บทที่ 4 (16 2 57 2)

Page 1

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจความคิดเห็นของการจัดการเรียนการสอนด้วยการให้ผู้เรียน ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง กับการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ ในรายวิชา 2716302 การออกแบบและการจัดการเรียนการสอน ในปีก ารศึก ษา 2556 ของนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิท ยาลัย นาเสนอในรูป แบบตารางประกอบคาบรรยาย และภาพประกอบคาบรรยาย โดยแบ่ง การ นาเสนอเป็น 6 ข้อดังนี้ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน 4.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับสาขาวิชา 4.4 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนจาแนกตาม สาขาวิชา 4.5 ผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอัตราการเข้าทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน 4.6 ผลการวิเคราะห์เนื้อหา จากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Check List) มีจานวน 5 ข้อดังนี้ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ปรากฏผลดังตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ

จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม (n=62) จานวน ร้อยละ

1. เพศ ชาย หญิง

24 38

38.70 61.30


ตารางที่ 4-1 (ต่อ) รายการ 2. สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา(วิทยาศาสตร์) มัธยมศึกษา(มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์) การศึกษานอกระบบโรงเรียน ธุรกิจศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา ดนตรีศึกษา ศิลปศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา จิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ 3. ตอนเรียน ตอนเรียนที่ 2 ตอนเรียนที่ 3 ตอนเรียนที่ 4 ตอนเรียนที่ 7 ตอนเรียนที่ 8 ตอนเรียนที่ 10 4. อัตราการเข้าทาแบบทดสอบก่อนเรียน 0-1 ครั้ง 2-3 ครั้ง 4-5 ครั้ง 6-7 ครั้ง

จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม (n=62) จานวน ร้อยละ 2 4 13 12 4 0 3 4 4 5 9

3.30 6.67 21.67 20.00 6.67 0.00 5.00 6.67 6.67 8.33 15.00

15 7 2 32 5 1

24.19 11.29 3.23 51.61 8.06 1.61

4 8 6 43

6.56 13.11 9.84 70.49


ตารางที่ 4-1 (ต่อ) รายการ

จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม (n=62) จานวน ร้อยละ

5. คะแนนสอบกลางภาค 0-5 คะแนน 6-10 คะแนน 11-15 คะแนน 16-20 คะแนน 21 -25 คะแนน

เพศหญิง 61.29%

0 2 11 21 28

0.00 3.23 17.74 33.87 45.16

เพศชาย 38.71%

ภาพที่ 4-1 ค่าร้อยละของข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ จากตารางที่ 4-1 และภาพที่ 4-1 พบว่า จานวนผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือ เพศหญิง จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 61.29 และเป็นเพศชาย จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 38.71 จากตารางที่ 4-1 สามารถสรุปข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้ดังนี้ สาขาวิชา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในสาขาวิชามัธยมศึกษา (วิทยาศาสตร์) จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 21.67 รองลงมา คือ สาขาวิชามัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์) จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ส่วนที่มีน้อยทีส่ ุด คือ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย และสาขาวิชาธุรกิจ ศึกษา จานวน 2 คน และ0 คน คิดเป็นร้อยละ 3.30 และ 0.00 ตามลาดับ


ตอนเรียน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในตอนเรียนที่ 7 จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 51.61 รองลงมา คือ ตอนเรียนที่ 2 จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 24.19 ส่วนที่มีนอ้ ยทีส่ ุด คือ ตอนเรียนที่ 10 จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.61 อัตราการเข้าทาแบบทดสอบก่อนเรียน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอัตราการเข้าทา แบบทดสอบก่อนเรียน 6-7 ครั้ง จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 70.49 รองลงมา คือ 2-3 ครั้ง จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 13.11 ส่วนที่มีน้อยที่สุด คือ 0-1 ครั้ง จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 6.65 คะแนนสอบกลางภาค พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีคะแนนสอบกลางภาคอยู่ที่ 21-25 คะแนน จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 45.16 รองลงมา คือ 16-20 คะแนน จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 33.87 ส่วนที่มีน้อยที่สุด คือ 0-5 คะแนน จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน การวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน โดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารด้วยตนเอง และรูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบอิงประสบการณ์ (การแสดงสาธิตเป็นกลุ่ม) รวมวิเคราะห์รายข้อจานวน 20 ข้อดังนี้ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารด้วยตนเอง 1. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ก่อให้เกิดความคงทนในการจดจาบทเรียน 2. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น 3. ผู้เรียนใช้เวลาในการอ่านหนังสือเตรียมสอบน้อยลง เนื่องจากได้ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองก่อนเริ่ม เรียนในแต่ละคาบ 4. ผู้เรียนแบ่งเวลาได้ดีขึ้น เมื่อต้องศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง 5. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เพื่อทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้สร้างความกดดัน แก่ผู้เรียน 6. การทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้จากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีวินัยในการเข้าเรียนมากขึ้น 7. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ทาให้ผเู้ รียนขาดความเข้าใจ ในเนือ้ หาบางส่วน เนื่องจากมิได้สมั ผัสประสบการณ์จริง 8. ผู้เรียนไม่สามารถสอบถามอาจารย์ผสู้ อนได้ทันที เมื่อมีข้อสงสัยต่างๆ 9. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง น่าจะช่วยให้ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน


