิง่ มีขนาด เล็กเท่าไร ย่อมมีนยั ว่าการสนองความต้องการภายใน หน่วยย่อมท�ำได้ง่ายเช่นกัน โอกาสในการสนองความ จ�ำเป็นเพือ่ ให้เกิดความพอเพียงส�ำหรับแต่ละกลุม่ จึงย่อม ท�ำได้งา่ ย เนือ่ งจากเป็นขนาดทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับ ศักยภาพในการบริหารจัดการ การแบ่งชุมชนเมืองออก เป็นกลุม่ ย่อยเช่นนีส้ ง่ ผลให้ชมุ ชนเมืองจะมีลกั ษณะเป็น เมืองใหญ่ที่เกิดขึ้นจากองค์ประกอบย่อยๆ ภายในที่ โยงใยสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน ซึง่ ในสภาพความเป็นจริงนัน้ ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่หน่วยทางสังคมหนึ่งๆจะสมบูรณ์ พร้อมในทุกๆด้านอย่างเบ็ดเสร็จ สามารถพึง่ พาตัวเองได้ อย่างพอเพียงในทุกๆ ด้าน จึงจ�ำเป็นต้องมีการติดต่อและ สัมพันธ์กบั หน่วยอืน่ ๆ เพือ่ ให้เกิดการแลกเปลีย่ นระหว่าง กันในสิง่ ทีแ่ ต่ละฝ่ายขาด เกิดเป็นการพึง่ พาระหว่างกัน จากหน่วยทีอ่ ยูใ่ กล้สหู่ น่วยทีอ่ ยูไ่ กลและจากหน่วยเล็กสู่ หน่วยใหญ่ เมือ่ กลุม่ ย่อยภายในเมืองมีความพอเพียงใน ระดับหนึง่ แล้ว ย่อมส่งผลให้การรวมกลุม่ เป็นเมืองใหญ่ มีความพอเพียงในภาพรวมด้วยเช่นกัน ตัวอย่างชัดเจนคือโครงการพัฒนาชุมชน "วัด พระราม 9 กาญจนาภิเษก" โดยพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เป็น ปรับปรุงสภาพพืน้ ทีบ่ ริเวณโครงการและพืน้ ทีข่ า้ งเคียง ของโครงการบึงพระราม 9 ซึง่ มูลนิธชิ ยั พัฒนาได้สนอง พระราชด�ำริจดั สร้างวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษกตาม แนวพระราชด�ำริเและพัฒนาชุมชนให้เป็นศูนย์ชมุ ชนใน ระดับย่านพักอาศัย มีวดั เป็นศูนย์รวมทางจิตใจเพือ่ เสริม สร้างจริยธรรมในสังคม และมีโรงเรียนเป็นสถานที่ให้ ความรูแ้ ก่เยาวชน เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ให้มคี วามรูค้ จู่ ริยธรรม โดยการรวมความผูกพันระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน หรือ "บ ว ร" ตามหลักการวางผังเมือง ชุมชนเมืองทีพ่ อเพียงทีเ่ ริม่ จากหน่วยเล็กทีส่ ดุ คือ ชุมชน ละแวกบ้านทีข่ ยายผลถึงโครงข่ายชุมชนในสังคมขนาด ใหญ่ตอ่ ไป วันนี้ หากปวารณาตน "จะขอเป็นข้ารอง บาททุกชาติไป" แล้วล่ะก็ ควรร่วมกันขยายผลโครงการ ในพระราชด�ำริให้เบ่งบานไปยังพื้นที่ต่างๆ ให้ผู้คนมี ความสุขเช่นเดียวกับโครงการในพระราชกรณียกิจทีม่ อบ ไว้ให้พวกเรา ชูศาสตร์พระราชา ยึดเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาชาติ พัฒนาเมืองเชือ่ มชนบท สร้างความเข้มแข็ง ตัง้ แต่ระดับฐานราก มีความสมดุลในทุกมิตใิ ห้ได้ครับ.

วิ ท ยา เรื อ งฤทธิ์



พระมหากษัตริย์ นักพัฒนา ผู้ยิ่งใหญ่ สู่...พระบิดาแห่งฝนหลวง “ฝนหลวง” เป็นหนึ่งในโครงการพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่นอกจาก จะแสดงให้เห็นถึงความห่วงใยในความเดือดร้อนของพสกนิกรแล้ว ยังแสดงถึงพระอัจฉริยภาพของ พระองค์ท่าน ในการแก้ปัญหาภัยแล้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์เดียวในโลก ที่ทรงตรากตร�ำพระวรกายเพื่อพสกนิกร ด้วย การบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ เพื่อความผาสุกของอาณา ประชาราษฎร์ ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ ไขปัญหาความเดือด ร้อนของราษฎร เสมือนหนึ่งเป็นความทุกข์ของพระองค์ ทรงใช้พระ อัจฉริยะภาพในด้านต่าง ๆ พระราชทานโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระ ราชด�ำริ ในการพัฒนาชาติและประโยชน์ของทุกคน “ฝนหลวง” เป็นหนึง่ ในโครงการพระราชด�ำริ ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทีน่ อกจากจะแสดงให้เห็นถึงความห่วงใยในความ เดือดร้อน ของพสกนิกรแล้ว ยังแสดงถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ ท่าน ในการแก้ปัญหาภัยแล้ง ทุกครั้งที่ประเทศไทย ต้องเผชิญภัยแล้ง หรือฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล พืชไร่ นาข้าวเสียหาย เพราะขาดน�ำ้ หล่อเลี้ยง ผืนดินแตกระแหง แม่นำ�้ ล�ำคลองแห้งขอด น�ำความทุกข์สิ้น หวังมาสูร่ าษฎรอย่างมากมาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ มิได้ทรง นิ่งเฉยจะทรงตรากตร�ำพระวรกายศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทรง วิเคราะห์ และพระราชทานค�ำแนะน�ำแก่ผเู้ กีย่ วข้อง จนน�ำมาสู่ “ปฏิบตั ิ การฝนหลวง” ในที่สุด

ฝนหลวง คือ การน�ำกระบวนการจัดการทรัพยากรน�้ำใน บรรยากาศมาใช้ประโยชน์ โดยการเหนี่ยวน�ำไอน�้ำในบรรยากาศให้ กลั่นตัวเป็นละอองน�ำ้ ซึ่งเมื่อรวมตัวกันหนาแน่นจะท�ำให้เกิดเป็นเมฆ และเมื่อเร่งให้เมฆรวมตัวกันหนาแน่นจนเพิ่มปริมาณมากขึ้นจะท�ำให้ เกิดฝนตกได้ กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงศึกษา ค้นคว้าและทดลองจน ณ ปัจจุบัน สามารถบังคับฝนตกสู่พื้นที่เป้า หมายได้สำ� เร็จ จากสภาพแห้งแล้งกันดาร กลับกลายเป็นความสดชืน่ ชุ่มฉ�ำ่ อีกครั้งหนึง่ พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในเรื่องฝนหลวงเป็นที่ประจักษ์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเห็นชอบน้อมเกล้าฯ ถวายพระนามเพื่อแสดงความจงรักภักดีและเทิดพระเกียรติให้ ทรงเป็ น “พระบิ ด าแห่ ง ฝนหลวง” และก�ำ หนดให้ วันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็น “วันพระบิดาแห่งฝนหลวง” เนื้อเรื่องโดย หน่วยเฉพาะกิจทัพพระยาเสือ www.surasee.com

- 032 -



NCC Business Magazine Korat new style

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ( Sufficiency Economy ) จะน�ำมาใช้กับ SMEs ได้อย่างไร ? พอเพียงก็เพียงพอแล้วค�ำๆนี้ หลายคนอาจตีความว่า เป็นการอยู่เเบบ พอกิน พอใช้ ไม่เติบโตกว่านี้ ก็เป็นสิ่งที่น่าคิดว่า แล้วพอเพียง สามารถใช้กับการท�ำธุรกิจ ให้อยู่รอด และเติบโตอย่างยั่งยืน ได้จริงหรือไม่ อย่างไร ตีความผิด ชีวิตเปลี่ยน เมื่อปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้บอกว่า ห้ามรวย และให้อยู่อย่างจนๆ

เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้บอกว่าเราห้ามรวย ไม่ได้ หมายความว่าให้เราจน เรารวยในแบบฉบับของเราได้ เดินที ละก้าว กินข้าวทีละค�ำ พึ่งพาตนเองให้ ได้ และต้องไม่ท�ำเกิน ก�ำลัง ไม่เน้นฉาบฉวย รวยวูบวาบ จนแบบวูบวาบ เน้นการ เติบโตอย่างยัง่ ยืน ดังนัน้ จึงใจร้อนไม่ได้ จากพืน้ ฐานหลัก ของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน แนวคิดคือ อยู่ได้ด้วยตนเอง พึ่งพา ตนเองได้ พื้นฐานทางเศรษฐกิจตนเองต้องดีก่อน มีกินมีใช้ มีสมดุลชีวิต มีความ มั่นคงเพียงพอ และมีภูมิคุ้มกัน ต่อการเกิดผลกระทบใดๆ ทั้งจากปัจจัยที่เราคุม ได้ และปัจจัยภายนอกทีไ่ ม่สามารถควบคุมได้ และพร้อมต่อการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วในทุกๆด้านการน�ำมาปรับใช้ กับการท�ำธุรกิจ จึงมีหลักคิดดังนี้ 1.พอประมาณ พึ่งพาตนเอง ท�ำได้ด้วยตนเอง รู้ลึก รู้จริงในธุรกิจของ ตน และสามารถสร้างจุดแข็งในธุรกิจ ให้แตกต่างอย่างชัดเจนได้ ต้องรู้จักตนเอง รู้จักก�ำลังที่ตนมี ไม่ท�ำในสิ่งที่เกินก�ำลังความสามารถของเรา และรักษาสมดุลใน ชีวิต การงาน การเงิน ครอบครัว สังคม ไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง สมดุลชีวิตยัง คงอยู่ ปลูกมะม่วงไว้คา้ ขาย ก็ตอ้ งไม่ลมื ปลูกถัว่ งอกด้วย มะม่วง 3 ปีเก็บเกีย่ ว ขายได้ เราก็ยังมีถั่วงอก ไว้ขายให้เงินไหลเข้าบ้าน ได้ในทุกๆวัน ไม่พึ่งพาเเหล่ง รายได้ แหล่งใดแหล่งหนึง่ และยังช่วยกระจายความเสีย่ งอีกด้วย นีค่ อื การปรับใช้ จากเกษตรทฤษฎีใหม่ สู่การท�ำธุรกิจของ SMEs 2.มีเหตุผล ในการตัดสินใจ ภายใต้ชดุ ข้อมูลต่างๆ ไม่ใช้อารมณ์มาตัดสิน ใจ ท�ำหรือผลิตโดยไม่เกินตัว ไม่เกินก�ำลัง รูว้ า่ ความต้องการในตลาดจริง มีเท่าไหร่ ผลิตเท่านัน้ อาจใช้การผลิตแบบ Just in time ก็ท�ำได้ ซึง่ วิธกี ารนี้ จะช่วยให้เราไม่ผลิต ออกมามากเกินก�ำลัง และทุนไม่จมไปกับสินค้าทีข่ ายไม่ได้ ถ้าผลิตเกินความต้องการ

จะเกิดเรือ่ งของ การผลิตสินค้าของตนเองมาจ�ำนวนมากเเล้วขายไม่ได้ เพราะ Over Supply ซึง่ จะท�ำให้โดนสินค้าของตัวเองทับตาย จึงต้องเร่งหาทางระบายสินค้าออกไป อาจจะต้องใช้วธิ กี ารตลาด โดยสร้าง Demand ทีไ่ ม่จำ� เป็น หรืออาจจะใช้การให้เครดิต กับลูกค้า ซึง่ นัน่ จะท�ำให้เกิดผลกระทบต่อระบบโดยรวมอีก แถมต้นทุนหมุนเวียน ก็ ลงไปจมกับสินค้ากองนีอ้ กี อย่างนีค้ อื ผลิตเกินก�ำลัง ไม่ใช่การผลิตตามก�ำลัง แบบนี้ จะพังทัง้ ระบบ ท�ำน้อยให้ได้มาก อย่าท�ำมากแล้วได้นอ้ ย การสร้าง Value ให้กบั สินค้า ของตนและผลิตตามความต้องการของตลาด จึงเป็นทางออกในข้อนี้ 3. มีภมู คิ มุ้ กัน และยืนด้วยก�ำลังของตัวเอง เพือ่ มีภมู คิ มุ้ กันส�ำหรับพร้อม รับมือ กับสิง่ ทีค่ วบคุมไม่ได้ทงั้ จากภาวะแวดล้อมภายใน และจากปัจจัยภายนอก เช่น การเงิน กฎหมาย กลไกตลาด แรงงาน ต่างๆ ไม่วา่ เราจะเก่งมากแค่ไหน ไม่วา่ เราจะ ควบคุมปัจจัยภายใน เช่น แรงงาน การเงิน ต้นทุนการผลิตต่างๆ ย่อมมีสงิ่ ทีเ่ ราควบคุม ไม่ได้อยู่ดี นีค่ อื หลักธรรมชาติ ดังนัน้ เราต้องมีทางรับมือ และพึง่ พาตนเองได้ มี ภูมคิ มุ้ กันทีด่ ี เพือ่ ลดความเสีย่ งต่อธุรกิจ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ได้ และเมือ่ เราเข้มเเข็ง ยืน ได้ดว้ ยตนเอง รากฐานของตนเองแน่นพอ แข็งแรงพอแล้ว เราจึงค่อยขยับรากฐานไป สูช่ มุ ชน แบ่งปันผูอ้ นื่ และช่วยเหลือผูอ้ นื่ ให้แข็งแรงตามไปด้วย จะขยายกิจการ ขยาย ให้ถกู วิธ.ี ...เราสามารถ Duplicate ธุรกิจของเรา ให้ผอู้ นื่ น�ำไปท�ำได้หรือไม่ นี่คือโจทย์ในการขยายธุรกิจ โดยที่เราไม่ต้องลงทุนสร้างสิ่งใดเพิ่มเติม ใช่ครับ ผมก�ำลังพูดถึงระบบ เฟรนไชส์ ขยายกิจการแบบไม่ต้องใช้เงินลงทุนเพิ่ม ได้เงินก้อนกลับมา และได้เงินย่อยในทุกๆวัน เอาทรัพยากรที่เรามี มาแบ่งปันกัน แบ่งให้คนอื่น ได้เงินบ้าง ไม่กินรวบคนเดียวเหล่านี้ทำ� ได้ เมื่อรากฐานเราเเน่นแล้ว คือการแบ่งปันสู่สังคม ท�ำให้สังคมเข้มเเข็งเน้นการเติบโตแบบยั่งยืน นี่ จึงเป็นแนวทางของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือปัญญา ที่ในหลวง ทรงเดินไว้ เป็นแนวทางให้เราก้าวตามรอยพระองค์ท่าน #ภูมิปัญญาของพระราชา

- 034 -

เอฟ นกออก

บริษัท นกออก ( Nok-Ook ) Tel. 083-3491638, 081-2653158, 088-7074828 Mail : ekkalak@nok-ook.com


วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา แปรอักษรเป็นเลข ๙ แสดงความอาลัย อาจารย์-นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา กว่า 1,500 คน แปรอักษรเป็นเลข ๙ แสดงความอาลัยต่อในหลวงรัชกาลที่๙

- 035 -


ปรัชญาของ

NCC Business Magazine Stat : สถิ ติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง ห่วง 1 . ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไี่ ม่ น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ นื่ เช่น การผลิตและการบริโภคทีอ่ ยูใ่ นระดับพอประมาณ ห่วง 2 . ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกีย่ ว กับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้องตลอดจนค�ำนึงถึงผลทีค่ าดว่า จะเกิดขึน้ จากการกระท�ำนัน้ ๆ อย่างรอบคอบ ห่วง 3 . การมีภมู คิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัว หมายถึงการเตรียม ตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลีย่ นแปลงด้านต่าง ๆ ทีจ่ ะ เกิดขึน้ โดยค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทีค่ าด ว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล

เศรษฐกิจพอเพียง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทาน

เป็นที่มาของนิยาม

"3 ห่วง 2 เงื่อนไข" อ้างอิง : กรมประชาสัมพันธ์เขต1 www.prd.go.th

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีท่ รงปรับปรุงพระราชทานเป็นทีม่ า ของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอ เพียง ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ น�ำ มาใช้ ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสือ่ ต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มี ภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุง่ เน้นให้บคุ คลสามารถประกอบอาชีพได้อย่าง ยัง่ ยืน และใช้จา่ ยเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามก�ำลังของเงินของบุคคล นัน้ โดยปราศจากการกูห้ นีย้ มื สิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วย เหลือผูอ้ นื่ บางส่วน และอาจจะใช้จา่ ยมาเพือ่ ปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุทแี่ นวทาง การด�ำรงชีวติ อย่างพอเพียง ได้ถกู กล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพ การด�ำรงชีวติ ของสังคมทุนนิยมในปัจจุบนั ได้ถกู ปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุน้ ให้เกิด การใช้จา่ ยอย่างเกินตัว ในเรือ่ งทีไ่ ม่เกีย่ วข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการด�ำรงชีวติ เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัว ตามแฟชัน่ การพนันหรือเสีย่ งโชค เป็นต้น จนท�ำให้ไม่มเี งินเพียงพอเพือ่ ตอบสนอง ความต้องการเหล่านัน้ ส่งผลให้เกิดการกูห้ นีย้ มื สิน เกิดเป็นวัฏจักรทีบ่ คุ คลหนึง่ ไม่ สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการด�ำรงชีวิต บทสรุป ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข

- 036 -

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงือ่ นไข 1. เงือ่ นไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ วกับ วิชาการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะน�ำ ความรู้เหล่านัน้ มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผนและความระมัดระวังในขัน้ ปฏิบตั ิ 2. เงือ่ นไข คุณธรรม ทีจ่ ะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชือ่ สัตย์สจุ ริต และมีความ อดทน มีความพากเพียร ใช้สติปญ ั ญาในการด�ำเนินชีวติ หลักความพอประมาณ (ความพอดี) 5 ประการ 1. ความพอดีดา้ นจิตใจ - เข้มแข็ง มีจติ ส�ำนึกทีด่ เี อือ้ อาทรประนีประนอม มีจติ ส�ำนึกประโยชน์สว่ นรวม 2. ความพอดีดา้ นสังคม - ช่วยเหลือเกือ้ กูล รักและ สามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน 3. ความพอดีดา้ นทรัพยากร - รูจ้ กั ใช้และจัดการ อย่างฉลาดและรอบคอบ 4. ความพอดีดา้ นเทคโนโลยี - รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ เป็นประโยชน์ต่อสภาพ แวดล้อม 5. ความพอดีดา้ นเศรษฐกิจ - เพิม่ รายได้ ลดรายจ่าย ด�ำรงชีวติ อย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตภาพและ ฐานะของตน หลักของความมีเหตุผล 5 ประการ 1. ยึดความประหยัด - ตัดทอนค่าใช้จา่ ยในทุกด้าน ลดความฟุม่ เฟือยในการด�ำรงชีวติ 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยูใ่ นภาวะขาดแคลนในการด�ำรงชีวติ 3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขัน ใน การค้าขาย ประกอบอาชีพ แบบต่อสูอ้ ย่างรุนแรง 4. ไม่หยุดนิง่ ที่จะค้นหาหนทางในชีวิตให้หลุดพ้น จากความทุกข์ยาก 5. ปฏิบตั ติ นในแนวทางทีด่ ี ลด ละเลิก สิง่ ยัว่ กิเลส ให้หมดสิน้ ไป ไม่กอ่ ความชัว่ ให้เป็นเครือ่ งมือท�ำลายตนเองท�ำลาย ผูอ้ นื่ พยายามเพิม่ พูนรักษาความดีทมี่ อี ยูใ่ ห้ยงั่ ยืน หลักของความมีภมู คิ มุ้ กัน 2 ประการ 1. ภูมปิ ญ ั ญา - มีความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง 2. ภูมธิ รรม - ซือ่ สัตย์ สุจริต ขยัน และแบ่งปัน


NCC Business Magazine Stat : สถิ ติ

เป้าหมายของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พึง่ ตนเองได้ระดับหนึง่ อยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ในสังคมได้อย่างสันติสขุ อยูร่ ว่ มกับธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมได้อย่างยัง่ ยืน การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เริม่ จากระดับ ตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข สมดุล 4 มิติ (ด้าน วัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม) ล�ำดับขัน้ ตอนการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งได้ ตั ว เอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตรงกับหลัก ธรรม สัปปุรสิ ธรรม 7 1.(ความพอประมาณ) มัตตัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ประมาณ อัตตัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ตน 2. (ความมีเหตุผล) ธัมมัญญุตา เป็น ผูร้ จู้ กั เหตุ อัตถัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ผล

3 . ( ก า ร มี ภู มิ คุ ้ ม กั นที่ ดี ใ นตั ว ) กาลัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั กาล ปริสญ ั ญุตา เป็นผู้ รูจ้ กั บริษทั ชุมชน ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโร ปรัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั บุคคล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อญ ั เชิญ มาครั้งแรกใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 9 วิสยั ทัศน์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ตรงกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียง การสร้างภูมคิ มุ้ กัน ข้อใดเรียงล�ำดับ หลัก การสร้างภูมิคุ้มกันกับเกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ชั้น จัดการตน - รวมกลุม่ - เครือข่าย หลักสมดุลของ ปรัชญาเศรษฐกิจข้อใดส�ำคัญทีส่ ดุ ในวิสยั ทัศน์ของ รัฐบาลยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร 1 เศรษฐกิจ "เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency Economy) เป็ น ปรั ช ญาที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำรัสชีแ้ นะแนวทางการ ด�ำเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดรวมถึง การพัฒนาและบริหารประเทศ ทีต่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ของ ทางสายกลาง ค�ำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัว ตลอด จนใช้ ค วามรู ้ ความรอบคอบ และคุ ณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระท�ำ

ตลอดเวลา มุง่ เน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพือ่ ความมัน่ คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา 2.คุ ณ ลั ก ษณะ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ติ นได้ในทุก ระดับ โดยเน้นการปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการ พัฒนาอย่างเป็นขัน้ ตอน 3.ค� ำ นิ ย าม ความพอเพี ย งจะต้ อ ง ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไี่ ม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่น การผลิตและการ บริโภคทีอ่ ยูใ่ นระดับพอประมาณ 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนค�ำนึงถึงผลทีค่ าดว่าจะ เกิดขึน้ จากการกระท�ำนัน้ ๆ อย่างรอบคอบ 3.3 การมีภมู คิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัว หมาย ถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยค�ำนึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ทีค่ าดว่าจะ เกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล 4.เงือ่ นไข การตัดสินใจและการด�ำเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้อง อาศัยทัง้ ความรู้ และคุณธรรมเป็นพืน้ ฐาน 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ วกับวิชาการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่าง รอบด้านความรอบคอบ ทีจ่ ะน�ำความรูเ้ หล่านัน้ มา พิจารณาให้เชือ่ มโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขัน้ ปฏิบตั ิ 4.2 เงือ่ นไขคุณธรรม ทีจ่ ะต้องเสริม สร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปญ ั ญาในการด�ำเนินชีวติ 5.แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะ ได้รบั จากการน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้คอื การพัฒนาทีส่ มดุลและยัง่ ยืนพร้อม รับต่อการเปลีย่ นแปลง ในทุกด้าน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ความรูแ้ ละเทคโนโลยี

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณา อยู่ 5 ส่วน 1.กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะ แนวทางการด�ำรงอยู่ และปฏิบตั ติ นในทางทีค่ วรจะ เป็น โดยมีพนื้ ฐานมาจากวิถชี วี ติ ดัง้ เดิมของสังคม ไทย สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ Story : ดร.ธี ร พงศ์ คณาศั ก ดิ์ รองประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

- 037 -


NCC Business Magazine How to management : การบริ ห ารจั ด การ

น�้ ำ พระทั ย จากพ่ อ หลวง ของปวงชนชาวไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย ขอน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุชตรียา ผลพานิชย์ ในฐานะศิษย์เก่าโรงเรียนวังไกลกังวลรุน่ 2516 ได้มโี อกาสเข้าเฝ้าพระองค์ทา่ นตลอดระยะเวลา ทีศ่ กึ ษาอยู่ ได้ยนิ และได้เห็นพระองค์ทรงงานหนักมา ตลอดเวลา และการเสด็จมาแต่ละครัง้ ทีว่ งั ไกลกังวล ไม่ได้มาเพื่อพักผ่อน พระองค์ได้มีโครงการต่างๆ มากมาย ทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ ต่อประชาชนและ ประเทศชาติ เป็นอย่างมาก ดังตัวอย่างบางส่วนที่ อยากจะกล่าวถึงโครงการต่างๆในส่วนของจังหวัด เพชรบุรแี ละประจวบคีรขี นั ธ์ โครงการพระราชประสงค์หุบกะพง เพื่อจัดตั้งศูนย์สาธิตและทดลองการเกษตร เพื่อ ศึกษาหาข้อมูลในด้านการปลูกพืช และการเลีย้ งสัตว์ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาการเกษตรในพืน้ ทีท่ ี่ แห้งแล้ง และสาธิตการใช้เทคโนโลยีการเกษตร จัดสรรทีด่ นิ ว่างเปล่าให้เกษตรกรเพาะปลูกตามวิธี การเกษตรแผนใหม่ และจั ด ตั้ ง เป็ น สหกรณ์ การเกษตร โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุน ห้วย เพือ่ ช่วยเหลือสมาชิกกลุม่ ไร่ผกั ต.เขาใหญ่ อ.ชะอ�ำ และราษฎรทีย่ ากจนในจังหวัด ให้ราษฎรมา เป็นสมาชิกในที่ดินจัดสรรโดยรวมกลุ่มประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ตามหลักวิชาการแผนใหม่และ ปรับปรุงพืน้ ทีใ่ ห้ใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกได้โดย อาศัยเทคนิคใหม่ ๆ โครงการพัฒนาทีด่ นิ หนองพลับ-กลัด หลวง เพือ่ จัดพัฒนาทีด่ นิ แผนใหม่ และป้องกันการ บุกรุกทีด่ นิ ของรัฐและบุกรุกท�ำลายป่า โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ ใหญ่ ป่าเด็ง-ป่า เพือ่ จัดสรรทีด่ นิ ท�ำกินให้แก่ราษฎร ทีย่ ากจนในรูปการจัดหมูบ่ า้ นสหกรณ์ ป้องกันการ

ตัดไม้ทำ� ลายป่า สนับสนุนการรักษาความปลอดภัย ของชาติในบริเวณชายแดนโครงการดูแลรักษาป่าไม้ บริเวณป่าละอูบนและเขาพระเนินทุง่ อันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ เพือ่ ป้องกันการบุกรุกป่าสงวนแห่งชาติ ดูแลรักษาพืน้ ทีป่ า่ ไม้บริเวณต้นแม่นำ�้ เพชรบุรี และ แม่นำ�้ ปราณบุรี และจัดการพัฒนาในรูปหมูบ่ า้ น ป่า ไม้ และควบคุมการบุกรุกป่าไม้ โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียงตาม พระราชด�ำริ เพื่อจัดสรรที่ดินให้ราษฎรท�ำกิน เป็นการป้องกันการบุกรุกท�ำลายป่า และสนับสนุน ให้ราษฎรรวมตัวกันในรูปแบบสถาบันการเกษตร หรือระบบสหกรณ์ โครงการศูนย์ศกึ ษาการพัฒนา ห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เพื่อการ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟู รักษาป่าไม้และสภาพแวดล้อมให้ เกิดความชุม่ ชืน้ ในพืน้ ที่ โครงการและบริเวณใกล้ เคียง ให้กลับคืนสูค่ วามอุดมสมบูรณ์ตามแนวพระ ราชด�ำริ เพื่อเป็นศูนย์รวมในการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจยั และแสวงหาแนวทาง ตลอดจนวิธกี าร พัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพตามแนวพระ ราชด�ำริ เพือ่ พัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ตลอดจน พัฒนาคุณภาพชีวติ ให้กบั ราษฏรในบริเวณศูนย์การ ศึกษาพัฒนาห้วยทรายฯ และใกล้เคียง ให้มคี วาม เป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ เพือ่ ให้เป็นศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอัน เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริเป็นสถานทีใ่ ห้ความรู้ และ ศึกษาดูงานแก่เกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป ตลอด จนสามารถปรึกษา ขอค�ำแนะน�ำจากเจ้าหน้าทีไ่ ด้ ภายในทีเ่ ดียวกัน

- 038 -

เพือ่ ให้ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมา จากพระราชด�ำริ เป็นสถานทีส่ ำ� หรับเจ้าหน้าที่ จาก หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ เอกชน องค์กรอิสระ และ อืน่ ๆ ได้มาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและประสานงาน กัน อันจะเป็นตัวอย่างทีด่ ใี นการท�ำงานร่วมกัน นอกจากนี้ ยังมี โครงการศึกษาวิจยั และ พัฒนาสิง่ แวดล้อมแหลมผักเบีย้ อันเนือ่ งมาจากพระ ราชด�ำริ, โครงการดูแลทีด่ นิ และปลูกป่าในทีด่ นิ ของ มูลนิธสิ ง่ เสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ บ้านท่ากระทุม่ , โครงการศูนย์ สาธิตพืชไร่และพืชสวนอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ, โครงการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูสภาพพืน้ ทีบ่ ริเวณเขานาง พันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) อันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ, โครงการอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่ประจันต์อนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริ และโครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�ำริ เพือ่ เป็นศูนย์รวมพืชเศรษฐกิจของ อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี (ข้อมูล www.phetchaburi.go.th/ data/kingproject.htm) จะเห็นได้วา่ ท่านทรงเป็นนักพัฒนา ด้วย พระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างล้นพ้นทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงบ�ำเพ็ญพระราช กรณียกิจนานัปการ เพือ่ บ�ำบัดทุกข์บำ� รุงสุขถ้วนทัว่ อย่างสม�ำ่ เสมอมิได้ทรงว่างเว้น ไม่วา่ จะอยูใ่ นทีแ่ ห่ง ใดของแผ่นดินไทยทุกคน จึงทรงเป็นพ่อหลวงใน หัวใจของชาวไทยไปตราบนิรนั ดร์.

