กฎหมายนารู
SEPTEMBER 2012 : VOL. 5
MONTHLY JOURNAL
สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ดูกอนดื่ม* ภาษีสรรพสามิต คือ ภาษีการขายเฉพาะที่เรียกเก็บจากสินคาและบริการบางประเภท ซึ่งมีเหตุผลสมควรที่จะตองรับภาระ ภาษีสูงกวาปกติ เชน สินคาที่บริโภคแลวอาจกอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพและศีลธรรมอันดี สินคาและบริการที่มีลักษณะเปนการ ฟุมเฟอย สินคาที่ไดรับผลประโยชนเปนพิเศษจากรัฐ หรือสินคาที่กอใหเกิดภาระตอรัฐบาลในการที่จะตองสรางสิ่งอํานวยความสะดวก ตางๆ เพื่อใหบริการผูบริโภค หรือเปนสินคาที่กอใหเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม หลายคนอาจจะเคยสงสัยวา ... เหตุใดน้ําผลไมและน้ําผักพรอมดื่มจึงตองเสียภาษีสรรพสามิต ทั้งๆ ที่มีประโยชนตอรางกาย ไมไดกอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพหรือศีลธรรมอันดี หรือเปนสินคาและบริการที่มีลักษณะเปนการฟุมเฟอย หรือเปนสินคาที่ไดรับ ผลประโยชน เปน พิเศษจากรั ฐ หรื อเป นสิ น คา ที่กอให เกิ ด ภาระต อรั ฐบาลในการที่ จ ะต องสรา งสิ่ ง อํา นวยความสะดวกต าง ๆ เพื่อใหบริการผูบริโภค หรือเปนสินคาที่กอใหเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอมแตอยางใด ... แทที่จริงแลว สาเหตุที่กฎหมายกําหนดให น้ําผลไมและน้ําผักพรอมดื่มตองเสียภาษีสรรพสามิต เปนเพราะสวนผสมของน้ําผลไมและน้ําผักพรอมดื่มนั้นเอง ที่มีน้ําตาลและน้ําเปน สวนประกอบที่สําคัญ การที่กฎหมายกําหนดใหตองเสียภาษีสรรพสามิตก็เพื่อที่จะคุมครองผูบริโภค โดยการควบคุมผูผลิตไมใหใช น้ําตาลกับน้ําเปนสวนประกอบในผลิตภัณฑมากเกินไปจนอาจกอใหเกิดผลเสียแกสุขภาพรางกายของผูบริโภค แตอยางไรก็ดี ถึงแม กฎหมายกําหนดใหน้ําผลไมและน้ําผักพรอมดื่มตองเสียภาษีสรรพสามิต แตในทางปฏิบัติแลว หากเครื่องดื่มน้ําผลไมและน้ําผัก ที่มีสวนประกอบเปนไปตามกฎเกณฑและเงื่อนไขที่กรมสรรพสามิตกําหนด กรมสรรพสามิตไดออกประกาศกรมสรรพสามิตยกเวนภาษี สรรพสามิต ทําใหน้ําผลไมและน้ําผักพรอมดื่มสวนใหญไมตองเสียภาษี คําถามที่ตามมาก็คือ ... เหตุใดน้ําผลไมและน้ําผักพรอมดื่ม บางยี่หอจึงยังตองเสียภาษีสรรพสามิตอีกทั้งๆ ที่กรมสรรพสามิต ไดออกกฎหมายยกเวนภาษีสรรพสามิตใหแกน้ําผลไมและน้ําผัก พรอมดื่มแลว ... คําตอบก็คือ เพราะน้ําผลไมหรือน้ําผักยี่หอนั้น ไมไดมาตรฐานตามหลักเกณฑเงื่อนไขที่กรมสรรพสามิตกําหนด นั่นเอง ดังนั้น เวลาเลือกซื้อน้ําผลไมหรือน้ําผักพรอมดื่ม อยาลืมดู ใหดี ยี่หอไหนมีแสตมปสีเขียวๆ ติดไวขางกลอง แสดงวาน้ําผลไม หรือน้ําผักพรอมดื่มนั้นเสียภาษีสรรพสามิต ดังนั้น คงจะรูแลวนะ วา ควรจะเลือกดื่มน้ําผลไมหรือน้ําผักแบบใด
* เรียบเรียงโดย : นางสาวปยะนาท เอื้ออริยะพาณิชกุล นิติกรชํานาญการ สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ 0-2618-3371
กฎหมายนารู
SEPTEMBER 2012 : VOL. 5
MONTHLY JOURNAL
สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ยึดเงินเดือนเพื่อชําระหนี้* เคยสงสัยกันหรือไมวา???? กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองชําระหนี้แกเจาหนี้ตามคําพิพากษา หากลูกหนี้ไมมีทรัพยสินจะชําระหนี้ เจาหนี้จะดําเนินการบังคับคดีกับเงินเดือนไดหรือไม ในกรณีที่ลูกหนี้เปนขาราชการ หรือลูกจางในหนวยงานของราชการ มาตรา 286 (2) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง กําหนดวา เงินเดือน คาจาง บํานาญ บําเหน็จ เบี้ยหวัด หรือรายไดอื่นในลักษณะเดียวกันของขาราชการ เจาหนาที่ หรือลูกจางในหนวย ราชการไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี ดังนั้นหากลูกหนี้ตามคําพิพากษาเปนขาราชการ หรือลูกจางในหนวยงานของราชการ เจาหนี้ตามคําพิพากษาก็ไมสามารถบังคับคดีกับเงินเดือนไดตามที่กฎหมายกําหนดไว สํ า หรั บ ลู ก หนี้ เ ป น พนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ หรื อ เป น พนั ก งาน บริษัทเอกชน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 286 (3) กําหนดวา เงินเดือน คาจาง บํานาญ เงินสงเคราะห หรือรายได อื่นในลักษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจาง หรือคนงาน นอกจากที่ ไมใชขาราชการหรือลูกจา งของหน วยงานราชการที่ นายจ างจา ย ใหแ กบุ คคลเหลา นั้น หรือคู สมรส หรือญาติ ที่ยั งมี ชีวิต ของบุ คคล เหล า นั้ น เป น จํ า นวนรวมกั น ไม เ กิ น เดื อนละ 10,000 บาท เงิ น ดังกลาวไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี แตหากมีเงินเดือนเกิน 10,000 บาทแลว สวนที่เกิน 10,000 บาท อาจถูกบังคับคดีได แต อย า งไรก็ ต าม กรมบั ง คั บ คดี ได อ อกหลั ก เกณฑ ก ารบั ง คั บ คดี กําหนดใหบังคับไดรอยละ 30 ของเงินเดือนสวนที่เกิน 10,000 บาท เทานั้น เหตุผลที่กฎหมายไดกําหนดไววาเงินเดือนของขาราชการหรือลูกจางในหนวยงานของขาราชการไมอยูในขายของการบังคับคดีนั้น อาจจะดวยเหตุผลที่กฎหมายเห็นใจบุคลากรในหนวยงานราชการเปนพิเศษเนื่องจากอัตราเงินเดือนของขาราชการที่ไดรับนั้นนอยกวา เงินเดือนของเอกชนที่ไดรับอยูมาก ดังนั้น เงินเดือนของขาราชการและลูกจางในหนวยงานราชการนั้นจึงไมอยูในขายในการบังคับคดีนนั่ เอง ดังนั้น สถานภาพของลูกหนี้ตามคําพิพากษาก็มีความสําคัญในการดําเนินการบังคับคดี เจาหนี้ตามคําพิพากษาจําเปนตองทราบ เพื่อประโยชนในการบังคับคดีของตนและมิใหกาวลวงสิทธิของลูกหนี้ที่มีสถานะในการทํางานที่ตางกัน กรณีที่ยกขึ้นมานี้เปนเพียงตัวอยางใน การบังคับคดีกับเงินเดือนเทานั้น แตในการบังคับคดี เจาหนี้ตามคําพิพากษาสามารถยื่นคํารองขอใหศาลออกหมายบังคับคดีเพื่อยึดหรือ อายัดทรัพยสินอื่นๆ ของลูกหนี้นํามาชําระหนี้ตามคําพิพากษาไดอยูแลว ฉะนั้น หากเปนหนี้ก็พึงชําระหนี้จะไดไมถูกทวงหนี้โหด เนื่องจาก ชวงนี้ ราง พ.ร.บ. การติดตามทวงถามหนี้อยางเปนธรรม พ.ศ. .... ยังไมออกมาใชบังคับนั่นเอง
* เรียบเรียงโดย : นายดนุพล เกษมพันธ นิติกร สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ 0-2618-3371
กฎหมายนารู
SEPTEMBER 2012 : VOL. 5
สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
MONTHLY JOURNAL
ศัพทกฎหมาย Petty case
คดีมโนสาเร
Non contentious case
คดีที่ไมมีขอพิพาท
Summary case
คดีไมมีขอยุงยาก
Case concerning a compoundable offence คดีความผิดอัน ยอมความได Civil and penal actions
คดีแพงเกี่ยวเนื่องคดีอาญา
คดีมโนสาเร คือ คดีเล็กนอยที่สามารถคํานวณเปนเงินไดในเวลายื่นฟองไมเกินสามแสนบาท รวมถึงคดีฟองขับไลออกจากที่ใหเชาหรือ อาจเชาไดในขณะยื่นคําฟองไมเกินเดือนละสามหมื่นบาท คดีที่ไมมีขอพิพาท คือ คดีที่ผูรองมีความจําเปนตองใชสิทธิทางศาล เริ่มตนคดีดวยการทําเปนคํารองขอและมีคูความเพียงฝายเดียว คดีไมมีขอยุงยาก คือ คดีฟองขอใหชําระเงินจํานวนแนนอนตามตั๋วเงิน ซึ่งการรับรองหรือการชําระเงินตามตั๋วเงินถูกปฏิเสธ หรือคดี ที่ฟองขอใหชําระเงินจํานวนแนนอนตามหนังสือสัญญาซึ่งปรากฏวาเปนสัญญาอันแทจริง มีความสมบูรณและบังคับไดตามกฎหมาย คดีความผิดอันยอมความได คือ คดีที่ผูเสียหายไดรับความเสียหายเดือดรอนโดยตรง บุคคลอื่นหรือสังคมไมไดรับความเดือดรอนหรือ ผลกระทบจากการกระทํานั้น ดังนั้นหากผูเสียหายไมไปรองทุกข พนักงานสอบสวนก็ไมมีอํานาจที่จะทําการสอบสวนได คดีแพงเกี่ยวเนื่องคดีอาญา คือ คดีแพงประเภทหนึ่งที่มีมูลความรับผิดมาจากการกระทําความผิดอาญา ผูเสียหายสามารถรองทุกข หรือฟองรองคดีอาญาแกผูกระทําความผิดไดเชนเดียวกับคดีอาญาทั่วๆ ไปและในขณะเดียวกันยังมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายในทาง กฎหมายแพงลักษณะละเมิดเพื่อใหผูกระทําความผิดชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายทีต่ นไดรับเนื่องจากการกระทําความผิดทาง อาญานั้นอีกดวย
สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ 0-2618-3371
กฎหมายนารู
SEPTEMBER 2012 : VOL. 5
MONTHLY JOURNAL
สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
เปดเผยเปนหลัก ปกปดเปนขอยกเวน* เปนที่ทราบกันดีวา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดรับรอง “สิทธิในการรับรู” ของประชาชนตามหลัก “เปดเผยเปนหลักปกปด เปนขอยกเวน” ของพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารราชการ พ.ศ. 2540 กําหนดใหประชาชนสามารถขอขอมูลขาวสารราชการไดทุกประเภท และสํานักงานเศรษฐกิจการคลังในฐานะหนวยงานของรัฐตองปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาว เพื่อแสดงถึงความโปรงใสและตรวจสอบได ของหนวยงาน โดยประชาชนสามารถคัดสําเนาหรือคัดสําเนาพรอมรับรองสําเนาถูกตองของขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองของ หนวยงานได โดยมีคาใชจายตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด หรือในกรณีหนวยงานของรัฐใชดุจพินิจปฏิเสธการใหขอมูลขาวสาร คําสั่ง ที่มิใหเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการนั้น ตองระบุไวดวยวาที่เปดเผยไมไดเพราะเปนขอมูลขาวสารประเภทใดและเพราะเหตุใดคําสั่ง ปฏิเสธที่ชอบดวยกฎหมายยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ผูขอใหเปดเผยขอมูลอาจอุทธรณกรณีที่หนวยงานของรัฐปฏิเสธไมยอมเปดเผย ไมรับฟงคําคัดคาน หรือไมยอมแกไขขอมูลขาวสารสวนบุคคลตอคณะกรรมการขอมูลขาวสารราชการตอไปได ที่ ผ า นมามี ตั ว อย า งที่ ค ณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเป ด เผยข อ มู ล ข า วสารสาขาเศรษฐกิ จ การคลั ง ของประเทศ ได มี คํ า วิ นิ จ ฉั ย ที่ ศค 5/2544 ใหกระทรวงการคลังเปดเผยขอมูลขาวสารรายงานผลการศึกษาของคณะกรรมการศึกษารายงานของคณะกรรมการศึกษา และเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศใหแกผูอุทธรณซึ่งเปนอดีตผูวาธนาคารแหงประเทศ ไทย แมวารายงานนี้จะมีการกําหนดชั้นความลับไวก็ตาม แตเนื่องจากผูอุทธรณเปนผูมีสวนไดเสียโดยตรง ดังนั้นเพื่อใหผูอุทธรณใชเปน ขอมูลประกอบการจัดทําคําชี้แจงขอเท็จจริงตอคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงที่ธนาคารแหงประเทศไทยตั้งขึ้น เพื่อใชในการปกปองและ รักษาความเปนธรรมใหแกตนเองตามกฎหมาย อีกทั้งเปนไปเพื่อหาผูตองรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้นกับระบบเศรษฐกิจและการคลัง ของประเทศจากวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 ดังนั้น จะเห็นไดวาหากไมเขาขายเปนขอยกเวนตามกฎหมาย เช น ไม ก อให เกิ ด อั น ตรายต อ ชี วิ ต หรื อ ความปลอดภั ย ของบุ ค คล หรื อ ไม ก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หายต อ ความมั่ น คงของประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือ การคลังของประเทศขอมูลอันเกี่ยวกับเศรษฐกิจการคลังของประเทศ อยางชัดแจงแลว คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร มักจะมีคําวินิจฉัยใหมีการเปดเผยขอมูลนั้นได
* เรียบเรียงโดย : นางสาวพิมลพรรณ การขยัน นิติกร สํานักกฎหมาย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ 0-2618-3371
กฎหมำยน่ กฎหมำยน่ำำรูรู้ ้ ฉบับพิเศษ
สำนับกพิ กฎหมำย ฉบั เศษ
สำนักงำนเศรษฐกิ จกำรคลัง AUGUST 2012 October 2012
การพัฒนากฎหมายการจัดเก็บภาษีคาร์บอน* บทสรุปผู้บริหาร ปัญหาการเปลี่ ย นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) เป็นปัญหาสาคัญที่ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสนใจ และพยายามหาทางออกร่ ว มกั น เพื่อ ป้ องกัน ความเสี ยหาย ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต ซึ่ ง ปั ญ หาโ ลกร้ อ น ( Global Warming) นั้ น ได้ ส่ ง ผลกระทบทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ มต่ อ สภาพสังคมและเศรษฐกิจโดยรวมของทุกประเทศ โดยปัญหา ดัง กล่ า วเป็ น ผลมาจากกิ จ กรรมที่ ไ ม่พึ่ ง ประสงค์ ข องมนุ ษ ย์ (Undesired Activities) อันส่งผลเป็นการปล่อยก๊าซคาร์บอน เข้าออกสู่ชั้นบรรยากาศ ในการนี้ ทางแก้ไขของปัญหาที่เกิด จากการปลี่ ย นแปลงของสภาพภู มิ อ ากาศ คื อ การสร้ า ง มาตรการทางสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลเป็นการลดปริมาณการปล่อย ก๊ า ซเรื อ นกระจก โดยจุ ด ประสงค์ ข องมาตรการเช่ น ว่ า นี้ มีเจตนารมณ์ที่จะช่วยรักษาชั้นบรรยากาศและความเข้มข้น ของก๊าซที่ถูกปล่อยจากกิจกรรมที่ไม่สะอาดนั้นให้อยู่ในระดับ ที่ปลอดภัยต่อการดารงชีวิตตามปกติของมนุษย์ โดยหากพิ จ ารณามาตรการที่ เ กี่ ย วกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ที่ ป รั บ ใช้ อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น แล้ ว พบว่ า มาตรการทางภาษี เ ป็ น มาตรการหนึ่งที่นานาประเทศมักปรับใช้เพื่อจุดประสงค์ในการ ลดปริมาณการปล่อยมลพิษออกสู่ธรรมชาติ ซึ่งหากพิเคราะห์ ตามหลั กการและเหตุผลในการจั ดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมแล้ ว อาจกล่ า วได้ ว่ า การจั ด เก็ บ ภาษี ที่ มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ รั ก ษา สิ่งแวดล้ อมนั้ น มิได้มีวัตถุประสงค์ห ลักเพื่อหารายได้เข้ารัฐ โดยตรง หากแต่เป็นการสร้างจิตสานึกที่ดี ให้กับทุกภาคส่วน เพื่ อ ให้ เ กิ ด แรงจู ง ใจในการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่ า งไรก็ ดี หากพิจารณาจากกฎหมายที่บังคับใช้ในประเทศไทยแล้ว ในปั จ จุ บั น ประเทศไทยยั ง ไม่ มี ก ฎหมายที่ บั ญ ญั ติ โดยตรงในการให้อานาจต่อภาครัฐที่จะดาเนินการจัดเก็บภาษี จากปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอน โดยที่ผ่านมาประเทศไทย
มักใช้มาตรการกากับและควบคุม (Command and Control Approach) และวิธีการกาหนดค่ามาตรฐาน (Standard Setting) เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังนั้นโครงการพัฒนากฎหมายฉบับนี้ จึงมี ความประสงค์ ที่ จ ะทาการศึ กษา รวบรวมข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วกั บ รูปแบบ วิธีการ และโครงสร้างของระบบภาษีคาร์บอนที่บังคับ ใช้ ใ นต่ า งประเทศ เพื่ อ ศึ ก ษาเที ย บเคี ย งกั บ กฎหมายและ มาตรการ ที่มีอยู่ในประเทศไทยและนาเสนอกฎหมายและ นโยบายการจั ด เก็ บ ภาษี ค าร์ บ อนที่ เ หมาะสมและมี ประสิทธิภาพสาหรับประเทศ ทั้ ง นี้ จากการศึ ก ษาพบว่ า ในการน ามาตรการการ จัดเก็บภาษีคาร์บอนมาใช้บังคับเพื่อประโยชน์ในการลดการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนในบรรยากาศนั้น จาเป็นจะต้องพิจารณา ถึงรูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมในการดาเนินการ ซึ่งควร พิจารณาให้ครอบคลุมผลกระทบในด้านต่างๆ ดังนี้
1. อัตราภาษี ภาครัฐจึงควรต้องพิจารณาว่าอัตราที่เหมาะสมใน การจัดเก็บนั้นจะเป็นเท่าไร เนื่องจากหากกาหนดอัตราต่า เกินไปอาจไม่เป็นผลต่อการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอน และหากสูงเกินไปก็อาจส่ งผลกระทบต่อภาคการผลิ ต และ ระบบเศรษฐกิจของประเทศได้ โดยภาษีคาร์บอนจะเก็บจาก การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งสะท้อนต้นทุนที่สังคมจะต้อง
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371
แบกรั บ จากผลกระทบที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศอันสืบเนื่องมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้น บรรยากาศ หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ต้ น ทุ น คาร์ บ อนที่ เ กิ ด แก่ สั ง คม (Social cost of Carbon : SCC) ปัจจุบันมีการประมาณค่า อัตรา SCC ไว้มากกว่า 200 ค่า ตั้งแต่ 15 บาทต่อตั น คาร์ บ อน จนถึ ง 24,000 บาทต่ อ ตั น คาร์ บ อน ซึ่ ง ผล การศึ ก ษาที่ ส าคั ญและเป็ น ที่ ย อมรั บ ได้ คื อ ตั้ งแต่ 192 3,133 บาทต่อตันคาร์บอน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 483 บาท ต่อตัน คาร์บอน
2. ฐานภาษี รัฐควรคานึงถึงข้อดีและข้อเสียระหว่างนโยบายการ จัดเก็บในรูปแบบทางตรง คือ จัดเก็บจากปริมาณมลพิษที่ถูก ปล่ อ ยออกมาจริ ง และนโยบายการจั ด เก็ บ แบบทางอ้ อ ม (เช่ น ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ภาษี ส รรพสามิ ต ) กล่ า วคื อ การ ดาเนินการจัดเก็บของภาครัฐนั้นจาต้องคานึงถึงความพร้อมทั้ง ทางด้านเทคโนโลยีและบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะ ตรวจจับปริมาณสารพิษที่ถูกปล่อยออกมาจากปล่องโรงงาน อุตสาหกรรม ส่วนการจัดเก็บแบบทางอ้อมรัฐอาจกาหนดให้ เก็ บ ภ า ษี จ า ก ส า รเ ค มี ห รื อ วั ต ถุ ดิ บช นิ ด ใ ดช นิ ด ห นึ่ ง ที่รัฐเห็ นว่าเป็ นสาเหตุสาคัญในการสร้างมลพิษก่อน ในการ จัดทาโครงการในลักษณะนี้ รัฐอาจกาหนดระยะเวลาของแต่ ละโครงการตามนโยบายหลั ก ที่ ต้ อ งการให้ ส่ ง เสริ ม การลด ปริมาณการใช้สารเคมีหรือวัตถุดิบประเภทหนึ่งประเภทใดได้
