การใช้คาในบทร้อยกรอง ผูเ้ ขียนบทร้อยกรอง ควรรูจ้ กั เลือกสรรคำให้สอ่ื ควำมหมำยได้ตรง ตำมทีต่ อ้ งกำร และเลือกมำให้เหมำะสม ๑. คำที่มีควำมหมำยเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน เช่น
น้ำ – ธำร ธำรำ นที สำยธำร วำรี คงคำ ดวงอำทิตย์ – ตะวัน ทินกร รวี สุร ี สุรยิ ำ
ตัวอย่ำง ดวงอำทิตย์ - ทินกรอ่อนแสงแฝงเมฆำ - ดวงตะวันพลันลับเหลีย่ มภูผำ ๒. คำที่เกิดจำกกำรนำคำ ๒ คำ ที่ มีควำมหมำยเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกันมำรวมกัน ใช้สลับที่กนั ได้ เช่น ผ่ำนพ้น – พ้นผ่ำน - เมือ่ เหตุกำรณ์ผ่ำนพ้นก็ดลสุข - เรือ่ งแยบยลพ้นผ่ำนเบิกบำนจิต ๓. คำที่มีควำมหมำยใกล้เคียงกัน และสัมผัสคล้องจองกัน เช่น นิยมชมชอบ - ฉันนิยมชมชอบคนรอบรู้
ที่มำ: บังอร ช่ำงเกวียน. (๒๕๕๐). กำรใช้คำในบทร้อยกรอง. ใน บังอร ช่ำงเกวียน, เพือ่ นสอนกลอนแปด (หน้ำ ๖). กรุงเทพฯ.