เรียบเรียง โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์นชุ ตรียา ผลพานิชย์ โปรแกรมวิชา : การจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะ : วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา



อัครศิลปินแห่งแผ่นดินสยาม “...ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของข้า พเจ้า จะเป็นแจ๊สหรือไม่ใช่แจ๊สก็ ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคน เป็นส่วนที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา ส�ำหรับ ข้าพเจ้า..ดนตรีคือสิ่งประณีตงดงาม และทุกคนควรนิยมในคุณค่าของ ดนตรีทุกประเภท เพราะว่าดนตรีแต่ละประเภทต่างก็มีความเหมาะสม ตามแต่โอกาส และอารมณ์ที่แตกต่างกันไป.." พระราชด�ำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เนือ่ งในวโรกาส พระราชทานสัมภาษณ์ออกอากาศ ในรายการ วิทยุเสียงอเมริกา เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2503 ระหว่างการเสด็จเยือนประเทศสหรัฐอเมริกา ครั้งนัน้ เป็นพระราชด�ำรัสที่ จับใจและแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงพระราชหฤทัยทีต่ ระหนักแน่ในคุณค่าและความส�ำคัญของการดนตรี ถึงกับทรงเปรียบ เทียบส่วนหนึง่ ของพระองค์เอง และไม่เพียงแต่ทรงสนพระราชหฤทัยในฐานะผู้นิยมในคุณค่าของดนตรีเท่านัน้ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ยังทรงสนพระราชหฤทัยศึกษาจนเป็นผู้รอบรู้ทางด้านดนตรีอย่างแท้จริงอีกด้วย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงเริม่ สนพระราชหฤทัยและศึกษาวิชาดนตรีตั้งแต่ทรงพระ เยาว์ขณะทีป่ ระทับอยูท่ เี่ มืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ กับอาจารย์ชาวอัลซ๊าส (Alsace) ชื่อ นาย เวย์เบรชท์ (Wey-brecht) โดยทรงเรียนเป่าแซ๊กโซโฟน วิชาการดนตรี การเขียนโน้ต และสเกลต่าง ๆ ในแนว ดนตรีคลาสสิค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯได้ทรง ขอพระราชานุญาตสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนีซอื้ แซ๊กโซโฟนโดยน�ำพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ที่ ได้จากการอดออมค่าขนมมาสมทบกับพระราชทรัพย์ที่ ทรงได้รบั พระราชทาน แซ๊กโซโฟนองค์แรกของพระองค์ เป็นแซ๊กโซโฟนสีเงิน ยีห่ อ้ Conn พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงเริม่ พระ ราชนิพนธ์เพลง เมือ่ มีพระชนมพรรษาได้ 18 พรรษา ใน พ.ศ. 2489 ทรงพระราชนิพนธ์เพลง “แสงเทียน” เป็น เพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรกและจนถึงปัจจุบนั มีเพลง พระราชนิพนธ์ทงั้ สิน้ 48 เพลง ทุกเพลงล้วนมีท�ำนอง ไพเราะ ประทับใจ แต่ทปี่ รากฏต่อสายตาประชาชนจน กลายเป็นเพลงยอดนิยมในยุคนัน้ คือเพลง “ยามเย็น” โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระวรวงศ์เธอพระองค์

เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ทรงประพันธ์คำ� ร้องและ น�ำออกบรรเลงเป็นเพลงแรกในงานรืน่ เริงทีส่ วนอัมพร เนือ่ งจากเป็นบทเพลงในจังหวะ Fox-Trot ซึง่ เป็นแนว เพลงในจังหวะร่าเริง ให้อารมณ์สนุกสนาน และเป็น จังหวะทีผ่ นู้ ยิ มการเต้นร�ำมักน�ำไปใช้หดั เต้น จึงส่งให้ บทเพลงพระราชนิพนธ์บทนี้ เข้าไปอยู่ในใจของพสก นิกรชาวไทยได้ในทันที จากนัน้ บทเพลงทีก่ ลัน่ ออกมาจากพระปรีชา สามารถแห่งท่วงท�ำนอง จึงค่อยๆ ทยอยออกมาให้พสก นิกรชาวไทยได้ยลยินกัน โดยเฉพาะบทเพลง “สายฝน” เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เป็นเพลงที่สาม ทรงพระราช นิพนธ์ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2489 ทีไ่ ด้รบั ความนิยม ยิง่ กว่าเพลง “ยามเย็น” เสียอีก เรียกได้วา่ บ้านไหนไม่ เคยได้ยินเพลงนี้ในสมัยนั้น ถือว่าเชยน่าดู คิดดูว่า บทเพลงพระราชนิพนธ์ “สายฝน” โด่งดังขนาดไหนใน สมัยนัน้ แม้แต่ หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ยัง เคยเห็นชาวบ้านซักผ้าไปด้วย เปิดเพลงของพระองค์ฟงั ไปด้วย จนต้องหอบเรือ่ งเล่ามาทูลเกล้าฯ ถวาย เป็น

- 040 -

เหตุให้ผพู้ ระราชนิพนธ์บทเพลงอย่างพระองค์ทรงพระ สรวล และต้องทรงหยิบเรื่องเล่าเอามาไว้ในพระราช ด�ำรัส เมือ่ วันที่ 16 ธ.ค. 2524 “เมื่อแต่งมาเป็นเวลาประมาณ 6 เดือน หม่อมเจ้าจักรพันธุ์ได้เขียนจดหมายมาถึง บอกว่ามี ความปลาบปลืม้ เพราะท่านไปเชียงใหม่ เดินไปตาม ถนน ได้ยนิ เสียงคนผิวปากเพลงสายฝน ก็เห็นคนก�ำลัง ซักผ้า แล้วก็มคี วามร่าเริงใจ ผิวปากเพลงสายฝนและ ซักผ้าไปด้วย นับว่าเป็นสิง่ ทีแ่ สดงถึงว่า เพลงสายฝนนี้ ก็มปี ระสิทธิภาพสูง ซักผ้าได้สะอาด” ทรงส�ำราญพระราชหฤทัยเมือ่ ทรงดนตรี เมื่อทรงมีเวลาเป็นส่วนพระองค์ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯโปรดการทรงดนตรีเป็นทีย่ งิ่ นับ แต่ทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ทรงเริ่มเล่นในวง ดนตรีวงเล็ก ๆ ซึง่ ผูเ้ ล่นประกอบด้วย พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯรัชกาลที่ 9 และพระอาจารย์สอนดนตรี เมือ่ โดยเสด็จฯ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช นิวตั พระนคร มีบางครัง้ ทีท่ งั้ สองพระองค์ทรงดนตรีรว่ ม กันเป็นการส่วนพระองค์ เช่น เมื่อครั้งเสด็จพระราช ด�ำเนิน ณ วังอัศวิน ตามค�ำกราบบังคมทูลเชิญของ พระ เจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพนั ธุย์ คุ ล ทัง้ สองพระ องค์บรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ “ยามเย็น” โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯรัชกาลที่ 8 ทรงเปียโน ส่วนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯรัชกาลที่ 9 ทรงโซ ปราโนแซ๊กโซโฟน หลังจากที่เสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติแล้ว ขณะทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โปรด เกล้าฯ ให้นกั เรียนไทยไปร่วมสังสรรค์และเล่นดนตรีรว่ ม ด้วย ณ พระต�ำหนักวิลลาวัฒนา แม้ในระหว่างทีท่ รง พระประชวรอยู่ และคณะแพทย์ผถู้ วายการรักษาทูลขอ ให้ทรงงดเว้นการทรงเครื่องเป่าทุกชนิด วันหนึ่งโปรด เกล้าฯให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงเป่าแซ๊กโซโฟนถวาย ส่วนพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู ่ หั ว ฯทรงเอื้ อ มพระหั ต ถ์ ไ ปคร่ อ มและทรงใช้ นิ้ ว พระหัตถ์ดีดเป็นเพลง ท�ำให้สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ซึง่ ประทับอยูอ่ กี ฟากหนึง่ ของพระต�ำหนัก


ตกพระทัยรีบเสด็จฯ เข้าไปทอดพระเนตรพร้อมกับข้า ราชบริพารและคณะแพทย์ จึงกลายเป็นเรื่องที่น่า ประหลาดใจว่าคนหนึง่ เป่า แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ฯทรงใช้นวิ้ พระหัตถ์ดดี ก็ออกมาเป็นเพลงไพเราะ ได้ ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จฯนิวตั พระนครเป็นการถาวรแล้ว ได้ทรงดนตรีอยู่ ในหมูข่ า้ ราชบริพาร นักดนตรีสมัครเล่นหรือแม้แต่นกั อาสาพัฒนา ผู้ไม่มีความรู้เรื่องดนตรี ซึ่งพร้อมที่จะ ฝึกหัดบรรเลง อันเป็นที่มาของวงดนตรีส่วนพระองค์ ได้แก่ “วงลายคราม” “วง อ.ส.วันศุกร์” และ “วงสหาย พัฒนา” ทรงตัง้ สถานีวทิ ยุ อ.ส.(อัมพรสถาน) ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2595 เพือ่ เป็นสือ่ กลางในการให้ความบันเทิง สาระประโยชน์ และข่าวสารต่าง ๆ แก่ประชาชน ต่อมา ได้โปรดเกล้าฯ ให้นกั ดนตรีรนุ่ หนุม่ ๆ มาเล่นปนกับรุน่ ลายคราม ซึง่ เล่นดนตรีไม่คอ่ ยไหวตามอายุ ด้วยเหตุนี้ จึงเกิดวงดนตรี “อ.ส.วันศุกร์” ขึน้ ลักษณะพิเศษของ “วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์” นีค้ อื พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ฯทรงร่วมบรรเลงกับสมาชิกของวง ออกกระจาย เสียงทางสถานีวทิ ยุเป็นประจ�ำทุกวันศุกร์ เป็นการเปิด โอกาสให้พสกนิกรได้ตดิ ต่อกับพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ฯได้งา่ ยขึน้ ทรงจัดรายการเพลงและทรงเลือกแผ่น เสียงเองในระยะแรก บางครัง้ ก็โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารขอ เพลงด้วยและจะทรงรับโทรศัพท์ดว้ ยพระองค์เอง ในช่วง เวลาเมือ่ 20 ปีกอ่ น ขณะทีส่ ถานีโทรทัศน์ยงั ไม่มบี ทบาท ทางการบันเทิงมากเช่นในปัจจุบนั นี้ “วงดนตรี อ.ส. วัน ศุกร์” จึงมีสว่ นสร้างความรืน่ เริงในหมูป่ ระชาชนผูส้ นใจ ในยุคนัน้ เป็นอย่างยิง่ นอกจากนีเ้ มือ่ เกิดเหตุการณ์มหา วาตภัย แหลมตะลุมพุก ได้อาศัยวงดนตรี อ.ส. ประกาศ ชักชวนประชาชนบริจาคทรัพย์ สิ่งของ ฯลฯ ช่วยผู้ ประสบภัย ท้ายสุดจึงก�ำเนิดมูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงใช้ เ ครื่ อ งดนตรี เ ป็ น สื่ อ ผู ก พั น สถาบั น พระมหา กษัตริยก์ บั นิสติ นักศึกษาโดยเสด็จฯ ไปทรงดนตรีรว่ ม

กับนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ รวมทั้งเป็นสื่อ กระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศกับนานาประเทศ ได้อย่างแน่นแฟ้นยิง่ ขึน้ เช่นเมือ่ ครัง้ ทีเ่ สด็จฯ เยือนกรุง เวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึง่ มีชอื่ ว่าเป็นแหล่งก�ำเนิด ของนักดนตรีทสี่ ำ� คัญ และคีตกวีเอกของโลก ได้ยกย่อง พระปรีชาสามารถด้านการดนตรีในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ โดยเฉพาะคือ เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯเสด็จฯเยือนประเทศสาธารณรัฐออสเตรีย อย่างเป็นทางการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2507 วงดุรยิ างค์ ซิมโฟนี Neiderosterreichisches Tonkunstler Orchestra โดยไฮน์ วัลลเบร์ก เป็นผูอ้ ำ� นวยเพลงได้อญ ั เชิญเพลง พระราชนิพนธ์ซึ่งเป็นเพลงหลากหลายประเภท เช่น เพลงประกอบบัลเลต์ (Ballet Suites) ชุด “มโนราห์” (Kinari Suite) เพลงประเภทวอลทซ์ “สายฝน” เพลงประ เภทแจ๊ส “ยามเย็น” เพลงประเภทมาร์ช “มาร์ชราช นาวิกโยธิน” และ “มาร์ชราชวัลลภ” ไปบรรเลง ณ คอน เสิรต์ ฮอลล์ กรุงเวียนนา เมือ่ วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2507 ซึง่ ผูฟ้ งั ได้แสดงความชืน่ ชมอย่างมาก โดยปรบมือถวาย เป็นระยะเวลานาน พร้อมกันนีส้ ถานีวทิ ยุกระจายเสียง ของรัฐบาลออสเตรียได้สง่ กระจายเสียงเพลง และเสนอ ข่าวนีไ้ ปทัว่ ประเทศ นับเป็นครัง้ แรกทีพ่ ระมหากษัตริย์ แห่งทวีปเอเซีย ทรงได้รบั การยอมรับและชืน่ ชมอย่างยิง่ ทางด้านดนตรีในนครดนตรีแห่งนี้ หลังจากนัน้ อีก 2 วันคือวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2507 The Academy for Music and Performing Arts in Vienna (สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา-ปัจจุบนั เปลีย่ นฐานะเป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีและศิลปการ แสดงแห่งกรุงเวียนนา) ซึง่ ก่อตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2360 ได้ถวายพระเกียรติ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ (The Certificate of Bestowal of the Honorary Membership) หมายเลขที่ 23 ดังปรากฏพระปรมาภิไธย “ภูมพิ ลอดุลย เดช” จารึกบน แผ่นหินอ่อนของสถาบันอันเก่าแก่ของ

- 041 -

ยุโรปแห่งนี้ โดยประธานสถาบันได้กล่าวสดุดพี ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ในฐานะทีท่ รงเป็นผูส้ ร้างสัมพันธ์ อันดียงิ่ ระหว่างดนตรีตะวันออกกับดนตรีตะวันตก และ ทรงพระราชนิพนธ์เพลงด้วยพระปรีชาสามารถ นับเป็น ครัง้ แรกทีพ่ ระมหากษัตริยแ์ ห่งทวีปเอเชีย ทรงมีบทบาท ส�ำคัญยิง่ ณ ศูนย์กลางแห่งการดนตรีในทวีปยุโรป ทรง เป็นชาวเอเชียพระองค์แรกทีท่ รงได้รบั การถวาย พระ เกียรติให้ดำ� รงต�ำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิข์ ณะทีท่ รงมี พระชนมพรรษาเพียง 37 พรรษา พสกนิกรชาวไทยทุก คนไม่เพียงแต่ชนื่ ชมในพระเกียรติยศทางดนตรีทที่ รงได้ รับจากนานาประเทศเท่านัน้ แต่ยงั ภาคภูมใิ จ ในความ ส�ำเร็จจากการเสด็จพระราชด�ำเนินกระชับสัมพันธไมตรี ระหว่างประเทศด้วย นอกจากทรงพระปรีชาสามารถในการพระ ราชนิพนธ์เพลง และทรงดนตรีแล้ว พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯยังทรงเป็น “ครูใหญ่” สอนดนตรีแก่ แพทย์ ราชองครักษ์ และข้าราชบริพารใกล้ชดิ ซึง่ เล่น ดนตรี ไม่เป็นเลย จนเล่นดนตรีเป็นสามารถบรรเลงใน โอกาสพิเศษต่างๆ ได้ ต่อมาจึงได้เกิด “วงสหายพัฒนา” มีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเป็น องค์หวั หน้าวง ทางดนตรีไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงเห็นว่าวิชาดนตรีไทยเป็นศิลปะที่ส�ำคัญของชาติ สมควรทีจ่ ะได้รวบรวมเพลงไทยเดิมต่างๆ ไว้มใิ ห้เสือ่ ม สูญและผันแปรไปจากหลักเดิม โดยมีการบันทึกโน้ตเพลง ให้ถกู ต้องละจัดพิมพ์ขนึ้ ไว้เป็นหลักฐาน เพราะในการ บันทึกแนวเพลงเป็นโน้ตสากลแต่เดิมนัน้ ยังมิได้มกี าร บันทึกไว้อย่างครบถ้วนและจัดพิมพ์ให้เป็นการสมบูรณ์จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมศิลปากรรับเรือ่ งนีไ้ ป ด�ำเนินการ ทรงสละพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ในการจัด พิมพ์โน้ตเพลงไทยชุดนี้ เป็นการรักษาศิลปะดนตรีอนั ส�ำคัญของไทยไว้มใิ ห้เสือ่ มสูญ และยังเป็นการเผยแพร่ วิชาดนตรีของไทยออกไปในหมูป่ ระชาชนผูส้ นใจให้เป็น ทีร่ จู้ กั แพร่หลายยิง่ ขึน้ อีกด้วย "When the artists come to the palace, there is no thought of superiority or inferiority : music itself is King here" Denis D. Gray (Associated Press: Bangkok Thailand) เจ้าของบทความเรือ่ ง Thailand's Working Royals กล่าวว่า เมือ่ ทรงว่างจากพระราชกรณียกิจ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ มักจะทรงดนตรีโดยเฉพาะแจ๊สร่วม กับข้าราชบริพารสัปดาห์ละ 2 ครัง้ หากทรงเจียดเวลาได้ ในบางวันบางเวลาทีน่ กั ดนตรีมาไม่ครบพระองค์จะทรง ท�ำหน้าทีน่ กั ดนตรีสำ� รอง ด้วยทรงพระปรีชาสามารถใน การทรงดนตรีได้หลายชนิด.