รายวิชานี้ดีขึ้น 10. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ (การแสดงสาธิตเป็นกลุ่ม) 11. ผู้เรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้จากการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 12. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางานร่วมกันเป็นกลุม่ 13. ความรู้จากการเรียนไม่เพียงพอสาหรับการจัดการแสดงสาธิตของกลุ่ม 14. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด และการแก้ปญ ั หาในการแสดงสาธิตของกลุ่ม 15. ผู้เรียนได้รับความรู้ทงั้ จากการศึกษาทฤษฎี และการลงมือปฏิบัตจิ ริง 16. การจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ใช้เวลาค่อนข้างนาน 17. ผู้เรียนได้รับความรู้โดยตรงจากอาจารย์ผสู้ อน ที่ให้ผลป้อนกลับการแสดงสาธิตของแต่ละกลุ่ม 18. ผู้เรียนได้รบั ความรูเ้ พิ่มเติมจากการสรุปบทเรียนของอาจารย์ผสู้ อน 19. ผู้เรียนได้รบั ความรู้อย่างเพียงพอ จากรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 20. การจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ โดยใช้เกณฑ์ในการวิเคราะห์และการแปลผลข้อมูลไว้ดังนี้ การแปลผลข้อมูล คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 แปลความว่า

ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย

1.50 – 2.49 แปลความว่า 2.50 – 3.49 แปลความว่า 3.50 – 4.49 แปลความว่า

ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ เห็นด้วย

คะแนนเฉลี่ย

4.50 – 5.00 แปลความว่า

เห็นด้วยอย่างยิง่


4.2.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน ตารางที่ 4-2 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน รายการ

รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษา เอกสารด้วยตนเอง 1. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ก่อให้เกิดความคงทนในการจดจาบทเรียน 2. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น 3. ผู้เรียนใช้เวลาในการอ่านหนังสือเตรียมสอบ น้อยลง เนือ่ งจากได้ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองก่อนเริม่ เรียน ในแต่ละคาบ 4. ผู้เรียนแบ่งเวลาได้ดีขึ้น เมื่อต้องศึกษาเอกสาร ประกอบการเรียนด้วยตนเอง 5. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เพื่อทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้สร้างความกดดันแก่ ผู้เรียน 6. การทดสอบก่อนเรียนเพือ่ วัดความรู้จากการศึกษา เอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมี วินัยในการเข้าเรียนมากขึ้น 7. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ทาให้ผเู้ รียนขาดความเข้าใจ ในเนือ้ หาบางส่วน เนื่องจาก มิได้สัมผัสประสบการณ์จริง 8. ผู้เรียนไม่สามารถสอบถามอาจารย์ผู้สอนได้ทันที เมื่อมีข้อสงสัยต่างๆ 9. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง น่าจะช่วยให้ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชานี้ดี ขึ้น 10. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ

จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม (n=62) M SD การแปลความ

3.31

0.88

ไม่แน่ใจ

3.50

1.07

เห็นด้วย

3.32

0.99

ไม่แน่ใจ

3.20

0.89

ไม่แน่ใจ

2.32

1.10

ไม่เห็นด้วย

3.81

1.04

เห็นด้วย

2.34

0.94

ไม่เห็นด้วย

2.55

1.02

ไม่แน่ใจ

3.28

0.97

ไม่แน่ใจ

3.21

0.86

ไม่แน่ใจ


ตารางที่ 4-2 (ต่อ) รายการ

รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ (การแสดงสาธิตเป็นกลุ่ม) 11. ผู้เรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้จาก การจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 12. ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะกระบวนการทางาน ร่วมกันเป็นกลุ่ม 13. ความรู้จากการเรียนไม่เพียงพอสาหรับ การจัดการแสดงสาธิตของกลุม่ 14. ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะการคิด และการ แก้ปัญหาในการแสดงสาธิตของกลุม่ 15. ผู้เรียนได้รบั ความรูท้ ั้งจากการศึกษาทฤษฎี และการลงมือปฏิบัติจริง 16. การจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ใช้เวลาค่อนข้างนาน 17. ผู้เรียนได้รับความรู้โดยตรงจากอาจารย์ ผู้สอน ที่ให้ผลป้อนกลับการแสดงสาธิตของแต่ละกลุ่ม 18. ผู้เรียนได้รบั ความรูเ้ พิ่มเติมจากการสรุป บทเรียนของอาจารย์ผสู้ อน 19. ผู้เรียนได้รบั ความรู้อย่างเพียงพอ จาก รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 20. การจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ

จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม (n=62) M SD การแปลความ

3.94

0.81

เห็นด้วย

4.08

0.73

เห็นด้วย

2.50

0.78

ไม่แน่ใจ

3.77

0.78

เห็นด้วย

3.84

0.85

เห็นด้วย

2.35

0.93

ไม่เห็นด้วย

4.02

0.88

เห็นด้วย

4.06

0.67

เห็นด้วย

3.74

0.70

เห็นด้วย

3.82

0.76

เห็นด้วย


จากตารางที่ 4-2 พบว่าความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร ด้วยตนเอง ข้อคาถามที่ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับเห็นด้วย คือ ข้อ 2 การศึกษาเอกสารประกอบการ เรียนด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น (M = 3.50), ข้อ 5 การศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ด้วยตนเอง เพื่อทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้สร้างความกดดันแก่ผู้เรียน (M = 2.32) และ ข้อ 7 การศึกษา เอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเองทาให้ผู้เรียนขาดความเข้าใจในเนื้อหาบางส่วน เนื่องจากมิได้สมั ผัส ประสบการณ์จริง (M = 2.34) ส่วนข้อคาถามอื่นผู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับไม่แน่ใจ ในส่วนของความ คิดเห็นเกีย่ วกับรูปแบบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ (การแสดงสาธิตเป็นกลุม่ ) ข้อ คาถามส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกระดับเห็นด้วย และข้อคาคามทีผ่ ู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับไม่ แน่ใจ คือ ข้อ 13 ความรู้จากการเรียนไม่เพียงพอสาหรับการจัดการแสดงสาธิตของกลุ่ม (M= 2.50) 4.2.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนจาแนกตามเพศ ตารางที่ 4-3 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอจาแนกตามเพศ รายการ

รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียน ศึกษาเอกสารด้วยตนเอง 1. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วย ตนเอง ก่อให้เกิดความคงทนในการจดจาบทเรียน 2. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วย ตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนยิง่ ขึ้น 3. ผู้เรียนใช้เวลาในการอ่านหนังสือเตรียมสอบ น้อยลง เนือ่ งจากได้ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองก่อนเริม่ เรียนในแต่ละคาบ 4. ผู้เรียนแบ่งเวลาได้ดีขึ้น เมื่อต้องศึกษา เอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง 5. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วย ตนเอง เพือ่ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้สร้าง ความกดดันแก่ผู้เรียน

เพศชาย (24 คน) M SD

เพศหญิง (38 คน) M SD

3.21

0.98

3.37

0.82

3.25

1.15

3.66

0.99

3.29

1.12

3.34

0.91

3.04

0.91

3.30

0.88

2.17

1.24

2.42

1.00


ตารางที่ 4-3 (ต่อ) รายการ 6. การทดสอบก่อนเรียนเพือ่ วัดความรู้จาก การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีวินัยในการเข้าเรียนมากขึ้น 7. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วย ตนเอง ทาให้ผู้เรียนขาดความเข้าใจ ในเนื้อหา บางส่วน เนื่องจากมิได้สัมผัสประสบการณ์จริง 8. ผู้เรียนไม่สามารถสอบถามอาจารย์ผู้สอนได้ ทันที เมื่อมีข้อสงสัยต่างๆ 9. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วย ตนเอง น่าจะช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชานี้ดีขึ้น 10. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วย ตนเอง เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ (การแสดงสาธิตเป็นกลุ่ม) 11. ผู้เรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้ จากการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 12. ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะกระบวนการทางาน ร่วมกันเป็นกลุ่ม 13. ความรู้จากการเรียนไม่เพียงพอสาหรับ การจัดการแสดงสาธิตของกลุม่ 14. ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะการคิด และการ แก้ปัญหาในการแสดงสาธิตของกลุม่ 15. ผู้เรียนได้รบั ความรูท้ ั้งจากการศึกษา ทฤษฎี และการลงมือปฏิบัติจริง 16. การจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ใช้เวลาค่อนข้างนาน