4. การดาเนินการภายใต้หน่วยงานในปัจจุบัน ในปัจ จุบั น แม้ ประเทศไทยยัง ไม่มี การด าเนิ นการ จัดเก็บภาษีคาร์บอนโดยเฉพาะเจาะจง แต่ก็มีหน่วยงานที่มี ภารกิจเกี่ยวกับการดูแลและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมหลาย หน่วยงาน เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึ่งหน่วยงานภาครัฐที่ทา หน้าที่ควบคุมมาตรฐานการปล่อยมลพิษได้มีหน้าที่หลักในการ ควบคุมมลพิษในแต่ละประเภทอยู่แล้ว หากมีการนาระบบ จัดเก็บภาษีคาร์บอนมาใช้ อาจกาหนดให้หน่วยงานดังกล่าว ดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับทางปฎิบัติงานของตน และ สาหรับกระทรวงการคลั งนั้น กรมสรรพสามิตมีการจัดเก็บ ภาษีจากน้ามันปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม และก๊าซ ธรรมชาติ กรมสรรพสามิ ต จึ ง อาจด าเนิ น การจั ด เก็ บ ภาษี คาร์ บอนในกลุ่ มเชื้อเพลิ ง เช่ น น้ ามัน ดีเซล น้ามั นเบนซิ น น้ามันปิโตรเลียมเหลว เป็นต้น
3. มาตรการอื่นที่เกี่ยวข้อง เงินที่ได้จากการเก็บภาษีคาร์บอนนั้นมีการนากลับ สู่ ร ะบบเศรษฐกิ จ ในหลายประการ เช่ น น าไปลด ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม การลดภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ท าให้ ร าคาสิ น ค้ า ไม่ เพิ่มขึ้นมากเกินสมควร และเป็นการอุดหนุนภาคการผลิตและ กระตุ้นการบริโภค นอกจากนี้ อาจนาไปลดภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา เพื่อกระตุ้นให้มีการบริโภคในภาคครัวเรือนและยัง เป็นการยกระดับสวัสดิการภาคครัวเรือนเช่นกัน แต่หากมีการ กาหนดอัตราภาษีคาร์บอนที่ไม่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ อาจ ไม่จาเป็นต้องบรรเทาผลกระทบในระบบเศรษฐกิจในลักษณะ ดังกล่าว แต่ทั้งนี้ วิธีการดังกล่าวจะช่วยลดแรงเสียดทานที่อาจ เกิดจากการบังคับใช้ภาษีคาร์บอนได้อีกทางหนึ่ง * ส่วนกฎหมายการคลังและภาษี
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371
กฎหมำยน่ำรู้ ฉบับพิเศษ
สำนักกฎหมำย November 2012 สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง November 2012
Display Credit Card กับกำรคุ้มครองผู้ถือบัตรเครดิต*
หลายคนอาจจะไม่รู้ว่า Display Credit Card คืออะไร และมี ค วามแตกต่ า งจากบั ต รเครดิ ต ที่ เ ราใช้ กั น อยู่ ใ นปั จ จุ บั น อย่างไร ผู้เขียนจึงอยากจะนาเสนอข้อมูลคร่าวๆ เพื่อให้ผู้อ่านได้ เข้าใจกับ การเปลี่ ย นแปลงที่อาจจะส่ งผลต่อผู้ ถือบั ตรเครดิตใน ประเทศไทยได้ในอนาคต ในปี ค.ศ. 2013 Master Card ได้นาเสนอเทคโนโลยีใหม่ เพื่อสร้างควมสะดวกสบายและความปลอดภัยที่มากขึ้นสาหรับผู้ ถือบัตรเครดิตที่เรียกว่า Display Credit Card ซึ่งเป็นบัตรเครดิต บั ต รเดบิ ต และบั ต รเอที เ อ็ ม ที่ จ ะมี ใ ช้ ใ นประเทศสิ ง คโปร์ เ ป็ น ประเทศแรกโดยธนาคารผู้ออกบัตร (Issuing Bank) คือ ธนาคาร Standard Chartered โดยก่อนหน้านี้ Master Card พัฒนา ผลิตภัณฑ์ของบัตรเครดิตในลักษณะนี้นาออกใช้ในประเทศตุรกี เป็นประเทศนาร่อง
โดย Display Credit Card มีรูปร่างหน้าตาและ รูปแบบการใช้งานเกือบจะเหมือนกับบัตรเดบิต บัตรเครดิต และบัตรเอทีเอ็ม ที่มีอยู่ในปัจจุบัน แต่มีความแตกต่างใน เรื่องการเพิ่มจอ LCD เพื่อแสดงข้อมูลยอดเงิน แต้มในบัตร ยอดค่าใช้จ่าย และปุ่มแสดงตัวเลขเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสร้าง รหั ส ผ่ า นพิ เ ศษส าหรั บ ใช้ ใ นการจ่ า ยเงิ น แต่ ล ะครั้ ง ได้ ซึ่งเรียกว่า OTP (One Time Password) เพื่อยืนยันตัวตน ของเจ้าของโดยผ่านแป้นพิมพ์ตัวเลข ซึ่งธนาคารสามารถ ตรวจสอบได้ ว่ า บั ต รถู ก ใช้ โ ดยเจ้ า ของบั ต รที่ แ ท้ จ ริ ง มิ ใ ช่ บุคคลอื่น ซึ่งเป็นมาตรการในการตรวจสอบเพื่อรักษาความ ปลอดภัยที่เพิ่มมากขึ้นอีกระดับหนึ่งจากระบบรักษาความ ปลอดภั ย ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ในการซื้ อ สิ น ค้ า ออนไลน์ รวมทั้ ง การโอนเงินธนาคารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือการทาธุรกรรม
*เรี ยบเรียงโดย:นางสาวศศิวิมล ถาวรพงศ์สถิตย์ นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
November 2012
ทางธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ โดย Display Credit Card มีรูปแบบการพัฒนาคล้ายกับของ Visa เมื่อปี ค.ศ. 2011 ที่ออกใช้ในทวีปยุโรป ที่ได้ออกบัตรเครดิตรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า Code Sure Card โดยมีรูปแบบการป้องกันความปลอดภัย ที่เหมือนกันภายใต้ผู้ผลิตเทคโนโลยีเดียวกัน คือ NagraID Security's display technology การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ของทั้ง Visa และ Master Card นั้น เกิดขึ้นมาจากปัญหาการทุจริตและการฉ้อโกง ในการใช้บัตรเครดิต เพราะเทคโนโลยีที่ใช้ชิปและการตรวจสอบความเป็นเจ้าของบัตรเครดิตในการทาธุรกรรมต่างๆ รวมทั้ง การซื้อสินค้า จะใช้เลขรหัส 16 หลักที่อยู่บนด้านหน้าของบัตรและวัน หมดอายุรวมทั้งตัวเลขสามหลักบนด้านหลังบัตร เพื่อความปลอดภัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้ จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ถือบัตรในกรณี ที่มีบัตรเครดิตถูกขโมยและนาไปใช้ในการซื้อสินค้า ซึ่งตัวเลขของคดีการฉ้อโกงเกี่ยวกับบัตรเครดิตนั้นมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น หากมีการนา Display Credit Card มาใช้กับผู้ออกบัตรเครดิตในประเทศไทย การปรับเปลี่ยนรูปแบบของ บั ต รเครดิ ต ดั ง ที่ ก ล่ า ว ก็ จ ะเป็ น การคุ้ ม ครองผู้ ถื อ บั ต รเครดิ ต เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ระดั บ หนึ่ ง ของผู้ ป ระกอบการ นอก จากนี้ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจบัตรเครดิต พ.ศ. .... ที่ปัจจุบันสภาผู้แทนราษฎรได้มีมติรับหลักการของร่างดังกล่าว แล้วได้กาหนดความคุ้มครองแก่ผู้ถือบัตรเครดิต ในหลายเรื่องด้วยเช่นกัน อาทิ กาหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิตต้อง แจ้งให้ผู้ถือบัตรทราบหากมีการโจรกรรมข้อมูลหรือกรณีการทุจริตเกี่ยวกับบัตรเครดิต กาหนดห้ามมิให้ผู้ประกอบธุรกิจบัตร เครดิตเรี ยกเก็บเงินจากผู้ถือบั ตรก่อนถึงวัน ครบกาหนดระยะเวลา การจัดให้ มีศูนย์บริการลูกค้ า การรับพิจารณาเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการใช้บัตรเครดิต และกาหนดให้ธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถที่จะกาหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ประกอบ ธุรกิจบัตรเครดิตและผู้รับบัตรมีหน้าที่อื่นใดเพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้บริโภคด้วยก็ได้
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
NOVEMBER 2012 : VOL. 7
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ราชาเงินผ่อน* “เจียมเพราะจนเป็นคนอย่างข้า เกิดเป็นราชาเงินผ่อนเมืองไทย ทางานทาเงินทาเกินเงินเดือน เศรษฐกิจคลาดเคลื่อน เงินเดือนไม่พอใช้ ...... ก็อยากจะใช้แต่สิ่งของจาเป็น ทีวี ตู้เย็นจาเป็นต้องใช้” ชีวิตผู้บริโภคในยุคสังคมปัจจุบันนี้ก็คงมิได้มีความแตกต่างจากเนื้อเพลงมากนัก ไม่ว่า บ้าน รถ หรือเครื่องมือสื่อสารต่างๆ ก็ล้วนแล้วตกอยู่ ภายใต้อิทธิพลการผ่อนชาระ ตามแต่โปรโมชั่นของผู้ประกอบการที่มีออกมามากมาย ซึ่งผู้บริโภคที่มีความจาเป็นต้องซื้อสิ่งของเหล่านี้ พึงต้ อง พิจารณาให้ถ้วนถี่ เนื่องจากการที่เราจะเข้าไปซื้อของจากผู้ขายและมีการผ่อนชาระราคาเป็นงวดๆ นั้น มีลักษณะของนิติกรรมที่หลากหลาย ซึ่งแต่ ละแบบก็มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน โดยจะขอยกเป็นตัวอย่างสัก 2 รูปแบบ คือ สัญญาเช่าซื้อ และสัญญาซื้อขาย (กรณีนี้จะกล่าวถึงเฉพาะเป็น สัญญาซื้อขายแบบทั่วไป ไม่รวมถึงสัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาที่จะมีซับซ้อนยิ่งขึ้นไปอีก) มีความแตกต่างกันพอสมควร เช่น 1. กำรโอนกรรมสิทธิ์ สัญญาเช่าซื้อเป็นสัญญาเช่าทรัพย์ ที่มีคามั่นของผู้ให้เช่าว่าถ้าผู้เช่าชาระราคาเช่าตามที่ตกลงกัน ผู้เช่าจะขายหรือโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นให้กับผู้เช่า ในขณะที่สัญญาซื้อขาย กฎหมายกาหนดให้กรรมสิทธิ์โอนให้แก่ผู้ซื้อตั้งแต่ได้ทาสัญญาซื้อขายกัน 2. แบบของนิติกรรมสัญญำ สัญญาเช่าซื้อกฎหมายกาหนดให้ต้องทาเป็นหนังสือ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ ส่วนสัญญาซื้อขายจะเป็นเป็น 2 กรณี กล่าวคือ กรณีสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ คู่สัญญาจะต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วย มิฉะนั้นจะตกเป็นโมฆ ะ เช่นกัน แต่กรณีสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ กฎหมายกาหนดว่าถ้าราคา สังหาริมทรัพย์ที่ซื้อขายมีตั้งแต่ราคาสองหมื่นบาทขึ้นไป จะต้องทาเป็น หนังสือลงลายมือฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือมีการวางประจาหรือมีการชาระหนี้ไปบางส่วนแล้ว จึงจะสามารถฟ้องร้องคดีกันได้ แต่ถ้าไม่ดาเนิน การตาม แบบดังกล่าวก็จะว่ากล่าวกันในทางศาลมิได้ 3. กำรผิดนัดชำระหนี้ สัญญาเช่าซื้อกรณีที่ผู้เช่าซื้อไม่ชาระหนี้ 2 งวดติดกันหรือผิดสัญญาในสาระสาคัญ ผู้ให้เช่าซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาและ ริบเงินที่ได้ส่งมาแล้ว รวมทั้งมีสิทธิเข้าครอบครองทรัพย์สินนั้นด้วย สาหรับ สัญญาซื้อขาย หากผู้ซื้อผิดนัดผิดสัญญา ผู้ขายมีสิทธิที่จะเข้ายึดหน่วง ทรัพย์สินนั้นไว้ได้จนกว่าผูซ้ ื้อจะชาระราคา โดยมีหนังสือบอกกล่าวแจ้งให้ผู้ซื้อชาระราคา ซึ่งถ้าผู้ซื้อยังละเลยเพิกเฉย ผู้ขายก็ส ามารถนาทรัพย์สินนั้น ออกขายทอดตลาดเพื่อนาเงินมาชาระหนี้เลยก็ได้ เมื่อพิจารณาถึงความแตกต่างดังกล่าวแล้ว ผู้บริโภคที่ต้องการได้ ทรัพย์สินแต่ไม่สามารถชาระหนี้ได้ด้วยเงินสดได้ในครั้งเดียว จะต้อง ตรวจดูเอกสารต่างๆ ก่อนเซ็นให้ดีว่า เรายอมผูกพันตนที่จะเป็นราชา เงิ น ผ่ อ นภายใต้ สั ญ ญาอะไร เพราะสั ญ ญาแต่ ล ะประเภทจะมี รายละเอียดที่แตกต่างกันดังที่ยกเป็นตัวอย่างข่างต้น ซึ่งเป็นแค่เพียง ส่วนเล็กๆ ส่วนเดียวเท่านั้น เพราะฉะนั้น ราชาเงินผ่อนทั้งหลาย จึงมี หน้าที่ต้องศึกษาเนื้อหาและข้อตกลงในสัญญาให้ดีเสียก่อนเสมอ เพื่อมิ ให้ต้องตกอยู่สภาวะ “ยาจกเงินผ่อน” ซึ่งจะหนักไปกว่าเดิม และไม่เข้า กับเพลงที่เขาร้องกัน...คริ...คริ
* เรียบเรียงโดย : นายดนุพล เกษมพันธุ์ นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
NOVEMBER 2012 : VOL. 7
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
MONTHLY JOURNAL
วิวัฒนำกำรหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ตอนที่ 2* หากพูดถึง บรรยากาศของการซื้อขายหลักทรัพย์ในประเทศไทย ตั้ง แต่ เริ่ มเปิด ทาการเมื่ อปี 2518 มาจนถึง ปัจ จุบั นนั้ น จะเห็นได้ว่ า มี ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลต่อชีวิตความ เป็ น อยู่ ข องประชาชนเป็ น อย่ า งยิ่ ง ในแต่ ล ะช่ ว งยุ ค สมั ย ของความ เปลี่ยนแปลงเหล่านั้น เราก็จะได้เห็นถึงการปรับตัวเพื่อพัฒนาตัวเองอยู่ เสมอไม่ว่าจะเป็น การปรับปรุงกฎระเบียบบางประการเพื่อเอื้ออานวย และส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนผั น ตั ว เองเข้ า มาเป็ น นั ก ลงทุ น ในตลาด หลักทรัพย์มากยิ่งขึ้น เช่น ในช่วงที่ถือว่า เป็นยุคแห่งความรุ่งเรืองในครั้ง แรกของการเปิ ด ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ช่ ว งปี พ.ศ. 2520 – 2521 การเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนเพื่อสร้างความโปร่งใสและยุติธรรมใน การซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ การออกมาตรการทางด้ า นภาษี โดย กระทรวงการคลั ง ได้ ป ระกาศสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี แ ก่ บ ริ ษั ท จด ทะเบียนให้ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล จากร้อยละ 35 เหลือ เพียงร้อยละ 30 ของกาไรสุทธิ เป็นต้น แต่เมื่อใดที่ถึงช่วงที่รุ่งเรืองแล้วก็ย่อมจะต้องมีช่วงถดถอยและวิกฤติ ตามมาตามวงจรของเศรษฐกิจ ในปี 2522 เกิดวิกฤตขึ้นอีกครั้ง เรียกว่า ช่วงวิกฤติการณ์ราชาเงินทุน ประเทศไทยได้ประสบกับ ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ หลายอย่างที่ เกิดขึ้นช่วงนั้น เช่น วิกฤติราคาน้ามัน การเกิดภาวะเงินเฟ้อ และในภาค เศรษฐกิจระหว่างประเทศมีปัญหาการขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงิน ด้วย เมื่อมีปัญหาต่างๆเข้ามารวมกันก็ย่อมสั่นคลอนบรรยากาศการซื้อ ขายหลักทรัพย์และความรุ่งเรืองของสถาบันการเงินบางแห่งที่ต้องจบลง ไปจนถึงขั้นเลิกกิจการไปเลยก็มี เพราะไม่สามารถต้านทานวิกฤติการณ์ ทางเศรษฐกิจของประเทศที่เข้ามาได้ เช่น การที่ภาครัฐสั่งปิดกิจการ บริษั ท ราชาเงิน ทุ น จากัด เพื่ อไม่ ให้เกิด ผลกระทบต่ อระบบสถาบั น การเงิ น ไม่ให้เข้า สู่ ภาวะวิกฤติ ขั้น รุนแรงมากไปกว่ านี้ เพราะบริษั ท ฯ ประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรง ส่ งผลให้ผู้ลงทุ นส่วนใหญ่ขาด ความมั่นใจต่อการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้วิธีการแก้ปัญหา ระบบสถาบั น การเงิ น ในภาครั ฐ สมั ย นั้ น ก็ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส าคั ญ กั บ การ ปรับปรุงกลไกการควบคุมทางกฎหมายสาหรับผู้ประกอบธุรกิจที่ส่งผล กระทบต่ อ ระบบสถาบั น การเงิ น ด้ ว ย คื อ การตราพระราชบั ญ ญั ติ ประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุ รกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 ซึ่งนับว่าเป็นกฎหมายที่ตอบโจทย์ของการแก้ปัญหาผู้ประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์เป็นอย่างดี
จากมาตรการปรับปรุงกฎหมายเพื่อเน้นการแก้ปัญหาที่ สาเหตุ อย่างแท้จริง ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเริ่มฟื้นตัวขึ้น แต่ พอเข้ามาถึงในช่วงปี พ.ศ. 2527 ก็เริ่มเกิดปัญหากับสถาบันการเงิน เข้ามาอีกครั้ง ทั้งกับตลาดการเงินในระบบ จนถึงขั้นต้องเพิกถอน ใบอนุ ญ าตบริ ษั ท เงิ น ทุ น จ านวน 5 แห่ ง และเกิ ด โครงการ 4 เมษายน 2527 ขึ้นมาเพื่อให้ภาครัฐ เข้าไปควบคุมการดาเนินงาน ของบริษัทเอเชียทรัสต์ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารสยาม จากัด และสุ ด ท้ า ยก็โ อนกิจ การไปรวมกับ ธนาคารกรุง ไทย จ ากัด และ ประเด็นสาคัญได้แก่ การให้อานาจตลาดหลักทรัพย์เข้าไปตรวจสอบ เพื่อกากับดูแลบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก มาตรการ ในการคุ้ ม ครองผู้ ล งทุ น ได้ แ ก่ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล การซื้ อ ขายให้ ครบถ้ ว น การห้ า มการใช้ ข้ อ มู ล วงในในการซื้ อ ขายหุ้ น เป็ น ต้ น และให้มีระบบการฟ้องร้ องคดีกับผู้กระทาความผิดตามกฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์ เพื่อให้เห็นถึง ความศักดิสิทธิ์แห่งมาตรการบังคับ ทางกฎหมายที่สามารถใช้ได้จริง การเดินทางไปสู่ความรุ่งเรืองกาลังจะเริ่มขึ้นอีกครั้ง พบกับวิถี แห่งการพัฒนากฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในบทความ ฉบับหน้าคะ
* เรียบเรียงโดย นางสาวนภัสสร สอนคม นิติกร
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
NOVEMBER 2012 : VOL.7
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
สิทธิของผู้บริโภคบนแผ่นกระดำษ*
องค์กรเอกชนต่างๆ และภาครัฐ มีความตื่นตัวกันมากขึ้นและคิดหาวิธีการที่จะสร้างระบบการคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งการกาหนดรองรับ สิทธิของผู้บริโภคไว้ในที่ต่างๆ ตั้ง แต่ระดับกฎหมายสูงสุดของประเทศอย่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ ไปจนถึงกฎหมายลาดับรองในระดับต่าง ๆ โดยเฉพาะรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ให้ความสาคัญเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภค และกาหนดเป็นบทบัญญัติให้สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภค ย่อมได้รับความคุ้มครองในการได้รับข้อมูลที่เป็นความจริง และมีสิทธิร้องเรียนเพื่อให้ได้รับการแก้ไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกัน เพื่ อพิทั กษ์สิ ท ธิของผู้บ ริโภค (มาตรา ๖๑ วรรคหนึ่ ง) และกาหนดให้มีองค์การเพื่ อ การคุ้ม ครองผู้ บริโ ภคที่ เป็น อิสระจากหน่ว ยงานของรัฐ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนผู้บริโภค ทาหน้าที่ให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐในการตราและการบังคับใช้กฎหมายและกฎ และให้ความเห็นในการกาหนดมาตรการต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภครวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทาหรือละเลยการกระทาอันเป็นการ คุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้ให้รัฐสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินการขององค์การอิสระดังกล่าวด้วย (มาตรา ๖๑ วรรคสอง) นอกจากนั้น กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ซึ่งถือได้ว่าเป็นกฎหมายหลักสาหรับการคุ้มครองผู้โภคและรองรับสิทธิของผู้บริโภค ซึ่งมีออกมา ก่อนที่จะกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเสียด้วย คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ในมาตรา 4 ของกฎหมายนี้ได้แบ่งสิทธิ ผู้บริโภค ออกเป็น 4 ประการ ได้แก่ 1) สิทธิที่จะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ 2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ 3) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ 4) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย จากบทบัญญัติที่กาหนดไว้ในกฎหมายเป็นสิ่งที่ดูดี แต่สิทธิของผู้บริโภคจะได้รับความคุ้มครองจริงเพียงใดไม่ได้ดูเพียงสิทธิบนแผ่นกระดาษ เท่านั้น แต่จะต้องปฏิบัติได้จริง และมีความครอบคลุมถึงผูบ้ ริโภคในทุกๆด้าน สิ่งทีน่ ่าติดตามต่อไปและถือว่าเป็นเรื่องใหม่ คือการออกกฎหมาย เพื่อจัดตั้งองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากหน่วยงานของรัฐ รวมถึง สิทธิของผูบ้ ริโภคในสาขาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิของ ผู้บริโภคจากการใช้บริการทางการเงิน ซึ่งจะนามาเล่าสู่กันฟังในฉบับต่อๆ ไป * เรียบเรียงโดย ว่าที่ร้อยตรี ไพศาล เอกคณิต นิติกรปฎิบัติการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
