หน่วยการเรียนรู้บูรณาการแม่น้ำเจ้าพระยา

Page 1


สมาชิกกลุม่ 1. นางสาวรัดเกล้า แจ่มอุลิตรัตน์ (1) 534 37870 27 วิชาเอกภาษาไทยคู่นอกระบบการศึกษา 2. นายกฤษกร โตแก้ว (3)

544 35084 27 วิชาเอกจิตวิทยาคู่ภาษาไทย

3. นางสาวกรีติ แจ้งชะไว (6)

544 35187 27 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไปคู่ชีววิทยา

4. นายเจตนิพัทธ์ โกวิทเทวาวงศ์(10) 544 35360 27 วิชาเอกจิตวิทยาคู่สังคมศึกษา 5. นางสาวดาราวรรณ ลิขิต (16)

544 35674 27 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไปคู่ชีววิทยา

6. นายวรุตม์ เครือแก้ว (26)

544 36732 27 วิชาเอกคณิตศาสตร์คู่เทคโนโลยีการศึกษา

7. นายสิทธิพงษ์ ฉลวยศรี (27)

544 37027 27 วิชาเอกคณิตศาสตร์คู่นอกระบบการศึกษา


คานา หน่วยการเรียนรู้บูรณาการเรื่อง : แม่น้าเจ้าพระยา รักษาได้ด้วยมือเรา ฉบับนีเป็นส่วนหนึ่ง ของ รายวิชาการออกแบบและการจัดการเรียนการสอน (2716302) โดยจัดกระท้าการเรียนการสอนแบบบูรณาการซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ ผ่านแหล่งการเรียนรู้ในชุมชนของผู้เรียนเข้ามาช่วย ซึ่งบูรณาการทัง 3 วิชาอย่าง วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และการงานพืนฐานอาชีพและเทคโนโลยีมาบูรณาการรวมกัน สร้างสรรค์เป็นโครงงานเกี่ยวกับแก้ปัญหาและแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนอย่างแม่น้าเจ้าพระยา โดยมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อีกทังช่วยพัฒนาความคิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์และคิดให้ยั่งยืนอีกด้วย

คณะผู้จัดท้า 13 กุมภาพันธ์ 2557


สารบัญ เรื่อง

หน้า

ค้าน้า

สารบัญ

มาตรฐานการเรียนรู้

1

ตัวชีวัด

1

สาระส้าคัญ

2

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

3

สาระการเรียนรู้

3

โครงสร้างกิจกรรมการเรียนรู้

5

กิจกรรมการเรียนรู้ คาบที่ 1

7

คาบที่ 2

8

คาบที่ 3

10

คาบที่ 4

11

คาบที่ 5 – 6

13

คาบที่ 7 – 8

15

การประเมินผลการเรียนรู้ คาบที่ 1

16

คาบที่ 2

17

คาบที่ 3

18

คาบที่ 4

19

คาบที่ 5 – 6

20

คาบที่ 7 – 8

22

บรรณานุกรม

27


1

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ เรื่อง : แม่นาเจ้าพระยา รักษาได้ด้วยมือเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4

เวลาเรียน 8 คาบ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด : มาตรฐาน ว 2.2 เข้ า ใจสิ่ ง แวดล้ อมในท้อ งถิ่ น ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง แวดล้ อ มกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การท้างาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตส้านึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน ตัวชีวัด ว 2.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์สภาพปัญ หา สาเหตุข องปั ญ หาสิ่ง แวดล้อ มและทรัพ ยากรธรรมชาติใ น ท้องถิ่นระดับประเทศ และระดับโลก ว 2.2 ม.4-6/2 อภิปรายแนวทางในการป้องกัน แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชงาติ ว 2.2 ม.4-6/3 วางแผนและด้ า เนิ น การเฝ้ า ระวั งอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติ ง 3.1 ม.4-6/9 ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ง 3.1 ม.4-6/11 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้าเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ ง 3.1 ม.4-6/12 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชินงานหรือโครงงานอย่างมีจิตส้านึกและความรับผิดชอบ ส 5.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ประเทศไทยและโลก


2

ส 5.2 ม.4-6/5 มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการด้าเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สาระสาคัญ น้า ดิน อากาศ ป่าไม้และสัตว์ป่า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ส้าคัญ และจ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของ มนุษย์ มนุษย์น้าทรัพยากรมาใช้ ถ้าใช้ทรัพยากรอย่างไม่เห็นคุณค่าจะส่งผลให้ปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติ ลดลง และก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมรวมทังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ด้วย ดังนันมนุษย์จึงต้องมี ความรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ เพื่ อ ใช้ แ ละจั ด การได้ อ ย่ า งเหมาะสม การจั ด การ ทรั พ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้ อ มให้บ รรลุถึ ง เป้ าหมายอย่ า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพ ต้ องยึ ด หลัก การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแนวทางในการด้าเนินงาน ในสังคมที่มีการพัฒ นาที่ยั่งยืนจะต้องมีการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่ง ต้อง อาศั ย ความร่ ว มมอจากหลายฝ่ า ย ทั งภครั ฐ และเอกชน ในเรื่ อ งของการปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกวิธี ซึ่งประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะแม่น้าเจ้าพระยาซึ่ง เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ชาวกรุงเทพฯ ผูกพันและน้าไปใช้ประโยชน์อย่างมากจนท้าให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม และความเสื่อมโทรมของแม่น้าเจ้าพระยา ผลกระทบที่เกิดขึนมีผลอย่างรุนแรงและเป็นอุปสรรคต่อคุณภาพ คุณภาพชีวิตของประชาชนที่ใช้แม่น้าดังกล่าว ดังนันเราจึงต้องหาแนวทางการอนุรักษ์ควบคู่ไปกับการพัฒนา สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันด้วยวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ที่ก้าวหน้าท้า ให้ ข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ตมีอ ยู่ มากมาย ดังนันเราจึงสามารถใช้สารสนเทศดังกล่าวเพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา ในการค้นหา ข้อมูลสารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต จะต้องมีเทคนิควิธีการสืบค้น และเลือกใช้เสิร์ชเอนจินที่เหมาะสม เพื่อให้ เกิ ด ความสะดวกรวดเร็ ว ในการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ต่ า งๆ และต้ อ งใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต อย่ า งรอบคอบ นอกจากนี อินเทอร์เน็ตมีประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์ง านต่างๆ ซึ่ง เราควรเลือกใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์ต่างๆ อย่าง เหมาะสม อีกทังการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ค อมพิวเตอร์ต้องให้เหมาะสมกั บงาน และเลือ กใช้เทคโนโลยีในการ น้าเสนองาน อย่างเหมาะสม เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ ซอฟต์แวร์แต่ละประเภทมีคุณลักษณะแตกต่างกัน การ น้าเสนอข้อมูลจะต้องน้าเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม และเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ถูกต้องเหมาะสมกับงาน จะช่วย ให้การท้างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ


3

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : 1. ด้านความรู้ ผู้เรียนสามารถ 1.1 บอกปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ ข องแม่ น้ า เจ้ า พระยาที่ เ กิ ด ขึ นได้ (ว 2.2 ม.4-6/1, ส 5.2 ม.4-6/1) 1.2 วิ เคราะห์ สาเหตุ ข องปัญ หาสิ่ ง แวดล้อ มและทรัพ ยากรธรรมชาติแ ม่น้ าเจ้ าพระยาได้ (ว 2.2 ม.4-6/1) 1.3 อภิปรายแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่ง แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติแม่น้า เจ้าพระยาได้ (ว 2.2 ม.4-6/2) 1.4 บอกหลั ก การและอธิ บ ายแนวทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ น้ า ไปสู่ ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ได้ (ว 2.2 ม.4-6/2, ส 5.2 ม.4-6/5) 2. ด้านทักษะกระบวนการ ผู้เรียนสามารถ 2.1 สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึนกับแม่น้าเจ้าพระยาและจัดท้าโครงงานเพื่อแก้ไ ข ปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวได้ (ง 3.1 ม.4-6/9) 2.2 ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการค้ น หาข้ อ มู ล และน้ า เสนองานในรู ป แบบที่ เ หมาะสม (ง 3.1 ม.4-6/11) 2.3 ใช้คอมพิวเตอร์สร้างโครงงานตามหลักการท้าโครงงาน (ง 3.1 ม.4-6/12) 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียนสามารถ 3.1 ปฏิบัติตนในการอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา (ว 2.2 ม.4-6/3 , ส 5.2 ม.4-6/5 ) 3.2 บอกวิธีการอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยาให้ผู้อื่นทราบได้ (ส 5.2 ม.4-6/5) สาระการเรียนรู้ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1.1 ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันมี ความสัมพันธ์กันหลายระดับ 1.2 การเพิ่มขึนของประชากรมนุษย์ส่ง ผลให้การใช้ทรัพยากรธรรมชาติลดจ้านวนลงและเกิด ปัญหามลพิษด้านต่างๆตามมา 1.3 สิ่ ง แวดล้ อ มที่ อ ยู่ ใ นสภาพเสื่ อ มโทรม หรื อ เกิ ด เป็ น มลพิ ษ ที่ เ ป็ น ผลเนื่ อ งมาจากการใช้ ทรัพยากรต้องหาแนวทางป้องกัน แก้ไข ฟื้นฟู ให้กลับมามีสภาพที่สามารถใช้การได้


4

1.4 สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติควรต้องมีการเฝ้าระวัง อนุรักษ์และพัฒนา ซึ่งทุกคนควร ร่วมปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.1 ปฏิบัติการติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต 2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้าเสนอผลงานในรูปแบบ โดยพิจารณาวัตถุประสงค์ของงาน 2.3 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชินงาน หรือโครงงานตามหลักการท้าโครงงาน 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3.1 วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย 3.2 การแก้ปัญหาและการด้าเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน


5

โครงสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ ตัวชีวัด

วิธีสอน เทคนิคการสอน รูปแบบการสอน

คาบที่

เนือหา

1

- ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศ

2

- สภาพของปั ญ หาและสาเหตุ ข อง ว 2.2 ม.4-6/1 รูปแบบการสอน 4MAT ปัญหาสิ่งแวดล้อม(มลภาวะรูปแบบต่างๆเน้น ส 5.2 ม.4-6/1 วิธีสอนโดยใช้วิธีอภิปราย ทางน้า) เทคนิคการสอน : - สถานการณ์ แ ละวิ ก ฤตการณ์ ด้ า น 1.การน้าเข้าสู่บทเรียน สิ่งแวดล้อมในประเทศไทย 2.การใช้คา้ ถาม 3.การจัดกลุ่ม 4.การสรุปบทเรียน

1. แผนผังความคิด (mind ประเมินจากแผนผังความคิดโดย mapping) สาเหตุและ เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคสกอร์ ปัญหาวิกฤตการณ์ สิ่งแวดล้อมในชุมชนของ นักเรียน

3

- แนวทางในการป้องกันและการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม - การอนุรักษ์และการพัฒนา สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

แผนผังความคิด (mind mapping) สรุปแนวทาง อนุรักษ์และการพัฒนา สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ว 2.2 ม.4-6/1 วิธีสอนแบบ บรรยาย เทคนิคการสอน : 1.การน้าเข้าสู่บทเรียน 2.การใช้ค้าถาม 3.การสรุปบทเรียน

ว 2.2 ม.4-6/2 วิธีการสอนด้วยวิธีอภิปราย ว 2.2 ม.4-6/3 เทคนิคการสอน : ส 5.2 ม.4-6/5 1. การน้าเข้าสู่บทเรียน 2. การใช้ค้าถาม 3. การแบ่งกลุ่ม 4. การสรุปบทเรียน

ชินงาน

การวัดและการประเมินผล

1. ใบงานเรื่องระบบนิเวศ ผลงานรูปภาพแสดง 2. ความสัมพันธ์ของสิ่งมี ชีวิตในระบบนิเวศ

1. ประเมินผลจากการท้าใบงานของ ผู้เรียน 2. ประเมินผลงานรูปภาพโดยเกณฑ์ การให้คะแนนแบบรูบริคสกอร์

ประเมินจากงานแผนผังความคิด (mind mapping) ของผู้เรียน


โครงสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ (ต่อ)

คาบที่

4

5–6

7–8

เนือหา

- การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ สร้างสรรค์โครงงานอย่างเหมาะสมและตรง ตามจุดประสงค์ที่ก้าหนด

- ลงพืนที่ในการสืบค้นข้อมูลท้า โครงงาน

- น้าเสนอโครงงานและสรุปบทเรียน

6

ตัวชีวัด

วิธีสอน เทคนิคการสอน รูปแบบการสอน

ง 3.1 ม.4-6/9 วิธีการสอนการเรียนรู้แบบ ง 3.1 ม.4-6/11 ท้าโครงงาน เทคนิคการสอน 1. การแบ่งกลุ่ม 2. การสรุปบทเรียน การสอนโดยการไปทัศนศึกษา เทคนิคการสอน 1. การตังค้าถาม 2. การแบ่งกลุ่ม 3. การสรุปบทเรียน ง 3.1 ม.4-6/12 การสอนแบบอภิปราย เทคนิคการสอน 1. การน้าอภิปราย 2. การใช้ค้าถามอ