เพศชาย (24 คน) M SD 3.38 1.28

เพศหญิง (38 คน) M SD 4.08 0.75

2.17

0.96

2.45

0.92

2.42

1.06

2.63

1.00

3.13

1.26

3.38

0.72

3.29

0.95

3.16

0.80

3.96

0.91

3.92

0.75

4.08

0.78

4.08

0.71

2.50

0.83

2.50

0.76

3.96

0.75

3.66

0.78

3.75

1.07

3.89

0.69

2.54

1.06

2.24

0.82


ตารางที่ 4-3 (ต่อ) รายการ 17. ผู้เรียนได้รับความรู้โดยตรงจาก อาจารย์ผู้สอน ที่ให้ผลป้อนกลับการแสดงสาธิตของ แต่ละกลุม่ 18. ผู้เรียนได้รับความรู้เพิม่ เติมจาก การสรุปบทเรียนของอาจารย์ผสู้ อน 19. ผู้เรียนได้รบั ความรู้อย่างเพียงพอ จาก รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ 20. การจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ

เพศชาย (24 คน) M SD 3.96 1.08

เพศหญิง (38 คน) M SD 4.05 0.73

4.00

0.83

4.11

0.56

3.75

0.74

3.74

0.69

3.75

0.85

3.87

0.70

ความคิดเห็น คาถาม 20 คาถาม 19 คาถาม 18 คาถาม 17 คาถาม 16 คาถาม 15 คาถาม 14 คาถาม 13 คาถาม 12 คาถาม 11 คาถาม 10 คาถาม 9 คาถาม 8 คาถาม 7 คาถาม 6 คาถาม 5 คาถาม 4 คาถาม 3 คาถาม 2 คาถาม 1

ชุดเพศชาย ข้อมูล2 3.87 3.75 3.74 3.75 4.11 4.00 4.05 3.96

2.24

2.54 3.75 3.66

2.50 2.50

2.17 2.17

2.42 2.45

1.50

ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

2.00

ไม่เห็นด้วย

2.50

3.96

4.08

3.38

2.42 3.04

1.00

3.89

4.08 4.08 3.92 3.96

3.16 3.29 3.38 3.13

2.63

3.00

ไม่แน่ใจ

3.30 3.34 3.29 3.25 3.37 3.21

3.50

ชุดเพศหญิ ข้อมูล1 ง

3.66

เห็นด้วย

ค่าเฉลี่ย (M) 4.00

4.50

เห็นด้วยอย่างยิ่ง

ภาพที่ 4-2 ค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนจาแนกตามเพศ

5.00


จากตารางที่ 4-3 และภาพที่ 4-2 พบว่า เพศชาย โดยพิจารณารายข้อในข้อที่เป็นข้อคาถามเชิงบวกมี ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.16-4.11 โดยข้อคาถามข้อคาถามที่ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับเห็นด้วยที่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ข้อ 18 ผู้เรียนได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการสรุปบทเรียนของอาจารย์ผู้สอน (M=4.11) รองลงมา ข้อ 12 ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม (M=4.08) และ ข้อ 6 การทดสอบ ก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้จากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีวินัยในการเข้า เรียนมากขึ้น (M=4.08) และรองลงมา ข้อ 17 ผู้เรียนได้รับความรู้โดยตรงจากอาจารย์ผู้สอน ที่ให้ผลป้อนกลับ การแสดงสาธิตของแต่ละกลุ่ม (M=4.05) ข้อคาถามเชิงลบมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.24-2.63 โดยข้อ คาถามข้อคาถามที่ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับไม่เห็นด้วย คือ ข้อ 16 การจัดการเรียนการสอนแบบอิง ประสบการณ์ใช้เวลาค่อนข้างนาน (M= 2.24) เพศหญิง โดยพิจารณารายข้อในข้อที่เป็นข้อคาถามเชิงบวกมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.04-4.08 โดยข้อ คาถามข้อคาถามที่ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับเห็นด้วยที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ข้อ 12 ผู้เรียนได้ฝึก ทักษะกระบวนการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม (M=4.08) รองลงมา ข้อ 18 ผู้เรียนได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการ สรุปบทเรียนของอาจารย์ผู้สอน (M=4.00) รองลงมา ข้อ 11 ผู้เรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้จากการ จัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์, ข้อ 14 ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด และการแก้ปัญหาในการแสดง สาธิตของกลุ่ม และข้อ 17 ผู้เรียนได้รับความรู้โดยตรงจากอาจารย์ผู้สอน ที่ให้ผลป้อนกลับการแสดงสาธิตของ แต่ละกลุ่ม โดยที่สามข้อมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน (M=3.96) ข้อคาถามเชิงลบมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.17-2.54 โดยข้อคาถามข้อคาถามที่ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกในระดับไม่ เห็นด้วย คือ ข้อ 5. การศึกษาเอกสาร ประกอบการเรียนด้วยตนเอง เพื่อทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้สร้างความกดดันแก่ผู้เรียน(M= 2.24) 4.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกับสาขาวิชา 4.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับสาขาวิชาด้วยการใช้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวปรากฏผลดังตารางที่ 4-4 ตารางที่ 4-4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับสาขาวิชา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