อมร วงศ์สุรวัฒน์

ประธานกิตติมศักดิห์ อการค้าจังหวัดนครราชสีมา และอดีตรองประธานหอการค้าไทย

ทีม่ า: หนังสือประมวลบทเพลงพระราชนิพนธ์ โรงเรียนจิตรลดา จัดพิมพ์เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ เนือ่ งในมหามงคลสมัย ทรงครองสิรริ าชสมบัติ ครบ 50 ปี 9 มิถนุ ายน 2539


NCC Business Magazine

นักธุรกิจชาวโคราชเคยเข้าเฝ้าในหลวงใกล้ชิด 10 ครั้ง เจ้าตัวจ�ำฝังใจพระองค์ท่านตรัสสอน อย่าท�ำตัวปิดทองหน้าพระ แต่ให้ปิดทองหลังพระ เพราะนานวันสิ่งที่ท�ำจะเปิดเผยออกมาเอง เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2559 นายวิเชียร จันทรโณทัย ผู ้ ว ่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด นครราชสีมา เป็นประธานเปิด งานนิทรรศการ ธ สถิตย์ใน ดวงใจ นิรันดร์กาล ตามรอย พ่อ ซึง่ จัดขึน้ ทีห่ า้ งสรรพสินค้า เดอะมอลล์นครราชสีมา ซึง่ ได้ รวบรวมภาพพระบรม ฉายาลั ก ษณ์ และภาพพระ ราชกรณี ย กิ จ ของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินนี าถ ทีห่ าชมได้ยาก อาทิ รูปภาพเมื่อครั้งพระองค์เสด็จเยี่ยมเยียนราษฎรที่ จังหวัดนครราชสีมาครัง้ แรกเมือ่ ปี 2498 รูปภาพเสด็จ อุทยานประวัตศิ าสตร์ปราสาทหินพิมาย และอุทยาน ไทรงาม เป็นต้น นายวิรัตน์ ตันจินดาประทีป อายุ 84 ปี ประชาชนชาวจั ง หวั ด นครราชสี ม าที่ เคยเข้ า เฝ้ า พระองค์ท่านอย่างใกล้ชิดมากถึง 10 ครั้ง และได้ สร้างโรงสีข้าวถวายในโครงการตามพระราชด�ำริ ต่างๆ ของพระองค์ท่านมาตั้งแต่ปี 2524 - 2534 รวม จ�ำนวน 6 แห่ง ประกอบด้วยโรงสีข้าวที่จังหวัด

พสกนิกรชาวโคราช ร่วมอุปสมบทหมู่ ถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุยเดช ที่ บ ริ เ วณลานอนุ ส าวรี ย ์ ท ้ า วสุ ร นารี จังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครราชสีมา ประกอบพิธี อุปสมบทหมู่ เพื่อถวายเป็นพระราช กุศล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุยเดช โดยมี พ่อค้า นักธุรกิจ และประชาชนชาวจังหวัดนครราชสีมา ร่วมอุปสมบท จ�ำนวน 90 คน ทั้ ง นี้ ผู ้ ที่ เ ข้ า ร่ ว มในการ อุปสมบทหมู่ในครั้งนี้ กล่าวว่า การ ร่ ว มอุ ป สมบทในครั้ ง นี้ เนื่ อ งจากมี ความรู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิ คุณในคุณงามความดีของในหลวงพระองค์ท่านมาตลอด ครั้งนี้ต้องการบวชทดแทนคุณพ่อของแผ่นดินไทย และตั้งใจที่จะ ท�ำความดีให้ในหลวง รัชกาลที่ 9

- 042 -

พิ ษ ณุ โลก ประจวบคี รี ขั นธ์ บุ รี รั ม ย์ ชลบุ รี นครราชสีมา และปราจีนบุรี นายวิรัตน์ ตันจินดาประทีป เปิด เผยว่า เคารพรักพระองค์ท่านมาก และเมื่อได้ มี โ อกาสเข้ า เฝ้ า ใกล้ ชิ ด ก็ รู ้ สึ ก ประทั บ ใจใน ตัวพระองค์ท่าน โดยเฉพาะเวลาท่านทีท่ ่านทรง

งานในพื้นที่ทุรกันดาร พระองค์ท่านทรงเดินเร็ว มาก จนคนที่ติดตามเดินไม่ทันพระองค์ท่าน และพระองค์ท่านเป็นคนที่เด็ดเดี่ยวมั่นใจ และ มี ค วามตรงต่ อ เวลาอย่ า งมาก และสิ่ ง ที่ ต น ประทับใจพระองค์ท่านที่สุดก็คือสิ่งที่พระองค์ ท่านทรงตรัสสอนตนว่า เมื่อเป็นพ่อค้านักธุรกิจ พยายามอย่าปิดทองหน้าพระ แต่ต้องปิดทอง หลังพระ ซึ่งหมายถึงเวลาท�ำสิ่งใดอย่าไปเอา หน้าเอาตา แต่เมื่อพอเวลาผ่านไปนานเข้าสิ่งที่ เราท�ำมันจะแสดงออกให้คนอืน่ เห็นเอง และคน เราต้องซือ่ สัตย์ เสียสละ และจงรักภักดีต่อแผ่น ดินถิ่นเกิด ซึ่งสิ่งที่พระองค์ท่านทรงตรัสสอนยัง ทรงจ�ำอยู่ในใจของตนเสมอมา.


โครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก นครราชสีมา

มาตรฐานความปลอดภัยระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ 1. วัสดุและข้อก�ำหนด - เป็นท่อเหล็กกล้า เหนียวพิเศษ (Carbon Steel) ทีม่ คี วามแข็งแรง และ ยื ด หยุ ่ น สู ง ผ่ า นการทดสอบตาม มาตรฐานสากล - ขนาด ความหนา และการฝัง ลึก ขึน้ อยูก่ บั ความเหมาะสมของสภาพ พืน้ ที่ ตามมาตรฐานสากลก�ำหนด เช่น ฝังลึกอย่างน้อย 1.5 เมตร จากหลังท่อ ในแนวถนน เป็นต้น 2. ระบบควบคุมการท�ำงานระบบท่อ และการสือ่ สาร - การส่งก๊าซฯจะถูกควบคุมการท�ำงานและตรวจสอบ ผ่านระบบควบคุมอัตโนมัตSิ upervisory Control and Data Acquisition System หรือ ระบบ SCADA โดยทีศ่ นู ย์ปฏิบตั กิ ารชลบุรจี ะมีวศิ วกร ควบคุมตลอด 24 ชัว่ โมง -มีสถานีควบคุมก๊าซฯตลอดแนวท่อฯ ซึง่ สามารถ ปิด-เปิดวาล์วได้โดยตรง โดยถูกเชือ่ มโยงทุก จุดกับระบบ SCADA ผ่านการสือ่ สารด้วยระบบไมโครเวฟ, ระบบ ใยแก้วน�ำแสง (Optical Fiber Cable), ระบบการสือ่ สาร ผ่านดาวเทียม, ระบบโทรศัพท์และระบบวิทยุ UHF และVHF 3. การตรวจสอบและบ�ำรุงรักษาท่อ - มีการตรวจสอบแนวท่อและสภาพแวดล้อมข้างเคียงโดยการใช้รถยนต์ตรวจการ, เฮลิคอปเตอร์ บินส�ำรวจและการเดินส�ำรวจอย่างสม�ำ่ เสมอตามมาตรฐานสากล - มีระบบการป้องกันการผุกร่อน โดยมีการตรวจสอบรอยรัว่ ของท่อด้วยแรงดันน�ำ้ (Hydrostatic Test) - ก่อนการวางท่อ, มีระบบการป้องกันการผุกร่อนด้วยไฟฟ้าเคมี (Cathodic Protection) และมี การเคลือบผิวภายนอกท่อ (Corrosion Coating) - มีการตรวจสอบสภาพภายในของท่อ ด้วยอุปกรณ์กระสวยอิเล็คทรอนิคส์ Intelligent PIG (Pipeline Inspection Gauge) วิง่ ตรวจสอบภายในท่อตลอดแนว พร้อมบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ผล ระบุ ต�ำแหน่งพิกดั โดยสามารถคาดการณ์ความเสียหายได้ลว่ งหน้า - มีการฝึกซ้อมตามแผนระงับเหตุฉกุ เฉินของระบบท่อส่งก๊าซฯกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ที่ - มีประกันภัยคุม้ ครองชีวติ และทรัพย์สนิ ของบุคคลทีส่ ามในวงเงิน 50 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ ประมาณ 1,500 ล้านบาท ต่อการเกิดเหตุ 1 ครัง้ - มีการปักป้ายเตือนเพือ่ แสดงต�ำแหน่งตลอดแนวท่อพร้อมระบุเบอร์โทรศัพท์แจ้งเหตุฉกุ เฉิน 24 ชัว่ โมง - การวางท่อในแนวถนน จะมีแนวแถบค�ำเตือนและแผ่นคอนกรีตเตือนอยูเ่ หนือท่อก่อนถึงแนวท่อ

หากท่านได้รบั ความไม่สะดวกจากการก่อสร้างโครงการฯ หรือมีขอ้ สงสัย ต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อได้ที่เบอร์ 089-777-1036

- 043 -


ชาวโคราชสักการะพระบรมศพ เบื้องหน้าพระบรมโกศ พสกนิกรชาวจังหวัดนครราชสีมาออกเดินทาง ด้วยรถบัส 19 คัน ไปสักการะพระบรมศพ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เบื้องหน้า พระบรมโกศ ณ พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท ในพระบรม มหาราชวัง เมือ่ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 ทีผ่ า่ นมา เวลา 23.00 น. พสกนิกรชาวจังหวัดนครราชสีมาได้ออกเดิน ทางด้วยรถบัสโดยสารจ�ำนวน 19 คัน มุ่งหน้าเข้าสู่ กรุงเทพมหานครไปกราบสักการะพระบรมศพ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เบื้องหน้า พระบรมโกศ ณ พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท ในพระบรม มหาราชวัง เพือ่ แสดงความอาลัย แสดงความจงรักภักดี และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ นาย วิเชียร จันทรโณทัย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา เปิด เผยว่า จังหวัดนครราชสีมาได้เปิดให้พสกนิกรร่วมเดิน ทางไปสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช โดยในการเดินทางไปสักการะ พระบรมศพ ในรอบแรกนี้ ทางจังหวัดนครราชสีมาได้ ประสานไปยังส�ำนักงานขนส่งจังหวัดนครราชสีมาให้ อ�ำนวยความสะดวกจัดรถโดยสารให้บริการประชาชน จ�ำนวน 19 คัน พร้อมอาหารว่าง และน�ำ้ ดืม่ รับพสก นิกรทีร่ ว่ มเดินทางไปรวมจ�ำนวน 750 คน โดยได้นดั ไป รวมตั ว กั นที่ บ ริ เวณสนามหน้ า ศาลากลางจั ง หวั ด นครราชสีมา เมือ่ เวลา 22.00 น. และออกเดินทางเมือ่ เวลา 23.00 น. ในเช้าวันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 ขบวน รถโดยสารทัง้ 19 คัน ได้เดินทางไปจอดรถทีบ่ ริเวณหน้า ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ถนนราชด�ำเนิน ซึง่ เป็น จุดนัดพบ จากนัน้ เจ้าหน้าทีก่ รมการปกครองได้พาเดิน เท้าต่อไปยังพระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาทเพือ่ กราบสักการะ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ทัง้ นีท้ างจังหวัดฯ ได้เลือ่ นเวลาในการเดินทาง เร็วขึน้ จากเดิมทีจ่ ะออกเดินทางเช้ามืดในเวลา 04.00 น. แต่เนื่องจากที่พระบรมมหาราชวังมีประชาชนจ�ำนวน มากเดินทางไปรอคิวตั้งแต่เช้ามืด จึงท�ำให้ต้องเลื่อน เวลาการเดินทางให้เร็วขึ้นเพื่อความสะดวกในการเข้า กราบสักการะพระบรมศพ

- 044 -


- 045 -


NCC Business Magazine Research

เศรษฐกิ จ พอเพียงของไทย เชื่อมโยงไปถึง

เพื่ อ นบ้ า น

"หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 มีหวั ใจหลัก ของปรัชญา คือ การเดินทางสายกลาง ด้วย 3 ห่วง คือ ความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน กับ 2 เงื่อนไข ได้แก่ ความรู้ และ คุณธรรม การยึดหลักนีจ้ ะท�ำให้เราสามารถปรับตัวได้เข้าสถานการณ์ รับความเปลีย่ นแปลงของโลก ได้อย่างสมดุล ทั้งในด้านสังคมและเศรษฐกิจ ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียงจึงไม่ได้เป็นเพียงแต่หลัก ปรัชญา แต่หลักการนีจ้ ะผลิดอกออกผลแก่เรา หากเรารูจ้ กั น�ำมาปรับใช้เพือ่ สร้างความเจริญเติบโต ทางสังคมและเศรษฐกิจทั้งในและนอกประเทศ ดังที่ กระทรวงพาณิชย์ ได้วางยุทธศาสตร์ 20 ปี ตามนโยบายของรัฐบาล ทีย่ งั คงน�ำเศรษฐกิจ พอเพียงมาเป็นรากฐานของหนึ่งในยุทธศาสตร์ พัฒนาการค้า หนึง่ ในนัน้ คือ การยกระดับการค้าที่

ค�ำนึงถึงบริบท สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ไปพร้อมๆกัน ขณะเดียวกันก็เสริมสร้างบทบาท ผู้ บริโภค สร้างให้ผู้บริโภคมีความรอบรู้ มีเหตุผล มี ภูมคิ มุ้ กัน มีความพอประมาณ และสามารถรับมือ

- 046 -

กับการเปลี่ยนแปลงของตลาดและนวัตกรรมสมัย ใหม่ได้อย่างทันท่วงที โดยยุทธศาสตร์ 20 ปี มีเป้าหมายที่ กระทรวงพาณิ ช ย์ มุ ่ ง ไปถึ ง คื อ การพั ฒ นา ประเทศไทย ก้าวสู่ "ผู้น�ำ" ทางการค้าในระดับ ภู มิ ภ าค ซึ่ ง ผู ้ เขี ย นเห็ น ว่ า นอกจากการด� ำ เนิน ยุทธศาสตร์ทยี่ ดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา เป็นฐานแล้ว อีกสิง่ ส�ำคัญทีถ่ อื ว่าก็เป็นหนึง่ ในองค์ ประกอบของหลักปรัชญาที่ต้องมีคือ ความรู้ และ คุณธรรม หมายความว่า ประเทศไทย หรือผู้ ประกอบการไทยจะปรับตัวเพื่อเติบโตในระดับ ภูมิภาคได้ จะต้องมีข้อมูลความรู้ และ คุณธรรม ในการด�ำเนินธุรกิจ ในที่นี้พอจะสรุปได้ 3 ประการ คือ 1) ความรู้จักตนเอง ต้องรู้ว่าตนเองมี ความเก่ง หรือเชีย่ วชาญ รวมถึงมีทรัพยากรใด และ จะท�ำให้ดีขึ้นอย่างไร เช่น ประเทศไทยมีศักยภาพ เก่งด้านการผลิต โดยการเน้นแต่รบั จ้างผลิต ท�ำให้ ไทยเติบโตได้ไม่ถึงไหน เราจึงต้องรู้จักศึกษาสร้าง มูลค่าสินค้า หรือตราสินค้าของตัวเอง คิดค้น นวัตกรรม ออกแบบและผลิตสินค้าให้ตรงกับความ ต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น 2) ความรู้จักเพื่อนบ้าน คือ มีข้อมูล ความรู้และความเข้าใจในศักยภาพ รวมถึงข้อ