NOVEMBER 2012 : VOL. 7
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ศัพท์กฎหมาย สัญญำซื้อขำย (Sale Contract) หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่า ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีก ฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ซื้อและผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย สัญญำเช่ำซื้อ (Hire-Purchase Agreement) หมายถึง สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขาย ทรัพย์สินนั้น หรือว่าจะให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นสิทธิแก่ผู้เช่า โดยเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ใช้เงินเป็นจานวนเท่านั้นเท่านี้คราว สิทธิยึดหน่วง (lien) หมายถึง สิทธิของเจ้าหนี้ในการครอบครองทรัพย์สินไว้จนกว่าจะได้รับชาระหนี้ คำมั่น (promise) หมายถึง ถ้อยคาที่บุคคลหนึ่งให้ไว้โดยผูกพันตนเองว่าจะทาสิ่งใดให้ กับอีกบุคคลหนึ่งในอนาคต ซึ่งตาม กฎหมายจะมี 2 ประเภท คือ คามั่นว่าจะให้รางวัล (promise of reward) และคามั่นว่าจะทาสัญญา (promise to contract)
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
DECEMBER 2012 : VOL. 8
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ค่ำเข้ำเมืองกรุง* ปริมำณรถยนต์ บนท้องถนนเป็ นปัญหำสำหรับ เมืองใหญ่ ของหลำย ประเทศ กำรก่ อ สร้ ำ งระบบคมนำคมสำธำรณะ ไม่ ว่ ำ รถไฟลอยฟ้ ำ หรือรถไฟใต้ดินไม่ทันและเพียงพอที่จะแบ่งเบำภำระปริมำณรถบนท้องถนน เนื่องจำกปริมำณรถเพิ่ม มำกขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง โดยปัญหำกำรจรำจรเป็น ปัญหำหนึ่งที่ท้ำทำยควำมสำมำรถของรัฐบำลมำตลอดทุกยุคทุกสมัยที่เข้ำ มำบริหำรประเทศ
การนาระบบ ERP มาใช้ ทาให้ ประเทศสิง คโปร์ ประสบ ความส าเร็จในการแก้ปัญหาจราจรได้ แต่ หากจะนามาตรการ ดังกล่าวมาใช้ในประเทศไทย ต้องพิจารณาความพร้อมของการ วางระบบเครื่องมือที่ใช้ติดตั้งในยานพาหนะทุกคัน รวมถึง เครื่อง อ่านสัญญาณที่ต้องใช้งบประมาณจานวนมากอีกด้วย
เมื่อพิจำรณำประเทศที่มีข้อจำกัดด้ำนพื้นที่ เช่น สิงคโปร์ มีกำรคิดค้น วิ ธี ที่ จ ะจ ำกั ด ปริ ม ำณกำรใช้ ร ถในเขตเมื องใหญ่ ที่ เรี ย กว่ ำ ระบบ ERP (Electronic Road Pricing) คือ กำรใช้ระบบเก็บค่ำธรรมเนียมแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งพัฒนำมำจำกระบบที่มิใช่อิเล็กทรอนิกส์ โดยกำหนดกำร จั ด เก็ บ ค่ ำ ธรรมเนี ย มกำรใช้ ถ นนในเขตพื้ น ที่ ต่ ำ งๆ หลั ก กำรจั ด เก็ บ ค่ำธรรมเนียม ERP ช่วยให้รัฐบำลสำมำรถบริหำรต้นทุนที่แท้จริงของกำรใช้ ถนน อีกทั้งยังสำมำรถปรับปริมำณกำรใช้ถนนให้อยู่ในระดับที่เหมำะสม ที่สุด เนื่องจำกค่ำธรรมเนียมจะปรับตำมปริมำณควำมแออัดบนถนน ผู้ขับขี่ ที่ใช้ถนนในชั่วโมงเร่งด่วนอำจยอมจ่ำยค่ำธรรมเนียมเพิ่มขึ้น ขณะที่ผู้ขับขี่ ที่ใช้ถนนน้อยกว่ำหรือใช้ถนนในช่วงเวลำไม่เร่งด่วนจะจ่ำยค่ำ ธรรมเนียม ในอั ต รำที่ น้ อ ยลงหรื อไม่ ต้ องจ่ ำ ยเลย มำตรกำรดั ง กล่ ำ วท ำให้ส ำมำรถ บริหำรจัดกำรเก็บค่ำธรรมเนียมได้อย่ำงเป็นธรรม เนื่องจำกระบบสำมำรถ ปรับเปลี่ยนอัตรำค่ำธรรมเนียมตำมเวลำที่ตั้งค่ำไว้ได้อย่ำงถูกต้องแม่นยำ นอกจำกควำมสะดวก รวดเร็วแล้ว ยังปลอดภัยเนื่องจำกมีกำรติดตั้งกล้อง วงจรปิ ด ตำมจุ ด เก็ บ ค่ ำ ธรรมเนี ย มด้ ว ย ที่ ส ำคั ญ ท ำให้ ส ำมำรถบริ ห ำร
จัดกำร และวำงแผนกำรจรำจรได้ ผู้ขับขี่สำมำรถพิจำรณำว่ำควรใช้ ถนนหรือ ไม่ และพิ จ ำรณำเส้ น ทำงที่ แ ตกต่ ำ ง รู ป แบบกำรเดิ น ทำง และเวลำกำรเดินทำงตำมค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้น ระบบ ERP จะหัก ค่ำธรรมเนียมกำรใช้ถนนจำกบัตรเงินสดที่เสียบอยู่ในกล่องที่เรียกว่ำ In- vehicle Unit (IU) ซึ่งติดตั้งในยำนพำหนะทุกประเภทในประเทศ สิงคโปร์ เมื่อยำนพำหนะแล่นผ่ำนโครงที่ติดตั้งเครื่องอ่ำนสัญญำณ (ERP Gantry) จ ำนวนเงิน ในบั ตรเงิน สดจะถูกหั กโดยอัตโนมัติ โดยไม่ต้องจอดหรือชะลอกำรขับขี่ กล่องจะแสดงผลให้ผู้ขับขี่ทรำบถึง จ ำนวนเงิ น ที่ หั ก ไป และเงิ น คงเหลื อ หำกจ ำนวนเงิ น เหลื อ น้ อ ย จะมีกำรแจ้งเตือนเป็นระยะเพื่อให้เติมเงินเพิ่มด้วย
* เรียบเรียงโดย : นำงสำววรปรำนี สิทธิสรวง นิติกรชำนำญกำร
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
DECEMBER 2012 : VOL. 8
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
MONTHLY JOURNAL
วิวัฒนำกำรกฎหมำยหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ตอนที่ 3*
หลังจากฝ่าฟันอุปสรรคกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจหลังจากเริ่มมีการเปิดตลาดหลักทรัพย์ ในช่วงนี้ก็ถือว่าเป็นช่วงที่ประสบความสาเร็จ ทางเศรษฐกิจจากการเปิดให้มีการซื้อขายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์อีกช่วงหนึ่ง คือ ช่วงปี 2529 ซึ่งเป็นผลพวงมาจากการลดค่าเงินบาท ในปี 2527 จึงเป็นการกระตุ้นทาให้เกิดการส่งออกและมีเงินทุนไหลเข้ามาสู่การลงทุนในหลักทรัพย์ และที่สาคัญที่สุด คือ ได้มีการปรับอัตรา ลดดอกเบี้ยถึง 5 ครั้งด้วยกันซึ่งถือว่าเป็นการสร้างแรงดึงดูดให้กับนักลงทุนหน้าใหม่ใ ห้เข้ามาลิ้มลองรสชาติแห่งการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยมากยิ่งขึ้น การเจริญเติบโตยังคงมีอย่างต่อเนื่อง แต่แล้วในวันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 2530 ก็ได้เกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า “Black Monday” ซึ่งเป็น วิกฤติการณ์ทางการเงินของตลาดหุ้นนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกาทาให้ราคาหุ้นปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว จึงย่อมไม่แปลกที่เมื่อประเทศยักษ์ใหญ่ ของโลกอย่างสหรัฐอเมริกาได้รับผลกระทบก็ย่อมต้องกระเทือนถึงสภาพเศรษฐกิจของไทยอย่างไม่ต้องสงสัย แต่ประเทศไทยก็สามารถตั้งรับและ แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน โดยมีการวางแผนใช้มาตรการเพื่อ แก้ปัญหาได้อย่างเป็นลาดับขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ให้ผู้ลงทุน ลดความตื่นตระหนก ประกาศลดอัตราการให้กู้ยืมเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ ออกมาตรการปรับขยายเงินลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัทเงินทุน หลั ก ทรั พ ย์ จ ากร้ อ ยละ 60 เป็ น ร้อ ยละ 100 พร้ อ มทั้ ง ปรับ เพดานขึ้ น ลงของราคาหุ้ น จากไม่ เ กิน ร้ อยละ 10 ของราคาปิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 5 เป็นการชั่วคราว และที่สาคัญได้มีการสร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้กับตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทยเป็นครั้งแรกให้เข้าสู่สากลโลกซึ่งก็คือ การจัด ให้มี “กระดานต่างประเทศ” (Foreign Board) เพื่อสร้างนวัตกรรมการซื้อขายแลกเปลี่ยนให้แพร่ขยายระหว่างนักลงทุนชาวต่างประเทศ เป็น มาตรการเพื่อเพิ่ มอุปสงค์ ส่ วนมาตรการเพื่อเพิ่ ม อุปทานให้แก่ตลาด คือ การจัด ตั้ง “หุ้นกระดานที่สอง” ซึ่งเริ่มจากการแก้ไขประกาศ กระทรวงการคลังเกี่ยวกับคุณสมบัติของบริษัทรับอนุญาต เพื่อช่วยเสริมสร้างความแข็ง แกร่งในการดาเนินงานให้กับกิจการขนาดเล็กซึ่งเป็นส่วน หนึ่งในการสนับสนุนและส่งเสริมให้กิจการขนาดเล็กปรับบทบาทของตนเองเข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ได้ นอกจากให้กิจการขนาดเล็ก เข้ามามีส่วนร่วมกับการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ก็ยังเปิดโอกาสให้ รัฐวิสาหกิจต่างๆเข้ามามี บทบาทดังกล่าวได้ด้วย นอกจากนี้ก็ได้มีการริเริ่ม เพื่อให้มีการออกตราสารการเงินประเภทใหม่ๆ อาทิ ใบสาคัญแสดงสิทธิ (warrants) และหุ้นกู้แปลงสภาพ (convertible debentures) มาตรการดังกล่าวส่งผลให้ประเทศไทยรอดพ้นเงื้อมมือของภาวะเศรษฐกิจ “Black Monday” ไปได้ สามารถเริ่มทรงตัวในต้นปี 2531 จนเข้าสู่ปีทองของการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ในปี 2532 เพราะเป็นที่วงการการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมี ความพร้อมในเรื่อง ปัจจัยสนับสนุน เช่น เสถียรภาพของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน สภาพคล่องของตลาดการเงินสูง รวมไปจนถึงการค้า ระหว่างประเทศ และในช่ วงปี นี้ก็ยั ง เพิ่ ม มาตรการที่ส าคัญ เพื่อเสริม สร้า งความแข็ง แกร่งนอกเหนื อจากการท างานตามมาตรการเดิม ให้แข็ง แกร่งมากยิ่ ง ขึ้น คือ การเสริมสร้างให้ตลาดหลักทรัพย์เป็นแหล่งซื้อขายหลักทรัพย์ที่มีความยุติธรรม โดยมีการดาเนินงานที่สาคัญ เช่น การเปิดเผยแนวทางปฏิบัติ ในการเปิดเผยข้อมูลในกรณีเพิ่ม/ลดทุนของบริษัทจดทะเบียน เป็นต้น ทิศทางแห่งการพัฒนาของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจะเป็นเช่นไร โปรดติดตามตอนต่อไปในฉบับหน้าคะ * เรียบเรียงโดย นำงสำวนภัสสร สอนคม นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
DECEMBER 2012 : VOL. 8
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ค่าธรรมเนียมการดูทีว*ี
ในบางประเทศมีการออกกฎหมายกาหนดให้ผู้ครอบครองวิทยุโทรทัศน์หรืออุปกรณ์ใดๆ ซึ่งสามารถรับหรือเข้าถึงสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ ได้นั้นเป็นผู้มีหน้าที่ต้องชาระค่าธรรมเนียมการอนุญาตรับสัญญาณแพร่ภาพดังกล่าว ซึ่งค่าธรรมเนียมประเภทนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ Television License Fee หรือที่รู้จักโดยทั่วไปว่า TV Tax การเก็บค่าธรรมเนียมประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือหรือสนับสนุนด้านการเงินสาหรับสื่อ สาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นวิทยุหรือโทรทัศน์แทนการรับเงินสนับสนุนจากรายการโฆษณาต่างๆเพื่อให้การดาเนินงานของสื่อสาธารณะเป็นอิสระมาก ที่สุด แต่อย่างไรก็ดี ทีวีสาธารณะบางช่องในบางประเทศได้รับเงิน สนับสนุนจากสื่อโฆษณามากกว่าการได้รับเงินซึ่งจัดเก็บจากค่าธรรมเนียม ดังกล่าว ข้อมูลจากพิพิธภัณฑ์ Broadcast Communications ในชิคาโกพบว่า สองในสามของประเทศในยุโรปได้นาเครื่องมือทางภาษีดังกล่าว มาใช้เพื่อสนับสนุนสื่อสาธารณะในประเทศของตน แต่ภาษีประเภทนี้ไม่เป็นที่นิยมนักในทวีปอเมริกา อัตราการจัดเก็บ ค่าธรรมเนียมประเภทนี้ มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการกาหนดของแต่ละประเทศ สาหรับประเทศเยอรมนีนั้นได้มีการนาภาษีประเภทนี้มาใช้เช่นกัน ก่อนที่ Rundfunkrechts หรือ broadcasting law ฉบับใหม่จะมีการ ประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2556 การจัดเก็บค่าธรรมเนียมประเภทนี้เก็บบนฐานของความเป็นเจ้าของอุปกรณ์รับสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ เช่นนี้ประชาชน ในประเทศเยอรมนี จึ ง เป็ น ผู้ มี ห น้ า ที่ ต ามกฎหมายที่ จ ะต้ อ งลงทะเบี ย นเครื่องรั บ สั ญ ญาณวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ที่ ต นเองครอบครองอยู่ และช าระ ค่าธรรมเนียมดังกล่าวตามอัตราที่ GEZ (Gebühreneinzugszentrale der öffentlich-rechtlichen Rundfunkanstalten in der Bundesrepublik Deutschland หรือ fee collection center of public-law broadcasting institutions in the Federal Republic of Germany) ซึ่งเป็น หน่วยงานผู้มีหน้าที่ ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าวกาหนดขึ้น โดยกฎหมายได้กาหนดให้จัดเก็บค่าธรรมเนียมจาก ผู้ครอบครองหรือผู้เป็นเจ้าของอุปกรณ์ใดที่สามารถรับสื่อจากวิทยุโทรทัศน์ และใช้อุปกรณ์ดังกล่าวสาหรับวัตถุประสงค์ส่วนตัว อัตราการจัดเก็บ ค่าธรรมเนียมจะแบ่งเป็นสองอัตราหลักคือ สาหรับผู้ซึ่งใช้โทรทัศน์และอุปกรณ์อื่นร่วมด้วย บุคคลประเภทนี้จะต้องชาระค่าธรรมเนียมในอัตรา เดือนละ 17.98 ยูโรต่อเดือน หรืออัตรา 53.94 ยูโร ต่อ 3 เดือน แต่หากเป็นผู้ใช้เฉพาะอุปกรณ์ประเภทวิทยุจะชาระในอัตรา 5.76 ยูโรต่อเดือน เท่านั้น นอกจากนี้ผู้ซึ่งพิการจะได้รับสิทธิพิเศษยกเว้นการจ่ายค่าธรรมเนียมประเภทนี้
* เรียบเรียงโดย : นำงสำวกิรณี ธรรมภิบำลอุดม นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
DECEMBER 2012 : VOL. 8
MONTHLY JOURNAL
ในปีพ.ศ. 2556 จะถึงนี้ ประเทศเยอรมนีจะมีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าวในรูปแบบใหม่ กล่าวคือ แทนที่จะจัดเก็บจากอุปกรณ์ ของแต่ละบุคคลเปลี่ยนเป็นการจัดเก็บจากรายครัวเรือนแทนและเปลี่ยนชื่อหน่วยงานผู้มีหน้าที่รับผิดชอบจาก GEZ เป็น "ARD ZDF Deutschlandradio Beitragsservice" (office for contribution to ARD ZDF Deutschlandradio) เหตุผลหลักที่มีการเปลี่ยนแปลง กฎเกณฑ์ที่ใช้สาหรับการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในปัจจุบันนั้นก็เนื่องมาจากพฤติกรรมการบริโภคสื่อภายในปัจจุบันนี้แตกต่างจากอดีต เพราะ ปัจจุบันประชาชนสามารถรับชมหรือรับฟังรายการวิทยุโทรทัศน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ซึ่งการใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตนี้สามารถใช้ ผ่ า นโทรศั พ ท์ มื อถือ เพื่ อ รับ ชมหรือรับ ฟั ง รายการต่ า งๆ ขณะออกอากาศได้ ผ่ า นหน้ า เวปไซต์ ของเจ้ า ของรายการนั้ น ๆ ดั ง นั้ น การจั ด เก็ บ ค่าธรรมเนียมโดยใช้เกณฑ์ประเภทของอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณจึงไม่เหมาะสมสาหรับโลกปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ดี ได้มีการวิพากษ์วิจารณ์กัน อย่างกว้า งขวางสาหรับ กฎเกณฑ์ประเภทนี้เนื่องจากบางกลุ่มเห็นว่า อัตราค่าธรรมเนียมในกฎหมายที่จะบัง คับใช้นี้สูง กว่าอัตราซึ่งจัดเก็บ ในปัจจุบันโดยเฉพาะผู้ใช้เฉพาะวิทยุ ซึ่งตามกฎหมายเดิมจะชาระค่าธรรมเนียมเพียงเดือนละ 5.76 ยูโรเท่านั้น แต่ข้อดีคือการใช้อัตราคงที่จะ เป็นผลดีในระยะยาว เนื่องจากจะไม่มีการเพิ่มอัตราค่าธรรมเนียมบ่อยครั้งอย่างที่เป็นมา โดยอัตราที่จะใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ให้ใช้วิทยุโทรทัศน์ในปีพ.ศ. 2556 นี้ จะมีการจัดเก็บในอัตราสูงสุดเดือนละ 17.98 ยูโรต่อเดือน หรืออัตรา 53.94 ยูโร ต่อ 3 เดือน สาหรับผู้ใช้ โทรทัศน์ วิทยุ หรืออินเตอร์เน็ต แต่หากผู้มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมเป็นผู้พิการ จะจัดเก็บค่าธรรมเนียมในอัตรา 5.99 ยูโรต่อเดือน หรือ 17.97 ยูโรต่อ 3 เดือน นอกจากนี้ หากเป็นผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ห้องพักให้เช่า หรือเกสเฮาส์จะมีอัตราการจัดเก็บที่แตกต่างออกไป โดยคิดจากจานวนห้องพักเป็นหลัก เป็นต้น
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ กฎหมำยน่ำำรูรู้ ้ ฉบับพิเศษ
สำนับกพิ กฎหมำย ฉบั เศษ
สำนักงำนเศรษฐกิ จกำรคลัง AUGUST 2012 January 2013
"กฎหมำยฉบับใหม่เพื่อแก้ไข Fiscal Cliff"* นโนบำยลดภำษี Bush Tax Cuts ในปี 2001 เศรษฐกิ จ ของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก ำ ได้ชะลอตัวลงอย่ำงต่อเนื่อง ประธำนำธิบดีจอร์จ ดับเบิ้ลยู บุช จึงได้เสนอมำตรกำรลดภำษีเพื่อพยุงสภำวะเศรษฐกิจในเวลำ นั้น หรือที่เรียกกันอย่ำงแพร่หลำยว่ำนโยบำย “Bush Tax Cuts” ซึ่งในหลักกำรนโยบำยปรับลดภำษีดังกล่ำว ได้ส่งผล โดยตรงต่อกำรแก้ไขกฎหมำยภำษีอำกรของสหรัฐฯ โดยสภำ ครองเกรสได้ผ่ำนกฎหมำยที่สำคัญ หลำยฉบับ เช่น กฎหมำย ลดภำระทำงภำษีและส่งเสริมกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ (Economic Growth and Tax relief Reconciliation Act of 2001) กฎหมำยส่งเสริมกำรจ้ำงงำน (Job and Growth Relief Reconciliation Act of 2003) และกฎหมำย ลดหย่อนภำษี (Tax Relief Act 2010) โดยวัตถุประสงค์หลัก ของกฎหมำยทุ ก ฉบั บ คื อ กำรลดภำระทำงภำษี ใ ห้ กั บ ประชำชนเพื่ อ กระตุ้ น กำรบริ โ ภคและน ำเงิ น กลั บ เข้ ำ มำ ในระบบเศรษฐกิจ โดยกฎหมำยว่ำด้ว ยกำรลดหย่อนอัตรำ ภำษีตำมนโยบำย Bush Tax Cuts นั้น กำหนดระยะเวลำ สิ้นสุดไว้ในวันที่ 31 ธันวำคม 2012 Fiscal Cliff คือ อะไร จวบจนในวันนี้ วันที่นโยบำย Bush Tax Cuts ได้สิ้นสุดลง แต่เศรษฐกิจโดยรวมของสหรัฐฯ ยังไม่ดีขึ้นเท่ำไร นั ก โดยสหรั ฐ ฯ ได้ ป ระสบปั ญ หำขำดดุ ล ทำงกำรคลั ง และ ปัญหำหนี้สำธำรณะ อันส่งผลให้รัฐบำลจำต้องออกนโยบำย ปรับเพิ่มเพดำนหนี้ เนื่องจำกภำระหนี้ที่มีอยู่ เดิมนั้น สูงจนชน เพดำนนี้ สู ง สุ ด ที่ รั ฐ บำลจะมี อ ำนำจกู้ ยื ม ได้ นอกจำกนี้ นักวิชำกำรจำนวนมำกยังได้วิพำกษ์ว่ำ ปัญหำในทำงกำรคลัง