ชินงาน

การวัดและการประเมินผล

1.แผนภูมิสรุปความรู้เรื่อง โครงงาน 2..ใบกิจกรรม เรื่องการ เขียนโครงงาน

1. ประเมินจากแผนภูมิสรุปความรู้ เรื่องโครงงานโดยเกณฑ์การให้ คะแนนแบบรูบริคสกอร์ 2.ประเมินใบกิจกรรม เรื่องการเขียน โครงงาน โดยเกณฑ์การให้คะแนน แบบรูบริคสกอร์

ใบบันทึกความรู้

ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ผู้เรียน และใบบันทึกความรู้

การน้าเสนอโครงงาน

ประเมินจากผลงานโครงงานโดย เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคสกอร์


7

กิจกรรมการเรียนรู้ คาบที่ 1 เนือหา ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ระยะเวลา 1 คาบ (50 นาที) วิธีการสอน แบบบรรยาย ขันตอนของกิจกรรม ขันนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูน้าเสนอรูปภาพกล้วยไม้ที่เจริญเติบโตบนต้นไม้ใหญ่ ดอกไม้ที่มีแมลงมาดูดน้าหวาน และ การวิ่งล่าเหยื่อของสิงโต มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบค้าถามต่อไปนี (เทคนิคการน้าเข้าสู่ บทเรียน) - สิ่งมีชีวิตในแต่ละรูปมีความสัมพันธ์กันในลักษณะใด - นักเรียนคิดว่าความสัม พันธ์ที่เกิ ดขึนในแต่ละรู ปมีประโยชน์หรื อมีผลกระทบต่ อ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในลักษณะใดบ้าง 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค้าตอบเกี่ยวกับค้าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน ขันสอน (35 นาที) 1. ครู บ รรยายเรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศ โดยใช้ สื่ อ การบรรยายเป็ น โปรแกรมการน้าเสนอ Power Point 2. ครูให้แต่ละคนตอบค้าถามจากใบงานที่มอบหมายให้ จ้านวน 15 ข้อ ขันสรุป(5 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ (เทคนิคการสรุป บทเรียน) 2. ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนไปหารูปภาพที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่ง มีชีวิตในระบบ นิเวศมาคนละ 1 รูปภาพพร้อมกับบอกและบรรยายลักษณะของความสัมพันธ์ให้ถูกต้อง ก้าหนดส่ งคาบ เรียนถัดไป การประเมินผลการเรียนรู้ 1. การตอบค้าถามจากใบงานที่ก้าหนดให้ จ้านวน 15 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน 2. ผลงานรูปภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ


8

คาบที่ 2 เนือหา สภาพของปัญหาและสาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ระยะเวลา 1 คาบ (50 นาที) รูปแบบการสอนแบบ 4MAT ขันตอนของกิจกรรม ขันนาเข้าสู่บทเรียน (5 นาที) 1. ครูเปิดวีดิทัศน์ เรื่อง วิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์สิ่ง แวดล้อมในประเทศไทย ความยาว 3 นาทีให้นักเรียนดูเพื่อเป็นการน้านักเรียนเข้าสู่บทเรียน (ขันเผชิญประสบการณ์) 2. เมื่อวีดิทัศน์จบ ครูถามค้าถามนักเรียนด้วยค้าถามเหล่านี - นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรบ้าง - นอกจากปัญหาในวีดิทัศแล้ว นักเรียนคิดว่าวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่ใกล้ๆบริเวณที่ นักเรียนอยู่มีอะไรบ้าง - นักเรียนคิดว่าปัญหาเหล่านีเกิดจากอะไร - สิ่งที่ดูจากวีดิทัศน์มีผลกระทบต่อนักเรียนหรือไม่ อย่างไร ขันสอน(40 นาที) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม โดยการให้นักเรียนจับกลุ่มตามที่ต้องการ กลุ่มละ 4 – 5 คน 2. เมื่อแบ่งกลุ่มเสร็จแล้ว ให้ผู้เรียนช่วยกันคิด วิเคราะห์ว่าวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมมีอะไรอื่นๆ อีกบ้าง แล้ว แต่ละสถานการณ์เกิดจากสาเหตุอะไรได้บ้าง จากนันให้ผู้เรียนจัดท้าผังความคิดของกลุ่ม ออกมาจากการคิดของกลุ่ม (ขันวิเคราะห์ประสบการณ์) 3. แต่ละกลุ่มน้าเสนอสิ่งที่กลุ่มได้ให้กลุ่มอื่นๆได้ทราบ จากนันร่วมกันอภิปรายถึง สาเหตุของ ปัญหาวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน (ขันพัฒนาประสบการณ์เป็นแนวคิดเชิงมโนทัศน์) 4. ครูช่วยสรุปรวบยอดความคิด และพยายามเชื่อมโยงประเด็นที่นักเรียนน้าเสนอ จากนันครู อาจจะยกให้เห็นตัวอย่างของสภาพปัญหาและสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยให้กับผู้ เรียน (ขันสร้างทฤษฎีและแนวคิด) 5. ให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มพิจารณาว่าสภาพปัญหาและสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศ ไทยที่อยู่ใกล้ๆกับตัวของผู้เรียน เช่น ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน เป็นต้น ว่าน่าจะมีสาเหตุมาจากอะไร (ขันปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้)


9

6. ครู ม อบหมายงานให้ ผู้ เ รี ย นแต่ ล ะคนเขี ย นร่ า งคร่ า วๆว่ า ในชุ ม ชนที่ นั ก เรี ย นอยู่ มี ปั ญ หา สิ่งแวดล้อมอะไร และคิดว่ามีปัญหานันเกิดขึนเพราะอะไร (ขันการสร้างสรรค์ผลงาน) 7. ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนๆในกลุ่มเรื่องปัญหาที่เกิดขึนในชุมชนของแต่ละคน โดยเพื่อนๆคนอื่นในกลุ่มสามารถช่วยเสนอว่าปัญหาอาจจะเกิดมาจากสาเหตุอื่นๆได้ด้วย (ขันวิเคราะห์ ผลงานและการก้าหนดแนวทางประยุกต์ใช้ และขันแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น และประสบการณ์) ขันสรุป (5 นาที) ครูสรุปเนือหาโดยรวมวันนีสันว่าปัญ หาที่เกิดมาจากสาเหตุใหญ่ๆอะไรบ้าง และสั่งการบ้านให้ ผู้เรียนท้า แผนผังความคิด Mind Mapping เกี่ยวกับวิกฤติการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนของผู้เรียน และสาเหตุ โดยก้าหนดส่งงานวันพรุ่งนี