NCC Business Magazine Research โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ช่ ว ยให้ ค วามรู ้ ว างระบบ มาตรฐานสินค้า เพื่อสร้างความเชื่อมโยงและสาย สัมพันธ์อนั ดีระหว่างกัน ซึง่ การแบ่งปันนีก้ เ็ ป็นหนึง่ ในหลักคุณธรรม อันเป็นองค์ประกอบของหลัก เศรษฐกิจพอเพียงเช่นกัน ทั้งนี้ การท�ำความรู้จักเข้าใจศักยภาพ และข้อจ�ำกัดของประเทศเพือ่ นบ้านนัน้ งานศึกษา ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสทางการค้าการลงทุน รายประเทศ (AEC) ที่ สํ า นัก งานนโยบายและ ยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ ร่วม กับสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ ไอ) ทีจ่ ะใช้ขบั เคลือ่ นศักยภาพของประเทศในอีกไม่ นานนี้ น่าจะมีสว่ นช่วยตอบโจทย์ให้ผปู้ ระกอบการ และภาคอุตสาหกรรมไทยได้เป็นอย่างดี ซึ่งใน โอกาสหน้าผูเ้ ขียนและทีมวิจยั จะน�ำข้อมูลทีค่ าดว่า จะเป็นประโยชน์นนั้ มาแบ่งปันให้ผอู้ า่ นได้ทราบกัน. จ�ำกัดของแต่ละประเทศ โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศ เพื่อนบ้าน เพื่อหาคู่ค้าที่จะเป็นโอกาสทางการค้า และการลงทุน ซึ่งจะท�ำให้ประเทศไทยเติบโตใน ภูมิภาคอย่างมีทิศทาง 3) ความรู้จักแบ่งปันในสิ่งที่เพื่อน บ้านยังขาดแคลน โดยเฉพาะกับประเทศ CLMV

(คือประเทศ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม เป็น ประเทศในกลุ่ม ASEAN ที่มีแนวโน้มเศรษฐกิจโต ต่อเนื่องและยังมีแร่ธาตุทรัพยากรอุดมสมบูรณ์) ที่ มี ป ั ญ หาเดี ย วกั บ ไทยเมื่ อ หลายสิ บ ปี ก ่ อ น ประเทศไทยสามารถเข้าไปให้ความช่วยเหลือใน บางเรื่องได้ เช่น การให้เงินลงทุนช่วยเหลือในด้าน

กิ ริ ฎ า เภาพิ จิ ต ร สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศไทย (TDRI)

- 047 -


NCC Business Magazine Business Trend

เศรษฐกิจพอเพียง ของขวัญจากพ่อ

Story : แสงตะวั น อ่ อ นน่ ว ม

ในโลกของการท�ำธุรกิจสมัยปัจจุบนั ทีเ่ น้นการเติบโตทาง ตัวเลขเป็นหลัก ต่างคนต่างมองว่าเป็นเกมส์การแข่งขันทีต่ อ้ งแย่ง ชิง มีแพ้ มีชนะ หากแต่ถ้ามองดูให้ดีๆ แล้ว แนวคิดเช่นนี้ตั้งอยู่บน พื้นฐานของการเบียดเบียนผู้อื่น และเป็นสาเหตุของปัญหาต่างๆ มากมายที่เกิดขึ้นในโลกของเรา ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย เพราะ ความต้องการ ความโลภที่มีไม่สิ้นสุดของมนุษย์เรา

- 048 -

ปี พ.ศ. 2540 เป็นปีทหี่ ลายๆคนไม่ลมื โดยเฉพาะรุ่นคุณพ่อ คุณ แม่ ของเรา ประเทศไทยประสบสภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่แตก หรือ วิกฤต ต้มย�ำกุ้ง ที่เรียกว่าฟองสบู่คือ เศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงนัน้ เติบโต เป็นอย่างมาก แต่ไม่ได้เติบโตที่ Real Sector คือการลงทุนจริงๆของเอกชน SMEs ต่างๆในประเทศ แต่ไปเติบโตใน Non-Real Sector คือพวกทีล่ กั ษณะ เป็นการเอาเงินต่อเงินเช่นเก็งราคาที่ดิน ลงทุนในหุ้น และส่วนใหญ่มีการ กูย้ มื เงินจากต่างประเทศมาลงทุน เช่นนัน้ ฟองสบูน่ กี้ จ็ ะเติบโตเร็วแต่เปราะ บางแตกได้ง่าย ซึ่งประเทศไทยก็ประสบสภาวะปัญหาเมื่อปี พ.ศ. 2540 ที่ผ่านมานั้นเอง ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ปัญหาด้านสังคม กระทบต่อๆกันเป็น โดมิโน่ ต้นเหตุของปัญหาอยูท่ แี่ นวคิดในการพัฒนาประเทศของผูน้ ำ� ในสมัยนัน้ ที่ ได้วางแผนและด�ำเนินการ ตามแผนนัน้ คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มี ทั้งหมด 12 ฉบับตั้งแต่ พ.ศ. 2504 จนถึงปัจจุบัน (ตอนนี้ใช้ฉบับที่ 12) ใน แผนที่ 1 - 8 ของประเทศไทยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมเป็นหลัก โดยที่ ผู ้ น� ำ ประเทศไม่ ไ ด้ ม องเลยว่ า แท้ จ ริ ง แล้ ว ทุ นของประเทศไทยคื อ "การเกษตร" ที่ ไ ด้ ท� ำ สื บ ต่ อ กั น มาอย่ า งยาวนาน เราเป็ น ประเทศ เกษตรกรรม เมื่อแผนพัฒนาออกมาเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม ก็ทำ� ให้


NCC Business Magazine Business Trend เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานคนจากภาคเกษตรไปภาคอุตสาหกรรมกันหมดก่อ ให้เกิดความเสียหายต่อภาคเกษตรเป็นอย่างมาก และการเน้นที่ตัวเลขการ พัฒนาด้านอุตสาหกรรม โดยไม่ดูรากฐานของสังคมว่าเป็นแบบไหน จนเกิด เป็น วิกฤตต้มย�ำกุ้ง นัน้ เอง และนับตั้งแต่นนั้ มา แผนที่ 9 ได้มีการน้อมน�ำ ปรัชญาการพัฒนาบริหารประเทศตามกระแสพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เรื่อง "เศรษฐกิจแบบพอเพียง" มุ่งเน้นการพัฒนาที่ ยัง่ ยืนด้วยการวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็งยัง่ ยืน มีภมู คิ มุ้ กันทาง เศรษฐกิจที่สามารถพึ่งตนเองได้ มาเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาประเทศ “การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขัน้ ต้องสร้างพืน้ ฐานคือ ความพอมีพอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้น ก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างเสริม ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจชั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 20 ธันวาคม 2516

สอนให้พวกเรามองย้อนกลับไปทีต่ วั เองว่า เรามีทนุ อะไร ค�ำว่าทุนนีส้ ำ� คัญมาก อาทิเช่น ประเทศไทยเป็นประเทศที่ ชาวบ้านท�ำเกษตรกรรมมาอย่างยาวนาน เรามีทุนทางด้านภูมิปัญญาเรื่องการท�ำเกษตรอยู่มาก ประเทศไทยเรามี ประเพณี วัฒนธรรม ยาวนานนับเป็น 1,000 ปี ตรงนีค้ ือ ทุนทางวัฒนธรรม ประเทศไทยเรามีการนับถือกันในเรื่องของความอาวุโส เด็กให้ความเคารพ ผู้ใหญ่ ตรงนี้เป็นทุนทางสังคม เป็นต้น เมื่อมองออกแล้วว่าเรามีฐานทุนเดิม เป็นอะไร ก็ให้ตอ่ ยอดจากฐานทุนเดิม ทีม่ อี ยู่ เปรียบเทียบกับการท�ำธุรกิจ หาก ครอบครัวประกอบธุรกิจด้านค้า ขาย ส่งออก นัน้ แสดงว่า ครอบครัวมีทุนเดิม ในเรือ่ งนี้ เราก็สามารถทีจ่ ะต่อยอดทุนตรงนีต้ อ่ ไปให้เติบโตมากยิง่ ขึน้ หรือหาก ครอบครัวไม่ได้ประกอบธุรกิจ แต่เรามีทุนทางปัญญาในด้านนวัตกรรม เรามี ความคิด มีไอเดีย มีความถนัด เราก็น�ำทุนทางปัญญาของเราตรงนี้มาต่อยอด ท�ำธุรกิจของเราต่อไปได้ เรียกได้ว่า ชอบอะไร ถนัดอะไร ให้ทำ� แบบนัน้ รัฐบาล ได้มอบหมายให้ ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ให้ขับเคลื่อน นโยบาย Thailand 4.0 ที่อยู่บนพื้นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน และสามารถพึ่งพา ตนเองได้ โดยเน้นการน�ำ นวัตกรรม เข้ามาขับเคลื่อนต่อยอดจากทุนเดิมที่ ประเทศเรามีอยู่ เป็นการเสริมสร้างฐานของเศรษฐกิจของประเทศ ดังเช่น พระบรมราโชวาท

หากแต่เศรษฐกิจพอเพียงนัน้ ถูกน�ำมาตีความผิดๆ และสอนกันอย่าง ผิดๆว่า คือการท�ำเกษตร เพียงอย่างเดียว พอเพียงคือต้องท�ำนากี่ส่วน เลี้ยง ปลากี่ส่วน ซึ่งเป็นแค่ส่วนเล็กๆที่ท่านได้ทรงสอน แต่แก่นของค�ำว่าเศรษฐกิจ พอเพียงจากที่ในหลวง รัชกาลที่ 9 ท่านทรงมีพระราชด�ำริไว้ไม่ใช่แบบนัน้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจของทุกอาชีพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชด�ำรัสเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไว้ว่า “คนส่วนมากมักเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของ เกษตรกรเท่านัน้ ซึ่งแท้จริงผู้ประกอบอาชีพอื่น ก็สามารถน�ำเอาแนว พระราชด�ำรัสไปประยุกต์ใช้ได้ทงั้ สิน้ ผูท้ เี่ ป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม ก็สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้โดยเน้นการผลิตด้านการเกษตรอย่างต่อ เนื่อง และไม่ควรท�ำอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เกินไป เพราะหากขนาด ใหญ่เกินไป ก็จะต้องพึง่ พิงสินค้าวัตถุดบิ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เข้ามาผลิตสินค้า ต้องค�ำนึงถึงสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทยก่อน เพือ่ ให้ไม่ตอ้ ง พึ่งพิงต่างชาติอย่างเช่นปัจจุบัน” พระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม2540 เรื่อง "เศรษฐกิจพอเพียง"

“เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความ มั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัว อาคารไว้นนั่ เอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมาก มองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ�้ำไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จากวารสารชัยพัฒนา

“…ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ท�ำอะไรให้เหมาะ สมกับฐานะของตัวเอง คือท�ำจากรายได้ 200-300 บาท ขึ้นไปเป็นสอง หมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอาค�ำพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูด กันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือท�ำเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉนั คิด ที่ฉนั คิดคือเป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดูทวี ี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจ�ำกัดเขาไม่ ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉนั ไป เขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency นัน้ มีทีวี เขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่ และยังใส่เนคไท เวอร์ซาเช่ อันนีก้ ็เกินไป...” พระต�ำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล 17 มกราคม 2544

สุดท้ายนีผ้ มคิดว่า ในหลวง รัชกาลที่ 9 ท่านอยากเห็นประชาชนของ ท่านมีความสุข ไม่ว่าจะท�ำอาชีพไหนๆ หรือแม้จะมีเงิน หรืออ�ำนาจมากมาย เพียงใด แต่ขาดซึ่งความสุข ผมว่ามันก็ไม่มีประโยชน์ที่จะด�ำรงชีวิตอยู่ต่อ ดัง นัน้ ความสุข คือสิ่งส�ำคัญในการด�ำรงอยู่ของมนุษย์เรา ผมจึงขอน้อมน�ำพระ ราชด�ำรัสของ ในหลวง รัชกาลที่ 9 มาทิ้งท้ายในบทความนี้ กับวิธีการสร้าง ความสุขให้เกิดในชีวิตของพวกเราทุกคน ขอบคุณมากครับผม “คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมี ความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าท�ำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอ ประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข” พระราชด�ำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2541

หลักเศรษฐกิจพอเพียงหรือเรียกได้อีกอย่างคือ หลักการพัฒนาที่ ยั่งยืน คือจะท�ำอะไรต้องยั่งยืน เดินต่อเองได้ โครงการต่างๆที่ ในหลวง รัชกาล ที่ 9 ท่านทรงท�ำแต่ละโครงการนัน้ ต่างอยู่ในแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง ท่าน

- 049 -


พระราชกรณียกิจ

ด้านสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ พระองค์ทรงใช้เครื่องมือสื่อสาร พกติ ด พระองค์ เพื่ อ ประกอบพระราช กรณี ย กิ จ ต่ า งๆ อยู ่ เ สมอ เพราะสิ่ ง ที่ พระองค์ทรงขาดไม่ ได้คือการสดับตรับฟัง ข่าวทุกข์สุขของประชาชน ดังเช่น ในระหว่าง การเสด็จเยี่ยมราษฎรได้ทรงพบว่า มีผู้ ใด ที่ก�ำลังป่วยเจ็บจ�ำเป็นต้องบ�ำบัดรักษา จะ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะแพทย์ ผู้ตามเสด็จดูแลตรวจรักษาทันที

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงสนพระทัยด้านการสือ่ สาร ตั้งแต่ทรงพระเยาว์ "...ทรงทดลองต่อสายไฟพ่วงขนานกับล�ำโพง ขยายของเครือ่ งรับวิทยุสว่ นพระองค์ทผี่ ลิตจากประเทศสวีเดน ยีห่ อ้ 'Centrum' จากห้องทีป่ ระทับพระองค์ทา่ นไปยังห้องทีป่ ระทับของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล ทัง้ สองพระองค์ทรง พอพระทัยในบริการเสียงตามสายไม่นอ้ ย..." (สุชาติ เผือกสกนธ์, วัน สือ่ สารแห่งชาติ : 2530) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงอุทศิ พระองค์ พระอัจฉริยะ และพระอุตสาหะทัง้ มวล เพือ่ ราษฎรในทุกภูมภิ าค พระองค์ทรงมีดำ� ริให้ มีการพัฒนาด้านระบบวิทยุสื่อสารอย่างจริงจังและต่อเนื่อง และมี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ กล่าวคือสามารถรับส่งได้ไกลยิง่ ขึน้ ดังจะเห็นได้ จากการทีพ่ ระองค์ทรงใช้เครือ่ งมือสือ่ สารพกติดพระองค์ เพือ่ ประกอบพระ ราชกรณียกิจต่างๆ อยูเ่ สมอ เพราะสิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงขาดไม่ได้คอื การสดับ ตรับฟังข่าวทุกข์สขุ ของประชาชน ดังเช่น ในระหว่างการเสด็จเยีย่ มราษฎร ได้ทรงพบว่า มีผใู้ ดทีก่ �ำลังป่วยเจ็บจ�ำเป็นต้องบ�ำบัดรักษา จะทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะแพทย์ผตู้ ามเสด็จดูแลตรวจรักษาทันที ในบาง รายทีม่ อี าการป่วยหนัก จ�ำเป็นต้องส่งตัวเข้าบ�ำบัดรักษาในโรงพยาบาล ท้องถิน่ หรือโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครโดยเร็ว หากมีเวลาเพียงพอ พระองค์ทา่ นจะรับสัง่ ผ่านทางวิทยุถงึ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ ต�ำรวจ ตระเวนชายแดน ขอรับการสนับสนุนเรือ่ งการขนส่ง เช่น เฮลิคอปเตอร์