ที่สำคัญอีกประกำรของสหรัฐฯ เป็นผลมำจำกนโยบำยปรับลด รำยได้ทำงภำษีที่รัฐ บำลได้ดำเนินมำอย่ำงยำวนำนนับสิ บปี จนก่อให้เ กิดกำรสะสมปัญหำทำงกำรเศรษฐกิจระลอกใหม่ ผสมกับระลอกเก่ำที่มีอยู่เดิม จนก่อให้เกิด สภำวะควำมเสี่ยง สูงในทำงกำรคลัง หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่ำ “fiscal Cliff” หรือหน้ำผำทำงกำรคลังของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นผลมำจำกปัจจัย หลักสำมประกำร ได้แก่ ประกำรแรก คือ กำรตัดงบประมำณรำยจ่ำยแบบ อัตโนมัติ (Automatic Sequestration) ในปีงบประมำณ 2013 โดยสภำครองเกรส ได้ มี ม ติ ใ ห้ ป รั บ ลด และตั ด งบประมำณรำยจ่ ำ ยในบำงรำยกำรของภำครั ฐ ออกอย่ ำ ง เฉียบพลันเพื่อรักษำสมดุลทำงกำรคลัง เช่น ด้ำนกำรทหำร (Defense) และด้ำนรำยจ่ำยของหน่วยงำนของรัฐบำลกลำง (Federal agencies) เป็นต้น ประกำรที่ ส อง คือ ปั ญ หำกำรขำดดุ ล งบประมำณ อย่ำงต่อเนื่องของสหรัฐฯ โดยตัวเลขบัญชีเดิ นสะพัดประจำ ไตรมำสที่ 3 ของปี 2012 ได้ดิ่งลงในระดับต่ำสุดนับตั้งแต่ไตร มำส 4 ของปี 2010 และประกำรสุดท้ำย คือ กำรเพิ่มขึ้นของอัตรำภำษี หลังจำกที่ Bush Tax Cuts ได้สิ้นสุดลง ซึ่งหมำยควำมว่ำ กำรตรึ ง อั ต รำภำษี ใ ห้ กั บ ประชำชนกว่ ำ 100 ครั ว เรื อ น ทั่วสหรัฐฯ อำจสิ้นสุดลงเช่นกัน โดยภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ และภำษีรำยกำรต่ำงๆ ที่เคยปรับลดในช่วงสิบกว่ำปีที่ผ่ำนมำ อำจถูกปรับให้สูงขึ้นในปี 2013 ดังนั้น ในสภำวะที่มีเหตุกำรณ์ ส ำคั ญ ในทำงกำรคลั ง เกิ ด ขึ้ น พร้ อ มๆ กั น เช่ น นี้ ส ำนั ก งำน งบประมำณของสภำครอง เกรสของสหรัฐฯ (Congressional Budget Office: BOD) ได้ประมำณกำรว่ำ แรงขับเคลื่อน *เรี ยบเรียงโดย :ดร.สุมาพร ศรี สนุ ทร นิติการปฏิบตั ิการ
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ในทำงกำรคลังในลักษณะนี้จะส่งผลต่อกำรขำดดุลงบประมำณ อย่ำงรุนแรง อันเป็นผลในเชิงลบที่กระทบต่อกำรเติบโตในทำง เศรษฐกิจของสหรัฐฯ และจะผลักดันให้ระบบเศรษฐกิจของ สหรัฐฯ ก้ำวเข้ำสู่สภำวะถดถอยในอนำคตอันใกล้ สหรัฐจะแก้ปัญหำ Fiscal Cliff อย่ำงไร? อย่ ำ งไรก็ ดี เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หำดั ง กล่ ำ ว ในวั น ที่ 1 มกรำคม 2013 ที่ ผ่ ำ นมำ วุ ฒิ ส ภำของสหรั ฐ ฯ ได้ เ สนอ กฎหมำย American Taxpayer Relief Act of 2012 โดยต่อมำสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรต่ำงเห็นชอบในหลักกำร ของกฎหมำยฉบั บดังกล่ำว ซึ่งกฎหมำยฉบับนี้จะได้ถูกส่งต่อ ในประธำนำธิบดี บำรัก โอบำมำ ลงนำมเพื่อให้มีผลบังคับใช้ เป็นกฎหมำยต่อไป ดังนั้น ด้วยผลของกฎหมำย American Taxpayer Relief Act จะส่งผลให้มำตรกำรปรับขึ้นของอัตรำภำษี และ กำรตั ดลดค่ำใช้จ่ ำ ยแบบเฉีย บพลั น ในปี ง บประมำณ 2013 ได้ รั บ กำรชะลอไว้ เ ป็ น กำรชั่ ว ครำว โดยกำรปรั บ ลด งบประมำณรำยจ่ ำ ยจะได้ รั บ กำรพิจ ำรณำโดยสภำอี ก ครั้ ง ในเดือนกุมภำพันธ์ 2013 ที่จะถึงนี้ กฎหมำย American Taxpayer เพื่อแก้ปัญหำ Fiscal Cliff
Relief
Act
แม้จะมีกำรสร้ำงมำตรกำรป้องกันมิให้มีกำรปรับขึ้นอัตรำภำษี เงิ น ได้ ส ำหรั บ บุ ค คลธรรมดำที่ มี ร ำยได้ ต่ ำกว่ ำ 400,000 ดอลลำร์ และไม่ เ กิ น 450,000 ดอลลำร์ ส ำหรั บ ครั ว เรื อ น (หรือเมื่อรวมคู่สมรสแล้ว ) แต่ก็ได้มีกำรปรับอัตรำภำษี จำก ร้ อ ยละ 35 เป็ น ร้ อ ยละ 39.6 ส ำหรั บ ผู้ บุ ค คลธรรมดำที่ มี รำยได้สู งกว่ำ 400,000 ดอลลำร์ และส ำหรับครัว เรือนที่มี รำยได้สูงกว่ำ 450,000 ดอลลำร์ - ภำษีมรดก (Federal Estate and Gift Tax) โดยกฎหมำยฉบับนี้ ได้ขึ้นอัตรำภำษีมรดกในอสังหำริมทรัพย์ โดยเรียกเก็บในอัตรำที่เพิ่มขึ้นจำกร้อยละ 35 เป็นร้อยละ 40 และใน 5 ล้ำนดอลลำร์แรกของมูลค่ำของอสังหำริมทรัพย์จะ ได้รับกำรยกเว้นในกรณีที่เป็นอสังหำริมทรัพย์ที่ถือครองโดย บุคคลธรรมดำ และยกเว้น 10 ล้ำนดอลลำร์แรก ในกรณีที่เป็น อสังริมทรัพย์ที่ถือครองร่วมกันของบุคคลในครอบครัว - ภำษีกำไรจำกกำรขำยทรัพย์สิน และภำษีเงิน ปัน ผล (Capital gain and dividend taxes) จำกเดิมที่ นโยบำย Bush Tax Cuts เรียกเก็บอยู่ที่ร้อยละ 15 เพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 20 โดยภำษีในอัตรำร้อยละ 20 นี้ จะเรียกเก็บกับ ผู้เสียภำษีที่อยู่ในช่วงอัตรำภำษีที่สูงที่สุด (top rate) คือ ร้ อ ยละ 39.6 (ส ำหรั บ ผู้ บุ ค คลธรรมดำที่ มี ร ำยได้ สู ง กว่ ำ 400,000 ดอลลำร์ และส ำหรั บครั ว เรื อ นที่มี ร ำยได้ สู ง กว่ ำ 450,000 ดอลลำร์)
โดยในเนื้อหำของกฎหมำยฉบับนี้ ได้ระบุถึงมำตรกำร ทำงภำษีเพื่อแก้ไขปัญหำ Fiscal cliff ไว้หลำยประกำร โดยใน บทควำมฉบับนี้จะขอหยิบยกในบำงประกำรที่สำคัญ ดังนี้ - ภำษีบุคคลธรรมดำ (Income tax rate) คือ กำร ขยำยระยะเวลำกำรใช้กฎหมำยปรับลดภำษีภำยใต้นโยบำย Bush Tax Cuts สำหรับผู้เสียภำษีที่เป็นชนชั้นกลำงออกไป แต่ให้ปรับอัตรำภำษีในบำงรำยกำรให้สูงขึ้น กล่ำวคือ เดิมที นโยบำยปรับลดภำษีภำยใต้ Bush Tax Cuts นั้น ครอบคลุม กำรปรับลดภำษีให้กับผู้เสียภำษีจำนวนมำกในสหรัฐเนื่องจำก เป็นกำรปรับลดที่อัตรำ Payroll taxes แต่ในร่ำงกฎหมำย American Taxpayer Relief Act of 2012 ฉบับล่ำสุดนั้น สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
- กำรปรั บ เปลี่ ย นกำรค ำนวนอั ต รำภำษี ภ ำยใต้ ระบบภำษีขั้นต่ำทำงเลือก (Alternative Minimum Tax: AMT) จะถูกคำนวณเพื่อประกันว่ำผู้มีรำยได้สูงจะต้องแบก รับภำระภำษีขั้นต่ำส่วนหนึ่ง โดยอัตรำกำรคำนวน AMT นั้น จะต้องดำเนินไปเพื่อให้สอดคล้องกับสภำวะเงินเฟ้อ ซึ่งกำร ปรับเปลี่ยน AMT นี้ถูกสร้ำงขึ้นเพื่อป้องกันกำรหลีกเลี่ยงภำษี ของผู้เสียภำษีที่อยู่ในฐำนภำษีที่สูง - ภำษีเงินประกันสังคัม (Social Security Payroll Taxes) ได้ถูกปรับขึ้นสองเปอร์เซนต์ กล่ ำวคือ กฎหมำย American taxpayer Relief Act of 2012 ได้กำหนดให้ มำตรกำร Tax holiday ส ำหรั บ ภำษี ป ระเภท Social Security Payroll taxes สิ้นสุดลง โดยอัตรำภำษีดังกล่ำวจะ ถูกปรับขึ้นจำกร้อยละ 4.2 เป็นร้อยละ 6.2 นอกจำกมำตรกำรในทำงภำษี ที่ ไ ด้ก ล่ ำวมำข้ำ งต้ น สหรัฐฯ ยังได้มีมำตรกำรในทำงกำรคลังอื่นๆ เพื่อป้องกันกำร เกิด Fiscal Cliff เช่น ในขณะที่รัฐบำลสหรัฐฯ ได้พยำยำม ชะลอกำรตัดงบประมำณอย่ำงเฉียบพลันและตรึงอัตรำภำษี ให้กับผู้เสีย ภำษีในบำงรำยกำร แต่วุฒิสภำของสหรั ฐฯ ก็ได้ เสนอให้มีกำรตัดงบประมำณในบำงส่วนออกเช่นกัน อันได้แก่ กำรตั ด สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบประกั น ภั ย ในกรณี ฉุ ก เฉิ น สำหรับผู้ว่ำงงำน (Unemployment Insurance benefit) ดังนั้น อำจสรุปได้ว่ำ มำตรกำร Fiscal Cliff นั้น เป็นมำตรกำรที่ผลกระทบต่อทั่วโลกอย่ำงมิอำจหลีกเลี่ยงได้ เนื่ อ งจำกเศรษฐกิ จ ของสหรั ฐ ฯ มี ข นำดใหญ่ โดยอำจจะ กระทบต่อธุรกิจส่งออกของไทยรวมถึง ตลำดทุนและตลำดเงิน ดังนั้น ควำมเคลื่อนไหวดังกล่ำว รวมถึงกฎหมำยที่ประกำศใช้ โดยสหรัฐฯ นั้น จะมีผลดีหรือผลเสียอย่ำงไร หรือเป็นเพียง กำรซื้อเวลำ จึงเป็นเรื่องที่น่ำติดตำมต่อไป
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
FEBRUARY 2013 : VOL. 10
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
MONTHLY JOURNAL
ระบบการชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์กับข้อพิพาทในองค์การการค้าโลก *
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดดของประเทศจีน ในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา ส่งผลให้ประเทศจีนพัฒนาศักยภาพใน ด้านต่างๆอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาระบบการเงินก็เป็นด้านหนึ่งที่ รัฐบาลจีนให้ความส าคัญเป็นอย่างมาก ในปี 2002 บริษัท China Union Pay, Co. Ltd. หรือที่เรียกย่อๆว่า CUP ได้ถือกาเนิดขึ้นใน ฐานะองค์กรหนึ่งเดียวในประเทศจีนที่ดาเนินการเกี่ยวกับบัตรที่ออก โดยสถาบันการเงิน (Bank Card) และวางระบบเชื่อมต่อข้อมูล ระหว่างธนาคาร (Interbank Network) ซึ่งปัจจุบันบัตรที่มีตรา สัญลักษณ์ของ CUP สามารถนาไปใช้ได้ใน 105 ประเทศทั่วโลก ในขณะเดียวกัน รัฐบาลจีนได้กาหนดให้ CUP เป็นผู้ดาเนินการ ระบบการชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์เพียงรายเดียวสาหรับธุรกรรมทาง การเงินในประเทศที่เป็นเงินหยวนและถูกจ่ายเป็นเงินหยวน ส่งผล บริษัทขนาดใหญ่ของสหรัฐ อาทิ VISA MasterCard จะต้องสูญเสีย รายได้ จ านวนมหาศาลจากการเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบช าระเงิ น อิเล็กทรอนิกส์
มาตรการของจี นข้ างต้ นได้ น าไปสู่ การร้ องขอของสหรั ฐ ต่อองค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ให้พิจารณาข้อพิพาทระหว่างสหรั ฐอเมริกากับจีน โดยสหรัฐได้ หยิ บยกมาตรการของจี นที่ อาจขั ดต่ อความตกลงทั่ วไปว่ าด้ วย การค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services: GATS) ดังนี้ ข้อกาหนดให้ CUP เป็นผู้ดาเนินการระบบการชาระ เงินอิเล็กทรอนิกส์เพียงรายเดียวสาหรับธุรกรรมทางการเงิน ในประเทศที่เป็นเงินหยวนและถูกจ่ายเป็นเงินหยวน ข้อ กาหนดให้ บั ตรที่ ใช้ จ่า ยที่อ อกในประเทศจี นต้ อ ง มีสัญลักษณ์ของ CUP ข้ อ ก าหนดให้ เ ครื่ อ ง ATM อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งรั บ บั ต ร ตามร้ า นค้ า และจุ ด ขายต่ า งๆ ในประเทศจี น ต้ อ งรั บ บั ต ร ที่มีสัญลักษณ์ของ CUP ข้อกาหนดให้ผู้ประกอบการที่รับบัตรต้องติดสัญลักษณ์ CUP และรับบัตรที่มีตราสัญลักษณ์ CUP ด้วย ข้อห้ ามเกี่ยวกั บการใช้บัตรที่ไม่ไ ด้มีสั ญลั กษณ์ CUP ในการใช้ข้ามภูมิภาคและธุรกรรมระหว่างธนาคาร ข้ อ ก าหนดที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จากการใช้บัตรในเขตปกครองพิเศษฮ่องกงและมาเก๊า * เรียบเรียงโดย : นำยพีระพัฒน์ เหรียญประยูร นิติกรชำนำญกำร
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
FEBRUARY 2013 : VOL. 10
MONTHLY JOURNAL
Dispute Settlement Body: DSB ขององค์การการค้าโลก ได้มีการจัดตั้งคณะพิจารณาระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement Panel) เพื่อพิจารณากรณีข้างต้น โดยสหรัฐเห็นว่ามาตรการดังกล่าวของจีน ขัดต่อหลักการการเข้าสู่ตลาด (Market Access) ภายใต้ Article XVI และหลักการการปฏิบัติต่อสมาชิก (Member Treatment) ภายใต้ Article XVII ของ GATS ซึ่งคณะพิจารณาระงับข้อพิพาทได้วินิจฉัยข้อพิพาทดังกล่าวแล้วเห็นว่า เมื่อมีการตี ความมาตรการของจีน ประกอบกับ การวิเคราะห์ในเชิงเทคนิคของระบบการชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์และในเชิงเศรษฐศาสตร์แล้ว ไม่พบประเด็นที่ถือว่ารัฐบาลจีน กาหนดให้ CUP เป็นผู้ดาเนินการระบบการชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์แต่เพียงรายเดียวในจีน แต่พบว่าข้อกาหนดทาให้ CUP เป็น ผู้ให้บริการชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์รายเดียวสาหรับบัตรที่ออกในจีนแล้วนาไปใช้ในเขตปกครองพิเศษฮ่องกงและมาเก๊า หรือ บัตรที่ออกในเขตปกครองพิเศษฮ่องกงหรือมาเก๊าและนาไปใช้ในจีนเป็นการขัดต่อหลักการเข้าสู่ตลาด นอกจากนี้ คณะพิจ ารณาระงับ ข้อพิพาทวินิจ ฉัยว่าข้อกาหนดให้ บัต ร อุปกรณ์เครื่องรับบั ตรและผู้ ประกอบการ ที่รับบัตร ต้องมีสัญลักษณ์ของ CUP และต้องรับบัตรที่มีสัญลักษณ์ของ CUP ตลอดจนข้อกาหนดเกี่ยวกับการใช้บัตรในเขต ปกครองพิ เ ศษฮ่ อ งกงและมาเก๊ า นั้ น ขั ด ต่ อ หลั ก การเข้ า สู่ ต ลาดเช่ น กั น เพราะท าให้ ค วามสามารถการเข้ า สู่ ต ลาดของ ผู้ ประกอบการของประเทศสมาชิกอื่ น ลดลง ส่ ว นหลั ก การการปฏิบั ติต่อ สมาชิกนั้ นคณะพิจ ารณาระงับข้ อพิพ าทเห็ นว่ า ข้อกาหนดให้บัตร อุปกรณ์เครื่องรับบัตรและผู้ประกอบการที่รับบัตร ต้องมีสัญลักษณ์ของ CUP และต้องรับบัตรที่มีสัญลักษณ์ ของ CUP ตลอดจนข้อกาหนดเกี่ยวกับการใช้บัตรในเขตปกครองพิเศษฮ่องกงและมาเก๊านั้นขัดต่อหลักการปฏิบัติต่อสมาชิก ด้วย เนื่องจากผู้ให้บริการของประเทศสมาชิกอื่นไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรการที่จีนกาหนดเช่นเดียวกับที่ CUP ได้ ดังนั้นในที่สุดจึงส่งผลให้จีนต้องดาเนินการแก้ไขมาตรการดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักการของ GATS ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2556 นี้
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
FEBRUARY 2013 : VOL. 10
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง เมาไม่ขับ นั่งไม่ดื่ม* ประเทศไทยมีการดื่มสุราสูงเป็นอันดับที่ 40 ของโลก และ เป็นอันดับที่ 3 ของเอเชีย โดยคนที่มีอายุมากกว่า 15 ปี ขึ้นไป ดื่มสุราจานวน 17 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32 ของประชากร ในช่วงอายุนี้ทั้งหมด 53.9 ล้านคน นอกจากนี้การดื่มสุรายังเป็น สาเหตุหลักของการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรร้อยละ 90 โดยมี จานวนผู้เสียชีวิตประมาณ 26,000 คนต่อปี ซึ่งการดื่มสุราและ ก่อให้เกิดอุบัติเหตุก็ถือเป็นปัญหาหลักปัญหาหนึ่งที่รัฐบาลแต่ละ รัฐ บาลได้ให้ ความส าคัญ และได้ด าเนิ น การแก้ไขปั ญหามาโดย ตลอด สาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุจากการขับรถเป็นผลมา จากการขับรถในขณะที่เมาสุรา ซึ่งการขับรถในขณะที่มีอาการเมา สุราถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 (2) ที่กาหนดมิให้ผู้ขับขี่รถในขณะเมาสุรา โดยคาว่า “รถ” ตามกฎหมายดังกล่าวหมายถึงยานพาหนะทางบกทุกชนิด ยกเว้น รถรางและรถไฟ ส่ ว นอาการเมาสุ ร านั้ น หากมี ปริมาณ แอลกอฮอล์ในเลือดเกิน ๕๐ มิลลิกรัมเปอรเซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 16 (พ.ศ. 2537)) ส าหรั บ การตรวจสอบ ผู้ขับขี่รถว่ามีอาการเมาสุราหรือไม่นั้น หากเจ้าหน้าที่ตารวจสงสัย ว่าผู้ขับขี่รถมีอาการเมาสุราก็มีอานาจในการสั่งให้หยุดรถและสั่ง ให้มีการทดสอบได้ และหากผู้ขับขี่รถมีการเมาสุราก็จะมีความผิด ตามกฎหมายจราจร (ไม่สามารถเปรียบเทียบปรับตามกฎหมาย ได้ ) โดยมี อั ต ราโทษจ าคุ ก ไม เกิ น หนึ่ ง ป หรื อ ปรั บ ตั้ ง แต่ 5,000-20,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ าทั้ ง ปรั บ และให้ ศ าลสั่ ง พั ก ใช้ ใบอนุญาตขับขี่ของผู้ นั้นมีกาหนดไม่ น้ อยกว่าหกเดือน หรือเพิก ถอนใบอนุญาตขับขี่
นอกจากความผิดในเรื่องของขับขี่รถในขณะเมาสุราหรือ การเมาแล้ ว ขั บ นั้ น ต่ อ มาได้ มี ก ารผลั ก ดั น กฎหมายควบคุ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ใ นปี 2551 เพื่ อ ก าหนดมาตรการใน การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยได้มีการประกาศกาหนด ห้ามขายหรือดื่มสุราในสถานที่หรือในบริเวณของรัฐวิสาหกิจหรือ หน่ว ยงานอื่นของรัฐ ยกเว้นบริเวณที่ถูกจัดไว้เ ป็นร้านค้าหรือ สโมสร หรือเป็นการจัดเลี้ยงตามประเพณี รวมทั้ง ห้ามดื่มสุรา ในขณะโดยสารอยู่ในรถหรือบนรถด้วย โดยผู้ฝ่าฝืนจะมีโทษตาม กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ให้จาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ สาหรับผู้ที่ดื่มสุราและมีความจาเป็ นต้องขับรถกลับบ้าน นั้น ควรมีความระมัดระวังการดื่ม ให้มากเพื่อไม่ให้เกิดอันตราย ผู้ดื่มสุราควรระวังการดื่มโดยควรรู้ว่าสุราแต่ละประเภทมีปริมาณ แอลกอฮอล์ ที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น เบี ย ร์ หรื อ เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี แอลกอฮอล์ 5 ดีกรี ปริมาณ 1 กระป๋อง (330 มิลลิลิตร) จะมี ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดน้อยกว่า 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ ปริ ม าณการดื่ ม เบี ย ร์ 1 ขวด (630 มิ ล ลิ ลิ ต ร) หรื อ เบี ย ร์ 2 กระป๋อง ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดอาจมากกว่าหรือน้อยกว่า 50 มิ ล ลิ ก รั ม เปอร์ เ ซ็ น ต์ ก็ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ กั บ น้ าหนั ก ตั ว ของผู้ ดื่ ม เป็ น ส าคั ญ หากผู้ ดื่ ม มี น้ าหนั ก น้ อ ยปริ ม าณแอลกอฮอล์ จ ะมี มากกว่ า คนที่ น้ าหนั ก ตั ว มาก ทั้ ง นี้ ใน 1 ชั่ ว โมง ร่ า งกายจะ สามารถกาจัดแอลกอฮอล์ได้ประมาณ 15 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ และการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์จะมีแอลกอฮอล์ที่ค้างอยู่ใน ปาก 15 - 20 นาที ดั ง นั้ น หากถ้ า มี ก ารตรวจวั ด ระดั บ แอลกอฮอล์จากลมหายใจจะมีผลทาให้ระดับแอลกอฮอล์สูงกว่า ความเป็ น จริ ง การบ้ ว นปากด้ ว ยน้ าเปล่ า จะสามารถก าจั ด แอลกอฮอล์ที่ค้างอยู่ในปากได้ระดับหนึ่ง เพื่อมิให้ผิดกฎหมาย ควรดื่มด้วยความระมัดระวังด้วยนะครับ !!