10

คาบที่ 3 เนือหา แนวทางในการป้องกันและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ระยะเวลา 1 คาบ (50 นาที) ขันตอนของกิจกรรม ขันนา (10 นาที) 1. ครูท บทวนถึง สาเหตุข องปั ญ หาสิ่ ง แวดล้อ มที่ ไ ด้เ รีย นในคาบที่แ ล้ว โดยใช้เ ทคนิค การตั ง ค้าถาม - สาเหตุของปัญหาที่ร่วมกันอภิปรายไปแล้ว มีอะไรบ้าง 2. ครูใช้เทคนิคการตังค้าถามเพื่อน้าเข้าสู่บทเรียน - จากปัญหาที่กล่าวมาทังหมด นักเรียนคิดว่า ตนเองมีส่วนเกี่ยวข้องกับสาเหตุของ ปัญหามากน้อยเพียงใด - นักเรียนคิดว่า เรามีส่วนช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้อย่างไรบ้าง ขันสอน (30 นาที) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม โดยใช้กลุ่มที่เคยร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายถึงสาเหตุของปัญหา สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึนในปัจจุบัน จากการเรียนคาบที่แล้ว 2. ให้นักเรียนในกลุ่มเดียวกัน ช่วยกันคิดวิเคราะห์และร่วมกันอภิปราย หาแนวทางการป้องกัน และการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ในฐานะที่เป็นนักเรียน และในฐานะที่อนาคตนักเรียนอาจจะเป็นบุคคลที่ มีหน้าที่โดยตรงกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 3. แต่ละกลุ่มน้าเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปรายร่วมกันถึงแนวทางการป้องกันและการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึนในปัจจุบัน และนักเรียนทังห้องอภิปรายร่วมกันอีกครัง ขันสรุป (10 นาที) 1. ครูช่วยน้าสรุปประเด็นที่นักเรียนน้าเสนอ 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มอีกครัง เพื่อร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายหาแนวทางการอนุรักษ์และ พัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนอีกครัง โดยการสรุปจากสิ่งที่แต่ละกลุ่มน้าเสนอ รวมทังจากที่ครูช่วยแนะ แนวทาง โดยแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนนันต้องเป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติได้จริง


11

คาบที่ 4 เนือหา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างสรรค์โครงงานอย่า งเหมาะสมและตรงตามจุดประสงค์ ที่ ก้าหนด ระยะเวลา 1 คาบ (50 นาที) ขันตอนของกิจกรรม ขันนา (5 นาที) 1. ครูน้าภาพจิ๊กซอว์ที่เป็นภาพของโลโก้เว็บไซต์ที่เป็น Search Engine 1 ภาพ โดยใช้ โปรแกรม MS PowerPoint 2. ครูสุ่มนักเรียนเลือกเปิดแผ่นป้า ยครังละ 1 ใบ เพื่อให้เห็นส่วนใดส่วนหนึ่ง ของภาพ แล้ว นักเรียนช่วยกันตอบว่าภาพที่ปิดไว้เป็นภาพอะไร หากยังไม่สามารถตอบได้ถูกต้องให้เปิดแผ่นป้ายส่วนที่ ปิดไว้เพิ่มเพื่อให้เห็นภาพเพิ่มขึน ขันสอน (40 นาที) รูปแบบการสอนการเรียนรู้จากการท้าโครงงาน วิธีการสอนแบบอภิปราย 1. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine อื่นๆ ที่นักเรียนรู้จัก 2. ครูถามนักเรียนว่า “นักเรียนมีเทคนิคและวิธีการค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตอย่างไรจึงจะ ท้าให้ได้อย่างตรงตามความต้องการ” โดยใช้เทคนิค คิดเดี่ยว คิดคู่ และคิดกลุ่ม โดยให้นักเรียนแต่ละคน ทบทวนประสบการณ์การค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต จากนันให้นักเรียนจับคู่กันและพูดอธิบายเทคนิค ให้แก่กันและกัน แล้วครูให้นักเรียนจับกลุ่ม 4 คนอภิปรายกันในกลุ่มและส่งตัวแทนมาอธิบายเทคนิคการ สืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต 3. นักเรียนและครูสรุปร่วมกันเกี่ยวกับเทคนิคการการสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต 4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่าง โครงงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ โครงงานประเภท ส้ารวจ โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ และโครงงานประเภททฤษฎี จากนันครู ถามค้าถามนักเรียนดังนี 1. ส่วนประกอบของโครงงานมีอ ะไรบ้าง 2.โครงงานเกี่ยวกับการอนุรัก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีกี่ประเภท 3.ขันตอนในการท้าโครงงานมีอะไรบ้าง 4.หัวข้อโครงงาน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้มาจากวิธีใดบ้าง 5.ความหมายของโครงงาน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับโครงงาน และแจกใบความรู้เรื่องโครงงานจากนันครูให้นักเรียนแต่ละ กลุ่ม เขียนแผนภูมิความคิดเรื่องโครงงาน แล้วน้ามาเสนอหน้าชันเรียนกลุ่มละ 2 นาที ดังนี


12

กลุ่ม 1 วิธีคิดหาหัวข้อโครงงาน กลุ่ม 2 ขันตอนในการท้าโครงงาน กลุ่ม 3 ประเภทของโครงงาน กลุ่ม 4 ส่วนประกอบของโครงงาน 6. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นแต่ ละกลุ่ ม ประชุ ม จากนั นก้ า หนดปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ นกั บ แม่ น้ า เจ้ า พระยา จุดประสงค์ และวางแผนการด้าเนินงานแล้วเขียนลงในใบกิจกรรมการเขียนโครงงานที่ครูแจกให้ 7. ครูให้นักเรียนทุกกลุ่มน้าเสนอโครงงานอย่างคร่าว ๆ ให้ครูฟังโดยครูจะมีหน้าที่ให้ค้าแนะน้า และเสริมเนือหาให้สอดคล้องกับหัวข้อและเนือหาที่ต้องการศึกษา ขันสรุป (5 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การท้าโครงงาน และนัดหมายวัน เวลาในการตรวจสอบการด้าเนินงานโครงงาน สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5.