เพื่อน�ำผู้ป่วยเจ็บส่งยังที่หมายปลายทางด้วยพระองค์เอง นอกจากนี้ พระองค์ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ น�ำระบบสือ่ สารแบบถ่ายทอดสัญญาณหรือ Repeater ซึง่ เชือ่ ม ต่อทางวงจรทางไกลขององค์การโทรศัพท์ฯ ให้มลู นิธแิ พทย์อา สาฯ (พอ.สว.) น�ำไปใช้เพือ่ ช่วยเหลือรักษาพยาบาลแก่ผเู้ จ็บ ป่วยในท้องถิน่ ห่างไกล ในเรือ่ งการปฏิบตั กิ ารฝนเทียมหรือฝน หลวงพระราชทาน ในการปฏิบตั ริ ะยะแรกๆ ได้ประสบปัญหา เรือ่ งการเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศทีไ่ ม่ทราบล่วงหน้า ซึง่ นักบิน ผูป้ ฏิบตั จิ ำ� เป็นต้องได้รบั ค�ำแนะน�ำแก้ไขโดยฉับพลัน เนือ่ งจาก ยังไม่มกี ารติดต่อสือ่ สารระหว่างผูป้ ฏิบตั กิ ารด้วยกัน จึงเป็นเหตุ ให้ไม่ได้ผลเท่าทีค่ วร กล่าวคือฝนไม่ตกในเป้าหมายบ้าง ตกน้อย หรือไม่ตกตามทีค่ ดิ บ้าง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้ทรง สดับตรับฟังข่าวการปฏิบตั กิ ารฝนเทียมทุกครัง้ และทรงทราบถึงปัญหาส�ำคัญคือ การขาดการ ติดต่อสือ่ สารทีด่ ี จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตดิ ตัง้ วิทยุให้แก่หน่วยปฏิบตั กิ ารฝนเทียมทัง้ ทางอากาศและ ทางภาคพืน้ ดิน นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงมีพระราชด�ำริให้ทำ� การศึกษาวิจยั รวมถึงการออกแบบและสร้างสายอากาศย่านความถีส่ งู มาก หรือทีเ่ รียกว่า VHF (วี.เอช.เอฟ.) ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ 3 ประการ ประการแรก เพือ่ ทีจ่ ะได้ใช้งานกับวิทยุสว่ นพระองค์ ทัง้ นีโ้ ดยมีพระราชประสงค์ทจี่ ะให้ ทราบเหตุการณ์ตา่ งๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ งของสาธารณภัยทีเ่ กิดขึน้ กับประชาชน เรือ่ งไฟไหม้ เรือ่ งน�ำ้ ท่วม ฯลฯ ทัง้ นีเ้ พือ่ ทีจ่ ะได้ทรงช่วยเหลือได้ทนั ท่วงที ประการทีส่ อง เพือ่ ทีจ่ ะพระราชทานให้แก่หน่วยราชการต่างๆ ประการทีส่ าม เพือ่ ส่งเสริมให้คนไทยทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและตัง้ ใจจริง ได้ใช้ ความอุตสาหวิรยิ ะในการพัฒนาระบบวิทยุสอื่ สารขึน้ ใช้เองภายในประเทศ นอกเหนือจากวิทยุสอื่ สารแล้ว ในเรือ่ งของเทเล็กซ์พระองค์ทรงสนพระทัยอยูไ่ ม่นอ้ ย และสิง่ หนึง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ไม่เคยทรงขาดคือ การพระราชทานพรปีใหม่ นอกจาก จะทรงมีกระแสพระราชด�ำรัส พระราชทานพรปีใหม่แก่พสกนิกรไทยทางวิทยุและโทรทัศน์ทกุ แห่ง แล้ว พระองค์ทา่ นยังทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานพรทางเทเล็กซ์สม�ำ่ เสมอทุกปี แต่ ในปัจจุบนั ท่านทรงใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ในการประดิษฐ์บตั รอวยพรปีใหม่แทน นอกจากนีพ้ ระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการสือ่ สารว่า การสือ่ สารเป็นปัจจัย ส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจทุกประเภท, การสือ่ สารเป็นหัวใจของความมัน่ คงของประเทศ และการ สือ่ สารเป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญยิง่ ในการพัฒนาประเทศให้ประชาชนอยูด่ กี นิ ดี

- 050 -

ข้อมูลจากเพจ: ในหลวง "นักพัฒนาคู่ฟ้าของไทย"


- 047 -

โทร. 092-4241695, 063-7822459

Duplex room

มาตรฐานพรีเมี่ยมคอนโด ที่เหนือระดับ

ใกลเดอะมอลล เยื้องโลตัส

NCC Business Magazine


เปิดประวัติ คุณทองแดง สุนัขทรงเลี้ยง "ทองแดง" เป็นลูกของ "แดง" สุนขั จรจัดบริเวณซอยศูนย์แพทย์พัฒนา ถนนพระราม 9 เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช ทรงน�ำมาเลี้ยง หลังจากเสด็จพระราชด�ำเนิน ไปเปิดศูนย์แพทย์พัฒนา และนายแพทย์คนหนึง่ น�ำทองแดงมาทูลเกล้าฯ ถวายให้ทอดพระเนตร ทองแดงเกิดหลังลูกๆ ของมะลิไม่กี่วัน และทรง ยกให้มะลิเลี้ยงดู ทองแดงมีพี่น้องรวม 7 ตัว ชาว บ้านตั้งชื่อให้ว่า ทองแดง เพศเมีย, คาลัว เพศ เมีย, หนุน เพศเมีย, ทองเหลือง เพศผู้ ได้ไปอยู่ บ้านของข้าราชบริพารคนหนึง่ , ละมุน เพศเมีย, โกโร เพศเมีย, และโกโส เพศเมีย "ทองแดง" มีลักษณะพิเศษต่างจาก ลูกสุนขั ตัวอื่น คือ มีสายสร้อยรอบคอครึ่งเส้น มี ถุงเท้าขาวทั้ง 4 ขา มีหางม้วนขดเป็นวง ปลาย หางดอกสีขาว และมีจมูกเด่น ได้เข้าเฝ้าฯ ถวาย ตัวเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ขณะมีอายุ ได้ 5 สัปดาห์ ที่พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงค้นในหนังสือว่า ทองแดง มีลักษณะคล้ายคลึงกับสุนขั พันธุ์บาเซนจิ ซึ่งเป็น

สุนขั พันธุ์โบราณ มีถิ่นก�ำเนิดทางแอฟริกาใต้ นิยมใช้งานในการล่าสัตว์ แต่ทองแดงมี ขนาดตัวใหญ่กว่าสุนขั พันธุ์บาเซนจิทั่วไป พระองค์จึงทรงเรียกทองแดงว่าเป็นสุนขั พันธุ์ ไทยซูเปอร์บาเซนจิ (ก่อนหน้านีท้ รงเรียกว่า เป็นสุนขั พันธุ์เทศ (ย่อมาจาก เทศบาล) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ทองแดงตาย ณ วังไกลกังวล ร่างอยู่ที่ โรงพยาบาลสัตว์หัวหิน รวมอายุได้ 17 ปี 1 เดือน 9 วัน

- 052 -



เผยพระราชด�ำรัส “องค์จก ิ มี” ทรงเคารพรัก “ในหลวง” ของปวงชนชาวไทย ในช่วงเวลาแห่งความโศกเศร้าของปวง ชนชาวไทย ที่เพิ่งสูญเสียองค์พระมหากษัตริย์ผู้ ยิ่งใหญ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ยังมีกษัตริย์อีกพระองค์หนึ่ง ที่ทรง โทมนั ส ไม่ ต ่ า งจากประชาชนชาวไทย นั่นคื อ สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก แห่งราชอาณาจักรภูฏาน ผู้ทรงเป็นที่คุ้น เคยของประชาชนชาวไทยจ�ำนวนมาก โดยสมเด็จ พระราชาธิบดีแห่งภูฏานทรงน�ำพระราชวงศ์และ ประชาชนของพระองค์ สวดมนต์และจุดเทียน เพื่อถวายอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพระบรมโกศ

- 054 -


คนไทยเริม่ รูจ้ กั สมเด็จพระราชาธิบดีจกิ มี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก ตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน เสด็จทรงร่วมในพระราชพิธฉี ลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี แห่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในพระบรมโกศ ด้วยพระจริยาวัตร ทีง่ ดงามท�ำให้ประชาชนชาวไทยประทับใจตัง้ แต่ครัง้ นัน้ เป็นทีท่ ราบกันว่า สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งภูฏานทรง มีความใกล้ชดิ กับพระราชวงศ์ของไทยและทรงนับถือพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศเป็นแบบอย่างในการ พัฒนาประเทศ เคยเสด็จจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาแนวทาง การพั ฒ นาบนยอดดอยอิ น ทนนท์ แ ละยอดดอยอ่ า งขาง นอกจากนั้นยังเคยเข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ ที่พระต�ำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์อีกด้วย ในโอกาสที่ เจ้าชายจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก รับการถวายปริญญา สาขาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาปรัชญาการเมืองและเศรษฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัย รังสิต เมื่อวันที่ 26 พ.ย. 2549 ซึ่งในปีนนั้ ยังเป็นปีมหามงคล ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เจ้าชายได้มีพระราชด�ำรัส เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า “ส�ำหรับปีนี้เป็นปีมหามงคลของคนไทยที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี และเป็นปีทพี่ เิ ศษ ส�ำหรับข้าพเจ้าเช่นกัน ข้าพเจ้ารัก เคารพ และชื่นชมพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างมาก พระองค์ท่านทรงเป็นสุด ยอดพระมหากษัตริย์ ข้าพเจ้ามีความศรัทธาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั อย่างลึกซึง้ ในหลายๆ เรือ่ ง ปีนเี้ ป็นปีทสี่ �ำคัญมาก ส� ำ หรั บ ข้ า พเจ้ า ซึ่ ง ข้ า พเจ้ า จะไม่ มี วั น ลื ม ทุ ก ครั้ ง ที่ ได้ ม า ประเทศไทย ข้าพเจ้าจะไม่ลืมประสบการณ์ในครั้งนี้ ทุกครั้งที่ ข้าพเจ้านึกถึงจะมีความสุขและจะชื่นชมกับความทรงจ�ำนี้ไป ตลอดชีวิต เนื่องในโอกาสรับปริญญาบัตรครั้งนี้ จะต้องเป็น เยาวชนทีจ่ ะต้องเรียนรู้อะไรหลายอย่างๆ ซึง่ ตัวอย่างทีจ่ ะเรียน รู้นนั้ หาได้ไม่ยากเลย คือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนัน่ เอง พระองค์ทรงเป็นบุคคลที่สำ� คัญส�ำหรับข้าพเจ้า พระองค์ทรง งานอย่างหนัก พระทัยดี ทรงมีความยุติธรรม ทรงเป็นบุคคลที่ มีความพยายาม มุ่งมั่น ท�ำเพื่อประเทศชาติ ข้าพเจ้าอยากจะ ให้เยาวชนไทยและคนไทย ยึดพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแรงบันดาลใจในการปฏิบตั ติ น เพือ่ ด�ำรงชีวติ ตามทีพ่ ระองค์ ปฏิบัติ” ข้อมูลและภาพจาก www.khaosod.co.th/special-stories/news_52519

- 055 -


NCC Business Magazine การเกษตรแนวใหม่

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

กับการเกษตรไทย ขอน้อมกราบส่งเสด็จสูส่ วรรคาลัย น้อม ร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ และร่วมถวายความ อาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ล อดุ ล ยเดช ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า จะขอท� ำ งานเพื่ อ เกษตรกรของพระองค์ตลอดไป ผูเ้ ขียนมีความภาคภูมอิ ย่างยิง่ ทีไ่ ด้มโี อกาส เขียนเล่าถึงพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระ ปรมิ นทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ พัฒนาด้านการเกษตรให้กับประเทศไทย แต่พระราช กรณียกิจของพระองค์ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มี มากมายมหาศาล ยิง่ ใหญ่ และสูงส่ง จนผูเ้ ขียนไม่คดิ ว่าจะถ่ายทอดเรือ่ งราวพระราชกรณียกิจเหล่านัน้ ได้ดี และครบถ้วนอย่างแน่นอน ดังนัน้ ผู้เขียนเสนอดังนี้ ผู้ เขียนจะค้นคว้าและเขียนถึงพระราชกรณียกิจของ พระองค์ในกรอบกว้างๆ และ ให้ผอู้ า่ นค้นคว้าเพิม่ เติม ท่านจะได้พบกับความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระองค์ทที่ รงห่วงใยประชาชนของพระองค์อย่าง มากมาย "เศรษฐกิจของเราขึ้นอยู่กับการเกษตร กรแต่ไรแล้ว รายได้ของประเทศที่ได้มาจากการ สร้ า งความเจริ ญ ด้ า นต่ า งๆ เป็ น รายได้ จ าก การเกษตรเป็ น ส่ ว นใหญ่ จึ ง อาจกล่ า วได้ ว ่ า ความเจริญของประเทศต้องอาศัยความเจริญ ของการเกษตรเป็นส�ำคัญ และงานทุกๆ ฝ่ายจะ ด�ำเนินก้าวหน้าไปได้ก็เพราะการเกษตรของเรา เจริญ" (พระบรมราโชวาท ในพิ ธี พ ระราชทาน ปริญญาบัตร และอนุปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ๓ กรกฎาคม ๒๕๐๗) พระบรมราโชวาทนี้แม้จะพระราชทาน นานร่วม 50 ปีแล้ว แต่ยังคงทันสมัยจนถึงทุกวัน นี้ และจะยังคงเป็นเช่นนีต้ ลอดไป พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดชได้ ท รงเล็ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของภาค การเกษตรต่อการพัฒนาประทศ พระองค์จงึ ทรงมีพระ ราชด�ำริเกี่ยวกับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ทางการเกษตรที่ส�ำคัญคือ การที่ทรงเน้นในเรื่องของ การค้นคว้าทดลอง และวิจัยหาพันธุ์พืชต่าง ๆ ใหม่ ๆ