* เรียบเรียงโดย : นำยปรนำคินทร์ กตัญญุตำนนท์ นิติกรชำนำญกำรพิเศษ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
FEBRUARY 2013 : VOL. 10
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
MONTHLY JOURNAL
วิวัฒนำกำรกฎหมำยหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ตอนที่ 6*
ตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้น มา มีสัญญาณบางประการที่ส่งมาจากภาคธุรกิจ เช่น ปัญหาหนี้เสีย การทุจริตของผู้บริหาร สถาบั น การเงินบางแห่ง ทาให้ ผู้ ลงทุน ขาดความเชื่อมั่นและกระทบเป็น ลู กโซ่ต่อสถาบันการเงินขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดการกากับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงการเก็งกาไรจากอัตราที่สูงมาก รัฐบาลจึงได้ประกาศ ระงับการดาเนินงานของบริษัทเงินทุนจานวน 58 แห่ง เป็นการชั่วคราว และภายหลังได้มีการสั่งปิดอย่างถาวรจานวน 56 แห่ง และยิ่งไปกว่านั้น ผลกของการที่ค่าเงินบาทถูกเก็งกาไรโดยกองทุนต่างชาติในปริมาณที่สูง ทาให้ประเทศไทยเกิดปัญหาอัตรา แลกเปลี่ยน จนต้องเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลี่ยนระบบตระกร้าเงิน (Basket Currency) ที่ใช้อยู่ในขณะนั้น มาเป็นระบบ ลอยตัวแบบมีการจัดการ (Manager Float) ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 ทาให้เงินบาทอ่อนค่าลงมาก และส่งผลกระทบ ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค โดยมีการเรียกวิกฤตการณ์ครั้งนี้ว่า “วิกฤติการณ์ต้มยากุ้ง ” ซึ่งวิกฤตการณ์ครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบ ต่อทุกภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศของไทย ซึ่งภาครัฐได้พยายามหาทางแก้ไขโดยการจัดตั้ งองค์กรปฏิรูประบบสถาบัน การเงิน (ปรส.) และบรรษัทบริหารสินทรัพย์ (บบส.) เพื่อทาหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงินในด้านของการรับซื้อและ ขายโอนสิ น ทรั พ ย์ จ ากสถาบั น การเงิ น ที่ ป ระสบปั ญ หา อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ข อค าแนะน าจากกองทุ น การเงิ น ระหว่ า งประเทศ (International Monetery Fund:IMF) และธนาคารโลก (World Bank) โดยประเทศไทยได้เข้าทาสัญญาเพื่อขอรับความ ช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ในช่วงปี 2541 และ 2542 เศรษฐกิจของประเทศไทยประสบกับภาวะถดถอยอย่างรุนแรงโดยเฉพาะปัญหาสภาพคล่อง ในระบบเศรษฐกิจ ทาให้มีเงินไหลออกจากตลาดหลักทรัพย์เป็นจานวนมาก ในแง่ของธนาคารพาณิชย์ ยังคงไม่สามารถแก้ไข ปัญหาหนี้ได้ ทาให้ไม่สามารถปล่อยสินเชื่อ และรายได้ของธนาคารพาณิชย์ลดลง ส่วนการชาระหนี้คืนต่างประเทศก็ต้องใช้เงิน เป็นจานวนมากขึ้น เนื่องจากค่าเงินบาทอ่อนค่า ภาพสะท้อนนี้ส่งผลกระทบถึงตลาดหลักทรัพย์อย่างรุนแรง ดัชนีราคาหุ้นตลาด หลักทรัพย์ที่ต่าสุดในปีนั้นคือ 207.31 จุด (วันที่ 4 กันยายน 2541) สภาพการณ์ ท างเศรษฐกิ จ ของประเทศไทยยั ง คงซบเซาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนถึ ง ปี 2543 ผู้ ล งทุ น ยั ง ขาดความมั่ น ใจ ในการที่จะกลับมาลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ และยังมีปัจจัยภายนอกเข้ามากระทบอีก เช่น การปรับลดน้าหนักการลงทุน ของตลาดหลักทรัพย์ไทยในการคานวณดัชนี Morgan Stanley Capital International (MSCI) ของสถาบันการเงินระดับโลก ความผันผวนทางเศรษฐกิจและการว่างงานภายในประเทศสหรัฐอเมริกา และราคาน้ามันในตลาดโลกที่มีความผันผวน เป็นต้น * เรียบเรียงโดย : นำงสำวนภภัสสร สอนคม นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
MAY 2013: VOl. 13
ศึกชิงบัลลังก์ตลาดค้าปลีกค้าส่งไทย* เมื่อวัน ที่ 22 เมษายน 2556 ที่ผ่ านมา บริ ษัท ซีพี ออลล์ จากัด (CPALL) ได้มีการเปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทมีมติเข้าซื้อหุ้นและทาคาเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของ บริษัท สยามแม็คโคร จากัด (มหาชน) (MAKRO) รวมทั้ง บริษัท สยายแม็คโครโฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด และบริษัทโอเอชที จากัด ที่เป็นผู้ถือหุ้น MAKRO ทั้งทางตรงและทางอ้อม จานวน 154,429,500 หุ้น หรือ 64.35% CPALL ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2531 เป็นบริษัทที่ดาเนินธุรกิจค้า ปลี ก ประเภทร้ า นสะดวกซื้ อ หรื อ ที่ เ รี ย กกั น จนติ ดปากว่ า “7-Eleven” ซึ่งข้อมูล ณ สิ้น ปี 2555 บริ ษัทมีร้ าน 7-Eleven ทั่ ว ประเทศรวม 6,822 สาขา โดยเป็ น ร้ า นในกรุ ง เทพฯ และปริมณฑล 3,177 สาขา เป็นร้านในต่างจังหวัด 3,645 สาขา ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่า CPALL มีสาขาอยู่แทบจะ ทุกมุมเมืองในประเทศไทย และ MAKRO ก่อตั้งบริ ษัทเมื่อปี 2537 เป็ น ผู้ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ศู น ย์ จ าหน่ า ยสิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค ซึ่งธุรกิจของ MAKRO เน้นการ “ขายส่ง” โดยมีลูกค้ามากมาย ตั้งแต่ร้านโชห่วย ร้านที่แบกะดิน หาบเร่ -แผงลอย ร้านอาหาร ภั ต ตาคาร หรื อ แม้ ก ระทั่ ง โรงแรมหรู และอื่ น ๆ อี ก มากมาย โดยปั จ จุ บั น มี ส าขารวม 58 แห่ ง ซึ่ ง ครอบคลุ ม กรุ ง เทพฯ ปริมณฑล และต่างจังหวัด การซื้อขายกิจการของธุรกิจต่าง ๆ เป็นเรื่องปกติของการ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ในทั่ ว โลก เมื่ อ พิ จ ารณาจากประเภทธุ ร กิ จ ของ MAKRO จะเห็นได้ว่าโดยสภาพธุรกิจจะไม่ค่อยมีความแตกต่าง จากการประกอบธุรกิจของ 7-Eleven เท่าใดนัก และหากจะมอง ถึงอนาคตอันใกล้ ของภูมิภาคอาเซียน ที่จะมีการรวมตัวการเป็น ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะทาให้การลงทุนหลั่งไหลสู่ภูมิภาคนี้จะทา ให้ เ กิ ด การกระตุ้ น อั ต ราการบริ โ ภค ซึ่ ง จะสอดคล้ อ งกั บ ยุทธศาสตร์การลงทุนของ CPALL ที่มีแผนขยายตลาดในอาเซียน อยู่แล้ว ประกอบกับในช่วงปลายปี 2555 MAKRO ได้ขยายธุรกิจ “ฟู๊ ด เซอร์ วิ ส ” ในประเทศเวี ย ดนาม โดยการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท วิ น า สยามฟู๊ ด จ ากั ด เป็ น ผู้ ด าเนิ น การและประกอบธุ ร กิ จ ในประเทศเวียดนาม
ดังนั้น เมื่อสองยักษ์ใหญ่ของผู้ให้บริการค้าปลีกกับค้า ส่ง 2 บริษัทมารวมกัน จะส่งผลกระทบต่อ ผู้บริโภคอย่างไร ราคา คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า หรื อ การให้ บ ริ ก ารจะมี ก าร ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด แต่ที่แน่ ๆ กลุ่มบริษัท ค้าปลีกข้ามชาติ รายอื่นที่มีอยู่ในปัจจุบันก็คงจะต้องมีการ มาตรการใดออกมาหลั ง เพื่ อ แข่ ง ขั น ที่ รุ น แรงในสมรภู มิ ค้าปลีกและค้าในเมืองไทยต่อจากนี้อย่างแน่นอน จากข่าว ในกรณี ดั ง กล่ า ว ท้ า ยที่ สุ ด ผลดี ก็ จ ะตกกั บ ผู้ บ ริ โ ภ ค อย่างแน่นอน ไม่มากก็น้อย....
*เรียบเรียงโดย นายพุฒพิ งศ์ นิลสุ่ม นิติกรปฏิบัติการ สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
MAY 2013: VOl. 13 เงินในอนาคต...สร้างได้...*
ในโลกปัจจุบันการทาประกันชีวิตมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งผู้ทาประกันส่วนใหญ่ก็อยากจะมีเงินไว้สาหรับใช้จ่ายในยามที่อายุ มากขึ้นมีโรคภัยไข้เจ็บมารุมเร้า หรือในยามที่ไม่มีรายได้เป็นของตัวเองแล้ว หรือได้รับรายได้น้อยลง เป็นต้น โดยเฉพาะหลาย ๆ ท่านที่เมื่อใกล้เกษียณจะมีความกังวลในเรื่องนี้กันส่วนใหญ่ แต่ก็มีทางเลือกที่สามารถจะทาให้ท่านทั้งหลาย มีเงินใช้จ่ายในอนาคต ได้ ซึ่งมีห ลากหลายทางเลื อกหนึ่ งในนั้ น ก็คือ การทาประกันแบบบานาญนั่นเอง หลายท่านคงเคยได้ยินประกันในรูปแบบนี้ กันมาบ้างแล้วแต่สาหรับบางท่านที่ยังไม่ทราบรายละเอียดบทความนี้ก็คงจะเป็นประโยชน์แก่ท่านทั้งหลาย การชาระเบี้ยค่าเบี้ยประกันประเภทนี้ยังสามารถนามาหักลดหย่อนภาษีได้สูงสุดไม่เกิน 15% ของรายได้ทั้งปี และไม่เกิน 200,000 บาท เมื่ อ รวมกั บ กองทุ น ส ารองเลี้ ย งชี พ (PVD) หรื อ กองทุ น บ าเหน็ จ บ านาญข้ า ราชการ (กบข.) กองทุ น รวม เพื่อการเลี้ยงชีพ(RMF) และกองทุนสงเคราะห์โรงเรียนเอกชนแล้ว ต้องไม่เกิน 500,000 บาท โดยสามารถกาหนดจานวนเงินที่ต้องการใช้จ่ายในอนาคตได้ เช่น ถ้าต้องการมีเงินไว้ใช้จ่ายเมื่อเกษียณเดือนละ 10 ,000 บาท ปัจจุบันอายุ 30 ปี ต้องเก็บออมปีละ 64,400 บาท หรือประมาณเดือนละ 5,400 บาท สาหรับทุนประกัน 1 ล้านบาท เพื่อให้ มีเงินไว้ใช้จ่ายสาหรับอนาคต โดยผู้ทาประกันต้องจ่ายค่าเบี้ยประกันจนถึงอายุ 55 ปี ถ้าปัจจุบันอายุ 30 ปี ก็ต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น อีก 25 ปี และหากผู้ทาประกัน เสี ยชีวิต ทายาทก็จะได้ รับเงินทุนประกัน 1 ล้ านบาท หรือมากกว่าตามแต่จานวนเงินเวนคืน กรมธรรม์นั่นเอง และเมื่อเกษียณอายุครบ 55 ปี ท่านก็จะได้รับเงินคืนปีละ 12% ของทุนประกันไปทุกปี เป็นเวลา 30 ปี จนถึงอายุ 85 ปี ทาให้ท่านมีรายได้หลังเกษียณเพิ่มอีกเดือนละ 10,000 บาท ประกันที่สามารถนามาหักลดหย่อนหรือเข้าข่ายประกันแบบบานาญนั้นต้องมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) ระยะเวลาเอาประกัน ภัย 10 ปี ขึ้น ไป 2) ให้ เริ่มจ่ายเงินบานาญตั้งแต่อายุ 55 ปีขึ้ นไป จนถึงอายุไม่ต่ากว่า 85 ปี 3) ไม่มีการจ่ายผลประโยชน์อื่นใดก่อนรับเงินบานาญ ยกเว้นกรณีเสียชีวิต 4) ไม่มีการจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ณ วันครบกาหนดชาระ เบี้ยประกันภัย 5) การจ่ายผลประโยชน์เงินบานาญในช่วงรับบานาญ ต้องกาหนดจ่ายรายงวดอย่างสม่าเสมอ เช่น รายปี รายเดือน 6) ชื่อผลิตภัณฑ์ ให้มีวงเล็บว่าเป็น “บานาญแบบลดหย่อนได้” ถ้าหากท่านมีประกันชีวิตรูปแบบอื่นนอกเหนือจากแบบบานาญ ก็ยังสามารถใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้สูงสุดจานวน 100,000 บาท แต่หากไม่ใช้สิทธิในส่วนนั้นสามารถนามาใช้รวมกับประกันแบบชานาญได้เช่นกัน และสาหรับท่านที่ต้องก ารความคุ้มครอง ด้านสุขภาพเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็น ค่ารั กษาพยาบาท ค่าชดเชยรายได้ รวมถึงประกันอุบัติเหตุ ท่านสามารถซื้อสัญญาเพิ่มเติม แนบท้ายได้เหมือนประกันแบบปกติทั่วไป ดังนั้น จึงเห็นได้ว่ามีทางเลือกหลายรูปแบบให้ท่านสามารถมีเงินไว้ใช้ในยามเกษียณได้โดยที่ไม่ต้องกังวลว่าจะไม่มีเงินไว้ใช้ จ่ายในอนาคต ซึ่งการประกันแบบบานาญก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะทาให้มีเงินบานาญรายปีไว้ใช้แม้จะไม่ได้รับราชกา รก็ตาม และประกันแบบนี้ก็ไม่มีเงินก้อนออกมาให้ใช้สาหรับผู้ทาประกันไว้เลยเนื่องจากอยากจะให้มีเงินไว้ใช้ในอนาคตหลังเกษียณกันจริ งๆ นั่นเอง รู้อย่างนี้แล้วควรรีบวางแผนการมีเงินไว้ใช้จ่ายในอนาคตกันได้แล้วโดยตัวท่านเป็นผู้กาหนดมันนั่นเอง *เรียบเรียงโดย นางสาวธัญลักษณ์ สะตางาม นิติกรปฏิบัติการ สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
MAY 2013: VOl. 13
โทษจากการลักบัตร ATM…มากกว่าที่คุณคิด* การกระทาความผิดโดยการลักบัตร ATM ของผู้อื่นนั้น ผู้กระทาความผิ ดอาจกระทาไปโดยมิได้ ยั้ งคิด หรื อเกิดจาก การตั ด สิ น ใจเพี ย งชั่ ว วู บ แต่ ห ารู้ ไ ม่ ว่ า การกระท าความผิ ด ในฐานลักบัตร ATM นั้น อาจเป็นการกระทาที่ก่อให้เกิด ความผิดหลายประการตามความในประมวลอาญา กล่าวคือ ประการแรก กรณีที่ผู้กระทาความผิดได้ขโมยบัตร ATM เพื่อไป เบิกเงินสดของผู้อื่นมาใช้นั้น ศาลได้วางหลักว่า บัตร ATM คือ เอกสารประเภทหนึ่ง ดังนั้น ผู้ใดนาบัตร ATM ของผู้อื่นไป จึงมีความผิดตามกฎหมายอาญาว่าด้วยเรื่องการนาเอกสารของ ผู้ อื่ น ไปใช้ ใ นทางที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย แก่ ผู้ อื่ น (ประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 188) ซึ่งความผิดดังกล่าวสาเร็จแล้วเมื่อ ได้มีการขโมย ATM จากเจ้าของบัตรที่แท้จริงไป และเมื่อมีการ นาบัตร ATM ดังกล่าวไปเบิกเงินสดจากตู้ ATM ย่อมมีความผิด ฐานลั ก ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ น ตั ว เงิ น ด้ ว ยอี ก ประการหนึ่ ง (ประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 334) นอกจากนี้ บัตร ATM ยังถือเป็น บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติความผิดเรื่อง การใช้ หรือ มีไว้เพื่อนาออกใช้ ซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิ ชอบไว้ในหมวด 4 ของประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 269/5 และ 269/6) เช่นนี้ การลักบัตร ATM ของผู้อื่นเพื่อนาไปเบิก เงินสด ผู้ขโมยจึงมีความผิดทั้ง ฐานลักบัตร ที่เป็นเอกสาร ฐานลั ก ทรั พ ย์ ใ นตั ว เงิ น และฐานความผิ ด เกี่ ย วกั บ บั ต ร อิเล็กทรอนิกส์ไปพร้อมๆกัน
นอกจากนี้ ความผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ ต ามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 334 ยังถือเป็นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับ คดีอาญาอีกประการหนึ่ง ดังนั้น หากมีกรณีฟ้องร้องในมูล ความผิดเกี่ยวกับบัตร ATM ตามข้างต้น ผู้เสียหายมีสิทธิเรียก คืนทรัพย์สินหรือราคาของทรัพย์ที่ถูกขโมยไปคืนได้ โดยหาก มิได้ยื่นฟ้องโดยอ้างประเด็นดังกล่าวในคดีอาญา ผู้เสียหายมี สิทธิที่จะนาขึ้นฟ้องร้องเป็นคดีทางแพ่งจากผู้ที่ลักทรัพย์ได้อีก คดี ห นึ่ ง เพื่ อ ให้ ผู้ ลั ก ทรั พ ย์ คื น ทรั พ ย์ สิ น ที่ ลั ก ไปพร้ อ ม ค่ า เสี ย หาย หรื อ หากเป็ น กรณี ที่ ผู้ ลั ก ทรั พ ย์ ไ ม่ ส ามารถคื น ทรัพย์ที่ขโมยไปได้เนื่องจากทรัพย์นั้นสูญหาย หรือถูกทาลาย จนบุบสลายและไม่อาจใช้การได้ ดังเดิม ผู้ที่ลักทรัพย์จะต้ อง ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเป็นราคาทรัพย์สินและค่าเสียหาย ด้วย (ฎีกา 1785/2554) ดังนั้น การลักบัตร ATM และนาไปกดเงินสดของผู้อื่น จึ ง เป็ น การกระท าที่ ซ่ อ นไว้ ด้ ว ยความผิ ด หลาย ฐาน ที่มุ่งชดเชยความเสียหายให้ผู้ถูกลักทรัพย์อย่างชอบธรรม
*เรียบเรียงโดย นางสาวสุมาพร ศรีสุนทร นิติกรปฏิบตั ิการ สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
MAY 2013: VOl. 13 หนี้รัก....เช็คเด้ง ??*
โดยปกติเมื่อบุคคลใดเป็นหนี้ต่อกัน ย่อมมีหน้าที่ในการชาระหนี้ซึ่งกันและกัน เช่น เวลาซื้อขายสินค้า ผู้ซื้อย่อมมีหน้าที่ ชาระราคา ส่วนผู้ขายมีหน้าที่ในการส่งมอบสินค้า ถ้าหากเป็นหนี้รักโดยมีการทาสัญญาระหว่างฝ่ายชายและฝ่ายหญิง เพื่อให้ฝ่าย หญิงเป็น ภรรยาน้ อย โดยทั้งสองฝ่ ายตกลงยินยอมเป็นสามีภ รรยากันตั้งแต่วันทาสัญญา ฝ่ายหญิงในฐานะภรรยาน้อยได้รับ ค่าตอบแทนจากสัญญาดังกล่าวตลอดมา ในขณะที่ทางภรรยาน้อยทราบว่าฝ่ ายชายมีภ รรยา โดยชอบด้วยกฎหมายอยู่แล้ ว หากวันใดวันหนึ่งค่าตอบแทนทีไ่ ด้รับนั้นอยู่ในรูปแบบของเช็ค แล้วธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้นขึ้นมา จึงเกิดข้อสงสัยว่า ภรรยาน้อยมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนตามกฎหมายได้หรือไม่ ??? พระราชบัญญัติความผิดอันเกิดการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 ได้กาหนดให้การออกเช็คนั้นจะต้องเป็นการชาระหนี้ที่มีอยู่จริงและ บังคับได้ตามกฎหมาย (มาตรา 4) จึงเกิดคาถามต่อไปว่า ค่าเลี้ยงดูที่เกิดจากการสมยอมในฐานะที่เป็นภรรยาน้อยนั้น เป็นหนี้ ที่บังคับได้ตามกฎหมายหรือไม่ สัญญาที่กาหนดให้ค่าเลี้ยงดูที่ให้แก่ภรรยาน้อยนั้น สัญญาดังกล่าวกฎหมายถือว่าเป็นการกระทา ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อบและศีลธรรมอันดีของประชาชน (คาพิพากษาฎีกาที่ 3972/2529 ) เพราะค่าเลี้ยงดูดังกล่าวเป็นขัดต่อ สิ่งอันเป็นที่ยอมรับและถือปฏิบัติในสังคมขณะนั้น กฎหมายจึงไม่รบั รองและคุ้มครองให้ ดังนั้น เงินค่าเลี้ยงดูตามสัญญาดังกล่าวจึงตกเป็นโมฆะ เช็คที่ได้รับจึงไม่สามารถนาไปฟ้องร้องหรือบังคับในทางกฎหมาย เพื่อให้ฝ่ายชายจ่ายค่าเลี้ยงดูตามสัญญาได้
*เรียบเรียงโดย นางสาวศศิวิมล ถาวรพงศ์สถิตย์ นิติกร สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
MARCH 2013 : VOL. 11
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ความรับผิดทางภาษี* ระบบการเสียภาษีเงินได้ของประเทศไทยนั้นใช้ระบบการประเมิน ตนเอง ซึ่งกฎหมายกาหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดง รายการเสียภาษีตามประเภทเงินได้ที่ตนได้รับตามแบบ ภงด .91 กรณี มี เ งิ น ได้ เ ฉพาะเงิ น เดื อ นเท่ า นั้ น หรื อ ภงด 90 กรณี มี เ งิ น ได้ อื่ น นอกเหนือจากเงินเดื อน แล้วแต่กรณี ซึ่ง หากผู้ เสียภาษียื่ นแบบแสดง รายการเสียภาษีไม่ถูกต้องไม่ว่าจงใจหรือไม่จงใจก็ตาม ผู้เสียภาษีจะมี ภาระการชาระภาษีเพิ่มขึ้น หากกรมสรรพากรมีการตรวจสอบแล้วพบว่า ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมิได้ ยื่นแบบแสดงรายการหรือเสีย ภาษี ไม่ถูกต้องโดยเสี ยภาษีไม่ ครบถ้ว น กรมสรรพากรจะใช้อานาจประเมินภาษีเพิ่ม โดยอานาจกรมสรรพากร ในการประเมินภาษีย้อนหลังได้ไม่เกิน 2 ปี แต่หากตรวจสอบแล้วพบว่ามี การหลีกเลี่ยงภาษี เจ้าพนักงานประเมินมีอานาจประเมินขยายระยะเวลา ได้ถึง 5 ปี ตามมาตรา 19 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งผู้เสียภาษีจะต้องเสีย เบี้ ย ปรั บ และเงิ น เพิ่ ม หากผู้ เ สี ย ภาษี เ ห็ น ว่ า การประเมิ น ของ กรมสรรพากรไม่ ถู ก ต้ อ งจะต้ อ งใช้ สิ ท ธิ อุ ท ธรณ์ ก ารประเมิ น ภาษี โดยอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายใน 30 วันนับแต่ได้รับ หนังสือแจ้งการประเมินตามมาตรา 30 แห่งประมวลรัษฎากร ผู้อุทธรณ์ ภาษี ต้ อ งหาหลั ก ทรั พ ย์ ม าวางประกั น ตามจ านวนภาษี ที่ ต้ อ งเสี ย ซึ่งหลักทรัพย์ที่นามาวางเป็นประกันการอุทธรณ์ ได้แก่ เงินสด บัญชีเงิน ฝากประจ า ที่ ดิ นหรื อสิ่ ง ปลู กสร้ าง พั นธบั ตร หรื อใช้ บุ คคลค้ าประกั น อย่างไรก็ตาม หากผู้อุทธรณ์ไม่สามารถหาหลักทรัพย์มาวางได้ กรมสรรพากร อาจดาเนินการเตือนให้ผู้ถูกประเมินหาหลักทรัพย์มาวางเป็นประกันในการ อุทธรณ์ สืบหาทรัพย์ ของผู้ ถูกประเมิน หากผู้ ถูกประเมินไม่ดาเนินการ อธิบดีกรมสรรพากรมีอานาจสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์ของผู้ถูกประเมินเพื่อ ขายทอดตลาดได้ โดยไม่ ต้ อ งขอให้ ศ าลออกหมายยึ ด หรื อ อายั ด หากทรัพย์สินของผู้ถูกประเมินถูกเจ้าหนี้อื่นอายัดไว้แล้ว กรมสรรพากร ก็มีอานาจอายัดซ้าได้และมีสิทธิขอเข้าเฉลี่ยทรัพย์กับเจ้าหนี้อื่นๆ
หากในที่สุด ผู้ถูกประเมินไม่สามารถชาระภาษีได้ก็จะถูกฟ้องต่อศาล ภ า ษี อ า ก ร ก ล า ง ห รื อ ศ า ล จั ง ห วั ด ก ร ณี ค ดี มิ ไ ด้ เ กิ ด ใ น กรุงเทพมหานครในระหว่างรอผลการพิจารณาของคณะกรรมการ พิจารณาอุทธรณ์หรือคาพิพากษาของศาลผู้ถูกประเมินต้องชาระ ภาษีตามที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งเนื่องจากการอุทธรณ์ไม่ถื อเป็น การทุ เ ลาการบั ง คั บ เว้ น แต่ จ ะได้ มี ก ารยื่ น ค าร้ อ งต่ อ อธิ บ ดี กรมสรรพากรและได้รับอนุมัติให้ทุเลาการบังคับ ดังนั้น ในการเสียภาษีควรให้ความสาคัญ และกระทาด้วย ความละเอียดรอบคอบเป็นไปที่ตามกฎหมายกาหนดหากท่านใด ที่มีหน้ าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและยั งมิ ไ ด้ยื่น แบบแสดง รายการเสี ย ภาษี ยั ง สามารถด าเนิ น การให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายใน วันที่ 31 มีนาคม 2556 เพื่อมิให้เกิดภาระภาษีเพิ่มขึ้นในภายหลัง และโปรดตรวจสอบอีกครั้ง ว่ า วั นนี้ท่ า นเสี ยภาษี ครบถ้ วนแล้ ว หรือยัง...