สื่อน้าเสนอ MS PowerPoint คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโครงงาน ใบความรู้เรื่องโครงงาน ใบงานเรื่อง การเขียนโครงงาน


13

คาบที่ 5 - 6 เนือหา ลงพืนที่ในการสืบค้นข้อมูลท้าโครงงาน วิธีการสอน การทัศนศึกษาผ่านวิทยากรและแหล่งการเรียนรู้ ระยะเวลา 2 คาบ (100 นาที) ขันตอนของกิจกรรม ขันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที) 1. ครูนัดหมายนักเรียนก่อนออกเดินทางไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ โดยรายละเอียดจะมีอยู่ในใบ ค้าสั่งและแบบขออนุญาตจากผู้ปกครอง 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนเตรียมสมุด ปากกา เพื่อช่วยในการบันทึก เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ไ ด้ จากการไปทัศนศึกษา ตามประเด็นดังนี 2.1 ประวัติและที่มาของแม่น้าเจ้าพระยา 2.2 ความส้าคัญของแม่น้าเจ้าพระยาตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.3 ปัญหามลภาวะที่ส่งผลกระทบต่อแม่น้าเจ้าพระยา 2.4 แนวทางการอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา 3. ครูตรวจสอบความพร้อม และตกลงเรื่องการเดินทางที่ปลอดภัย เพื่อความเข้าใจต่าง ๆ ให้ ตรงกัน เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการเดินทางและระหว่างการไปศึกษานอกสถานที่ รวมถึงระเบียบวินัย ต่าง ๆ ขันการสอน (75 นาที) 1. เมื่อถึงแหล่งเรียนรู้ ครูแจกใบงานสรุปประเด็นความรู้ที่ได้รับ จากนันแนะน้าให้วิทยากรผู้ให้ ความรู้กับนักเรียน เพื่อเริ่มด้าเนินกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่งกลุ่มนักเรียนตามที่จัดกลุ่มโครงงาน 2. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นเข้ า ศึ ก ษาความรู้ จ ากแหล่ ง การเรี ย นรู้ วิ ท ยากรในท้ อ งถิ่ น เกี่ ย วกั บ แม่ น้ า เจ้าพระยา ตามประเด็นที่ก้าหนด 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถามวิทยากรโดยตังประเด็นระหว่างการศึกษาแหล่งการเรียนรู้ ขันสรุป (30 นาที) 1. นัก เรี ย นและครูร่ วมกั นสรุป องค์ ค วามรู้ จ ากการทัศ นศึ ก ษาแหล่ ง เรี ยนรู้ใ นท้อ งถิ่ น ครั งนี เกีย่ วกับแม่น้าเจ้าพระยาครบถ้วนตามประเด็นที่มอบหมายให้ในใบงาน 2. ครูย้าประเด็นในการจัดกระท้าโครงงานเพื่อให้นักเรียนน้าความรู้ไปต่อยอดได้ดียิ่งขึน


14

3. นักเรียนกล่าวขอบพระคุณวิทยากรผู้ให้ความรู้ตลอดการศึกษาดูงาน 4. เดินทางกลับสถานศึกษา สื่อ/แหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สื่อการสอน 1. ภาพเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของแม่น้าเจ้าพระยา 2. กราฟแสดงค่าปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในแม่น้าเจ้าพระยา แหล่งเรียนรู้ ชุมชนริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวบ้านในชุมชนริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา


15

คาบที่ 7 - 8 เนือหา น้าเสนอโครงงานและสรุปบทเรียน ระยะเวลา 2 คาบ (100 นาที) ขันตอนการสอน ขันนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูเกริ่นน้ากิจกรรมของคาบนี คือ การน้าเสนอโครงงาน โดยครูจะบอกถึงเกณฑ์การให้ คะแนนให้กับผู้เรียนได้ทราบอีกครัง 2. ครูตังประเด็นว่าจากที่แต่ละกลุ่มได้ศึกษาปัญหามลภาวะของของแม่น้าเจ้าพระยา แต่ละกลุ่ม อาจพบปัญหาและมีวิธีการอนุรักษ์ที่แตกต่างกัน และหลังจากที่ทุกกลุ่มน้าเสนอจบแล้วนักเรียนจะต้อง ร่วมกันอภิปรายถึงจุดร่วมและจุดต่างของปัญหาและแนวทางอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา ขันสอน (80 นาที) ครูใช้วิธีการจับสลากเพื่อเลือกว่ากลุ่มใดจะได้ออกมารายงานก่อน 1. แต่ละกลุ่มให้เวลาน้าเสนอไม่เกินกลุ่มละ 15 นาที (มีกลุ่มทังหมด 3-4 กลุ่ม) 2. เมื่อกลุ่มใดรายงานเสร็จ ครูจะเปิดโอกาสให้กลุ่มอื่นๆสอบถาม เมื่อถามแล้ว หรือหมดข้อ สงสัย ครูก็อาจจะถามค้าถาม หรือให้ข้อเสนอแนะต่างๆกับกลุ่มที่รายงาน (กลุ่มละไม่เกิน 5 นาที) 3. เมื่อรายงานครบทุกกลุ่มแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงจุดร่วมและจุดต่างของปัญหา และแนวทางอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา 3. ครูตังค้าถามกับนักเรียนทังชันเรียนว่าการท้าโครงงานครังนีให้ประโยชน์อะไรกับผู้เรียนบ้าง และค้าถามอื่นๆที่ช่วยให้ผู้เรียนได้คิด ขันสรุป (10 นาที) 4. ครูสรุปถึงบทเรียน ประโยชน์จากการท้าโครงงาน และการน้าโครงงานไปปฏิบัติจริงเพื่อการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป


16

การประเมินผลการเรียนรู้ คาบที่ 1 เกณฑ์การประเมินผล ผลงานรูปภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่ง มีชีวิตกับสิ่ง แวดล้อมในระบบนิเวศ โดยครู มีเกณฑ์การให้ คะแนนแบบรูบริคสกอร์ ดังนี ประเด็นการประเมิน

3 1. ลักษณะของรูปภาพ รู ป ภ า พ แ ส ด ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศได้ อย่างชัดเจน 2. การบอกลักษณะของ สามารถบอกลั ก ษณะ ความสัมพันธ์ ความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ อ ย่ า ง ถูกต้องและสอดคล้องกับ รูปภาพ 3. การบรรยายลั ก ษณะ สามารถบรรยายลักษณะ ของความสัมพันธ์ ความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ อ ย่ า ง ถูกต้อง ละเอียดครบถ้วน

เกณฑ์การให้คะแนน 2 รู ป ภ า พ แ ส ด ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศไม่ ชัดเจน บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ ความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ งแต่ ไ ม่ ส อดคล้ อ ง กับรูปภาพ สามารถบรรยายลักษณะ ความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ อ ย่ า ง ถูกต้อง แต่ไม่ละเอียด ไม่ ครบถ้วน

ระดับคุณภาพ 7 - 9 คะแนน

หมายถึง

ดี

5 - 6 คะแนน

หมายถึง

พอใช้

3 - 4 คะแนน

หมายถึง

ปรับปรุง

1 รู ป ภ า พ ไ ม่ ไ ด้ แ ส ด ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ ความสั ม พั น ธ์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ถูกต้องและไม่สอดคล้อง กับรูปภาพ สามารถบรรยายลักษณะ ความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง


17

คาบที่ 2 การประเมินผลการเรียนรู้ 1. ใบงาน Mind Mapping โดยครูมีเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคสกอร์ ดังนี ประเด็นการประเมิน 1. ด้านเนือหา

2. ด้านความสวยงาม

3. การส่งงาน

3 มี ก า ร ร ะ บุ ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ดล้ อม ใน ชุ มช น ผู้ เ รี ย น, สาเหตุ ข อง ปั ญ หาสิ่ ง แว ดล้ อ มไ ด้ อย่างถูกต้อง มี ก ารตกแต่ ง ชิ นงานให้ สวยงาม และมี การจั ด วางแผนผังได้เหมาะสม ส่งงานตรงเวลา

เกณฑ์ 2 มี ก า ร ร ะ บุ ปั ญ ห า สิ่ง แวดล้อมในชุมชนของ ผู้เรียน, สาเหตุของปัญหา สิ่ ง แวดล้ อ มได้ ถู ก ต้ อ ง บางส่วน มีการตกแต่งชินงาน แต่มี ก า ร จั ด ว า ง แ ผ น ผั ง ที่ เหมาะสม ส่งงานเลยก้าหนด 1 วัน

ระดับคุณภาพ 7 - 9 คะแนน 5 - 6 คะแนน 3 - 4 คะแนน

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดี พอใช้ ปรับปรุง

1 มี ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มใน ชุ ม ชนของผู้ เ รี ย น แต่ สาเหตุ ข องปั ญ หาที่ ร ะบุ ไม่ถูกต้อง ไม่ มี ก ารตกแต่ ง ชิ นงาน และ ก าร จั ด ว าง ผั ง ไ ม่ เหมาะสม ส่ ง ง า น เ ล ย ก้ า ห น ด มากกว่า 1 วัน


18

คาบที่ 3 การประเมินผลการเรียนรู้ 1. ใบงาน Mind Mapping โดยครูมีเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคสกอร์ ดังนี ประเด็นการประเมิน 1. ด้านเนือหา

2. ด้านความสวยงาม

3. การส่งงาน

3 มี ก า ร ร ะ บุ แ น ว ท า ง อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น โดยเป็ น สิ่ ง ที่ ส ามาร ถ เกิดขึนได้จริงทังหมด มี ก ารตกแต่ ง ชิ นงานให้ สวยงาม และมี การจั ด วางแผนผังได้เหมาะสม ส่งงานตรงเวลา

เกณฑ์ 2 มี ก า ร ร ะ บุ แ น ว ท า ง อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น โดยเป็ น สิ่ ง ที่ ส ามาร ถ เกิดขึนได้จริงบางส่วน มีการตกแต่งชินงาน แต่มี ก า ร จั ด ว า ง แ ผ น ผั ง ที่ เหมาะสม ส่งงานเลยก้าหนด 1 วัน

ระดับคุณภาพ 7 - 9 คะแนน

หมายถึง

ดี

5 - 6 คะแนน

หมายถึง

พอใช้

3 – 4 คะแนน

หมายถึง

ปรับปรุง

1 มี ก า ร ร ะ บุ แ น ว ท า ง อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น โดยเป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ส ามารถ เกิดขึนได้จริง ไม่ มี ก ารตกแต่ ง ชิ นงาน และ ก าร จั ด ว าง ผั ง ไ ม่ เหมาะสม ส่ ง ง า น เ ล ย ก้ า ห น ด มากกว่า 1 วัน


19

คาบที่ 4 เกณฑ์การประเมินแผนภาพความคิดเรื่องการแก้ปัญหาและแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ประเด็นการประเมิน 1. ด้านเนือหา

2. ด้านความสวยงาม

3. การส่งงาน

3 มี ก า ร ร ะ บุ วิ ธี ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ แ น ว ทางการอนุ รั ก ษ์ ถู ก ต้ อ ง และครบถ้วนทุกหัวข้อ มี ก ารตกแต่ ง ชิ นงานให้ สวยงาม และมี การจั ด วางแผนภาพได้เหมาะสม ส่งงานตรงเวลา

เกณฑ์ 2 มี ก า ร ร ะ บุ วิ ธี ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ แ น ว ทางการอนุ รั ก ษ์ ค รบทุ ก หัวข้อแต่ถูกต้องบางส่วน มีการตกแต่งชินงาน แต่มี การจั ด วางแผนภาพที่ เหมาะสม ส่งงานเลยก้าหนด 1 วัน

ระดับคุณภาพ 8 - 9 คะแนน 6 - 7 คะแนน 3 – 5 คะแนน

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดี พอใช้ ปรับปรุง

1 มี ก า ร ร ะ บุ วิ ธี ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ แ น ว ทางการอนุ รั ก ษ์ ไ ม่ ค รบ ทุกหัวข้อ ไม่ มี ก ารตกแต่ ง ชิ นงาน และการจั ด วางภาพไม่ เหมาะสม ส่ ง ง า น เ ล ย ก้ า ห น ด มากกว่า 1 วัน


20

คาบที่ 5 - 6 การวัดผลประเมินผล การวัดผลประเมินผล วิธีการวัดประเมินผล 1. สังเกตความสนใจของนักเรียนในการทัศนศึกษา 2. สังเกตการซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. ตรวจแบบสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทัศนศึกษาโดยครบถ้วนทุกประเด็นในใบงาน เครื่องมือวัดประเมินผล 1. แบบสังเกตความสนใจของนักเรียนในการทัศนศึกษา 2. แบบสังเกตการซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. แบบประเมินการตรวจแบบสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทัศนศึกษา เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1. แบบสังเกตความสนใจของนักเรียนในการทัศนศึกษา 5 หมายถึง มีความสนใจมากที่สุด 4 หมายถึง มีความสนใจวิธีมาก 3 หมายถึง มีความสนใจปานกลาง 2 หมายถึง มีความสนใจน้อย 1 หมายถึง มีความสนใจน้อยที่สุด 0 หมายถึง ไม่มีความสนใจเลย 2. แบบสังเกตการซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 5 หมายถึง การซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมากที่สุด 4

หมายถึง การซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาก

3

หมายถึง การซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นปานกลาง

2 หมายถึง การซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นน้อย 1

หมายถึง การซักถามการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นน้อยที่สุด