ทั้งพืชเศรษฐกิจ ทั้งพืชเพื่อการปรับปรุงบ�ำรุงดิน และ พืชสมุนไพร ตลอดจนการศึกษาเกีย่ วกับแมลงศัตรูพชื ทัง้ นีร้ วมทัง้ พันธุส์ ตั ว์ตา่ ง ๆ ทีเ่ หมาะสม เช่น โค กระบือ แพะ แกะ พันธุ์ปลา ฯลฯ และสัตว์ปีก ทั้งหลายด้วย เพือ่ แนะน�ำให้เกษตรกรน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ราคาถูกและใช้ เทคโนโลยีที่ง่าย และไม่สลับซับซ้อน ซึ่งเกษตรกรจะ สามารถรับไปด�ำเนินการเองได้ และที่ส�ำคัญคือ พันธุ์ พืช พันธุ์สัตว์ หรือเทคนิควิธีการดูและต่าง ๆ นัน้ จะ ต้องเหมาะสมกับสภาพสังคมและสภาพแวดล้อมของ ท้องถิ่นนัน้ ๆ ด้วย ทั้งหมดนี้ผู้เขียนคัดลอกจาก website ขอมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อให้ผู้อ่านได้ ทราบถึ ง พระราชประสงค์ ข องพระองค์ ท ่ า นที่ จ ะ พัฒนาการเกษตรไทย ด้วยการวิจัย เพื่อสร้างและ พัฒนาสายพันธุ์พืช และสัตว์ใหม่ เพื่อน�ำไปสู่ความ แตกต่าง จากพระราชประสงค์นี้ พระองค์ทรงแปลง มาเป็นพระราชกรณียกิจ ถ้าผูอ้ า่ นได้มโี อกาสไปดูงาน ทีเ่ ขตพระราชฐานส่วนพระองค์ในพระต�ำหนักจิตรลดา รโหฐาน จะเห็นว่า พื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลของเขตพระ ราชฐานแห่งนี้ ถูกใช้เป็นห้องทดลอง และวิจยั โครงการ ต่างๆ การทดลองในพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานมี ตั้งแต่แปลงนา การปลูกผักผลไม้ โรงนม การประมง ป่าไม้ ตลอดจนหน่วยงานวิจัยที่ท�ำหน้าที่ค้นคว้าและ พัฒนาโดยเฉพาะ วังของพระองค์ไม่ได้งดงามด้วยสิ่ง ปลูกสร้าง หรือมวลไม้ดอก ไม้ใบ เช่นที่ควรเป็นโดย สากล หากแต่วังของพระองค์ งดงามอย่างล�้ำลึกด้วย พระราชหฤทัยทีง่ ดงาม เต็มไปด้วยความรักและความ ห่วงใยประชาชนของพระองค์อย่างทีส่ ดุ ถ้าท่านผูอ้ า่ น ยังไม่เคยไป ขอให้หาโอกาสเข้าไปเยี่ยมชม จากข้อมูลใน website ของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ระบุว่า พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุ ญาตให้เผยแพร่ข้อมูล และผลการวิจัยของโครงการสู่ เกษตรกรและประชาชนที่สนใจ พระองค์ทรงผสาน และดั ด แปลงความรู ้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ขั้ น พื้ นฐาน เทคโนโลยีสมัยใหม่และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อให้เข้า กับ ทรัพ ยากรทางการเกษตรในท้ อ งถิ่น และสภาพ แวดล้อม และในแต่ละปี จะมีประชากรกว่า 12,000 คน เข้าเยี่ยมชมโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าเกษตรกร ผูใ้ หญ่บา้ น นักเรียน นักศึกษาวิชาเกษตร ผู้น�ำศาสนาไปจนถึงผู้เชี่ยวชาญ และสื่อมวลชนจากต่างประเทศ สิ่งที่ปรากฏที่พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน

- 056 -

By อริ ญ า

เป็นเพียงส่วนหนึง่ ที่แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยะภาพ และพระปณิ ธ านที่ แ น่ ว แน่ ที่ พ ระองค์ ท ่ า นจะ พระราชทานแก่ประชาชนและเกษตรกรของท่าน ซึ่ง นอกจากทีพ่ ระต�ำหนักแห่งนีแ้ ล้ว พระองค์ยงั ทรงมีพระ ราชด� ำ ริ ที่ จ ะจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ก ารศึ ก ษาการพั ฒ นาขึ้ น จ�ำนวนทั้งสิ้น 6 แห่ง ซึ่งศูนย์ฯ เหล่านี้เปิดโอกาสให้ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาชนบทและการเกษตรได้เข้ามาศึกษาวิจัย ใช้ ส� ำ หรั บ ฝึ ก อบรมเกษตรกรและบุ ค คลอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือน และอาชีพเสริม ศูนย์ดังกล่าวประกอบด้วย • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน จังหวัดสกลนคร • ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อน จังหวัดฉะเชิงเทรา • ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอ่าวคุง้ กระเบน จังหวัดจันทบุรี • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย จังหวัดเพชรบุรี • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส ผู้อ่านสามารถสังเกตได้ว่า ที่ตั้งของศูนย์ ต่างๆ กระจายอยู่ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ทั้งนี้ เพราะเกิดจากการคัดเลือกอย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อ แสดงให้เห็นถึงลักษณะเชิงภูมิเกษตรที่แตกต่างกันใน แต่ละภาคของประเทศ เรื่องราวของแต่ละศูนย์ น่า สนใจมาก โดยส่วนตัวของผู้เขียนเอง เคยมีโอกาสพา นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาไปเยี่ยมชมดูงานที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน จังหวัดฉะเชิงเทรา และศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย จังหวัดเพชรบุรี รู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ในพระอัจฉริยะ ภาพ และในสายพระเนตรทีก่ ว้างไกลของพระองค์ทา่ น นักศึกษาเหล่านี้ เมื่อจบการศึกษาต้องไปเป็นนักวิจัย และนักวิชาการทางการเกษตร อยากจะให้เค้าได้เห็น และได้ฟัง หวังว่าพวกเค้าจะเกิดแรงบันดาลใจ และ ความแน่วแน่ ที่จะท�ำงานเพื่อสังคมการเกษตร แม้ พระองค์ท่านจะเสด็จสู่สวรรคาลัยแล้ว แต่ถ้ายังมีคน ที่จะท�ำงานตามรอยพระยุคลบาทของพระองค์ต่อไป เกษตรกรของพระองค์ ก็จะเข้มแข็ง อาชีพการเกษตร ก็จะเจริญก้าวหน้า ประเทศของเราจะอยู่อย่างเป็นสุข ตามพระประสงค์ของพระองค์

ข้อมูลอ้างอิง : https://web.ku.ac.th/king72/2539/menu.htm, 31 ตุลาคม, 2559 https://www.moac.go.th/ewt_news.php?nid=7095&filename=fao, 31 ตุลาคม, 2559



NCC Business Magazine Korat Travel : เที่ ย วโคราช

“ในหลวงและพระราชินี” ทรงประทับโล้ชิงช้า ครั้งเสด็จฯเยือนพิมาย - 058 -

อุทยานไทรงาม น�ำภาพ พ ร ะ บ ร ม ฉ า ย า ลั ก ษ ณ ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช และ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ เคย ประทับโล้ชิงช้าตอนเสด็จมา อ.พิมาย จ.นครราชสีมา


NCC Business Magazine Korat Travel : เที่ ย วโคราช

วันที่ 26 ต.ค. 2559 ผู้สื่อข่าวเดินทางไปที่อุทยานไทรงาม ต.ใน เมือง อ.พิมาย จ.นครราชสีมา หลังเจ้าหน้าที่ที่ดูแลอุทยานได้มีการน�ำภาพ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถได้เสด็จฯ เยือน อ.พิมาย และทรงได้เสด็จไปชมอุทยานไทรงามเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2498 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ ประทับชิงช้า ใต้ต้นไทรอายุหลายร้อยปี โดยมีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช เป็นผู้โล้ชิงช้า ก่อนที่จะมีการบันทึกภาพดังกล่าวไว้เป็นที่ระลึก ได้น�ำมาติดไว้บริเวณที่ท่านได้เสด็จมานัน้ ครั้งเพื่อให้ประชาชนและนักท่อง เที่ยวได้ชม ว่าครั้งหนึง่ ท่านเคยเสด็จมาที่นี้ นายหนูแดง สุขสบาย ชาว อ.พิมาย จ.นครราชสีมา อดีตเจ้า หน้าทีฝ่ า่ ยช่างกลโครงการส่งน�ำ้ และบ�ำรุงรักษาทุง่ สัมฤทธิ์ เปิดเผยว่า ตัง้ แต่ จ�ำความได้ พ่อก็ได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับพระองค์ท่านเมื่อครั้งที่เสด็จมาที่ ไทรงามให้ฟงั พร้อมกับน�ำไปดูจดุ ทีใ่ ช้ผกู ชิงช้าให้สมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินนี าถทรงประทับ ดังที่เห็นในรูป แต่ปัจจุบันต้นไทรต้นนัน้ ได้ล้มไปแล้ว เมื่อ พ.ศ. 2532 สาเหตุเกิดจากถูกลมพายุพัด ต่อมาทางโครงการส่งน�ำ้ และ บ�ำรุงรักษาทุ่งสัมฤทธิ์ได้ให้สร้างศาลไว้เพื่อกราบไหว้เพราะต้นไทรต้นนัน้ มีอายุกว่า 400 ปีแล้ว. เรื่องจาก http://workpointtv.com

- 059 -


NCC Business Magazine Sport : กีฬา

การแล่นใบ ข้ามอ่าวไทย

เฉลิม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว

การแล่นใบข้ามอ่าวไทย เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสครบรอบ 50 ปีแห่งการทรงแล่นใบข้ามอ่าวไทย เมื่อ 19 เมษายน พ.ศ.2509

“การแล่นใบ สอนให้คนคิดเอง ท�ำเอง เพราะเมื่อเราลงไปเล่นเรือ ใบแล้วเรือไม่วิ่ง จะไม่มีใครมาคอยสอน เราต้องคิดเอง ท�ำเอง ว่าลมมา ทางไหน ลมแรงขนาดนี้ เราสู้ ไหวไหม ถ้าไหวเราก็สู้ แต่ถ้าไม่ไหวแล้วเรา ยังสู้ เรือก็จะคว�่ำ ถ้าลมเบา เราจะต้องท�ำอย่างไรเรือจึงจะวิ่ง แล้วถ้าไม่มี ลมเราจะท�ำอย่างไร เราก็ควรจะนั่งรอสักครู่ให้ลมมา ถ้าเราเล่นเรือเป็น ดูทิศทางลมเป็น ถ้าเราเป็นตัวนี้ เด็กไทยเป็นตัวนี้แล้วน�ำมาใช้ในชีวิต น�ำ มาใช้ในกิจการงานได้ ไม่มที างขาดทุน เพราะรูเ้ ทคนิคการใช้ชวี ติ เด็กไทย จะรู้จักและเข้าใจในการคิดเอง ท�ำเอง” ( พระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ) - 060 -


NCC Business Magazine Sport : กีฬา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงโปรดกีฬาเรือใบ เป็นพิเศษและทรงมีพระปรีชาสามารถในการแล่นใบ รวมทั้งมี พระอัจฉริยภาพในการต่อเรือใบด้วยพระองค์เองซึ่งเรือใบฝี พระหั ต ถ์ ล� ำ แรกที่ ท รงต่ อ เป็ น เรื อ ประเภทเอ็ น เตอร์ ไพรส์ พระราชทานชื่อเรือว่า “ราชประแตน” ทรงต่อเรือใบโอเค ล�ำ แรกชื่อ “นวฤกษ์” ทรงจัดตั้งสโมสรเรือใบส่วนพระองค์ขึ้น คือ หมวดเรือใบหลวงจิตรลดา ทรงรับเป็นองค์อปุ ถัมภ์สมาคมแข่ง เรือใบแห่งประเทศไทย และสโมสรเรือราชวรุณที่เมืองพัทยา นอกจากนี้ ยั ง ได้ ท รงออกแบบเรื อ ใบขึ้ น อี ก ประเภทหนึ่ ง พระราชทานชือ่ ว่า เรือมด ซึง่ ได้ทรงจดลิขสิทธิท์ ปี่ ระเทศอังกฤษ เป็นประเภท INTERNATIONAL MOTH CLASS ต่อมาทรงพัฒนา เรือแบบมดขึน้ มาใหม่ โดยได้พระราชทาน ชือ่ ว่าเรือใบ“ซูเปอร์ มด” และเรือใบ“ไมโครมด” ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในหมู่นกั แล่นใบ เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2509 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงเรือใบประเภทโอเค ชือ่ เวคา จาก หน้าวังไกลกังวล ข้ามอ่าวไทยไปยังอ่าวสัตหีบ ซึ่งมี ระยะทางประมาณ 60 ไมล์ทะเล ด้วยพระองค์เอง เพียงพระองค์เดียว ทรงใช้เวลาในการแล่นใบถึง 17 ชั่วโมงเต็ม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงน�ำ ธงราชนาวิกโยธิน ที่ทรงน�ำข้ามอ่าวไทยมาด้วยปัก เหนือของก้อนหินใหญ่ที่ชายหาดของอ่าวนาวิกโยธิน และหลังจากทรงปักธงราชนาวิกโยธินแล้ว ได้ทรงลง พระปรมาภิไธยบนแผ่นศิลาจารึก ต่อมาในปีเดียวกัน ได้พระราชทานหางเสือเรือพระที่นงั่ เวคา ที่ทรงแล่น ใบข้ามอ่าวไทย เพื่อเป็นรางวัลนิรันดร แก่ผู้ชนะเลิศ ในการแข่งขันเรือใบข้ามอ่าวไทยประจ�ำปี ของสมาคม แข่งเรือใบแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จนถึงปัจจุบัน

ข้อมูลและภาพจาก : http://www.yrat.or.th/Activity/view2/40 สมาคมกีฬาแข่งเรือใบแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

- 061 -


ชุดพระราชอาสน์ ชุดพระราชอาสน์ใช้เป็นที่ประทับใน 3 รัชกาล คือ

1.รัชกาลที่ 5 จัดถวายเป็นที่ประทับ กล่องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระศรีพัชริน พระบรมราชชนนี เมื่อคราวเสด็จประพาส จังหวัดนครราชสีมา พระสงฆ์ท�ำพิธีเปิดทางรถไฟ สายกรุงเทพ-นครราชสีมา เมื่อ วันที่ 20 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2443 2.รัชกาลที่ 6 จัดถวายเป็นที่ประทับ เมื่อคราวเสด็จประพาสจังหวัด นครราชสีมา และท�ำพิธีฉลองรอบกองทหารม้า เมื่อยังด�ำรงพระยศ เป็นพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เมื่อวันที่ 12 - 20 มกราคม พ.ศ. 2446 3.รัชกาลที่ 9 ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา นายสุวรรณ เลื่อนยศ ได้ มอบให้ครูโรงเรียนสุรนารีวทิ ยา ครูโรงเรียนการเรือน และ นาย ส.จิว มานะศิลป์ การ ซ่อมแซม และจัดถวายเป็นทีป่ ระทับ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และพระนาง เจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ เพือ่ ให้ราษฎรเข้าเฝ้า ณ บริเวณหน้าศาลากลาง จังหวัด นครราชสีมา เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498

21ปีต้นคูณของพ่อโตแล้ว เมือ่ วันที่ 11 มกราคม 2538 "พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ"และ"สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ" ทรงปลูกต้นคูณไว้ บริเวณด้านหน้าอุโบสถวัดบ้านไร่ เมือ่ ครัง้ ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินมาที"่ วัดบ้านไร่" ถึงวันนีช้ าวโคราชยัง มีความปลื้มปิติที่ยังได้เห็นต้นไม้ของพ่อที่ทรงปลูกไว้

- 062 -



NCC Business Magazine บทความ : สุขภาพ

“ทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน” จากความห่วงใยของ ในหลวง ร.9

รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานทรัพย์สว่ นพระองค์ จัดซือ้ รถยนต์ พร้ อ มอุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ท� ำ ฟั น มี ทันตแพทย์อาสาออก ปฏิบัติงานโดยเริ่มครั้งแรกเมื่อ ปี 2512 โดยมี ทันตแพทย์ สี สิริสิงห์เป็นหัวหน้าทีม เพือ่ ส่งทันตแพทย์อาสาสมัครออกช่วยเหลือ บ�ำบัดโรค เกี่ยวกับฟัน ตลอดจนสอนการรักษาอนามัยของปาก และฟันแก่เด็ก นักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องที่ ทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่า ได้รับความ ร่วมมือจาก ทันตแพทย์โรงพยาบาลต่างๆ ในการออกปฏิบัติการ ภาคสนาม

ในปี 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงมีพระราชปรารภว่า

"เวลาเรามีปัญหาเกี่ยวกับฟันก็มี ทันตแพทย์ดแู ลรักษา แล้วเวลาราษฎรทีอ่ ยู่ ห่า งไกล จะมี ทั นตแพทย์ช่วยรักษาหรือ เปล่า" ในเวลาต่อมา ทรงทราบว่าทันตแพทย์นนั้ มี น้อยและมีอยู่ตามโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดเท่านัน้ บางจังหวัดก็ไม่มี พระองค์ทรงรับสั่งว่า