* เรียบเรียงโดย : นำงสำววรปรำนี สิทธิสรวง นิติกรชำนำญกำร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
MARCH 2013 : VOL. 11
MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
หนี้บัตรเครดิตรคงงคร.....?*
จะทาอย่างไร หากท่านเกิดเคราะห์ห ามยามร้ายเข้าปีชงถูกฟ้องให้จ่า ยหนี้บัตรเครดิตที่ท่านไม่ได้ใช้ ทางเลือกแรก ก้มหน้ ารั บ ชดใช้ ห นี้ ที่ ไม่ไ ด้ก่อ อย่ างหน้ าชื่ น อกตรมให้ กับบริษั ทบัต รเครดิต พร้ อมกั บสาปแช่งคนผิ ด ตัว จริง หรือ มิจฉาชี พ ที่ยังลอยนวล หรือทางเลือกที่สอง ท่านจะเข้าต่อสู้พิสูจน์ความบริสุทธิ์ของตัวเองแม้จะต้ องเสียเงินเสียเวลาค่าขึ้นโรงขึ้นศาล บ้างก็ยอม (ก็ไม่ได้ทาผิดจริงๆ นี่นา) ในฐานะนักกฎหมาย ขออนุญาตแนะนาท่านผู้อ่านว่า ต้องสู้ ต้องสู้ถึงจะชนะ เนื่องจากเคยมีคาพิพากษาศาลฎีกาว่า “จาเลยซึ่งเป็นผู้ถือบัตรเครดิตจะต้องรับผิดชาระหนี้อันเกิดจากการที่มีบุคคลอื่นนาบั ตรเครดิตของโจทก์ไปใช้ต่อเมื่อจาเลยได้ ยินยอม อนุญาต หรือนาบัตรเครดิตของโจทก์ไปให้ผู้อื่นใช้ตามข้อตกลงดังกล่าวข้างต้น การที่บัตรเครดิตของจาเลยถูกคนร้าย ลักไปย่อมแสดงให้เห็นอยู่ในตัวว่าจาเลยมิได้ยินยอม อนุญาต หรือนาบัตรเครดิตของโจทก์ไปให้บุคคลอื่นใช้ตามข้อตกล ง ดั ง กล่ า วแต่ อ ย่ า งใด จ าเลยจึ ง ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ช าระหนี้ ที่ บุ ค คลอื่ น น าบั ต รเครดิ ต ของโจทก์ ไ ปใช้ ” (ค าพิ พ ากษาศาลฎี ก า ที่ 2840/2550) ดังนั้น ผู้ที่ต้องรับผิดชดใช้หนี้ดังกล่าว คือคนร้ายตัวจริงที่นาบัตรเครดิตนั้นไปใช้นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในยุคมิจฉาชีพปรากฏในหน้าหนังสือพิมพ์รายวันจนประชาชนเคยชินเช่นนี้ หากเกิดกรณีบัตรเครดิต หาย หรือถูกเรียกให้ชาระหนี้ตามใบแจ้งหนี้ที่ไม่ได้ก่อขึ้นมา สิ่งสาคัญประการแรกคือ ควรตั้งสติให้ดี รีบโทรแจ้งบริษัทบัตร เครดิตและไปแจ้งความกับเจ้าพนักงานตารวจ เพื่อเป็นหลักฐาน และแสดงถึงความบริสุทธิ์และสุจริตของท่านไว้ก่อน เนื่องจาก ปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวหน้าไปมาก เทคนิคต่างๆ ของเหล่ามิจฉาชีพก็ก้าวหน้าตามไปด้วย หากบัตรเครดิตหายแล้วอายัดบัตร ไม่ทันอาจเกิดปัญหาใหญ่ได้ สุดท้ายนี้ แม้กฎหมายจะเปิดประตูยุติธรรมไว้แล้ว แต่การฟ้องร้องย่อมต้ องใช้ระยะเวลานาน ก็ขอให้ท่านผู้อ่านใช้บัตร เครดิตด้วยความระมัดระวัง เพื่อที่จะได้ไม่ต้องประสบกับสถานการณ์ยากลาบากเหล่านี้เลยนะคะ โชคดีค่ะ
* เรียบเรียงโดย : นำงสำวพิมลพรรณ กำรขยัน นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้
MARCH 2013 : VOL. 11
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
MONTHLY JOURNAL
วิวัฒนำกำรกฎหมำยหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ตอนที่ 7* ในช่วงปีพ.ศ. 2544 ภาวะเศรษฐกิจมีการปรับตัวดีขึ้น แต่ยังคงมีความผันผวนจากเหตุการณ์บางประการที่สาคัญ คือ เหตุการณ์ โศกนาฏกรรมวันที่ 11 กันยายน 2544 ในสหรัฐอเมริกาที่ส่งผลให้การซื้อขายหลักทรัพย์ของไทยได้รับผลกระทบไปด้วย แต่มีปัจจัย ส่งเสริมประการหนึ่ง คือ สภาพการเมืองที่รัฐบาลมีความแข็งแกร่งในเชิงโครงสร้าง ประกอบกับแนวนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของ รัฐบาลซึ่งกระตุ้นการใช้จ่ายภาคครัวเรือน ทาให้ระบบเศรษฐกิจกลับมามีแรงซื้อ ส่งผลดีต่อภาพรวมของธุรกิ จ และจากการที่อัตรา ดอกเบี้ยลดต่าลงเป็นเวลานาน ได้สร้างผลดีต่อการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ กล่าวคือ ผู้ลงทุนจะเลือกแหล่งลงทุนที่มีอัตราตอบแทนสูง กว่า ดังนั้น จึงทาให้ภาวะของตลาดหลักทรัพย์ดีขึ้น และปรับตัวขึ้นอย่างช้าๆ จนมาถึงช่วงปี 2546 ตลาดหลักทรัพย์กลับมาคึกคักอีก ครั้ง หนึ่ ง แต่ ก็มี ผู้ ให้ความเห็น ว่ า ให้พึ ง ระวัง สถานการณ์ เศรษฐกิจ ฟองสบู่ ที่ อาจเกิด ขึ้น จากการเก็งกาไรในหลั กทรัพ ย์ กลุ่ ม ต่ า งๆ จะกลับมาอีกครั้ง เหมือนช่วงรุ่งเรืองครั้งที่สอง ต่อมามีการแก้ไขพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เมื่อปี พ.ศ. 2551 เพื่อปรับปรุงโครงสร้างขององค์กรกากับดูแล ตลาดทุน โดยปรับปรุงที่มา องค์ประกอบ คุณสมบัติ และวาระการดารงตาแหน่งของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพ ย์ให้มีค วามเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยกาหนดให้มี คณะกรรมการกากับตลาดทุนเพื่อทาหน้าที่ ในการตรากฎเกณฑ์กากั บดูแ ล ผู้ประกอบธุรกิจและการทาธุรกรรมต่าง ๆ ในตลาดทุน ปรับปรุงที่มาและการพ้นจากตาแหน่งของเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งเพิ่มข้อห้ามมิให้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หลั งการพ้นจากตาแหน่ง ด้วย ตลอดจนปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกากับดูแลการเสนอขายหลักทรัพย์ เพื่อรองรับพัฒนาการของรูปแบบการจัดตั้ง ผู้ออก หลักทรัพย์ โดยกาหนดมาตรการเพิ่มเติมเพื่อเสริมสร้างการบริหารจัดการที่ดีของบริษัทที่มีการระดมทุนในตลาดทุนในด้านหน้าที่ความ รับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหาร และสิทธิของผู้ถือหุ้นของบริษัท ปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการกากับดูแลตลาดหลักทรัพย์ให้เป็น สากล ปรับปรุงหลักเกณฑ์การกากับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และหลักเกณฑ์คุ้มครองทรัพย์สินของลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์ ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่าวิวัฒนาการของตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทยในระยะที่ผ่านมา ผู้ที่เกี่ยวข้อง ต่างเรียนรู้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งได้มีการพัฒนาและวางรากฐานที่สาคัญ โดยในปัจจุบันได้มีการจัดทาแผนพัฒนาตลาดทุน ไทย (2552-2556) สาหรับช่วงระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า ซึ่งได้ระดมความเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน โดยได้กาหนดวิสัยทัศน์และ เป้าหมายของการพัฒนาตลาดทุนไทยโดยมีเป้าหมายที่จะสร้างตลาดทุนไทยให้เป็นกลไกหลักต่อการจัดสรรและพัฒนาศักยภาพ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปรับโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาคุณภาพของสินค้าและบริการและการกระตุ้นให้มี การระดมทุนเข้าถึงตลาดโดยง่าย การวางระบบระเบียบ อันนามาซึ่งผลดีในอนาคต ทาให้เห็นว่าตลาดหลักทรัพย์แม้ว่าจะอยู่ในภาวะ วิกฤติใดๆ กลไกการปรับตัวของตลาดและการเข้ามาสนับสนุนของภาครัฐ ต่างก็ส ามารถเข้ามาช่วยให้การทางานของตลาดหลักทรัพย์ ดาเนินต่อไปได้รวมทั้งตลาดหลักทรัพย์ได้มีการเรียนรู้และมีการวางมาตรฐานเพื่อป้องกันโดยยึดพื้นฐานในการสร้างความเชื่อมั่นให้ แก่ผู้ ล งทุ น ทั้ ง ในด้ า นการซื้ อขาย ความเป็ น ธรรม ตลอดจนการเปิ ด เผยข้อมู ล อย่ า งโป ร่ง ใสเพื่ อใช้ ในการตั ด สิ น ใจให้แ ก่ผู้ ล งทุ น และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย สิ่งที่น่าติดตามต่อไปคือการดาเนินการตามแผนพัฒนาตลาดทุนไทยให้เห็นผลเป็นรูปธรรมและแนวทางการจัดทา แผนพัฒนาตลาดทุนในระยะต่อไปหลังจากแผนเดิมจะสิ้นสุดในปี 2556
* เรียบเรียงโดย : นำงสำวนภภัสสร สอนคม นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
APRIL 2013: VOl. 12 นักโทษยุคดิจิตอล*
การกระทาความผิดในคดีอาญาใดตามประมวลกฎหมายอาญา ได้ กาหนดบทลงโทษไว้ มี 5 สถาน คือ ริบ ทรัพ ย์ สิ น ปรับ กักขัง จาคุก หรือประหารชีวิต ในส่ ว นของการลงโทษจ าคุ ก ที่ ผ่ า นมาเมื่ อ ผู้ ต้ อ งหาได้ ถูกพิพากษาให้ได้รับโทษจาคุก ผู้นั้นก็ต้องอยู่ในการควบคุมของกรม ราชทัณฑ์ ซึ่งก็ต้องถูกจาคุกในเรือนจาในสถานที่ต่างๆ กันไป ประวั ติ ข องการจ าคุ ก ในยุ ค ก่ อ นรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการเรือนจาในขณะนั้นสังกัดอยู่ตาม ส่ ว นราชการต่ า งๆ ต่ อ มาในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการปรับปรุงระเบียบราชการใหม่ และได้ มีพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตรา “พระราชบัญญัติลักษณะเรือนจา” ขึ้นเพื่อให้การจัดการเรือนจาเป็นไปอย่าเรียบร้อยยิ่งขึ้น ภายหลัง การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มีการตราพระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 โดยมีหน้าที่เกี่ยวด้วยการเรือนจา การกักกัน และในส่วนภูมิภาคได้มีการกาหนดเป็นเรือนจาจังหวัด โดยปัจจุบัน กรมราชทัณฑ์อยู่ในสังกัดของกระทรวงยุติธรรม แต่ปัจจุบันเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2556 กระทรวงยุติธรรมได้ เสนอและได้ประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยการกาหนดหลักเกณฑ์และ วิ ธี ก ารจ าคุ ก โดยวิ ธี ก ารอื่ น ที่ ส ามารถจ ากั ด การเดิ น ทางและ อาณาเขต พ.ศ. 2556 ซึ่งสาระของกฎกระทรวงฉบับดังกล่าวนั้น คือ มีการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถใช้ตรวจสอบหรือจากัด การเดินทางและอาณาเขตของผู้ถูกจากัดหรือผู้ซึ่ งศาลมีคาสั่งให้ จาคุกโดยวิธีการอื่นที่สามารถจากัดการเดินทางและอาณาเขตของ ผู้นั้น (electronic monitoring of prisoners) โดยในกฎกระทรวง ฉบับดังกล่าวได้กาหนดเงื่อนไขหรือเหตุแห่งความจาเป็น 4 ประการ คือ 1) ผู้ซึ่งต้องจาคุกจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจาคุก 2) ผู้ซึ่งต้องจาคุกจาเป็นต้องเลี้ยงดูบิดา มารดา สามี ภริยา หรือบุตรซึ่งพึ่งตนเองไม่ได้และขาดผู้อุปการะ 3) ผู้ ซึ่ ง ต้ อ งจ าคุ ก เจ็ บ ป่ ว ยและต้ อ งได้ รั บ การรั ก ษาอย่ า ง ต่อเนื่อง 4) ผู้ซึ่งจาคุกมีเหตุควรได้รับการทุเลาการบังคับให้จาคุกด้วย เหตุอื่น
วิธีการจากัดการเดินทางและอาณาเขตของผู้ถูกจากัดนั้น อาจจะไม่ใช่เรื่องใหม่สาหรับการบริหารงานยุติธรรมของสากล เช่น ประเทศอังกฤษได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการฝั่ง ไมโครชิปในร่างกายของนักโทษหรือผู้ถูกคุมประพฤติ โดยไมโคร ชิปดังกล่าวจะมีการบรรจุข้อมูลส่วนตัว และรวมถึงสามารถที่จะ ติดตามความเคลื่อนไหวของนักโทษได้ เป็นต้น สาหรับประเทศ ไทยในปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ อ าจทราบได้ อ ย่ า งแน่ ชั ด ว่ า จะมี ก ารใช้ เครื่องมือชนิดใดที่ใช้ในการจากัดการเดินทางและอาณาเขตของ ผู้ถูกจาคุก แต่อย่างไรก็ดี ก็นับว่าเรื่องดังกล่าวเป็นปรากฎการณ์ใหม่ ของการบริหารงานยุติธ รรมของประเทศไทยและอย่างน้อยก็ ส่งผลดีต่อการลดจานวนนักโทษให้เรือนจา อันทาให้เป็นการลด ความแออัดของเรือนจาได้ประการหนึ่ง แต่ถ้าจะให้ดีที่สุดพวก เราก็อ ย่ า ท าการใดๆ ที่ ผิ ด ต่ อบทกฎหมายซึ่ ง จะเป็ น การเพิ่ ม จานวนนักโทษในเรือนจา ก็จะเป็นการดียิ่ง ....