0

หมายถึง ไม่มีการซักถามใดๆเลย


21

3. แบบประเมินการตรวจแบบสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทัศนศึกษา 3 หมายถึง สรุปองค์ความรู้ที่ได้ครอบคลุมทัง 4 ประเด็น ได้แก่ 1 ประวัติและที่มาของแม่น้าเจ้าพระยา 2 ความส้าคัญของแม่น้าเจ้าพระยาตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 3 ปัญหามลภาวะที่ส่งผลกระทบต่อแม่น้าเจ้าพระยา 4 แนวทางการอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา อย่างครบสมบูรณ์ 2 หมายถึง สรุปองค์ความรู้ที่ได้ครอบคลุมทัง 4 ประเด็น ได้แก่ 1 ประวัติและที่มาของแม่น้าเจ้าพระยา 2 ความส้าคัญของแม่น้าเจ้าพระยาตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 3 ปัญหามลภาวะที่ส่งผลกระทบต่อแม่น้าเจ้าพระยา 4 แนวทางการอนุรักษ์แม่น้าเจ้าพระยา แต่ขาดความสมบูรณ์ 1 หมายถึง สรุปองค์ความรู้ไม่ครบตามประเด็นที่ก้าหนด 0 หมายถึง ไม่ส่งใบงานสรุปองค์ความรู้


22

คาบที่ 7 - 8 การประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล ผลงานโครงงานของนักเรียน ครูมีเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคสกอร์ ดังนี ประเด็นการประเมิน

3

1. ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องที่ทา 1.1 การเลือกท้า รู้ จั ก คิ ด วิ เ คราะห์ ต นเอง โครงงาน สภาพแวดล้อม หาทางเลือก ในการท้ า โครงงาน และมี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ประโยชน์ ข องโครงงานที่ เลือกท้า

เกณฑ์การให้คะแนน 2

รู้ จั ก คิ ด วิ เ คราะห์ ต นเอง สภาพแวดล้ อ ม หาทาง เลือกในการท้า โครงงาน และมีความรู้ ความเข้าใจ ประโยชน์ของโครงงานที่ เลื อ กท้ า อ ยู่ บ้ า งแต่ ไ ม่ ชัดเจน

1

ไม่ มี ก าร คิ ด วิ เคร าะ ห์ ตนเอง สภาพแวดล้ อ ม ขาดทางเลื อ กในการท้ า โครงงาน และขาดความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ของ โครงงานที่เลือกท้า


23

ประเด็นการประเมิน 1.2 ก้าหนดปัญหา หรือชื่อเรื่องโครงงาน

3 สามารถก้าหนดปัญ หาและ ชื่อเรื่อ งโครงงานได้ ชัด เจน เฉพาะเจาะจง กะทั ด รั ด และสื่ อ ความหมายได้ ต รง ชัดเจน

1.3 วิเคราะห์ และวางแผน ปฏิบัติงาน

สา ม า ร ถ ว ิเ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ วางแผนปฏิบัติงานไดถูก ตองเหมาะสมตามข ันตอน กระบวนการทำงาน ประหยัดและปลอดภัย

1.4 มีความรูความ เข้าใจเกี่ยวกับ เรื่องที่นำมาอ้างอิง

สามารถอ้ างอิ งถึง ความรู ท ี่ เกี่ ย วข้ อ งได อย่ า งถู ก ต้ อ ง เหมาะสมและมีความเข้าใจ ในความรู ที่อ้างถึงเป็นอย่าง ดี

เกณฑ์การให้คะแนน 2 สามารถก้ า หนดป ัญ หา และชื่อเรื่องโครงงานได ช ัด เ จ น แ ล ะ ส ื่อ ความหมายได้ แต่ ข าด ความกะทัดรัด สามารถว ิเ คราะห์ และ วางแผนปฏ ิบ ัติ ง านได ถ ูก ต้ อ งเหมาะสม ตาม ข ันตอน กระบวนการ ทำงาน แต่ ไ ม คำน ึง ถ ึง ค ว า ม ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ ปลอดภัย สามารถอ้างอิงถึงความรู ที่เกี่ยวข้องไดอย่างถูก ตองเหมาะสมและมีความ เข้าใจ ในความรู ที่อ้างถึง มีบางส่วนที่ไ มเข้าใจและ สั บ สนบ้ า ง แต่ ส ามารถ อธิบายให้เข้าใจได้

1 ก้ า หนดป ัญ หาและช ื่อ เรื่ อ งโครงงานไมช ัด เจน ขาดความเฉพาะเจาะจง ไ ม ก ะ ท ัด รั ด แ ล ะ ส ื่อ ความหมายไดไมชัดเจน ว ิเ คราะห์ แ ละวางแผน ปฏ ิบ ัต ิง านไมเหมาะสม ไมมีขันตอนกระบวนการ ทำงาน ไมประหยัด และ ไมคำนึงถึงปลอดภัย

สามารถอ้ างอิงถึงความรู ท ี่เ กี่ ย ว ข ้อ ง ไ ด้ แต่ ไ ม สามารถอธิ บายให้เข้าใจ ได้


24

ประเด็นการประเมิน

3

2. ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 2.1 ปัญหาหรือเรื่อง ป ัญ หาหรื อ เรื่ อ งมี ค วาม มีความสำคัญ แปลกใหม ่ สอดคล องก ับ และแปลกใหม่ สภาพท้องถิ่น นาสนใจมาก และยังไมมีผู้อื่นทำมาก่อน 2.2 วิธีด้าเนินการ มี วิธีการแก้ปัญหา วิธีการวัด ความแปลกใหม่ และควบคุมตัวแปร วิธีการ รวบรวมข้ อ มู ล การเลื อ ก และทดสอบความเหมาะสม ของอุ ป กรณ์ เป็ น ไปอย่ า ง ถูกต้อง เหมาะสม น่าสนใจ และแปลกใหม่ ยังไม่มีผู้อื่น ท้ามาก่อน

3. การเขียนรายงาน 3.1 ความถูกต้อง ของรูปแบบการ เขียนรายงาน

3.2 การน้าเสนอ ข้อมูล

เขี ย นครอบคลุ ม หั ว ข้ อ ที่ ส้า คั ญ แยกแต่ ละหั ว ข้ อ ได้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น รู ป แ บ บ ส ว ย ง า ม เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ น่าสนใจมาก น้ า เสนอข ้อ มู ล ในลั ก ษณะ ตาราง กราฟ หรือ รู ป ภาพ ถูกต้องเหมาะสมชัดเจนมาก มีรูปแบบสวยงามและแปลก ใหม่

เกณฑ์การให้คะแนน 2

1

ปัญ หาหรือเรื่องน่าสนใจ ด ัด แปลง เปล ี่ย นแปลง จากที่ผู้อื่นเคยทำมา ก่อนเป็นส่วนใหญ่ วิธีก ารแก้ ปัญ หา วิธี การ วั ด และควบคุ ม ตั ว แปร วิ ธี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล การเลื อ กและ ทดสอบ ความเหมาะสมของ อุ ป ก ร ณ์ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม น่ า ส น ใ จ ดั ด แ ป ล ง เปลี่ยนแปลงจากผู้อื่นเคย ท้ามาก่อน