F-Value

P-Value

สาขาวิชา

1.66

0.12

จากตารางที่ 4-4 จากผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับสาขาวิชา พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับสาขาวิชา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05


4.4 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนจาแนกตาม สาขาวิชา การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามสาขาวิชา ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ตารางที่ 4-5 ค่าสถิติที่ใช้ในการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามสาขาวิชา รายการ F-Value P-Value รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร ด้วยตนเอง 1. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ก่อให้เกิดความคงทนในการจดจาบทเรียน 2. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ช่วย ให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนยิง่ ขึ้น 3. ผู้เรียนใช้เวลาในการอ่านหนังสือเตรียมสอบน้อยลง เนื่องจากได้ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองก่อนเริ่ม เรียนในแต่ละคาบ 4. ผู้เรียนแบ่งเวลาได้ดีขึ้น เมื่อต้องศึกษาเอกสาร ประกอบการเรียนด้วยตนเอง 5. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เพือ่ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้สร้างความกดดันแก่ผู้เรียน 6. การทดสอบก่อนเรียนเพือ่ วัดความรู้จากการศึกษา เอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีวินัย ในการเข้าเรียนมากขึ้น 7. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง ทาให้ ผู้เรียนขาดความเข้าใจ ในเนื้อหาบางส่วน เนื่องจากมิได้สมั ผัส ประสบการณ์จริง 8. ผู้เรียนไม่สามารถสอบถามอาจารย์ผู้สอนได้ทันที เมื่อ มีข้อสงสัยต่างๆ 9. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง น่าจะ ช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชานี้ดีขึ้น

2.49

0.20

1.48

0.18

3.09

0.01*

1.47

0.19

0.46

0.90

2.03

0.06

1.12

0.37

1.46

0.19

0.67

0.73


ตารางที่ 4-5 (ต่อ) รายการ 10. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยตนเอง เป็น วิธีการจัดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ (การแสดงสาธิตเป็นกลุ่ม) 11. ผู้เรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้จากการจัดการ เรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 12. ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะกระบวนการทางานร่วมกันเป็น กลุ่ม 13. ความรู้จากการเรียนไม่เพียงพอสาหรับการจัดการ แสดงสาธิตของกลุม่ 14. ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะการคิด และการแก้ปญ ั หาในการ แสดงสาธิตของกลุม่ 15. ผู้เรียนได้รบั ความรูท้ ั้งจากการศึกษาทฤษฎี และการ ลงมือปฏิบัตจิ ริง 16. การจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ใช้ เวลาค่อนข้างนาน 17. ผู้เรียนได้รับความรู้โดยตรงจากอาจารย์ผสู้ อน ที่ ให้ผลป้อนกลับการแสดงสาธิตของแต่ละกลุม่ 18. ผู้เรียนได้รบั ความรูเ้ พิ่มเติมจาก การสรุปบทเรียนของอาจารย์ผสู้ อน 19. ผู้เรียนได้รบั ความรู้อย่างเพียงพอ จากรูปแบบการ จัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ 20. การจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ เป็น วิธีการจัดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ * มีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05