*เรียบเรียงโดย นายพุฒพิ งศ์ นิลสุ่ม นิติกรปฏิบัติการ สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
APRIL 2013: VOl. 12 ต่อลมหายใจให้ Cyprus*
สาธารณรัฐไซปรัสเป็นเกาะที่ อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกีและเป็นหนึ่งในประเทศที่มีนักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุดในทะเล เมดิเตอร์เรเนียน โดยมีนักท่องเที่ยวเฉลี่ยประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสเป็นประเทศเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลค่อนข้างต่าประกอบ กับการทาข้อตกลง double tax treaty กับอีกหลายๆ ประเทศ ส่งผลให้มีทุนไหลเข้าในไซปรัสมากกว่าประเทศอื่นๆ ในโซน EU โดยเฉพาะอย่างยิ่งทุนจากประเทศรัสเซีย โดยรวมแล้ว สภาวะทางเศรษฐกิจของไซปรัสอยู่ในเกณฑ์ดีประกอบกับโครงสร้างของระบบ สถาบันการเงินและบุคลากรที่มีความพร้อม IMF ได้ประมาณการค่าจีดีพีไซปรัสไว้ที่ 28,381 ดอลล่าร์สหรัฐ ต่อคน ต่อปี ซึ่งเป็นอัตรา ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประชาชนทั่วไปของกลุ่มสหภาพยุโรป อย่างไรก็ดี ปัญหาหนี้สาธารณะและสภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจของประเทศกรีซส่งผลกระทบโดยตรงกับไซปรัสเนื่องจากไซปรัส ได้ตกลงให้กรีซกู้ยืมเงินเป็นมูลค่าเทียบได้สูงกว่าร้อยละ 160 ของจีดีพีตัวเอง เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนแห่กันถอนเงินสด ธนาคาร ในไซปรัสจึงหยุดให้บริการระหว่างวันที่ 16-28 มีนาคม 2556 โดยในช่วงดังกล่าว ตู้ ATM ได้ถูกตั้งค่าให้ผู้ใช้บริการสามารถถอนเงิน สดได้เพียงวันละไม่เกิน 100 ยูโร (ประมาณ 3,700 บาท) สภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจดังกล่าวส่งผลให้รัฐบาลไซปรัสไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากต้องกู้ยืมเงินนอกระบบ แม้ว่าการทาการตกลงกันอาจมีปัญหาบ้างแต่สุดท้าย ประธานาธิบดีไซปรัส นายนิโค อนาสเตเชียดิส ได้ ข้อสรุปภายหลัง การเจรจา ณ กรุงบรัสเซิล เมื่อวัน ที่ 25 มีนาคม 2556 ที่ผ่ านมา ท่ ามกลางกระแสการคัดค้า นจากประชาชน ชาวไซพรีออทส์ แพคเกจที่ได้ทาการตกลงกันไว้ คือ การยุบธนาคาร Laiki ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของไซปรัส และให้ ความคุ้มครองแก่เงินฝากที่ไม่เกิน 100,000 ยูโร (ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเงิ นฝากของไซปรัส) โดยให้โอนไปยัง Bank of Cyprus ทรัพย์สินอื่นที่ยังคงเหลือประมาณ 4.2 พันล้านยูโรจะโอนไปยัง “Bad bank” เพื่อรอการเข้าสู่กระบวนการชาระบัญชี ในขณะที่เงินฝากที่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ อาจต้องเผชิญกับการเก็บภาษี bank levy ที่สูงถึงร้อยละ 9.9 และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ต่อสถาบันการเงิน ไซปรัสยังคงต้องอาศัยมาตราการควบคุมเงินทุน (capital control) โดยยังคงกาหนดเพดานการถอนเงินไว้ ที่ไม่เกินวันละ ๓๐๐ ยูโร ยกเลิกการขึ้นเช็ค สาหรับผู้ที่จะเดินทางออกนอกประเทศห้ามนาเงินสดออกเกิน ๑,๐๐๐ ยูโร การโอนเงิน การจ่ายเงินไปยังบัญชีนอกประเทศห้ามมิให้เกินเดือนละ ๕,๐๐๐ ยูโร และห้ามปิดบัญชีเงินฝากประจาก่อนกาหนด เป็นต้น ทั้งหมดนี้ เพื่อแลกกับเงินกู้จานวน 1 หมื่นล้านยูโร จากสหภาพยุโรป (EU) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และธนาคารกลางยุโรป (ECB) เพื่อต่อลมหายใจให้ไซปรัส
*เรียบเรียงโดย นายธีวรา สุมาวงศ์ นิติกรชานาญการ สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมายน่ารู้ MONTHLY JOURNAL
APRIL 2013: VOl. 12 ภาษี 7 ขั้น*
ประชาชนชาวไทยผู้มีรายได้ทุกคนมีหน้าที่ต้องยื่นรายการภาษีเงินได้ภายในวันที่ 31 มีนาคมของทุกปี หลายคนคงมีเงินได้สุทธิ มากกว่า 150,000 บาท และจะต้องเสียภาษีกันบ้ างไม่มากก็น้ อย แต่ถ้าท่า นใดที่ยังไม่ยื่ นแบบเพื่อชาระภาษีทางกรมสรรพากร จะถือว่าท่านมิได้ยื่นแบบ ทาให้ท่านต้องไปยื่นแบบ ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา และชาระเงินภาษีพร้อมเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่ อเดื อน หรื อเศษของเดื อนของภาษี ที่ ต้ องช าระ พร้อมค่า ปรับ อีกไม่ เกิ น 2,000 บาท ตามมาตรา 35 แห่ง ประมวลรัษ ฎากร แต่ถ้ายื่นแล้วไม่มีภาษีจะต้องชาระ ก็จะต้องชาระค่าปรับเพียงอย่างเดียว ส่วนอัตราภาษีสาหรับบุคคลธรรมดานั้น ในปัจจุบัน แบ่ง ออกเป็น 5 ขั้น ต่างกันไปตามเงินได้สทุ ธิ ได้แก่ ร้อยละ 0 ร้อยละ 10 ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 และร้อยละ 37 ซึ่งอัตราดังกล่าวจะบังคับ ใช้ปีนี้เป็นปีสุดท้ ายและสาหรับผู้ที่ลืมยื่นแบบแสดงรายการภาษี กรมสรรพากรได้ขยายระยะเวลาการยื่นแบบเป็นภายในวันที่ 9 เมษายน 2556 นี้เท่านั้น เมื่อปลายปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติหลักการของร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ให้ปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการกระจายรายได้และสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจมากขึ้น และหวังว่าโครงสร้างภาษี ใหม่นี้จะช่วยลดช่องโหว่ในการหลีกเลี่ยงภาษี โดยมีการปรับปรุงอัตราภาษีจาก 5 ขั้น เป็น 7 ขั้น และจะ บังคับใช้กับปีภาษี 2556 ที่จะต้องยื่นรายการในปี 2557 เป็นต้นไป อัตราภาษีใหม่เป็นดังนี้
รายได้สุทธิ 1 – 150,000 150,001 – 300,000 300,001 - 500,000 500,001 – 750,000 750,001 - 1,000,000 1,000,001 – 2,000,000 2,000,001 – 4,000,000 4,000,000 บาทขึ้นไป
อัตราภาษี (ร้อยละ) เดิม ใหม่ ได้รับการยกเว้น ได้รับการยกเว้น 10 5 10 10 20 15 20 20 30 25 30 30 37 35
ภาษีที่เสียลดลงต่อปี (บาท) 7,500 12,500 50,000 ลดลงร้อยละ 2 ตามเงินได้สุทธิ
การปรับปรุงระบบอัตราภาษีในรูปแบบใหม่อาจกระทบต่อรายได้ของรัฐอยู่บ้าง แต่อย่างไรก็ดี อัตราภาษีแบบใหม่นี้จะช่วยลด ภาระภาษีให้แก่ผู้มีเงินได้ในบางช่วง และเมื่อลดอัตราภาษีลงก็น่าจะทาให้การหลบเลี่ยงภาษีน้อยลง และขยายฐานการจัดเก็บได้กว้างขึ้น
*เรียบเรียงโดย นางสาวรินทร์ธยิ า เธียรธิติกุล นิติกรชานาญการ สานักกฎหมาย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ กฎหมำยน่ำรู้ ฉบับพิเศษ
สำนับกพิ กฎหมำย ฉบั เศษ
สำนักงำนเศรษฐกิ จกำรคลัง AUGUST 2012 MAY 2013
FAT TAX???* พฤติกรรมการบริโภคอาหารในปัจจุบันส่งผลโดยตรงต่อ สุขภาพของผู้บริโภค โรคอ้วนจัดเป็นโรคใกล้ตัวซึ่งเป็นปัญหา ระดับสากลเนื่องจากมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในหลาย ประเทศทั่วโลก องค์การอนามัยโลกประมาณว่า มากกว่าหนึ่ง พันล้านคนทั่วโลกอยู่ในภาวะน้้าหนักเกิน และอย่ างน้อยสาม ร้อยล้านคนเป็นโรคอ้วน นอกจากองค์การระหว่างประเทศแล้ว ยังมีหน่วยงานภายในของหลายๆประเทศได้มีการส้ารวจ โดยมี ตัวเลขซึ่งค่อนข้างน่าตกใจในเกือบทุกทวีปทั่วโลก ยกตัวอย่าง เช่น ประเทศเยอรมนีมีประชากรซึ่ง อยู่ในภาวะน้้าหนักเกิน คิด เป็นร้อยละ 51 ส้าหรับผู้หญิง และร้อยละ 67 ส้าหรับผู้ชาย โดยประชากรร้ อยละ 20 เป็ น โรคอ้ว น นอกจากประเทศ เยอรมนีแล้ว ประเทศอเมริกาก็เป็นอีกประเทศหนึ่งซึ่งน่าสนใจ เนื่องจากโรคอ้วนคือโรคซึ่งได้ประกาศให้เป็น โรคซึ่ง อยู่ในขั้น วิกฤติของชาติ ปัญหาเหล่านี้เองที่ส่งผลให้หลายๆประเทศ ตระหนักและ หันมาให้ความส้าคัญกับพฤติกรรมการบริโภคของคนในชาติมาก ขึ้ น ผ่ า นการรณรงค์ ใ นหลายๆรู ป แบบ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ในประเทศเยอรมนีได้มีการจัดโครงการเผยแพร่ข้อมูล และจัด โปรแกรมในระดับโรงเรียน โดยเป็ นไปในลักษณะอาสาเข้าร่วม โครงการ เป็นต้น นอกจากโครงการรณรงค์ต่างๆแล้ว มาตรการหนึ่งที่ได้รับ ความสนใจและเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในวงกว้างคือ การใช้ มาตรการทางการคลั ง มาเป็ น เครื่ อ งมื อในการแก้ไ ขปั ญ หานี้ โดยการจัดเก็บภาษีจากอาหารหรือ เครื่องดื่มซึ่งมีปริมาณไขมัน หรือน้้าตาลในปริมาณที่มากเกินความต้องการของร่างกาย หรือ เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุภาพ เพื่อ จูงใจให้ผู้บริโภคปรับเปลี่ยน พฤติ ก รรมการเลื อ กรั บ ประทานอาหาร หรื อ หลี ก เลี่ ย งที่ จ ะ รับประทานอาหารซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคอ้วนนั่นเอง
Fat tax หรื อ ภาษี ล ดอ้ ว นนี้ ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ล แนวความคิ ด มาจากหลั ก การเก็ บ ภาษี พิ กู เ วี ย น (Pigouvian tax)1 ซึ่งตั้งชื่อตามนาย Arthur C. Pigou นักเศรษฐศาสตร์ชาว อังกฤษ ผู้เสนอแนวคิดของการจัดเก็บอัตราภาษีตามผลกระทบ ภายนอก (Externality) ที่เกิดขึ้นจากการด้าเนินกิจกรรมของ ผู้ บ ริ โ ภคและผู้ ผ ลิ ต ตั ว อย่ า งของภาษี พิ กู เ วี ย น ได้ แ ก่ ภาษี สิ่ ง แวดล้ อ ม ภาษี สุ ร า ภาษี ย าสู บ เป็ น ต้ น การดื่ ม สุ ร า การ บริโภคยาสูบ หรือการบริโภคอาหารซึ่งมีไขมันในปริมาณที่มาก ไม่ เ พี ย งส่ ง ผลเสี ย ต่ อ สุ ข ภาพของผู้ บ ริ โ ภคแล้ ว แต่ ยั ง ส่ ง ผล กระทบภายนอกที่น้าไปสู่ ปัญหาทางสั งคมอื่นๆติดตามมาอี ก มากมาย ต้นทุนทางสังคม (Social cost) ที่เกิดขึ้นซึ่งรวมทั้ง ต้นทุนต่อผู้บริโภคและต่อบุคคลอื่นๆ จึงสูงกว่าต้นทุนของการ บริโภค (Private cost) ที่ผู้บริโภคจ่ายเพื่อการบริโภค ดังนั้น การจั ด เก็ บ ภาษี จึ ง มี เ ป้ า หมายเพื่ อ ท้ า ให้ ต้ น ทุ น ของผู้ บ ริ โ ภค สอดคล้องหรือเท่ากับต้นทุนทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการบริโภค นั่นเอง จากหลักการดังกล่าวจะเห็นได้ว่านอกจาก Fat tax จะมี จุดประสงค์เพื่อลดการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มซึ่งเสี่ยงต่อ การเกิดโรคอ้วนแล้ว ยังมีส่วนช่วยชดเชยค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจ ซึ่งใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคอ้วน นอกจากหลักการทางภาษี ดังกล่าวแล้ว ยังมีบทความหรือบทวิจั ยจ้านวนมากพบว่าการที่ ค่าใช้จ่ายของอาหารมีราคาถูกหรือลดลงนั้น ส่งผลให้ประชาชน อ้วนเพิ่มมากขึ้น เพราะในความเป็นจริงราคาส่งผลต่อพฤติกรรม การบริโภคของประชาชนมากกว่าการค้านึงถึงหลักโภชนาการ ในการเลือกบริโภคอาหาร *นางสาวกิรณี ธรรมภิบาลอุดม นิติกร 1
ภาษีน้าอัดลม" ตีพิมพ์ในคอลัมน์ทันเศรษฐกิจ หนังสือพิมพ์โพสทูเดย์ วันที่ 7 ต.ค 52
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ประเทศซึ่งมีการจัดเก็บภาษี Fat tax เป็นประเทศแรก คือ ประเทศเดนมาร์ ก แม้ว่าประเทศเดนมาร์ก หรือประเทศ อื่นๆในภาคพื้นยุโรปจะมีการจัดเก็บภาษีจากน้้าตาล หรือ ชอค โกแลต หรือเครื่องดื่มซอฟดริงค์ในอัตราที่สูงอยู่แล้ว แต่ก็ต้อง ถือว่าเป็นประเทศแรกของโลกที่ได้มีการจัดเก็บภาษีจากปริมาณ ไขมันอิ่มตัวอย่างเป็นรูปธรรม โดยกฎหมายเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อ เดือนตุลาคม 2011 ใช้กับกลุ่มอาหารประเภทเนย นม ชีสต์ พิซ ซา เนื้ อ หรื อ อาหารซึ่งมีป ริ มาณไขมัน อิ่มตัวมากกว่าร้อยละ 2.3 โดยน้้าหนัก ซึ่งจะจัดเก็บภาษีในอัตรา 2.15 ยูโร หรือ 16 โครนเดนมาร์ก (DKK) ต่อกิโลกรัม อย่ า งไรก็ ดี ก ฎหมายฉบั บ นี้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ไ ด้ เ พี ย ง ประมาณหนึ่ งปี ก็ได้ ถูกยกเลิ กไปเมื่อเดือนพฤศจิ กายน 2012 เนื่อ งจากกฎหมายฉบั บ นี้ ไม่ อาจเปลี่ ย นแปลงพฤติ กรรมของ ผู้ บ ริ โ ภคได้ แม้ อั ต ราการบริ โ ภคอาจซึ่ ง มี ก ารจั ด เก็ บ ภาษี fat tax จะลดลง 0.4 เปอร์เซ็นนั้นถือว่าเป็นจ้านวนซึ่งน้ อยมาก เมื่อเทียบกับความเสียหายทางธุรกิจซึ่งมากถึง 27 ล้านยูโร ส้าหรับ ธุรกิจ ขายปลี กและขายส่ง จะเห็น ได้ว่า แม้ fat tax เป็ น แนวความคิ ด ที่ ดี แ ละหากประสบความส้ า เร็ จ จะเป็ น ประโยชน์ต่อประชากรในประเทศเป็นอย่างมาก แต่ในความเป็น จริงที่เกิดขึ้นกับประเทศเดนมาร์ก ผลกระทบกลับเป็นไปในทาง ลบ ทั้งผลกลับไม่เป็นไปอย่างที่คาดไว้และเกิดความเสียหายทาง เศรษฐกิ จ จนต้ อ งยกเลิ ก การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายไปในที่ สุ ด และส่งผลต่อการยกเลิกการจัดเก็บภาษี fat tax นี้ในอาหาร ประเภทอื่นๆที่จะมีการบังคับใช้ในวันที่วัน 1 มกราคมปีนี้
อย่ า งที่ ไ ด้ ก ล่ า วไปแล้ ว ข้ า งต้ น แม้ ป ระเทศเดนมาร์ ก จะล้มเหลวในการบังคับใช้ภาษี Fat tax แต่แนวความคิดนี้ได้ แพร่หลายไปในหลายประเทศ มีการถกเถียงทางวิชาการกันใน วงกว้าง เช่น ในประเทศ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา คงต้องติดตามกันต่อไปในอนาคตว่าประเทศไหนจะเป็นประเทศ ต่อไปในการบังคับใช้กฎหมายนี้ และมีแนวทางในการจัดเก็บ ภาษีอย่างไร
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL
JUNE 2013 : 1
เช็คเด้งไม่ผิดอาญาจะดีไหม ?? * เช็คเป็นเครื่องมือทางการเงินที่อานวยความสะดวกและเป็น ที่นิยมแพร่หลายในการดาเนินธุรกิจต่างๆ และมีความสาคัญต่อ เศรษฐกิจในภาพรวม แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ความผิดจากการใช้ เช็คควรมีแต่ความรับผิดในทางแพ่ง เนื่องจากเช็คมีลักษณะเป็น ตั๋วเงิน หากเช็คถูกปฏิเสธหรือที่เรียกกันว่า “เช็คเด้ง” เจ้าหนี้มี สิทธิในทางแพ่งเรี ย กเงิน ตามเช็คได้ที่กาหนดให้ เช็คมีโ ทษทาง อาญาด้ ว ยนั้ น เป็ น เพราะในระยะเริ่ ม แรกที่ มี ก ารใช้ เ ช็ ค ใน ประเทศไทย ภาครัฐเล็งเห็นความจาเป็นในการสร้างความเชื่อมั่น ให้กับเจ้าหนี้ที่จะยอมรับชาระหนี้ด้วยการสั่งจ่ายเช็ค นอกจาก การสั่ ง จ่ า ยเช็ ค เพื่ อ เป็ น การช าระหนี้ แ ล้ ว เช็ ค ยั ง ถู ก ใช้ เ ป็ น เครื่องมือสาหรับเจ้าหนี้ในการบังคับลูกหนี้ โดยเจ้าหนี้บังคับให้ ลู ก หนี้ สั่ ง จ่ า ยเช็ ค ให้ ต นแทนการท าสั ญ ญากู้ ยื ม เงิ น ตามปกติ เพื่อให้ลูกหนี้ต้องรับผิ ดทางอาญาหากไม่ช าระหนี้ ซึ่งไม่เป็นไป ตามหลักการที่เช็ คถือเป็นตั๋วเงินประเภทหนึ่งซึ่งควรมีความผิด เฉพาะแต่เพียงในทางแพ่งเท่านั้น ผลที่ตามมาก็คือ รัฐต้องแบก รับค่าใช้จ่ายในการอานวยความยุติธรรมทางอาญามากขึ้น เพราะ หลั งจากเจ้ า หนี้ แ จ้ ง ความฟ้ องร้ องกับ เจ้ า หน้ า ที่ต ารวจซึ่ งเป็ น พนักงานสอบสวน รัฐจะเป็นผู้ดาเนินการตามกระบวนการทาง อาญาทั้งหมด นอกจากนี้ เช็คยังถูกนาไปใช้ในการกระทาความผิดอื่น ๆ อาทิ เจ้ า หนี้ น อกระบบ บั ง คั บ ให้ ลู ก หนี้ สั่ ง จ่ า ยเช็ ค ให้ ต นเป็ น จานวนเงิน 100,000 บาท ทั้งที่ลูกหนี้ได้รับเงินจากเจ้าหนี้นอก ระบบเพียง 70,000 บาท โดยส่วนต่างถือเป็นดอกเบี้ยจากการ กู้ยืมภายในระยะเวลาไม่กี่เดือน เป็นต้น ในแต่ละปีมีจานวนคดี เช็คค้างอยู่ ในศาลอาญาเป็ น จ านวนนั บ หมื่น คดี และแต่ล ะคดี จะใช้เวลาในการพิจารณาเกือบสองปี ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี ทั้งภาครัฐ และคู่กรณีในแต่ละปี จึงเป็ นเม็ดเงิน จานวนมหาศาล หน่วยงานทั้งภาครัฐและนักวิชาการจึงเริ่มมีแนวความคิดที่จะยกเลิก
โทษอำญำอัน มีควำมผิ ดจำกกำรใช้เช็ คโดยมองว่ำ เจ้ำหนี้ ยังสำมำรถใช้สิทธิฟ้องร้องบังคับหนี้จำกลูกหนี้ในทำงแพ่งได้ อยู่แล้ว ในส่วนกำรสร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับเจ้ำหนี้ในกำรรับ ช ำระหนี้ ด้ ว ยเช็ ค นั้ น ธนำคำรแห่ ง ประเทศไทยในฐำนะ ผู้กำกับกำรประกอบธุรกิจของสถำบันกำรเงินอำจกำหนด มำตรกำรให้ธนำคำรพำณิชย์มีควำมเข้มงวดต่อกำรอนุญำต ให้ บุคคลใดในกำรใช้เช็ค ประกอบกับระบบข้อมูล เครดิ ต ก็สำมำรถนำมำใช้เป็นเครื่องมือในกำรคัดกรองผู้สั่งจ่ำยเช็ค ให้ มีกำรน่ำเชื่อถือ ได้อีกประกำรหนึ่ง นอกเหนือจำกภำค สถำบั น กำรเงิ น แล้ ว หำกเจ้ำ หนี้ ต้ อ งกำรควำมน่ ำ เชื่ อ ถื อ ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งก็ได้กำหนดให้มีกำรสลักหลังเช็ค เพื่อให้ผู้สลักหลังเช็คมีควำมรับผิดต่อเจ้ำหนี้เช่นเดียวกันกับ กำรเป็นผู้ค้ำประกันได้ อย่างไรก็ดี ประเด็นกำรพิจำรณำยกเลิกควำมผิดทำง อำญำกรณีออกเช็คเด้งนั้น ภำครัฐจำเป็นที่จะต้องตระหนัก ถึงควำมพร้อมและวินัยทำงกำรเงินของสังคมไทย ตลอดจน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้กำรสั่งจ่ำยเช็คเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประชำชน ภำคธุรกิจและเศรษฐกิจโดยรวมด้วย