ป ัญ ห า ห รื อ เ รื่ อ ง ไ ม น่าสนใจ ไมมีความแปลก ใหม่ ลอกเลีย นแบบจาก ที่ผู้อื่นเคยทำมาก่อน วิธีก ารแก้ ปัญ หา วิธี การ วั ด และควบคุ ม ตั ว แปร วิ ธี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล การเลื อ กและ ทดสอบ ความเหมาะสมของ อุ ป ก ร ณ์ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เหมาะสม ไม่ น่ า ส น ใ จ แ ล ะ ลอกเลียนแบบจากผู้อื่น

เขี ย นครอบคลุ ม หั ว ข้ อ ที่ ส้ า คั ญ แยกแต่ ล ะหั ว ข้ อ ได้ อ ย่ า งชั ด เจน รู ป แบบ ธ ร ร ม ด า น่ า ส น ใ จ บางส่วน น้าเสนอข้อมูลในลักษณะ ต า ร า ง ก ร า ฟ ห รื อ รูปภาพถูกต้องเหมาะสม ช ัด เ จ น มี รู ป แ บ บ ธรรมดาไมแปลกใหม่

เขียนไม่ครอบคลุมหัวข้อ ที่ ส้ า คั ญ บางหั ว ข้ อ ขาด ห า ย ห รื อ ส ลั บ หั ว ข้ อ รู ป แบบธรรมดา ไม่ น่าสนใจ น้าเสนอข้อมูลในลักษณะ ต า ร า ง ก ร า ฟ ห รื อ รูป ภาพไมละเอีย ด อ่า น เ ข ้า ใ จ ย า ก รู ป แ บ บ ธรรมดา และไมน่าสนใจ


25

ประเด็นการประเมิน 3.3 การใช้ภาษา

3.4 ประโยชนและ ขอเสนอแนะ

3 ภาษาท ี่ใ ช้ ถู ก ต้ อ ง ชั ด เจน และสละสลวย อ่านแลว เข้าใจง่าย เ ขี ย น ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ ข้ อ เสนอแนะได ถู ก ต้ อ ง ชัดเจน เหมาะสม และสอด คล องก ับ จุ ด มุ่ ง หมายของ เรื่องที่ศึกษา

4.การนำเสนอผลงาน 4.1 การจัดระบบ การน้ า เสนอผลงานมี ก าร การน้าเสนอผลงาน จ ัด ล ำด ับ ข ัน ตอ น แ ต่ ล ะ หัวข้อชัดเจน ทำให้เข้าใจได ง่าย 4.2 การใช้ภาษา

เกณฑ์การให้คะแนน 2 ภาษาที่ใช้ถูกต้อง ชัดเจน เป็นส่วนใหญ่ แต่อ่าน แล้วเข้าใจง่าย เขี ย นประโยชน และข้ อ เส น อ แ น ะ ไ ด ถู ก ต้ อ ง ช ัด เจน มี บ างส ่ว นไม เหมาะสม และ ไมสอด คลองกับจุดมุ่งหมายของ เรื่องที่ศึกษา

1 ภาษาที่ใช้ไมถูกต้องเกือบ ท ังหมด อ่ า นแล้ ว เข ้า ใจ ยาก เขียนประโยชนและข้อ เสนอแนะไดถูกต้องเพียง บ า ง ส ่ว น แ ล ะ ไ ม สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของเรื่องที่ศึกษา

การน้าเสนอผลงานมีการ จัดล้าดับขันตอนที่สับสน บ้างเล็กน้อย แต่สามารถ ท้าให้เข้าใจได้

การน้าเสนอผลงานมีการ จัดล้าดับขันตอนที่สับสน มากท้าให้ไม่เข้าใจเรื่องที่ น้าเสนอ

ภาษาที่ ใช้ ในการน าเสนอ ภาษาที่ใช้ในการน้าเสนอ ภาษาที่ใช้ในการน้าเสนอ ผลงาน ถู ก ต้ อ ง ชัด เจน และ ผลงาน ไม่ ถู ก ต้ อ งบ้ า ง ผ ล ง า น ส่ ว น ใ ห ญ่ ไ ม่ สละสลวย ฟั งแล้ วเข้ าใจง่าย เล็กน้อย ฟังแล้วเข้าใจได้ ถูกต้อง ฟังแล้วไม่เข้าใจ

4.3 บุคลิกภาพของ บุคลิก ลีลาท่าทางดีน้าเสียง ผู้น้าเสนอ ชั ด เจน มี ค วามรู้ ใ นเรื่ อ งที่ พูดเป็นอย่างคล่องแคล่วไม่ ติดขัด

บุ ค ลิ ก ลี ล า ท่ า ท า ง ดี น้ า เสี ย งชั ด เจน มี ค วาม สั บ ส น ใ น เ รื่ อ ง ที่ พู ด เล็กน้อย คล่องแคล่วและ ไม่ติดขัด 4.4 การตอบคำถาม อธิบ ายและตอบคำถามได อธ ิบ ายและตอบคำถาม ถูกต้อง ชัดเจนมาก ไดถ ูก ต้ อ งเป ็น ส ่ว นใหญ่ และสามารถอธ ิบ ายให ้ เข้าใจได้

บุคลิ ก ลี ลาท่าทางพอใช้ น้าเสียงเบาไม่ชัดเจน มี ความสับสนในเรื่องที่พูด ไม่คล่องแคล่วและติดขัด บ่อยครัง อธ ิบ ายและตอบคำถาม ไดเล็กน้อย สวนใหญ่ไ ม ถูกต้อง และตอบคำถาม ผิด


26

ระดับคุณภาพ 29 – 42 คะแนน 23 – 28 คะแนน 14 – 22 คะแนน

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ดี พอใช้ ปรับปรุง


27

บรรณานุกรม พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์, อารียา ศรีประเสริฐ, สายสุนีย์ เจรฺญสุข และสุปราณี วงษ์แสงจันทร์. (2555). หนังสือเรียน รายวิชาพืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.6. กรุงเทพฯ: อักษร เจริญทัศน์. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2555). สอนเขียนแผนบูรณาการ บนฐานเด็กเป็นสาคัญ. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2549). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พืนฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. อภิสิทธิ์ เอี่ยมหน่อ, วินัย วีระวัฒนานนท์, วิโรจน์ เอี่ยมเจริญ, มนตรี พิมพ์ใจ และคชรัตน์ ภูมัง. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพืนฐาน ภูมิศาสตร์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.