ค่าใช้จา่ ยให้ทงั้ หมดตามความจ�ำเป็นโดยให้ จัดหน่วยเคลือ่ นที่ ไปโดยรถยนต์และตระเวน ไปตามถนนหนทาง ตามหมู่บ้าน ที่อยู่ ห่าง ไกล ชนบท" พระราชด�ำรัสในครั้งนัน้ นับเป็นจุดเริ่มต้น งานทันตกรรมเคลือ่ นที่ หรืองานทันตกรรมชนบท เป็น ครั้งแรกในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

"โรคฟัน เป็นโรคของทุกคน การที่ จะให้ราษฎรที่ยากจนที่มีปัญหาเรื่องฟัน หยุดการท�ำนาท�ำไร่ เดินทางไปหาแพทย์นนั้ เป็นสิ่งที่ยากยิ่ง ในทางตรงกันข้าม หาก เป็นการให้บริการเคลื่อนที่ ไปสู่ประชาชน ก็ จะเป็นการแก้ปัญหาได้ทางหนึ่ง" จากนั้นจึงทรงตรัสแก่ทันตแพทย์สีสิริสิงห์ ทันตแพทย์ประจ�ำพระองค์ว่า

"ฉันต้องการให้หมอช่วยไปดูแล บ�ำบัดทุกข์ ให้แก่นกั เรียนและประชาชนทีอ่ ยู่ ในท้องถิ่นกันดารห่างไกลหมอ และจะออก - 064 -

บั ด นี้ หน่ ว ยทั นตกรรมพระราชทาน ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ได้ให้บริการ แก่ราษฎรผูย้ ากไร้ และด้อยโอกาสมาเป็นเวลานานถึง 46 ปี มีการพัฒนาไปอย่างมาก จากทีใ่ นอดีต สามารถ ให้การรักษาได้วันละประมาณ 50-70 คน และท�ำการ ถอนฟันเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบนั นี้ สามารถให้บริการ ได้ถึง 1,200-1,500 คนต่อวัน จึงท�ำให้ปัจจุบัน หน่วย ทันตกรรมพระราชทานหน่วยนี้ จึงนับเป็นหน่วยท�ำฟัน เคลื่อนที่ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สามารถให้บริการได้ เช่น เดียวกับโรงพยาบาลใหญ่ๆ นับตั้งแต่การตรวจรักษา โรคในช่องปาก ถ้าพบโรคร้ายแรง เช่น มะเร็งในช่อง ปาก ปากแหว่งเพดานโหว่ ฯลฯ ก็จะน�ำไปรักษาที่โรง พยาบาลใหญ่ๆ หรือที่คณะทันตแพทย์ และพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงรับไว้เป็นคนไข้ ในพระบรมราชานุเคราะห์


NCC Business Magazine บทความ : สุขภาพ

ฟันปลอมพระราชทาน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเล่าว่า วันหนึง่ เสด็จเยีย่ มราษฎรทีจ่ งั หวัดขอนแก่น มีราษฎรคนหนึ่งเป็นผู้สูงอายุ ร่างกายซูบผอม ไม่ สบาย พระองค์ท่านรับสั่งถาม "เป็นอะไร ไม่สบาย หรือ?" ราษฎรผู้นนั้ ทูลตอบว่า "ไม่สบาย ฟันไม่มี กิน อะไรไม่ได้" พระองค์ท่านจึงบอกว่า "ไปใส่ฟันซะ แล้ว จะเคี้ยวอะไรได้ ร่างกายจะได้แข็งแรง" ในปี ต ่ อ มา เมื่ อ พระองค์ ท ่ า นเสด็ จ เยี่ ย ม ราษฎร ทีจ่ งั หวัดขอนแก่นอีกครัง้ ราษฎรผูน้ นั้ ได้มาเฝ้า และทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า "ไปใส่ฟันมา แล้ว ตามที่ในหลวงแนะน�ำ ตอนนีก้ ินอะไรได้ สบาย แล้ว" เมื่อได้ฟัง ท�ำให้คิดว่า เรื่องการใส่ฟันเป็นเรื่อง ส�ำคัญ ทรงมีพระราชด�ำรัสว่า “เวลาไม่มฟี ัน ท�ำให้กนิ อะไรไม่อร่อย ท�ำให้ไม่มีความสุข จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง” ด้วยเหตุนี้ หน่วยทันตกรรม พระราชทาน จึงสนองพระราชด�ำรัส ท�ำให้มกี ารใส่ฟนั ให้กบั ราษฎรทีย่ ากไร้ และด้อยโอกาสในหน่วยเคลือ่ นที่ นัน้ และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานรถใส่ฟัน เคลื่อนที่ ซึ่งเป็นรถใส่ฟันเคลื่อนที่คันแรกในประเทศ ไทย ให้หน่วยทันตกรรมฯ ไปใช้

โครงการทันตกรรมพระราชทานอื่นๆ

โครงการทันตกรรมพระราชทานที่กล่าวมา แล้ว เป็นเพียงโครงการในพระราชด�ำริโครงการหนึง่ ยัง มีโครงการในพระราชด�ำริอีก 3 โครงการ คือ 1. โครงการตามเสด็จ เวลาพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว เสด็จทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นที่ห่าง ไกลความเจริญ จะมีทันตแพทย์ตามเสด็จ ถ้าพบ ราษฎรมีปัญหาเกี่ยวกับฟัน หรือสุขภาพในช่องปาก จะได้ให้บริการได้ทันที 2. โครงการทั น ตกรรมทางเรื อ ได้ พระราชทานเรือเวชพาหน์ ให้สภากาชาดออกให้ บริการทางการแพทย์ และทางทันตกรรม ดูแลราษฎร ที่อาศัยอยู่ตามสองฝั่งคลอง เนื่องจากการคมนาคม ทางบกไม่สะดวก 3. โครงการทันตกรรมหน้าวัง เมือ่ พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ เสด็ จ แปรพระราชฐานที่ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน ทักษิณราชนิเวศน์ หรือภู พานราชนิเวศน์ จะมีรถท�ำฟันเคลื่อนที่ของกองทัพบก ให้บริการแก่ราษฎร บริเวณหน้าวังที่ประทับแทบทุก วัน

พระราชด�ำรัสถึงทันตแพทย์ ไทย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระเมตตา ให้อาสาสมัครในหน่วยทันตกรรม พระราชทาน ได้เฝ้ากราบพระบาทเสมอ เมื่อมีโอกาส พระองค์ท่านจะทรงเน้นเสมอในเรื่อง 2 เรื่อง 1. สถานที่ปฏิบัติงาน ควรเป็นที่ห่างไกล ความเจริญ ที่ไม่มีทันตแพทย์ หรือมีทันตแพทย์ไม่ เพียงพอ และควรให้โอกาสผู้ที่ยากไร้ และด้อยโอกาส ก่อน ทัง้ นี้ ท่านคงทรงหมายถึง ความเสมอภาค คนจน คนรวย ควรได้รับการดูแลเท่าเทียมกัน เมื่อจะออก หน่วยฯ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่บ้านเมือง เช่น ผู้ว่า

ราชการจังหวัด หรือสาธารณสุขจังหวัด ได้ทราบ เพื่อ แจ้งให้ราษฎรที่มีปัญหาได้ทราบ จะได้เข้ามารับการ รักษา 2. เมื่อออกหน่วยฯ อย่าได้ไปรบกวนเจ้า หน้าที่บ้านเมือง ไม่ต้องให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองมา ต้อนรับ เลี้ยงดู เพราะเจ้าหน้าที่บ้านเมืองมีหน้าที่ ที่ ต้องปฏิบัติมากอยู่แล้ว ให้อาสาสมัครหารับประทาน เอง นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงสอนเรื่อง การ รักษาแบบองค์รวม ว่า เวลาออกหน่วยฯ อย่าดูแต่เรือ่ ง ฟันอย่างเดียว ให้ดูเรื่องอื่นๆ ด้วย เช่น สังเกต ขาเจ็บ ตาบวม เจ็บคอ ฯลฯ เพราะทันตแพทย์ก็เป็นแพทย์ เหมือนกัน เรียนมาเหมือนกัน ถ้ารักษาได้ก็ควรให้การ รักษา ถ้ารักษาไม่ได้ ควรให้คำ� แนะน�ำส่งต่อไปรักษา ราษฎรจะได้รบั การดูแลแต่เนิน่ ๆ และต้องซักถามทุกข์ สุข เรื่องการท�ำมาหากิน ถนนหนทาง น�ำ้ ท่า เพราะ ถ้าน�้ำไม่มี จะให้แปรงฟันวันละ 2 ครั้งได้อย่างไร ถนน ไม่ดี จะให้มาพบหมอปีละ 2 ครั้งได้อย่างไร ไม่ควร รักษาเฉพาะกายอย่างเดียว ต้องดูถึงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณด้วย จะเห็นได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระเมตตา และความห่วงใยต่อ เหล่าพสกนิกรอย่างใกล้ชิด ดูแลสุขภาพและปากท้อง ของประชาชนชาวไทยเป็นส�ำคัญ พร้อมทั้งปลูกฝัง ความคิ ด ในการเสี ย สละส่ ว นตนเพื่ อ ส่ ว นรวมแก่ บรรดาแพทย์ เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับการเข้าถึงของบริการสาธารณสุขได้ครบถ้วน ทั้งหมดก็เพื่อสุขอนามัย และสุขภาพร่างกายที่ดี และ แข็งแรงของพวกเราชาวไทยทุกคน เราจึงนับว่าโชค ดีแล้วที่ได้เกิดมาบนผืนแผ่นดินไทย. ขอบคุณข้อมูลจาก สสส., กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ภาพประกอบจาก หน่วยทันตกรรมพระราชทาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เครดิตข้อมูล : http://health.sanook.com/5153/

- 065 -


ชาวโคราชร่วมจุดเทียน เป็นสัญลักษณ์NCC รปู เลข ๙ เพือ่ น้Magazine อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ Business

และร่วมถวายความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช พระผูเ้ สด็จสูส่ วรรคาลัย ณ ลานไทมุง ตลาดเซฟวัน

ประชาชนชาวโคราชร่วมกันระบายสีข้อความอาลัยพ่อหลวง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 ส�ำนักงานการกีฬาแห่ง ประเทศไทยภาค 3 ร่วมกับ ศู น ย์ ฝ ึ ก กี ฬ าทางน�้ ำ จั ง หวั ด นครราชสีมา ได้จัดกิจกรรม ด้วยรักพ่อ ขอเป็นข้ารองบาท โดยเปิ ด โอกาสให้ นั ก เรี ย น นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป ร่วมกันระบายสีขาวลงบนตัว หนัง สื อ บนก� ำ แพงด้ า นข้ า ง สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งก�ำแพงดังกล่าวสร้างขึ้นด้วยแผ่นไม้สีดำ� มี ความยาวรวม 189 เมตร และบริเวณด้านปลายของก�ำแพง มีภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ขนาดความสูงประมาณ 5 เมตร ทรงประทับยืนทอดพระเนตรมาทีป่ ระชาชน โดยมีประชาชนจ�ำนวน มากไปนัง่ พับเพียบก้มกราบพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระองค์ท่าน ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ

เกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลังโคราชแปรอักษรเป็นรูปเลข ๙ อยู่ในหยดน�้ำ เมือ่ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 ทีศ่ นู ย์การเรียน รู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ อ�ำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา เกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลังกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนคนรักการเกษตรอ�ำเภอเสิงสาง และเด็ก นักเรียนจาก 9 โรงเรียนในพื้นที่อ�ำเภอเสิงสาง รวม จ�ำนวนทั้งสิ้น 1,489 คน แปรอักษรเป็นรูปหยดน�ำ้ และ มีตัวอักษรเลข ๙ สีขาวอยู่ในหยดน�ำ้ เพื่อน้อมร�ำลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช

มทส. จุดเทียนแปรอักษรหลานย่าลูกพ่อ ร.9 แสดงความอาลัยแด่ในหลวงรัชกาลที่ 9

เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีจำ� นวนกว่า 1,000 คน ได้ร่วมกันร้องเพลง สรรเสริญพระบารมี พร้อมจุดเทียนทีบ่ ริเวณลานหอสุรนภา และแปรอักษรเป็นค�ำว่า หลานย่าลูกพ่อ ร.9 เพือ่ แสดงความอาลัย และน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

- 066 -

ประชาชนชาวโคราชหลายพัน คนประกอบพิ ธี บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลสวด พระพุทธมนต์ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2559 ทีส่ นาม กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ อดีต รองนายกรั ฐ มนตรี พร้ อ มด้ ว ยประชาชนชาว จังหวัดนครราชสีมาจ�ำนวนหลายพันคน ได้ร่วม กันประกอบพิธีบ�ำเพ็ญกุศลสวดพระพุทธมนต์ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปร มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมแปรอักษรเป็น เลข ๙ อยู่ในวงล้อมรูปหัวใจ และข้อความชาว โคราช รักพ่อหลวง


“ศาสตร์พระราชา” มีกินมีใช้ทั้งปี

หนุม่ พนักงานบริษทั เอกชนชาว โคราช น� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอ เพียงไปท�ำเกษตรแบบผสมผสาน 1 ไร่ มี กินมีใช้ทั้งปีจนประสบความส�ำเร็จ เผย เป็นศาสตร์ของพระราชา ท�ำเท่าที่ก�ำลัง มี และจะประสบความส�ำเร็จอย่างยั่งยืน นายปา ไชยปัญหา อายุ 44 ปี พนักงาน บริษัทเอกชนแห่งหนึง่ ชาวจังหวัดนครราชสีมา ที่ หันไปศึกษาเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย เดช และการท�ำเกษตรแบบผสมผสานจากแหล่ง เรี ย นรู ้ ต ่ า งๆ และน� ำ ไปใช้ ใ นการด� ำ เนิ น ชี วิ ต จนท�ำให้ทกุ วันนีค้ รอบครัวของนายปามีชวี ติ ความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้น นายปา ไชยปัญหา เปิดเผยว่า ตนได้ แบ่งใช้พื้นที่ 1 ไร่ จากที่ดินของตนที่มีทั้งหมด 7 ไร่ ซึง่ อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ นกุดปลาเข็ง ต�ำบลโนนค่า อ�ำเภอ สู ง เนิน จั ง หวั ด นครราชสี ม า น� ำ หลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านมาใช้ในการ ท�ำการเกษตรแบบผสมผสาน โดยตนได้ลองลงมือ ท�ำเป็นระยะเวลานานถึง 8 ปีจนประสบความ ส�ำเร็จ ซึง่ ตนเรียกการเกษตรแบบผสมผสานนีว้ า่ 1 ไร่ มีใช้ทั้งปี โดยเป็นการปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ มากกว่า 20 ชนิด ภายในพื้นที่ 1 ไร่ ท�ำให้สามารถ เก็บเกี่ยวผลผลิตหมุนเวียนกันได้ตลอดทั้งปี สร้าง รายได้ให้กับครอบครัวปีละมากกว่า 2 แสนบาท ท�ำให้ปัจจุบนั ครอบครัวของตนมีชวี ติ ความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้น และตนได้เป็นแปลงเกษตรต้นแบบให้กับ เกษตรกรจากทั่วประเทศเดินทางมาศึกษาดูงาน

ซึ่งหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านได้สอนให้เรามีอยู่มีกิน เป็นศาสตร์ ของพระราชา เราท�ำแบบพอเพียงไม่ต้องท�ำเยอะ ไม่ต้องฟุ้งเฟ้อ เราท�ำแบบพอเพียงเท่าที่เรามี ก�ำลังพอท�ำได้ ไม่ต้องไปก่อหนี้เพิ่ม แล้วเราจะลดหนี้สินลงได้แบบอัตโนมัติ และสิ่งที่ส�ำคัญคือ เราต้องลดรูโลกของชีวติ ซึง่ หมายถึงอบายมุข และสิง่ ฟุง้ เฟ้อฟุม่ เฟือยต่างๆ เพราะถ้าหากเราลด รูโลกของชีวิตได้ การท�ำเศรษฐกิจพอเพียงก็จะประสบความส�ำเร็จได้จริงอย่างยั่งยืน

- 067 -




NCC Business Magazine

- 070 -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.