F-Value

P-Value

0.62

0.77

2.85

0.01*

1.02

0.44

1.56

0.15

0.91

0.53

1.49

0.18

1.42

0.21

1.73

0.11

0.99

0.46

0.81

0.61

0.71

0.70


จากตารางที่ 4-5 พบว่า ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามสาขาวิชามีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 มีจานวน 2 ข้อคาถามได้แก่ ข้อ 3 ผู้เรียนใช้เวลาในการอ่านหนังสือเตรียม สอบน้อยลง เนื่องจากได้ ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองก่อนเริ่ม เรียนในแต่ละคาบ และ ข้อ 7 การศึกษาเอกสาร ประกอบการเรี ย นด้ ว ยตนเอง ท าให้ ผู้ เ รี ย นขาดความเข้ า ใจ ในเนื้ อ หาบางส่ ว น เนื่ อ งจากมิ ไ ด้ สั ม ผั ส ประสบการณ์จริง 4.5 ผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอัตราการเข้าทาแบบทดสอบก่อน เรียน การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอัตราการเข้าทาแบบทดสอบก่อน เรียน โดยใช้ Pearson product moment ตารางที่ 4-6 Pearson product moment ของความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอัตราการ เข้าทาแบบทดสอบก่อนเรียน Correlations

อัตรา

คะแนนสอบ

Pearson Correlation

อัตรา

Sig. (2-tailed) N Pearson Correlation

คะแนนสอบ

1

Sig. (2-tailed) N

.350** .006

61

61

**

1

.350

.006 61

62

**. Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed).

จากตาราง 4-6 พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน=.350 สมมติฐานทางสถิติ H0: ρ =0 (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอัตราการเข้าทาแบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีความสัมพันธ์กัน) H1: ρ ≠ 0 (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอัตราการเข้าทาแบบทดสอบก่อนเรียนมีความสัมพันธ์กัน) ค่า sig = .006 ซึ่งน้อยกว่า α (.05) ตกอยู่ในพื้นที่วิกฤติ ปฏิเสธ H0 นั่นคือ ที่ระดับนัยสาคัญ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับอัตราการเข้าทา แบบทดสอบก่อนเรียน ในระดับน้อย 4.6 ผลการวิเคราะห์เนื้อหา จากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม การวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis) จากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อดี


และข้อเสียของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารด้วยตนเองกับรูปแบบการจัดการ เรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ปรากฏผลดังนี้ 4.6.1 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อดีของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผเู้ รียนศึกษาเอกสารด้วยตนเอง ลาดับที่

ข้อคิดเห็น

ความถี่

1 2

ได้ศึกษาเนื้อหาบทเรียนล่วงหน้า เข้าใจบทเรียนง่ายขึ้น ฝึกวินัยและความรับผิดชอบในตนเอง กระตือรืนร้นในการเข้าเรียน

17 6

3

มีอิสระในการเรียน

6

4.6.2 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสียของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารด้วยตนเอง ลาดับที่

ข้อคิดเห็น

ความถี่

1 1

เมื่อเกิดข้อสงสัยไม่สามารถถามผูส้ อนได้ทันที ขาดความเข้าใจ เนื้อหายากต่อการทาความเข้าใจ

10 10

3 4

ถ้าผู้เรียนขาดความรับผิดชอบจะไม่เกิดประโยชน์ สร้างความกดดัน ไม่มีความสุขในการเรียน

9 4

4.6.3 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อดีของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ ลาดับที่

ข้อคิดเห็น

ความถี่

1 2 3

ความรู้คงทน จดจาได้นาน เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เห็นภาพชัดเจน เป็นรูปธรรม ฝึกการทางานเป็นกลุม่

13 12 5

4

สร้างความสนุกสนาน

2

4.6.4 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสียของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบอิงประสบการณ์ ลาดับที่

ข้อคิดเห็น

ความถี่

1

ใช้เวลานาน

15

2 3

ผู้เรียนได้ทราบเนือ้ หาไม่เพียงพอ ทาให้เพือ่ นเข้าใจผิด สร้างความสับสน ขาดการแนะนาสิ่งที่ถูกต้อง อาจารย์ควรให้คาแนะนาก่อนสาธิต

9 2


4.6.5 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ลาดับที่

ข้อเสนอแนะ

ความถี่

1

ควรใช้รูปแบบการสอนแบบบรรยาย

7

2 2

ควรใช้รูปแบบการสอนแบบทัศนศึกษานอกสถานที่ อาจารย์ควรมีการยกตัวอย่างที่ชัดเจน

4 4

4

ควรใช้สื่อที่สร้างความสนใจ

2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.