*เรียบเรียงโดย นายพีระพัฒน์ เหรียญประยูร นิติกรชานาญการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL
JUNE 2013 : 2
กำรออมเงินผ่ำนระบบประกันชีวิต * เชื่อว่าหลายคนคงจะเคยพบเจอหรือถูกยื่นข้อเสนอส่วนใหญ่ที่เข้าไปทาธุรกรรมทางการเงินกับทางธนาคารพาณิชย์ นั่นก็คือ การเสนอแผนการออมเงินในรูปแบบใหม่ที่แฝงไปด้วยเงื่อนไขที่เมื่อศึกษาในรายละเอียดอย่างครบถ้วนแล้วจะเห็นได้ว่าผลิตภัณฑ์ ดังกล่าวนั้นมันก็เป็นกรมธรรม์ประกันชีวิตอย่างหนึ่งนี่เอง แล้วทาไมตัวแทนขายเขาถึ งนาเสนอว่ามันเป็นรูปแบบการออมเงินอี กประเภทหนึ่งที่ ให้ผลตอบแทนเทียบเท่าหรือดีกว่า การออมเงินในรูปแบบการฝากเงินในบัญชีออมทรัพย์หรือบัญชีฝากประจามันเป็นอย่างนั้นจริงหรือเปล่า มันดีกว่าอย่างไร ข้อเท็จจริงจะ เป็ น อย่ า งไรนั้ น ก่ อ นอื่ น เราต้ อ งรู้ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องตั ว เราเองก่ อ นว่ า ต้ อ งการอะไร ศึ ก ษาในรายละเอี ย ดของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ ว่ามีเงื่อนไขการฝากและถอนเงินอย่างไร อย่างเช่น ถ้าเป็นในรูปแบบของการฝากเงินกับทางธนาคารจะสามารถถอนได้ทันทีตามความ ประสงค์เมื่อใดก็ได้ แต่ถ้าเป็นการออมเงินพร้อมกรมธรรม์ประกันชีวิตนั้น หากได้เอกสารสิทธิเป็นกรมธรรม์ประกันชีวิตไม่ใช่สมุดบัญชี เงินฝาก แบบนี้จะถอนเงินตามจานวนที่ฝากไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะการประกันชีวิตเป็นการออมเงินแบบบังคับออม คือหากยังไม่ครบ กาหนดสัญญาประกันชีวิต จะไม่ได้รับเงินเบี้ยประกันชีวิตที่จ่ายไปแล้วคืน จะถอนเงินแบบฝากธนาคารไม่ได้ ต้องรอจนกว่าจะครบอายุ สัญญา เช่น 10 ปี หรือ 15 ปี เป็นต้น ลาดับต่อมาการฝากเงินกับธนาคารไม่ว่าจะเป็นฝากประจาหรือฝากแบบไหนก็ตาม จานวน เงินต้นยังคงไม่สูญหายไปไหนแม้จะหยุดฝากและได้ผลตอบแทนตามอัตราดอกเบี้ยที่ฝาก แต่ถ้าเป็นการประกันชีวิตจะต้องฝากต่อเนื่อง ทุกปีตามสัญญาประกันชีวิตจนกว่าจะครบกาหนดระยะเวลาที่ต้องชาระเบี้ยประกันภัยไปแล้วก็ไม่อาจที่จะเรียกหรือถอนคืนได้ ดังนั้น จึงจะเห็นได้ว่าการทาประกันชีวิตนั้นก็จัดว่าเป็นการออมเงินอีกรูปแบบหนึ่งแต่จะมี เงื่อนไขแตกต่างกับการฝากเงินกับทางธนาคารซึ่ง ข้อดีของรูปแบบประกันชีวิต คือ การที่ชาระเบี้ยประกันชีวิตไปแล้วแม้เพียงเริ่มสัญญาจะมีความคุ้มครองตามจานวนเงินที่เอาประกันภัย ไว้ทันที หากเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรจะได้รับจานวนเงินตามความคุ้มครองตามสัญญาประกันภัย หรือ เมื่อครบกาหนดสัญญาจะได้รับ เงินตามทุนประกันภัยที่กาหนด อาจมีเงินปันผล มีการซื้อความคุ้มครองประกันสุขภาพ ทั้งนี้จะเป็นการบังคับให้ออมเงินซึ่งไม่อาจจะ ถอนได้หรือจะได้รับเงินคืนจนกว่าจะครบสัญญา เหมาะสาหรับผู้ที่ไม่อาจจะออมเงินได้ ต้องมีการบังคับออม แต่คนที่จะทาประกันชีวิต ต้องถามตัวเองก่อนว่า การซื้อประกันชีวิตจานวนเงินคุ้มครองเท่าใด จึงจะสามารถส่งชาระเบี้ยประกันภัยได้ตลอดอายุสัญญา 10 ปี หรือ 20 ปี หากส่งไม่ได้ผลตอบแทนย่อมไม่เป็นไปตามสัญญาประกันภัยอย่างแน่นอน ซึ่งมีหลายคนเข้าใจผิดในเรื่องนี้และต้องสูญ เงินต้นของตัวเองไปกับระบบการออมเงินในรูปแบบนี้เป็นจานวนมาก อาจจะเป็นเพราะไม่รู้ถึงเงื่อนไขแห่งสัญญาหรือ ถูกตัวแทนของ ธนาคารชักจูงให้ไปทาเพราะความเข้าใจผิดคิดว่าเป็นการฝากเงินแบบพิเศษ ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยได้ประกาศแผนพัฒนาธุรกิจประกันภัยฉบับที่ 2 โดยในแผนมีการวางนโยบายผลักดันให้กลุ่มเกษตรกรหรือผู้มีรายได้น้อยเข้าสู่ระบบการออมผ่านระบบประกันชีวิต ที่เรียกว่าไมโคร อินชัวรันซ์ มากยิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องประกันและการออมเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย การวางแผนออมเงินจึงเป็นสิ่ง สาคัญแต่รูปแบบการออมเงินก็สาคัญไม่แพ้กว่ากัน จึงควรต้องประเมินศักยภาพของตัวเองและเทียบเคียงกับข้อดีและข้อเสียของ รูปแบบการออมเงินแต่ละประเภท มิฉะนั้นจากการออมเงินจะเป็นถูกอมเงินโดยไม่รู้ตัว *เรียบเรียงโดย นางสาวนภภัสสร สอนคม นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
JUNE 2013 : 3
ผู้ชมเว็บไซต์ You Tube คลำยควำมกังวลได้ * เป็ น ที่ ย อมรั บ กั น ว่ า YouTube เป็ น เว็ ป ไซต์ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิยมและมีผู้คนใช้งานกันมากผู้ใช้งานต่างสนุกกับการอัพ โหลดดาวน์โหลดงานผ่าน YouTube ในปี พ.ศ. 2550 ก็มีกลุ่ม อเมริกันรวมตัวกันฟ้องว่า YouTube ละเมิดลิขสิทธิ์ หลายฝ่าย เลยรอดูว่าศาลอเมริกันจะออกทางไหน ถ้าหากศาลอเมริกันยก ฟ้องกลุ่มเจ้าของลิขสิทธิ์อาจโวยหนักแล้วก็หาเรื่องเสนอแก้ไข กฎหมายเพื่อขยายสิทธิตัวเองแต่ถ้าหากศาลอเมริกันตัดสินให้ YouTube รับผิด ก็คงวุ่นไม่น้อยและมีผลกระทบในวงกว้าง โดยเฉพาะคนสร้างสรรค์และผู้ใช้ You Tube เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2556 ศาลอเมริกันที่ US District Court, Southern District of New York ได้ตัดสิน คดีนี้โดยท่านผู้พิพากษาสเตนตัน (Judge Louis L. Stanton) โดยมี ค าสั่ ง ไม่ รั บ ฟ้ อ งการด าเนิ น คดี แ บบกลุ่ ม คดี นี้ (Class Action) ท่ า นผู้ พิพ ากษาสเตตั น เห็ น ว่ า การอนุ ญ าตให้ มี ก าร ดาเนินคดีแบบกลุ่มในข้อพิพาทเรื่องลิขสิทธิ์ที่มีเจ้าของลิขสิทธิ์ จานวนมากอย่ างในคดีนี้จ ะทาให้ ศาลไม่ส ามารถบริ ห ารหรือ ควบคุ ม การด าเนิ น คดี ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสม เพราะการละเมิ ด ลิขสิทธิ์ของแต่ละคนแตกต่างกันไป ซึ่งทาให้ไม่สามารถนาคดี เหล่ านี้ มารวมพิ จ ารณาเข้า ด้ว ยกั น ได้แ ละโจทก์ ก็ไ ม่ส ามารถ อธิบายหรือแสดงให้เห็นได้ว่าจะสามารถระบุหรือกาหนดตัวคน ที่จะร่วมเป็นโจทก์ในคดีนี้ที่มีอยู่ทั่วโลกได้อย่างไร ยิ่งไปกว่านั้น ไม่สามารถพิสูจน์ความเห็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้และพิสูจน์การรับ มอบอานาจของแต่ละคนอย่างไรรวมทั้งไม่อาจแสดงให้ เห็นว่า YouTube รู้ ว่ า มี ก ารละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ แ ต่ ล ะกรณี อ ย่ า งไร และรู้เมื่อใด
สรุ ป ว่ า ค าฟ้ อ งของโจทก์ แ ต่ ล ะคนไม่ มี ลั ก ษณะ ข้อพิพาทที่เหมือนกันพอที่จะมาดาเนินคดีแบบกลุ่ม เพราะใน เรื่ อ งของลิ ขสิ ท ธิ์ นั้น งานแต่ ล ะชิ้ น ของแต่ ล ะคนมีลั ก ษณะ เฉพาะของงานแตกต่า งกั นออกไป การรวมคาฟ้อ งเหล่ า นี้ เข้าด้วยกันเป็นคดีแบบบกลุ่ม ไม่ได้ช่วยให้คดีง่ายหรือรวดเร็ว มากขึ้น แต่กลับเป็น การเพิ่มความยุ่งยากซับซ้อนเข้ามาในคดี เดียว ซึ่งอาจจะยุ่งมากกว่าการแยกฟ้องเป็นรายคดีเสียด้วยซ้า ดังนั้นตอนนี้ผู้ชมเว็บไซต์ You Tube คลายความกังวล ได้ว่าจะยังสามารถรับชมและรับฟังข่าวสาร บันเทิง กีฬาและ รายการอื่นๆได้ตามปกติ แต่ถ้ามีการฟ้องคดีที่มิได้เป็นแบบ Class Action ไม่ทราบว่าศาลจะตัดสินเช่นนี้หรือไม่ เป็นเรื่อง ที่ต้องติดตามกันต่อไป
*เรียบเรียงโดย นายไพศาล เอกคณิต นิติกรปฏิบัติการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL
JUNE 2013 : 4
บัตรภำษี คือ อะไร ??*
หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินคาว่า “บัตรภาษี” มาก่อนว่าคืออะไร แต่อาจจะเป็นที่คุ้นเคยกับผู้ส่งออกสินค้าระหว่าง ประเทศ บัตรภาษี นั้น เป็นเงินที่จ่ายชดเชยค่าภาษีอากรซึ่งมีอยู่ในต้นทุนการผลิตสินค้าส่งออกให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับเงิน ชดเชย ซึง่ ได้แก่ (1) ผู้ทาการส่งออกตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หรือการขายสินค้าภายในประเทศให้แก่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตามโครงการเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และการขายสินค้าให้แก่องค์การระหว่างประเทศหรือหน่วยงานที่มีสิทธิ นาสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับการยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร (2) ผู้มีสิทธิได้รับเงินชดเชยจะต้องไม่ได้รับคืนหรือยกเว้นหรือลดหย่อนอากรตามพระราชบัญญัติชดเชยค่าภาษีอากร สินค้าส่งออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. 2524 บัตรภาษีจึงเป็นการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรเพื่อส่งเสริมการส่งออกรูปแบบหนึ่งที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2514 ด้ว ยวิธีเ ครดิตภาษีแทนการจ่ ายเป็ น ตัว เงิน โดยออกเป็นบัตรภาษี เพื่อที่จะนาไปช าระค่าภาษีอากรที่ผู้ นั้นจะต้องเสียภาษีหั ก ณ ที่จ่าย หรือมีหน้าที่ต้องนาส่งตามประมวลรัษฎากร รวมทั้งภาษีเทศบาลและภาษีอากรอื่น มาตรการชดเชยค่าภาษีอากรสินค้าส่งออกนี้เป็นมาตรการส่งเสริมการส่งออกมาตรการเดียวที่สามารถใช้สิทธิจากการใช้ ปัจจัยการผลิตในประเทศ สามารถใช้สิทธิได้สะดวกและมีต้ นทุนไม่สูงเมื่อเทียบกับมาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรอื่นๆ และทาให้ผู้ประกอบการรายย่อยสามารถใช้สิทธิได้ เนื่องจากจะเป็นการขอใช้สิทธิในขั้นตอน การส่งออกและไม่มีข้อจากัด ในสถานที่ ตั้งโครงการและประเภทกิ จ การ ทั้ งนี้ พระราชบั ญญัติ ช ดเชยค่า ภาษี อากรสิ น ค้าส่ งออกที่ผ ลิ ตในราชอาณาจัก ร พ.ศ. 2524 ได้บัญญัติให้กรมศุลกากรรับผิดชอบในการออกบัตรภาษีให้แก่ผู้ส่งออกสินค้าหรือที่ถือว่าเป็นการส่งออกสินค้าที่ผลิต ในราชอาณาจักร
*เรียบเรียงโดย นางสาวศศิวิมล ถาวรพงศ์สถิตย์ นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL
JULY 2013 : 1
รู้หรือไม่ Taxi ปฏิเสธไม่รับผู้โดยสำรผิดกฎหมำย !!* หลายคนที่ได้ใช้บริการรถแท็กซี่อยู่เป็นประจาคงเคยพบ กั บ ปั ญ หารถแท็ ก ซี่ ป ฏิ เ สธไม่ รั บ ผู้ โ ดยสารไปส่ ง ยั ง จุ ด หมาย ปลายทางด้ว ยเหตุผ ล เช่น รถติด ส่ งรถ หรื อแก๊ส ใกล้ จะหมด รวมถึง การไม่บ อกเหตุผ ลที่ไม่รับ จากข้อมูล ของศูน ย์ คุ้มครอง ผู้โดยสารรถสาธารณะ กรมการขนส่งทางบก พบว่ามีผู้โดยสาร ร้องเรียนถึงการปฏิเสธไม่รับผู้โดยสารของรถแท็กซี่ในช่วงเดือน ตุลาคม 2554 ถึงเดือนกันยายน 2555 จานวน 13,039 ราย ซึ่งเป็นจานวนมากที่สุดในบรรดาเรื่องร้องเรียนทั้งหมด ซึ่งการ ปฏิ เ สธไม่ รั บ ผู้ โ ดยสารของรถแท็ ก ซี่ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ส ร้ า งความ เดือดร้อนให้แก่ผู้โดยสารรถแท็กซี่เป็นอย่างมาก และยังเป็นการ กระท าที่ ผิ ด กฎหมายในมาตรา 93 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ การจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ที่กาหนดห้ามมิให้ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ ปฏิเสธไม่รับจ้างบรรทุกคนโดยสาร เว้ นแต่การบรรทุกนั้นน่าจะ ก่อให้เกิดอันตรายแก่ตนหรือแก่คนโดยสาร หากผู้ขับขี่รถแท็กซี่ มีความประสงค์ จะไม่ รับจ้ างบรรทุกคนโดยสารให้ แสดงป้ายงด รั บ จ้ า งบรรทุ ก คนโดยสารไว้ ส าหรั บ ความผิ ด ในการไม่ รั บ ผู้ โ ดยสารของรถแท็ ก ซี่ นั้ น มี โ ทษปรั บ ไม่ เ กิ น 1,000 บาท นอกจากนี้ ในส่วนของกองบังคับการตารวจจราจรยังถือว่าเป็น ข้อหาที่ต้องถูกบันทึกคะแนน 20 คะแนน และถูกยึดใบอนุญาต ขับขี่ 15 วันอีกด้วย ทั้งนี้ ผู้โดยสารที่ถูกปฏิเสธสามารถแจ้ง ทะเบียนและชื่ออผู้ขับรถซึ่งติดอยู่ในใบอนุญาตหน้ารถ โดยแจ้ง ได้ที่ศูนย์ คุ้มครองผู้โ ดยสารรถสาธารณะ สายด่ว นเบอร์ 1584 หรื อ กองบั ง คั บ การต ารวจจราจร สายด่ ว น เบอร์ 1197 เพื่อเจ้าหน้าที่จะได้ดาเนินการตามกฎหมาย
อย่ า งไรก็ ดี แม้ ก ารปฏิ เ สธไม่ รั บ ผู้ โ ดยสารของรถ แท็กซี่จะเป็นการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนก็ตาม แต่บางกรณีก็เป็นเรื่องที่ผู้ขับแท็กซี่ก็กังวลถึงความปลอดภัย ของตัวผู้ขับขี่เองด้วย เช่น การรับผู้โดยสารในช่วงดึกไปยัง ส่งยังสถานที่เปลี่ยว หรือสถานที่ที่ไม่คุ้นเคย หรืออาจเป็น กรณีที่ผู้โดยสารมีท่าที่ไม่น่าไว้วางใจอีกด้วย ซึ่งอาจเข้าข่าย เป็นการที่น่ าจะก่ อให้ เกิดอันตรายแกตนซึ่งได้แก่ผู้ขับขี่เอง เป็นกรณีมีเหตุที่ยกเว้นความผิดตามกฎหมาย แต่การที่จะ เข้าข่ายข้อยกเว้นดังกล่าวได้รถแท็กซี่จะต้องแสดงป้ายงด รับจ้างไว้ด้วย แต่ที่เรา ๆ ท่านๆ พบเจอกันอยู่ คือ ป้ายว่า ง แต่คนขับรถปฏิเสธไม่รับผู้โดยสาร ซึ่งกรณีเช่นนี้คนขับรถมี ความรับ ผิ ด ดั งนั้ น ผู้ โ ดยสารเองก็ ส ามารถร้อ งเรีย นเพื่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ ข องตนเองตามสมควรเพื่ อ ไม่ ใ ห้ ถู ก เอารั ด เอา เปรียบจากกรณีดังกล่าวได้
*เรียบเรียงโดย นายปรนาคินทร์ กตัญญุตานนท์ นิติกรชานาญการพิเศษ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL
JULY 2013 : 2 ภาษีช่วยน้าท่วม*
แม้ ว่ า ภาษี คื อ รายได้ ข องรั ฐ ที่ รั ฐ บาลเรี ย กเก็ บ จากประชาชนเพื่อนาไปใช้ในการสร้างสาธารณะประโยชน์หรือ ประโยชน์ของสังคมส่วนรวม แต่มาตรการทางภาษีนั้นยังถือเป็น เครื่องมือทางการคลังอีกประเภทหนึ่งที่มักถูกนามาใช้เพื่อสร้าง แรงจู ง ใจ (Incentive) หรื อ สนองนโยบายทางด้ า นสั ง คม และเศรษฐกิ จ ของประเทศ โดยมาตรการในลั ก ษณะดั งกล่ า ว มั ก ถู ก ก า ห น ด ไ ว้ ใ น รู ป แ บ บ ก า ร ล ด ห รื อ ย ก เ ว้ น ภ า ษี ดังนั้น เพื่อปรับ ใช้มาตรการทางภาษีในการบรรเทาภาระของ ผู้ประสบภัยน้าท่วม คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติอนุมัติและเห็นชอบ ตามข้อเสนอของกระทรวงการคลังในสองมาตรการ มาตรการแรก คือ ร่ างกฎกระทรวงเพื่อ ยกเว้น เงินได้ บุคคลธรรมดาของผู้ประสบภัยน้าท่วม ในกรณีของเงินได้ที่ได้รับ จากการซื้อรถยนต์คันใหม่ (ตามโครงการรถคันแรก) เพื่อทดแทน รถยนต์คันเก่าที่ถูกน้าท่วม โดยร่างกฎหมายฉบับนี้ ได้กาหนดให้ เงินได้ที่ผู้ประสบภัยจะได้รับจากรัฐอันเนื่องมาจากการซื้อรถยนต์ คันใหม่เพื่อเป็นการทดแทนรถยนต์คันที่ถูกน้าท่วมเสียหายเป็น จ านวนเท่ า กั บ ภาษี ส รรพสามิ ต ของรถยนต์ ที่ ซื้ อ แต่ ไ ม่ เ กิ น 100,000 บาท ให้เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวม คานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ทั้งนี้ การยกเว้นภาษีใน กรณีดังกล่าว จะเป็นการยกเว้น สาหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ตั้งแต่วันที่ 1ม.ค. 2556 เป็นต้นไป
มาตรการที่สอง คือ ร่างพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการ ยกเว้ น ภาษี อ ากรให้ แ ก่ ก ลุ่ ม ประชาชนที่ รั บ จั ด ท าอาหาร เพื่อ ช่ว ยเหลื อผู้ ไ ด้รับ ผลกระทบจากสถาณการณ์อุท กภั ย สืบเนื่องจากสถาณการณ์น้าท่วมใหญ่เมื่อปี 2554 รัฐบาล ได้จัดตั้งศูนย์ ช่วยเหลือผู้ ประสบภัย ซึ่งได้รับความร่ว มมือ จากประชาชนจานวนมากในการให้ความช่วยเหลือในเรื่อง การจัดทาอาหาร เครื่องดื่ม และโรงครัวรวมถึงศูยน์พักพิง โดยในการช่วยเหลือดังกล่าว รัฐเป็นผู้ออกค่าใช้ จ่ายทั้งหมด โดยเป็ น การจ่ า ยในลั ก ษณะเหมาจ่ า ยตามจ านวนราย ของผู้ประสบภัย และประชาชนผู้ให้ความช่วยเหลือจะเข้า รับเงินเหมาจ่ายก้อนดังกล่าวเพื่อนาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่าย ในการให้ บริการรับจัดทาอาหารเพื่อแจกจ่ายแก่ผู้ ประสบ อุทกภัย ดังนั้น ร่างกฎหมายฉบับนี้จึงกาหนดให้ยกเว้นภาษี เงิ น ได้ แ ละภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ บุ ค คลธรรมดาที่ รั บ จั ด ทาอาหารเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถาณการณ์ อุทกภัย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทั้งนี้ เฉพาะเงินได้หรือค่าบริการที่ได้รับจากรั ฐ ตั้งแต่ วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนั้น การยกเว้นภาษีตามที่ได้กล่าวมาในข้างต้นนั้น จึงเป็นมาตรการภาษีดีๆ ที่ช่วยเหลือทั้งผู้ประสบภัยรถยนต์ น้าท่วม และผู้มีน้าใจในการให้ความช่วยเหลือพี่น้องชาวไทย ที่ประสบภัยด้วยกัน
*เรียบเรียงโดย นางสาวสุมาพร ศรีสุนทร นิติกรปฏิบตั ิการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง